Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR_ภวญ.กศ.วพม2559

SAR_ภวญ.กศ.วพม2559

Published by siriluk4143, 2018-02-26 10:05:21

Description: SAR_ภวญ.กศ.วพม2559

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองตามแนวทางพัฒนาคณุ ภาพสูความเปน เลิศ (Self-Assessment Report: SAR) ภาควชิ าวิสัญญวี ทิ ยา กองการศกึ ษา วทิ ยาลัยแพทยศาสตรพ ระมงกุฎเกลา การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน วิทยาลยั แพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา ประจําปก ารศึกษา ๒๕๕๙

คาํ นํา รายงานการประเมนิ ตนเองของภาควิชาวสิ ัญญวี ิทยาประจําปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ฉบับนี้ จัดทาํ ขึน้ ตามภารกจิ ของภาควชิ า ในดา นการจัดการเรียนการสอน ดานบริการทางวิชาการ ดา นวิจยั และ ดา นทาํ นุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีวัตถปุ ระสงคเพ่อื ใ ชสาํ หรบั การประเมินคณุ ภาพ การศกึ ษา ภายในระดับภาควชิ าประกอบดวย ๔ สวนหลักคอื สว นท่ี ๑ โครงรา งองคก ร สว นที่ ๒ ผลการดําเนนิ งานรายหมวด มี ๔ สวนยอยคอื หมวด ๑ การนาํ องคก าร หมวด ๓ ผูเรียนและลกู คา อ่นื หมวด ๔ การวดั การวเิ คราะหแ ละการจัดการความรู และหมวด ๖ ระบบปฏิบัติการ สวนท่ี ๓ ผลลัพธ และสวนท่ี ๔ ภาคผนวก ซ่งึ ประกอบดวย ขอมลูผลลัพธท่แี สดงในรูปตารางและขอ มูลสําคญั ท่ีเก็บรวบรวมระหวา งหวงเวลา ๑ เมษายน ๒๕๕๙ – ๓๑ มนี าคม๒๕๖๐ ภาควิชาวิสัญญีวทิ ยามคี วามมุง หวังจะพฒั นาผเู รียนใหมผี ลการเรยี นรูตามท่ไี ดกาํ หนดไวในหลักสตู รรายวิชา มคี วามรูความสามารถในวิชาวิสญั ญีวิทยาไดตามเกณฑมาตรฐานของแพทยสภา ๒๕๕๕ และหวงั เปนอยา งยิ่งวา รายงานฉบบั นี้จะเปน ประโยชนส าํ หรบั การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาํ ปก ารศกึ ษา๒๕๕๙ ของวทิ ยาลัยแพทยศาสตรพ ระมงกุฎเกลา ขอขอบคุณ อาจารยและเจา หนาทข่ี องภาควิชา วสิ ัญญีวทิ ยาทุกทา น ท่ใี หค วามรว มมือเปน อยา งดีย่งิ ในการรวบรวมขอ มลู เพ่อื นํามาจดั ทํารายงานฉบบั นี้ พ.อ.หญิง ( ศิรลิ ักษณ ชาํ นาญเวช ) รอง ผอ.กวญ.รพ.รร.๖ ปฏบิ ตั ิหนา ที่ อจ.หน.ภวญ.กศ.วพม.

สารบัญคาํ นาํ หนาสารบัญสวนที่ ๑ โครงรางองคกร ๑-๕ ๖–๗ ๑. ลกั ษณะองคก ร ก. สภาพแวดลอ มขององคก ร ๘ ข. ความสัมพันธระดบั องคก ร ๙ ๙ -๑๒ ๒. สภาวการณข ององคก ร ๑๓ – ๑๘ ก. สภาพดา นการแขง ขัน ๑๙ – ๒๒ ข. บริบทเชงิ กลยุทธ ๒๓ – ๒๗ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการ ๒๘ – ๓๕สว นที่ ๒ ผลการดําเนินงานรายหมวด ๓๖ – ๔๑ หมวด ๑ การนําองคการ ๔๒ หมวด ๓ ลูกคา ๔๓ หมวด ๔ การวดั การวิเคราะห และการจัดการความรู ๔๔ หมวด ๖ ระบบปฏบิ ตั กิ าร ๔๕ – ๔๖สวนที่ ๓ ผลลัพธ ๔๗ หมวด ๗ ผลลัพธ ๔๘ ๔๙สว นที่ ๔ ภาคผนวก - ตารางท่ี ๑ ขอมูลอาจารยและบุคลากรสนับสนุน - ตารางที่ ๒ บัญชีรายละเอยี ดอาจารยประจํา อาจารยพ เิ ศษ และบคุ ลากรสนับสนนุ - ตารางท่ี ๓ ขอ มูลภาระงานอาจารยรายบุคคลปการศกึ ษา ๒๕๕๙ - ตารางท่ี ๔ ขอ มูลการตพี ิมพผลงานวจิ ยั และบทความทางวิชาการ ในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ตารางที่ ๕ ขอมูลโครงการบริการวชิ าการ ในปก ารศึกษา ๒๕๕๙ - ตารางท่ี ๖ บญั ชรี ายละเอียดบริการวชิ าการแกส งั คม - รายชือ่ คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของภาควชิ า

สวนท่ี ๑ โครงรา งองคก ร๑. ลักษณะองคกร ก. สภาพแวดลอ มขององคก ร ภาควชิ าวิสัญญวี ิทยา (ภวญ.) เปน ภาควิชายอย ที่ข้ึนตรงกบั กองการศึกษา วทิ ยาลยั แพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา (กศ.วพม.) สาํ นักงานภาควชิ าต้ังอยูท ่ีชั้น ๙ อาคารเฉลิมพระเกยี รติพระชนมพรรษา ๖ รอบโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา เลขท่ี ๓๑๕ ถนนราชวิถี แขวงทุง พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร ๑๐๔๐๐โทรศพั ท ๐ - ๒๓๕๔ - ๗๖๐๐ ภายใน ๙๓๑๔๔ Email address: [email protected] ซึง่ อยูภ ายในบก.กองวิสัญญแี ละหอ งผา ตดั มีภารกิจหลกั ๔ ประการซ่งึ สอดคลอ งกับภารกจิ ของ วพม . ไดแ ก การจดั การเรยี นการสอน การบริการทางวชิ าการ การวิจยั และการทํานุบํารุงศลิ ปวัฒนธรรม (๑) หลักสตู รและบริการ ในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ภวญ.กศ.วพม. รับผิดชอบจดั การเรียนการสอนหมวดวชิ าเฉพาะวิสญั ญีวิทยาของหลักสูตรแพทยศาสตรบณั ฑิต สําหรบั นพท./นศพ.วพม. ช้ันปที่ ๕ จํานวน ๑ รายวิชา และกลมุ วิชาเลือกสําหรับ นพท./นศพ.วพม. ช้นั ปท่ี ๖ จํานวน ๑ รายวชิ า ตามตารางที่ 1-1ตารางที่ 1-1 รหัสรายวชิ า ชื่อรายวิชา และหนว ยกิต รหสั รายวิชา ชอื่ รายวิชา หนวยกิตวพมศศ ๕๐๒ วิสัญญวี ทิ ยา ๒วพมศศ ๖๐๔ ประสบการณค ลินกิ ทางวสิ ัญญีวิทยา ๒ หลักสตู รแพทยประจําบานวสิ ัญญวี ิทยา โดยมีหลกั สตู รการฝก อบรมแพทยประจาํ บานวสิ ญั ญีระยะเวลา 3 ป สามารถฝก อบรมแพทยประบานไดชัน้ ปละ 3 คน ปจจุบันมีจํานวนแพทยประจําบานทั้งหมด15 คน หลักสูตรฝกอบรมนักเรียนพยาบาลวสิ ญั ญี โดยมีหลักสูตรการฝก อบรมนักเรียนพยาบาลวสิ ัญญีระยะเวลา 1 ป สามารถฝก อบรมพยาบาลวสิ ัญญไี ดปล ะ 15-25 คน ปจจุบันมีจาํ นวนนักเรียนพยาบาลวสิ ัญญีทง้ั หมด 21 คน นอกจากหนาทห่ี ลักในการสอนวิชาวสิ ัญญีวิทยาแลว อาจารยประจําภาควชิ าวสิ ัญญีวทิ ยา (ภวญ.) ยงั มีหนา ทีป่ ระจาํ ในการใหบริการทางวิสญั ญีแกผปู ว ย ทั้งหมดจํานวน ๒๔ หอ งผา ตัด รวมทัง้ ใหบริการทางวสิ ัญญที ่ีหองรังสีรกั ษา, CT, MRI, Cath Lab, Angiogram, ERCP ซึง่ เม่ือเทียบภาระงานทที่ าํ กบั จาํ นวนอาจารยที่มอี ยูจะพบวาอาจารยแตละทานทํางานเกินกวาภาระงานท่ีกาํ หนดมาก ดงั นนั้ ทางภาควชิ าฯ จงึ ไมไดกําหนดหัวของานวิจยั เร่ืองใดเร่ืองหน่งึ เปน เปาประสงคหลัก เพียงมงุ เนนสง เสริมใหอ าจารยแ ตล ะทานมงี านวจิ ัย และสนับสนุนใหมกี ารตพี ิมพงานวิจยั ในวารสารทางการแพทย โดยอาจารยทงั้ หมดมีหัวของานวจิ ยั ท่อี ยรู ะหวางการดําเนนิ การในปการศกึ ษาน้ี จาํ นวน ๔ เรือ่ ง ๑ | หน้า

(๒) วสิ ยั ทศั น และพันธกจิ วสิ ัยทัศน พนั ธกจิ คา นิยม และสมรรถนะหลักของ ภวญ.กศ.วพม. แสดงในตารางท่ี 1-2ตารางท่ี 1-2 วิสัยทัศน พนั ธกิจ คานยิ ม และสมรรถนะหลกั (คลายกับวสิ ยั ทัศน วพม.)วสิ ัยทศั น: เปนภาควิชาท่มี กี ารบรหิ ารจัดการ การเรยี นการสอน บริการทางวิสัญญวี ทิ ยาและการวจิ ยั ท่ไี ดม าตรฐานสากลพันธกจิ : จดั การเรียนการสอนวชิ า วิสญั ญวี ทิ ยา และวชิ าเลอื ก วสิ ัญญีวทิ ยา อยางมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลใหไ ด มาตรฐานสากล ใหบ รกิ ารทาง วิสัญญวี ิทยา ทมี่ ีคุณภาพ ปลอดภัย และไดมาตรฐาน มุงผลติ ผลงานวจิ ยั ระดบั นานาชาติ ทาํ นบุ ํารุงศลิ ปวฒั นธรรม และแบบธรรมเนยี มทหารคา นยิ ม: ทํางานเปน ทมี อยา งมคี ุณภาพ ยึดม่นั ในระเบียบวนิ ยั เสียสละเพ่ือสว นรวม มงุ มน่ั สูค วามเปน เลศิ (๓) ลักษณะโดยรวมของบคุ ลากร ในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ภวญ.กศ.วพม. มคี ณาจารย รวม ๙ นาย (รวมอาจารยลาศกึ ษาตอ ๒ นายในระหวา งปก ารศกึ ษา) ประกอบดวย อจ.หน.ภวญ.กศ.วพม. ๑ นาย และ อจ.ภวญ.กศ.วพม. รวม ๘ นาย (ตารางท่ี 1-3) นอกจากนท้ี างภาควชิ าฯ ยังเรียนเชญิ อาจารย อัตราจางวิสัญญีแพทย จํานวน ๕ ทา น มาเปนอาจารยพิเศษเพ่ือสอนในกิจกรรมการเรียนรูแบบ Problem Based Learning: PBL และดูแลการปฏิบัติงานหัตถการท่ีจําเปนในหองผา ตัด ของวชิ าวสิ ัญญีวทิ ยา ท่ีภวญ.กศ.วพม. รับผิดชอบ (ตารางท่ี 1-4) โดยมีบุคลากรฝายสนับสนุน ๒ นาย ประกอบดวย นายสบิ ธรุ การ จํานวน ๑ นาย และพนักงานราชการ จาํ นวน ๑ นาย (ตารางท่ี1-5)ตารางที่ 1-3 ตาํ แหนง คณุ วฒุ ิ และความชํานาญของอาจารย ภวญ.กศ.วพม.ลาํ ดบั ชอ่ื ตาํ แหนง คณุ วฒุ ิ ความชาํ นาญ ๑ พ.อ.นพดล ชืน่ ศิรเิ กษม ผอ.กวญ.รพ.รร.๖ / - พบ. - Anesthesia ๒ พ.อ.หญงิ ศิรลิ ักษณ ชํานาญเวช อจ.กศ.วพม. - ว.ว. วิสญั ญวี ิทยา - Anesthesia รอง ผอ.กวญ.รพ.รร.๖/ - Cardiovascular ๓ พ.อ.ธรี วฒั น ภจู ญิ ญาณ อจ.หน.ภวญ.กศ. วพม. - พบ. and Thoracic - ว.ว. วิสญั ญวี ทิ ยา Anesthesia อจ.กศ.วพม. - อ.ว. เวชศาสตรครอบครวั - Anesthesia - Clinical Research Fellowship - Cardiovascular in Cardiac Anesthesia and Thoracic (MGH,HMS,USA) - อนุสาขาวสิ ญั ญวี ทิ ยาสําหรบั การ ผา ตัดหวั ใจ หลอดเลือดใหญ และ ทรวงอก - พบ. - ว.ว. วิสญั ญีวิทยา - อนสุ าขาวสิ ัญญีวิทยาสําหรบั การ ๒ | หน้า

ผา ตัดหัวใจ หลอดเลอื ดใหญ และ Anesthesia ทรวงอก๔ พ.อ.ณรงคศ กั ดิ์ เจษฎาภัทรกลุ อจ.กศ.วพม. - พบ. - Anesthesia - ว.ว. วิสัญญีวทิ ยา - Cardiovascular๕ พ.ท.หญิง นวลวรรณ ภูวโชติโรจนโภคิน อจ.กศ.วพม. - อนุสาขาวิสญั ญีวทิ ยาสําหรบั การ and Thoracic ผา ตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ และ Anesthesia๖ พ.ท.หญงิ สพุ รรษา งามวทิ ยโ รจน อจ.กศ.วพม. ทรวงอก - Anesthesia๗ พ.ท.ณัฐธพงษ ภวู โชติโรจโภคิน อจ.กศ.วพม. - พบ. - ว.ว. วสิ ัญญวี ทิ ยา - Anesthesia๘ พ.ท.สทิ ธาพันธ ม่นั ชพู งศ อจ.กศ.วพม. - พบ. - Anesthesia๙ พ.ต.กฤษณะ นองเนอื ง อจ.กศ.วพม. - ว.ว. วิสญั ญีวทิ ยา - Cardiovascular and Thoracic - พบ. Anesthesia - ว.ว. วสิ ญั ญวี ทิ ยา - อนสุ าขาวิสญั ญีวิทยาสาํ หรบั การ - Anesthesia ผา ตัดหัวใจ หลอดเลอื ดใหญ และ - Pain ทรวงอก management - พบ. - Anesthesia - ว.ว. วสิ ญั ญีวิทยา - Cardiovascular - อนุสาขาการระงบั ปวด and Thoracic - หลกั สูตรฝง เข็ม รุนท่ี ๙ พบ. Anesthesia - พบ. - ว.ว. วิสัญญีวทิ ยา - อนสุ าขาวสิ ัญญวี ทิ ยาสําหรับการ ผาตัดหัวใจ หลอดเลอื ดใหญ และ ทรวงอกตารางท่ี 1-4 รายชือ่ อาจารยอตั ราจางวสิ ญั ญีแพทยทร่ี ว มสอนในรายวชิ าวิสัญญวี ทิ ยาลาํ ดบั ชื่อ สังกัด รายวชิ าที่สอน ๑ พญ.สพรักษ พงึ่ พา กองวสิ ัญญแี ละหองผาตดั PBL และปฏิบัตงิ านในหองผา ตัด ๒ พญ.กลอยใจ กาญจนารายน กองวิสัญญีและหองผา ตดั PBL และปฏิบตั งิ านในหอ งผาตัด ๓ นพ.ยุทธฉัตร เจรญิ อิทธกิ ลุ กองวสิ ัญญแี ละหอ งผา ตัด PBL และปฏบิ ตั ิงานในหอ งผาตดั ๔ พญ.กชภา ดุสติ านนท กองวสิ ญั ญีและหองผาตดั PBL และปฏบิ ัติงานในหองผาตดั ๕ นพ.ปกรณ ธญั วงษ กองวิสัญญีและหอ งผา ตดั PBL และปฏิบตั งิ านในหอ งผาตัด ๓ | หน้า

ตารางที่ 1-5 ตําแหนง คุณวฒุ ิ และความชํานาญของบุคลากรสนับสนุนลาํ ดบั ช่ือ ตาํ แหนง คณุ วฒุ ิ ความชาํ นาญ ๑ จ.ส.ท.หญงิ ทพิ ยอ ันนา นาราวสั ส นายสบิ ปริญญา  ติดตอประสานงานดา นการศกึ ษา พยาบาล ตรี  ตดิ ตอ ประสานงานดานงบประมาณและสงกาํ ลงั บาํ รุง  จดั เตรยี มอุปกรณก ารเรียนการสอน, จัดเตรียมหุน ชวย๒ น.ส.นันทน ภัส เจยี มขุนทด ธรุ การ ปริญญา ภวญ. ตรี ฝก/อปุ กรณใ สท อชวยหายใจ  จัดทาํ ภาระงานอาจารย  การพมิ พง านธรุ การดา นการเรียนการสอน  จัดเตรียมหองเรยี น, อปุ กรณก ารเรยี นการสอน, จัดเตรียมหุนชวยฝก/อปุ กรณใ สท อ ชว ยหายใจ  จดั พิมพ เตรียม รวบรวมขอมลู ในการจัดทาํ แฟมประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา  การพมิ พงานธุรการดา นงบประมาณและสงกาํ ลงั บาํ รุง  จัดทาํ คา จางสอน  รบั -สง หนงั สอื  การใชโปรแกรมคอมพวิ เตอรต าง ๆ (๔) สนิ ทรพั ย สํานกั งานภาควิชาวสิ ัญญวี ทิ ยา มีส่ิงอุปกรณถ าวร ๒ ประเภทคอื สป.สํานักงาน และสป.สายแพทย(ตารางท่ี 1-6) และมีหนงั สือทางวสิ ัญญวี ิทยาท่ีหองสมุดจินดา ยงใจยทุ ธ ซง่ึ อนญุ าตให นพท./นศพ.วพม. ยมืหนงั สอื ของภาควชิ าได ๔ | หน้า

ตารางที่ 1-6 ชนิดของส่งิ อปุ กรณถาวร ภาควิชาวิสัญญีวิทยา สป.ถาวร สป.ถาวร สายแพทยภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยา กศ.วพม. กองวิสญั ญแี ละหองผาตัด รพ.รร.๖๑.เครือ่ ง LCD ยี่หอ 3M รนุ X64 จาํ นวน ๑ เคร่ือง ๑.หุนฝก การชวยฟน คืนชพี ชน้ั สูง (ALS Skillmaster 4000) ประกอบดว ย๒.ตเู กบ็ เอกสาร ชนดิ ๓๒ ชอ ง ขนาด ๓๖น้วิ x ๑๒นิว้x ๗๒นว้ิ ชนดิ บานเลอ่ื น จาํ นวน ๒ ตู - เคร่ืองคอมพิวเตอร (notebook) จาํ นวน ๑ เครอ่ื ง - เครอ่ื ง Printer จาํ นวน ๑ เครอื่ ง - หุน ALS Skillmaster 4000 จาํ นวน ๑ ตวั ๒.หุนฝกหดั การใสทอ ชว ยหายใจ (AMBU) จาํ นวน ๑ ตวั ๓.เครื่องคอมพวิ เตอร Acer จอ LCD ๑๙ น้วิ จาํ นวน ๑ เคร่ือง ๔.เครื่อง Printer ยี่หอ LEXMARK รนุ E250dn จาํ นวน ๑ เครอ่ื ง ๕.เคร่ืองทําลายเอกสารย่หี อ MARTIN YALE 2000SC จาํ นวน ๑ เครอื่ ง ๖.กลองถา ยรปู ดิจติ อล SONY Cybershot จาํ นวน ๑ เครอื่ ง ๗.เคร่อื งคอมพวิ เตอร (notebook) ยี่หอ Acer รนุ TravelMate จาํ นวน ๑ เครือ่ ง ๘.เคร่อื งคอมพวิ เตอร ย่หี อ Acer จอ LCD ๒๑ นวิ้ จาํ นวน ๑ เครอื่ ง ภาควิชาวสิ ัญญีวิทยา ไดใช Line application ในการสื่อสารระหวางกลุมอาจารยใ นภาควชิ ากับนพท./นศพ.วพม. เพือ่ แจงตารางการเรียนการสอน ตารางการทาํ งาน การรับเคสเพ่อื ตรวจประเมนิ ผปู ว ยกอนการผาตัดและในการปฏบิ ัติงานในหอ งผาตดั เนื่องจากในการปฏบิ ตั งิ านในหอ งผา ตัดของนพท./นศพ.วพม. ตองมกี ารตรวจประเมนิ ผปู วยในวันกอ นการผา ตดั โดยจะทราบเคสผปู ว ยตามตารางการผาตดั ของวนั รุง ขน้ึ ในเวลาประมาณ ๑๕.๓๐-๑๖.๐๐ ซึ่งสว นใหญมกั มีการเปลยี่ นแปลงแกไข ยาย เล่อื น งด เคส ทําใหเ กิดปญ หาในการรับเคสของนพท./นศพ.วพม. การนํา Line application มาใชสามารถลดปญ หาในการรับเคสไดและใชส่ือสารแจงขาวไดต ลอดทันตอ เหตกุ ารณ (๕) กฎระเบยี บขอบงั คับ ภวญ.กศ.วพม. ดาํ เนนิ การภายใตสภาพแวดลอมดานกฎระเบยี บขอบงั คบั เกยี่ วกับการรบั รองมาตรฐาน/ วิทยฐานะ การรับรองคุณสมบัติหรือการขึน้ ทะเบียนและมาตรฐานการศึกษา ดงั น้ี- ระเบียบ ทบ. วาดวย วพม. พ.ศ.๒๕๔๗ ลง ๙ เม.ย.๔๗- ระเบียบ ทบ. วา ดวยการรับนักศึกษาแพทย วพม. พ.ศ. ๒๕๔๙ ลง ๑๒ เม.ย.๔๙- ระเบียบ วพม. วา ดว ยการรบั นสิ ติ เตรียมแพทยศาสตร (ชัน้ ปท ่ี ๑) เขาเปนนักเรยี นแพทยทหาร และ นกั ศกึ ษาแพทย วพม. พ.ศ. ๒๕๕๕ ลง ๕ เม.ย. ๕๕- ระเบียบ พบ.วาดว ยการศกึ ษาหลกั สูตร แพทยศาสตรบณั ฑิต วพม. (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๓- ระเบียบ วพม. วาดว ย การวัดผล การประเมนิ ผล และการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙- ประกาศ กศ วพม. วาดว ย ระเบียบการปฏิบตั ิในการขออุทธรณผ ลการสอบ และ การขอตรวจผลคะแนน สอบ ของ นพท./นศพ. พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕ | หน้า

- ระเบียบ วพม. วา ดว ย การศกึ ษาภาคฤดูรอน พ.ศ. ๒๕๕๕- ระเบียบ วพม.วาดวย การศึกษาภาคฤดูรอ น สาํ หรับ นพท./นศพ. ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙- ประกาศ กศ.วพม.เร่อื ง ขั้นตอนการปฏบิ ัตติ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอุดมศึกษารายวชิ า (มคอ. ๓- ๗) พ.ศ. ๒๕๕๙- กฎระเบียบขอ บงั คบั ของทางราชการ (งบประมาณ บญั ชแี ละการเงนิ การจดั ซอื้ -จัดหา)- เกณฑม าตรฐานผูประกอบวิชาชพี เวชกรรมแพทยสภา พ.ศ. ๒๕๕๕- ระเบียบวิธีวิจัยของคณะอนุกรรมการพิจารณาโครงการวิจัยกรมแพทยทหารบก และงบวิจัยตามระเบียบ ของแหลง ทนุ วจิ ยั- กฎระเบียบขอ บงั คับดา นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ไดแก การอบรมแผนปองกันและระงับอัคคีภัย แนวทางปฏบิ ัติเม่อื เจาหนา ที่ รพ.รร.๖ ถกู เข็มหรอื ของมีคมทใี่ ชกบั ผปู วยทิ่มตาํ หรือสมั ผัสสารคัดหล่ังของ ผปู วย ข. ความสมั พันธร ะดับองคกร (๑) โครงสรา งองคก ร ภาควิชาวิสัญญวี ทิ ยา เปนภาควิชาขนาดเลก็ มโี ครงสรางภาควิชาตามรูปท่ี ๑ โดยมอี าจารยหวั หนาภาควชิ าเปน หัวหนาหนว ย ทาํ หนาที่รับผดิ ชอบงานดานตางๆ ดงั น้ี  งานกาํ ลังพล บริหารหลกั สูตร และการเงิน  งานสง กาํ ลงั บาํ รุง และงานแผนพฒั นาหนวย  งานบรกิ ารวิชาการ และหองปฏบิ ตั กิ าร  งานธุรการ ประกันคุณภาพการศึกษา งานวจิ ยั ระบบการกาํ กับดแู ลของภาควิชาวสิ ัญญีวิทยา ประกอบดวย ๑. การประชุมคณาจารยประจํา ๒-๓ เดือน ซง่ึ วาระการประชมุ หลัก ไดแ ก ๑) เรอ่ื งแจงของหวั หนา ภาควิชาฯ ๒) การกํากับติดตามการบรหิ ารหลักสูตรรายวชิ าทร่ี บั ผิดชอบ ๓) การพฒั นาหลักสตู ร ๔)เรื่องอืน่ ๆ โดยมีการจัดทําบันทึกการประชุมทุกคร้งั ๒. การจดั ทาํ มคอ. ๓ และ มคอ. ๕ รวมทั้งแผนการสอนรายวิชา ๓. การจัดทํารายงานภาระงานประจําปของอาจารย ๔. การจดั ทํารายงานการประเมนิ ตนเองตามแนวทางพัฒนาสูความเปน เลศิ (SAR) ของภาควิชา ๕. การตรวจประเมินคณุ ภาพภายในประจาํ ป ซึ่งเปนสวนหนงึ่ ของระบบและกลไกการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของ วพม. ๖. การรายงานผลการดาํ เนินการของโครงการฯ ทภี่ าควิชาไดรบั การจัดสรรงบประมาณ ๖ | หน้า

รูปท่ี 1 โครงสรางภาควิชา (ผอ.วพม. / ผอ.รพ.รร.๖) พล.ต.ชาญณรงค นาคสวสั ด์ิรอง ผอ.กวญ.รพ.รร.๖ ปฏบิ ัติหนาท่ี ผอ.กองวิสัญญีและหอ งผา ตัด รพ.รร.๖อจ.หน.ภาควิชาวสิ ัญญีวทิ ยา กศ.วพม. พ.อ.นพดล ชื่นศริ ิเกษม พ.อ.หญิงศริ ลิ ักษณ ชาํ นาญเวช หน.ฝา ยวชิ าการ หน.ฝา ยวชิ าการรอง.ผอ.กองวสิ ญั ญแี ละหองผาตดั รอง.ผอ.กองวสิ ัญญีและหองผา ตดัพ.อ.หญงิ ศริ ิลกั ษณ ชํานาญเวช พ.อ.หญงิ ศิรลิ กั ษณ ชํานาญเวช ภาควชิ า หน.บก.กวญ.ฯ จ.ส.ท.หญงิ ทพิ ยอ นั นา นาราวสั ส พ.ต.ศริ ิ อยศู ิริ น.ส.นนั ทน ภสั เจียมขุนทด หน.สง. Q.A. หน.สง. H.A. พ.อ.นพดล ชื่นศริ ิเกษม พ.อ.หญิงศริ ิลกั ษณ ชาํ นาญเวช หน.ฝา ยการศกึ ษา หน.ฝา ยวิจัยพ.อ.หญงิ ศริ ลิ ักษณ ชาํ นาญเวช พ.อ.นพดล ชน่ื ศริ เิ กษม พ.อ.หญงิ ศิรลิ กั ษณ ชาํ นาญเวช ฝา ยนกั เรยี นแพทยท หาร ฝา ยแพทยป ระจาํ บา นพ.อ.หญงิ ศิรลิ ักษณ ชํานาญเวช พ.อ.หญิง ศริ ลิ กั ษณ ชํานาญเวช พ.อ.ธรี วฒั น ภูจญิ ญาณ พ.ท.ณฐั ธพงษ ภูวโชติโรจนโภคินโภคิน หน.หนวยระงับปวด หน.งานการพยาบาลแผนกวสิ ญั ญี พ.อ.นพดล ชน่ื ศริ เิ กษม พ.ท.หญิง จฑุ าภรณ ปุระโน พ.อ.ธรี วฒั น ภจู ญิ ญาณ หน.งานการพยาบาลแผนกหอ งผา ๗ตดั | หน้า พ.ท.สิทธาพันธ ม่นั ชพู งศ พ.ท.หญิง สถาพร มน่ั มา

(๒) ผูเรยี น ลกู คาอนื่ และผูมีสวนไดส ว นเสยี ความตองการและความคาดหวังของ ผเู รียน ลกู คาอื่น และผมู ีสว นไดสว นเสยี ของ ภวญ.กศ.วพม. แสดงในตาราง 1-7ตารางท่ี 1-7 ความตอ งการและความคาดหวงั ของผเู รยี น ลกู คา อ่นื และผมู ีสว นไดส ว นเสีย ผเู รียน/ ความตอ งการและความคาดหวงั ผูมีสวนไดสว นเสยีนพท./นศพ.วพม. ชัน้ ปท ี่ ๕  ไดรับการพฒั นาความรู /ทักษะตาม Learning outcome ท่กี ําหนดไวใ นหลักสตู ร และนพท./นศพ.วพม. ชัน้ ปท ่ี ๖ แผนการสอนรายวชิ า มกี ารเรียนการสอนตามตารางสอน(วชิ าเลอื ก วพมศศ ๖๐๔)นรพ.วิสัญญี  เชอ่ื มโยงเน้ือหาท่ีเรยี นรแู ละใชป ระโยชนท างคลนิ ิกกับหลักสูตรทางคลนิ ิกอ่นื ๆแพทยประจาํ บานวสิ ัญญีวทิ ยา  มสี ่งิ อาํ นวยความสะดวกและสิ่งสนบั สนุนการเรยี นรูทพ่ี อเพียง มคี ุณภาพ เชน หนุ ฝกกองการศกึ ษา  มีระบบใหค ําปรกึ ษาและชว ยเหลอื ผเู รยี นทม่ี ปี ญหาในการเรยี นรู  มชี อ งทางรบั เร่อื งรองเรียน และขอ เสนอแนะจากผเู รยี นหนว ยแพทยศาสตรศกึ ษา  เริม่ นาํ กระบวนทัศนการเรยี นรู (Learning paradigm) และกระบวนทศั นก ารประเมนิ เพอ่ืลูกคา บริการวิชาการ พฒั นาผลการเรียนรู (Assessment for learning) ไปสกู ารปฏิบัตอิ ยา งเปนรปู ธรรม  สงเสริมใหผ เู รียนเปน เจาของกจิ กรรมการเรียนรู เชน PBL  มีการพฒั นาความร/ู ทักษะตาม Learning outcome ท่ีกําหนดไวใ น มคอ. ๓  มีการประเมินผลการเรยี นรูต าม Learning outcome ทก่ี าํ หนด ทง้ั formative และ summative evaluation โดยนาํ ผลการประเมนิ ความกาวหนามาพัฒนาผูเรยี น  มกี ารพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอน/ ประเมินผล โดยเฉพาะรปู แบบการเรียนรทู ี่ ผูเ รียนสามารถเขา ถงึ ไดตลอดเวลาผา นเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-learning)  จัดทาํ และสงรายละเอียดหลักสตู รรายวชิ า (มคอ. ๓) และรายงานผลการดําเนนิ การ รายวชิ า (มคอ. ๕) ตามกําหนด  องคความรดู านวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท ถี่ กู ตองตามหลกั วชิ าการและทนั สมัยสํานกั งานพัฒนางานวจิ ยั  สง โครงรา งการวจิ ยั รายงานความกา วหนา และสรปุ ผลการวจิ ยั ตามกาํ หนดอาจารยภาควิชาอ่ืนๆ  การประสานงานท่ดี ีอยา งตอ เนื่องในชั้นคลินกิ  มีการประสานงานท่ีดีแผนกหอ งปฏบิ ตั กิ าร  มีการประสานงานที่ดีและวิจัยศูนยสารสนเทศ ๘ | หน้า

๒. สภาวการณขององคกร ก. สภาพดา นการแขงขัน ๑) ลําดับในการแขงขนั ในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ภาควชิ าวสิ ญั ญวี ิทยา รับผิดชอบจดั การเรยี นการสอน นพท./นศพ.วพม. ชน้ัปท ่ี ๕ จํานวน ๑ รายวิชา รวม ๒ หนว ยกติ และ รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนวชิ าเลอื กสาํ หรบั นพท./นศพ.วพม. ชนั้ ปท่ี ๖ จํานวน ๑ รายวชิ า รวม ๒ หนว ยกิต ซ่ึงมจี ํานวนหนว ยกิตใกลเ คียงหรอื เทา กบั สถาบันอื่นๆ ๒) การเปลย่ี นแปลงความสามารถในการแขงขัน การเปล่ยี นแปลงที่สําคัญซึ่งมีผลกระทบตอสถานการณแขง ขนั ของภาควชิ า รวมถึงการเปลี่ยนแปลงที่สรา งโอกาสสาํ หรับการสรางนวัตกรรมและความรวมมือ มดี ังนี้ (๑) การปรบั ปรงุ แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในโดยใชเ กณฑ EdPEx เนอื่ งจากในปการศึกษา ๒๕๕๙ เปนระยะท่ี ๒ ของการพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา ซ่ึงทางคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา วพม. กําหนดใหปรบั ปรุงรปู แบบของการประเมนิ ตนเองตามเกณฑEdPEx โดยเพ่มิ เตมิ เกณฑในหมวด ๑ การนําองคก าร และหมวด ๔ การวัด วเิ คราะห และการจัดการความรูรวมท้ังผลลพั ธท เ่ี ก่ยี วขอ งในหมวด ๗ ดังนั้นทางภาควิชาจึงตองปรบั ตัวและเรยี นรูรายละเอียดของเกณฑดงั กลา วเพอ่ื จัดทํารายงานการประเมินตนเองรวมท้งั รวบรวมผลลัพธทเี่ กย่ี วของ (๒) การเตรียมความพรอมรบั การตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาระดบั สถาบนั ตามเกณฑ EdPEx เนอื่ งจากในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ เปนปที่ วพม . รับการตรวจประเมินสถาบนั ผลติ แพทยตามเกณฑEdPEx ทําใหภาควิชาตอ งมกี ารปรบั ตวั เพือ่ เรยี นรูรายละเอยี ดของเกณฑ EdPEx ในสว นทเ่ี กี่ยวของกับพันธกจิ ของภาควิชา เพอ่ื เตรียมใหข อ มลู แกผ ตู รวจประเมนิ ไดอยางถูกตอง (๓) นโยบายของ กศ.วพม. ท่ีตองการใหท กุ ภาควิชาพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนการสอนและการประเมนิ ผลตามผลการเรียนรทู ก่ี ําหนดไวในหลกั สูตร รวมทงั้ กระบวนทัศนใ หมท างแพทยศาสตรศกึ ษา คณะกรรมการรายวิชา วิสญั ญีวทิ ยา ที่ ภวญ.กศ.วพม. รบั ผดิ ชอบจัดการเรยี นการสอนไดพ ยายามนาํนโยบายของ กศ.วพม. ไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม โดยออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหค รอบคลมุ ผลการเรยี นรูทั้ง ๖ ดาน จดั กจิ กรรมการเรียนรทู ีค่ รเู ปนผูก าํ หนดวตั ถปุ ระสงคแ ละ ผูเรยี น เปนผรู บั ผิดชอบในการคน ควา หาขอ มูลเพ่อื นํามาเสนอใหเพือ่ นฟง และตอบคําถามเพมิ่ เตมิ ในหอ งเรียน มีการประเมนิความกาวหนา ของผเู รยี นเปน รายบคุ คล รายกลุม และท้งั ช้นั เรยี น และนํามาพัฒนาผลการเรียนรูของผเู รียน เร่ิมมีความพยายามในการ พฒั นารูปแบบการจดั การเรียนการสอน ท่ีผูเรียนสามารถเ ขา ถึงไดตลอดเวลา ในรูปแบบ e-learning ซึ่งคาดวาจะสมบูรณใ นปก ารศึกษา ๒๕๖๐-๑ ๓) ขอ มูลเชิงเปรยี บเทยี บ เนื่องจากแผนกประเมินผลฯ มีการสาํ รวจความคิดเห็นของ ผเู รียน ทุกชน้ั ป ดงั นั้น แหลงขอ มลู เชงิเปรียบเทียบ ประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพของการจัดการเรียนการสอนระหวา งภาควิชาในช้นั ปที่ ๕ จงึ มาจากแผนกประเมินผลฯ เปน หลกั ปจ จุบันภาควิชาไมมกี ารเปรียบเทยี บขอมลู เชงิ แขงขันกบั สถาบนั อ่ืนๆ ๙ | หน้า

ข. บรบิ ทเชิงกลยุทธ บริบทเชงิ กลยทุ ธของภาควชิ าวสิ ญั ญวี ิทยา แสดงในตารางท่ี 2-1ตารางท่ี 2-1 บริบทเชิงกลยุทธของ ภวญ.กศ.วพม. ความทา ทายเชงิ กลยทุ ธ ความไดเ ปรยี บเชงิ กลยทุ ธ๑. สงเสริมอาจารยในภาควชิ าใหเ จริญกา วหนา ตามแนว ๑. ความมุงม่ันและทมุ เทของคณาจารยใ หก บั การเรียนการทางการรบั ราชการเพ่ือใหม ขี วญั และกาํ ลงั ใจในการปฏิบตั งิ าน สอน ดแู ลเอาใจใสผ ูเรียนอยางใกลช ิด๒. การพัฒนาส่ือการเรียนรูผานระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒. การบริหารจดั การหลกั สูตรและการประกนั คณุ ภาพเพ่อื ใชป ระโยชน IT Infrastructure ทจ่ี ะไดร ับการพฒั นาใน การศึกษาท่ีเขม แข็งและมีประสิทธภิ าพ (มกี ารทบทวนผลการอนาคต จดั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บกบั แผน การกลน่ั กรองขอ สอบ การ วเิ คราะหข อ สอบ การทวนสอบผลการสอบยอ ย)๓. พฒั นาศักยภาพการทาํ งานวิจยั ในรปู แบบสหสาขา ๓. มวี ัฒนธรรมการทาํ งานทีม่ งุ เนนผลลัพธและสง มอบคุณคา ใหแ กผ เู รยี นโดยนาํ ขอมูลปอนกลบั ของผูเรยี นมาเปนปจจยั๔. กลมุ นกั เรียนที่มกี ารเรียนการสอนตรงกับวันหยุดนกั ขตั นาํ เขา เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอนอยา งตอเน่ืองฤกษต อ เนื่องหลายวนั ทําใหเ ปนอุปสรรคในการบริหารเวลา ๔. มรี ะบบอาจารยท่ีปรกึ ษาทท่ี ุมเทเพือ่ ชว ยเหลอื นพท./๕. การผลติ ผลงานตาํ รา/หนังสอื รวมทง้ั สอื่ การสอนใน นศพ.วพม. ที่ประสบปญ หาในการเรียนรูรูปแบบตา งๆ ทีห่ ลากหลาย เพ่อื สนบั สนุนการเรียนรูของ ๕.บคุ ลากรของ ภวญ./กวญ. ใหค วามรว มมอื ดี มคี วามนพท./ นศพ.วพม. คลอ งตัวในการทาํ งานแบบมีสว นรว มและทาํ งานเปน ทีม๖. มีภารกิจนอกหนวยตามส่ังการของหนว ยเหนือ ทําใหอาจารยอาจจาํ เปนตองเล่อื นการสอน มีภาระงานมาก ๖. มกี ารฝก อบรมแพทยประจาํ บาน สามารถนาํ มาเปน อาจารยผชู วยสอนได โอกาสเชงิ กลยุทธ๑. ทิศทางการพฒั นาระบบการตรวจประเมินคณุ ภาพการศึกษาท้งั ในระดับหลักสูตรและระดบั สถาบันที่มุง เนนท้งั กระบวนการจดั การศึกษาและผลลัพธทางการศกึ ษาตามมาตรฐานสากล๒. ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ ปน ไปอยางกา วกระโดดชวยใหส ามารถจดั การเรียนการสอนในรปู แบบทไ่ี มสามารถทําไดใ นอดตี ค. ระบบปรบั ปรงุ ผลการดําเนินการ ระบบปรับปรุงผลการดําเนินการของภาควิชาวิสัญญีวทิ ยา ใชแนวคดิ เดยี วกับ วพม . คอื PCMS systemซง่ึ เปน ไปตามกรอบแนวคิดของวงจรคณุ ภาพ Plan-Do-Check-Act (PDCA) ไดแก ๑) กําหนดเปา หมาย ตวั ชว้ี ัดและออกแบบกระบวนการที่จะทําใหบรรลุเปาหมาย (Plan) ๒) นํากระบวนการที่ออกแบบไปปฏิบัติ (Carry out)๓) วดั วเิ คราะห และทบทวนเพ่อื เรียนรู (Measure & learn) และ ๔) ธาํ รงรักษาและพฒั นาอยา งตอเน่ือง(Sustain) แสดงในแผนภมู ติ ามรปู 2 ๑๐ | หน้า

แผนภมู ิรูปท่ี 2 ระบบปรับปรุงผลการดําเนินการ PCMS system (ตามแบบ วพม.) ในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ภาควิชาวิสัญญีวทิ ยาไดมกี ารปรับปรุงระบบการดําเนนิ การ 2 สวน คอื1. ดานการบริหารและธุรการภาควิชา 1) กําหนดเปา หมาย ตัวช้วี ัด และออกแบบกระบวนการท่ีจะทาํ ใหบรรลเุ ปา หมายกาํ หนดเปาหมาย : - จดั ทาํ แผนการดําเนินงานของภาควิชาตามหว งเวลา (Time frame) - พฒั นาขดี ความรคู วามสามารถของอาจารยแ ละเจาหนา ทีภ่ าควิชาตวั ช้ีวดั : - มแี ผนการดาํ เนินงานของภาควิชาตามหวงเวลา (Time frame) และจํานวนครั้งของการประชุมแผนฯ - จาํ นวนครง้ั และจํานวนคนท่เี ขารว มอบรมตามโครงการตา งๆ ของวพม.และสถาบันอืน่ ของอาจารยและเจาหนา ท่ภี าควชิ าออกแบบกระบวนการ : - กําหนดประชมุ ภาควชิ าทกุ 3 เดือนเพอื่ จัดทาํ แผนการดาํ เนินงานและประเมนิ ผลเปน ระยะเพื่อใหม ีแผนการดาํ เนินงานและการปรบั ปรงุ แกไขไดท ันการณ - กาํ หนดหนาที่รบั ผิดชอบในแตละสว นงานของภาควชิ าใหก บั อาจารยและเจา หนา ที่ภาควิชา ตามความสนใจและความรคู วามสามารถ 2) นํากระบวนการที่ออกแบบไปปฏิบัติ - จดั ประชุมภาควิชาทุก 3 เดือน (แบงเปน สว นอาจารยแ ละเจาหนา ทีภ่ าควิชา) เรอ่ื งการจัดทําแผนการดําเนินงานและประเมนิ ผลตามแผนการดําเนนิ งานเปน ระยะเพื่อสามารถปรบั ปรุงแกไ ขไดทันการณ - มอบหมายหนา ท่รี ับผดิ ชอบเพื่อเขา รว มอบรมตามโครงการตางๆ ของวพม.และสถาบนั อ่ืนของอาจารยและเจา หนาท่ภี าควชิ าและเจา หนา ท่ีภาควิชาและเจาหนาท่ีภาควิชา ๑๑ | หน้า

และเจาหนาท่ภี าควชิ า ตามความสนใจและความรคู วามสามารถ ของแตล ะคน นําผลความรทู ่ไี ดจากการเขารวมประชุมหรืออบรมมาพัฒนาปรับปรุงวางแผนการดาํ เนนิ งานของภาควิชา 3) วัด วเิ คราะห และทบทวนเพ่ือเรยี นรู ดูจาก - แผนการดาํ เนินงานของภาควิชาตามหว งเวลา (Time frame) และจํานวนครั้งของการประชุม - จํานวนครง้ั และจํานวนคนท่ีเขารวมอบรมตามโครงการตางๆ ของวพม.และสถาบันอ่นื ของอาจารยและเจาหนาที่ภาควิชา - การพัฒนาปรับปรุงวางแผนการดําเนินงานของภาควิชาทไ่ี ดจากผลความรขู องการเขารว มประชมุอบรม - ผลการประเมิน 360 องศาของการดาํ เนนิ งานรายปของภาควิชา 4) ธํารงรักษาและพัฒนาอยา งตอ เนอื่ ง - มกี ารพัฒนาปรับปรงุ วางแผนการดาํ เนนิ งานของภาควชิ าอยางตอเน่ือง โดยมงุ เนน ความพงึ พอใจของอาจารยแ ละเจา หนาท่ีภาควชิ าและผลการดําเนินงานของภาควชิ าตามหวงเวลาเปน หลกั2. ดานการเรียนการสอนและงานวิจยั 1) กําหนดเปาหมาย ตัวชวี้ ดั และออกแบบกระบวนการท่ีจะทาํ ใหบ รรลุเปา หมายกาํ หนดเปา หมาย : - การปรับปรงุ หลักสตู รและแผนการสอนรายวิชาวิสญั ญีวทิ ยา - การจดั หาหุนฝกใสท อชวยหายใจและหุนฝก เจาะหลงั - การพฒั นาและจัดทาํ คลงั ขอ สอบเปน ภาษาองั กฤษทงั้ หมด - การสงเสรมิ และสนบั สนุนงานวิจยั ทางดานวสิ ัญญีวทิ ยาของอาจารยตวั ชว้ี ดั : - หลักสูตรวสิ ัญญีวิทยา (ฉบับปรับปรุง) และมกี ารจดั ทําแผนการสอนรายวชิ าวิสัญญีวิทยา - จาํ นวนหนุ ฝกใสท อ ชวยหายใจและหนุ ฝกเจาะหลัง - มีคลังขอสอบเปน ภาษาองั กฤษทง้ั หมดและจาํ นวนขอ สอบเพ่มิ ข้ึน - จาํ นวนงานวจิ ยั ทางดานวิสัญญวี ิทยาของอาจารยออกแบบกระบวนการ : - กาํ หนดประชมุ ภาควชิ าทกุ 3 เดอื นเพ่อื ทําการปรบั ปรุงหลกั สูตรและแผนการสอนรายวิชาวิสญั ญีวทิ ยา ตลอดจนการพฒั นาและทําคลงั ขอสอบเปนภาษาองั กฤษทง้ั หมด - เสนอของบประมาณสนันสนุนจาก วพม. ในการจดั หาหุนฝก ใสท อ ชว ยหายใจและหนุ ฝก เจาะหลัง - กําหนดหนา ทีร่ ับผดิ ชอบเกย่ี วกับงานวิจยั ใหกับอาจารย ตามความสนใจและความรคู วามสามารถ อยา งนอ ย 0.5 เรือ่ งตอคนตอป 2) นํากระบวนการที่ออกแบบไปปฏิบัติ - จดั ประชุมภาควชิ าทกุ 3 เดือนเพอ่ื ทาํ การปรบั ปรุงหลกั สูตรและแผนการสอนรายวชิ าวสิ ัญญวี ิทยาตลอดจนการพัฒนาและทาํ คลังขอ สอบเปน ภาษาองั กฤษทัง้ หมด - เขียนโครงการเพอื่ เสนอของบประมาณสนันสนุนจาก วพม. ในการจัดหาหุน ฝกใสท อชว ยหายใจและหนุ ฝก เจาะหลงั ๑๒ | หน้า

- สงเสรมิ และสนับสนนุ เก่ียวกับงานวจิ ัยใหกบั อาจารย ตามความสนใจและความรคู วามสามารถ 3) วัด วเิ คราะห และทบทวนเพือ่ เรยี นรู ดจู าก - หลกั สตู รวิสญั ญีวิทยา (ฉบับปรับปรุง) และมกี ารจัดทาํ แผนการสอนรายวชิ าวิสญั ญีวิทยา - จํานวนหุนฝก ใสท อชวยหายใจและหุนฝกเจาะหลงั - คลงั ขอสอบเปน ภาษาอังกฤษทง้ั หมดและจํานวนขอสอบเพมิ่ ข้ึน - จํานวนงานวิจัยทางดานวิสญั ญวี ทิ ยาของอาจารย- ผลการประเมิน 360 องศา ดานการเรยี นการสอนและงานวิจยั ของภาควชิ า 4) ธาํ รงรกั ษาและพัฒนาอยา งตอ เนือ่ ง - มีการพัฒนาปรับปรุงหลกั สูตรและแผนการสอนรายวิชาของภาควชิ าอยางตอเนอ่ื ง โดยมงุ เนนความพงึ พอใจและผลการเรยี นรูท ก่ี ําหนดไวในหลกั สตู รของผเู รยี นเปน หลกั - จดั หอ งฝก ปฏบิ ัติการทม่ี ีหุน ฝก ใสทอชว ยหายใจและหุนฝกเจาะหลัง ตลอดระยะเวลาทีม่ นี พท./นพศ. ขน้ึ เรียน - คลังขอ สอบเปน ภาษาอังกฤษทงั้ หมดและจํานวนขอ สอบเพ่มิ ขึ้น มีการทวนสอบและวิเคราะหข อ สอบ ทกุ ป - เพมิ่ จํานวนงานวจิ ยั ทางดานวสิ ัญญีวิทยาของอาจารย และสงเสริมใหมกี ารตพี มิ พงานวิจัยในวารสาร ทางการแพทยระดับชาตแิ ละนานาชาติ ๑๓ | หน้า

สวนท่ี ๒ หมวด ๑ การนาํ องคก าร๑.๑ การนําองคการโดยผนู าํ ระดบั สงู (ของภาควชิ า) ผูนาํ ระดบั สูง (SL) ของ ภวญ.กศ.วพม. คอื อจ.หน.ภาควชิ า พัฒนาระบบการนําองคกรโดยออกแบบและจัดการระบบงานสําคัญของภาควชิ า โดยใชแ นวคดิ พน้ื ฐานของการปรับปรงุ ผลการดําเนินการของ วพม. คอืPCMS system (รปู ที่ 2) ระบบการนําองคกร (LS) จะเนนการใชระบบการสอื่ สารทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ ทง้ั โทรศพั ท Line applicationและอเี มล รวมทงั้ นาํ เสยี งของผูเรียนและผมู สี วนไดส ว นเสียเปนขอ มูลนําเขา เพือ่ ทาํ ความเขาใจกบั ความตอ งการและความคาดหวงั ของผทู ีเ่ กยี่ วของทั้งหมด ก. วิสัยทัศน คานิยม และพนั ธกิจ SL กาํ หนดวสิ ยั ทศั น พันธกจิ และคานยิ ม ผานระบบวางแผนกลยทุ ธของ ภวญ.กศ.วพม. ซ่ึงสอดคลอ งกับวสิ ัยทัศนข อง วพม. สาํ หรบั พนั ธกจิ สอดคลองกบั ภารกิจที่กาํ หนดไวในอตั ราการจดั เฉพาะกิจ (อฉก.) SL แสดงออกถงึ ความมุง ม่นั ตอ การประพฤติปฏบิ ัติตามกฎหมายและการประพฤติปฏบิ ตั ิ อยาง มีจริยธรรม ดังนี้ ๑) ถา ยทอดนโยบายการกาํ กบั ดูแลองคการที่ดขี อง วพม . ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๐ เพื่อใหบคุ ลากรทุกคนปฏบิ ตั ติ นตามนโยบายฉบบั นี้อยางเครง ครดั ๒) กาํ กับดูแลการปฏิบตั ติ นของอาจาร ยใ นภาควชิ าใหสอดคลองกับจรรยาบรรณคณาจารย และจริยธรรมแหงวิชาชีพแพทย ๓) ใหค วามสาํ คัญกับการประเมนิ คณุ ภาพภายในซึง่ เปน สวนหนงึ่ ของระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ วพม . โดยจดั ทาํ รายงานการประเมนิ ตนเองประจาํ ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ พรอ มทัง้ รวบรวมผลลพั ธท เี่ กย่ี วขอ ง ๔) ใหค วามสาํ คัญกับการตรวจประเมนิ คุณภาพการศึกษาโดยหนวยงานจากภายนอก (ยศ.ทบ. สปท. กสพท และ สมศ .) โดยเตรยี มพรอมอาจารยแ ละเจาหนา ท่ีเพือ่ ใหข อมลู แกผ ูตรวจประเมินฯ ๕) ใหค วามรว มมอื โดยสง รายชอ่ื อาจารยแ ละเจา หนา ที่เขาฟงการบรรยายพเิ ศษเพื่อสงเสรมิ การประพฤติปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและการประพฤตปิ ฏิบตั อิ ยา งมจี ริยธรรม เมื่อ วพม. เชญิ วิทยากรจากภายนอกมาบรรยาย ๖) เสนอชือ่ บคุ ลากรและอาจารยทม่ี ีคณุ สมบตั ิเหมาะสมเพ่อื เขา รับการพิจารณารางวัลบคุ ลากร/อาจารยดเี ดน ของ วพม. ๗) ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ วพม. เรอื่ ง การขออุทธรณผลสอบ เม่อื มี ผเู รียนมายื่นคาํรองฯ SL ทาํ ใหภาควิชาประสบความสําเร็จอยา งยัง่ ยนื โดย ๑) สรางสภาพแวดลอมเพ่ือใหเ กดิ การบรรลพุ นั ธกิจ โดยทํางานประสานสอดคลองกันเพ่อื ใหบรรลพุ นั ธกิจผา นระบบการสื่อสาร (CS) ๒) มุง เนน การเปนผูนําในดานผลการดาํ เนินการโดย กําหนดตัวช้ีวดั ของภาควชิ าและวงรอบของการทบทวนตัววัดผลการดําเนนิ การ ๓) สง เสรมิการเรยี นรรู ะดบั ภาควชิ าและระดับบุคคล โดยกําหนดเปนนโยบายใหถือวา การเรียนรเู ปนสว นหน่ึงของงานประจําจดั การสนทนาวิชาการ เพื่อสงเสรมิ การแลกเปล่ียนเรยี นรู และนาํ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี ท่ไี ดรบั การชน่ื ชม ในการตรวจประเมินคณุ ภาพภายใน ไปนาํ เสนอใน งานมหกรรมคุณภาพประจําป ของ วพม . เพ่อื แลกเปลยี่ นเรยี นรูก ับผเู ขาประชมุ รวมทง้ั สรา งวฒั นธรรมการทาํ งานทท่ี าํ ใหผเู รยี นไดร ับประสบการณทดี่ ีอยางสมํ่าเสมอ เพอ่ื สง เสรมิ ใหผเู รยี นผกู พันกับ ภาควิชา โดยเนน การ ปฏิบัติามคานยิ มของ วพม. คอื “สามคั คี มีวนิ ยั ใสใ จผูเ รียน ผลงานเปนเลิศ” และคาํ ขวัญทีว่ า “วิชายอด วนิ ัยเย่ียม เปย มคณุ ธรรม ” ๔) สรางสภาพแวดลอมเพ่ือสนับสนุนใหบคุ ลากรใชความคดิ สรา งสรรคในการ ปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล รวมทั้ง สรางนวตั กรรม ท่ี ๑๔ | หน้า

เก่ยี วกบั การจัดการเรียนการสอน และ สงผลงานเขา ประกวดนวตั กรรมและสง่ิ ประดษิ ฐเปน ประจําทกุ ป ๕) มีสว นรว มในการวางแผนสบื ทอดตาํ แหนงและพฒั นาผนู ําในอนาคตขององคกร โดยมอบหมายงานท่ีทา ทายใหแ กอาจารย/เจา หนาทซี่ ง่ึ มคี ณุ สมบัตเิ หมาะสม ใหทาํ หนา ทใ่ี นคณะกรรมการและคณะอนกุ รรมกา รชุดตาง ๆ เพอ่ื ใหมีประสบการณแ ละมสี วนรว มกําหนดและนําแผนงานตาง ๆ ไปปฏิบตั ิ ข. การส่อื สารและผลการดาํ เนินการขององคก าร SL สือ่ สาร /สรา งความผกู พันกบั เจาหนาท่ี และผูเรียนผา นระบบ สือ่ สาร โดยใชช องทางส่ือสารท่ีหลากหลายทั้งการส่ือสารสองทาง Line application และอเี มล และสือ่ สารการตัดสนิ ใจท่สี าํ คัญโดย SL แบบตรงไปตรงมา โดยการตดั สินใจจะสอดคลองกบั วิสยั ทศั น พนั ธกจิ ของ วพม. SL ประเมินประสิทธผิ ลของระบบการสอ่ื สารโดยกาํ กับตดิ ตามผลการปฏิบัตติ ามนโยบายสําคัญ รวมท้ังทบทวนตวั ชี้วดั การนําองคก ร ตัวอยา งการปรบั ปรุงเพ่ื อเพม่ิ ชอ งทางการสื่อสารในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดแ ก ๑) พฒั นาชอ งทางการติดตอส่อื สาร ของคณะกรรมการ หลกั สตู ร วชิ า วสิ ญั ญีวทิ ยา ผานทาง Line application ๒) จดั ประชุมคณะกรรมการ หลกั สตู รวชิ าวิสัญญีวทิ ยา ทกุ ๒-๓ เดือน ๓) ใช Line application เพื่อแจง ตารางการเรียนการสอน ตารางการทํางาน การรับเคส ซ่ึงสามารถลดปญ หาในการรับเคสไดแ ละใช สือ่ สารระหวา งอาจารยใ นภาควิชากับนพท./นศพ.วพม. เพ่ือแจง ขา วไดต ลอดทนั ตอ เหตุการณ SL แสดงบทบาทเชิงรกุ ในการจงู ใจบคุ ลากรเพือ่เสริมสรา งใหม ีผลการดําเนนิ การทีด่ ี และใหความสาํ คญั กบั ผูเ รยี นและผลการดาํ เนนิ การขององคกร โดย ๑) แจง ใหบุคลากรทราบถึงสิง่ ที่ SL ตองการและคาดหวัง ๒) กําหนดเงอ่ื นไขในการ พจิ ารณาเสนอช่ืออาจารยและเจาหนาท่ีสาํ หรบั การพจิ ารณาเล่อื นขั้นเงนิ เดอื นสองขัน้ ๓) มีสวนรวมในการ เสนอช่ืออาจารยแ ละเจาหนา ที่ เพอ่ื รบั รางวลัอาจารย/เจา หนาที่ดีเดน หรอื มจี ริยธรรมดีเดน ๔) เสนอโครงการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน / พัฒนาหนวยตามแผนยุทธศาสตร วพม . เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก วพม . ๕) เสริมสรา งความผกู พันโดยใชเปาหมายรว ม คอื วิสยั ทัศนและพันธกจิ เพื่อใหบุคลากรภ าคภูมใิ จทเ่ี ปนสวนหนง่ึ ของ หนวยงาน ๖) ชว ยแกไขปญ หา/ อุปสรรคในการทํางาน SL ทําใหเกดิ การปฏบิ ตั อิ ยา งจรงิ จังเพอื่ ใหบรรลุวัตถปุ ระสงคของ หนวยงาน มีการสรา งนวัตกรรมและบรรลุวสิ ยั ทัศน ของหนว ยโดยใช ๑) ระบบการนําองคก รทเ่ี ช่อื มโยงการออกแบบและจดั การระบบงานสําคั ญของหนวยเขา ดว ยกัน ๒) นําเกณฑคุณภาพการศึกษาเพอ่ื การดาํ เนนิ การท่เี ปนเลศิ (EdPEx) มาสกู ารปฏบิ ัติ ๓) การประชุมภาควิชาประจาํ ๒-๓ เดือน เพือ่ กาํ กบั ติดตามการดาํ เนนิ งานตามแผนงาน ๔) เชื่อมโยงการพิจารณาความดีความชอบสาํ หรับอาจารยและเจา หนาที่กับผลการดําเนนิ งานของหนวย ๑๕ | หน้า

๑.๒ การกํากับดูแลและความรับผดิ ชอบตอสงั คม ก. การกาํ กบั ดูแลองคการ อจ.หน.ภวญ.กศ.วพม. แสดงถงึ ภาระรบั ผิดชอบในการกระทาํ ของคณะผบู รหิ าร โดย ๑) สื่อสารใหบุคลากรทกุ คนรบั ทราบและเขาใจเกยี่ วกบั นโยบายการกํากับดูแลองคก รทีด่ ี (OG) พรอมมาตรการสง เสรมิ และผลักดนั การปฏบิ ตั ิตามนโยบายดงั กลา วอยางเครง ครัด ๒) แตง ตง้ั คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของภาควชิ าฯ เพอ่ื ทาํ หนา ทก่ี าํ กับตดิ ตามการดําเนนิ การตามพนั ธกิจ โดยเฉพาะการจัดการศึกษาในรายวิชาทภ่ี าควิชาไดม อบหมายใหรบั ผิดชอบ ๓) แบงมอบหนา ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ บางสวนแกอาจารยประจําภาควชิ า ๔) จดั ประชุมคณาจารยภ าควชิ า เปน ประจําทุก ๒-๓ เดอื น เพอ่ื ถา ยทอดนโยบายจากหนว ยเหนือ กํากบั ติดตาม ผลการดาํ เนนิ งานตามทศิ ทางนโยบายของผูบริหาร การดําเนนิ การตามพันธกิจของภาควิชา และโครงการของภาควิชาที่อยใู นแผนปฏิบตั ิราชการประจาํ ปของ วพม . ๕) จดั ประชมุ เจาหนา ที่ของภาควิชา เพ่ือสอ่ื สารทิศทางนโยบายของวพม. รวมทั้งใหข อ มูลปอ นกลับเก่ยี วกับผลการปฏิบัตงิ านใหเจา หนา ที่ทราบ ๖) กําหนดและทบทวนตวั วัดผลการดําเนินการของภาควิชาซงึ่ สะทอน ประเมนิ ประสิทธผิ ลของการนาํ องคกร ของคณะผบู รหิ ารภาควชิ า (ตาราง ที่๑.๒.๑) ภาควชิ าวสิ ญั ญีวิทยา ใหค วามสําคัญอยา งยิง่ กับ ๑) การประเมินคุณภาพการศกึ ษาภายใน ประจาํ ป ซง่ึเปน สวนหนงึ่ ของระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ วพม . โดยจดั ทาํ รายงานการประเมนิ ตนเองประจําปการศกึ ษา ๒๕๕๙ ตามคมู อื และแนวทางของคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา วพม . และ ๒) การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาจากหนว ยงานภายนอก ไดแก ยศ .ทบ. สปท. กสพท และ สมศ. โดยเตรียมขอมลู สนับสนุนการตรวจเยยี่ มและใหข อมลู เพ่ิมเตมิ เม่อื ไดรับการรอ งขอ ภวญ.กศ.วพม. ปกปองผลประโยชนข องผมู ีสวนไดส ว นเสียโดย ออกแบบระบบงานใหตอบสนองความตองการและความคาดหวงั ของผมู ีสว นไดส ว นเสีย รวมทง้ั มี แนวปฏบิ ัตเิ ร่ืองการวางแผนสืบทอดตาํ แหนง ผนู าํระดับสงู โดยมอบหมายงานทท่ี าทายใหก บั อาจารยประจําภาควชิ า รวมทง้ั เปด โอกาสใหอาจารยภายในภาควชิ าไปเปนคณะอนุกรรมการ /คณะทํางานชุดตา ง ๆ ของ วพม . เพ่อื ใหเรียนรหู นาทแ่ี ละขอบเขตความรบั ผดิ ชอบ และประเมินประสิทธผิ ลของการปฏิบตั ิงาน ผอ.กศ.วพม. ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานข อง อจ.หน.ภาควิชา ปละ ๒ ครัง้ (ทกุ ๖ เดือน) ตามระบบราชการ ซง่ึ พจิ ารณาจาก ก ) การตอบสนองนโยบายของหนวยเหนือและผูบังคับบญั ชา ข ) ผลการดาํ เนนิ การจดัการศกึ ษาของรายวิชาท่ภี าควชิ ารบั ผดิ ชอบ ค) ผลงานตามพันธกจิ ของภาควชิ า และ ง) ผลการดาํ เนินการ ของโครงการตามแผนปฏิบตั ิราชการประจําปของ วพม. ๑๖ | หน้า

ตารางท่ี ๑.๒.๑ การประเมนิ ประสิทธผิ ลการนาํ องคกรของผบู ริหารภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยาประเดน็ ทีป่ ระเมินผล ชื่อตัวช้ีวัด ความถ่ี ผูรับผิดชอบ ปล ะครง้ั เจา หนา ท่ีประสทิ ธผิ ลของ ความพึงพอใจตอ ภาวะผูนาํ /การนาํ องคก รของ อจ.หน. ภาควชิ าฯ ปล ะคร้งัการนาํ องคก ร ภาควชิ า (ประเมนิ โดยกรรมการรายวชิ าและอาจารยป ระจํา เจา หนา ท่ี ปล ะครั้ง ภาควิชาฯ ของภาควชิ า) หน.ภาควิชาฯ ปละครั้ง ระดับคะแนนความพึงพอใจเฉล่ยี ของผเู รียนตอรายวิชาที่ หน.ภาควิชาฯ ปละคร้งั ภาควิชารบั ผดิ ชอบ ปละครั้ง หน.ภาควชิ าฯ หน.ภาควชิ าฯ รอยละของรายวชิ าทจี่ ัดทาํ รายงานผลการดําเนนิ การ ปละครง้ั ปล ะคร้ัง (มคอ. ๕) ภายในเวลาที่กาํ หนด ปละครั้ง ระดับคณุ ภาพของการประเมินคุณภาพภายในประจําปของ วพม. แนวปฏบิ ตั ิท่ีด/ี สิง่ ประดิษฐ/ นวัตกรรมทไ่ี ดร บั รางวัลการบรหิ ารโครงการและ รายงานสรุปผลการดาํ เนินโครงการที่ไดร ับการจัดสรรงบประมาณตาม งบประมาณ (ผลผลิต/ผลลัพธ/ ผลกระทบ)แผนปฏบิ ตั ริ าชการ รายงานสรุปผลการดําเนนิ การโครงการบรกิ ารวชิ าการ รอ ยละของเงินงบประมาณคงเหลือที่สง คนื เปรยี บเทยี บกบั งบประมาณท่ไี ดรับการจดั สรร รอ ยละเงนิ เหลอื จายสทุ ธติ องบประมาณที่ไดร บั ข. พฤตกิ รรมทีถ่ กู กฎหมาย และมีจรยิ ธรรม ภาควิชาวิสญั ญีวิทยา คาดการณลว งหนาถึงความกงั วลของสาธารณะที่มีตอการปฏิบัติการของภาควชิ าทั้งในปจจุบันและในอนาคต โดยแบง เปน ๔ หวั ขอ ไดแก ๑) การเรียนการสอน ๒) การดาํ เนินการตามแผนงาน-โครงการท่ีอยูใ นแผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ป ๓) การวิจัย ๔) การพิทกั ษส ิ่งแวดลอ ม และความปลอดภยั โดยภาควิชามีแนวทางดําเนินการ เพ่อื ลดความกังวลดังกลาวตาม ตารางที่ ๑.๒.๒ ดังน้ี ๑) จัดการเรยี นการสอนเพือ่พัฒนาผูเรียนใหมผี ลการเรยี นรูต ามเปา หมายที่กําหนดไวในหลักสูตร โดยกาํ หนดใหมวี าระประจาํ ในการประชุมคณาจารยภาควชิ าประจํา ๓ เดอื นทจี่ ะตอ งรายงานผลการดาํ เนินการ จัดการศึกษาสาํ หรับรายวิชาท่ภี าควิชารับผิดชอบไดเรมิ่ สอนไปแลวและรายงานความกาวหนาของการจดั เตรยี มแผนการจัดการเรยี นการสอนสําหรบัรายวชิ าท่ีภาควชิ ารบั ผิดชอ บแตยงั ไมไดสอน (ทั้งรายวิชาบงั คับและวชิ าเลือก ) ๒) วางแนวปฏิบัติระดับรายวิชาตามประกาศ วพม . เร่อื ง การอุท ธรณผลการสอบ /การตรวจสอบผลการสอบของ นักเรียนแพทยท หาร/นกั ศกึ ษาแพทย วิทยาลัยแพทยศาสตรพ ระมงกุฎเกลา พ .ศ. ๒๕๕๘ เพ่อื ใหส ามารถปฏบิ ตั ิไดทนั ที ๓) รวมซอมการปฏบิ ตั ิกรณีเกดิ เหตอุ ัคคีภัยของ รพ.รร.๖ ๔) มีแนวทางปฏิบตั เิ ม่ือเจา หนา ที่ รพ .รร.๖ ถูกเขม็ หรอื ของมคี มทใ่ี ชก บั ผปู ว ยทิ่มตําหรือสมั ผัสสารคัดหลั่งของผปู ว ย และปด ประกาศใหท ราบโดยทั่วกัน สาํ หรบั แนวทางสง เสริมและสรางความมั่นใจวาปฏิสัมพนั ธทุกดา นขององคกรเปน ไปอยา งมีจรยิ ธรรม(ตารางท่ี ๑.๒.๓) มดี ังนี้ ๑) ดําเนนิ การตามแผนงาน /โครงการทกี่ ําหนดไวใ นแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ปของ วพ ๑๗ | หน้า

ม. ซ่ึงภาควิชารบั ผดิ ชอบอยา งมปี ระสทิ ธิผลและประสทิ ธิภาพ โดยกาํ หนดให การกํากบั ตดิ ตามความกา วหนา ของการดาํ เนินการโครงการทัง้ หมดอยใู นวาระการประชมุ คณาจารยประจาํ เดือน ๒) ปฏิบัติตามจรรยาบรรณคณาจารย ๓) ปฏบิ ัติตามจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย ๔) ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางปฏบิ ัติของ วพม. กรณีมผี กู ลา วหาหรอื กลา วโทษอาจารยข องภาควิชา โดยดําเนนิ การแสวงหาขอเท็จจริงและรายงานเสนอตอ ผอ.วพม.ตารางที่ ๑.๒.๒ ผลกระทบเชิงลบที่อาจเกดิ ขึน้ จากการดาํ เนนิ การของภาควชิ าวสิ ญั ญีวิทยาผลกระทบเชงิ ลบ มาตรการปอ งกนั ผรู ับผดิ ชอบ ทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ การเรยี นการสอนผเู รยี นไมเ กดิ ผลการเรยี นรู - การออกแบบกระบวนการเรยี นรโู ดยนาํ ผลจากรายงานผลการดาํ เนนิ การ คณะกรรมการตามทก่ี าํ หนดไวใ นหลกั สตู ร ในปที่ผานมาเปน ปจ จัยนาํ เขา รายวิชา - การประเมินความกา วหนา ของผเู รยี น (formative evaluation) เพ่อื นํามาพฒั นาผลการเรยี นรู - การจัดทํา Table of specification ตามวตั ถุประสงคก ารเรียนร/ู การ คัดเลือกขอ สอบโดยคณะกรรมการรายวิชา - การกาํ กับติดตามผลการดาํ เนินการในการประชมุ ภาควชิ าประจําเดอื น - การทวนสอบผลสมั ฤทธิ์มาตรฐานทางการศึกษาผเู รยี นไมไ ดร บั โอกาสในการ - แนวปฏิบตั ิของภาควิชาตามประกาศ วพม. เร่ือง การอุทธรณผ ลการ หน.ภาควชิ าฯอทุ ธรณผ ลสอบ สอบ/การตรวจสอบผลการสอบของผเู รยี นแพทยท หาร/นักศกึ ษาแพทย วทิ ยาลยั แพทยศาสตรพ ระมงกฎุ เกลา พ.ศ. ๒๕๕๘คาํ กลา วหา/กลา วโทษวา - การจัดทาํ แผนการสอนรายชั่วโมง คณะกรรมการอาจารยล ะเมดิ จรรยาบรรณ - การสอนโดยคณาจารยข องภาควชิ าในชั่วโมงปฏบิ ัตกิ าร รายวชิ าคณาจารย - การประเมนิ อาจารยผูสอน โดยผูเ รียน - การสนทนากลมุ ยอยกบั ผเู รยี นโดยหัวหนา ภาควชิ า - การพิจารณาขอสอบและตดั สนิ ผลโดยคณะกรรมการรายวิชา แผนงาน/โครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ปยกเลกิ -ไมด าํ เนนิ การตาม - กําหนดผรู ับผิดชอบโครงการ หน.ภาควิชาฯโครงการ/ดาํ เนนิ การไมบ รรลุ - รายงานความกา วหนาของการดําเนินการโครงการในวาระการประชมุเปา หมาย คณาจารยป ระจาํ เดือนทกุ ๓ เดือน การวจิ ยัละเมดิ จรยิ ธรรม - การขออนมุ ตั โิ ครงการจากคณะกรรมการพจิ ารณาโครงรางการวจิ ัย หน.ภาควิชาฯการทาํ วิจัยในมนุษย - การรายงานความกาวหนาของการทําวิจยั สงิ่ แวดลอ มและความปลอดภยัอคั คภี ยั - กจิ กรรม ๕ ส หน.ภาควิชาฯอนั ตรายจากเขม็ หรอื ของมี - ระเบยี บ วพม. เรือ่ ง การปอ งกนั และจดั การอัคคภี ัย หน.ภาควชิ าฯคมทใ่ี ชก ับผูปวยทม่ิ ตํา - แนวทางปฏบิ ตั เิ มื่อเจา หนา ท่ี รพ.รร.๖ ถูกเขม็ หรอื ของมคี มที่ใชก ับผปู วย ทม่ิ ตําหรือสัมผสั สารคัดหลั่งของผูปวย ๑๘ | หน้า

ตารางที่ ๑.๒.๓ ตัววัดผลการประพฤติปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและมจี รยิ ธรรม ประเดน็ กฎหมาย กฎระเบียบ หรือ กระบวนการ/ กจิ กรรม ตัวชวี้ ัดการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ องคกรทเ่ี ก่ยี วขอ งตามกฎหมาย • ผลการประเมินคณุ ภาพภายในประจาํ ปและกฎระเบียบ กฎกระทรวง วา ดว ยระบบ - การประกันคุณภาพ • จาํ นวนคร้ังท่ี นพท./นศพ. รอ งเรียนวาการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ หลักเกณฑ และวิธีการ การศึกษา อาจารยล ะเมิดจรรยาบรรณคณาจารยอยา งมจี รยิ ธรรม ประกันคุณภาพการศกึ ษา - การประเมนิ คุณภาพ • จาํ นวนคร้งั ท่ี นพท./นศพ. รองเรยี น ภาควิชา เร่อื ง การละเมดิ สทิ ธใิ นการ พ.ศ. ๒๕๕๓ ภายในประจาํ ปข อง วพม. อทุ ธรณผ ลการสอบ จรรยาบรรณคณาจารย - การจัดการเรียนการสอน • จํานวนครงั้ ของการรอ งเรยี นภาควชิ า เรอ่ื ง การละเมดิ จรยิ ธรรมของการวจิ ัยใน โดยคณะกรรมการรายวิชา มนษุ ย ประกาศ วพม. เรื่อง การ - แนวปฏิบตั ริ ะดบั รายวิชา อุทธรณผลการสอบ/การ ตามประกาศ วพม.ฯ ตรวจสอบผลการสอบของ นพท./นศพ.วพม. พ.ศ. ๒๕๕๘ หลกั เกณฑก ารพจิ ารณา - การขออนุมัติดาํ เนนิ จริยธรรมของการวจิ ยั ใน โครงการวจิ ัยฯ มนษุ ย พ.ศ. ๒๕๔๐ ค. ความรับผดิ ชอบตอ สังคม และการสนบั สนนุ ชมุ ชนท่ีสําคญั ภาควชิ าวสิ ัญญีวทิ ยา ไดดาํ เนินกิจกรรม ๕ ส เพ่อื ปรับปรงุ แกไ ขงานและรักษาสิ่งแวดลอ มในท่ที ํางานใหด ขี ้ึนมาอยางตอเนอ่ื ง ซง่ึ อยบู นพน้ื ฐานของแนวคิด PCMS system นอกจากน้ยี ังปฏบิ ตั ติ าม โครงการลดการใชพลงั งานไฟฟา และโครงการพทิ กั ษสิง่ แวดลอมของ วพม. มาอยางตอเน่อื ง โครงการชวยเหลอื สังคมทีส่ ําคัญของ คณาจารย ภวญ.กศ.วพม. ไดแ ก ๑) การปฏบิ ัติหนาที่ ชดุ แพทยสนับสนนุ ภารกิจในพืน้ ที่สวนพระองคของสมเด็จพระเจา อยูห ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ๒) การปฏบิ ตั หิ นาทชี่ ุดแพทยส นับสนุนภารกิจอนื่ ๆ ของกองทพั บก ภาควิชาวิสัญญวี ทิ ยา เร่มิ วางแผนและมีโครงการจัดทาํ ตําราแบบ Case Based ประกอบการเรียนการสอนวิชาวสิ ญั ญีวิทยา โดยมุงเนนลูกคาเปนกลมุ นพท./นศพ.วพม. นกั เรยี นพยาบาลวิสัญญี ๑๙ | หน้า

สว นท่ี ๒ หมวด ๓ ลกู คา๓.๑ เสยี งของผูเ รียน ก. วธิ กี ารรบั ฟง กลุม ผเู รยี นและผเู รียน เพ่อื ใหไ ด Actionable information ภาควิชา วิสัญญีวิทยา กศ.วพม. ไดออกแบบระบบรับฟงเสียงของ ผูเรยี นและลกู คา อน่ื เรมิ่ จากการกําหนดวัตถปุ ระสงคข องการรบั ฟงเพอื่ ใหไดสารสนเทศทีส่ ามารถนําไปใชได และนําไปออกแบบชองทางการเสาะหาสารสนเทศจาก ผูเรยี นและลกู คา อ่นื เพอื่ ใหไดท ัง้ ความตองการและความคาดหวัง ความพงึ พอใจ ความไมพงึ พอใจ และความผูกพัน รวมท้งั ขอ เสนอแนะและขอรองเรียนตา งๆ ซึ่งขอ มลู จะถูกวิเคราะหและสงั เคราะหใ หเปน สารสนเทศในการประชมุ ประจําเดือนของคณาจารย และนาํ ไปใชเ ปน ๑) ปจจัยนําเขาของการ พฒั นาปรับปรุงหลักสูตร วิธกี ารจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลใน รายวิชาท่ภี าควิชารับผิดชอบ และ ๒) สนับสนุนผูเ รียนและลูกคาอืน่ เพือ่ ใหผ เู รยี นและลกู คา อ่นื พงึ พอใจและผกู พันกบั ภาควชิ า ภาควชิ ามีรูปแบบของการรบั ฟงเสยี งของผเู รยี นและลกู คาอ่นื ที่หลากหลาย (ตารางท่ี ๓.๑-๑) ทง้ั รปู แบบทเี่ ปน ทางการและไมเปนทางการ รปู แบบท่ี ไมเ ปนทางการ เชน การพูดคยุ กบั ผูเรียนในระหวา งการฝก ปฏบิ ตั ใิ นหอ งผาตดั การพบอาจารยท ่ีปรกึ ษา ชวั่ โมงหวั หนา ภาควิชาพบ ผูเรียน เปน ตน รปู แบบที่เปนทางการ ไดแ ก การประเมนิ โดยใชแบบสอบถาม ท้งั ในชวั่ โมงเรี ยน (เพื่อใหผเู รยี นสะทอนคดิ ดา นการเรยี นรใู นหวั ขอท่เี รียน ชว ยใหผเู รยี นยอนกลบั มามองจุดออนหรือสาเหตขุ องปญหาในสว นของตนเอง) และเมอื่ สนิ้ สดุ ภาคการศกึ ษา รูปแบบใหมท่ีเร่มิ นํามาใชในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ คอื การประเมิน ออนไลน โดยขอ มลู ทไ่ี ดรับ จากวิธกี ารรบั ฟง ผูเ รยี นตารางท่ี๓.๑-๑ จะถกู แปลงเปน สารสนเทศและ นําเขาไป หารอื ในการ ประชุมคณาจารยประจาํ เดือน เพอื่ พจิ ารณาตอบสนองในสว นทเี่ ห็นวา เหมาะสมและสามารถปฏบิ ตั ิไดทันที สาํ หรบั การรับฟงเสยี งของผูเรยี นในอดีต ภาควิชามีแนวทางการรับ ฟง เสยี งของ นพท./นศพ.วพม. ชัน้ ปที่ ๕ หลังการสอบ เพื่อนาํ เขา ที่ประชมุ คณาจารยประจํา ๓ เดือน และแปลงใหเปนสารสนเทศเพ่อื นําไปใชพฒั นา /ปรับปรุงเนือ้ หา วิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล และการสนับสนุนผเู รยี นใหดยี งิ่ ขึ้น สําหรับเสยี งของ ลูกคาอ่ืนโดยเฉพาะกลุม นกั เรยี นพยาบาลวิสัญญีและแพทยประจําบา นวิสัญญี ไดจ ากการประเมินโดยใชแบบประเมิน ผลรายวิชา เมอื่ การสอนสิน้ สุดลง ขอ มลู จะถกู นําเขาที่ประชุมคณาจารยข องภาควชิ า เพือ่ แปลงใหเปน สารสนเทศ และพิจารณาตอบสนองในสว นทีเ่ หน็ วา เหมาะสมและสามารถปฏิบัติไดโ ดยพฒั นา/ปรับปรุงการเรียนการสอนและการประเมนิ ผลในปก ารศกึ ษาถัดไป ข. วิธีการประเมนิ ความพงึ พอใจและความผูกพันของกลมุ ผูเรยี นและผูเรียน ภาควิชาวสิ ัญญวี ิทยา ใชว ธิ ีการที่หลากหลายในการประเมินความพึงพอใจและความไมพึงพอใจของผเู รยี นและลูกคาอ่ืน โดยตวั อยางของสารสนเทศท่สี ามารถนําไปใชไดแ สดงอยใู นตารางที่ ๓.๑-๑ ทั้งนข้ี อมลู ทไี่ ดจากแตละ ชอ งทางการรับฟง จะถูกนาํ ไปเขาที่ประชมุ คณาจารยป ระจําเดือน เพื่อแปลงใหเปน สารสนเทศและพจิ ารณาตอบสนองในสวนทีเ่ ห็นวา เหมาะสมและสามารถปฏบิ ตั ิได เพอื่ ตอบสนองใหเ กินคว ามคาดหวงั ของผเู รยี นและเพือ่ รักษาความผกู พันกบั ผูเรยี น ในระยะยาว ตวั อยา งของความไมพงึ พอใจและขอเสนอแนะของ ผูเรยี น ท่ีภาควชิ าไดนาํ มาพัฒนา/ ปรับปรุง เชน ๑) การกําหนดเวลาสอบในชว งบา ย เพอ่ื ให ผเู รียนไดม เี วลาในการทบทวน ๒๐ | หน้า

เพม่ิ ขนึ้ ๒) การจัดสถานท่ฝี ก หัดใสทอ ชวยหายใจกบั หนุ ฝก ๓) การใช Line application ในการรับเคสของนพท ./นศพ.วพม. เพ่อื ลดปญหาการงด ยา ย เปลี่ยนเคสกอนการผาตดั เปนตน ปจ จุบนั ภาควิชา วสิ ัญญวี ทิ ยา ยังไมไดน ําขอ มูลเชงิ เปรียบเทยี บของ ผเู รียน ทม่ี ีตอ ภาควิชาอื่นๆ ในชนั้คลินกิ มาใชป ระโยชนในเชงิ ของการพัฒนา แตใ นอนาคตมแี ผนทจี่ ะขอขอ มลู ดังกลาวจากแผนกประเมนิ ผลฯ เพอ่ืนาํ มาวเิ คราะห และสงั เคราะหใหเปนสารสนเทศท่นี ําไปใชประโยชนต อ ไป๓.๒ ความผูกพนั ของผูเ รยี น ก. วธิ กี ารคนหาความตองการ /ความคาดหวังเกีย่ วกับรายวิชาและบรกิ ารจากกลมุ ผเู รียน ผูเ รียน รวมทัง้ปรบั ปรงุ รายวชิ า/ ปรับปรงุ บรกิ ารเพื่อตอบสนองตอ ความตองการและทาํ ใหดีกวาความคาดหวัง ภวญ.กศ.วพม. กาํ หนด/ทบทวนความตองการของผูเ รียนและลูกคา ตอหลกั สตู รและบรกิ ารท่จี ัดใหต ามพันธกิจโดยรบั ฟง เสียงผเู รียนและลูกคา อ่นื ดวยวธิ ที ่แี ตกตางกนั ในแตละชว งเวลาของหลักสูตร และแปลงใหเ ปนสารสนเทศที่นาํ ไปใชตอบสนองความตอ งการและความคาดหวัง โดยขอ กาํ หนดสําคัญในการสนับสนุ นผเู รียนและลูกคา อื่นจะถายทอดสูก ารปฏิบตั ไิ ปยงั ทุกคนและทกุ กระบวนการท่ีเกย่ี วของในการสนับสนนุ ผูเ รียน นอกจากนย้ี ังกํากบั ติดตาม/วิเคราะหผ ลการดาํ เนินการดานการมงุ เนนลกู คาและกฎระเบียบขอ บงั คับทีเ่ ปล่ียนแปลงไป รวมทัง้ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน เพ่ือนาํ ไปปรับปรงุ รายวิชา/ ปรบั ปรงุ บริการเพือ่ ตอบสนองตอความตอ งการและทําใหดีกวาความคาดหวังโดยคณะกรรมการรายวชิ า ตัวอยา งของการปรบั ปรุงในปก ารศึกษาทีผ่ านมา ไดแ ก ๑) ปรับการเรยี นการสอนโดยใชป ญหาเปนหลัก (Problem-based) แทน เพอ่ื ใหบูรณาการเนือ้ หาท่สี อนผา นปญ หาทีพ่ บในกรณีศกึ ษาผูป วย เพื่อใหส อดคลองกบั แนวคิดของหลกั สูตร วพม. ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ ท่เี นนบูรณาการในแนวระนาบและแนวดิง่ เพื่อใหบ ัณฑิตมอี ัตลักษณท สี่ อดคลองกบั ความคาดหวังของสงั คมและทศิ ทางดา นแพทยศาสตรศกึ ษาที่เปลี่ยนแปลงไป ๒) ปรบั ปรุงสดั สวนคะแนนและวิธกี ารวดั แล ะประเมินผลใหสอดคลองกับเปา หมายในการพัฒนาผเู รียนใหม ผี ลการเรยี นรทู ุกดา นตามทีก่ าํ หนดไวใ นหลักสูตรรายวชิ า (มคอ. ๓) โดยลดสัดสว นของความรู /ทกั ษะทางปญญา / ทกั ษะพิสัย (อัตลักษณทางวิ ชาการ ) และเพ่มิ สดั สว นของทักษะความสัมพันธร ะหวา งบุคคลและความรบั ผิดชอบ และด านทกั ษะการวิเคราะหเชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ (อัตลกั ษณท างวิชาชีพ ) ๓) นาํ รูปแบบการเรยี นรทู ่เี นน Active learning มาใชม ากขน้ึ แทนการบรรยายโดยอาจารยผูสอน เชน TBL, case discussion, PBL ๔) เพมิ่ การฝก ปฏบิ ตั จิ รงิ กับหุนฝก สําหรับทกั ษะท่ี ตอ งปฏบิ ัติกบั ผูปว ย โดยเพิม่ การฝก ใสท อ ชว ยหายใจกบั หุนฝก ในชว่ั โมงการ บรรยายเรื่อง Airwaymanagement การวดั วิเคราะหและทบทวนขอมลู และสารสนเทศท่ไี ดจ ากระบบรบั ฟง เสียงของลูกคา และผมู สี ว นไดสว นเสยี ทาํ ใหเขาใจ ก ) ความตองการและความคาดหวังของผูม สี  วนไดสว นเสยี ข ) การเปลยี่ นแปลงดานเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยสี ารสนเทศและรูปแบบการเรยี นการสอนทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป นอกจากน้ีขอ มลู ใหมๆทางการแพทยท ี่ไดรับการตีพมิ พและเผยแพรช วยใหผ บู ริหารภาควชิ าพฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตรและบริการใหมีความสมบรู ณแ ละทนั สมยั มากย่ิงขนึ้ ตวั อยา งของการปรับปรงุ การวัดและประเมินผลรายวชิ าทีม่ าจากสารสนเทศของผเู รยี นในปการศกึ ษา๒๕๕๙ เชน ๑) การตัดสนิ ผลโดยใชว ธิ อี งิ เกณฑซ ึง่ อยบู นพ้นื ฐานของการวัดผลการเรยี นของผูเรยี นแตละคนเทยี บกบั มาตรฐาน ไมไดเ ปรียบเทียบผลการเรียนของผูเรยี นคนใดคน หน่งึ กบั ผเู รียนท้ังชนั้ เหมอื นกบั วธิ อี งิ กลมุ ซงึ่ ชวยสงเสริมการทาํ งานเปนทมี เพอ่ื เรียนรรู ว มกนั (ลดการแขง ขันภายในชัน้ เรยี น) ๒๑ | หน้า

ภาควิชาวสิ ัญญวี ทิ ยา มวี ิธกี ารทีห่ ลากหลายเพอ่ื ชว ยใหผ ูเรียนและลกู คาอื่นสามารถสบื คน สารสนเทศและรบั การสนบั สนุนจากภาควชิ า เร่ิมจากการปฐมนิเทศเพอื่ ให นพท ./นศพ.วพม. ทราบวธิ กี ารสอน วธิ กี ารประเมนิ ผล และผลการเรยี นรูเมอื่ สน้ิ สุดการเรียนการสอน โดยจดั ทาํ เปน “คูมือรายวิชา ” ซ่งึ จะมีรายละเอยี ดท้งั หมดทีต่ อ งการใหผเู รยี นทราบ ไดแ ก วตั ถปุ ระสงค ลาํ ดับเนื้อหาวิชา วิธกี ารสอน วิธปี ระเมินผล และอาจารยผสู อน นอกจากนี้ภาควิชาไดจ ดั “อาจารยท ป่ี รกึ ษา ” โดยแบง ผูเรยี นเปน ๒ กลมุ ตามจาํ นวนอาจารยภายในภาควชิ าฯ เพือ่ ทาํ หนาทีใ่ หค ําปรึกษาและคําแนะนํา เกีย่ วกับการเรยี นรู รวมท้งั ใหก ารชวยเหลอื เพมิ่ เตมิ กรณีท่ีผเู รียนมีปญ หาในการเรียนรแู ละปญ หาในเรือ่ งอ่นื ๆ โดยอาจารยท ป่ี รกึ ษาประจํากลุมจะใช Line application ในการติดตอ ส่อื สารกบั ผเู รียนในกลุม แตละคนเปน การสว นตวั ภาควชิ ามีแผนการจะจัดทํา “เวบ็ ไซต” ของภาควิชา เพอ่ื ใหเ ปน แหลง ขอ มูลท่ผี ูเรียนสามารถเขาถงึ เพอ่ืDownload ขอ มลู ท่ตี องการ เชน เอกสารคําสอน เอกสารประกอบการเรยี น วตั ถปุ ระสงคการเรยี นรู รายชื่ออาจารย หมายเลขโทรศัพท เปน ตน นอกจากนีย้ งั ใชเปนชอ งทางสาํ หรบั ใหผูเรียนตรวจสอบคะแนนสอบเปนรายบุคคล และตอบแบบประเมินตา งๆ ของภาควชิ าโดยใช username และ password รวมทง้ั ใชเ ปน ชอ งทางในการรับเร่ืองรองเรยี นจากท้งั ผูเรยี นและผปู กครองอกี ดวย ภาควิชาจําแนกกลุม ผเู รียนเปน ๓ กลุม คอื กลุม นพท./นศพ.วพม. นักเรยี นพยาบาลวสิ ัญญีและแพทยประจําบา นวสิ ญั ญี ๒๒ | หน้า

ตารางที่ ๓.๑-๑ วธิ กี ารรับฟงผูเรียน วิธกี ารรบั ฟง ผรู บั ผิดชอบ ความถ่ี  การสาํ รวจความคดิ เหน็ ของผเู รยี น จนท.ภาควิชา ภาคละ ๑ คร  แบบประเมนิ การจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า จนท.ภาควชิ า ภาคละ ๑ คร  แบบประเมนิ การฝก ปฏบิ ตั /ิ สอนในหอ งผาตดั จนท.ภาควชิ า ภาคละ ๑ คร  แบบประเมินอาจารยผ ูส อน (บรรยาย) หน.ภาควชิ าฯ ภาคละ ๑ คร  การสนทนากลมุ ยอ ย (Focus Group; PBL)  การพดู คุยอยา งไมเปน ทางการ (ในหองผา ตดั ) อาจารย ตอเนือ่ ง  การรอ งเรียนผา นหัวหนาภาควิชาฯ หน.ภาควิชาฯ เมอื่ มีผูรอง  การรอ งเรียนผานผูบ ริหาร วพม. หน.ภาควชิ าฯ เมื่อมีผูรอ ง  การรอ งเรยี นผา นเว็บไซต หรอื Line application หน.ภาควชิ าฯ เมอ่ื มีผูรอง  เสียงสะทอนจากผูบริหาร วพม. หน.ภาควิชาฯ เมอ่ื มผี ูรอ ง  การประชมุ นขต.วพม. และ นขต.กศ.วพม. เดอื นละครง้ั  เสยี งสะทอ นจาก รพ.สมทบ/แพทยเ พม่ิ พนู ทกั ษะจาก หน.ภาควิชาฯ การตรวจเยย่ี มของ ผอ.กศ.วพม. และคณะ ปล ะ ๑ ครง้ั  เสยี งสะทอ นจากอาจารยผสู อน/ อาจารยท่ีปรกึ ษา หน.ภาควชิ าฯ ทกุ เดอื น๒๓ | หน้า

 ง ง  ง  ง ง ง     รง้ั              รั้ง       รงั้              รั้ง            ความตอ งการและความคาดหวงั ความพงึ พอใจ หวั ขอ สารสนเทศ   ความไมพ งึ พอใจ  ความสมั พนั ธ อจ.กับ นร. คณุ ภาพการสอนบรรยาย หคณุองภปาฏพบิ กัตากิราสรอนใน คณุ ภาพสอ่ื การสอน หอปุอ งกปรณฏิบ/เัตคกิ ราอ่ื รงมอื และ การสอบ/การวดั ผล ความรูทีไ่ ดรบั จากการเรียนวชิ านี้ ระบบอาจารยท ป่ี รกึ ษา คูม อื ปฏิบัตกิ าร คมู อื รายวชิ า

ข. วิธกี ารสรางและจัดการความสัมพันธก ับกลุม ผเู รียนและผเู รียน เพื่อเพ่มิ ความผูกพนั กับภาควชิ า ภาควิชาสรางและจัดการความสมั พันธก บั ผเู รยี นเพือ่ ตอบสนองความตอ งการและความคาดหวงั ในแตล ะชว งที่มีการสานสมั พันธก บั ภาควชิ า มี ๓ ขัน้ ตอน ไดแก ๑) วิเคราะหค วามตองการและความคาดหวังของผเู รยี น ๒)นาํ ขอมูลดังกลาวมาเปน ปจ จัยนําเขาสําหรบั การออกแบบวธิ สี รางและจัดการความสมั พันธก ับผเู รยี น พรอ มทั้งกาํ หนดตวั บงชี้ระดับความผูกพันกบั ภาควิชา และ ๓) ประเมินผลระดับความผกู พันกบั ภาควิชา และจัดทาํ แผนเพ่ือพัฒนา /ปรบั ปรุงความสัมพนั ธกับผูเรยี น ท้ังนตี้ ัววัดระดับความผกู พนั ของผูเรียนตอ ภาควชิ า ไดแก จํานวน นพท ./นศพ.วพม.ทีส่ มคั รเขา รบั การศึกษาตอเฉพาะทางวสิ ัญญีวิทยา และจาํ นวนผเู รยี นทส่ี มัครวิชาเลือกเสรขี องภาควชิ า ตัวอยา งของกจิ กรรมของภาควิชา วสิ ญั ญีวิทยา ทีช่ ว ยสรางความผกู พันกบั ผเู รยี น แสดงใน ตารางท่ี ๓.๒-๑และ ๓.๒-๒ ในการประชุมประจํา ๒-๓ เดอื นจะทบทวนวิธีสรางและจดั การความสัม พันธกบั ผเู รยี น ลูกคา อน่ื เพ่ือทบทวนผลลัพธข องตัวช้ีวดั ทีเ่ กี่ยวขอ งและเปรียบเทียบกบั คาเปาหมายตารางที่ ๓.๒-๑ วิธีสรา งและจัดการความสมั พันธก ับผเู รียน กจิ กรรมสรางความสัมพันธก บั ผูเรียน เปา ประสงค ตอบสนอง ทาํ ใหเ หนอื อาจารยห วั หนาภาควิชาแนะนาํ รายวชิ าที่สอนใหผ เู รยี นทราบวัตถปุ ระสงค (ผลการเรียนรู ความคาดหวงั ความคาดหวงั ทง้ั ๖ ดาน) วธิ ีการวัดและประเมินผล และวิธีจดั กระบวนการเรยี นรู และความคาดหวัง ของคณะกรรมการรายวิชาท่มี ตี อ ผูเรียน  จดั ทําคูมอื ปฏบิ ตั ิการทางวสิ ญั ญวี ิทยา เพื่อใหผเู รียนไดเ รียนรผู า นการฝก ปฏบิ ตั ใิ นหอ ง  ผา ตดั ซึง่ จะชว ยใหส ามารถเชอ่ื มโยงกับการเรยี นรูจากการเรียนรูภ าคทฤษฎใี นชว่ั โมง บรรยาย   จัดแบง ผูเ รยี นเปน ๒ กลมุ เพื่อกระบวนการเรยี นรู PBL เพ่ือใหสัดสว นของอาจารย  ประจาํ กลุม ตอผูเ รยี นเหมาะสม  จัดอาจารยภ าควิชาวสิ ญั ญีวทิ ยา รวมเปนอาจารยท ่ปี รกึ ษา เพอ่ื คอยใหค าํ แนะนาํ และ คาํ ปรกึ ษาเกีย่ วกับการเรียนรรู ายวิชา ประชุมกลนั่ กรองขอสอบ โดยคณาจารยข องภาควชิ า เพ่ือทวนสอบวาเปน ไปตาม วัตถปุ ระสงคข องการเรียนรตู ามที่แจง ใหผ ูเรยี นทราบลวงหนา คาํ ถามและคําตอบมีความ ชัดเจนและถูกตอง เปด โอกาสใหม กี ารอทุ ธรณผลการสอบ โดยกรอกใบคาํ รองท่ภี าควชิ าฯตารางท่ี ๓.๒-๒ ตัวอยา งการพฒั นาระบบสนบั สนุนผเู รยี นในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ทส่ี อดคลองกบั คานยิ ม “ใสใ จผูเรียน” กลมุ ผูเรียน การเปล่ยี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึนพท./นศพ. • การเปดโอกาสใหผ เู รียน download เอกสารคําสอนจากภาควิชาไดล วงหนากอนเรยี นช้ันปท่ี ๕ • การเลือ่ นเวลาสอบเปน ชว งบา ย เพอ่ื ใหผ เู รียนไดท บทวนบทเรยี นเพิ่มเตมิ • การเพิม่ จํานวนครั้งของการพบอาจารยท่ปี รึกษารายกลุมสาํ หรบั กิจกรรม case discussion • ใช Line application ในการติดตอสอื่ สาร ๒๔ | หน้า

ค. ภาควชิ ามวี ิธีการจดั การกับขอรองเรยี นทีไ่ ดรับจากกลุมผเู รยี นและลกู คา อื่น ภาควชิ าวิสญั ญีวทิ ยา มีระบบจดั การขอรองเรยี นทไ่ี ดรบั จาก ผูเรียนและลกู คา อื่น โดยมี ๓ ขน้ั ตอนงายๆไดแก ๑) รับขอรองเรียนจากผเู รยี นและลกู คาอ่ืน ๒) จดั ระดับความรุนแรงของขอ รอ งเรยี นและสง มอบใหผ ูร ับผิดชอบดาํ เนินการตามลําดบั ความเรงดว น ๓) สรุปผลการดําเนนิ การและแจง ใหผ รู อ งเรียนท ราบ โดยชอ งทางรับขอ รอ งเรยี นของภาควชิ า ไดแก การรองเรยี น กับคณาจารย หรือ หวั หนา ภาควชิ าฯ การรอ งเรยี นผานผูบริหาร วพม . และการรอ งเรียนผา น Line application โดยหากขอ รอ งเรียนมีระดับความรนุ แรงสงู หวั หนาภาควิชาฯ จะนําเรียนใหผูบงั คับบัญชาระดับสูงทราบและสง่ั การตอไป ภาควชิ าฯ มีแผนท่ีจะจดั การประชุมเพอ่ื ทบทวนและวิเคราะหเหตกุ ารณไมพ ึงประสงคทม่ี ีระดบั ความรุนแรงสูง (เมอ่ื มีเหตกุ ารณเกดิ ขึ้น ) เพ่อื สรุปบทเรียนและกําหนดแนวทางปองกนั การเกดิเหตกุ ารณซ ํา้ ตอไป ๒๕ | หน้า

สวนท่ี ๒ หมวด ๔ การ วดั การวเิ คราะห และการจดั การความรู๔.๑ การวดั วิเคราะห และปรบั ปรุงผลการดําเนนิ การขององคการ ภวญ.กศวพม . วดั วิเคราะห และปรับปรงุ ผลการดําเนนิ การโดยใชข อ มูล /สารสนเทศจากตวั วดั ผลการดาํ เนนิ การ ทั้งในระดับบุคคล ระดับโครงการ และ ภาควิชา ระบบนช้ี ว ยให ผบู ริหารของภาควชิ า แปลงขอมูลใหเปนสารสนเทศทน่ี าํ ไปใชป ระโยชนในกระบวนการตัดสนิ ใจ คน หาโอกาสพัฒนาและสรา งนวัตกรรม ก. การวัดผลการดาํ เนนิ การ ผูบ รหิ ารของภาควิชาคัดเลอื ก รวบรวม และบรู ณาการขอ มลู และสารสน เทศ เพอ่ื ติดตามผลการปฏิบัติงานตามพันธกิจ และผลการดําเนินการโดยรวมของภาควชิ า โดยใช Balanced scorecard เปนเครื่องมอื โดยคดั เลือกตวัวัดผลการดาํ เนินการ (OM) และตวั วัดเชงิ กระบวนการ (IP) เพ่อื ใหเ กิดความสมดลุ ท้งั ๔ ดา น ไดแก มมุ มองดานประสิทธผิ ล ดานคุณภาพ ดา นประสิทธิภาพ และดานการพฒั นาองคกร โดยจัดแบงกลุมตัววดั เปน ๓ กลมุ ไดแก ๑)ตัววดั ผลตามพันธกิจของภาควชิ า ๒) ตวั วดั ผลการดาํ เนนิ การในภาพรวมของภาควิชา ๓) ตัวช้ีวดั ระดับบุคคล ภวญ.กศ.วพม. เลอื กใชขอ มลู และสารสนเทศเชงิ เปรียบเทยี บท่สี าํ คัญเพ่อื สนับสนนุ การตัดสินใจในระดับปฏิบัตกิ าร โดย ผลการดาํ เนนิ การ ดา นการจดั การศึกษารายวิชาและดา นการวิจยั จะเปรยี บเทยี บกบั ภาควิชาอื่น ๆ ที่จดั การเรยี นการสอนหลักสตู รในระดับคลินิก ผลการดาํ เนินการดานโครงการของภาควชิ า ตามแผนปฏิบัติราชการของวพม. จะเปรียบเทียบกบั ภาควชิ าอ่ืน ๆ ใน วพม . และผลการดําเนินการของตัวชี้วัดระดบั บคุ คลจะเปรียบ เทยี บกบัคา เฉล่ียของ วพม. ผบู ริหารของภาควิชาเลอื กและใชขอ มลู /สารสนเทศจากเสียงของผูเรยี นและลกู คาอืน่ รวมทั้งผูมสี ว นไดสวนเสียจากระบบรับฟงเสียงเพื่อวเิ คราะหส ภาพแวดลอ ม ของภาควชิ า โดยเฉพาะขอ มลู ท่ไี ดจ ากการสํารวจความคิดเห็นของผูเรยี นเพอื่ สรา งวฒั นธรร มที่มุงเนน ผูเรียนและสนับสนนุ การตัดสินใจในระดับปฏบิ ตั กิ าร โดยใหค วามสําคัญกับผลลพั ธที่ยังไมบ รรลุเปาหมายหรือยงั ไมพ บแนวโนม ทด่ี ีอยา งชดั เจน นอกจากนี้ผบู รหิ ารของภาควชิ าจะนําแนวปฏบิ ัติท่ีดีหรอื หวั ขอ ทไ่ี ดรับการชื่นชมจากผตู รวจประเมินไป แลกเปลี่ยนเรียนรู ในมหกรรมคุณภาพหรือการประชุมทางแพทยศาสตรศกึ ษา ทั้งภายในและภายนอกสถาบนั นอกจากน้ี ภวญ.กศ.วพม . จะเฝา ระวังและตดิ ตามขอ มลู /สารสนเทศท่มี ีผลเชิงลบตอ ภาควชิ าทีม่ กี ารแชรผ านสือ่ สังคมออนไลนท ีเ่ ปน ที่นยิ ม เพ่ือกาํ หนดแนวทาง ตอบสนองท่ีเหมาะสม ผบู รหิ ารของภาควชิ า ทบทวนระบบวัดผลการดําเนนิ การปละคร้งั ใน ชว งเตรยี มความพรอ มรบั การประเมินคุณภาพภายใน วาบญั ชีรายการตัววัดผลการดาํ เนินการของ ภาควิชาสอดคลองกบั ของ สปค.วพม. หรอื ไม เพือ่พิจารณาเพ่ิม / ตัดจากบญั ชีรายการตัววดั ผลการดําเนนิ การในระดับ ภาควชิ า นอกจากนี้ผบู รหิ ารของภาควิชา ยังนาํขอเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินจาก หนวยงานภายนอกมา พฒั นา/ปรับปรงุ ตวั วดั ผลการดาํ เนนิ การใหเ หมาะสมดวย ข. การวิเคราะหแ ละทบทวนผลการดาํ เนนิ การ ผบู ริหารของภาควชิ ากํากับตดิ ตามผลการดาํ เนินการและขีดความสามารถของ ภาควชิ า โดยทบทวนผลการดําเนินการ ของกลุ มตัววดั ผลท้งั ๓ กลมุ ไดแก ๑) ตัววดั ผล ตามพันธกิจของภาควชิ า ๒) ตวั วัดผลในภาพรวมของ ๒๖ | หน้า

ภาควชิ า ๓) ตวั ชีว้ ดั ระดับบุคคล ตามวงรอบ เพื่อสนับสนนุ การตัดสนิ ใจในระดับ ภาควชิ า คน หา/ระบโุ อกาสในการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการท่ีเก่ียวของอยา งตอ เนื่องและสรางนวตั กรรม การวเิ คราะหข อมูลจะประเมนิ เปรยี บเทียบกับคาเปา หมาย (ถา มี) หรือเปรียบเทียบกับผลการดาํ เนนิ การในปที่ผานมา รวมทัง้ เปรยี บเทียบกับคเู ปรยี บเทยี บท่เี หมาะสม (ถา มี) ผบู ริหารของภาควิชาจะทบทวนประสิทธิภาพของการใชงบประมาณโครงการของภาควชิ าที่ไดร บั การจัดสรรเปนประจําทุกเดือน โดยเฉพาะในชว งไตรมาสท่หี นง่ึ และสองซ่ึงเปน ชว งของการดาํ เนินโครงการ ค. การปรับปรุงผลการดาํ เนนิ การ ผูบรหิ ารของภาควชิ า คน หา /ระบุแนวปฏบิ ัติท่ีดี หรือ ผลการดาํ เนนิ การบรรลเุ ปา หมาย /โดดเดน ผา นกิจกรรมตา ง ๆ ไดแก ๑) การประชุม นขต.วพม./ นขต.กศ.วพม./ สภากาแฟ ๒) การตรวจประเมินคุณภาพภายใน ซึ่งเปน สวนหนงึ่ ของระบบประกันคุณภาพการศึกษา ๓) การประกวดผลงานส่ิงประดษิ ฐและนวตั กรรมประจําป ๔) การตรวจประเมิน กิจกรรม ๕ ส ๕) กิจกรรมที่ วพม . จดั ประกวดผลงาน เชน การประกวดผลงาน สิ่งประดิษฐจ ากวสั ดุเหลอื ใช เปนตน ๖) ผลงานที่ไดรับการยอมรับจากหนวยงานภายนอก ผบู รหิ ารของภาควิชาคาดการณผลการดําเนนิ การในอนาคตโดยใชผ ลการทบทวนผลการดาํ เนนิ การในอดีตเปรยี บเทียบกับเปาหมาย รวมทงั้ ขอ มลู เชิงเปรยี บเทยี บที่สาํ คัญ เพอื่ ใหมั่นใจวา ภวญ.กศ.วพม. จะสนับสนุนให วพม.เปนโรงเรียนแพทยชนั้ นําในภูมภิ าคเอเชียท่เี ชย่ี วชาญดานเวชศาสตรท หาร ผูบรหิ ารของภาควชิ า ใชผ ลการทบทวนผลการดาํ เนนิ การไปจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั ของเรื่องท่ีตอ งปรบั ปรุงและนาํ ไปเปนโอกาสในการสรา งนวตั กรรม โดยใหความสําคญั กบั การบรรลุเปา หมายตามพันธกิจและการบรรลุ ผลการดําเนินการของภาควิชาในภาพรวม๔.๒ การจัดการความรู สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. ความรขู องภาควชิ า ภวญ.กศ.วพม. จัดการและเพ่มิ พนู สินทรพั ยทางความรูของภาควิชา ใชร ะบบจัดการความรขู อง วพม . เริ่มจาก ๑) กําหนดหวั ขอ ความรสู าํ คัญของภาควชิ าและใหความรแู กค ณาจารยแ ละบคุ ลากรสนับสนนุ (KM1) ๒) สง เสริมใหอ าจารยแ ละบุคลากรสรา งและแสวงหาความรู และทาํ ใหการเรียนรเู ปน สวนหนง่ึ ของงาน (KM2) ๓) รวบรวมความรูตามหัว ขอความรสู ําคัญใหเ ปนหมวดหมู (KM2) ๔) จดั กจิ กรรมแบงปนแลกเปลี่ยนความรู (KM4) และ ๕) ทาํ ใหบุคลากรสามารถเขา ถงึ คว ามรูท ่ตี องการ ไดง า ยและสะดวก (KM5) โดยหัวขอความรสู ําคญั ของ ภวญ.กศ.วพม. ไดแ ก๑) ความเปนเลศิ ดานการศึกษา ๒) การบรหิ ารสูค วามเปนเลิศ ๓) การวจิ ยั ๔) บริการทางวิชาการแกสังคม มแี นวคดิรเิ ริ่ม การจัดทํา เว็บไซตของภาควชิ า เพ่ือเปนแหลง รวบรวมความรทู ี่สาํ คัญสาํ หรบั สงเสรมิ การเรยี นรูข องผเู รียนนอกจากนี้ยงั ใชเ ปน ชอ งทางสอื่ สารกับผูเ รียนอีกดว ย ข.ขอ มลู สารสนเทศ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภวญ.กศ.วพม. ไดใชส ื่อสงั คมออนไลนโ ดยเฉพาะ Line application เพ่ือใหเปนชองทางการสอื่ สารระหวางผูเรียนกับภาควชิ า โดยผูเรียนสามารถเขา ถึงส่ือการสอน ลดปญ หาในการรบั เคส ทราบความกาวหนา ของการ ฝกปฏบิ ตั ิงานในหองผาตัด ๒๗ | หน้า

ตารางที่ ๔.๒-๑ การเรยี นรรู ะดบั ภาควชิ าในชว ง ๕ ปที่ผานมา ป พ.ศ. หวั ขอ การเรียนรู การเปลี่ยนแปลงทเี่ กิดขึน้๒๕๕๘ – การนาํ เกณฑคณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ - เขยี นรายงานการประเมนิ ตนเองตามรปู แบบของเกณฑ EdPEx๖๐ การดําเนนิ การทเ่ี ปนเลิศ (EdPEx) - ปรับปรุงตัววดั ผลตามพนั ธกจิ และตัววัดผลของภาควิชาในภาพรวม โดย มาใชใ นการประกนั คุณภาพ เช่อื มโยงกับตัววดั ผลการดําเนนิ การของ วพม. ในภาพรวม และตวั วดั ผล๒๕๕๘ – การศกึ ษา ตามแผนยทุ ธศาสตร วพม.๖๐ - เชื่อมโยงแนวคดิ ของกระบวนการพฒั นาอตั ลกั ษณต ามเปา หมายของ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต วพม. หลักสตู ร กบั ผลการเรียนรูรายวิชา๒๕๕๖- ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ปรับปรุงการเขยี นแผนการสอนเพือ่ ใหเ ชอ่ื มโยงอตั ลักษณบ ณั ฑิตกับผล๕๘ การเรยี นรูร ายวชิ าและรายคาบ หลักสตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ วพม.๒๕๕๙ ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๖ - กระบวนทศั นก ารประเมนิ เพ่ือพฒั นาผูเรียน (Assessment for๒๕๕๘ – learning) และกระบวนทศั นที่มุงเนนการเรียนรู (Learning paradigm)๕๙ การบริหารความเสีย่ งของ จากเดมิ มุง ทีก่ ารสอนเปนหลกั สถาบนั การศกึ ษา - กระบวนทศั นท ีม่ งุ เนน การพัฒนาผลการเรียนรูทุกดา น โดยเพิ่มนาํ้ หนัก การประเมินคุณภาพการศกึ ษาตาม ความสําคญั ของผลการเรยี นรดู านคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา นทกั ษะ เกณฑม าตรฐานการศึกษา ความสมั พนั ธร ะหวา งบคุ คลและความรบั ผิดชอบ และดา นทักษะการ แพทยศาสตรตามมาตรฐานสากล วิเคราะหเ ชงิ ตวั เลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (WFME) - การปรบั ปรงุ การวดั และประเมินผลเพอ่ื ใหสะทอ นการประเมิน ผลการ เรียนรทู ง้ั ๖ ดาน - เชือ่ มโยงแนวคดิ ของกระบวนการพฒั นาอัตลักษณต ามเปา หมายของ หลักสตู ร กับผลการเรยี นรรู ายวชิ า - การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู ากหลกั สูตร รายวชิ า (Mapping) - การจดั ทํารายละเอยี ดรายวิชา (มคอ. ๓) และรายงานผลการดําเนินการ รายวชิ า (มคอ. ๕) - ความเสย่ี งสําคัญของผูเรยี น การประเมินความเสย่ี ง การปอ งกนั และ จดั การเม่อื เกิดความเส่ียง - การประเมนิ Milestone ของการพฒั นาอัตลกั ษณบ ณั ฑิตในแตล ะชน้ั ป - การติดตามประเมินผลผลิตโดยเชื่อมโยงกับกระบวนการคัดเลือกผูเรยี น ๒๘ | หน้า

ตารางที่ ๔.๒-๒ ตวั วัดผลการดําเนนิ การของภาควิชาวิสญั ญวี ิทยา กศ.วพม. ชอ่ื ตวั วดั ผรู บั ผดิ ชอบ/ทบทวน ๑. ตวั วดั ผลการจดั การตวั วดั ผลการดาํ เนนิ การ อจ.หน.ภวญ. - ผลสัมฤทธท์ิ างการเรตามพนั ธกจิ ของภาควชิ า ๒. ตวั วดั ผลการวจิ ยั - จาํ นวนผลงานวิจยั ตตวั วดั ผลการดาํ เนนิ การ อจ.หน.ภวญ. - จํานวนอาจารยป ระในภาพรวมของภาควชิ า - จาํ นวนอาจารยป ระ - จาํ นวนนวัตกรรมแล - จํานวนอาจารยป ระ ๓. ตวั วดั ผลบรกิ ารวชิ า - จํานวนโครงการบริก ๔. ตัววดั ผลการทาํ นุบ - จํานวนโครงการสงเส ๑. ตวั วดั ผลดา นการเร - รอยละของรายวิชาท - รอยละของรายวิชาท - จาํ นวนรายวชิ าทน่ี าํ (รายบุคคล รายกลมุ - จาํ นวนรายวิชาท่ีมกี - จํานวนรายวชิ าท่มี กี ๒. ตวั วดั ผลดา นการน - ผลผลิตและผลลัพธข - ความพงึ พอใจตอ ภา - จํานวนโครงการทไ่ี ด - จาํ นวนโครงการทีไ่ ด๒๙ | หน้า

ตย. ตวั วดั ผลการดาํ เนนิ การ ขอ กาํ หนด รศกึ ษา ผลการดําเนนิ การตามพนั ธกิจ รยี นรายวิชา แบง เปน ๔ ดาน - ดา นการจัดการศึกษาตีพิมพใ นวารสารระดับประเทศ/ ระดับนานาชาติ - ดานวิจยัะจําทีน่ ํางานวิจยั ไปนาํ เสนอในระดับชาต/ิ นานาชาติ - ดา นบริการวชิ าการะจาํ ท่ไี ดร ับทุนสนับสนุนงานวจิ ยั - ดา นทํานุบาํ รุงศิลปวฒั นธรรมละงานสรา งสรรคะจาํ ทีม่ ีผลงานวจิ ยั /งานสรางสรรคท่นี าํ ไปใชประโยชน ผลการดาํ เนนิ การในภาพรวม าการ ของภาควชิ า แบงเปน ๔ ดา นการวชิ าการที่นาํ มาพัฒนาการเรียนการสอนและการวจิ ัย - ดานการเรียนรขู องผูเรียนบํารุงศลิ ปวฒั นธรรม สริมและสนบั สนนุ ศิลปวัฒนธรรม และกระบวนการรยี นรขู องผเู รยี นและกระบวนการ - ดานการนาํ องคก ารและการ ทจ่ี ดั ทํารายงานผลการดาํ เนนิ การรายวชิ า (มคอ. ๕) ทนี่ ําผลการประเมนิ หลักสตู รมาพฒั นา/ปรับปรุงหลกั สูตร กาํ กบั ดแู ลาผลการประเมินความกา วหนา ของผูเ รยี นมาพัฒนาผเู รยี น - ดานการมุงเนน ลูกคาม และรายชั้นเรียน) - ดา นการมุง เนน บคุ ลากรการจดั ทาํ Table of specification ของขอ สอบ - ดา นงบประมาณ การเงนิการประชมุ เพอ่ื พิจารณาขอ สอบนาํ องคก ารและการกาํ กบั ดแู ล และตลาด ของโครงการตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจําปข อง วพม.าวะผูน ํา/การนาํ องคก รของ หน.ภาควชิ า (โดย กศ.วพม.)ดรบั การจดั สรรงบประมาณในปงบประมาณดด ําเนินการและเบกิ จายงบประมาณตามแผน

ตวั วดั ระดบั บคุ คล คณาจารยและบุคลากร - จํานวนรางวลั /ผลงา - ผลการประเมินจากก - ผลการประเมนิ ๕ ส - จํานวนเรอ่ื งรองเรยี น - จาํ นวนเรื่องรอ งเรียน ๓. ตวั วดั ผลดา นการมงุ - รอ ยละของรายวชิ าท - ระดับความพึงพอใจ - ระดบั ความพงึ พอใจ - ระดับความพึงพอใจ - ระดับความพึงพอใจ ๔. ตวั วดั ผลดา นบคุ ลา - รอยละของอาจารยท - รอยละของอาจารยป งาน/นาํ เสนอผลงาน - รอ ยละของบุคลากร ไดรับการอบรมเพ่มิ พ - จาํ นวนรางวลั /ผลงา ๕. ตวั วดั ผลดา นงบปร - รอ ยละของเงินงบปร - จํานวนผูเรียนท่สี มคั ภาระงานอาจารยร ายบุค๓๐ | หน้า

านดเี ดน ที่บคุ ลากรของภาควชิ าไดรับในปการศึกษาการตรวจประเมินคุณภาพภายในประจาํ ปสนจรรยาบรรณคณาจารยนเร่ืองละเมิดจริยธรรมการทาํ วจิ ยั ในมนุษยงเนนลกู คาท่มี ผี ลคะแนนการจดั การเรยี นการสอนโดยผูเ รียน > ๓.๕จผเู รยี นทมี่ ีตอ วธิ ีการจัดการเรียนการสอน (คาเฉลีย่ )จผเู รยี นทม่ี ีตอ วิธกี ารประเมนิ ผลโดยภาพรวม (คา เฉล่ีย)จผูเรยี นท่ีมตี อ เทคโนโลยีและสอ่ื ที่ใชในการสอน (คา เฉล่ยี )จผเู รยี นทีม่ ีตอความสัมพันธก บั อาจารย (คา เฉล่ยี )ากรทีม่ ผี ลคะแนนดานการจัดการเรียนการสอน > ๓.๕ประจาํ ทศ่ี ึกษาเพม่ิ เติม/ประชมุ วชิ าการ/อบรม/ศึกษาดูน อยางนอ ย ๓๐ ชัว่ โมง/ป/ คนรสนับสนุนดานวิชาการ/ธรุ การทม่ี ีการแลกเปล่ยี นเรยี นร/ูพนู ความร/ู ประสบการณ อยา งนอย ๒๐ ช่วั โมง/ป/ คนานดีเดน ท่บี ุคลากรของภาควชิ าไดร ับในปการศึกษาระมาณ การเงนิ และตลาดระมาณคงเหลือ/ งบฯ ท่ีไดร ับการจัดสรรครวชิ าเลอื กเสรีของภาควชิ าคคล (การสอน การวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ)

สว นท่ี ๒ หมวด ๖ ระบบปฏบิ ัติการ๖.๑ กระบวนการทํางาน กระบวนการทํางานท่ีสาํ คญั ของ ภวญ.กศ.วพม. มี ๔ กระบวนการตามพนั ธกจิ ไดแ ก ๑) จดั การศึกษาในหลักสตู รที่ไดรับมอบหมาย ๒) การวิจัย ๓) บริการทางวชิ าการแกสงั คม และ ๔) ทาํ นบุ าํ รงุ ศิลปวฒั นธรรม ก. การออกแบบกระบวนการทํางาน คณะกรรมการบริหาร ภวญ.กศ.วพม. ระบุ “ขอกําหนด” ของกระบวนการตามพันธกจิ ทัง้ ๔ ประการ โดยมีปจจยั นําเขา ไดแ ก กฎระเบยี บขอบังคบั ท่ีเกยี่ วขอ ง นโยบายของ กองการศกึ ษา เกณฑคณุ ภาพที่เกีย่ วของ (WFME,EdPEx) ความตองการและความคาดหวงั ของผูเ รยี นและลกู คา อ่ืน ผูมสี ว นไดสวนเสีย รวมทั้งเปา ประสงคต ามแผนยทุ ธศาสตรข อง วพม. และผลการทบทวน Key changes ทอี่ าจสงผลตอความสําเร็จอยางย่ังยืนของ วพม . จาก “การประเมินสถาบันอยางเปนระบบ” ทท่ี าํ เปนประจําทุกป โดยเฉพาะการเปล่ยี นแปลงสาํ คญั ดานแพทยศาสตรศกึ ษา การประกนั คณุ ภาพการศึกษา และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (รปู ท่ี ๖.๑-๑) สาํ หรับกระบวนการทาํ งานท่ีสาํ คัญในแตละระบบงานแสดงไวใ นตารางที่ ๖.๑-๒ และ ๖.๑-๓ ตัวอยางของนโยบายกองการศกึ ษาในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ท่ีทําใหภาควิชามกี ารพฒั นา /ปรับปรุงขอกาํ หนดไดแก ๑) การประเมนิ ความกา วหนา ของการเรียน เพ่อื มงุ พฒั นาผูเ รียน (assessment for learning) ๒) การสงเสรมิใหผูเ รยี นมบี ทบาทในการเปน เจาของกิจกรรมการเรียนรูมากข้ึน (active learning) ๓) การมงุ พัฒนาผลการเรียนรทู ุกดาน โดยปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลใหสอดคลอ งกัน ๔) การประเมินความกา วหนาของการพฒั นาอัตลกั ษณของบณั ฑิตตลอดหลกั สตู ร คณะกรรมการ บรหิ ารภาควชิ า จะนํา “ขอกําหนด” ของกระบวนการ มาออกแบบหลกั สูตร บริการ และกระบวนการทํางาน โดย เรมิ่ จากการพจิ ารณา แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ีของกระบวนการทีค่ ลายคลึง /เทียบเคียงท้งั ภายในและภายนอกสถาบนั และนาํ มาดัดแปลงใหเหมาะสมกบั ทรัพยากรและการสนบั สนุนดา นเทคโนโลยที ี่ภาควิชาและ วพม. มีอยู จากน้นั จงึ กาํ หนดข้นั ตอนสาํ คญั ของกระบวนการทาํ งาน พรอ มระบุตวั วัดผลทส่ี ําคญั ทั้งตวั วัดเชงิ กระบวนการและเชิงผลลัพธใ หส อดคลอ งกับขอ กําหนด ตามตารางท่ี ๖.๑-๔ ในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ทางภาควิชา ไดเ พ่มิ จดุ เนนการพัฒนาทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ เพอ่ื ใหส อดคลอ งกบัทศิ ทางของแพทยศาสตรศึกษาในปจจบุ นั โดยมอบหมายใหผ ูเรยี นทาํ งานเปนกลมุ PBLเพ่อื พัฒนาทกั ษะความสัมพนั ธระหวางบคุ คลและความรบั ผิดชอบในการเรยี นรูเพม่ิ เติมและนาํ ส่ิงท่ีเรยี นรมู านาํ เสนอใหเ พ่อื นรวมชนั้ สําหรับการประเมินผลไดป รับปรุงสัดสวนคะแนนและวธิ ีการวัดและประเมินผลใหสอดคลอ งกบั เปาหมายในการพฒั นาผเู รียนใหม ีผลการเรียนรูท ุกดานตามท่กี ําหนดไวในหลักสูตรรายวิชา (มคอ. ๓) โดยลดสัดสวนของความรู /ทักษะทางปญ ญา /ทักษะพสิ ยั (อตั ลักษณท างวิชาการ) และเพมิ่ สัดสวนของทกั ษะความสมั พนั ธระหวางบคุ คลและความรับผดิ ชอบ และดา นทกั ษะการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลข การสื่อสาร และการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (อัตลักษณท างวิชาชพี ) มกี ารนํารูปแบบการเรียนรูที่เนน active learning มาใชมากขน้ึ แทนการบรรยายโดยอาจารยผูสอน เชน TBL, casediscussion, PBL เพ่ิมการฝกปฏบิ ัตจิ รงิ กับหนุ ฝก สําหรบั ทักษะทตี่ องปฏบิ ัติกับผปู ว ย โดยเพม่ิ การฝก ใสท อ หายใจกบัหนุ ฝก ๓๑ | หน้า

สาํ หรับการ ออกแบบ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา จะยึดกรอบแนวคิดของ วพม . โดยแบง เปน ๑) การประกนั คุณภาพหลักสตู รรายวชิ าที่ภาควิชารบั ผิดชอบ และ ๒) การประกันคณุ ภาพตามพนั ธกิจของภาควิ ชา เพื่อเปนหลกั ประกันวาการดาํ เนนิ การของภาควิชาจะสอดคลอ งกับทศิ ทางของ วพม. กระบวนการวิจัยของอาจารยในภาควิชาจะปฏิบตั ิตามระเบียบการทําวิจัยของ วพม . โดยเรมิ่ จากขัน้ ตอนการขออนุมตั โิ ครงรางการวจิ ัยจากคณะกรรมการพิจารณาโครงรา งการวจิ ยั ฯ กอ น แลวจงึ คอยดาํ เนินการวจิ ยั หลงัไดรับการอนมุ ัติ ข. การจัดการกระบวนการ ภวญ.กศ.วพม. ทําใหม ั่นใจวา การปฏบิ ัติงานประจาํ วันตามพันธกิจเปนไปตามขอกําหนดโดย ๑) วางแผนแตง ตง้ั ผูบริหารของภาควิชาเพอ่ื รบั ผดิ ชอบพันธกิจแตล ะดา น ๒) เสนอให กศ.วพม. แตง ตั้งคณะกรรมการรายวิชา ในรายวิชาท่ภี าควิชารบั ผิดชอบ ๓) จดั ประชุมเพอ่ื เตรยี มแผนจัดการเรียนการสอน การวดั และประเมินผล ๔) กาํ กับติดตามการดาํ เนินการตามแผนดังกลาวในการประชมุ ประจําเดอื นของภาควชิ า ๕) ทบทวน/วิเคราะหผ ลลัพธข องตวัวัดผลการดาํ เนนิ การของภาควิชา ๖) จดั ลําดับความเรง ดวนของการพัฒนา/ปรับปรุงกระบวนการตามผลการวิเคราะหในขอ ๕ ๗ ) นาํ วิทยาการความรูท่ีทันสมัยมาปรับใชเพ่ือพฒั นาปรับปรุงกระบวนการอยา งตอ เนื่อง พรอมท้ัง นาํ แนวปฏิบตั ิท่ดี ีไปแลกเปลี่ยนเรียนรูในระดับสถาบัน๑. มคอ. ๒ การออกแบบหลักสตู ร ๑. การพฒั นาผลการเรียนรู้ของผ้เู รียน๒. เกณฑ์มาตรฐานผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕ (มคอ. ๓) ๒. Vertical & horizontal integration๓. ความต้องการของผ้เู รียนและผ้มู ีสว่ นได้เสีย๔. นโยบายของ กศ.วพม. ๓. Learning paradigm๕. นโยบายด้านการประกนั คณภาพการศกึ ษา ๔. Formative/summativeการจดั ทาํ แผนพฒั นา การจัดการเรียนการ รายวชิ า (มคอ. ๕) สอนและการ ประเมนิ ผลตาม๑. ภาระงาน/ผลงานของอาจารย์ หลักสูตร ๒. การบริหารหลกั สตู ร ๑. ตดิ ตามการจดั การเรียนการสอน ๓. การม่งุ เน้นผ้เู รียน จริง เปรียบเทียบกบั แผนท่ีกําหนดไว้ ๔. สงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ ๒. รวบรวมปัญหาข้อมลู สะท้อนกลบั จากผ้เรียน การรบั การประเมนิ คุณภาพภายใน วพม. การประกนั คณุ ภาพ การศกึ ษา รูปท่ี ๖.๑-๑ กระบวนการออกแบบ จดั การ และปรบั ปรงุ “กระบวนการการจดั การเรยี นการสอน” กระบวนการการจัดการเรียนการสอน รายวิชา เร่มิ จากการพิจารณา ขอ มูลนาํ เขา มาจาก ๑) มคอ . ๒โดยเฉพาะคุณลักษณะบณั ฑติ ที่พงึ ประสงค และแนวทางพัฒนาผลการเรยี นรู ๒) เกณฑมาตรฐานผปู ระกอบวิชาชพีเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕ ๓) ความตองการของผูเ รยี นและผูมสี วนไดสวนเสีย ๔) นโยบายของ กศ.วพม. ๕) นโยบายดา นการประกนั คณุ ภาพการศึกษา เพือ่ กําหนด “วตั ถุประสงค วธิ ีการ จัดการเรียนการสอน การสนับสนุน ผเู รยี น และวิธี ๓๒ | หน้า

ประเมินผล ” ของแตล ะรายวิชา (มคอ. ๓) ซงึ่ กศ .วพม. กาํ หนดใหส งกอ นวนั เปด ภาคการศกึ ษา ๓๐ วนั จากน้นัภาควชิ าจะรวมกบั ภาควชิ า อนื่ ๆ ที่มกี ารจัดการเรยี นการสอนในชนั้ ปท ี่ ๕ เพ่ือจดั ทาํ ตารางสอนทั้งปการศกึ ษา และดาํ เนนิ การจัดการเรยี นการสอนตามแผนการสอน โดยภาควิชามกี ารกํากบั ตดิ ตามและเปรยี บเทียบการจัดการเรยี นการสอน และการประเมินผลจรงิ กบั แผนท่ีกําหนดไว ทวนสอบการสอบและการวัดผลทกุ ครัง้ และรวบ รวมปญหาอุปสรรคทีพ่ บ/ เสียงของ ผูเรียนจากวิธีการรบั ฟง ในตารางท่ี ๓.๑-๑ จากนน้ั จะมกี ารจดั ทาํ รายงานผลการประเมนิตนเองเพือ่ ใหคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของ วพม . เขา ตรวจประเมนิ หลงั จากน้ันทางภาควิชาฯ จะนําโอกาสพฒั นาและปญหาอุปสรรคที่พบไปจัดทาํ สรปุ ผลการดาํ เนนิ กา รรายวิชา (มคอ. ๕) เพ่ือใชเปนขอมูลนาํ เขาสาํ หรับการพัฒนาปรบั ปรงุ รายละเอยี ดของหลกั สตู รรายวิชา (มคอ. ๓) ทีจ่ ะใชในปก ารศึกษาถดั ไป สําหรบั ขอ กําหนดของกระบวนการออกแบบ จดั การ และปรบั ปรุงหลักสูตร รวมทง้ั ปจ จยั นาํ เขาและตัวชวี้ ดั ผลการดาํ เนินการของแตละกระบวนการยอยแสดงในตารางที่ ๖.๑-๒ และวิธกี ารประเมินผลหลักสูตรรายวิชาในตารางที่ ๖.๑-๓ตัวอยางของการปรับเปล่ียนวิธีการจดั การเรียนการสอน ในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดแก ๑) การจัดชัว่ โมงสอนบรรยายรายวชิ าในชวง ๓ วันแรก การจดั สลับ rotation ขณะขึ้นฝกปฏบิ ัตใิ นหอ งผาตดั ๒) การปรับเปลยี่ นวิธีการประเมินความกาวหนา (Formative evaluation) โดยใชว ธิ ใี หผูเรยี นแบง เปน กลมุ ยอ ย และ เรียนแบบ PBL ใหผแู ทนของแตล ะกลุมนาํ เสนอผลการ การเรียนรู ๓) เลื่อนเวลาจดั สอบเปนชวงบาย เพอ่ื ให ผูเรียนมเี วลาทบทวนมากขึน้ ๔)การจัดทาํ ระบบการประเมนิ ผลออนไลนสําหรับกระบวนการออกแบบ จัดการ และปรับปรุงกระบวนการวิจัย บริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวฒั นธรรม แสดงในตารางที่ ๖.๑-๔ โดยกระบวนการวิจัยของภาควิชา วสิ ญั ญวี ิทยา ปฏบิ ตั ิตามวิธีดําเนินการมาตรฐาน (Standard operating procedure, SOP) ของคณะอนุกรรมการพิจารณาโครงการวิจัย กรมแพทยทหารบก (พบ.) ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๕๕ อยางเครง ครดั โดยงานวิจยั ทุกเร่ืองของภาควชิ าฯ จะเร่มิ ดว ยการจัดทําโครงรางการวิจยั โดยผูว จิ ัยหลัก และสงเรอ่ื งเขา สกู ารพิจารณาของคณะอนกุ รรมการพิจารณาโครงการวิจัย ผา นสาํ นักงานพจิ ารณาโครงการวิจัย พบ. หลังจากไดรบั การแจงผลการพิจารณา (รับรอง) ผวู จิ ยั หลักจงึ จะเรม่ิ ดาํ เนนิ การวจิ ัย โดยมีการสง รายงานความกาวหนาการวจิ ยั และขอตออายุการรับรองโครงร างการวิจัยตาม SOP วาดวย การประเมินตอ เน่ืองโครงการวจิ ยั ท่ีไดร ับการรับรอง พ.ศ. ๒๕๕๕ เชนเดยี วกันสาํ หรบั กระบวนการบริการวชิ าการนนั้ ในชวงท่ผี านมาคณาจารย ภาควิชา วสิ ญั ญวี ทิ ยา จะใหบรกิ ารวิชาการในลกั ษณะปจ เจกบคุ คล แตมแี ผนท่ีจะจัดทําโครงการบริการวิชาการในปงบประมาณ ๒๕๖ ๑ โดยกระบวนการท่ีเกย่ี วขอ งมี ๓ ขน้ั ตอนงา ยๆ ไดแก ๑) การกาํ หนดวัตถปุ ระ สงค แผนการดาํ เนนิ การ และผลลัพธที่คาดหวงั ๒) การดําเนนิ การตามแผน ๓) การสรุปผลการดาํ เนนิ การ ขอกําหนดที่สาํ คัญของกระบวนการวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ แสดงในตารางที่ ๖.๑-๔กระบวนการทํานบุ าํ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรมของภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยา ในชวงปการศึกษา ๒๕๕๙ เปนเพียงมสี ว นรวมในกิจกรรมของการทาํ บญุ ครบรอบปการกอตงั้ กองวิสญั ญฯี และทาง วพม.และรพ.รร.๖ เทาน้ัน ๓๓ | หน้า

ตารางที่ ๖.๑-๒ กระบวนการออกแบบ จัดการ และปรับปรุงหลกั สตู ร ขนั้ ตอนสาํ คญั ขอ กําหนด ปการออกแบบหลักสูตร • มคอ. ๒ และเกณฑมาตรฐานฯ ๒๕๕๕ • สรุปผลการดรายวชิ า (มคอ. ๓) • นโยบาย กศ.วพม. และนโยบาย ๕) ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา • สารสนเทศจ • ความตองการผเู รยี น/ผมู สี ว นไดสวน เสยี • International standard (WFME,การจัดการเรยี นการสอน EdPEx) • มคอ. ๓ / แผและการประเมนิ ผล • สารสนเทศจาตามหลกั สตู รรายวชิ า • การพฒั นาผลการเรยี นรขู องผูเ รียน ผูเรยี น • Vertical & horizontal integration • Learning paradigm  Formative/summative assessment  Assessment for learningการประกันคณุ ภาพ • การเรยี นการสอน การประเมนิ ผล • มคอ.๓/ แผนการศึกษา เปนไปตาม มคอ. ๓ • ผลการวัดและ • ผูเรยี นไดรับการพัฒนาผลการเรียนรู Formative & ตามทก่ี าํ หนดไวใน มคอ. ๓ assessmen๓๔ | หน้า

ปจจัยนําเขา ตัวชวี้ ดั ผลการดาํ เนนิ การดําเนินการรายวิชา (มคอ. • ผลสัมฤทธ์ิทางการศกึ ษารายวิชาจากตารางที่ ๓.๑-๑ผนการสอน/ตารางสอน • รอ ยละของรายวชิ าทม่ี กี ารนาํ ผลการประเมนิ ความกาวหนาากการประเมินการสอนโดย ของผเู รียนมาพฒั นาผูเรยี นนการสอน/ ตารางสอน • รอ ยละของรายวชิ าทมี่ ผี ลคะแนนประเมินโดยผเู รยี น > ๓.๕ะประเมินผลทง้ั • ระดับความพงึ พอใจผูเรียนทีม่ ตี อวธิ กี ารจัดการเรียนการสอน • ระดบั ความพงึ พอใจผูเรยี นทีม่ ีตอวธิ กี ารประเมินผลโดย& summativent ภาพรวม • ระดบั ความพงึ พอใจผูเรียนทม่ี ีตอ เทคโนโลย/ี ส่ือการสอน • ระดับความพงึ พอใจผูเรยี นทม่ี ตี อความสัมพนั ธกับอาจารย • รอ ยละของรายวชิ าทจี่ ัดทาํ Table of specification ขอ สอบ • รอ ยละของรายวิชาทมี่ กี ารประชมุ เพ่ือพิจารณาขอ สอบ • รอ ยละของรายวชิ าทจ่ี ดั ทาํ รายงานผลการดาํ เนนิ การ รายวิชา • ผลการทวนสอบการประเมินผลและการวัดผล • Feedback จากแบบประเมินและการสนทนากลุมยอย

การประเมินคณุ ภาพภายใน การประกนั คณุ ภาพระดบั หลกั สตู รรายวิชา • สรุปผลการดําประจาํ ปข อง วพม. • การกาํ กับมาตรฐาน: คณุ สมบัติของ - ดา นการจดั ก(การจดั ทาํ SAR และรบั การ อาจารยประจํา/ อาจารยผูสอน และ ทางการเรยีตรวจประเมินคุณภาพ) การกาํ กบั มาตรฐานผลการเรยี นรู ๖ กระบวนกา ดาน - ดานวจิ ยั • หลักสูตร: สาระรายวิชา วธิ กี ารสอน - ดานบริการว การประเมินผล การรายงานผลการ - ดา นทํานบุ ํา ดําเนินการตามกรอบ มคอ. และ • สรปุ ผลการดํา นโยบายดานการศึกษาของ วพม. - ดา นการนาํ • อาจารย: จํานวนและคณุ วฒุ ิของ ดแู ล อาจารย (อาจารยประจําและอาจารย - ดา นการมงุ พเิ ศษ) และการพัฒนาอาจารย - ดานการมุง • ผเู รียน: กจิ กรรมสงเสรมิ /พัฒนาผูเรียน - ดานงบปร และผลสมั ฤทธท์ิ างการศกึ ษาของ • รายงานขอมูล ผเู รยี น พเิ ศษ • สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู: หอ งเรยี น • งานบริการวิช หอ งปฏิบตั กิ าร คมู อื รายวิชา คมู อื การ ฝก ทางหองปฏบิ ัตกิ าร เอกสารคาํ สอน การประกนั คณุ ภาพตามพันธกิจ • การจดั การศกึ ษา • การวิจัย • การบรกิ ารวชิ าการแกส งั คม • การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม • การบรหิ ารจดั การ๓๕ | หน้า

าเนินการตามพันธกิจ ๑. ตัววัดผลดานการเรยี นรขู องผเู รยี นและกระบวนการการศกึ ษา (ผลสัมฤทธิ์ ๒. ตัววัดผลดานการนําองคการและการกํากับดูแลยนและตวั วดั ผลเชิง ๓. ตวั วัดผลดานการมงุ เนน ลกู คาาร) ๔. ตัววัดผลดานบุคลากร ๕. ตัววัดผลดานงบประมาณ การเงิน และตลาดวชิ าการารุงศลิ ปวัฒนธรรมาเนินการในภาพรวม ไดแกาองคก ารและการกาํ กบังเนน ลกู คางเนนบุคลากรระมาณ การเงิน และตลาดลอาจารยประจาํ / อาจารยชาการ/ งานวิจยั

ตารางที่ ๖.๑-๓ วธิ ีการประเมนิ ผลหลกั สูตรรายวชิ าประเภทการประเมนิ ผล เปาหมายของการประเมินผล การประเมนิ รายบคุ คล/รายกลมุ การประเมนิ ทง้ั ชน้ั เรยี น- Formative evaluation  การใหข อ มลู ปอ นกลบั ในกจิ กรรม case  การถามคําถามทายชั่วโมงการบรรยาย- Summative discussion PBLevaluation • ผลงานรายบุคคล/ ผลงานกลุม/ การนําเสนอบทความทางวิชาการ • การสอบ MCQ- การประเมินโดยผูเรียน • แบบสํารวจความคิดเห็น/ การสนทนากลุม ยอย (Focus group)ตารางที่ ๖.๑-๔ กระบวนการออกแบบ จัดการ และปรับปรุงกระบวนการวิจัยและบริการวิชาการขนั้ ตอนสาํ คญั ขอ กําหนด ตวั ชวี้ ัดผลการดําเนนิ การการวจิ ยั • วิธีดําเนินการมาตรฐานของคณะ • จาํ นวนผลงานวจิ ยั ตพี ิมพในวารสารระดับประเทศ/บรกิ ารวิชาการ อนกุ รรม การพจิ ารณาโครงการวจิ ยั ระดบั นานาชาติ พบ. ฉบบั ท่ี ๕ • จํานวนอาจารยป ระจําที่นํางานวจิ ยั ไปนาํ เสนอใน • สรางองคความรูใหมแ ละนําไปใช ประโยชนได ระดับชาต/ิ นานาชาติ • สอดคลองกบั ความตองการของสังคม • จํานวนอาจารยป ระจําท่ไี ดร ับทนุ สนับสนุนงานวิจัย • ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และคุณภาพ • จาํ นวนนวัตกรรมและงานสรา งสรรค • สามารถนําไปใชพัฒนาการเรียนการ • จํานวนอาจารยประจําท่ีมผี ลงานวิจยั /งานสรางสรรค สอนและพัฒนาการใหบริการวิชาการได ที่นาํ ไปใชประโยชน • จํานวนโครงการบริการวิชาการที่นํามาพัฒนาการ เรยี นการสอนและการวจิ ยัการทาํ นบุ าํ รุง • สามารถบรู ณาการกบั ภารกจิ อน่ื ๆ ของ • จํานวนโครงการสงเสริมและสนับสนุนศลิ ปวฒั นธรรม ภาควชิ า ศิลปวัฒนธรรม เชน การทําบุญครบรอบปการ กอตง้ั กองวิสัญญฯี ๓๖ | หน้า

๖.๒ ประสทิ ธิผลการปฏิบตั ิการ ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ ภาควิชาวสิ ัญญีวิทยา มงุ เนน การบริหารงบประมาณอยา งมปี ระสิทธผิ ลและประสิทธิภาพ เพื่อใหเ กดิความคมุ คา และประหยัด โดยมกี ระบวนการควบคมุ ตน ทุนในการบริหารจัดการหลายวธิ ี (แสดงในตารางท่ี ๖.๒-๑)โดยเนน การส่ือสารและสรางวัฒนธรรมในการประหยัดพลังงาน และขอความรว มมือใหบ คุ ลากรทกุ คนตระหนั กถงึความสาํ คญั ของการควบคุมตน ทนุ โดยรวมของการปฏบิ ัตกิ ารของภาควิชาตารางที่ ๖.๒-๑ กระบวนการควบคุมตน ทุน กระบวนการทาํ งาน หวั ขอ วธิ กี ารควบคมุ ตน ทุนการจดั การเรยี นการสอน  ปอ งกันไมใหเ กดิ ขอ ผิดพลาด (เพ่มิ ประสิทธผิ ล/ ประสิทธภิ าพ)  เพม่ิ ประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ล  ใหผ ูเ รยี นสามารถ download เอกสารคาํ สอนไดการประกันคุณภาพ  ลดตน ทนุ ในการตรวจสอบ และ ลวงหนา ผาน Tabletการศกึ ษา  จดั ประชุมกลุม ยอ ยเพ่ือรบั ฟงเสยี งผูเรยี น เพือ่ ฝก ใหการประเมนิ คุณภาพ การตรวจติดตามผลการดาํ เนนิ การ ผเู รยี นสะทอนคดิ เรอ่ื งการจดั การเรยี นการสอนภายใน  สรา งสมดุลระหวา งการควบคมุ  ใหผ เู รยี นตอบแบบประเมนิ ออนไลนต า งๆ ของ ภาควชิ า แทนการตอบแบบประเมนิ ทเ่ี ปน กระดาษ ตนทุน กับความตอ งการของผเู รียน ชวยใหไ ดรบั ผลการประเมนิ ครบถว นในเวลา อนั รวดเรว็  ปอ งกนั ไมใ หเกิดขอ ผดิ พลาด  เปด โอกาสใหอาจารยท่ีปรกึ ษาและอาจารยป ระจาํ  ลดตน ทนุ ในการตรวจสอบ และ หอ ง สามารถติดตามการฝก ปฏบิ ตั ขิ องผูเรียนผาน ทาง Line application การตรวจตดิ ตามผลการดําเนนิ การ  เปนกิจกรรมท่เี ปน สว นหนึง่ ของงานประจาํ โดยเนน  ลดตน ทนุ ในการตรวจสอบ และ การกํากับตดิ ตามในการประชุมประจํา ๓ เดือน การตรวจติดตามผลการดําเนนิ การ  การเกบ็ ขอมูลรายงานภาระงานของอาจารยใ น ภาควิชาในรปู excel file แทนการพมิ พ  การจัดทาํ e-SAR เพอ่ื ลดการใชกระดาษ ๓๗ | หน้า

ข. การจัดการหวงโซอุปทาน การจัดการหวงโซอ ปุ ทานของ วพม . มุงเนนท่กี ารคัดเลอื กผสู งมอบท่มี คี ุณภาพ เนื่องจากกระบวนการจัดซ้ือจัดหาจะดาํ เนินการทีก่ รมแพทยท หารบก (กองสง กาํ ลงั บาํ รุง) โดยแผนกบริการ วพม. มีหนาทหี่ ลักในการทําแผนเสนอความตอ งการและเสนอแผนจดั หาในภาพรวมตามที่ไดร บั อนุมัติตามกรอบเวลาของปงบประมาณ ใหเปน ไปตามระเบียบ ฯ โดยการพิจารณาคดั เลอื กจะเปน ไปตามเงอ่ื นไขของผูใช ทั้งน้โี ดยคํานงึ ถึงดานคณุ ภาพ ราคาการสงมอบ และบรกิ ารหลังการขาย ค. การเตรยี มพรอ มดานความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน ภวญ.กศ.วพม. ทาํ ใหส ภาพแวดลอมการทํางานปลอดภัยโดยใชระ บบบริหารความเส่ียง เรมิ่ จาก ๑)วิเคราะหก ระบวนการทาํ งานภายในหนวยเพื่อระบคุ วามเสยี่ งทมี่ โี อกาสเกดิ ขนึ้ เชน ผูเรียนไมเกิดผลการเรียนรูตามทก่ี าํ หนดไวใ นหลักสูตร ผูเรยี นไมไ ดร ับโอกาสในการอุทธรณผ ลสอบ คาํ กลาวหา /กลาวโทษวา อาจารยล ะเมิดจรรยาบรรณคณาจารย ยกเลิก-ไมด าํ เนนิ การตามโครงการ/ดาํ เนนิ การไมบรรลุเปา หมาย การละเมิดจริยธรรมการทําวิจัยในมนษุ ย อัคคภี ัย และการถกู เขม็ หรือของมีคมท่ีใชก ับผปู วยทิม่ ตาํ หรือสมั ผัสสารคดั หลัง่ ของผูป ว ย เปนตน๒) จัดลาํ ดับความสําคญั โดยพิจารณาจากโอกาสเกิดความเส่ียง และความรนุ แรงของผลกระทบ เพ่ือระบุ “ความเส่ยี งสาํ คัญ ” ของภาควชิ า ๓) กําหนดมาตรการปอ งกนั และจดั การกบั ความเส่ียงสาํ คญั นั้น ๔) กาํ กบั ติ ดตามประเมินสถติ กิ ารเกิดความเสี่ยงอยา งตอเนื่อง เพือ่ ทบทวนประสิทธผิ ลของมาตรการปองกนั ความเสี่ยงนัน้ ๆภาควิชาแบง ความเสีย่ งเปน ๔ ระดบั ตามแนวทางบริหารความเสย่ี งของ วพม . ไดแก สงู มาก สงู ปานกลาง และตา่ํ ภาควิชา วสิ ัญญวี ิทยา ใหความรว มมอื และปฏบิ ตั ติ ามแน วทางการปอ งกันการเกดิ เหตุอัคคภี ยั ของคณะกรรมการปอ งกนั อคั คภี ยั รพ.รร.๖ โดยเริ่มจากกจิ กรรม ๕ ส เพ่อื สรางสิง่ แวดลอ มในสาํ นกั งานใหม คี วามเปนระเบียบเรยี บรอยและอยใู นสภาพพรอมใช มีการกํากบั ดูแลและตรวจสอบอยา งสมาํ่ เสมอเพอ่ื ปอ งกนั ความเส่ียงที่จะเกิดเหตุอัคคีภยั บุคลากรของภาควิชาเขา ฟงการบรรยายของวิทยากรและมสี ว นรว มในการซอมอคั คี ภัยประจําปนอกจากน้ีเจาหนา ท่ี บก . ของภาควิชา ยังไดร ับมอบหมายใหรบั ผิดชอบในการควบคมุ ดูแล บาํ รงุ รักษาระบบสาธารณูปโภค ใหอ ยูในสภาพดอี ยา งตอ เนอ่ื ง แนวทางบริหารความเสย่ี งสูงมากทอี่ าจเกิดกับผูเรยี นคอื การถกู เข็มหรอื ของมคี มทใ่ี ชก ับผูปว ยทม่ิ ตาํหรือสัมผสั สารคัดหล่งั ของผูปวย มแี นวทางปฏบิ ัตดิ งั นี้ ๑) การจดั หาอุปกรณป องกันสวนบคุ คลอยา งเพียงพอ ๒)เฝา ระวังในผูปวยท่มี ีการติดเชอ้ื หรอื มีความเสยี่ งสูง โดยหลกี เลีย่ งไมใ ห นพท ./นศพ.ข้นึ ฝก ปฏบิ ตั ิการดวย ๓) เม่ือเกดิ เหตกุ ารณถูกเข็มหรอื ของมคี มที่ใชกับผปู ว ยทิ่มตาํ หรอื สัมผัสสารคัดหลงั่ ของผปู ว ย ใหปฏิบตั ิตามแนวทางปฏิบตั เิ ม่อื เจาหนา ท่ี รพ .รร.๖ ถกู เขม็ หรอื ของมคี มทีใ่ ชก ับผูปวยทม่ิ ตาํ หรอื สัมผัสสารคดั หล่ังของผปู วย และรายงานความเสีย่ งตามลําดบั ขั้นตอนตอไป ๔) แจง แนวทางการปฏบิ ตั เิ มือ่ เจาหนา ท่ี รพ .รร.๖ ถกู เขม็ หรอื ของมีคมท่ใี ชก ับผปู วยท่มิ ตาํ หรอื สมั ผสั สารคัดหลง่ั ของผปู ว ยและติดประกาศใหท ราบโดยท่วั กนั ๓๘ | หน้า

๓๙ | หน้า

๔๐ | หน้า



สวนท่ี ๓ หมวด ๗ ผลลพั ธตารางที่ ๑ ผลลัพธดา นการเรยี นรขู องผูเรยี น และผลลพั ธอนื่ ๆ ตามพันธกจิ Level Trends (ผล/ระดับ) (แนวโนม ) ตัวช้ีวัด ๕๗ ๕๘ ๕๙ +/-๗.๑ ผลลัพธดานการเรียนรขู องผเู รยี น และผลลพั ธอ น่ื ๆ ตามพนั ธกจิ ๑๑๑ก. ผลลัพธด านการเรยี นรูของผเู รียนจาํ นวนรายวิชาทจี่ ัดการเรียนการสอนในปการศกึ ษา ๒๕๕๙ ๑๑๑รายวิชาท่ี ๑ ........วพมศศ ๕๐๒...........................................................................รายวิชาท่ี ๒ .........................................................................................................จํานวนรายวิชาทม่ี ีการประเมนิ ผลการเรียนรูสาขาแพทยศาสตรครบทกุ ดาน (๖ หรอื ๗ ดาน)ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศกึ ษาทุกดาน*โปรดระบรุ ายวิชาที่มกี ารประเมินดานการทหารและความม่นั คงของประเทศรายวิชาท่ี ๑ ..........วพมศศ ๕๐๒.........................................................................รายวชิ าที่ ๒ .........................................................................................................ตารางที่ ๒ ผลสัมฤทธิท์ างการศกึ ษารายวิชา ปก ารศึกษา ๒๕๕๗-๕๙ปก ารศกึ ษา จาํ นวน A จาํ นวน (รอ ยละ) ผูเรยี นทีไ่ ดร บั เกรด F จาํ นวน รอ ยละ เกรด ๒๕๕๙ ผูเ รียน (4.0) B+ B C+ C D+ D (0) ผสู อบ ผูสอบ เฉลี่ย (3.5) (3.0) (2.5) (2.0) (1.5) (1.0) ผาน ผา นรายวชิ า วพมศศ ๕๐๒ ๑๐๑ ๒๓ ๓๕ ๓๓ ๕ ๕ - - - ๑๐๑ ๑๐๐ ๗๕.๔๗ ปก ารศกึ ษา จาํ นวน A จํานวน (รอ ยละ)ผเู รียนท่ีไดร ับเกรด F จํานวน รอ ยละ เกรด ๒๕๕๘ ผูเ รยี น (4.0) B+ B C+ C D+ D (0) ผูสอบ ผูสอบ เฉลย่ี (3.5) (3.0) (2.5) (2.0) (1.5) (1.0) ผา น ผา นรายวชิ า วพมศศ ๕๐๒ ๑๐๖ ๒๐ ๑๙ ๑๖ ๒๒ ๒๙ - - - ๑๐๖ ๑๐๐ ๗๔.๖๐ ปก ารศกึ ษา จํานวน A จํานวน (รอ ยละ) ผเู รียนทไ่ี ดร ับเกรด F จาํ นวน รอ ยละ เกรด ๒๕๕๗ ผเู รยี น (4.0) B+ B C+ C D+ D (0) ผูสอบ ผูสอบ เฉล่ยี (3.5) (3.0) (2.5) (2.0) (1.5) (1.0) ผาน ผา นรายวชิ า วพมศศ ๕๐๒ ๙๐ ๒๑ ๕ ๒๓ ๑๘ ๒๓ - - - ๙๐ ๑๐๐ ๘๘.๗๔ ๔๑ | หน้า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook