Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ประถม

ภาษาไทย ประถม

Published by กศน.ตำบลบางใหญ่, 2020-06-24 06:15:40

Description: ภาษาไทย ประถม

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนื้อหาทต่ี องรู รายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา รหสั พท11001 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ หามจาํ หนาย หนงั สือเรยี นนจ้ี ดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรบั ประชาชน ลิขสทิ ธ์ิเปน ของสาํ นกั งาน กศน.สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

3

สารบญั 4 คํานาํ หนา คาํ แนะนาํ การใชเอกสารสรปุ เนอื้ หาทตี่ อ งรู บทท่ี 1 การฟง การดู 1 2 เรอ่ื งท่ี 1 หลกั การ ความสาํ คญั ของการฟง และการดู 3 เรื่องท่ี 2 การฟงและการดูเพ่อื จับใจความสาํ คัญ 3 เรอ่ื งที่ 3 การดูเพื่อจบั ใจความสําคญั 5 เรอ่ื งที่ 4 มารยาทในการฟงและการดู กจิ กรรมทา ยบท 6 บทท่ี 2 การพดู 6 เรอ่ื งท่ี 1 การพูดและความสาํ คัญของการพูด 7 เรือ่ งที่ 2 การเตรยี มการพูด 9 เรอ่ื งที่ 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ 10 เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการพูด กิจกรรมทายบท 11 บทท่ี 3 การอา น 13 เรอื่ งท่ี 1 หลกั การ ความสําคัญและจุดมงุ หมายของการอาน 13 เรื่องท่ี 2 การอานรอยแกว 13 เรอ่ื งท่ี 3 การอา นรอยกรอง 15 เรื่องท่ี 4 มารยาทในการอานและนสิ ัยรกั การอา น กิจกรรมทา ยบท 16 บทที่ 4 การเขียน 17 เรื่องท่ี 1 หลักการเขียนและความสาํ คญั ของการเขยี น 17 เรื่องท่ี 2 การเขียนภาษาไทย 17 เรอ่ื งที่ 3 การเขยี นสะกดคาํ 18 เร่อื งท่ี 4 การเขยี นคําคลองจอง 18 เรือ่ งที่ 5 การเขียนในรปู ประโยค เรอ่ื งที่ 6 การเขยี นสื่อสารในชวี ิตประจําวัน

เรือ่ งที่ 7 การเขยี นเรียงความ ยอความ 5 เรื่องท่ี 8 การเขยี นรายงาน การคนควาและการอา งองิ เรื่องท่ี 9 มารยาทในการเขียนและนิสยั รักการเขียน หนา กจิ กรรมทายบท 27 บทที่ 5 หลกั การใชภาษา 28 เรอ่ื งที่ 1 เสียง รูปอักษรไทย และไตรยางค 31 เรื่องท่ี 2 ความหมายและหนา ทขี่ องคํา กลมุ คํา และประโยค 32 เร่อื งท่ี 3 เครอ่ื งหมายวรรคตอน และอักษรยอ เรือ่ งท่ี 4 หลกั การใชพ จนานุกรม คําราชาศัพท และคําสุภาพ 34 เรือ่ งที่ 5 สาํ นวนภาษา 37 เรอ่ื งที่ 6 การใชทักษะทางภาษาเปน เคร่ืองมือการแสวงหาความรู 41 กิจกรรมทายบท 44 47 บทท่ี 6 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 51 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนของนิทานพนื้ บา นและวรรณกรรม 55 เรอ่ื งท่ี 2 ความหมายของวรรณคดีและวรรณคดที ี่นา ศกึ ษา 60 บทที่ 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชีพ 61 เรอ่ื งที่ 1 คณุ คาของภาษาไทย เร่อื งท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี 63 เรื่องที่ 3 การเพม่ิ พูนความรูและประสบการณดา นภาษาไทย 64 เพอ่ื การประกอบอาชพี 65 เฉลยกจิ กรรมทายบท 66 บรรณานกุ รม 78 คณะผจู ดั ทาํ 79

6 คาํ แนะนาํ การใชเอกสารสรุปเนือ้ หาที่ตองรู หนงั สอื สรปุ เน้อื หารายวชิ าภาษาไทยเลม นีเ้ ปนการสรปุ เนอ้ื หาจากหนังสอื เรียนสาระ ความรพู ้นื ฐานรายวิชาภาษาไทย พท 11001 ระดบั ประถมศึกษา หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2544) เพ่อื ใหผเู รียน กศน. ทําความเขา ใจและเรยี นรใู นสาระสําคัญ ของเน้ือหารายวิชาสาํ คญั ๆ ไดสะดวกและสามารถ เขาถึงแกนของเนื้อหาไดด ีข้นึ ในการศึกษาหนังสอื สรุปเนือ้ หารายวชิ าภาษาไทยเลมน้ีผูเรยี นควรปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 1. ศึกษาโครงสรา งรายวชิ าภาษาไทยจากหนงั สือเรียนสาระความรูพน้ื ฐาน รายวิชาภาษาไทย พท 11001 ระดบั ประถมศกึ ษา หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ใหเขา ใจกอ น 2. ศึกษารายละเอยี ดเนื้อหาของหนงั สอื สรปุ เน้ือหารายวิชาภาษาไทยใหเขาใจอยา งชดั เจน ทลี ะบท จนครบ 7 บท 3. หากตอ งการศึกษารายละเอยี ดเนอ้ื หารายวิชาภาษาไทยเพิ่มเติม ผูเ รยี น กศน. สามารถ ศึกษาหาความรเู พ่มิ เติมจากตาํ รา หนังสอื เรยี นที่มอี ยูตามหอ งสมดุ หรอื รา นจําหนายหนังสือเรียน หรอื ครผู สู อน

1 บทที่ 1 การฟง การดู เรื่องที่ 1 หลักการ ความสาํ คญั ของการฟง และการดู 1.1 หลกั การฟง และการดู การฟง และการดู เปน การเรยี นรูเ รือ่ งราวตาง ๆ จากแหลงเสียงและภาพท้ังจาก แหลงจรงิ และผา นส่อื ตาง ๆ เชน วิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร คอมพวิ เตอร หนังสอื เปน ตน เปนการ รับรตู คี วามและเขา ใจสง่ิ ท่มี องเห็นจากการฟง และการดู มหี ลกั การดังน้ี 1. การฟง และการดูอยางตง้ั ใจ มีสมาธิ จะไดรบั เน้อื หาสาระที่ถกู ตอ งและครบถวน 2. มีจดุ มงุ หมายในการฟง และการดู เพอ่ื จะชวยใหการฟง และการดูมปี ระโยชน และมีคุณคา กอ นทจี่ ะฟงหรอื ดู ตองตงั้ คําถามกบั ตนเองวาเราตองการอะไรจากเร่อื งท่ฟี งและดู 3. จดบันทึกใจความสําคญั ท่ีไดจ ากการฟง และการดู เพอ่ื จะไดศ กึ ษาและนาํ มา ทบทวนได 4. ควรมพี น้ื ฐานในเรือ่ งท่ฟี งและดูมากอน จะไดชวยใหเขาใจเนอ้ื หาสาระไดง าย และเรว็ ข้ึน 1.2 ความสําคญั ของการฟงและการดู เปน การเพิม่ ความรแู ละประสบการณทจ่ี ะนําไปใชประโยชนใ หเ กิดความเขาใจใน การสอ่ื สารระหวางกนั และปฏบิ ตั ติ ามได สามารถนาํ ความรูท ่ีไดจ ากการฟงและการดมู าพัฒนาชวี ติ ความเปน อยใู นชวี ิตประจาํ วันได แตก ารฟงและการดจู ะไดป ระโยชนที่แทจ ริงตองเห็นความสาํ คัญ และมจี ดุ มงุ หมายในการฟง และการดู ดงั นี้ 1. เพื่อตดิ ตอ สือ่ สารในชีวิตประจําวัน เปนการฟง และการดูทตี่ อ งใชสติปญ ญาและ วิจารณญาณ ตลอดจนทักษะในการตัดสนิ ใจการแกปญหาเฉพาะหนา 2. เพอ่ื ความเพลิดเพลนิ สนกุ สนาน ผอ นคลาย เชน ฟง และดู ดนตรี นวนิยาย ละคร บทรอ ยกรอง 3. เพ่อื รบั ความรู เชน ฟงคาํ อบรมส่ังสอนของพอ แม ฟง ครูอธบิ าย ตองมที กั ษะ การจับใจความ มีการบนั ทึกชวยจํา 4. เพือ่ ไดค ตชิ ีวิตและความจรรโลงใจ นําความรูไปใชประโยชนใ นชวี ิตประจําวัน หรอื นาํ ไปประกอบอาชีพได

2 เร่ืองที่ 2 การฟงและการดเู พือ่ จับใจความสําคัญ 2.1 การฟง เพ่อื จบั ใจความสาํ คญั เปน การฟง เพ่อื ความรู ผฟู ง ตองตง้ั ใจฟง ดังน้ี 1. มสี มาธิดี ตง้ั ใจฟง ตดิ ตามเร่อื ง ไมพูดคยุ กัน 2. ฟงใหเ ขา ใจและลาํ ดบั เหตุการณใ หดวี า เรอ่ื งท่ฟี ง เปนเรอ่ื งของอะไร ใครทาํ อะไร ทีไ่ หน อยางไร และเกิดผลอยางไร 3. ทาํ ความเขาใจเนอ้ื หาสาระ แยกแยะความจรงิ และขอคิดเห็นในเร่ืองนั้น ๆ 4. ประเมินคา เรือ่ งทฟี่ ง วา เน้ือหาทีถ่ ูกตอ งเหมาะสมกบั เพศและวัยของกลุมผฟู ง หรือไม 5. บนั ทกึ ขอความสําคัญจากเรอื่ งทฟี่ ง ตวั อยา ง การจบั ใจความสาํ คญั จากบทรอยแกว ครอบครวั ของเราคนไทยสมยั กอน ผชู ายกต็ อ งเปนหวั หนา ครอบครัว ถามาจากตระกูลดีมีวิชาความรกู ม็ ักรบั ราชการ เพราะคนไทยเรานยิ มการรบั ราชการมีเงินเดอื น มบี านเรอื นของตนเองไดก ็มี เชาเขาก็มี อยกู บั บิดามารดาก็ไมน อ ย ไดเ ปนมรดกตกทอดกันก็มี ทรพั ยสมบตั เิ หลานี้จะงอกเงยหรือหมดไปกอ็ ยูท ี่ภรรยาผูเ ปนแมบาน (แมศ รีเรือน ของทพิ ยว าณี สนทิ วงศ) ใจความสาํ คัญ ครอบครวั ไทยสมยั กอ น ผูช ายที่มีความรูนยิ มรบั ราชการ ทรัพย สมบัตทิ ่ีมจี ะเพ่ิมขน้ึ หรอื หมดไปกอ็ ยูท ภี่ รรยา ตัวอยาง การจบั ใจความสําคญั จากบทรอยกรอง ฟงขอ ความตอไปนแี้ ลว จับใจความสําคัญ (ครูหรอื นักศกึ ษาเปน ผอู า น) นางกอดจบู ลูบหลังแลวสง่ั สอน อาํ นวยพรพลายนอ ยละหอ ยไห พอ ไปดีศรสี วัสด์ิกาํ จดั ภยั จนเตบิ ใหญย ิ่งยวดไดบวชเรียน ลูกผชู ายลายมือนนั้ คอื ยศ เจาจงอุตสาหท าํ สมา่ํ เสมียน แลว พาลกู ออกมาขางทาเกวยี น จะจากเจียนใจขาดอนาถใจ (กาํ เนิดพลายงาม ของ พระสุนทรโวหาร (ภ)ู ) ใจความสําคญั การจากกันของแมลกู คือ นางวนั ทองกับพลายงาม นางวันทอง อวยพรใหโอวาทและจากกนั ดว ยความอาลยั อาวรณอยางสดุ ซ้ึง

3 2.2 การดูเพอ่ื จบั ใจความสาํ คญั 1. ดอู ยางตั้งใจและมีสมาธิในการดู 2. มจี ดุ มุงหมายในการดู จะทําใหก ารดูประสบผลสาํ เร็จได 3. มวี จิ ารณญาณในการดู คดิ ไตรตรองอยางมเี หตผุ ล 4. นําไปใชป ระโยชน คือ มีการปรับใชใหเหมาะสมกับเพศ วัย เวลา และ สถานการณ เรอื่ งที่ 3 การดเู พ่อื จับใจความสาํ คัญ การฟงและการดเู พอ่ื สรุปความ เปน ขัน้ ตอนสุดทา ยของกระบวนการฟงและการดู การสรปุ ความ เนน การประมวลเนอ้ื หาสาระมาใชป ระโยชนในชีวิตประจําวนั วิธีการสรปุ ความ ควรทาํ ดงั นี้ 3.1 ใชในการศกึ ษา 3.2 ใชใ นการเผยแพร โดยการอธิบาย สอน เขียนเปนเอกสารและตาํ รา ตวั อยาง การสื่อสารทีเ่ ปนการสรุปความของการฟง และการดู เชน 1. ตอ งจับประเด็นใหไดว า ใครทาํ อะไร ทไี่ หน เมอ่ื ไร อยางไร แลวจดบนั ทึกไว 2. การโฆษณา การใชภ าษาใชเ วลานอ ย คําพูดนอ ย จะเนน การพดู ท่สี ้นั ๆ ใหได ใจความ ดงั น้ันการฟงและการดจู ะใชทกั ษะการสรุปความและเขา ใจสารน้ัน 3. การฟงและการดปู ระกาศ จะสรปุ ความเนือ้ หาสาระน้ันมาปฏิบัตโิ ดยจะใชหลกั ประกาศเร่อื งอะไร เกีย่ วขอ งกบั เราอยา งไร และนําไปปฏิบตั ิอยางไร 4. แยกแยะสว นท่ีเปนขอ เท็จจริงออกจากสวนทเี่ ปนความคดิ เหน็ 5. จดบนั ทกึ ขอ มลู และเก็บรวบรวมไวใ หเปนระบบ เพ่อื ใหง า ยตอการนาํ ไปใช ประโยชนใ นโอกาสตอไป เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการฟงและการดู การฟง โดยทั่วไปเปนพฤติกรรมทางสงั คม เพราะเปน พฤตกิ รรมท่ีเกดิ ระหวา งผูพดู กบั ผฟู ง ซ่งึ อาจไมใชบคุ คลเพยี งสองคน แตเ ปนกลุม บคุ คล เชน ฟง การประชุม การแสดงปาฐกถา มารยาท ในการฟงและการดูจงึ มคี วามสําคัญตอ สัมพนั ธภาพระหวางผฟู งกับผพู ูดและเกิดประสิทธผิ ลได

4 การมีมารยาทในการฟง และการดูปฏิบตั ิดังนี้ 1. มารยาทในการฟง 1. ต้งั ใจฟง ไมสงเสยี งดงั รบกวนผอู ืน่ 2. ไมร บกวนสมาธขิ องผูอ่นื 3. ควรใหเกยี รติวิทยากร ไมคยุ และไมถ ามเพื่อทดสอบความรูของผพู ูด 4. เมื่อผพู ดู พดู จบ ควรปรบมอื 5. ปด อปุ กรณส ือ่ สารทุกชนิด 6. หากมขี อ สงสัยขณะฟง ควรถามเม่อื มีโอกาส 2. มารยาทในการดู 1. ต้งั ใจดู ไมพดู คยุ เสียงดงั 2. ไมรบกวนสมาธิของผอู ื่น 3. ไมค วรฉกี หรอื ทาํ ลายภาพเอกสารท่ีดู 4. ไมค วรวิจารณผ พู ดู ในขณะทีแ่ สดง 5. หากเปน การดูสารจากส่อื อิเล็กทรอนิกส ควรมีความรู ความสามารถในการ ใชสื่อชนิดนั้น และไมควรจับจองการใชอ ยูเ พียงผูเ ดียว ผูทม่ี มี ารยาทในการฟง และการดู นอกจากจะไดรับประโยชนจ ากเรื่องท่ฟี ง และสิ่งทดี่ แู ลว ยังไดรับการยอมรบั นับถอื และเปนการใหเกยี รติแกท ี่ประชมุ อีกดวย

5 กิจกรรมทา ยบทที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ขนั้ ที่ 1 ผูสอนแบงกลมุ ผูเรยี น กลุมละ 3 – 5 คน และเปด วดี ทิ ศั นภ าพยนตรโ ฆษณา (ความยาวประมาณ 3 นาที) ใหผเู รยี นดู (5 คะแนน) ข้นั ท่ี 2 ผูเรยี นรว มกันสรุปเน้ือหาตามหลกั การฟง การดู และสงผูแทนกลุม นาํ เสนอ ข้นั ท่ี 3 ครูและผเู รยี นรวมกนั สรุปเนือ้ หา ตามหัวขอ หลกั การฟงและดู กิจกรรมที่ 2 ใหผ เู รยี นบอกประโยชนข องการฟงและการดูทสี่ ามารถนาํ ความรไู ปใชใ นการ พัฒนาความเปนอยูในชีวติ ประจาํ วันได พรอ มยกตวั อยา ง (5 คะแนน) กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ ูเ รียนแบง กลมุ อภปิ รายเกีย่ วกับมารยาทในการฟงและมารยาทในการดู และสง ผแู ทนกลุมนําเสนอผลการอภิปราย (5 คะแนน)

6 บทที่ 2 การพดู เรื่องท่ี 1 การพดู และความสําคญั ของการพดู 1.1 หลักการพดู 1. พูดดว ยภาษาและถอยคาํ ที่สุภาพใหเ กยี รตผิ ฟู ง 2. พูดใหต รงประเดน็ และใชภาษาทง่ี า ยตอ การเขาใจ 1.2 ความสาํ คญั ของการพดู 1. ใชใ นการสอ่ื สารใหเ ขาใจตรงกนั 2. เพอ่ื ความรู เพ่ือใหผ ฟู ง มคี วามรทู ี่หลากหลายและนําไปใชป ระโยชนใ น ชีวติ ประจาํ วนั ได 3. ไดร ับความเพลิดเพลนิ และแลกเปลยี่ นเน้ือหาสาระ 1.3 จดุ มุงหมายของการพดู 1. เพอ่ื ถา ยทอดความรสู ึกนกึ คิด 2. เพอ่ื แสวงหาคําตอบหรอื ความรู ความเขา ใจในเรือ่ งตา ง ๆ 3. เพ่ือสรา งความสัมพนั ธอนั ดตี อกนั 4. เพอื่ จรรโลงใจ ทาํ ใหผฟู ง มคี วามสุข สนุกสนาน บันเทงิ ใจ 5. เพ่อื โนม นา วใจและจูงใจใหผอู น่ื คลอ ยตามความคดิ และการกระทาํ ของตน เร่อื งที่ 2 การเตรียมการพดู 2.1 ขัน้ ตอนในการเตรียมการพดู 1. การเลอื กหวั ขอ เรือ่ งเหมาะสมกบั กลมุ ผฟู งทัง้ วัย เพศ อาชีพ เปน ตน 2. เตรยี มสภาพรางกายใหพรอมที่จะพูด ซึ่งผพู ดู ควรจะทราบกําหนดการลวงหนา และตอ งพรอ มท่จี ะพดู ในวนั นนั้ 3. กําหนดวัตถปุ ระสงคเ ตรยี มเน้อื หาสาระทจ่ี ะพดู ใหถ ูกตองจากความรู ประสบการณข องตน หากไมเ พยี งพอตองคน ควาเพ่มิ เติม 4. เตรียมอปุ กรณ เอกสารหรือสิ่งอ่นื ๆ ท่ีใชประกอบการพดู ใหเสร็จทันเวลาและ อยูในสภาพพรอ มท่ีจะใชง านได 5. แตง กายใหสุภาพเหมาะสมกบั วยั เพศ ของผฟู ง ท้ังนเ้ี พ่ือเปนการใหเกยี รติผฟู ง

7 2.2 ลักษณะการพดู ทดี่ ี การพูดท่ีใชถอ ยคําดี ไพเราะ มีหางเสียงไมก ระโชกโฮกฮากหรอื ขตู ะคอก พดู ให ถูกตอ งตามหลกั การใชภ าษา มีการแบงวรรคตอน ใชคาํ ควบกลา้ํ ใหถกู หลัก ไมค วรพดู ใหใ ครตอ ง เสียหาย พดู ไปแลว ใหเ กิดมติ รไมตรที ี่ดีตอกนั ในการพดู ตอ งคาํ นงึ ถึงความเหมาะสมกบั กาลเทศะ สถานที่ เพศ วัย สถานะของผูฟง มศี ลิ ปะในการพดู การใชส ีหนาทาทาง นํ้าเสียงไมดงั หรือเบา เกนิ ไป เนนการใชเ สยี งสงู ต่าํ ใหเ หมาะสม เร่อื งที่ 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ การพูดในโอกาสตาง ๆ ในระดับประถมศึกษา จะเปนการศกึ ษาการพูดแสดงความรู ความคดิ ความรูส ึกตาง ๆ ดังน้ี 1. การพดู อวยพร 2. การพดู ขอบคุณ 3. การพดู แสดงความดีใจและเสียใจ 4. การพดู ตอนรบั 5. การพูดรายงาน 6. การกลา วอาํ ลา 1. การพดู อวยพร การพูดอวยพรเปนการพดู แสดงความในใจที่จะใหพรผฟู งในโอกาสทเี่ ปน มงคล เชน อวยพรวนั เกิด อวยพรปใหม หรืออวยพรใหก ับคูสมรส เปน ตน การพดู อวยพร มวี ธิ กี ารดงั นี้ 1. ใชคําพูดงาย ๆ สน้ั ไดใ จความ และนํ้าเสยี งสภุ าพนมุ นวล 2. ใชคาํ และขอ ความท่มี คี วามหมายท่ีดี และเหมาะสมกับโอกาสและผฟู ง 3. อางส่ิงศักด์ิสทิ ธิอ์ วยพรใหผูฟ งในโอกาสน้ัน ๆ 4. พูดใหผ ฟู งประทบั ใจ 2. การพดู ขอบคณุ การพูดขอบคณุ เปนการพูดทจ่ี ะตอบแทนผูท่ที าํ ประโยชนใหเ ปนการแสดงความ กตญั ู

8 การพดู ขอบคณุ มวี ิธกี ารดังนี้ 1. บอกสาเหตุท่ตี อ งขอบคุณผูนน้ั ทานไดชว ยเหลอื หรอื ทําประโยชนอะไรใหกบั ผูพดู 2. พดู ดวยนํา้ เสยี งท่สี ภุ าพนุมนวล นา ฟง และนาประทบั ใจ 3. หากเปนผูแทนของกลมุ คน ผูพูดตองเรมิ่ ตนดวย “ในนามของกลุม ผม/ดฉิ ัน ขอบคุณที่...............” โดยตอ งบอกวาขอบคณุ ใคร และขอบคุณเร่อื งอะไร 4. การพดู ขอบคุณควรลงทา ย หากมีโอกาสตอบแทนผูที่ขอบคณุ บางในโอกาสหนา 3. การพดู แสดงความดีใจและเสียใจ การพดู แสดงความดีใจและเสียใจ เปน การพดู เพ่อื แสดงออกทางอารมณแสดง ความรูสึกตอผูใดผหู น่งึ ในเร่ืองตา ง ๆ การพูดแสดงความดีใจและเสียใจ มีดังนี้ 1. พดู ดว ยการแสดงออกอยา งจรงิ ใจ หา มแกลง ทําโดยเดด็ ขาด 2. แสดงออกทางสีหนา แววตา และนาํ้ เสยี ง ใหสอดคลองกบั การพูดแสดงความดีใจ หรือการพูดแสดงความเสียใจ 3. หากเปนการพดู แสดงความดีใจ จะตอ ดว ยการอวยพรใหด ียิง่ ข้ึน หากเปนการ พูดแสดงความเสยี ใจ จะตองปลอบใจและทาํ ใหลืมเหตกุ ารณน ้นั โดยเร็ว 4. การพดู ตอนรบั การพูดตอ นรบั เปนการพูดยนิ ดตี อสมาชกิ ใหม หรอื ยินดตี อนรบั ผมู าเยี่ยมเยอื น ใหผ ฟู งสบายใจและรสู ึกอบอุนท่ไี ดม าสถานทนี่ ้ี การพูดตอนรบั มวี ิธีการดงั น้ี 1. การพูดในนามของ กลมุ หนวยงาน องคกรใด จะตอ งกลา วขนึ้ ตนดวยวา “ในนามของ............ขอตอ นรับ..........” 2. การพูดดว ยคําทสี่ ภุ าพนมุ นวลและนาประทับใจ 3. กลาวแสดงความดีใจและความรสู กึ เปน เกียรติตอโอกาส 4. อาจมีการแนะนําบคุ คล สถานท่ี ใหผมู าไดทราบหรอื รูจ กั 5. กลาวแสดงความยนิ ดีตอ นรับและอาํ นวยความสะดวก 6. อาจพูดลงทา ยดวย ยินดีตอ นรบั ในโอกาสหนา อีก 5. การพดู รายงาน การพูดรายงาน เปนการนาํ เสนอเร่ืองราว ขอ มูล สถานการณ หรือความกา วหนา ในการทํางาน ความกาวหนาของการศกึ ษาคนควา

9 การพูดรายงาน มีวธิ กี ารดังนี้ 1. เนือ้ หาสาระท่ีจะพูดตองถูกตอง เชอ่ื ถอื ได และอา งอิงได 2. การนําเสนอเน้ือหาสาระตอ งเหมาะสมกบั ผฟู ง และสถานการณท พ่ี ูด 3. ใชภาษาเปนทางการ เพราะเปน งานวชิ าการ 4. อปุ กรณ เครอ่ื งมือ หรอื เอกสารประกอบตอ งเตรยี มใหพรอม 5. ควรเปด โอกาสใหผ ูฟงไดซ ักถามขอสงสยั หรือใหอ ธิบายเพิม่ เติมเพ่อื ความเขา ใจ 6. การกลาวอําลา การกลาวอาํ ลาใชในโอกาสยา ยท่ีทํางาน พนวาระหนาที่ ออกจากสถานศึกษา เพราะสําเรจ็ การศกึ ษาหรอื เดินทางไปประกอบกิจกรรมในท่ีไกล ๆ การกลาวอําลา มวี ธิ ีการดังนี้ 1. กลา วถึงความสัมพันธอันดีระหวางกนั ท่ผี านมา 2. ขอบคณุ ผูรวมงาน 3. กลาวถึงความจําเปนทต่ี อ งจากไป หรอื ภาระหนาที่ท่จี ะตอ งไปทาํ 4. แสดงความหวงั วา คงจะไดรวมมอื กนั ใหสถาบนั เจรญิ รุดหนารุงเรืองตอ ไป 5. กลา วขอบคุณในกรณีท่ีไดรบั มอบของทรี่ ะลึก เร่อื งที่ 4 มารยาทในการพดู มารยาทในการพดู จะเปน เครื่องชว ยเสรมิ สรางความเช่อื ถือ ความนยิ มชมชอบใหแกผ ฟู งได ดังนั้นในการพูดผพู ดู ควรมมี ารยาทในการพูดดงั นี้ 1. แตง กายใหส ภุ าพเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ 2. เลอื กใชคาํ พูดที่สภุ าพเหมาะสมกบั ผฟู ง เวลา สถานที่ โอกาสและเรื่องท่ีจะพดู 3. ไมค วรพดู เรื่องของตนเองมากเกินไป พดู ใหตรงประเดน็ อาจออกนอกเรื่องบา ง พอผอ นคลายอารมณ 4. มาถึงสถานทีพ่ ูดใหตรงเวลาหรือกอนเวลาเลก็ นอย 5. ไมพ ูดใหผ ูอื่นเดอื ดรอ น และทําลายผูอ ่นื 6. พูดใหด งั พอไดยินท่ัวกนั และไมพ ดู เกินเวลาที่กําหนด 7. ควรเปดโอกาสใหผอู ืน่ ไดพูดบา ง ไมควรผูกขาดการพูดเพยี งผูเดียว 8. ปฏิบัติตามธรรมเนียมการพดู เชน กลา วคําข้ึนตน คําลงทา ย และกลา วขอบคณุ เปนตน

10 กจิ กรรมทายบทที่ 2 กจิ กรรม ใหผ เู รียนแบงกลุม เพื่อเตรยี มการพดู ในโอกาสตางๆ ดงั น้ี (5 คะแนน) 1. การพดู อวยพร 2. การพดู ขอบคุณ 3. การพูดแสดงความดใี จและเสยี ใจ 4. การพดู ตอ นรบั 5. การพูดรายงาน 6. การกลา วอาํ ลา

11 บทท่ี 3 การอาน เรอ่ื งท่ี 1 หลักการ ความสําคญั และจุดมุง หมายของการอา น 1.1 หลักการอา น การอา นออกเสียงคํา เปนการแสดงความหมายของคําไปสผู ูอานและผฟู ง เพ่ือให เกดิ ความเขาใจกันในการอา นคาํ ในภาษาไทยมปี ญ หาอยมู าก เพราะนอกจากคาํ ไทยแลวยังมี ภาษาตางประเทศปนอยหู ลายภาษา คําบางคําอา นอยางภาษาไทย บางคาํ อา นตามลักษณะของ ภาษาเดมิ การอานคาํ ในภาษาไทยจึงตองศึกษาหลกั เกณฑและเหตุผลประกอบเปนคําไป มี หลกั การอานดงั นี้ 1. การอาน ร ล ตอ งอา นตวั ร และ ล ใหถ ูกตอง ไมอาน ร เปน ล หรือ ล เปน ร เพราะ ถาอา นผดิ ก็จะทาํ ใหค วามหมายผดิ ไป เชน ถนนลาดยาว กวยเต๋ียวราดหนา เขาลอดบว ง เขารอดชวี ิต เธอเปนโรครา ย โลกนค้ี ือละคร 2. การอานคาํ ควบกลาํ้ คําควบกลา้ํ (อกั ษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู ตน พยางคและใชสระเดยี วกัน เวลาอานออกเสียงกลาํ้ เปนพยางคเดียวกัน เสยี งวรรณยกุ ตข อง พยางคนน้ั จะผนั ไปตามเสียงพยญั ชนะตวั หนา คอื เสยี งพยญั ชนะตน ก ข ค ต ป ผ พ ท่ี เขียนควบพยัญชนะ ร ล ว ออกเสยี งควบกลาํ้ กัน เชน โกรธ กรอง ปลา กลม กล้ํา กวาง แกวง ขวาง 1.2 ความสําคญั ของการอาน ชีวติ ของแตละคนยอมตองเกยี่ วขอ งผูกพันกบั สังคม คือ กลุมคนอยางหลกี เลยี่ ง ไมได ไมมีใครทจ่ี ะอยไู ดโ ดยปราศจากสังคม และการอยูรวมกับคนอ่ืน ซึง่ จะตองมคี วามเขา ใจ ซึ่งกนั และกัน มกี ารแลกเปลี่ยนความรู ความคดิ ความเขาใจ เพอ่ื ใหส งั คมเกดิ ความสงบสขุ และ พัฒนาไปขางหนาอยางแทจริง ดงั น้ันการตดิ ตอส่ือสารจึงเขา มาเปน สว นสําคัญในการเชือ่ มโยง มนุษยท ุกคนเขาดว ยกัน สามารถทํากระทงั่ การพบปะสอ่ื สารดว ยการสนทนาและอานขอ เขยี น

12 ของกันและกนั สาํ หรบั สงั คมปจ จุบนั จงึ เปน สงั คมใหญท ีเ่ จริญเตบิ โตและเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเร็ว การติดตอ กนั โดยวธิ พี บปะสนทนายอมเปนไปไดในวงจํากดั ดังนัน้ การส่ือสารกนั โดยการอานจึงมี ความสําคญั มาก นอกจากน้นั ผอู านจาํ นวนมากยังตอ งการอา น และแสวงหาความรูและความ บันเทิงจากหนงั สืออกี ดว ย 1.3 จดุ มงุ หมายของการอา น มดี งั นี้ 1. อานเพอ่ื ความรู ไดแ ก การอานจากหนังสอื ตาํ ราทางวชิ าการ สารคดที าง วชิ าการ การวจิ ยั ประเภทตาง ๆ ผูเรียนควรอา นอยางหลากหลาย เพราะความรใู นวิชาหนึง่ อาจ นาํ ไปชวยเสริมในอกี วิชาหนง่ึ ได 2. อา นเพ่ือความบนั เทิง ไดแก การอานจากหนงั สอื ประเภทสารคดที องเทย่ี ว นวนิยาย เรอื่ งสั้น การตนู 1.4 การอา นออกเสียงและอา นในใจ การออกเสยี งเปน การอา นใหม ีเสียงดงั เปนการอานเพือ่ สอ่ื สารใหผฟู ง ไดเขาใจ เร่ืองท่อี า นหรือเปนการฝกการอานออกเสียงดวย ซ่ึงมีวธิ ีการอานออกเสียง ดังน้ี 1. การอานออกเสียงพยญั ชนะ เชน ช ซ ร ล เปนตน 2. การอา นออกเสยี งควบกลา้ํ ร ล ว 3. การอานออกเสยี งวรรณยกุ ต ไดแ ก เสียงสามัญ เสียงเอก (  ) เสียงโท (  ) เสยี งตรี (  ) เสียงจัตวา (  ) เชน คาํ วา จา จา จา จา จา , ไก ไก ไก ไก ไก 4. การอา นออกเสียงคาํ พองรปู หมายถงึ คาํ ทเ่ี ขยี นเหมอื นกนั แตอ านตางกัน ความหมายกต็ า งกนั ผูเรยี นจะตอ งเขาใจความหมายของคําท่ีอานและตอ งอาศัยการตีความจาก ความหมายในประโยคดวย เชน เพลาเกวยี นหัก เมื่อเพลาเชา เพลา คําแรกอาน พอ - ลอ - เอา เพลา คําหลงั อา นวา เพ - ลา เขาหวงแหน จอกแหนในบอ นาํ้ แหน คาํ แรกอาน หอ - แอ - นอ แหน คําหลัง อานวา หอ - นอ - แอ 5. การอา นออกเสยี งตัวการันต เม่ืออา นคําทีม่ ีตวั การันตไมตอ งออกเสียงตัวการนั ต นน้ั เชน จนั ทร อานวา จนั รกั ษ อา นวา รกั อาจารย อานวา อา - จาน 6. การอา นออกเสียงเวน วรรคตอน การอา นเวนวรรคตอนเปนสิ่งสําคัญในการอาน คาํ อา นเวนวรรคผดิ ความหมายกผ็ ิดไปดวย เชน นํา้ เย็นหมดแลว อา นวา นํ้า เย็นหมดแลว หมายความวา น้าํ ที่รอนอยเู ย็นหมดแลว หรอื นา้ํ เย็น หมดแลว หมายความวา น้าํ เย็น หมดแลว

13 การอานในใจเปนการอานทผ่ี ูอานตอ งการจะจับใจความอยางรวดเร็ว ถกู ตอง โดย ไมใชอ วยั วะที่ชวยในการออกเสียง เคล่ือนไหวเลย และผูอานจะรเู รอื่ งราวแตเ พยี งผูเดียว วธิ ีการอา นในใจ มีดงั นี้ 1. ผูอ า นจะตองกวาดสายตามองตัวอกั ษรใหไ ดประมาณ 5 - 6 ตัว เปนอยางนอย 2. ตองฝก อตั ราความเรว็ ของตาและสมอง 3. การอา นจะตองอานจากซายไปขวาโดยตลอด ไมควรอา นยอ นไปยอนมา 4. มีการทดสอบตนเองหลังจากอา นในใจเรอ่ื งนน้ั จบ โดยต้งั คําถามถามตนเอง เพอ่ื เปน การสรปุ เร่ืองราว เรอ่ื งที่ 2 การอานรอ ยแกว คําวา รอ ยแกว หมายถึง ขอ ความที่เขยี นข้ึนโดยไมไดคํานงึ ถงึ การสมั ผัส เชน หนังสือเรยี น ขา ว ประกาศ นวนยิ าย บทสนทนา เรอ่ื งส้นั บทความ เปน ตน การอานรอยแกว เปนการอานจบั ใจความสาํ คญั ใหไดวา เร่ืองท่อี า นคืออะไร กลา วถึงใคร เกิดขึ้นทไี่ หน เมอ่ื ไร และมีผลอยา งไร ซ่งึ จะอานไดท ั้งออกเสยี งและอา นในใจ เร่อื งท่ี 3 การอานรอยกรอง คาํ วา รอ ยกรอง หมายถงึ ถอ ยคําทีผ่ ูป ระพนั ธ (เขยี น) ขึ้น โดยมีการสมั ผสั ใหคลองจองกนั การอา นรอ ยกรอง สามารถอานได 2 แบบ คือ 1. อานออกเสียงธรรมดา เปนการอา นออกเสียงพดู ตามปกตเิ หมอื นกบั อานรอยแกว แตม ี จังหวะ วรรคตอน 2. อา นเปน ทํานองเสนาะ เปน การอานมีสําเนียงสูง ตํ่า หนัก เบา ยาว สั้น เปน ทาํ นอง เหมอื นเสยี งดนตรี มีการเออื้ นเสียงเนนสัมผสั ตามจังหวะ ลีลาและทว งทํานองตามลกั ษณะบงั คับ ของบทประพนั ธใหชัดเจนและเหมาะสม เรอ่ื งที่ 4 มารยาทในการอานและนิสยั รักการอาน คําวามารยาท หมายถงึ ความประพฤตทิ เ่ี หมาะสมทีค่ วรยอมรบั และยกยอง มารยาท ในการอานอาจจะถือวา เปน เรื่องเล็ก ๆ นอ ย ๆ ทผี่ ูอานบางคนอาจจะไมรูสกึ และคดิ วา ไมส ําคญั แตผเู รยี นกไ็ มควรมองขาม ฉะนน้ั มารยาทในการอา นจงึ มีดังน้ี

14 1. ไมค วรอานเร่อื งสวนตวั ของผอู น่ื 2. ไมควรชะโงกไปอานหรอื แยงอา นในขณะทผี่ อู ืน่ กาํ ลังอา น เพราะจะเกิดความสําคญั 3. ไมอ า นออกเสียงดังในขณะทผ่ี ูอื่นตอ งการความสงบ 4. ไมทําลายหรือขดี ฆาขอความในหนงั สือที่ไมใชข องตนเอง ในชวี ิตประจําวันคนเราตอ งรบั รูขา วสารเร่อื งราวตาง ๆ อยูต ลอดเวลา การอา นเปน วิธกี ารแสวงหาความรูว ธิ หี นึง่ การสรางนิสัยรกั การอานไดน้นั ผูอ า นไดร ับความรหู รอื มปี ระโยชน เห็นคุณคา วธิ กี ารสรา งแรงจงู ใจเพ่ือใหเกิดนสิ ยั รกั การอา น เชน การใหรางวัล การใหเห็นคุณคา ของ การอา นและโทษของการไมอ า น การอา นควรเริม่ อานจากเร่อื งท่ีตนเองอยากรู หรือสนใจทจี่ ะรู

15 กิจกรรมทา ยบทท่ี 3 กิจกรรม ใหผเู รียนอา นบทรอ ยกรองตอ ไปนแี้ ลวสรุปเปนรอยแกวใหไดความหมายที่สมบูรณ (5 คะแนน) รักกนั อยู ขอบฟา เขาเขยี ว เสมออยูห อ แหงเดียว รวมหอง ชงั กนั บ แลเหลียว ตาตอกันนา เหมอื นขอบฟา มาปอง ปาไมม าบงั โครงโลกนิติ สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอกรมพระยา เดชาดศิ ร

16 บทท่ี 4 การเขยี น เรือ่ งที่ 1 หลักการเขียนและความสําคญั ของการเขียน 1.1 หลกั การเขยี น การเขยี น คือ การสื่อสาร ถายทอดขอ มูล ขาวสาร ความคิด เรอ่ื งราวออกมา เปน ตวั อักษร เพอ่ื สอ่ื ความรู ความคิด ประสบการณและอารมณ ความรสู ึกจากผูเขยี นไปสผู ูอา น โดยมหี ลกั การเขยี นดังน้ี เนื่องจากหลกั การเขยี นเปนทกั ษะที่ตองมีการฝก ฝนอยางจรงิ จงั เพ่อื ใหเกิดความรู ความชาํ นาญ และปอ งกนั ความผดิ พลาด ผเู ขยี นจําเปน ตองใชหลกั ในการเขียนดงั ตอไปน้ี 1. มคี วามถกู ตอง ใชภ าษาและมขี อมลู ถูกตอ งเหมาะสมตามกาลเทศะ 2. มีความชัดเจน ใชภ าษาหรือคาํ ทีม่ คี วามหมายชดั เจน เพ่ือใหผ ูอา นเขา ใจได ตรงตามจดุ ประสงค 3. มคี วามกระชบั ไมใ ชคาํ ฟมุ เฟอ ย เพ่ือไมท าํ ใหผอู า นเกดิ ความเบื่อหนา ย 4. มีความประทับใจ มีการใชคํา เพือ่ ใหเ กิดอารมณ จินตนาการหรือความรสู ึก ประทบั ใจ ชว ยใหต ิดตามอา นตอ ไป 1.2 ความสาํ คญั ของการเขยี น ส่ิงสาํ คญั ในการท่จี ะเปน นกั เขยี น คือ การรกั การอา น มคี วามอยากที่จะเขียน และ พฒั นา ฝก ฝนอยา งสมาํ่ เสมอ งานเขยี นท่ีผูเขยี นเขียนข้ึนมาและมีเน้อื หาถกู ตอง มีความทนั สมัย ไมว าจะเปนงานเขยี นประเภทใดก็ยอ มมปี ระโยชนตอผอู ่นื และยังมคี วามสาํ คัญตอ ตนเองและ ประเทศชาติอีกดวย ไดแก 1. ชว ยใหมหี นังสือประเภทตา ง ๆ ออกมาสทู อ งตลาดและแหลง คนควา ทางความรู เชน หองสมุด หนังสือบางเลมสามารถใชเปนแหลงขอมลู ในการอางองิ ไดอีกดวย 2. ชวยใหคนในชาติมคี วามรู มกี ารศึกษา รูเทาทนั เหตกุ ารณตาง ๆ 3. ชว ยใหผูเ ขียนเกิดความรแู ละประสบการณใ นการสรางผลงานเขยี นใหเ ปน ท่ี ยอมรับแกผ ูอ านได

17 4. เปนความภาคภมู ใิ จในงานเขียนดี ๆ ทผี่ ูเขยี นสรา งสรรคไว ถงึ แมวาหนังสอื บางเลมผเู ขียนอาจจะเสียชีวติ ไปแลว แตผลงานเขียนยงั คงอยู 5. เปน การสรา งรายได หาเลี้ยงชพี ได หากหนังสือเลม นน้ั ขายได ขายดี หรือผลงาน เขยี นดี 6. เปนการใชเ วลาวางใหเกดิ ประโยชน เร่ืองท่ี 2 การเขียนภาษาไทย อกั ษรไทย เปนอักษรท่ใี ชเขยี นภาษาไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยกุ ต 4 รปู และเคร่ืองหมายอ่นื ๆ อกี จาํ นวนหนง่ึ พยญั ชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซา ยไปขวา สว นสระจะอยหู นา บน ลาง และหลงั พยญั ชนะ ประกอบคําแลวแตช นิดของสระ เร่อื งที่ 3 การเขยี นสะกดคาํ การเขยี น สะกดคาํ หมายถึง การเรยี งลาํ ดับพยญั ชนะ สระ วรรณยุกตใหถกู ตอ งตามหลัก ภาษา และเปนคาํ ท่ีมคี วามหมาย เชน คํา พยญั ชนะ สระ ตัวสะกด วรรณยกุ ต แม ม แ -  มคี วามหมายวา หญงิ ผูใ หกําเนิดบุตร แม ม แ - - มีความหมายวา เคย้ี ว ด่ืม ทําใหห มดไป เรือ่ งท่ี 4 การเขียนคาํ คลอ งจอง คําคลอ งจองหรือเรยี กอีกอยา งหนึ่งวา คําสัมผัส หมายถึง คาํ ทใ่ี ชสระหรือพยัญชนะ เสียงเดียวกนั และถามีตวั สะกดจะตองมีตวั สะกดในมาตราเดยี วกนั คาํ คลองจองมหี ลายลกั ษณะในทนี่ จี้ ะขอกลาวถงึ คําคลองจองตัง้ แต 2 คาํ หรือ 3 คาํ เชน ช่วั นา ตาป คอขาด บาดตาย รมู าก ยากนาน หมไู ป ไกม า ยุใหร ํา ตาํ ใหรั่ว ขงิ กร็ า ขา กแ็ รง

18 เรื่องที่ 5 การเขยี นในรปู ประโยค ประโยค หมายถึง การนาํ เอาคําหลาย ๆ คาํ มาเรียงตอกันเปน กลุมคาํ และส่ือความหมาย ไดใ จความทส่ี มบูรณ ประโยคแตล ะประโยคจะประกอบดวยสองสวนเปนอยางนอ ย คือ ภาคประธาน ภาคแสดง ดังน้ี ภาคประธาน ภาคแสดง ตวั อยาง ฉันกินขาว ประธาน (ฉัน) กรยิ า (กินขาว) แมวกดั หนู ประธาน (แมว) กริยา + กรรม (แมวกัดหน)ู เรือ่ งท่ี 6 การเขียนสอ่ื สารในชวี ิตประจําวนั การเขยี นเพ่ือตดิ ตอสื่อสารเปน การนาํ ความรูไ ปใชใ หเ กดิ ประโยชนในชีวิตประจําวัน จาํ เปนตอ งฝกฝนใหเ กดิ ความรู ความชํานาญ สามารถเขยี นเพ่ือตดิ ตอ ไดถูกตองทงั้ รูปแบบ และ ถอ ยคํา สาํ นวน เพ่อื ใหก ารส่อื สารเปน ไปอยางมีประสิทธภิ าพ การเขียนเพอ่ื ตดิ ตอ สือ่ สาร อาจเขียนไดใ นรูปแบบของ 1. การเขยี นจดหมาย 2. การเขียนประกาศ แถลงการณ 1. การเขยี นจดหมาย การเขยี นจดหมายชว ยใหส ามารถตดิ ตอ ส่ือสารกันไดอยางสะดวกและประหยดั การเขยี นจดหมายมรี ปู แบบการเขยี นทแ่ี ตกตา งกันตามประเภทของจดหมาย สวนภาษาสาํ หรับ เขียนลงไปในจดหมายควรกระทัดรดั สละสลวย ใชคําสภุ าพ และควรใชคาํ ข้ึนตน คาํ ลงทาย ตลอดจนใชส รรพนาม (คําท่ใี ชเรียกแทน คน สัตว ส่งิ ของ) ใหถ กู ตองเหมาะสม กลวิธีในการเขยี นจดหมาย 1. เขียนดวยถอยคําตรงไปตรงมา แตไมห วน เพ่อื ใหผรู ับจดหมายไดทราบเร่ือง อยา งรวดเร็ว การเขียนแบบนม้ี ักใชในการเขียนจดหมายกิจธรุ ะ และจดหมายธุรกิจ รวมทง้ั จดหมายราชการ 2. เขยี นเชงิ สรา งสรรค ควรเลอื กเฟน ถอยคาํ ใหน าอาน เขียนดวยความระมัดระวงั การเขียนแบบนีใ้ ชกับจดหมายสว นตัว

19 มารยาทในการเขยี นจดหมาย 1. เลือกกระดาษและซองท่ีสะอาด ถาเปน กระดาษสคี วรใชสสี ุภาพ 2. ไมเขยี นดว ยดนิ สอดําหรอื หมึกสีแดง ไมข ดี ฆา ขูดลบ หรอื เขยี นทับลงไป พยายามเขียนใหช ดั เจน กะระยะใหขอ ความอยูใ นท่พี อเหมาะกบั หนากระดาษ 3. จดหมายทเ่ี ขยี นติดตอ เปนทางการตองศกึ ษาวา ควรจะสง ถึงใครใหถ กู ตอ ง ตามตําแหนงหนาท่ีและสะกดชือ่ นามสกลุ ยศ ตําแหนง ของผูนัน้ ใหถูกตอ ง 4. การเขียนจดหมายตอ งแสดงความสํารวมใหม ากกวาการพูด 5. ใชคาํ ข้ึนตนและคาํ ลงทายใหเ หมาะสมแกผรู ับตามธรรมเนยี ม 6. พบั จดหมายใหเรียบรอย บรรจุซองและจาหนา ซองใหชัดเจนทม่ี มุ บนดานซา ยมือ ของซองจดหมายดว ย 7. เมอ่ื ไดร ับจดหมายจากผใู ดจะตองตอบรบั โดยเร็วที่สดุ การละเลยไมตอบจดหมาย เปนการเสียมารยาทอยา งยงิ่ ประเภทของจดหมาย แบงเปน 1. จดหมายสว นตวั : เปน จดหมายถงึ เพอื่ น ญาตพิ น่ี อ ง 2. จดหมายกิจธุระ : เปนจดหมายตดิ ตอ ธุระ 3. จดหมายธุรกิจ : เปนจดหมายติดตอเพือ่ ประโยชนท างธุรกจิ การคา 4. จดหมายราชการ : เปนจดหมายหรือเอกสารท่ใี ชใ นการติดตอ กับราชการ

20 1. ตวั อยา งจดหมายสวนตัว 25/5 ต.สม โอหวาน อ.ขา วสารขาว จ.ลูกสาวสวย 23000 16 กันยายน 2556 สวัสดจี ะ ดาวเพ่ือนรัก สบายดหี รือเปลาจะ สว นเดอื นสบายดจี ะ บานใหมข องดาวหนา ตาเปน ยงั ไงนะ จะสวยเหมอื นบา นเกา ของดาวหรอื เปลา เดือนยงั จําไดนะ วันท่ดี าวชวนเดือนไปเกบ็ มังคดุ ทบี่ านวันน้นั เราเกบ็ กินกนั สด ๆ เลยนะ นึกถึงยังสนุกไมห ายโดยเฉพาะตอนท่ีเด็ดออกมา จากตนนะ ตอนน้ีเดอื นใกลจ ะเปดเทอมแลว เม่ือวานแมพ าเดอื นไปซือ้ ชดุ นกั เรยี นและอปุ กรณ การเรยี นท่จี าํ เปน แลว ดาวละใกลเ ปดเรยี นหรือยงั จะวาไปแลวชว งเวลาปด ภาคเรยี นน่ีชา ง ผา นไปรวดเร็วจรงิ ๆ เรายังไมไดไปเท่ียวที่ไหนเลยเพราะคุณพอคณุ แมไ มวา ง แลวดาวละ ตอนปดภาคเรียนไปเท่ียวที่ไหนบาง เขียนจดหมายมาเลาใหเ ดอื นฟงบา งนะ รวมทัง้ เร่ืองท่ี โรงเรยี นดวยเดอื นจะรออาน จดหมายของดาวนะจะ รักเพือ่ นมากจะ เดอื น

21 2. ตัวอยางจดหมายกิจธรุ ะ 86/35 หมู 11 ต.คูคต อ.ลาํ ลกู กา จ.ปทุมธานี 12130 17 มกราคม 2557 เรอ่ื ง ขอใชอาคารอเนกประสงค เรียน นายก อบต.คูคต สงิ่ ทสี่ งมาดวย ตารางการอบรม เนื่องดวยกลุมเยาวชนของหมูบา นชอ แกว จะจัดอบรมเกย่ี วกับการใชร ถใชถ นน ใหก บั เยาวชนในหมบู าน ระหวา งวันท่ี 27 - 29 มกราคม 2557 แตย ังขาดสถานท่ีในการ อบรม ดงั นั้น ประธานกลมุ เยาวชนหมูบานชอ แกว จงึ ขออนุญาตใชส ถานท่อี าคาร อเนกประสงค ของ อบต.คคู ต เพอื่ จดั กิจกรรมดงั กลาว และหวงั เปนอยางยิ่งวา คงจะไดร บั ความอนุเคราะหจากทานดว ยดี จึงเรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณา ขอแสดงความนบั ถอื (ลายเซน็ ต) หญิงลี สวยเสมอ (นางสาวหญงิ ลี สวยเสมอ) ประธานกลมุ เยาวชนหมูบา นชอ แกว โทร. 02 2177878

22 3. ตัวอยางจดหมายธรุ กจิ โรงเรียนลาํ ปางกลั ยาณี ถนนพหลโยธนิ อ.เมือง จ.ลําปาง 52000 24 กันยายน 2556 เรียน ผจู ัดการวัสดุการศกึ ษา จํากดั ดวยทางโรงเรยี นลาํ ปางกัลยาณี มีความประสงคจ ะซอ้ื สไลดป ระกอบการสอนวชิ า ภาษาไทย ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ตามรายการตอ ไปน้ี 1. ชดุ ความสนกุ ในวัดเบญจมบพิตร จาํ นวน 1 ชดุ 2. รามเกียรตติ์ อนศึกไมยราพ จาํ นวน 1 ชุด 3. แมศ รีเรอื น จาํ นวน 1 ชดุ 4. ขอ คิดจากการบวช จาํ นวน 1 ชุด 5. หนงั ตะลุง จาํ นวน 1 ชดุ ตามรายการท่สี ง่ั ซ้อื มาขางตน ดิฉันอยากทราบวา รวมเปนเงินเทา ไร จะลดไดก ี่เปอรเ ซน็ ต และถาตกลงซ้ือจะจดั สงทางไปรษณียไ ดหรอื ไม หวังวาทานคงจะแจง เกย่ี วกบั รายละเอียดใหท ราบโดยดวน จึงขอขอบคณุ มาในโอกาสน้ี ขอแสดงความนับถือ (ลายเซ็นต) สมใจ หยิง่ ศักด์ิ (นางสาวสมใจ หยิง่ ศกั ด์)ิ ผชู ว ยพัสดุหมวดวิชาภาษาไทย

23 4. ตัวอยางจดหมายราชการ ที่ ศธ 0210.06/1221 ศนู ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน ถนนศรอี ยุธยา กทม. 10400 11 มกราคม 2556 เรียน ขอเชญิ เปนวิทยากร เรยี น ผชู วยคณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ดวยศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรยี น กาํ ลงั ดาํ เนินการจัด และผลิตรายการโทรทัศนเสริมหลกั สตู รการศกึ ษานอกโรงเรียน วิชาวทิ ยาศาสตร ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน เพ่อื ออกอากาศทางสถานวี ิทยุโทรทัศนเพือ่ การศึกษาทางไกลไทยคม ชอ งการศกึ ษา 1 ศูนยเทคโนโลยีทางการศกึ ษาจงึ ขอเรียนเชญิ อาจารยป ระสงค ตนั พิชัย อาจารยป ระจาํ ภาควชิ าอาชีวศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร ซง่ึ เปน ผูมีความรแู ละประสบการณ เรื่องเทคโนโลยใี นการขยายพนั ธุพืชเปนวิทยากรบรรยายเรือ่ งดงั กลาว โดยจะบนั ทึกเทป ในวันองั คารท่ี 31 มกราคม 2556 จึงเรยี นมาเพื่อขอความอนุเคราะห และขอขอบคณุ มาเปน อยางสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนบั ถือ (ลายเซ็นต) นายโกศล ชูชวย (นายโกศล ชูชวย) ผูอาํ นวยการศูนยเทคโนโลยที างการศึกษา ฝา ยผลติ รายการโทรทศั นเพื่อการศึกษาในระบบโรงเรียน โทร. 2461115 - 21

24 2. การเขียนประกาศและแถลงการณ มจี ดุ ประสงคเดียวกัน คือ ตอ งการแจง ขาวสาร ใหสาธารณชนทราบทางหนังสอื พิมพ วิทยุ โทรทศั น ปายประกาศ การเขยี นมกี ารใชภาษาทีเ่ ปน แบบแผน และมีข้นั ตอนการเขยี นจะเร่ิมตนบอกเหตุผลทต่ี อ งแจง โดยลําดับเนือ้ ความวา ใครหรอื หนวยงานใด มีแนวปฏิบัตอิ ยางไร เมอื่ ไร พรอมวัน เวลา สถานที่ อยา งชัดเจน แตถา จะเปรียบเทียบกันแลว การเขยี นประกาศจะมตี ั้งแตเ รื่องเล็ก ๆ นอ ย ๆ ไปจนถงึ เรอ่ื งใหญ เชน ประกาศผไู ดร บั รางวัล ประกาศภาวะฉกุ เฉินจากเหตกุ ารณน ํ้าทวม ฯลฯ แถลงการณ หมายถึง บรรดาขอ ความทีท่ างราชการแถลงเพ่อื ทําความเขา ใจใน กจิ การของทางราชการหรือเหตกุ ารณห รือกรณีใด ๆ ใหท ราบชดั เจนโดยท่ัวไป 1. ตัวอยางประกาศ

25 2. ตวั อยา งแถลงการณ

26 นอกจากการเขยี นเพื่อติดตอสอื่ สารโดยการเขียนจดหมาย การเขยี นประกาศ แถลงการณแ ลว ผูเรยี นควรจะเรียนรวู ธิ ีการจดบันทึก การจดบนั ทึก หมายถึง การจดขอ ความ เรอ่ื งราว เหตุการณ เพื่อชว ยความทรงจํา หรือเพ่อื เปนหลักฐาน การจดบนั ทึก นบั วาเปนทกั ษะในการเรียนทส่ี าํ คัญและจาํ เปนมากสาํ หรับการเรยี น ดว ยตนเอง เพราะในแตละภาคการเรียน ผูเรยี นจะตองเรียนหลายวิชา ซ่งึ มเี นื้อหาสารหลากหลาย จาํ นวนมาก หากไมมีเทคนิค หรือเครือ่ งมอื ชว ยในการจาํ ที่ดจี ะทาํ ใหเกิดความสับสน และเมอ่ื ตอง มีการทบทวนกอ นสอบ บันทึกยอ ที่ทําไวจ ะเปนประโยชนอ ยา งยิ่ง การจดบันทึก แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1. การจดบนั ทกึ จากการฟง 2. การจดบนั ทกึ จากการอาน 3. การทําบนั ทกึ ยอจากบนั ทกึ การฟง และบนั ทกึ การอาน 1. การจดบันทกึ จากการฟง กอนจะบันทึกแตล ะครง้ั ควรจดหวั ขอที่จะบรรยาย ชื่อผบู รรยาย ผูสอน วทิ ยากร วัน เดอื น ป ทกุ ครัง้ ในระหวา งทฟ่ี ง คําบรรยาย อาจจะจดไมทนั ทกุ คาํ พดู ผูจดบนั ทึก อาจจะตอ งใชค ํายอ สัญลักษณท จี่ ดจาํ ไดง าย และสงิ่ สําคัญหากจดบันทกึ ไมท ันไมควรหยุดจด ใหสอบถามเพอ่ื น ๆ และจดตอ ไปจนจบการบรรยาย จากน้นั ใหทบทวนส่ิงท่ีจดบนั ทกึ ไวทนั ที เพอ่ื ชว ยใหไ มลมื หรอื ลืมนอ ยลง 2. การจดบันทกึ จากการอา น กอ นจดบันทกึ ผเู รียนจะตอ งอานขอความ เรอื่ งราว ท่จี ะจดบันทึกและจบั ใจความสาํ คัญของเรอ่ื งใหไ ดวา วัตถุประสงคของขอเขยี นนั้นคืออะไร มคี ตหิ รือขอ คิดที่ผอู านสนใจ ก็ใหจ ดบันทึกไว นอกจากนั้นจะตอ งมีการเขยี นอางอิงวาเอกสารหนังสือท่บี นั ทึกชือ่ หนังสืออะไร ใครเปนผแู ตง แตง เมอื่ ใด 3. การทําบนั ทกึ ยอ จากบันทกึ การฟงและบนั ทกึ การอาน คือ การสรุป สาระสาํ คัญของบันทึกคําบรรยาย บันทึกจากการอา น เนอื้ หาจึงสน้ั กะทดั รัดมีใจความสําคัญ ครบถวน อานงาย บันทกึ ยอ เปนส่ิงที่ผูเรยี นควรจะทําเปนอยางยิ่ง ผเู รยี นจะไดป ระโยชนจ ากการ บันทึกยอดังตอ ไปน้ี 1. ฝกทกั ษะในการจบั ประเดน็ สําคญั 2. สะดวกในการใชเมือ่ มีเวลาจาํ กดั เชน อา นทบทวนกอนสอบ

27 3. มโี อกาสในการฝก ฝนความคดิ การใชสาํ นวนภาษา เม่อื มกี ารจดบันทกึ อยา งสม่าํ เสมอ เร่อื งที่ 7 การเขยี นเรยี งความ ยอ ความ 7.1 การเขยี นเรยี งความ การเขียนเรยี งความเปนการเขียนทต่ี องการถา ยทอดเรือ่ งราว ความรู ความคิด หรอื ทัศนคตใิ นเรื่องใดเรือ่ งหนึ่งดว ยถอ ยคํา สาํ นวนท่ีเรียบเรยี งอยา งมลี ําดบั ข้ันและสละสลวย องคป ระกอบของการเขยี นเรียงความ มี 3 สว นใหญ ๆ คอื 1. คาํ นาํ เปน สวนแรกของเรยี งความ ทาํ หนาที่เปดประเด็นดึงดดู ความสนใจ ใหผูอ านสนใจอา นท้ังเร่อื ง 2. เน้อื เรอ่ื ง เปน สวนที่สําคัญและยาวทสี่ ุดของเรยี งความจะประกอบดวยความรู ความคดิ และขอมลู ท่ผี ูเ รียนคนควา และเรียบเรียงอยางเปน ระบบระเบยี บ ในการเขยี นอาจจะมี การยกตวั อยา ง การอธบิ าย หรอื ยกโวหารตา ง ๆ มาประกอบดวยโดยอาจจะมหี ลายยอ หนาก็ได 3. สรปุ เปนสวนสดุ ทา ยหรอื ยอ หนาสดุ ทา ยในการเขียนเรียงความ ผูเขยี นจะ ท้งิ ทายใหผ ูอ านเกดิ ความประทบั ใจ เชน ฝากขอ คดิ ชกั ชวนใหป ฏบิ ตั ิตาม ต้งั คาํ ถามใหผอู าน คดิ หาคาํ ตอบ 7.2 การยอความ การยอ ความ คอื การเก็บเน้ือความหรือใจความสาํ คัญในเรอื่ งใดเรื่องหน่งึ อยา งถูกตอ ง ครบบริบูรณตามตวั เรอ่ื ง แลวนาํ มาเรยี บเรียงใหม เปนขอความส้นั กะทัดรัด โดยไมใ หความหมาย เปลีย่ นแปลงไปจากเดิม หลกั การเขียนยอ ความ มีดังนี้ 1. อานเรื่องท่ีจะยอ ความใหจบอยา งนอย 2 ครง้ั เพอื่ ใหทราบวาเรอื่ งน้ันกลาวถึง ใคร ทาํ อะไร ที่ไหน อยางไร เม่ือไร และผลเปน อยา งไร 2. บนั ทึกใจความสําคญั ของเรอ่ื งทอี่ า น แลว นํามาเขียนเรียบเรียงใหมด ว ยสาํ นวน ของตนเอง

28 รูปแบบการเขียนยอ ความ 1. การยอ นิทาน นิยาย ใหบอกประเภท ชือ่ เรื่อง ผูแตง ทมี่ าของเรือ่ งเทาท่ีทราบ เชน ยอ นิทานเรอ่ื ง ............................. ของ ............................ จาก ........................... ความวา ........................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... 2. การยอ คําสอน คาํ กลา วปาฐกถา ใหบ อกประเภท ชื่อเรื่อง เจา ของเรือ่ ง ผูฟง สถานท่ี และเวลา เทาท่ีจะทราบได เชน ยอ คําสอนเรื่อง ............................. ของ ........................... จาก .......................... หนา ..................................... ความวา ......................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. การยอบทความ ใหบ อกประเภท ชื่อเรอ่ื ง เจา ของเรือ่ ง ทม่ี าของเร่ือง เชน ยอ ความเรอ่ื ง ................................ ของ ......................... จาก ........................... ฉบบั ท่ี .......................... หนา ........................ ความวา .............................................................. ..................................................................................................................................................... เร่ืองที่ 8 การเขยี นรายงาน การคน ควาและการอางอิง 8.1 การเขยี นรายงาน การเขยี นรายงาน คือ การเขียนเลา ถึงสิง่ ท่ีไดพ บเห็นหรือไดกระทํามาแลว เชน การคน ควา การไปศึกษานอกสถานท่ี การไปประชุม การประสบเหตุการณท ่ีสาํ คญั เปน ตน ลักษณะของรายงานคลายยอความ แบบการเขียนรายงานไมมขี อ กาํ หนดตายตัว แตเทาทศ่ี กึ ษาคนควา มาสรปุ ไดว า การเขียนรายงานควรมี 3 สวน ดังน้ี 1. สว นหนา ประกอบดวย หนา ปก ใบรองปกหนา (กระดาษเปลา) หนาปกใน หนาคํานาํ หนา สารบญั 2. สว นกลาง ประกอบดว ย เน้ือเร่ือง เชงิ อรรถ (การอา งองิ ขอมูล) 3. สว นทาย ประกอบดวย บรรณานกุ รม ภาคผนวก ใบรองปกหลงั (กระดาษเปลา ) ปกหลัง

29 ตวั อยางสว นประกอบของรายงาน 1. หนา ปก ควรใชกระดาษหนาพเิ ศษ และมีขอความดังตอไปนี้ ชอื่ เรือ่ ง ช่อื ผูทํารายงาน ช่อื วชิ า ชอื่ สถานศึกษา ภาคการเรียน ปก ารศึกษา ตัวอยา ง เร่ือง การเล้ียงไก เสนอ อาจารยก บ กนิ งา ย นําเสนอโดย หญงิ ลี สวยเสมอ ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2554 รายงานนเี้ ปนสวนหน่ึงของวิชาเกษตร โรงเรียนวดั สาวชะโงก 2. หนาปกใน วางอยตู อจากหนาปก ใชกระดาษบาง มีขอความคลา ยกบั หนาปก 3. คํานาํ วางอยูหนาถัดจากหนาปกใน เปนขอความกลา วเกร่ินนําเพอ่ื ใหผ อู านเขาใจ ขอบเขตและทมี่ าของการทํารายงานน้นั ๆ บางรายงานอาจจะกลาวงถึงการขอบคุณผูใหค วามรวมมอื ในการเขยี นรายงานนัน้ ๆ ใหสําเร็จ ควรลงชอ่ื และวนั ทเี่ ขยี นคาํ นําดว ย คาํ นาํ การเลย้ี งสตั วเ ปนการทาํ การเกษตรอยางหน่งึ ที่ ..................................................................................... ..................................................................................... หญิงลี สวยเสมอ 28 มกราคม 2557

30 4. สารบญั เปน สว นทบี่ อกวาตาํ แหนง ของขอ มลู หรอื เรอ่ื งราวตาง ๆ วางอยหู นาใด ของรายงาน เพือ่ ใหงายตอการพลิกหาขอมูลในรายงานฉบบั น้ัน ๆ สารบัญ หนา เรื่อง 1 บทนาํ .............................................. 2 การเลีย้ งสตั ว ................................... 3 การเกษตร ....................................... 5 ขั้นตอนการเลย้ี ง .............................. 15 สรุป ................................................. 5. เนือ้ หา 6. สรปุ 7. อางอิง หรือ บรรณานกุ รม 8.2 การคน ควา การคนควา หมายถึง การแสวงหาความรูทอี่ ยูรอบตัวเรามใิ ชมีเพียงในตํารา หรือ คาํ บรรยายเทานั้น ดังน้ันการเขียนรายงานจากการคนควาจงึ เปนเรื่องทใี่ กลเ คยี งกัน นั่น หมายความวา หลังจากที่ไดขอมูลจากการคนควา มาแลว กน็ ํามาเขียนเปนรายงาน หลงั จากที่ไดขอมูลในการเขยี นรายงานแลว ผเู ขยี นรายงานจะตอ งมีการเขยี น อา งอิงขอมลู ทไ่ี ดจากการศึกษาคน ควา และนาํ มาเขียนเปน รายงาน ทาํ ใหผลงานนาเชือ่ ถือ เปนการ ใหเ กียรตผิ ูเขยี น 8.3 การอา งองิ การอางอิง หมายถงึ การบอกแหลงที่มาของขอความท่ใี ชอ า งองิ ในเน้อื หาทีน่ าํ มาเขียน เรียบเรียง เชน วีระศกั ด์ิ จงสูวิวฒั นวงศ (2549) พบวา .................................................................. ........................................................................................................................................................

31 เร่อื งที่ 9 มารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขยี น 9.1 มารยาทในการเขยี น มดี ังนี้ 1. รกั ษาความสะอาดเปนระเบยี บเรยี บรอ ยในการเขียนทุกคร้งั 2. เขยี นใหอ านงา ย ชัดเจน อยาเขยี นใหอานหวัดจนเกินไป 3. เขยี นใหถ กู หลกั การเขียน มยี อหนา เวนวรรค ชอ งไฟใหเ หมาะสม 4. ใชถ อ ยคาํ สาํ นวนสภุ าพ เหมาะสม ไมใ ชสาํ นวนหยาบโลน หรอื เขยี นเพ่อื มุง เนน ทาํ ลายผอู นื่ 5. เขยี นสะกดการนั ต วรรณยุกตใหถกู ตอง 6. ผูเขียนตองรบั ผิดชอบในขอความทนี่ ําเสนอ 7. ไมควรเขียนเลอะเทอะตามผนงั กําแพง เสาไฟฟา หรอื ที่สาธารณะตาง ๆ 8. ไมควรเขยี นโดยปราศจากความรเู ก่ียวกบั เรอ่ื งนั้น ๆ เพราะอาจจะเกดิ ความ ผดิ พลาด 9.2 การสรางนสิ ยั รกั การเขียน ผเู รียนจะเขียนไมได ถาไมต้ังเปา หมายในการเขยี นไวลว งหนาวาจะเขียนอะไร เขียนทําไม การศกึ ษาคน ควา รวบรวมขอ มูลอยสู มา่ํ เสมอ จะทําใหผ ูเ ขยี นมคี วามสนใจท่ีจะเขยี น เพราะมอี งคค วามรทู ่พี รอ มในการท่ีจะเขียน ฉะน้ัน การสรางนิสัยรกั การเขยี นตองเรม่ิ จากเปน ผูหมน่ั แสวงหาความรู มีใจรกั ท่ีจะเขียน เห็นประโยชนของการเขยี นและหม่ันฝกฝนการเขยี นบอ ย ๆ

32 กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นเตมิ คาํ คลองจองในชองวางใหไ ดประโยคทสี่ มบูรณ (5 คะแนน) ปนู า _ _ รมู าก _ _ ยใุ หรํา _ _ _ พอของฉนั _ _ _ ชอบเรอื่ งราว _ _ _ ไปตลาด _ _ _ อยากพบพาน _ _ _ ขงิ ก็รา _ _ _ ไมข ดั แยง _ _ _ กจิ กรรมท่ี 2 การบันทกึ จากการอาน ใหผ เู รยี นอา นบทความตอไปน้ี แลวดาํ เนินการจดบันทึกการอา นตามหลักการจด บนั ทกึ ใหถ ูกตอง (5 คะแนน) “ขนนุ เพชรเนือ้ ทอง” ยางนอยอรอยราคาดี ขนุนชนิดนี้ เกิดจากการเอาเมลด็ ของขนุนสายพนั ธทุ ่ีดีท่สี ดุ แตไมระบวุ าชื่อพนั ธุอ ะไร จํานวนหลายเมลด็ ไปเพาะเปนตนกลา แลวแยกตนไปปลกู เล้ียงจนตน โต มดี อกติดผล ซง่ึ มีอยูตน หน่งึ ลักษณะตนและรปู ทรงของผลแตกตางจากพันธุแ มด้ังเดมิ อยางชัดเจน เมือ่ นําเอาผลสุกผา ดู เนื้อใน ปรากฏวา ทัง้ ผลแทบไมมยี างติดมือเลย หรอื หากมีก็นอ ยมาก เนือ้ สุกเปนสเี หลืองเขมหรือสี เหลอื งทอง เนอ้ื มีความหนาระหวาง 0.5-1.2 ซม. เนื้อกรอบไมนมิ่ หรือเละ มกี ล่นิ หอมเฉพาะตัว เมล็ดกบั ไสก ลางเล็ก วัดความหวานของเนื้อไดประมาณ 24-28 องศาบริกซ รบั ประทานอรอ ยมาก ผลโตเตม็ ท่มี นี ํ้าหนกั เฉลยี่ 13-20 กิโลกรัม เจา ของผูเพาะขยายพันธเุ ชือ่ วา เปน ขนุนกลายพันธุหรือ เปนขนนุ พนั ธุใหม จงึ ขยายพันธปุ ลูกทดสอบความนิ่งของสายพนั ธอุ ยูหลายวิธี และเปนเวลานาน ทกุ อยา งยังคงที่ไมเปลี่ยนแปลงไดก ลายพนั ธแุ บบถาวรแลว เลยนาํ เอาพันธไุ ปขอจดทะเบียนพันธุ พรอ มตงั้ ชอื่ วา “ขนุนเพชรเนื้อทอง” ดงั กลาว และไดส ง เขาประกวด ไดรบั รางวลั ชนะเลิศในงาน เกษตรของ จ.ปราจีนบรุ ี การันตถี งึ 2 ปซ อน ขอ มลู จากหนังสอื พิมพไ ทยรฐั วนั พทุ ธที่ 16 ธนั วาคม พ.ศ.2558

33 กจิ กรรมที่ 3 ใหผูเรียนเขยี นเรยี งความ เรือ่ ง “แนวทางการดาํ เนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง” มคี วามยาวไมเ กนิ 1 หนากระดาษ (10 คะแนน) กิจกรรมท่ี 4 ใหผ เู รยี นบอกมารยาทในการอานและการสรา งนิสัยรกั การอา น (5 คะแนน)

34 บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา เร่อื งที่ 1 เสียง รูปอักษรไทย และไตรยางค 1.1 เสียงพยญั ชนะ เสยี งพยญั ชนะมี 21 เสียง และมรี ปู พยัญชนะ ดังน้ี เสียงพยัญชนะ รูปพยญั ชนะ ก - กอ ก ค - คอ ง - งอ ขฃคฅฆ จ - จอ ง ช - ชอ จ ซ - ซอ ด - ดอ ชฌฉ ต - ตอ ซสศษ ท - ทอ น - นอ ดฎ บ - บอ ตฏ ฟ - ฟอ ทธฑฒถฐ พ - พอ นณ ฝ - ฝอ บ ม - มอ ฟ ย - ยอ พ ภผ ร - รอ ฟฝ ล - ลอ ม ว - วอ ย ฮ - ฮอ ร อ – ออ ล ว ฮห อ

35 พยญั ชนะตนของคาํ บางคํามีการนําพยัญชนะมารวมกันแลว ออกเสียงพรอมกนั เรยี กวา “เสยี งควบกล้ํา” มที ่ีใชก นั เปน ตัวอยา งไดดงั น้ี 1. กว เชน แกวง / ไกว 2. กร เชน กรอบ / กรงุ 3. กล เชน กลอง / กลบั 4. คว เชน ควาย / ควา 5. คร เชน ใคร / ครวญ 6. คล เชน คลอ ย / เคลม้ิ 7. พร เชน พระ / โพรง 8. พล เชน พลอย / เพลง 9. ปร เชน ปราบ / โปรด 10. ปล เชน ปลกุ / ปลอบ 11. ตร เชน ตรวจ / ตรอก 12. ทร เชน จนั ทรา / ทรานซิสเตอร 13. ฟร เชน เฟรน / ฟรี 14. ฟล เชน ฟลกุ / แฟลต 15. บล เชน บลอ็ ก / เบลอ 16. ดร เชน ดราฟท 1.2 เสยี งสระ มี 24 เสียง โดยแบง เปนเสียงสั้นและเสียงยาว สระเสียงส้ัน สระเสยี งยาว อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ

36 สระเสียงส้นั สระเสียงยาว เอาะ ออ เออะ เออ เอียะ เอยี เออื ะ เออื อัวะ อัว 1.3 เสียงวรรณยกุ ต มี 5 เสียง คือ เสียงสามญั เชน กา เสียงเอก เชน กา เสยี งโท เชน กา เสยี งตรี เชน กา เสียงจตั วา เชน กา คําไทยทกุ คํามีเสยี งวรรณยกุ ต แตอ าจไมมรี ปู วรรณยุกต เชน ขอ หนู หู ตงึ ขอ มีเสยี งจตั วา หนู มเี สยี งจัตวา หู มีเสียงจัตวา ตึง มีเสยี งสามญั 1.4 ไตรยางค คอื อักษร 3 หมู ซ่ึงแบง ตามเสียง ดงั น้ี 1. อกั ษรสงู มี 11 ตวั คือ ข ข ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห 2. อกั ษรกลางมี 9 ตัว คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ 3. อกั ษรตํ่ามี 24 ตัว คอื ค ฃ ฆ ง ช ซ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ นพฟภมยรลวฬฮ ตัวอยางการผนั วรรณยกุ ต อักษร 3 หมู เสยี งสามญั เสยี งเอก เสยี งโท เสยี งตรี เสยี งจัตวา กา กา กา อักษรกลาง กา กา กะ กะ - ขา - ขา - กะ - - คา คา - อักษรสงู - ขา คะ คะ - - อกั ษรตํา่ คา - --

37 เรอ่ื งท่ี 2 ความหมายและหนาท่ีของคํา กลุมคํา และประโยค 2.1 คาํ หมายถงึ เสียงท่ีเปลงออกมาแลว มีความหมาย จะมีกพ่ี ยางคก ไ็ ด เชน ไก ขนม นาฬิกา เปนตน พยางค หมายถึง เสียงท่เี ปลง ออกมาครัง้ หน่ึง จะมีความหมายหรือไมมีก็ได เสยี งที่ เปลงออกมา 1 คร้งั กน็ บั วา 1 พยางค เชน นาฬิกา มี 3 พยางค แตมี 1 คํา แมนาํ้ มี 2 พยางค แตมี 1 คาํ มคี วามหมายวา ลาํ น้ําใหญ ซ่งึ เปน ท่รี วมของลาํ ธารทัง้ ปวง 2.2 ชนิดของคาํ คาํ ที่ใชใ นภาษาไทยมี 7 ชนิด คือ คํานาม คาํ สรรพนาม คํากรยิ า คาํ วิเศษณ คาํ บพุ บท คาํ สันธาน และคาํ อทุ าน ซึง่ คาํ แตล ะชนิดมหี นา ท่ีแตกตา งกันดงั น้ี 1. คาํ นาม คือ คาํ ท่ใี ชเรยี กช่ือ คน สัตว ส่ิงของ สถานท่ี และคาํ ท่ีบอกกริ ยิ า อาการหรอื ลักษณะตา ง ๆ ทาํ หนา ทเ่ี ปนประธานหรือกรรมของประโยค ตวั อยาง คาํ ที่เรยี กชือ่ ทั่วไป เชน เรยี กชอื่ สตั วว า แมว ชา ง หมู เปน ตน เรียกชือ่ สิ่งของวา ดินสอ พดั ลม โตะ เปนตน คําเรียกชอื่ บุคคล เขน สมศักดิ์ พรทพิ ย สดุ า เปนตน คาํ เรียกช่อื สถานท่ี เชน กรงุ เทพมหานคร สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี เปนตน คําที่เรยี กการรวมกันเปน หมู กลุม (สมดุ นาม) เชน ฝูง พวก กรม กอง โขลง เปน ตน คําทใี่ ชบอกอาการ (อาการนาม) จะมีการหรือความนําหนา เชน การเรยี น การพดู ความดี ความรกั เปน ตน คําทใี่ ชบ อกลกั ษณะ (ลกั ษณะนาม) ของคาํ ถามนัน้ ๆ เชน นาฬกิ า 3 เรอื น วัว 3 ตัว บา น 3 หลัง ชา ง 3 เชือก ป 3 เลา หนังสือ 10 เลม เปนตน 2. คําสรรพนาม คอื คาํ ท่ีใชแ ทนคํานามทีก่ ลาวมาแลว เพ่อื ไมต อ งการกลา วซํ้า ตัวอยา ง สรรพนามแทนผูพ ูด เชน ขา ขา พเจา ผม เรา ฉนั เราเปน นักศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา เราตองมาเรียนทกุ คร้ัง ขา พเจา เรยี นจะจบ แลว เปนตน สรรพนามแทนผูฟง เชน ทา น เอ็ง เธอ เชน ทานจะไปไหน เปนตน สรรพนามแทนผูทกี่ ลาวถงึ เชน เขา มัน เชน เขายังไมมา มันเปนใคร เปนตน สรรพนามท่บี อกใหท ราบความใกล ไกล เชน น่ี โนน น่ัน เชน น่ีเปน หนังสือ ของพวกเขา หนังสือของพวกเราอยนู ั่น เปน ตน

38 สรรพนามทใี่ ชเปนคาํ ถาม เชน ใคร อะไร ที่ไหน อนั ไหน เชน ใครมา ทา นทําอะไร เธอจะไปไหน สมุดเลม ไหนเปนของเธอ เปน ตน 3. คาํ กริ ยิ า คอื คาํ ทบี่ อกการกระทํา เชน กิน นอน นั่ง เดิน แสดงการกระทาํ ของคํานามน้ัน ๆ โดยอยูตอจากประธานของประโยค คาํ กรยิ าที่ตองมกี รรม (สกรรมกรยิ า) มารบั ขางทายจึงจะมใี จความสมบูรณ เชน ผเู รยี นอา นหนงั สอื เราทํารายงานสง อาจารย พวกเขากาํ ลังทาํ งานกลมุ อาทติ ยห นาพวกเราจะ ทบทวนบทเรียนกนั กอนสอบ คํากริยาทไ่ี มต อ งมีกรรมมารับขางทา ย (อกรรมกริยา) ประโยคนก้ี ไ็ ดใ จความแลว เชน นกรอ ง เราวง่ิ พวกเขาเดนิ เรว็ เปนตน คํากริยาท่ีตอ งมสี ว นเติมเต็มจึงจะมใี จความสมบูรณ เชน ฉันเปนแมบา น เธออยภู เู ก็ต เราคือเธอ เปนตน 4. คําวเิ ศษณ คือ คาํ ที่ใชประกอบคํานาม คาํ สรรพนาม และคํากรยิ า เพือ่ บอก ลกั ษณะหรอื รายละเอยี ดของคาํ น้ัน ๆ คาํ วเิ ศษณสว นมากจะวางอยหู ลงั คําที่ตองการบอกลกั ษณะ หรอื รายละเอียด ตวั อยาง คําวเิ ศษณ ไดแก สูง ตํา่ ดํา ขาว แก รอน เย็น เลก็ ใหญ ฯลฯ เขาใสเสือ้ สแี ดง ขาวรอน ๆ สกั จาน จม๋ิ เรยี นหนังสือเกง บานหลังใหญแ ตรถคนั เลก็ คนตัวสูงว่งิ เรว็ คนอวนเดินชา 5. คําบพุ บท คอื คาํ ทแ่ี สดงความสมั พนั ธระหวา งประโยคหรอื คาํ หนา กบั ประโยค หรอื คําหลัง ตัวอยาง บอกสถานท่ี เชน ใน นอก บน ลา ง ใต ใกล ไกล เปน ตน เสือ้ ผา อยูในตู เกา อีอ้ ยูใตโตะ นกเกาะบนตนไม บา นเราอยใู กลโรงเรยี น เปนตน 6. คําสนั ธาน คือ คําทีเ่ ชื่อมขอ ความหรอื ประโยคใหเปนเรอ่ื งเดยี วกนั ตวั อยาง เช่อื มความขัดแยงกัน เชน แต พไี่ ปโรงเรยี นแตน อ งอยบู าน กวา ..........ก็ กวา ถ่ัวจะสุกงาก็ไหม ถึง............ก็ ถึงใคร ๆ จะบอกวา ฉนั เกง ฉันก็อานหนงั สือทกุ วัน

39 เชอ่ื มความท่ีคลอ ยตามกนั เชน กับ พอกับแมไ ปเยย่ี มยาย พอ...........ก็ พอฝนหยุดตกทอ งฟา ก็แจม ใส คร้นื .........ก็ คร้นื พายุมาฝนกต็ ามมา เชื่อมความท่ีเปนเหตุผลกัน เชน เพราะ เพราะฉันตั้งใจเรียนจึงทาํ ขอ สอบได เนอ่ื งจาก..........จงึ เนื่องจากผมตองการมคี วามรเู พิม่ เติม จึงมาเรียน กศน. ฉะน้ัน เรามาเรยี นแลว ฉะนั้นตอ งตง้ั ใจเรยี น 7. คาํ อุทาน คือ คําท่ีเปลงออกมา แสดงถึงอารมณห รือความรูส ึกของผูพ ูด มกั อยู หนา ประโยคและใชเ ครอ่ื งหมายอศั เจรยี  ( ! ) กาํ กบั หลังคําอทุ าน ตัวอยาง คําอทุ าน ไดแ ก โธ! อุย ! เอา! อา ! 2.3 กลุมคําหรอื วลี คือ คาํ ท่ีเรียงกนั ต้งั แต 2 คาํ ข้ึนไป บอกความหมายแตไมสมบูรณ ครบถว น ไมเปนประโยค เชน ไปโรงเรียน ตื่นแตเชา ดอกกุหลาบสแี ดง บา นหลงั ใหญ เปนตน 2.4 ประโยค คือ ถอ ยคาํ ท่ีเรียบเรยี งขึ้นไดใจความสมบรู ณ ใหรูวา ใคร ทาํ อะไร อยา งไร ในประโยคอยา งนอ ยตองประกอบดวยประธานและกริยา 2.5 โครงสรา งของประโยค ประโยคจะสมบรู ณไ ด จะตองประกอบดวย 2 สว น คือ สว นท่ีเปนภาคประธาน และสว นท่ีเปน ภาคแสดง สว นท่เี ปน ภาคประธาน แบงออกเปน ประธาน และสว นขยาย สวนทเ่ี ปน การแสดง แบง ออกเปน กรยิ า สว นขยาย กรรม สวนขยาย ตัวอยา ง ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน สว นขยาย กรยิ า สว นขยาย กรรม สวนขยาย เดก็ เดิน เด็ก - เดิน - - - พอกินขา ว พอ - กนิ - ขาว - พีค่ นโตกนิ ขนม พี่ คนโต กิน - ขนม - แมข องฉนั วิ่งทุกเชา แม ของฉัน ว่ิง ทุกเชา - -

40 ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน สวนขยาย กริยา สว นขยาย กรรม สวนขยาย สุนัขตัวใหญไ ลกดั สุนัข ตัวใหญ ไล กัด สุนัข ตวั เลก็ สนุ ัขตวั เล็ก นักเรยี น หญิง เลน - ดนตรี ไทย นกั เรียนหญิงเลน ดนตรีไทย การใชป ระโยคในการสือ่ สาร ประโยคทใ่ี ชใ นการส่อื สารระหวางผสู อื่ สาร (ผพู ดู ) กับผูรับสาร (ผฟู ง , ผูอ านและผดู ู) เพอื่ ใหมีความเขาใจตรงกนั นั้น จาํ เปน ตองเลือกใชประโยคใหเ หมาะสมกับการสอ่ื สาร ซ่ึงจําแนกไดด งั น้ี 1. ประโยคบอกเลา เปน ประโยคที่บอกเร่ืองราวตา ง ๆ ใหผ อู น่ื ทราบวา ใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน เมอื่ ใด ทําอยา งไร เชน คุณพอ ชอบเลนฟุตบอล นอ งชายเรียนหนงั สอื เกง ผมทาํ งานทุกวัน 2. ประโยคปฏิเสธ เปน ประโยคท่ีมีใจความไมต อบรับ มักมคี าํ วา ไม ไมใ ช ไมได มิได เชน ฉันไมชอบเดนิ กลางแดด บานนไ้ี มใชของสมชาย เราไมไดชวนเขาไปเทยี่ ว ครมู ิไดก ลาวโทษนักเรียน 3. ประโยคคําถาม เปน ประโยคท่ีมใี จความเปนคําถามซ่ึงตอ งการคําตอบ มักจะมีคําวา ใคร อะไร เมือ่ ไร เหตใุ ด เทาไร วางอยูต นประโยคหรือทายประโยค เชน ใครขโมยปากกาไป ปลาชอนตวั นมี้ นี ํ้าหนักเทา ไร 4. ประโยคแสดงความตอ งการ เปน ประโยคทมี่ ีใจความทแี่ สดงความอยากได อยากมี หรอื อยากเปน มกั จะมีคําวา อยาก ตอ งการ ปรารถนา เชน นักเรียนไมอ ยากไปโรงเรยี น หมอ ตองการรกั ษาคนไขใหห ายเรว็ ๆ เราปรารถนาเรียนตอ มัธยมศกึ ษาจนจบ 5. ประโยคขอรอง เปนประโยคทม่ี ีใจความ ชักชวน ขอรอ ง มักจะมีคาํ วา โปรด วาน กรุณา ชว ย เชน โปรดใหค วามชวยเหลืออกี คร้ัง ชวยยกกลองนี้ไปดว ย 6. ประโยคคาํ ส่งั เปน ประโยคท่ีมีใจความท่ีบอกใหท ําสิง่ ใดสง่ิ หนง่ึ หรอื หามทาํ ไมใ หทํา เชน นายสมศักด์ิตองไปจงั หวดั ระยอง บคุ คลภายนอกหา มเขา เดก็ ทุกคนอยา เลน เสยี งดัง

41 เรอ่ื งที่ 3 เครื่องหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ 3.1 เครอื่ งหมายวรรคตอน การใชเครื่องหมายในภาษาไทย นอกจากจะเขาใจในเรอ่ื งการเวน วรรคตอนแลว ยงั มเี ครื่องหมายอ่ืน ๆ อกี มากทั้งท่ีใชแ ละไมคอยไดใช ไดแ ก เคร่อื งหมาย วิธกี ารใช 1.  จุลภาค ใชค่ันระหวา งคาํ หรือคั่นกลมุ คํา หรือค่ันช่ือเฉพาะ เชน ดี , เลว 2.  มหัพภาค ใชเ ขียนจบขอ ความประโยค และเขยี นหลังตัวอักษรยอ หรอื ตัวเลขหรือกาํ กบั อักษรขอ ยอย เชน มี.ค. , ด.ช. , 1. นาม , ก.คน ข.สัตว , 10.50 บาท , 08.20 น. 3. ? ปรศั นี ใชก ับขอความท่ีเปน คาํ ถาม เชน ปลาตัวนรี้ าคาเทา ไร? 4. ! อศั เจรยี  ใชกับคําอุทาน หรอื ขอความท่ีแสดงอารมณต าง ๆ เชน อยุ ตายตาย! พุทธโธเอย! อนจิ จา! 5. ( ) นขลิขติ ใชค่ันขอความอธิบายหรอื ขยายความขา งหนา ให แจมแจง เชน นกมหี ูหนูมีปก (คา งคาว) ธ.ค. (ธนั วาคม) 6. ___ สญั ประกาศ ใชขดี ใตขอ ความสําคญั หรือขอ ความทใี่ หผ อู า นสังเกต เปนพิเศษ เชน งานเรม่ิ เวลา 10.00 น. 7. “ ” อญั ประกาศ ใชสาํ หรบั เขยี นครอมคําหรอื ขอ ความ เพ่ือแสดงวา ขอความนั้นเปนคําพูดหรอื เพ่ือเนนความนั้นใหเ ดนชดั ข้นึ เชน “พูดไปสองไพเบย้ี นิง่ เสียตําลึงทอง” 8. – ยัติภงั ค ใชเขียนระหวางคาํ ที่ เขียนแยกพยางคก นั เพอ่ื ใหร ู พยางคหนากับพยางคห ลงั นัน้ ตดิ กันหรอื เปนคํา เดยี วกนั คําทเ่ี ขียนแยกน้ันจะอยใู นบรรทดั เดยี วกัน หรอื ตางบรรทดั กันกไ็ ด เชน ตัวอยา งคําวา ฎกี า ใน กรณคี าํ อยใู นบรรทัดเดยี ว เชน คาํ วา สัปดาห อา นวา สบั - ดา

42 9. ..... เสนไขป ลา ใชแสดงชองวางเพือ่ ใหเตมิ คาํ ตอบ หรอื ใชล ะขอ ความ หรือ ทีไ่ มตอ งการเขียน เชน ไอ ........า ! หรอื ละขอ ความ เสน ปรุ ท่ยี กมาเพยี งบางสว น หรือใชแสดงสวนสัมผัสทไ่ี ม บงั คับของคาํ ประพนั ธ เครือ่ งหมาย วิธกี ารใช 10. ๆ ไมยมก ใชเ ขียนเพือ่ ซ้ําคํา ซํา้ วลี ซา้ํ ประโยคส้ัน ๆ เชน ดํา ๆ แดง ๆ วันหนึ่ง ๆ ทีละนอย ๆ พอ มาแลว ๆ 11. ฯลฯ ไปยาลใหญ ใชละขอความตอนปลายหรือตอนกลาง เชน สัตว (เปยยาลใหญ) พาหนะ ไดแ ก ชา ง มา ววั ควาย ฯลฯ 12. ฯ ไปยาลนอย ใชละบางสว นของคาํ ทเี่ นน ชื่อเฉพาะและรจู ักกนั ดแี ลว (เปยยาลนอ ย) เชน อุดรฯ กรุงเทพฯ 13. ” บุพสัญญา ใชเ ขียนแทนคําทต่ี รงกนั กบั คาํ ขา งบน เชน ซ้ือมา 3 บาท ขายไป 5” 14. ๏ ฟองมนั ใชเ ขยี นขึน้ ตน บทยอยของคํารอยกรอง ปจ จุบัน ไมน ยิ มใช 15. มหรรถสัญญา ขนึ้ บรรทัดใหมใ หต รงยอหนาแรก หรอื ยอหนา 16. เวนวรรค ใชแ ยกคําหรือความทไี่ มตอ เนือ่ งกัน ซ่งึ แบงเปน เวนวรรคใหญ จะใชกับขอความทเ่ี ปนประโยคยาว หรือประโยคความซอ นและเวนวรรคนอยใชก บั ขอความทใ่ี ชต วั เลขประกอบหนาหลงั อักษรยอ หรือยศ ตําแหนง

43 3.2 อกั ษรยอ อักษรยอ หมายถึง พยัญชนะทใ่ี ชแ ทนคาํ หรอื ขอ ความยาว ๆ เพอื่ ประหยัดเวลา เนือ้ ที่ และสะดวกตอการเขียน การพดู ประโยชน ของการใชค าํ ยอ จะทาํ ใหส ือ่ สารไดสะดวก รวดเรว็ แตก ารใชจ ะตอ ง เขาใจความหมายและคําอานของคํานนั้ ๆ คาํ ยอ แตล ะคาํ จะตอ งมีการประกาศเปน ทางการ ใหทราบท่ัวกัน เพ่อื ความเขา ใจท่ีตรงกนั ปจจุบนั มีมากมายหลายคําดว ยกนั วธิ ีการอา นคาํ ยอ จะอานคํายอ หรอื คาํ เตม็ ก็ไดแ ลวแตโ อกาส ตวั อยาง 1. อักษรยอ ของเดอื น ม.ค. ยอมาจาก มกราคม อา นวา มะ-กะ-รา-คม ก.พ. ยอ มาจาก กุมภาพนั ธ อานวา กุม-พา-พัน มี.ค. ยอมาจาก มีนาคม อานวา มี-นา-คม 2. อักษรยอ จังหวัด กบ. ยอ มาจาก กระบี่ กทม. ยอ มาจาก กรงุ เทพมหานคร ลย. ยอ มาจาก เลย 3. อกั ษรยอลําดบั ยศ ทหารบก พล.อ. ยอมาจาก พลเอก อานวา พน-เอก พ.ต. ยอ มาจาก พนั ตรี อานวา พนั -ตรี ร.ท. ยอมาจาก รอ ยโท อานวา รอ ย-โท ทหารอากาศ พล.อ.อ. ยอ มาจาก พลอากาศเอก อา นวา พน-อา-กาด-เอก น.ท. ยอมาจาก นาวาอากาศโท อา นวา นา-วา-อา-กาด-โท ร.ต. ยอ มาจาก เรอื อากาศตรี อา นวา เรอื -อา-กาด-ตรี ทหารเรือ พล.ร.อ.......ร.น. ยอมาจาก พลเรือเอก....แหงราชนาวี อานวา พน-เรอื -เอก-แหง -ราด-ชะ-นา-วี น.ท....ร.น. ยอ มาจาก นาวาโท....แหง ราชนาวี

44 ร.ต.....ร.น. ยอ มาจาก เรอื ตร.ี .....แหงราชนาวี ตาํ รวจ พล.ต.อ ยอ มาจาก พลตํารวจเอก พ.ต.ท. ยอ มาจาก พันตาํ รวจโท ร.ต.ต. ยอมาจาก รอ ยตาํ รวจตรี 4. อักษรยอวุฒทิ างการศึกษา กศ.ม. ยอ มาจาก การศึกษามหาบณั ฑติ กศ.บ. ยอ มาจาก การศึกษาบณั ฑิต ป.กศ. ยอมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาการศกึ ษา อา นวา ประ-กา-สะ-น-ี ยะ-บดั -ว-ิ ชา-กาน-สึก-สา ป.วส. ยอมาจาก ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สูง ป.วช. ยอมาจาก ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 5. อกั ษรยอ มาตรา ช่ัง ตวง วัด กก. ยอ มาจาก กิโลกรัม (มาตราชั่ง) ก. ยอ มาจาก กรมั ล. ยอมาจาก ลติ ร (มาตราดวง) กม. ยอ มาจาก กโิ ลเมตร ม. ยอมาจาก เมตร มาตราวดั ซม. ยอ มาจาก เซนตเิ มตร 6. อักษรยอบางคาํ ทค่ี วรรู ฯพณฯ ยอมาจาก พณหัวเจา ทาน อา นวา พะ-นะ-หวั -เจา -ทาน โปรดเกลาฯ ยอ มาจาก โปรดเกลาโปรดกระหมอ ม ทลู เกลา ฯ ยอมาจาก ทูลเกลา ทลู กระหมอม นอมเกลาฯ ยอ มาจาก นอมเกลา นอมกระหมอม เรื่องที่ 4 หลักการใชพ จนานุกรม คาํ ราชาศัพทและคาํ สุภาพ 4.1 การใชพ จนานกุ รม การใชภาษาไทยใหถ กู ตองทง้ั การพูด การอานและการเขยี น เปน ส่ิงทค่ี นไทยทุกคน ควรกระทํา เพราะภาษาไทยเปน ภาษาประจาํ ชาติ แตบ างคร้ังเราอาจสับสนในการใชภาษาไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook