Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ม.ต้น

ภาษาไทย ม.ต้น

Published by กศน.ตำบลบางใหญ่, 2020-06-24 06:15:42

Description: ภาษาไทย ม.ต้น

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนอ้ื หาทีต่ องรู รายวิชาภาษาไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน รหัส พท21001 หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ หามจาํ หนาย หนังสอื เรยี นน้จี ดั พิมพด วยเงนิ งบประมาณแผนดินเพือ่ การศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลขิ สิทธิ์เปนของ สํานกั งาน กศน.สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3

สารบญั 4 คาํ นาํ หนา คําแนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี องรู บทท่ี 1 การฟง การดู 1 2 เรื่องท่ี 1 หลักเบอื้ งตนของการฟง และการดู 3 เรื่องท่ี 2 หลกั การฟงเพอ่ื จบั ใจความสาํ คญั 3 เรอ่ื งที่ 3 หลกั การฟง การดู อยางมวี ิจารณญาณ 5 เรื่องที่ 4 มารยาทในการฟง การดู กจิ กรรมทา ยบท 6 บทที่ 2 การพดู 7 เรื่องท่ี 1 สรปุ ความ จบั ประเดน็ สาํ คัญของเรอ่ื งทพี่ ูด 12 เรอ่ื งที่ 2 การพดู ในโอกาสตาง ๆ 13 เรอ่ื งที่ 3 มารยาทในการพดู กิจกรรมทา ยบท 14 บทที่ 3 การอา น 14 เรอ่ื งท่ี 1 การอานในใจ 27 เรื่องที่ 2 การอา นออกเสยี ง 29 เร่อื งที่ 3 การอานจบั ใจความสาํ คัญ 31 เรื่องท่ี 4 มารยาทในการอา นและนิสัยรักการอาน กจิ กรรมทา ยบท 33 บทที่ 4 การเขยี น 34 เรอ่ื งที่ 1 หลักการเขยี นและการใชภ าษาเขยี น 38 เรอ่ื งท่ี 2 หลักการเขียนแผนภาพความคดิ 41 เรอ่ื งท่ี 3 การแตง รอ ยกรอง 43 เรื่องท่ี 4 การเขยี นส่ือสาร 44 เรื่องท่ี 5 การเขียนรายงานคนควา และอา งองิ ความรู เรื่องที่ 6 การกรอกแบบรายงาน

สารบญั (ตอ ) 5 หนา เรื่องที่ 7 มารยาทในการเขียนและนิสยั รกั การเขยี น 49 กจิ กรรมทา ยบท 51 บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา เรือ่ งท่ี 1 ความหมายของพยางค คํา วลี และประโยค 53 เรอ่ื งที่ 2 ชนิดและหนาทขี่ องประโยค 55 เรอ่ื งท่ี 3 การใชเ ครื่องหมายวรรคตอนและอักษรยอ 60 เรอ่ื งท่ี 4 คําราชาศัพท 68 เรื่องท่ี 5 ภาษาพูดและภาษาเขยี น 72 เรอ่ื งที่ 6 การใชสํานวน สภุ าษิต คําพังเพย 74 กจิ กรรมทา ยบท 78 บทที่ 6 วรรณคดแี ละวรรณกรรม เรื่องท่ี 1 ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม 79 เรอ่ื งที่ 2 วรรณกรรมปจ จบุ นั 80 เร่ืองท่ี 3 วรรณกรรมทอ งถ่ิน 80 เรอ่ื งที่ 4 หลกั การและแนวทางการพจิ ารณาวรรณคดี 81 เรื่องท่ี 5 เพลงพ้นื บา น เพลงกลอ มเดก็ 85 กิจกรรมทายบท 87 บทที่ 7 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชีพ เรื่องที่ 1 อาชีพทใ่ี ชท ักษะการพดู เปน ชอ งทางการประกอบอาชพี 88 เรอ่ื งที่ 2 อาชีพท่ีใชท กั ษะการเขียนเปนชองทางการประกอบอาชพี 89 เรือ่ งที่ 3 การเพ่มิ พนู ความรแู ละประสบการณด านภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชพี 90 กจิ กรรมทา ยบท 95 เฉลยกจิ กรรมทา ยบท 96 บรรณานกุ รม 112 คณะผจู ัดทาํ 113

6 คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เนื้อหาที่ตองรู หนงั สอื สรุปเนื้อหารายวิชาภาษาไทยเลมนี้ เปนการสรุปเนื้อหาจากหนงั สอื เรยี นสาระ ความรูพน้ื ฐาน รายวชิ าภาษาไทย พท 21001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษา นอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2544) เพอ่ื ให ผเู รยี น กศน. ไดศ กึ ษาทําความเขาใจและเรียนรูในเน้ือหาสาระของรายวิชาภาษาไทยที่สาํ คัญ ๆ ไดส ะดวกและสามารถทาํ ความเขาใจของเนอ้ื หาไดด ีย่ิงข้นึ ในการศกึ ษาหนังสือสรุปเนื้อหารายวชิ าภาษาไทยเลมนี้ ผูเรียนควรปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาภาษาไทย ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน จากหนังสอื เรยี นสาระ ความรูพนื้ ฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) ใหเขา ใจกอน 2. ศึกษาเนอ้ื หาสาระของหนงั สอื สรุปเน้ือหารายวชิ าภาษาไทยใหเ ขาใจอยา งละเอยี ดทลี ะ บทจนครบ 7 บท 3. หากตองการศึกษารายละเอยี ดเนื้อหาสาระรายวชิ าภาษาไทยเพ่อื เพ่ิมเติมความรู ผเู รียน กศน. สามารถศึกษาคน ควาไดจ ากสื่ออน่ื ๆ หองสมุด อินเทอรเน็ต หรอื ครูผูสอน

1 บทท่ี 1 การฟง การดู เร่อื งท่ี 1 หลักเบ้ืองตนของการฟงและการดู ความหมายของการฟงและการดู การฟงและการดู หมายถงึ การรับรูเรือ่ งราวตาง ๆ จากแหลงของเสียงหรอื ภาพ หรอื เหตุการณ ซ่ึงเปนการฟง จากผพู ูดโดยตรง หรือฟง และดูผา นอุปกรณ หรือสงิ่ ตาง ๆ แลว เกิด การรบั รูและนาํ ไปใชประโยชน โดยตอ งศกึ ษาจนเกิดความถูกตอง วองไว ไดป ระสทิ ธภิ าพ หลกั การฟง และการดูทด่ี ี 1. ตองรจู ุดมุงหมายของการฟงและการดู และตองจดบนั ทกึ เพื่อเตอื นความจาํ 2. ตองฟงและดูโดยปราศจากอคติ เพือ่ การวเิ คราะหว จิ ารณทต่ี รงประเดน็ 3. ใหค วามรวมมอื ในการฟงและการดู ดวยการรว มกิจกรรม จดุ มุงหมายของการฟง และการดู การฟง มจี ดุ มุง หมายทสี่ าํ คญั ดงั นี้ 1. ฟงเพือ่ จบั ใจความสาํ คัญไดวา เรอ่ื งทฟ่ี งน้นั เปนเรื่องเกยี่ วกับอะไร เกิดขน้ึ ที่ไหน เมือ่ ไหร หรือใครทําอะไร ท่ไี หน เมอ่ื ไหร 2. ฟง เพอ่ื จบั ใจความโดยละเอียด ผฟู ง ตอ งมีสมาธิในการฟง และอาจตองมีการ บนั ทกึ ยอ เพ่อื ชวยความจํา 3. ฟงเพอื่ หาเหตุผลมาโตแยงหรือคลอ ยตาม ผูฟง ตองตั้งใจฟงเปนพิเศษ และตอง ใชว ิจารณญาณพจิ ารณาวาเร่ืองทฟี่ งนน้ั มีอะไรเปนขอ เทจ็ จริง อะไรเปน ขอ คดิ เห็น และมคี วาม ถกู ตอง มีเหตผุ ลนา เชื่อถือมากนอ ยเพยี งใด ซึ่งผูฟง ควรพิจารณาเรอื่ งราวที่ฟงดว ยใจเปนธรรม 4. ฟงเพือ่ เกดิ ความเพลิดเพลนิ และซาบซง้ึ ในคุณคาของวรรณคดี คตธิ รรม และ ดนตรี ผูฟง ตองมคี วามรใู นเรอ่ื งท่ีฟง เขาใจคาํ ศพั ท สญั ลักษณต าง ๆ และมีความสามารถในการ ตคี วาม เพื่อใหเกดิ ความไพเราะซาบซึ้งในรสของภาษา 5. ฟง เพ่ือสงเสรมิ จินตนาการ และความคดิ สรางสรรค เปน ความคิดทเ่ี กดิ ขนึ้ ขณะท่ีฟง หรอื หลงั จากการฟง ซ่ึงอาจจะออกมาในรปู ของงานประพนั ธ งานศลิ ปะ หรือการพดู

2 การดมู ีจดุ มุงหมายท่ีสาํ คญั ดงั นี้ 1. ดูเพื่อใหร ู เปนการดูเพอ่ื ใหเปนคนทันโลกทันเหตุการณ 2. ดเู พือ่ ศึกษาหาความรู เปน การดูที่ชว ยสงเสริมการอาน หรอื การเรียนใหม ี ความรูมากขึ้น หรอื มีความชดั เจนลมุ ลกึ ข้ึน 3. ดูเพ่อื ความเพลดิ เพลิน เชน ละคร เกมโชว มิวสคิ วิดีโอ 4. ดูเพื่อยกระดบั จิตใจ เปน การดูท่ีจะทาํ ใหจิตใจเบิกบานและละเอยี ดออ น เขา ถึงธรรมชาติ และสจั ธรรม ไดแ ก การชมธรรมชาติ การชมโขน ละคร การดรู ายการเกี่ยวกบั ธรรมะ การดูกีฬา เร่ืองท่ี 2 หลักการฟงเพื่อจบั ใจความสําคัญ การฟง เพอ่ื จับใจความสาํ คัญ เปน การฟงเพือ่ ความรู ผฟู ง ตองตัง้ ใจฟง และพยายามสรปุ เน้อื หา โดยมหี ลกั การสาํ คัญดังนี้ 1. มสี มาธิดี ตั้งใจฟง ตดิ ตามเร่อื ง 2. ฟงใหเ ขา ใจและลาํ ดับเหตุการณใ หด วี า เรือ่ งทฟี่ งเปน เร่อื งของอะไร ใครทาํ อะไร ท่ไี หน อยางไร 3. แยกใหอ อกวา ตอนใดเปนใจความสาํ คญั ตอนใดเปนสวนขยาย 4. บนั ทกึ ขอความสําคญั จากเรอ่ื งที่ฟง การฟง เพอ่ื จบั ใจความสําคญั 1. จบั ใจความสําคญั จากบทรอ ยแกว รอยแกว คือ ความเรียงที่สละสลวยไพเราะเหมาะเจาะดว ยเสยี งและความหมาย แตไ มก ําหนดระเบยี บบัญญัติแหง ฉนั ทลกั ษณ คือ ไมจํากัดครุ ลหุ ไมกําหนดสัมผัส 2. จับใจความสําคัญจากบทรอยกรอง รอ ยกรอง คือ ถอ ยคําท่ีเรยี บเรยี งใหเ ปน ระเบียบตามบญั ญตั แิ หงฉันทลักษณ คือ ตําราวาดวยการประพนั ธ เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน 3. จับใจความสําคัญจากบทความ บทความ คือ ขอ เขียนซึ่งอาจจะเปนรายงาน หรือการแสดงความคดิ เห็น มกั ตีพิมพ ในหนงั สอื พมิ พ วารสาร สารานกุ รม เปน ตน 4. จับใจความสําคญั จากขา ว ขาว คอื คําบอกเลาเรือ่ งราว ซงึ่ โดยปกตมิ กั เปน เร่ืองเกดิ ใหมหรือเปนท่ีนา สนใจ

3 เรื่องท่ี 3 หลักการฟง การดู อยา งมีวิจารณญาณ ผูทสี่ ามารถจะฟง และดไู ดอ ยางมีวจิ ารณญาณ จะตองมคี วามเขาใจและสามารถปฏบิ ตั ิ ดังนี้ได 1. การวิเคราะห คือ ความสามารถในการแยกขอเทจ็ จริงออกจากขอคดิ เห็นรวู า อะไร เปน อะไร อะไรเปน เหตุ อะไรเปนผล 2. การตีความ คอื ตองรคู วามหมายทแี่ ฝงไวในใจเร่ืองหรือภาพน้นั ๆ 3. การประเมินคา เปน ทักษะท่ตี อ เนือ่ งมาจากการวเิ คราะหก ารตคี วาม การประเมินคา สง่ิ ใด ๆ จะตองพิจารณาใหรอบดา น เชน จดุ ประสงค รปู แบบ ประเภทของสาร เชน ถาจะ ประเมนิ คุณคาของวรรณคดีตอ งดใู นเรอ่ื งคณุ คาวรรณศลิ ป ดานสงั คม เนื้อหาและนําไปใชใน ชีวิตประจาํ วัน 4. การตัดสินใจ คอื การวินิจฉัยเพือ่ ประเมินคา อันนําไปสูการตดั สนิ ใจท่ีถูกตอ งวา สง่ิ ใดควรเช่อื ไมค วรเชื่อ ซงึ่ การตัดสนิ ใจท่ีถกู ตองเปนเร่อื งสําคัญมากในชีวิตประจําวนั 5. การนําไปประยุกตใชในชวี ติ ประจําวนั ทกั ษะน้จี ะตอ งใชศลิ ปะและประสบการณ ของแตล ะคนมาชวยดว ย ซึ่งการฟงและการดูมากก็จะชวยใหต ัดสินใจไมผ ิดพลาด มารยาทในการแสดงความคดิ เหน็ 1. ภาษาในการแสดงความคดิ เหน็ ตองชดั เจน เขาใจงาย เลอื กใชถอ ยคําใหม ี ความหมายตรงตามที่คิด มีความสมเหตสุ มผล ตรงประเดน็ ไมออกนอกเรื่อง 2. ขอมูลหลกั ฐานทีน่ าํ มาใชป ระกอบความคิดเห็นตองเปน เรื่องจริง ไมใชข อมูล เทจ็ หรือมีจุดประสงคเพอ่ื หลอกลวง 3. ไมแสดงความคิดเห็นสวนตัวในลักษณะการใชอ ารมณค วามรสู กึ ท้งั หมด โดย ปราศจากเหตผุ ลหรือขอ เท็จจรงิ 4. ใชภ าษาสภุ าพ ไมกา วรา ว หยาบคาย หลีกเลี่ยงการใชคําคะนอง เร่อื งที่ 4 มารยาทในการฟง การดู มารยาทในการฟงและการดู การฟง และการดูเปน กิจกรรมในการดาํ เนินชวี ติ ท่ีทุกคนในสังคมมักจะตองเขาไปมี สว นรว มเกอื บทกุ วันการเปนผมู ีมารยาทในการฟง ที่ดี นอกจากเปนการสรางบคุ ลิกภาพทีด่ ี ใหกบั ตนเองแลวยงั เปนสิ่งแสดงใหเห็นวาเปนผไู ดร ับการอบรมฝกฝนมาอยา งดี เปน ผมู มี ารยาท ในสงั คม การท่ที ุกคนมีมารยาทท่ีดีในการฟงและการดู ยงั เปน การสรา งระเบียบในการอยูรว มกนั

4 ในสงั คม ชวยลดปญหาการขัดแยง และชว ยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการฟง อีกดว ย ผมู ีมารยาท ในการฟงและการดู ควรปฏิบัติตนดงั นี้ 1. เมอื่ ฟง อยเู ฉพาะหนา ผใู หญ ควรฟงโดยสํารวมกริ ยิ ามารยาท 2. การฟงในทป่ี ระชุม ควรเขาไปนง่ั กอ นผูพดู เร่มิ พูด โดยนัง่ ที่ดานหนาใหเ ต็มเสยี กอน และควรต้งั ใจฟงจนจบเร่อื ง 3. ฟงดวยใบหนายม้ิ แยม แจม ใสเปน กันเองกบั ผูพูด ปรบมอื เมอ่ื มีการแนะนาํ ตวั ผูพูด และเม่อื ผพู ดู พดู จบ 4. เมอื่ ฟง ในที่ประชมุ ตองต้งั ใจฟง และจดบันทึกขอความทส่ี นใจ หรือขอความที่สําคัญ หากมขี อสงสัยเก็บไวถ ามเมือ่ มโี อกาสและถามดวยกริ ยิ าสภุ าพ 5. เมอื่ ไปดูละคร ภาพยนตร หรือฟงดนตรี ไมค วรสรา งความรําคาญใหบ ุคคลอ่ืน ควรรกั ษามารยาทและสาํ รวมกริ ยิ า

5 กจิ กรรมทายบทที่ 1 การอานบทความ (10 คะแนน) ใหผูเรียนอา นบทความขา งลางน้ี และสรปุ เน้ือหาใจความสาํ คญั ของเร่อื ง และบอกประโยชนท ่ีได จากบทความน้ี ปจ จุบนั เปอรเซ็นตการเจ็บปวยดวยโรคตาง ๆ ของคน ไทยในรอบสามปท่ีผานมา ไมวาจะเปนโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดนั หรือเสนเลือดตีบ มีจํานวนเพ่ิมมากข้ึนทําใหผูคนหัน มาดูแลใสใจสุขภาพ และรักษาสุขภาพมากกวาเดิม แตมีอยู หนึง่ โรคที่ทุกคนยังคงมองขา มและละเลย บางคนไมทราบดวย ซํ้าวาโคนี้เปนโรครายแรงติดอันดับหนึ่งในสิบที่ทําใหคนไทย เสยี ชวี ติ มากทส่ี ดุ น่นั คอื “โรคกระดูกพรุน” โรครายใกลตัวที่ กัดกินรางกายคุณไปอยางชา ๆ โดยที่เจาของรางกายไม สามารถรูตัวไดเลยหากไมระมัดระวังใหดี เพราะโรคน้ีเปนโรค ที่ไมแ สดงอาการใด ๆ ออกมา เมื่อคุณทราบอีกทีก็อาจจะสาย เกินแกไ ปเสียแลว

6 บทที่ 2 การพดู เรอ่ื งท่ี 1 สรุปความ จับประเด็นสาํ คญั ของเร่ืองท่พี ดู การพูดเปนทกั ษะหน่ึงของการส่ือสาร การพูดคอื การเปลงเสียงออกมาเปน ถอยคํา หรอื ขอความตาง ๆ เพ่อื ติดตอสอ่ื สารใหผูพดู และผฟู ง เขาใจเรื่องราวตาง ๆ การพูดเปน การสือ่ ความหมายโดยใชภาษาเสียง กริ ยิ าทา ทางตาง ๆ เพือ่ ถา ยทอดความรแู ละความรสู ึก รวมทั้ง ความคดิ เห็นของผูพดู ใหผ ฟู งไดร ับรู และเขา ใจตามความมุงหมายของผฟู ง เปน เกณฑ องคป ระกอบของการพดู ประกอบดวย 1. ผพู ูด คือ ผูท่ีมีจุดมุงหมายสําคญั ทจ่ี ะเสนอความรคู วามคดิ เหน็ เพ่ือใหผฟู งไดรับรู และเขา ใจ โดยใชศลิ ปะการพดู อยางมีหลักเกณฑ และฝกปฏบิ ัตอิ ยูเปนประจาํ 2. เนือ้ เรอ่ื ง คอื เรอ่ื งราวที่ผูพดู นําเสนอเปนความรูหรอื ความคิดเห็น ใหผ ูฟงไดร บั รู อยา งเหมาะสม 3. ผฟู ง คอื ผูร บั ฟงเร่ืองราวตา ง ๆ ท่ีผพู ดู นําเสนอ ซ่ึงผฟู งตองมีหลกั เกณฑและมารยาท ในการฟง การพูดทด่ี ี คอื การส่ือความหมายที่ดีนน้ั ยอ มสอื่ ความเขาใจกับใคร ๆ ไดต รงตาม วัตถปุ ระสงคข องผูพูด การทผี่ ฟู งฟง แลวพงึ พอใจ สนใจ เกดิ ความศรัทธาเลื่อมใส เรียกวาผพู ูด ผูน ้นั มศี ิลปะในการพูด ลักษณะการพดู ทด่ี ี มีดงั นี้ 1. มบี คุ ลกิ ภาพทีด่ ี การฟง คนอ่ืนพดู นั้นเราไมไ ดฟ ง แตเพียงเสยี งพดู แตเราจะตองดู การพูด ดูบุคลกิ ภาพของเขาดวย บุคลกิ ภาพของผพู ูดมีสวนทจ่ี ะทําใหผ ฟู ง สนใจ ศรทั ธาตวั ผูพ ูด บคุ ลิกภาพ ไดแ ก รปู รา ง หนา ตา ทา ทาง การยนื การนง่ั การเดนิ ใบหนาท่ียิ้มแยม ตลอดจน อากปั กริ ิยาที่แสดงออกในขณะทพ่ี ดู อยางเหมาะสมดว ย 2. มีความเชอ่ื ม่ันในตนเองดี ผูพูดจะตองเตรยี มตัวลวงหนา ฝกซอมการพดู ใหค ลอง สามารถจดจาํ เร่อื งทพ่ี ูดได ควบคมุ อารมณไ ด ไมต ื่นเตน ประหมา หรอื ลกุ ลี้ลุกลน รบี รอ นจน ทําใหเสียบคุ ลกิ 3. พูดใหต รงประเด็น พูดในเร่อื งทีก่ ําหนดไว ไมนอกเรื่อง พูดอยางมีจดุ มุง หมาย มุง ให ผูฟงฟงแลว เขาใจ ตรงตามวตั ถปุ ระสงคท ี่ผูพูดตอ งการ

7 4. ตองใชภาษาทีเ่ หมาะสมกบั ระดับผฟู ง ตามปกตินิยมใชภ าษาธรรมดา สุภาพ ส้นั ๆ กะทดั รัด สื่อความเขาใจไดง าย หลีกเลยี่ งสํานวนโลดโผน ศัพทเ ทคนคิ หรือสาํ นวนท่ีไมได มาตรฐาน 5. ตอ งคํานงึ ถงึ ผูฟ ง ผพู ูดตองทราบวาผฟู งเปนใคร เพศ วยั อาชีพ ระดบั การศกึ ษา ความสนใจ ความเช่ือถอื เปน อยางไร เพื่อจะไดพ ดู ใหถ กู กบั สภาพของผฟู ง หลกี เลีย่ งการแสดง ความคดิ เห็นและความเชอื่ ท่ขี ดั แยง กับผฟู ง 6. มีมารยาทในการพูด ผูพูดตองพิจารณาเลือกใชถอ ยคําทีถ่ กู ตอ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ และบุคคลเพื่อแสดงถงึ ความมีมารยาททดี่ ีและใหเกยี รติผูฟง การสรปุ ความ จบั ประเด็นสําคญั ของเร่ืองทีพ่ ดู 1. ผพู ดู จะตอ งทราบรายละเอียดของผฟู งดังน้ี 1.1 เปน ชายหรือหญงิ 1.2 อายุ 1.3 การศกึ ษา 1.4 อาชพี เปน เบอื้ งตน เพือ่ มากาํ หนดเนือ้ หาสาระทจี่ ะพูดใหเหมาะสมกบั ผฟู ง 2. ผูพูดตองมีวตั ถุประสงค ทจ่ี ะพดู จะเปนการพูดวิชาการ เพ่ือความบนั เทงิ หรือเพือ่ สงั่ สอน เปนตน 3. เนอื้ หาสาระ ผพู ดู อาจเพยี งกาํ หนดหวั ขอ แตเม่อื พูดจริงจะตอ งอธิบายเพมิ่ เติม อาจ เปน ตัวอยา ง อาจเปน ประสบการณ ท่ีจะเลา ใหผฟู ง ไดฟง ผูฟ ง จะสรุปความเรอื่ งที่รับฟง ได หากผพู ดู พดู มสี าระสําคญั และมกี ารเตรียมตวั ทจ่ี ะพูด มาอยา งดี เรือ่ งท่ี 2 การพดู ในโอกาสตาง ๆ การพดู ในโอกาสตางๆ 1. การพูดแนะนําตนเอง การพูดแนะนําตนเอง เปนการพูดทแ่ี ทรกอยกู ับการพดู ในลักษณะตา ง ๆ เปนพืน้ ฐาน เบอื้ งตนท่จี ะทาํ ใหผ ฟู งมีความรูเ กยี่ วกับผพู ดู การแนะนําตนจะใหร ายละเอยี ดแตกตางกันไป ตามลักษณะของการพูด

8 1. การพูดแนะนาํ ตนในกลุม ของผเู รยี น ควรระบรุ ายละเอยี ด ชือ่ - นามสกุล การศกึ ษา สถานศึกษา ที่อยปู จจบุ นั ภมู ลิ ําเนาเดิม ความถนัด งานอดเิ รก 2. การพูดแนะนําตนเพ่อื เขา ปฏิบัติงาน ควรระบุ ช่ือ - นามสกุล รายละเอยี ดเกี่ยวกบั การศึกษา ตําแหนง หนา ท่ที ่จี ะเขา มาปฏิบัตงิ าน ระยะเวลาที่จะเรมิ่ ปฏบิ ตั ิหนาท่ี 3. การแนะนําบคุ คลอน่ื ในสงั คมหรอื ท่ปี ระชุม ควรใหรายละเอียด ชื่อ - นามสกุล ผูท ีเ่ ราแนะนาํ ความสามารถของผทู ีเ่ ราแนะนาํ การแนะนําบคุ คลใหผ อู ื่นรูจกั ตอ งใชคาํ พดู เพอ่ื สรางไมตรีท่ดี รี ะหวางบุคคลทงั้ สองฝาย 2. การกลา วตอ นรบั การกลาวตอ นรับเปน การกลาวเพ่อื บอกความรสู ึกทม่ี ีตอ ผูทม่ี า โดย 1. กลา วถงึ ความยินดีของการเปนเจา ของสถานท่ี 2. กลา วยกยองผมู าเยอื น เชน เปน ใคร มผี ลงานดเี ดนอะไร มีความสมั พนั ธอ ยางไร กับผตู อนรับ 3. แสดงความยินดีทใี่ หการตอ นรับ 4. ขออภยั หากมีสิ่งใดบกพรองไป และหวังจะกลับมาเยย่ี มอีก 3. การกลาวอวยพร โอกาสท่ีกลา วอวยพรมหี ลายโอกาส เชน การกลาวอวยพรวันเกิด วนั ปใหม ข้นึ บา นใหม การอวยพรคูบ าวสาว หรอื ในโอกาสทจ่ี ะมกี ารโยกยา ย อําลาไปรับตาํ แหนง ใหม ฯลฯ หลกั การกลาวอวยพร มีขอ ปฏบิ ัติท่ีควรจําดังน้ี 1. ควรกลาวถึงโอกาสและวนั สาํ คัญนน้ั ๆ ท่ีไดมาอวยพรวาเปน วันสาํ คญั อยางไร ในโอกาสดีอยางไรมคี วามหมายตอเจาภาพหรอื การจดั งานน้ันอยา งไร 2. ควรใชคาํ พดู ทสี่ ภุ าพ ไพเราะ ถกู ตอง เหมาะสมกับกลมุ ผฟู ง 3. ควรกลาวใหส ัน้ ๆ ใชค ําพูดงา ย ๆ ฟง เขาใจดี กะทดั รัด กระชับความ นา ประทบั ใจ 4. ควรกลา วถงึ ความสมั พนั ธร ะหวางผอู วยพรกบั เจา ภาพ กลาวใหเ กียรติ ชมเชย ในความดีของเจา ภาพ และแสดงความปรารถนาดีทีม่ ีตอเจาภาพ 5. ควรใชคาํ พูดอวยพรใหถ ูกตอ ง หากเปนการอวยพรผูใหญ นยิ มอา งสง่ิ ศักด์ิสิทธ์ิ ทเ่ี คารพนับถอื มาประทานพร 4. การกลา วขอบคณุ การกลาวขอบคณุ เปน การแสดงนาํ้ ใจไมตรี หรือความดที ี่ผอู ่ืนกระทําให เชน ขอบคณุ วทิ ยากรท่บี รรยาย ดังนี้ 1. ควรกลาวขอบคณุ วทิ ยากรใหเ กยี รตบิ รรยาย

9 2. มีการสรุปเร่ืองทีว่ ิทยากรบรรยายจบไปอยา งสนั้ ๆ ไดใจความ 3. ควรกลา วถงึ คณุ คา ของเร่อื งทฟ่ี ง และประโยชนที่ไดรับจากการบรรยาย 4. กลา วใหม ีความหวงั จะไดรับเกียรติจากวิทยากรอกี ในโอกาสตอไป 5. กลาวขอบคุณวทิ ยากรอกี ครง้ั ในตอนทา ย 5. การพูดใหโอวาท การพดู ใหโ อวาท จะมลี ักษณะดงั นี้ 1. กลา วถงึ ความสาํ คัญ และโอกาสทม่ี ากลาวใหโ อวาทวา มีความสาํ คญั อยา งไร 2. พูดใหตรงประเด็น เลอื กประเดน็ สําคญั ๆ ท่มี ีความหมายแกผ รู บั โอวาท 3. ควรมีขอ แนะนํา ตักเตอื น และเสนอแนะประสบการณท มี่ ีประโยชน 4. ควรพูดช้ีแจงและเกล้ียกลอ มใหผูฟง ตระหนกั และนําโอวาทไปใชใหเกิดประโยชน ไดอยางแทจ รงิ 5. กลาวสนั้ ๆ ไดใ จความดี ตอนทา ยของการใหโ อวาทก็ควรกลา วอวยพรทีป่ ระทบั ใจ การพดู แสดงความคดิ เหน็ การพูดแสดงความคดิ เห็น หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความรูส กึ หรือแสดงความคิดเห็น เกยี่ วกบั เร่ืองใดเรือ่ งหนงึ่ อยา งมเี หตผุ ล มีความสอดคลองกับเรือ่ งทพี่ ูด ประเภทของการพดู แสดงความคดิ เหน็ 4 ประเภท ดงั น้ี 1. การพดู แสดงความคดิ เหน็ ในเชิงสนบั สนนุ การพูดแสดงความคิดเหน็ ในลกั ษณะ ดังกลา ว เปนการพูดเพื่อสนับสนนุ ความคิดเห็นของผูอื่น ซ่งึ ผูพ ูดอาจจะพจิ ารณาแลววา ความ คดิ เห็นที่ตนสนับสนนุ มสี าระและประโยชนต อหนว ยงานและสว นรวม หรอื ถาเปนการแสดง ความคดิ เหน็ เชิงวิชาการ จะตองเปน ความคิดเห็นท่เี ปนองคค วามรสู ัมพันธก ับเนอ้ื เร่ืองที่กําลงั พูด กันอยู ทงั้ ในระหวางบุคคลหรอื ในที่ประชุม เชน การพดู ในท่ีประชมุ การอภปิ ราย การแสดง ปาฐกถา เปนตน 2. การพดู แสดงความคดิ เหน็ ในเชงิ ขัดแยง การพดู ลักษณะดังกลา วเปนการพดู แสดง ความคิดเห็นในกรณที ี่มคี วามคิดไมต รงกันและเสนอความคิดอน่ื ๆ ทไ่ี มตรงกับผอู ่ืน การพูดแสดง ความคิดเห็นในเชงิ ขัดแยงดงั กลาว ผูพดู ควรระมดั ระวงั เร่อื งการใชภาษาและการนาํ เสนอ ความ ขัดแยง ควรเปนไปในเชงิ สรางสรรค อันจะกอประโยชนตอหนว ยงานหรอื สาธารณชน เชน การ สัมมนาเชงิ วิชาการ การอภปิ ราย การประชุม เปนตน 3. การพดู แสดงความคดิ เหน็ ในเชงิ วจิ ารณ เปนการพดู เพอ่ื วจิ ารณเ กีย่ วกบั เร่อื งใด เรื่องหน่ึง ซึ่งผวู ิจารณอาจจะแสดงความคดิ เห็นดวยหรือไมเห็นดว ย และวิจารณในเชิง

10 สรางสรรค ผวู จิ ารณจ ะตอ งวางตวั เปน กลาง ไมอคติตอผูพูดหรอื สิ่งทีเ่ ห็น เชน การแสดงความ คิดเห็นตอหนงั สือ ละคร รายการโทรทัศน ภาพยนตร เปน ตน 4. การพดู แสดงความคดิ เหน็ เพื่อนําเสนอความคดิ ใหม เปน การพูดในกรณที ่ีไมเหน็ ดวยกบั การแสดงความคิดเหน็ ของผอู ื่น และนาํ เสนอความคิดเห็นใหมของตนที่คิดวาจะเปน ประโยชนต อสว นรวม เชน การแสดงความคดิ เหน็ ในท่ปี ระชุม เปน ตน ลกั ษณะของผพู ูดแสดงความคดิ เห็นทดี่ ี 1. ผพู ดู จะตองมีความรูในเร่อื งทีจ่ ะแสดงความคิดเห็นเปน อยา งดี 2. การแสดงความคิดเหน็ ในเรอ่ื งใดเรื่องหนง่ึ ควรมีหลักการแสดงความคิดเหน็ ในเชงิ ขดั แยง และเชงิ วจิ ารณ 3. ใชภาษาสุภาพเหมาะสมกับโอกาส โดยเฉพาะการแสดงความคดิ เหน็ ในเชงิ ขัดแยง และเชิงวจิ ารณ เพอื่ รกั ษาความสมั พนั ธท ่ีดีตอ ผูพ ดู และผูฟง 4. การแสดงความคิดเหน็ ใด ๆ ก็ตาม ควรแสดงความคิดเห็นในเชิงสรา งสรรค และ เปนประโยชนตอสวนรวมเปนสาํ คญั การพดู โนม นาวใจ การพดู โนม นาวใจ หมายถงึ การพดู เชญิ ชวน เกลยี้ กลอม ชักจูงใหผ ูฟงเกิดความเช่ือถอื ศรทั ธา มีความคดิ เห็นคลอ ยตาม และปฏิบตั ิตาม เชน การพูดโฆษณา การพูดหาเสยี ง การพูด เชญิ ชวนใหป ฏบิ ัติตาม การพดู ชักจูงใหเปล่ยี นแปลงทัศนคติ การพูดปลุกเรา ใหเ กดิ ปฏิกิริยาตาง ๆ หลักการปฏเิ สธ ประโยคปฏิเสธทด่ี ีควรมลี กั ษณะ ดังนี้ 1. การอา งความรูสึกประกอบแทนการใชเหตผุ ลอยา งเดยี ว เพราะการใชเ หตผุ ลอยางเดียว มักถูกโตแ ยง ดวยเหตุผลอน่ื แตความรูสกึ เปนเรอ่ื งที่โตแยง ไดย าก 2. ปฏิเสธอยางชดั เจนท้ังทา ทาง คาํ พูด และน้ําเสยี ง 3. การถามความคิดเหน็ เปน การรกั ษานาํ้ ใจผูช วน ถาคสู นทนายอมรบั คาํ ปฏเิ สธ ควร พดู วา “ขอบคุณคะ ” (ครับ) หลักการเจรจาตอ รอง การเจรจาตอ รอง มหี ลักการท่ีสาํ คญั 3 ประการคอื 1. เพ่ือใหบ รรลุเปาหมายหลักการทต่ี อ งการ

11 2. เสียผลประโยชนใ หน อ ยท่สี ดุ เทาท่ีจะเปน ไปได 3. ทําใหอีกทกุ ฝา ยรสู ึกพึงพอใจกับผลการเจรจา การใชก ริ ยิ าทาทางประกอบการพดู 1. การใชสายตา สายตาเปน บคุ ลิกภาพทีส่ าํ คญั อยา งหนง่ึ ในการพูด ผพู ดู ตองใชส ายตา อยา งเหมาะสมตลอดเวลาในการพูด คอื การมองและประสานสายตากับกลมุ ผูฟงอยางทั่วถงึ มปี ระกายตาเบิกบานแจม ใส 2. การแสดงออกทางสหี นา เปน ส่งิ สําคญั ท่ีแสดงใหเห็นถึงบคุ ลกิ ลกั ษณะ อารมณแ ละ ความรูสึกนึกคดิ ของผูพดู ไดเปน อยางดี โดยผฟู งสามารถอา นสีหนาของผพู ดู ได การพดู ดว ยสีหนา ท่ยี ิม้ แยม แจม ใส เฉยเมย ไรช วี ิตชีวา หรือบ้ึงตึงเครง ขรึมตลอดเวลา จะส่ือความหมายและ ความรูสึก ที่แตกตางกันออกไป และการแสดงออกทางสหี นายงั ชว ยเนนเรอื่ งราวและความคิด ในการพดู ดวย 3. การวางทา ทางในที่น้ี หมายถงึ การวางตัวในขณะพดู อาจเปน ทาทางการยนื หรือการนัง่ การวางทาทางที่ดจี ะชว ยดงึ ดูดความสนใจ สรางความนา เชอื่ ถอื และความเล่ือมใสศรทั ธาในตวั ผพู ูดได เปนอยางดี การพูดในโอกาสตา ง ๆ ผพู ดู อาจน่ังพดู หรอื ยนื พดู กไ็ ด ทั้งนีข้ ้นึ อยกู บั รปู แบบ และสถานการณของการพดู ครัง้ นน้ั ๆ ถาเปน การพดู ทีเ่ ปนทางการและใชเ วลาไมน านนกั มกั ใช วิธกี ารยืนพดู แตถ าเปนการพูดทไ่ี มเปนทางการและใชเวลานานอาจใชวธิ กี ารนง่ั พดู 4. การเคลื่อนไหว หมายถงึ การเดินไปมาบนเวที เปนส่งิ แรกทจ่ี ะเรียกรองความสนใจจาก ผฟู ง และเปน สง่ิ สุดทายทีจ่ ะสรางความประทับใจใหก บั ผฟู งไดเ ปน อยางดี ทัง้ น้เี พราะปกติแลว มนุษยจะสนใจสิง่ ทเี่ คล่ือนไหวไปมามากกวาสง่ิ ที่อยนู ่ิงเฉย การเคล่ือนไหวไปมาขณะพดู จะมาก นอ ยเพียงใดข้ึนอยูกบั เวลาและสถานการณใ นการพดู ถาการพดู คร้งั นั้นใชเ วลามากและเปน การ พูดทไี่ มเปน ทางการ จะมกี ารเคลอ่ื นไหวไปมามากกวา การพูดท่ีใชเวลานอ ยและเปนทางการ การ เคลือ่ นไหวที่เหมาะสมจะชวยเรยี กรอ งและรักษาความสนใจของผฟู ง ไวไดตลอดเวลา 5. การใชทา ทาง หมายถงึ การเคลอื่ นไหวอวยั วะสวนใดสวนหนึง่ ประกอบการพูดอยางมี ความหมาย เชน การใชมอื แขน ศรี ษะ หรอื ไหล เปน ตน เพ่ือส่ือความหมายและเนน ย้ําเรือ่ งที่พูด ใหเ กิดความรูความเขาใจท่ชี ดั เจนย่งิ ข้ึน รวมท้ังสรา งความสนใจและรกั ษาความสนใจของผูฟง ท้ังน้เี พราะการใชก ิรยิ าทา ทางประกอบการพดู บาง จะชว ยสรา งความสนใจมากกวาการนงั่ หรือยนื น่งิ เฉย ๆ และการใชทาทางท่ดี จี ะชวยใหก ารพูดมีประสทิ ธภิ าพดยี ่ิงข้ึน โดยทา ทางทแ่ี สดงน้ีควรมี ความรสู กึ ผอ นคลายเปนธรรมชาติ

12 เรอื่ งท่ี 3 มารยาทในการพดู มารยาทในการพดู สรุปไดดงั นี้ 1. เรอื่ งท่พี ดู นั้นควรเปน เร่ืองทท่ี ัง้ สองฝา ยสนใจรว มกัน หรอื อยใู นความสนใจของคน ท่วั ไป 2. พดู ใหต รงประเด็นจะออกนอกเรือ่ งบา งกเ็ พียงเล็กนอย 3. ไมถามเรอื่ งสว นตวั ซ่งึ จะทําใหอ กี ฝายหน่ึงรสู กึ อึดอัดใจ หรอื ลําบากใจในการตอบ 4. ตองคํานึงถงึ สถานการณแ ละโอกาส เชน ไมพ ดู เร่อื งเศรา เรือ่ งท่ีนารงั เกยี จ ขณะ รบั ประทานอาหารหรอื งานมงคล 5. สรางบรรยากาศทด่ี ี ยม้ิ แยม แจม ใสและสนใจเรอ่ื งท่ีกาํ ลงั พดู 6. ไมแสดงกิริยาอันไมสมควรในขณะที่พดู เชน ลว ง แคะ แกะ เกา สวนใดสว นหน่งึ ของรางกาย 7. หลีกเล่ียงการกลา วราย การนนิ ทาผอู ่นื ไมย กตนขม ทาน 8. พดู ใหมีเสียงดงั พอไดยนิ กันทว่ั ไมพดู ตะโกน หรือเบาจนกลายเปนกระซิบกระซาบ 9. พูดดวยถอยคําวาจาทีส่ ุภาพ 10. พยายามรักษาอารมณในขณะพูดใหเ ปนปกติ 11. หากนําคาํ กลา วหรือมกี ารอางอิงคําพูดของผูใดควรระบนุ ามหรือแหลง ที่มา เพือ่ ให เปนเกียรติแกบ ุคคลทก่ี ลา วถึง 12. หากพดู ในขณะทผ่ี อู น่ื กําลังพูดอยคู วรกลา วขอโทษ 13. ไมพ ดู คุยกันขา มศีรษะผูอ่ืน กจิ กรรมทา ยบทท่ี 2 การพดู ในโอกาสตางๆ (5 คะแนน)

13 2.1 ใหผูเ รยี นพดู แนะนาํ ตนเองเปนรายบุคคลในหัวขอ ดงั น้ี 1) ชือ่ -สกุล………………………………………………………… 2) วนั เดือน ป เกดิ ………………………………………………… 3) ภมู ลิ ําเนา……………………………………..……………….… 4) ทอี่ ยูป จ จุบัน……………………………………………….….… 5) สถานภาพครอบครวั ………………………………………….... 6) อาชีพปจจบุ นั …………………………………………….….…. 7) ความคาดหวังในอนาคต…………………………………….…. 8) คติพจนประจําตัว…………………………………….………… 2.2 ใหผูเรียนเขียนคําพูดสําหรับพูดในโอกาสตาง ๆ พรอมออกมาพูดหนาช้ันเรียน เชน (5 คะแนน) 1) การกลา วตอนรับ 2) การกลา วอวยพร 3) การกลา วขอบคุณ 4) การพดู ใหโอวาท ฯลฯ

14 บทท่ี 3 การอา น เร่ืองท่ี 1 การอา นในใจ การอานในใจ หมายถงึ การแปลตัวอกั ษรออกมาเปนความรู ความเขาใจ และความคิด แลว นาํ ไปใชอกี ทอดอยา งไมผ ิดพลาด โดยทั่วไป จะเปนการอา นเพือ่ ความรู และความบนั เทงิ จดุ ประสงคของการอานในใจ 1. เพื่อจับใจความไดถกู ตองและรวดเร็ว 2. เพอ่ื ใหเกิดความรู ความเขาใจ และความคิดอยางกวา งขวางและลกึ ซึง้ 3. เพอื่ ใหเ กดิ ความเพลิดเพลนิ และเปน การใชเ วลาวา งใหเ กิดประโยชน 4. เพอ่ื ใหถายทอดสิ่งที่อา นใหผูอ ่นื รบั รูโดยไมผดิ พลาด หลกั การอานในใจ 1. ตั้งจุดมุงหมาย วาจะตองอานเพื่ออะไร อา นเพ่ือความรู หรือจะอา นเพื่อความ เพลดิ เพลิน 2. ตง้ั สมาธิในการอาน ใหจ ดจอ อยูกับหนังสอื ทอี่ านจติ ใจไมวอกแวกไปที่อ่ืนซ่งึ จะทําให อานไดเ ร็ว และเขา ใจไดดี 3. ตั้งเปา การอานโดยอานกาํ หนดปริมาณทจ่ี ะอานไวลวงหนา แลว จับเวลาในการอาน เพื่อทจี่ ะพัฒนาการอา นคร้ังตอไปใหเรว็ ขึ้น 4. ไมอ า นหนงั สือทลี ะคํา การอานกวาดสายตาใหกวา งขน้ึ อา นใหครอบคลุมขอความ ทอ่ี ยตู อ หนา อยางเรว็ ไปเรือ่ ย ๆ 5. ลองถามตนเองวา เปนเรอื่ งเกี่ยวกบั อะไร เกดิ กับใคร ที่ไหน อยา งไร ถา ตอบไดแ ปลวา เขาใจแตถ าตอบไมไดก ต็ อ งกลบั ไปอานใหม 6. จับใจความสําคัญใหได และบนั ทึกเปน ความรคู วามเขาใจ และความคิดไวเพราะ จะทาํ ใหจาํ เรือ่ งทอ่ี านไดอ ยางแมน ยํา และสามารถนําไปใชป ระโยชนไดทันที เรือ่ งท่ี 2 การอา นออกเสยี ง การอา นออกเสียง หมายถึง การอานทีผ่ ูอ่ืนสามารถไดยนิ เสยี งอานดวยการออกเสยี ง มักไมนิยมอา นเพอื่ การรบั สารโดยตรงเพียงคนเดียว เวน แตในบางครั้ง เราอานบทประพนั ธเ ปน

15 ทว งทํานองเพือ่ ความไพเราะเพลดิ เพลินสวนตัว แตส ว นใหญแลวการอา นออกเสียง มักเปน การ อา นใหผูอืน่ ฟง การอา นประเภทน้มี ีหลายโอกาส คอื 1. การอานออกเสียงเพอ่ื บคุ คลในครอบครัวหรือผูทคี่ นุ เคย เปน การอา นท่ีไมเปนทางการ การอา นเพ่อื บุคคลในครอบครัว เชน อานนิทาน หนงั สือพิมพ ขาว จดหมาย ใบปลิว คาํ โฆษณา ใบประกาศ หนงั สอื วรรณคดตี าง ๆ เปนการ เลา สูก นั ฟง อานเพ่ือใหเพ่ือนฟงอา นใหค นบางคนทอี่ านหนังสอื ไมอ อกหรือมองไมเ ห็น เปน ตน 2. การอา นออกเสียงทเี่ ปน ทางการหรอื อานในเรอ่ื งของหนาที่การงาน เปน การอานทีเ่ ปนทางการ มีระเบียบแบบแผนในการอา นอยา งรดั กมุ กวา การอานออก เสียงเพือ่ บคุ คลในครอบครวั หรืออยทู คี่ ุนเคย เชน การอา นในหอ งเรียน อา นในทีป่ ระชมุ อานใน พธิ ีเปดงาน อา นคําปราศรยั อา นสารในโอกาสที่สําคญั ตา ง ๆ การอา นของส่อื มวลชน เปนตน การอานออกเสยี งใหผฟู ง จะตอ งอา นใหช ดั เจนถูกตอ งไดขอ ความครบถว นสมบูรณ มีลีลาการอานท่ีนา สนใจและนาตดิ ตามฟงจนจบ จดุ มงุ หมายในการอานออกเสยี ง 1. เพอ่ื ใหอ านออกเสียงไดถูกตอ งตามอกั ขรวิธี 2. เพ่อื ใหรจู ักใชน าํ้ เสยี งบอกอารมณและความรูสกึ ใหสอดคลองกบั เนื้อหาของเร่อื งทีอ่ า น 3. เพอ่ื ใหเขา ใจเรือ่ งทอ่ี า นไดถกู ตอ ง 4. เพ่อื ใหผ อู า นมคี วามรูและเขาใจในเนอื้ เรื่องทอ่ี านไดอยางชดั เจน 5. เพอ่ื ใหผ อู า นและผฟู งเกิดความเพลดิ เพลิน 6. เพ่อื ใหเ ปน การรบั สารและสงสารวิธีหนึ่ง หลกั การอา นออกเสียง 1. อา นออกเสยี งใหถกู ตองและชัดเจน 2. อานใหฟ ง พอท่ีผูฟง ไดย นิ ทั่วถงึ 3. อานใหเปน เสยี งพดู โดยธรรมชาติ 4. รจู ักทอดจังหวะและหยุดหายใจเมอื่ จบขอความตอนหน่งึ ๆ 5. อานใหเ ขาลกั ษณะของเนือ้ เรอื่ ง เชน บทสนทนา ตอ งอานใหเ หมือนการสนทนากนั อา นคาํ บรรยาย พรรณนาความรสู กึ หรอื ปาฐกถาก็อา นใหเขากับลกั ษณะของเร่ืองน้นั ๆ 6. อานออกเสียงและจังหวะใหเ ปนตามเนื้อเรื่อง เชน ดุหรอื โกรธ กท็ าํ เสยี งแขง็ และเร็ว ถา เปนเรอ่ื งเกีย่ วกบั คร่าํ ครวญ ออ นวอน กท็ อดเสยี งใหชา ลง เปนตน

16 7. ถาเปน เร่ืองรอ ยกรองตองคาํ นงึ ถงึ สิง่ ตอ ไปน้ีดว ย 7.1 สมั ผัสครุ ลหุ ตองอานใหถูกตอ ง 7.2 เนน คํารับสัมผสั และอา นเอ้ือสัมผสั ใน เพอื่ เพ่ิมความไพเราะ 7.3 อานใหถกู ตองตามจังหวะและทาํ นองนยิ ม ตามลักษณะของรอยกรองนน้ั ๆ ยงั มกี ารอา นออกเสียงอกี ประการหนง่ึ การอานทาํ นองเสนาะ เปนลักษณะการอา น ออกเสียงท่มี ีจังหวะทาํ นองและออกเสยี งสูงต่าํ เพอ่ื ใหเ กิดความไพเราะ การอา นทํานองเสนาะน้ี ผูอานจะตองเขาใจลกั ษณะบงั คับของคาํ ประพันธแ ตละชนดิ และรวู ธิ อี า นออกเสยี งสงู ตาํ่ การ ทอดเสียง การเออ้ื นเสยี ง ซงึ่ เปน ลกั ษณะเฉพาะของคาํ ประพนั ธช นดิ ตาง ๆ ดวย การอา นทํานอง เสนาะน้ีเปน มรดกทางวฒั นธรรมทสี่ ืบทอดกนั มาชานาน ซึง่ เปน ส่งิ ท่คี นไทยทกุ คน ควรภมู ใิ จและ รักษาวฒั นธรรมลาํ้ คานี้ไวเ พือ่ ถายทอดสืบตอกันไปชวั่ ลกู ชัว่ หลาน การอา นเรว็ คนทีม่ นี ิสัยรกั การอาน ยอมเปนผทู ีม่ ีความรอบรู มคี วามนึกคิดลกึ ซ้ึงและกวางขวาง ทั้งยัง ไดรับความบันเทงิ ในชวี ิตมากข้นึ อกี ดวย การอา นทใ่ี ชมากในชีวิตประจําวัน คือการอา นในใจ เพราะสามารถอานไดรวดเรว็ ไมต อ ง กงั วลกับการเปลง เสยี งกับตัวหนังสอื การอา นในใจที่ดี ผอู านจะตองรูจกั ใชสายตา กิริยาทา ทาง มีสมาธิ ความตง้ั ใจและกระบวนการอานในใจ เชน การเขาใจความหมายของคํา รจู กั คน หา ความหมายของคํา หรอื เดาความหมายไดรจู ักจับใจความ แลวรูจ กั พจิ ารณาตาม รวมท้งั ตองเปน ผูทีส่ ามารถอา นไดรวดเร็วอกี ดวย หลักการอา นเรว็ ในการฝกตนเองใหเปน คนอา นเร็ว ควรไดเ รมิ่ ตน ฝก สมาํ่ เสมอทลี ะเล็กละนอ ย โดยฝก อา น ในใจทถ่ี กู วธิ ีและจะตอ งฝก ฝนในส่งิ ตอ ไปนี้ 1. มีสมาธใิ นการอา น ในขณะท่ีอาน จะตองสนใจและเอาใจจดจอ ตอ ส่ิงท่อี าน ไมปลอ ยใจ วอกแวกคิดเรอ่ื งอน่ื จะทาํ ใหจ บั ใจความของเรื่องไมไดต ลอดและความสามารถในการอานชาลงไป 2. จับตาท่ตี วั หนังสือ โดยใชส ายตาจบั อยูใ นชว งเวลาเลก็ นอ ยแลว เคลอ่ื นสายตาตอ ไป อยา งรวดเรว็ การฝก จบั ตาเชน น้ตี อ งกระทาํ บอย ๆ และจับเวลาทดสอบความสามารถในการ จับสายตา และเคล่อื นสายตาใหไ ดรวดเรว็ เพือ่ ทดสอบความกาวหนา 3. ขยายชว งสายตาใหกวา ง ชวงสายตาหมายถงึ ระยะจากจุดท่สี ายตาจบั จดุ หนึง่ ไปยงั จดุ ทสี่ ายตาจับในคราวตอไป การรจู กั ขยายสายตาใหกวางจะชว ยใหอา นหนังสือไดเร็ว

17 4. ไมอ า นยอ นกลับไปกลบั มา หมายถึง การทวนสายตายอ นกลับไปกลับมายังคาํ ทไี่ ม เขาใจซ่งึ ทาํ ใหเ สียเวลา 5. เปลย่ี นบรรทดั ใหแมน ยาํ โดยกวาดสายตากลบั มาทางซา ยเพื่อขน้ึ บรรทัดใหม เมือ่ อา นจบแตละบรรทดั และตองกาํ หนดบรรทัดใหแมนยําไมอ านขา มบรรทัด หรืออา นซา้ํ บรรทดั เดิม ซง่ึ ทาํ ใหความคดิ สบั สนการฝกในระยะแรกเร่มิ อาจใชไมบ รรทดั หรอื กระดาษปด ขอความบรรทัด ลางไว แลวเลอ่ื นลงเร่ือย ๆ คอย ๆ เพมิ่ ความเรว็ ข้ึนจนชํานาญจึงอานโดยไมต องใชสง่ิ อ่นื มาปด การอานเพอื่ เขาใจความหมายของสาํ นวน การอานเพอื่ ทาํ ความเขาใจ ความหมายของสาํ นวน ตองอาศัยถอยคําสิ่งแวดลอม บริบท เพอ่ื สรปุ สาระสาํ คญั 1. ความหมายของสํานวน สาํ นวน คือถอ ยคาํ ทม่ี ีความหมายไมต รงตามความหมายปกติ ของคาํ น้ัน ๆ 2. หลักการอา น เพอื่ เขาใจความหมายของสาํ นวน 2.1 อา นขอความอยางละเอยี ด เพอื่ จับใจความสาํ คญั เขาใจเนอ้ื เรอื่ งและเขา ใจ ความหมายของสํานวน 2.2 สงั เกตเนือ้ ความตามบริบท ทาํ ใหต ีความหมายของสาํ นวนไดถกู ตอ ง 2.3 ตีความหมายของสาํ นวน ตอ งตรงประเด็นตามบริบท การอานเพื่อเขาใจโวหารตาง ๆ ผเู ขยี นตองใชโ วหารประกอบการเขียน เชน พรรณนาโวหาร อปุ มาโวหาร สาธกโวหาร ฯลฯ เพ่อื ใหง านเขียนมีคณุ คา 1. ความหมายของโวหาร โวหาร คอื ทว งทํานองในการเรียบเรียงถอยคาํ ทง้ั ในวรรณกรรมรอยแกวและรอ ยกรอง โวหารท่ีใชกันทั่วไปมี 5 โวหาร ดังน้ี 1.1 บรรยายโวหาร คือ การเลา เรอ่ื งไปตามเหตกุ ารณ เชนการเขยี นบทความ การ เลา นิทาน เลาประวตั ิบคุ คล ตํานาน ตองอธิบายใหเปนไปตามลําดับ 1.2 พรรณนาโวหาร คือ การเขยี นเลา เร่อื งอยางประณตี มักแทรกความรูสกึ ของ ผูเขียนดว ยทําใหผอู านเกิดความรูและอารมณค ลอยตาม เชน การพรรณนาความสวยงาม คุณความดตี ลอดจนพรรณนาอารมณแ ละความรูสึกในใจ ฯลฯ 1.3 เทศนาโวหาร คอื กระบวนความอบรมสง่ั สอน อธบิ ายในเหตุผล หรือชแี้ จง ใหเห็นคณุ และโทษ เพอื่ ใหผ ูอา นเชอื่ ถอื ตาม

18 1.4 สาธกโวหาร คือ การเขียน โดยยกตัวอยางประกอบเพ่ือใหผูอา นเขาใจเรอ่ื งได ชดั เจนยิ่งข้ึนนิยมใชใ นการบรรยายโวหาร และเทศนาโวหาร 1.5 อุปมาโวหาร คือ การเขยี น โดยยกขอความเปรยี บเทยี บเพือ่ ใหผ อู านเขา ใจ เรื่องราวตา ง ๆ ไดด ียิง่ ขึ้น ใชแทรกในโวหารตา ง ๆ การอานออกเสียงรอ ยกรอง การอานบทรอยกรองตา ง ๆ ใหเ ปนไปตามทาํ นองลลี าและจังหวะอันถูกตอ งจะทาํ ให เกดิ ความไพเราะเสนาะหู และทําใหผ ูฟงไดรับอรรถรสทางภาษาดว ย หลกั การอา นออกเสียงรอ ยกรอง 1. อา นออกเสยี งใหด ังพอเหมาะ กับสถานทแ่ี ละจาํ นวนผูฟง 2. อานใหค ลอ ง รื่นหู ออกเสียง ใหช ดั เจนโดยเฉพาะตวั ร ล ตวั ควบกล้าํ 3. อา นใหถกู ฉนั ทลักษณของคําประพันธ เชน จาํ นวนคาํ จาํ นวนวรรค สมั ผสั ครุ ลหุ คําเปน คําตาย 4. อา นใสอ ารมณ ตามลลี าของบทรอยกรองดว ยความรูสึกซาบซึง้ ช่ืนชมในคณุ คาของ บทรอยกรองนั้น ๆ โดยใหมที วงทํานอง สูง ต่ํา หนกั เบา เพอื่ ใหไ ดร สถอย รสเสยี ง รสความ รสภาพ การอานกลอนสภุ าพ ooo oo ooo 1. จาํ นวนคาํ ในกลอนสภุ าพ ooo oo ooo ooo oo ooo ooo oo ooo 2. คณะ กลอนสุภาพ บทหนง่ึ มี 2 บาท บาทที่ 1 เรยี กวา บาทเอก มี 2 วรรค คอื วรรคสดับ วรรครับ บาทที่ 2 เรยี กวาบาทโท มี 2 วรรค คือวรรครอง และวรรคสง พยางคใ น กลอนวรรคหน่ึง ๆ จะบรรจุคาํ ประมาณ 6 - 9 คาํ กลอนแปด มีวรรคละ 5 คาํ รวม 4 วรรค เปน 32 คาํ 3. วธิ ีอานกลอนสุภาพ กลอนมีหลายชนิด ไดแก กลอนหก กลอนแปด กลอนดอกสรอย กลอนสักวา กลอน บทละคร การอานคลายคลึงกนั จะแตกตางกันบา งเพียงเล็กนอ ย ดังนี้ 1. อา นทาํ นองชาวบาน คอื เสยี งสูง 2 วรรค คอื วรรคสดับ วรรครบั และอา นเสียงตํ่า ในวรรครอง และลดต่าํ ลงไปอกี ในวรรคสง

19 2. อา นทาํ นองอาลกั ษณ คอื อานเสยี งสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอา น เสียงต่าํ ในวรรครอง และลดตํ่าลงไปอกี ในวรรคสง การแบงจํานวนคาํ วรรคหนึ่งจะมี 8 - 9 คํา ดังนี้ 3 2 3 เขาคลอขลยุ ครวญเสียง เพยี งแผว ผิว ชะลอน้ิว พล้ิวผา น จนมานหมอง ถามี 9 คําจะแบงวรรคเปน 3 3 3 สรวงสวรรค ชนั้ กวี รจุ ีรตั น ผองประภัสสร พลอยหาว พราวเวหา การอานกาพยย านี ooo ooo 1. จํานวนคําในกาพยย านี ooo ooo oo ooo oo ooo 2. วิธอี าน วรรคท่ี 1 และ 2 ในบาทเอกจะออกเสียงต่าํ วรรคท่ี 1 ในบาทโท จะอานออกเสยี ง สูงขึน้ หรือ อา นออกเสียงเหมอื นวรรคท่ี 1 ก็ไดต ามความเหมาะสม วรรคท่ี 2 ในบาทโท อา น ออกเสียงต่ํา กาพยยานมี ีจังหวะการอานดงั นี้ มสั หมั่น แกงแกวตา หอมยหี่ รา รสรอ นแรง ชายใด ไดก ลนื แกง แรงอยากให ใฝฝนหา การอานโคลงสสี่ ุภาพ oo oo 1. จาํ นวนคําในโคลงสสี่ ุภาพ oo oo ooo oo oo oo ooo oooo oo ooo oo ooo 2. คณะโคลงบทหนง่ึ มี 4 บาท บทที่ 1 2 3 4 บาทหน่ึงมี 2 วรรค คอื วรรคหนา และวรรคหลังมจี าํ นวนคาํ เทากนั คือ 5 คาํ และ 2 คํา ยกเวน วรรคหลังในบาทที่ 4 จะมี 4 คาํ

20 3. วธิ ีการอา น การอานโคลงส่สี ภุ าพสามารถอา นได 2 ลีลา คอื 1. อานแบบรอยแกว 2. อา นแบบทาํ นองเสนาะ การแบงชว งเสียง วรรคแรกเปน 2 ชวง เปน 3 2 หรือ 3 2 วรรคหลัง เปน 2 การแบง ชว งเสยี งตอ งพิจารณาใหคงความหมาย แทนที่จะแกต ามปกตบิ ทรอยกรองท่ีไพเราะ กวจี ะจัด กลุมคาํ ไวด แี ลว การเออื้ นเสยี งทอดเสียง ตามปกตจิ ะเอื้อนเสียงทา ยวรรคแรกของแตล ะบาท ในบาทที่ 2 อาจเอ้ือนเสยี งไดถ ึงคําท่ี 1 คาํ ท่ี 2 ของวรรคหลัง และบาทที่ 4 ระหวางคาํ ที่ 2 กบั คาํ ที่ 3 ของ วรรคที่ 2 และทอดเสยี งตามตําแหนง สมั ผัส ตวั อยางโคลงส่ีสภุ าพ เรืองเรือง ไตรรัตนพน พันแสง รนิ รส พระธรรมแสดง ค่ําเชา เจดีย ระดงแซง เสียดยอด ยลยิ่งแสงแกว เกา แกน หลาหลากสวรรค (นริ าศนรนิ ทร) การอา นฉันท ฉนั ท มลี ักษณะบังคบั พิเศษแตกตางไปจากคาํ ประพนั ธช นิดอ่ืนโดยบังคบั ครุ ลหุ แทน คําธรรมดา และบังคบั สัมผัส เชน เดียวกบั คาํ ประพนั ธชนดิ อื่น ๆ คาํ ลหุ ( , ) คือ พยางคทม่ี ลี กั ษณะใดลักษณะหน่ึงดังน้ี 1. การประสมสระเสยี งสัน้ ในแม ก กา เชน จะ ทิ ปุ ยกเวน พยางคท่ีประสมดวย สระ อํา ใอ ไอ เอา ซึ่งจดั เปน คาํ ครุ เชน คํา ไกล ใจ เรา 2. คํา บ บ จดั เปนคําลหุ คําครุ คอื พยางคท่ีมีลักษณะใดลักษณะหนึง่ ดงั นี้ 1. ประสมสระเสียงยาวในแม ก กา เชน อา ดี เธอ ปู 2. ประสมสระ อํา ใอ ไอ เอา 3. มีตวั สะกด เชน มด กดั เดก็

21 แผนบงั คบั อนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท อินทรวิเชียรฉันท บทหน่ึงมี 2 บาท บาทหน่งึ มี 2 วรรค วรรคหนา 5 คํา วรรคหลัง 6 คํา มีการแบง จงั หวะการอานดังน้ี สายันห ตะวนั ยาม ขณะขา ม ทฆิ มั พร เขาภาค นภาตอน ทศิ ตะตก กร็ ําไร หนังสอื และสอื่ สารสนเทศ หนังสอื ปจ จุบันนี้มหี นังสอื ออกมาจาํ หนา ยหลายประเภท ท้ังตําราวิชาการ วารสาร นิตยสาร หนงั สอื พมิ พ นวนิยาย เรื่องสัน้ สารคดี ฯลฯ การท่มี หี นังสอื ออกมาจําหนายมากมายเชน น้ี ผูอา น จึงจําเปนทจี่ ะตอ งรูว ธิ ีการเลือกหนังสอื เพ่ือจะไดอ า นหนงั สอื ทเี่ หมาะกับความตอ งการของตนเอง เหมาะกบั เวลาและโอกาส วธิ ีการเลือกหนังสอื ประเภทตาง ๆ ในการเลือกอานหนงั สือประเภทตาง ๆ นัน้ ผูอ านควรพิจารณาใหร อบคอบ ละเอยี ดถีถ่ ว น เพอ่ื ประโยชนใ นการพิจารณาคุณคาของหนังสอื น้ัน ๆ หนงั สือแตละประเภทควรเลอื กพิจารณา ดงั น้ี 1. ตําราวิชาการ เปนหนังสือทใ่ี หความรูดานตา ง ๆ โดยเฉพาะอาจจะเสนอทฤษฎีหรือ เน้ือหาสาระอยา งกวาง ๆ หรือเฉพาะดา นในดานหนึ่ง โดยผูแตงมีจุดมุงหมายทางดานวชิ าการ โดยตรง การพิจารณาควรดรู ายละเอียดในดา นตาง ๆ ดงั นี้ 1.1 พจิ ารณาดานเนื้อหา เนอื้ หาจะตองถูกตองกบั ชือ่ หนังสือ เชน วชิ าวิทยาศาสตร กฎหมาย ภาษาศาสตร ประวตั ิศาสตร คณติ ศาสตร ฯลฯ หนงั สอื วชิ าการแขนงใด เนอ้ื หา กค็ วร จะเนน แขนงน้ันโดยเฉพาะ 1.2 พิจารณา ขอ มูล และภาพประกอบ ขอ มลู และภาพประกอบควรถกู ตองชัดเจน โดยเฉพาะภาพประกอบ ควรดูวา ตรงกบั คําบรรยายหรือไม และภาพนน้ั นา สนใจเพยี งใดเหมาะสม กบั วิชานนั้ หรอื ไม 1.3 การใชภ าษา ภาษาท่ีใชควรเปน ภาษาที่เหมาะสมกบั แขนงวิชานั้น ๆ และดกู าร สะกดคาํ ดว ยถาหากมคี าํ ผิด กค็ วรจะเลอื กดูหนงั สือที่มคี ําผดิ นอ ยทส่ี ดุ นอกจากนกี้ ารพิจารณาตําราวชิ าการควรดสู ว นประกอบอนื่ ๆ ดวย เชน รปู เลม ควรมี คํานํา สารบัญ ฯลฯ

22 2. สารคดี เปนหนงั สอื ทีม่ สี าระในดานใหความรู ความคิด พรอ มทัง้ ใหความเพลิดเพลิน ดวยหนังสอื ประเภทนมี้ หี ลายชนดิ เชน วิทยาศาสตร ประวัตศิ าสตร ประวัติบุคคลสาํ คญั ฯลฯ หนงั สือสารคดีทมี่ ีคุณภาพนั้นพจิ ารณาในรายละเอียดตาง ๆ ดังน้ี 2.1 พิจารณาดา นเนือ้ หาสาระ คุณคา ของสารคดีน้ันอยูท่ีเนือ้ หาสาระเปนประการ สาํ คัญเนอื้ หาท่ดี ีจะตอ งถกู ตอ งและสมบรู ณ รวมทง้ั เสนอความคิดเหน็ ทีเ่ ปน ประโยชนตอผูอา นและ สงั คมสวนรวม เชน 2.1.1 สารคดปี ระเภทชีวประวัติ เนอื้ หาสาระจะตองตรงตอความเปน จริง ผูเขียน จะตอ งเขียนดวยใจเปน ธรรม ไมอคตติ อเจา ของประวัตินั้น ๆ เนือ้ หาจงึ ควรมที ัง้ สวนดีและสว น บกพรองของเจา ของประวัติ 2.1.2 สารคดปี ระเภททองเท่ียว ควรมเี นอ้ื หาทใี่ หทั้งความรูและความบันเทงิ รวมท้ังประสบการณทแี่ ปลกใหมนาสนใจ เพือ่ ใหผ อู า นไดทราบขอ เท็จจรงิ เกีย่ วกบั สถานท่ีน้ัน ๆ 2.1.3 สารคดีประเภทเชิงวิชาการ ควรมเี นอื้ หาทใ่ี หความรูอ ยา งถกู ตอ งแมนยาํ ควรมีภาพหรอื แผนทป่ี ระกอบใหถกู ตองตรงกับสาระของเรอื่ งดว ย 2.2 พิจารณาวธิ ีการเขยี น วธิ ีการเขียนสารคดีพิจารณาไดจากหลักเกณฑต อไปน้ี 2.2.1 การวางโครงเรือ่ งและการดําเนนิ เรอ่ื ง สารคดีตอ งมวี ิธกี ารดําเนนิ เรือ่ ง ตามลําดบั 2.2.2 เราความสนใจ ขอ เขยี นทดี่ ผี ูเขียนจะมีวิธกี ารเขยี นทจี่ ะดงึ ดูดความสนใจ ของผอู า นใหต ิดตามอานไปเร่ือย ๆ โดยไมเกิดความเบื่อหนาย 2.2.3 สํานวนภาษา ภาษาที่ใชในการเขียนสารคดเี ปนถอ ยคําภาษาทไี่ พเราะ งดงาม มสี ํานวนกะทดั รดั อา นเขาใจงาย ไมใ ชสาํ นวนท่ีไมส ุภาพ 2.2.4 สวนประกอบอ่นื ๆ ควรพจิ ารณาเก่ยี วกบั ผูแตงและสว นประกอบรปู เลม ของหนงั สอื ถา สารคดีนั้นเปนหนงั สอื เลม ซ่งึ จะมคี ําวา สารบญั เนอ้ื เร่อื ง บรรณานกุ รม ฯลฯ ตามรปู แบบของหนงั สือ 3. บันเทิงคดี เปน หนังสอื ทีแ่ ตง เพื่อมุงใหผ อู านเกิดความสนุกสนานเพลดิ เพลิน อาจจะ แทรกวรรณคดี บทรอ ยกรอง บทละคร ซึง่ สามารถแตงเปนรอยแกวหรอื รอ ยกรองก็ไดต ามความ เหมาะสม ในการพจิ ารณาเรอ่ื ง บนั เทิงคดี ควรพิจารณาในดา นตาง ๆ ดังน้ี 3.1 โครงเร่ืองและเนอ้ื เรือ่ งสว นสาํ คญั ของนวนิยายและเร่ืองส้ัน คือ การเลา เร่ือง โดยเลาวา เปน เรือ่ งของใคร เกดิ ข้ึนท่ีไหน เมื่อไหร มคี วามสัมพันธระหวา งเหตกุ ารณต า ง ๆ ในเรือ่ ง และระหวา งบคุ คลในเรือ่ งเกี่ยวเน่ืองกันไปโดยตลอด มีการสรา งความสนใจใหผอู า น

23 อยากติดตาม นอกจากนเ้ี หตุการณท่ีเกดิ ขน้ึ ในเร่ืองควรสมจรงิ และเปนไปอยางสมเหตุสมผล และมสี วนประกอบปลกี ยอ ยอ่ืน ๆ เพือ่ ใหนา ติดตาม 3.2 การดาํ เนนิ เรือ่ ง สว นสาํ คญั ทชี่ ว ยใหเร่ืองนาสนใจชวนตดิ ตามข้นึ อยกู ับการ ดาํ เนนิ เรือ่ ง การดําเนินเร่อื งมีอยูห ลายวธิ ี เชน ดําเนนิ เรื่องตามลําดบั วยั คือ เร่มิ ตัง้ แตต ัวละครเกิด จนกระทัง่ ถงึ แกก รรม ดาํ เนินเรอื่ งยอนตน คอื เลา เหตกุ ารณในตอนทายเสยี กอน แลว ยอ นกลับ ไปเลา ต้ังแตตนจนกระทัง่ จบ เปน ตน ฉากท่ีดตี องมีสภาพความเปน จรงิ ท้ังสภาพภูมิศาสตร และ ประวัติศาสตร นอกจากน้ียงั ตองสอดคลองกับเรอื่ งดวย 3.3 ตวั ละคร ผูเขียนมวี ิธกี ารแนะนาํ ตัวละครไดห ลายวิธี เชน ดวยการบรรยายรปู รา ง ลกั ษณะของตัวละครเอง ดวยการบรรยายพฤติกรรมของตวั ละคร หรือดวยการใหตัวละครสนทนากนั เปน ตน การบรรยายลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละครท่ีดีน้ัน ควรบรรยายอยา งสมจริง ตัวละครตวั หนง่ึ ๆ จะมลี ักษณะนสิ ัยหลาย ๆ อยา งไมใ ชด จี นหาท่ีติมิได หรอื เลวจนไมม คี วามดีท่จี ะใหชมเชย ความ ตอ งการของตัวละครที่ดีควรจะเหมอื นคนธรรมดาทั่ว ๆ ไป เชน มีความรัก ความโกรธ เกลยี ด หรอื ตอ งการความสนใจจากผูอน่ื เปน ตน 3.4 แนวคิดของเรอื่ ง แนวคดิ ของเรอื่ งสวนมากผูเขียนจะไมบอกตรง ๆ ผูอา นจะตอ ง คนเอาเองวาไดแนวคิดอยา งไร ตวั อยางเชนเร่ือง ลกู ชาย ของศรบี ูรพา ตอ งการแสดงวา “ลูกผชู ายน้นั มีความหมายอยา งไร” จดหมายจากเมอื งไทยของโบตั๋นตองการใหเห็นขอ ดีขอ เสยี ของคนไทยโดยเฉพาะ “นํา้ ใจ” ซึง่ ไมเหมอื นกันกับชาติอ่นื เปน ตน นวนิยายหรือเร่อื งสนั้ ท่ดี ีนัน้ ผูอา นตองพจิ ารณาคณุ คา ทีจ่ ะไดจ ากเร่อื งน้ัน ๆ ไมทางใด ก็ทางหนง่ึ ดวย 3.5 สาํ นวนภาษา เปน สงิ่ สําคัญมากอยางหน่ึง ในการพิจารณาเลอื กอานนวนยิ ายและ เรือ่ งส้นั ผอู านมกั จะรูสกึ วาตนเองชอบหรอื ไมชอบสาํ นวนของนกั เขยี นคนนั้นคนน้ี แตบ างคนก็ไม สามารถบอกวา เพราะเหตุใด สิ่งท่คี วรพิจารณาเกย่ี วกบั สาํ นวนภาษาคือสํานวนภาษาของตัวละคร ในบทสนทนา ตอ งสมจรงิ และเหมาะสมกับตัวละคร ประโยคท่ีแตกตา งควรกะทดั รัด สละสลวย เขา ใจงาย หากเปน ประโยคยาวก็ควรเปนสํานวนท่สี ามารถสรางอารมณ และความรสู ึกไดด ี 4. วารสารและหนังสอื พมิ พ หนังสือประเภทน้คี นทัว่ ไปไดอานบอ ยกวาหนังสือประเภท อืน่ ๆ ในการผลิตหนังสอื ประเภทนีต้ อ งแขง กบั เวลา ดังนัน้ โดยการพิจารณาหนังสอื ประเภทน้ี ควรพจิ ารณา ดงั น้ี หนงั สือพิมพ หนังสอื พมิ พเปนเครื่องมอื สอื่ สารท่ีจะกระจายขา วคราวเหตุการณต า ง ๆ ไปทว่ั ประเทศหรืออาจท่ัวโลก โดยเฉพาะหนังสือพิมพร ายวนั เปน เครือ่ งมอื ส่ือสารทเ่ี สนอขาว ท่ีนาสนใจทเ่ี กดิ ขึ้นในแตล ะวนั ดงั น้นั หัวใจของหนังสอื พิมพร ายวันกค็ ือ “ขา ว” การพิจารณา

24 หนงั สือพิมพรายวันจงึ ควรพิจารณาเกย่ี วกับขา ววามสี ว นในการชว ยยกระดบั สังคมใหส ูงขึ้น หรือ มปี ระโยชนตอชนหมมู ากหรอื ไม หากขาวน้นั ไมเกย่ี วกับความเปน อยูของคนหมูมาก หรอื กระทบกระเทอื นตอประชาชนสวนใหญ เหตุการณเ หลานน้ั กไ็ มค วรนํามาเสนอในหนา หนังสือพิมพ ขา วทคี่ วรนําเสนอควรเปน ขา วทเี่ กีย่ วกับการปกครอง การเมอื ง เศรษฐกจิ สังคม การศึกษา การ อนามยั การประกอบอาชีพ ฯลฯ บทวิจารณ ในหนังสอื พิมพรายวันทกุ ฉบบั จะมีบทวิจารณ หรอื บทวิเคราะหขา ว ซงึ่ เปน ลักษณะ บทความ แสดงความคดิ เห็นของผูเ ขียนเอง ประกอบกับขา วทีต่ องการวจิ ารณ หรือ วิเคราะหน ั้น การพจิ ารณาบทวิจารณในหนังสือพมิ พ ควรพจิ ารณาถึงลกั ษณะตอไปน้ี 1. พจิ ารณาขอ มลู ท่ผี ูเ ขยี นอา งอิงวา ถกู ตอ งและมขี อเท็จจริงเพียงใด 2. พิจารณาวาผเู ขยี นบทความน้ัน ชใ้ี หเ ห็นปญหาและวิธแี กป ญหาอยางไร 3. พิจารณาวา ผูเ ขียนบทวจิ ารณใ ชอ ารมณ และนําความรูสกึ สว นตัวเขา ไปเก่ียวของ หรือไม 4. พจิ ารณาภาษาทใ่ี ชวา มีความประณตี และถกู ตองตามหลกั ภาษาเพียงใด วารสาร เปน หนงั สอื พมิ พจาํ หนา ยตามกําหนดระยะเวลา เชน 7 วนั 10 วัน รายเดอื น ราย 3 เดือน หรือรายป เปนตน หนงั สือวารสารจงึ มีเนอื้ หาเนนท้งั สารคดี และบนั เทิงคดี ขา วสาร ท่ีปรากฏมักเปนขาวสารทมี่ ีระยะเวลาตอ เนอื่ งกันเปนเวลานาน เชน ขาวเก่ียวกับนโยบายโครงการ ตา ง ๆ หรอื ขาวเกีย่ วกบั การเมอื งบางเร่อื ง เปนตน ดงั นัน้ การอานวารสาร จงึ ควรพิจารณาเลือกอานเรอื่ งทเี่ ราสนใจ และควรพยายามอา น อยางสม่ําเสมอ นอกจากพจิ ารณาเกย่ี วกบั ขา วสารดงั กลา วแลว สิง่ ท่คี วรพจิ ารณาอีกอยา งหนง่ึ คือรปู เลม ควรพจิ ารณาความเรียบรอยและความคงทนของการจัดรปู เลมใหเหมาะสมกับราคาดวย ประโยชนข องการเลอื กหนงั สือ การเลอื กหนังสือควรคาํ นึงถึงประโยชนท่จี ะไดร ับ ดังตอไปนี้ 1. เพือ่ ใหไดหนงั สอื ทีต่ รงกับความสนใจ และตอ งการทจี่ ะศกึ ษาคนควา 2. เพอ่ื ใหไ ดอานหนังสือทีด่ มี ีประโยชนตอ ชวี ิต 3. เพือ่ เลือกหนังสอื ใหเ หมาะสมกบั เวลา 1. การเลอื กหนังสอื ทตี่ รงกับความสนใจ และตอ งการท่จี ะศกึ ษาคนควา ผูท่ีจะเลือกอา นหนงั สือประเภทนก้ี ค็ อื ผทู ี่มคี วามสนใจหนงั สือเลมน้ันโดยตรง หรอื ผูท่มี ีความตองการศกึ ษาคน ควา เร่ืองน้นั ๆ โดยเฉพาะ เชน ผูศ ึกษาคนควาตามแนวทางท่ีตนได

25 เรียนมา ผทู ่ีเรียนทางดา นภาษาก็จะคน ควา ทางดานนี้ เพือ่ จะไดรับประโยชนจากการอานอยาง คุมคา 2. เพอื่ ใหไดอ า นหนงั สอื ท่ีดมี ปี ระโยชนต อชีวิต ผูทอ่ี านหนังสอื ทกุ คนยอมหวังท่ีจะไดร ับประโยชนจากการอาน เชน ขอคดิ เหน็ ความรูท างวชิ าการขา วที่ทันเหตกุ ารณ แนวทางดําเนินชวี ิตท่ีดี ฯลฯ แมวาจะไดรบั ประโยชน เพียงเลก็ นอยก็ตาม เพราะการท่ไี ดร บั ประโยชนโ ดยตรงจากการอา นน้ยี อมทาํ ใหไ มเสียเวลา โดยเปลา ประโยชน 3. เพอ่ื เลอื กหนังสอื ใหเหมาะสมกบั เวลา การอา นหนงั สือนัน้ จะเสียเวลามากหรอื นอยยอมแลว แตเ ร่ืองทอี่ า นวามีขนาดสัน้ ยาว แคไ หนมีความยากงายตอ การอา นมากนอ ยเพยี งใด ถา หากมเี วลานอ ยควรอา นเรื่องสนั้ ท่จี บได ทันเวลาที่มอี ยู ถา มเี วลามากก็อา นเร่ืองยาวขึน้ โดยเลือกใหเหมาะสมกบั เวลา เพราะการอาน หนงั สอื น้นั หากไมเลอื กใหเหมาะสมกับเวลาอาจทําใหผ ูอานรสู กึ เบอ่ื และไมอ ยากอา นอีกตอไป ประโยชนท่ไี ดร บั จากการอา นหนงั สอื การอานหนังสือยอ มไดร บั ประโยชนห ลายประการ ซ่งึ พอจะสรุปไดด งั น้ี 1. อานหนงั สอื ตรงกับความตองการของตน 2. ไดรับความรูจากเร่ืองนั้นสมความต้ังใจ 3. ทาํ ใหรกั การอานมากยิง่ ข้ึน เพราะไดอา นหนังสือท่ีตนเลือกเอง 4. ชวยพัฒนาอาชพี ใหก า วหนา 5. ชวยใหเ กิดความคิดสรา งสรรค 6. ทาํ ใหเ กดิ ความเพลดิ เพลนิ สนกุ สนาน 7. ทําใหท ราบความเปนไปของบานเมอื ง ทนั โลก ทนั เหตกุ ารณ 8. เพิม่ พนู ความรคู วามสามารถ เปนการพฒั นาตนเอง 9. ไดอ า นหนังสือที่มีคุณคาคุมกบั เวลาที่เสยี ไป สื่อสารสนเทศ ปจจุบนั ไดม ีการนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชป ระโยชนท างการศกึ ษา ท้ังในดา นการ บริหาร การจัดการและการเรยี นรดู า นสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส เปนการใชประโยชนจากแหลงความรู จากสอ่ื ตาง ๆ ทหี่ ลากหลายมากขนึ้ เพ่อื ใหป ระชาชนสามารถเรยี นรแู ละพัฒนาตนเองไดอยาง ตอ เนื่อง ส่อื สารสนเทศมีทง้ั สอื่ สิ่งพมิ พ และส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส

26 สือ่ สงิ่ พมิ พ ส่งิ พมิ พท จ่ี ดั พิมพข ้ึนเพ่อื นําไปใชในการจัดการเรียนการสอน เชน หนังสอื เรยี น ตําราเรียน แบบเรยี น แบบฝก หดั ใบงาน คมู อื การสอนและสงเสรมิ การเรียนรู เชน หนงั สอื สงเสรมิ ความรู สารานุกรม พจนานุกรม หนังสอื พมิ พ หนังสือบนั เทิงคดี และสารคดที ี่มเี นือ้ หา เปนประโยชน สวนสอื่ ส่ิงพิมพทใี่ หความรูขาวสารตาง ๆ เชน หนังสอื เลม หนงั สอื พิมพ วารสาร นติ ยสาร เอกสาร จุลสาร แผน พบั แผน เปลา เปนตน สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส สงั คมยุคปจจบุ ัน การสือ่ สารดวยเครอ่ื งมอื อเิ ลก็ ทรอนิกสมีใชก ันอยางกวา งขวางทั่วประเทศ การใชส ือ่ อิเล็กทรอนกิ สในสังคมยุคโลกาภิวัตนเปน เร่ืองจาํ เปน เพราะชว ยใหป ระชาชนเขาถงึ ขอมลู ขาวสารความรูตาง ๆ ไดอยา งรวดเรว็ อนั เปนการสงเสรมิ สรางโอกาสในการเขาถึง การศึกษาของประชาชน ใหส ามารถเรยี นไดอยางตอ เน่ืองตลอดชวี ิต สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส ไดแ ก วทิ ยุ โทรทัศน เทปเสยี ง วีดิทศั น โปรแกรมคอมพวิ เตอรซ อฟตแ วรใ นรปู แบบตาง ๆ คอมพิวเตอร ชว ยสอน เปนตน 1. วทิ ยุ เปน สอ่ื มวลชนท่ีใชเสียงเปนส่ือ เรอ่ื งราวทีส่ ่ือสารมที ง้ั เรื่องทใ่ี หความบนั เทงิ และเร่ืองที่ใหสาระความรู เชน ขาว บทความ รายการตอบปญหา สมั ภาษณบ คุ คลสําคญั รายการ วทิ ยุ เพ่ือการศึกษา เปน ตน 2. โทรทศั น เปน ส่ือมวลชนท่ใี ชท ้ังเสยี งและภาพเปนสื่อ การชมรายการทางโทรทัศน นอกจากเราจะสมั ผสั ดวยหูแลว ยังสัมผัสไดดว ยตาอีกดวย รายการโทรทศั นจ งึ นา สนใจกวา รายการวิทยุ และทําใหผ ูชมต่นื ตัวอยตู ลอดเวลา จึงประทับใจหรือจดจําไดด กี วา รายการวิทยุ 3. คอมพิวเตอรชว ยสอน เปนส่ือท่ผี ูเรยี นสามารถนาํ ไปศึกษาดว ยตนเองในเวลาและ สถานท่ที ่ผี เู รียนสะดวก ทําใหม ีความเปนอิสระ และเปนสวนตัวในการเรยี นรู สามารถโตตอบ หรือใหผ ลยอ นกลบั ไดท ันที ทาํ ใหผเู รยี นทราบความกาวหนา ในการเรียนของตนซึ่งหากไมเ ขาใจ กย็ อนกลบั ไปทบทวนไดหลาย ๆ ดา น ทําใหผเู รียนไดพัฒนาความรูตามความพรอมและศักยภาพ ของตน 4. อินเตอรเ น็ต (Internet) หรือเทคโนโลยเี ครือขายเปนการเชือ่ มโยงแหลง ขอมูล จากท่ัวโลกที่หลากหลายคลา ยกบั “หองสมดุ โลก” ใหผ เู รยี นไดคน ควา เนอื้ หาสาระที่ตอ งการได อยา งสะดวกรวดเร็วและราคาประหยัด

27 เรอ่ื งที่ 3 การอา นจับใจความสาํ คัญ การอา นจะเกิดประโยชนสงู สุดแกผ อู านไดนั้น ผอู านจะตองจบั ใจความสําคัญของเรื่อง ที่อา นใหไ ดแลว นาํ ไปปฏิบตั ิ ใจความสําคัญ หมายถงึ ขอ ความท่ีเปนแกนหรอื หัวใจของเรือ่ ง การจับใจความสําคญั ในการอานก็คือ กรณเี อาขอ ความหรือประโยคท่เี ปนหวั ใจของ เรอ่ื งน้นั ออกมาใหได เพราะใจความสําคัญของเรือ่ ง จะเปนใจความหลกั ของแตละบท แตล ะตอน หรอื แตละเร่อื งใหรวู าแตละบทตอนน้ันกลา วถึงเร่อื งอะไรเปนสาํ คญั ดงั นน้ั การจบั ใจความสาํ คญั ของเรอื่ งที่อาน จะทําใหม ีความเขาใจในเร่อื งนัน้ ๆ อยา งแจมแจง หลักการอา นจบั ใจความ 1. การเขาใจความหมาย หลักเบ้อื งตนในการจบั ใจความของสาระท่อี า น คอื การเขาใจความหมาย ความหมาย มหี ลายระดบั นับตง้ั แตร ะดบั คํา สํานวน ประโยค และขอ ความ คําและสํานวนเปนระดับภาษา ที่ตองทาํ ความเขา ใจเปนอันดับแรก เพราะนําไปสคู วามเขาใจความหมายของประโยคและขอความ 1.1 ความหมายของคํา ความหมายของคาํ โดยทว่ั ไปมี 2 อยา ง คอื ความหมายโดยตรง และความหมาย โดยนยั ก. ความหมายโดยตรง เปนความหมายตามรปู คําทกี่ าํ หนดข้ึน และรบั รไู ดเ ขาใจ ตรงกันความหมายประเภทนเ้ี ปนความหมายหลักท่ใี ชส่อื สารทาํ ความเขา ใจกัน คาํ ที่มคี วามหมายโดยตรงในภาษาไทยมีลักษณะอยา งหนงึ่ ที่อาจเปนอปุ สรรค ในการส่อื สารลักษณะดงั กลาว คือ การพอ งคํา คาํ พอ งในภาษาไทยมีอยู 3 อยา ง ไดแก คาํ พองรูป คาํ พอ งเสียง และคาํ พอ งรปู พอ งเสียง คําท่ีพองท้งั 3 ลกั ษณะน้มี ีความหมายตา งกนั คําพอ งรปู คอื คําทีส่ ะกดเหมือน แตอ อกเสียงตาง เชน เพลารถ กับ เพลาเยน็ คาํ แรก ออกเสียง เพลา คําหลังออกเสยี ง เพ ลา คําพอ งรปู เปน อุปสรรคตอ การอานและทํา ความเขาใจ คาํ พอ งเสียง คอื คําทอ่ี อกเสยี งเหมอื นกัน แตส ะกดตางกนั เชน การ กาน กานต กานท กาล กาฬ กาญจน ทง้ั หมดนอ้ี อกเสยี ง “กาน” เหมือนกัน การพอ งเสียงเปนอปุ สรรค ตอ การอา นเพ่ือความเขา ใจ คําพอ งรปู พอ งเสียง คอื คําทส่ี ะกดเหมอื นกันและออกเสียงอยา งเดียวกัน โดย รูปคําจะเห็นวา เปนคําเดียวกัน แตมคี วามหมายแตกตางกัน

28 คําพอ งรูป พองเสียงเปน อุปสรรคตอ การฟงและอานเพื่อความเขาใจ วิธีทจ่ี ะชว ยให เขา ใจความหมายของคาํ พอ ง จะตอ งดูคาํ ขา งเคียงหรือคาํ ทปี่ ระกอบกนั ในประโยค หรอื ขอ ความ นนั้ ท่เี รียกวา บรบิ ท ดังตัวอยางตอไปน้ี ขนั ชะเนาะใหแ นน หยิบขนั ใหท ีซิ เขารูส ึกขัน ไกข นั แตเ ชา มดื เขาขันอาสาจะไปติดตอให 1.2 ความหมายของสํานวน สาํ นวนเปนขอ ความที่มีความหมายพเิ ศษไปจากคําทปี่ ระกอบอยใู นขอความน้ัน ไมไดมีความหมายตามรูปคาํ ความหมายของสาํ นวนมลี ักษณะเปนเชงิ เปรยี บเทียบโดยอาศัยนัย ของความหมายตามลกั ษณะหรอื คณุ สมบัติของขอความน้นั เชน ออ ยเขา ปากชา ง หมายถึง ของตกไปอยใู นมอื ผอู ื่นแลวไมมีทางไดค ืน ไกแ กแ มป ลาชอ น หมายถงึ ผูท ่ีมคี วามจดั จา นเจนสังเวียน ววั หายลอ มคอก หมายถึง เมื่อเกิดความเสยี หายแลวจงึ หาทางปองกัน กินขาวตม กระโจมกลาง หมายถงึ การพูดถึงส่งิ สุดวิสยั ทจี่ ะทําได สว นตา ง ๆ ที่นาํ ไปกลาวเปรยี บเทียบใหเขา กับสถานการณ เรยี กวา คําพงั เพย เชน เม่ือของหายแลวจึงคิดหาทางปอ งกัน ก็เปรียบวา วัวหายลอ มคอก เปนตน ความหมายของสาํ นวนมลี กั ษณะเหมอื นความหมายโดยนยั คอื ตอ งตคี วาม หรอื แปลความหมายตามนัยของคําหรอื ขอความนั้น ๆ 2. การเขาใจลักษณะของขอ ความ ขอความแตล ะขอ ความตอ งมใี จความอนั เปนจดุ สําคญั ของเร่ือง ใจความของเรื่องจะ ปรากฏทีป่ ระโยคสาํ คญั เรยี กวา ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยใู นตอนใดของ ขอความก็ได 3. การเขาใจลักษณะประโยคใจความ เมอื่ เขาใจถงึ ลกั ษณะของขอ ความวาตอ งมีประโยคใจความ และปรากฏอยูในตอนตา ง ๆ ของขอ ความแลว ตองเขา ใจตอไปวาประโยคใจความเปนอยางไร ประโยคใจความ คือ ขอความทเ่ี ปนความคดิ หลักของหวั ขอ หรอื เรื่องของขอ ความน้ัน

29 ความคดิ หลักนี้ คอื ประโยคใจความทีจ่ ะปรากฏในตอนใดตอนหนึง่ ของขอความท่ีกลาว แลว ฉะน้นั การที่จะทราบวาประโยคใดเปนประโยคใจความ ตอ งพจิ ารณาจากหัวเร่ือง ประโยค ใจความมกั มีเนอ้ื หาสอดคลองกบั หวั เร่ือง ในกรณีที่ไมทราบหัวขอเรอื่ ง ตอ งเขา ใจวา สว นทเ่ี ปน ประโยคใจความนัน้ จะมเี นอ้ื ความ หลักของเน้อื ความอื่นทปี่ ระกอบกันขน้ึ เปนหัวขอ น้ัน ถาขาดสว นที่เปนใจความ เน้ือความอ่ืนก็ เกิดขน้ึ ไมไ ดหรือความหมายออ นลง การอานอยา งวเิ คราะห การอา นอยางวิเคราะห หมายถงึ การอา นทมี่ ีการพิจารณาแยกรายละเอียดออกเปนสว น ๆ เพอื่ ทาํ ความเขา ใจ และใหเ หน็ ถงึ ความสัมพนั ธระหวา งสวนตาง ๆ เหลาน้ัน การอานอยางวเิ คราะหเริ่มตนจากพ้ืนฐานขอมลู และความคดิ จากการอา นเองเปนอันดับแรก เพ่อื ใหเขาใจเน้อื เรื่องโดยตลอด ตอจากนน้ั จึงแยกเรือ่ งในบทอานออกเปน สว น ๆ ไดร ูว า ใครทํา อะไร เพ่ืออะไร อยา งไร ในเร่ืองมใี ครบาง หรอื ตวั ละครกี่ตวั และท่ีมีบทบาทสําคญั มีกี่ตัว ทาํ ไม เหตกุ ารณจ งึ เปนอยางนน้ั หรือเพราะเหตใุ ด ตอ ไปนาจะเปน อยา งไร เรื่องที่ 4 มารยาทในการอานและนิสยั รักการอาน การอา นอยา งมีมารยาทเปนเรอื่ งที่จําเปนและสาํ คัญ เพราะการอา นอยา งมมี ารยาท เปน เรอื่ งการประพฤตปิ ฏบิ ัตอิ ยางมีวินยั และรับผดิ ชอบ รวมทั้งการมจี ติ สํานกึ และแสดงถึง ความเจรญิ ทางดา นจิตใจทคี่ วรยึดถือใหเปนนสิ ยั มารยาทในการอาน คาํ วา มารยาท หมายถึง กิรยิ า วาจาท่เี รียบรอ ย หรือการกระทาํ ท่ดี งี าม ผูอานทดี่ ตี อ ง มมี ารยาทที่ดใี นการอานดงั ตอ ไปน้ี 1. ไมสงเสยี งดังรบกวนผูอ่ืน 2. ไมทาํ ลายหนงั สอื โดย ขดู ลบ ขีด ทบั หรอื ฉีกสว นที่ตอ งการ 3. เมอื่ คัดลอกเนอ้ื หาเพอ่ื อา งองิ ในขอเขยี นของตน ตองอา งอิงแหลง ท่ีมาใหถูกตองตาม หลักการเขียนอา งองิ โดยเฉพาะงานเขียนเชิงวิชาการ 4. เม่อื อา นหนงั สอื เสร็จแลว ควรเก็บหนงั สอื ไวที่เดมิ 5. ไมควรอา นเรอ่ื งทีเ่ ปนสวนตัวของผอู น่ื 6. อานอยา งตง้ั ใจ และมีสมาธิ รวมท้งั ไมทําลายสมาธิผูอน่ื 7. ไมใ ชสถานท่อี า นหนงั สือทาํ กิจกรรมอยา งอืน่ เชน นอนหลบั รบั ประทานอาหาร

30 นิสยั รกั การอาน การทีบ่ ุคคลใดบุคคลหนึ่งจะมนี ิสยั รกั การอานไดจะตองไดรบั การฝกฝนมาตงั้ แตเดก็ ๆ แตก ็มิใชว า เม่อื โตเปน ผใู หญแ ลวจะไมส ามารถสรา งนสิ ัยรักการอา นได ทั้งน้เี ราจะตองสรา ง บรรยากาศ สภาพแวดลอ มทเี่ อื้อใหเด็ก ๆ หนั มาสนใจการอา นดงั นี้ 1. อานหนงั สือท่ีตนเองชอบ จะทาํ ใหอานไดอ ยา งตอเนอ่ื ง และไมเ บือ่ หนา ย 2. ทาํ ตนใหเปนผูใ ฝรู 3. การอานจะตอ งมีสมาธิเพ่อื จบั ใจความของเร่ืองทอ่ี านได 4. เรม่ิ อานหนงั สอื จากระยะเวลาสั้น ๆ กอ น แลวคอย ๆ กาํ หนดเวลาเพ่ิมขึน้ 5. การอา นจะตองมีสมาธเิ พื่อจบั ใจความของเรอื่ งท่อี านได 6. จัดตารางเวลาสําหรบั การอา นหนงั สอื เปนประจําทกุ วันใหเกดิ ความเคยชนิ จนเกิด เปนนิสยั รักการอา น

31 กจิ กรรมทายบทที่ 3 การอา นบทรอยกรอง (10 คะแนน) - ผูส อนอา นทํานองเสนาะและใหผเู รยี นตอบวา เปน ลกั ษณะคาํ ประพันธป ระเภทใด - ผูสอนแจกทํานองเสนาะแกผูเรียนตามกลุม และใหผูเรียนอานทํานองเสนาะ และ อธบิ ายถงึ ลักษณะการเขยี น - ผูสอนสรปุ หลักการอา นทํานองเสนาะ กลอนสภุ าพ/กลอนแปด สรวงสวรรคชน้ั กวรี จุ ีรตั น ผอ งประภศั รพ ลอยหางพราวเวหา พรง้ิ ไพเราะเสนาะกรรณวัณณนา สมสมญาแหงสวรรคชัน้ กวี อมิ่ อารมณช มสถานวิมานมาศ อนั โอภาสแผผ ายพรายรังสี รศั มมี ีเสียงเพยี งดนตรี ประทปี ทฆี รัสสะจังหวะโยน ระเมยี รไมใ บโบกสโุ นกเกาะ สดุ เสนาะเสียงนกซง่ึ ผกโผน โผตน น้นั ผันตนไปตนโนน จังหวะโจนสงจับริมกนั ไป เมืองใดไมม ีทหาร กลอนหก เมอื งใดไรจ อมพารา เมอื งนั้นไมน านเปน ขา เมืองใดไมม พี าณิชเลศิ เมอื งน้ันไมชา อบั จน เมอื งใดไรศลิ ปโสภณ เมืองนน้ั ยอ มเกิดขดั สน เมืองนน้ั ไมพ น เสื่อมทราม

32 โคลงสสี่ ุภาพ จากนามาลิ่วล้ํา ลาํ บาง บางย่ีเรือราพลาง พ่พี รอ ง เรือแผงชว ยพานาง เมย่ี งมาน นานา บางบรบั คาํ คลอ ง คลาวนาํ้ ตาคลอ

33 บทท่ี 4 การเขียน เรอื่ งที่ 1 หลักการเขยี นและการใชภ าษาเขยี น หลกั การเขียน การเขยี น คือ การแสดงความรู ความคิด อารมณความรสู ึกและความตองการของผสู งสาร ออกมาเปน ลายลักษณอ ักษร เพอ่ื ใหผ รู ับสารอานเขา ใจ ไดร ับความรู ความคดิ อารมณ ความรสู ึก และความตอ งการตา ง ๆ การเขียนเพอื่ สื่อความหมาย ใหผอู นื่ เขา ใจน้ัน ควรใชถอยคาํ ที่คนอา นอานแลวเขา ใจทนั ที เขยี นดวยลายมือทชี่ ัดเจน อานงา ย ใชภ าษาใหถกู ตองตามหลกั การเขียนใชคาํ เหมาะสมกับ กาลเทศะและบคุ คล หลกั การเขยี นท่ดี คี วรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. เขียนชัดเจน อานงายเปนระเบียบ 2. เขียนใหถ ูกตอง ตรงตามตวั สะกด การันต วรรณยุกต 3. ใชถอ ยคําสภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ และบุคคล 4. ใชภ าษาทง่ี าย ๆ ส้ัน ๆ กะทดั รัด ส่ือความหมายเขาใจไดด ี 5. ใชภ าษาเขียนทีด่ ี ไมควรใชภาษาพูด 6. ใชเคร่ืองหมายวรรคตอนใหถกู ตอง 7. ตองเขียนใหส ะอาด การใชภาษาในการเขยี น 1. เขยี นใหอา นงาย เขาใจงาย 2. เขยี นตรงตามตัวสะกด การันต วรรณยกุ ตใหถูกตอ ง 3. เขยี นใหไ ดใจความชดั เจน 4. ใชภาษางาย ๆ สั้น กะทัดรัด 5. ใชภ าษาใหถูกตอ งตามแบบแผน ไมควรใชคาํ หรอื สํานวนมาปะปนกบั ภาษา ตางประเทศ 6. ใชถอ ยคําทีส่ ภุ าพไพเราะเหมาะสม

34 ความสาํ คัญของการเขียน 1. เปน การส่ือสารท่จี ะแจงใหผ อู ืน่ ไดท ํางานหรอื ปฏิบัตติ าม 2. เปน การเผยแพรความรูใ หผ ูอ่ืนไดทราบ และนําไปใชป ระโยชน 3. เปน การบันทึกสาระสาํ คญั เพื่อเปน หลักฐานและนาํ ไปใชประโยชน 4. เปนการเขยี นท่สี ามารถนาํ ไปประกอบอาชพี ได เชน การเขยี นขาว การเขยี นนวนยิ าย หรือเขียนบทละคร เปนตน เร่อื งท่ี 2 หลักการเขยี นแผนภาพความคิด แผนภาพความคดิ เปนการแสดงความรู ความคดิ โดยใชแ ผนภาพในการนาํ ความรูห รือ ขอเท็จจรงิ มาจดั เปนระบบ สรา งเปนภาพหรือจัดความคิดรวบยอด นาํ หวั ขอ เร่อื งใดเรือ่ งหน่ึง มาแยกเปนหวั ขอยอยและนาํ มาจัดลาํ ดบั เปนแผนภาพ แนวคดิ เก่ียวกบั แผนภาพความคดิ 1. ใชแ ผนภาพความคิด เมือ่ พบวาขอ มลู ขา วสารตาง ๆ อยกู ระจดั กระจายนําขอ มลู นนั้ มา เชื่อมโยงเปนแผนภาพความคดิ ทําใหเกิดความเขาใจเปนความคดิ รวบยอด 2. แผนภาพความคิด จะจดั ความคิดใหเ ปน ระบบรวบรวมและจัดลาํ ดับขอ เท็จจรงิ นาํ มา จัดใหเ ปนหมวดหมู เปน แผนภาพความคดิ รวบยอดท่ีชดั เจนจนเกิดความรใู หม 3. นาํ ความคิดหรอื ขอเทจ็ จรงิ มาเขยี นเปนแผนภาพ จะทําใหจาํ เรอ่ื งราวตาง ๆ ไดงา ยขน้ึ 4. แผนภาพความคิดจะใชภ าษาผงั ที่เปนสญั ลักษณแ ละคําพูดมาสรา งแผนภาพทาํ ใหเกดิ การเรยี นรดู วยตนเอง รปู แบบของแผนภาพความคิดมี 4 รปู แบบ คือ 1. รูปแบบการจัดกลุม รปู แบบนจ้ี ะยึดความคิดเปน สําคญั และจดั กลุมตามลําดบั ความคดิ รวบยอดยอ ยเปนแผนภาพ ดงั ตวั อยาง

35 2. รูปแบบความคดิ รวบยอด รูปแบบนี้จะมคี วามคิดหลักและมีขอ เท็จจรงิ ท่จี ดั แบงเปน ระดบั ชั้นมาสนบั สนุนความคิดหลกั การจัดความคิด

36 3. รูปแบบการจัดลาํ ดบั จัดลําดบั ตามเหตกุ ารณ การจัดลาํ ดบั ตามกาลเวลา การจดั ลาํ ดับ การกระทํากอ นหลงั หรือการจดั ลาํ ดับตามกระบวนการมีการเร่ิมตน และการส้ินสุด

37 4. รูปแบบวงกลม รูปแบบนี้เปน ชดุ เหตกุ ารณภายใตกระบวนการไมม ีจดุ เริ่มตน และ จดุ สิน้ สุดแตเ ปน เหตกุ ารณท่ีเปนลาํ ดับตอเนื่องกัน ดงั ตัวอยาง แผนภาพวงกลม

38 ประโยชนของแผนภาพความคิด 1. ชวยบูรณาการความรเู ดมิ กับความรใู หม 2. ชว ยพัฒนาความคดิ รวบยอดใหชัดเจนขึ้น 3. ชว ยเนน องคประกอบลําดบั ของเรื่อง 4. ชว ยพัฒนาการอาน การเขยี นและการคิด 5. ชวยวางแผนในการเขียน และการปรบั ปรงุ การเขยี น 6. ชวยวางแผนการสอนของครู โดยการสอนแบบบูรณาการเนื้อหา 7. ชว ยในการอภปิ ราย 8. เปน เคร่ืองมือประเมินผล วิธกี ารสรางแผนภาพความคดิ การสรา งแผนภาพความคดิ หรอื การออกแบบแผนภาพความคดิ เปนการสรางสรรค อยางหนึ่ง ผูส รางแผนภาพความคิดอาจใชงานศิลปะเขามาชว ย โดยวาดภาพประกอบใหแผนภาพ ความคดิ นาสนใจและทาํ ใหเห็นภาพของแผนภาพชัดเจนขน้ึ การสรางแผนภาพความคดิ จะนาํ มาใช ในการทํางานรว มกนั รวมคิดรวมทํา รว มกันแลกเปลี่ยนความรูแ ละประสบการณทําใหผ ูเรียนรูจัก การวางแผนงาน การกําหนดงานท่จี ะตอ งปฏบิ ตั ิ และเรยี นรูการทํางานรวมกับผอู น่ื ขัน้ ตอนการสรา งแผนภาพความคดิ มีดังน้ี 1. กําหนดชือ่ เรอ่ื ง หรือความคิดรวบยอดสาํ คัญ 2. ระดมสมองทเี่ กยี่ วขอ งกบั ช่ือเร่ือง หรือ ความคดิ รวบยอดสาํ คญั เปน คําหรอื วลนี ้นั ๆ แลวจดบันทึกไว 3. นําคําหรือวลที ี่จดบนั ทึกทเี่ กยี่ วเน่ืองสัมพันธกนั มาจดั กลุม แลว ตั้งชอ่ื กลุมคาํ เปน หัวขอยอย และเรยี งลาํ ดบั กลุมคาํ 4. ออกแบบแผนภาพความคิด โดยเขียนชอ่ื เร่อื งไวกลางหนากระดาษ แลววางชอ่ื กลุมคํา หัวขอยอย รอบชอ่ื เรื่อง นาํ คาํ ท่สี นับสนุนวางรอบชื่อกลมุ คํา แลวใชเ สน โยงกลมุ คําใหเห็น ความสมั พนั ธ เสน โยงอาจเขยี นคาํ อธบิ ายได กลมุ คาํ อาจแสดงดวยภาพประกอบ เร่อื งท่ี 3 การแตงรอ ยกรอง คาํ ประพันธ หรือรอ ยกรอง คือ การเรียงถอ ยรอยคาํ ตามระเบียบขอบังคับตามฉนั ทลกั ษณ มีหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท

39 การแตง กลอน คําประพนั ธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกชอื่ ตา ง ๆ ตาม ลักษณะฉนั ทลักษณท่ีแตกตา งกนั นัน้ ๆ เชน กลอนสี่ กลอนหา กลอนหก กลอนแปด กลอน ส่ี กลอน สี่ มี 2 แบบ คอื กลอนสี่ เปน คาํ ประเภทกลอนใน 1 บท มี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคละ 4 คาํ ตาม หลกั ฐานทางวรรณคดไี ทย กลอน สี่ ท่ีเกา ทส่ี ดุ พบในมหาชาตคิ ําหลวงกณั ฑมหาพน (สมัยอยุธยา) ตวั อยางกลอนสี่ มี 2 แบบคอื กลอน สี่ แบบ 1 ประกอบดวย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามผังตัวอยางน้ี การสมั ผสั ของกลอนส่จี ะสัมผสั แบบกลอนท่วั ไป คอื คาํ สดุ ทา ย วรรคหนาสัมผัสกบั คําที่สองของ วรรคหลัง และคาํ สดุ ทา ยวรรคทสี่ องสมั ผัสกบั คําสดุ ทา ยวรรคทสี่ าม สว นสมั ผสั ระหวา งบทก็ เชนเดยี วกนั คอื คาํ สุดทายวรรคของบทแรก สัมผสั กบั คําสดุ ทา ยของวรรคทส่ี องของบทถัดไป กลอน สี่ แบบ 2 บทหนงึ่ ประกอบดว ย 4 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คาํ ตามผังตัวอยาง สัมผสั นอกในทกุ บาท คําสุดทายของวรรคหนา สัมผัสกับคาํ ท่ีสองของวรรคหลงั มีสัมผสั ระหวางบาททส่ี องกบั สาม คอื คําสุดทายวรรคทส่ี ี่สมั ผสั กบั คาํ สุดทา ยวรรคที่หก สว นสัมผสั ระหวางบทนั้นจะแตกตา งจากแบบแรกเนอ่ื งจากใหค ําสดุ ทา ยของบทแรกสัมผัสกบั คําสดุ ทาย ของวรรคทีส่ ข่ี องบทถัดไป

40 ตัวอยา งกลอนส่ี ลอยเดนบนฟา ดวงจันทรว ันเพญ็ พาใจหฤหรรษ มาเลนรว มกัน แสงนวลเย็นตา บันเทงิ เริงใจ ชกั ชวนเพ่อื นยา เดก็ นอยสุขสนั ต กลอนแปด (กลอนสภุ าพ) กลอนแปด เปนคําประพันธท ่ีไดรบั ความนยิ มกนั ท่วั ไป เพราะเปน รอ ยกรองชนิดท่ีมี ความเรียบงายตอ การสอ่ื ความหมาย และสามารถส่อื ไดอยางไพเราะ ซ่งึ กลอนแปดมกี าร กําหนดพยางคและสัมผสั ลกั ษณะคําประพนั ธของกลอนแปด 1. บท บทหน่งึ มี 4 วรรค วรรคที่หนึ่งเรยี กวาวรรคสดบั วรรคที่สองเรียกวรรครับ วรรคที่สามเรยี กวรรครอง วรรคท่ีส่ีเรยี กวรรคสง แตละวรรคมแี ปดคาํ จงึ เรยี กวากลอนแปด 2. เสียงคํา กลอนแปดและกลอนทุกประเภทจะกาํ หนดเสียงทายวรรคเปน สาํ คัญโดยกาํ หนดดงั นี้ คาํ ทา ยวรรคสดับ กาํ หนดใหใชไดท กุ เสียง คําทายวรรครบั กําหนดหา มใชเ สยี งสามัญและตรี คําทา ยวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี คาํ ทา ยวรรคสง กาํ หนดใหใ ชไดเฉพาะเสียงสามญั และตรี 3. สัมผสั ก. สมั ผสั นอก หรอื สัมผัสระหวางวรรค เปนสมั ผสั บงั คบั มีดงั น้ี คําสดุ ทายของวรรคท่หี นงึ่ (วรรคสดับ) สมั ผสั กบั คาํ ท่ีสามหรือท่ีหา ของวรรคที่สอง (วรรครับ) คําสดุ ทา ยของวรรคทส่ี อง (วรรครับ) สมั ผัสกับคาํ สุดทา ยของวรรคที่สาม (วรรครอง) และคําท่สี ามหรือคาํ ทห่ี าของวรรคทีส่ ี่ (วรรคสง ) สัมผสั ระหวา งบท ของกลอนแปด คือ คาํ สดุ ทา ยของวรรคที่ส่ี (วรรคสง ) เปนคาํ สงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตอ งรบั สมั ผสั ท่ี คําสุดทายของวรรคที่สอง (วรรครบั ) ข. สมั ผสั ใน แตละวรรคของกลอนแปด แบงชว งจงั หวะออกเปน สามชวงดังนี้

41 อนั กลอนแปด แปดคํา ประจําวรรค วางเปน หลัก อักษร สุนทรศรี เรือ่ งที่ 4 การเขยี นสื่อสาร การเขียนสื่อสาร หมายถึง การเขยี นท่ผี ูอ่นื อานแลว ไดค วามตามจุดมงุ หมายของผูเขียน เชน 1. การเขยี นประวตั ติ นเอง การเขียนประวตั ิตนเองเปนการเขยี นขอ ความเพือ่ แสดงตนใหผูอ่นื รจู กั รายละเอียดเกย่ี วกับ เจาของประวัติ โดยมแี นวการเขยี นดงั นี้ ประวตั ติ นเอง ชื่อ ______________________________ นามสกลุ _______________________ เกิดวันท่ี __________ เดอื น _________________ พ.ศ. _________ อายุ _________ สถานภาพสมรส ________ อาชพี _____________________ ท่ีอยู _______________________________________________________________ ___________________________________________________________________ สถานท่ีทํางาน ________________________________________________________ ประวตั การศึกษา ______________________________________________________ ___________________________________________________________________ ประสบการณใ นการทาํ งาน ______________________________________________ __________________________________________________________________ ความรคู วามสามารถพิเศษ ______________________________________________ __________________________________________________________________ 2. การเขยี นเรยี งความ การเขียนเรยี งความ คอื การนาํ คํามาประกอบแตง เปนเรือ่ งราว เปนการแสดงออกทาง ความคิดและประสบการณข องผูเ ขยี นเพอ่ื ใหผูอื่นทราบ

42 องคป ระกอบของการเขยี นเรียงความ การเขียนเรยี งความประกอบดว ย 3 สวนคอื 1. คํานํา เปนการเรม่ิ ตนของเรยี งความที่เปน สว นดงึ ดูดใจ ใหผอู า นสนใจ 2. เน้อื เรื่อง เปนเนอ้ื หาสาระของเรียงความทงั้ เรอื่ ง 3. บทสรุป เปนการสรุปแกนของเรื่อง ไมควรจะยาวมาก 3. การเขยี นยอความ การยอ ความ คอื การนําเรือ่ งราวตา ง ๆ มาเขียนใหมดวยสาํ นวนภาษาของผูยอเอง เม่อื เขยี นแลวเนอ้ื ความเดิมจะสัน้ ลง แตยงั มใี จความสําคญั ครบถวนสมบรู ณ ใจความสาํ คญั คอื ขอความสาํ คญั ในการพดู หรอื การเขยี นทเ่ี ปนรายละเอยี ด นาํ มาขยาย ใจความสําคัญใหชัดเจนยิ่งข้ึน ถาตัดออกผฟู ง หรอื ผอู านกย็ งั เขาใจเรื่องนั้นได หลกั การยอ ความ 1. อานเนื้อเรอ่ื งท่จี ะยอใหเขา ใจ 2. จบั ใจความสําคัญทจี่ ะยอหนา 3. นาํ ใจความสาํ คญั แตละยอหนา มาเขียนใหมดว ยภาษาของตนเอง โดยตอ งคาํ นงึ ถึง สิง่ ตาง ๆ ดังนี้ 3.1 ไมใชอ ักษรยอ ในขอความท่ียอ 3.2 ถามรี าชาศพั ท ใหคงไวไมต อ งแปล 3.3 ไมใ ชเครื่องหมายตา ง ๆ ในขอความที่ยอ 3.4 เนือ้ เรื่องทย่ี อ แลว เขยี นติดตอกนั ในยอ หนาเดียวควรมคี วามยาวประมาณ 1 ใน 4 ของเรื่องเดิม 4. การเขียนขาว การเขยี นขาว ประกาศและแจง ความ เปนสว นหนง่ึ ของจดหมายราชการหรือหนงั สือ ราชการ ซ่งึ เปนหนังสือท่ีใชติดตอกนั ระหวางเจา หนาทีข่ องรัฐกับบุคคลภายนอกดวยเร่ือง เกย่ี วกบั ราชการ การเขียนขาว ประกาศ และแจง ความ จดั อยูในจดหมายราชการประเภทหนังสอื สงั่ การ และโฆษณา ซ่ึงประกอบดวย ขอ บังคับ ระเบยี บ คําสั่ง คาํ แนะนาํ คําช้แี จง ประกาศ แจงความ แถลงการณ และขาว ซง่ึ จะยกตัวอยา งในการเขียนขา วดงั น้ี การเขียนขาว คอื บรรดาขอ ความที่ทางราชการเหน็ สมควรเปดเผย เพ่ือแจง เหตกุ ารณ ท่นี า สนใจใหท ราบ

43 รูปแบบการเขียนขาว ขา ว ..................................... ช่ือสว นราชการท่อี อกขาว .................................................. เรอ่ื ง ........................................................................ ขอความทเี่ ปนขา ว .......................................................................................................... .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... สวนราชการเจา หนา ที่ วนั เดอื น ป เรือ่ งท่ี 5 การเขียนรายงาน การคน ควาและอางอิงความรู การเขยี นรายงานการคนควา การเขยี นรายงานเปนการเขียนผลการศึกษาจากการคนควา เพื่อนาํ เสนอผบู ังคับบญั ชา หรอื ผสู อน หลกั การเขยี นรายงาน 1. ขอ มลู ท่ีเขยี นตองเปนความจรงิ 2. ขอมลู ทนี่ ํามาจากผูรูอื่นตอ งเขียนเปน เชงิ อรรถและบรรณานกุ รม 3. เขยี นเปนทางการ ใชภาษาถกู ตอ ง และชัดเจน สวนประกอบของรายงาน 1. ปกหนา ประกอบดว ยชอ่ื เรอ่ื ง ชอ่ื ผเู ขียน และนําเสนอผูใด 2. คาํ นาํ เปนความเรยี งมี 3 สวน คือ ความเปนมาและวตั ถุประสงค สาระของรายงาน ประโยชนท ี่ไดรบั และขอบคุณผมู ีสวนชวยเหลือ 3. สารบัญ 4. เนอ้ื หาสาระ 5. บรรณานกุ รม การเขียนอางอิงความรู การเขียนอา งอิงความรู หมายถงึ การเขยี นเชิงอรรถและบรรณานกุ รม 1. เชงิ อรรถ

44 เชงิ อรรถเปน ชอื่ ผเู ขยี น ปท ่พี ิมพและเลขหนา หนงั สือท่นี าํ ไปใชประกอบการเขียน เชน อุทัย ศิรศิ ักดิ์ (2550, หนา 16) การฟง หมายถึง การรับสารและตคี วามสารทไี่ ดย นิ หรอื อา น การเขยี นอางองิ ลักษณะน้ีจะไมไ ดเขยี นชอ่ื หนงั สือ ชื่อหนังสอื จะเขียนในหนาบรรณานกุ รม 2. บรรณานกุ รม บรรณานุกรม ประกอบดว ยรายชอื่ หนังสอื ทใ่ี ชป ระกอบการเขยี น โดยจะตองเขยี น เรยี งตามตวั อักษรช่อื ผูแตง โดยเขียนชือ่ ผูแ ตง ชอื่ หนังสอื ช่อื สถานทพี่ มิ พ ชอื่ โรงพิมพแ ละปท พ่ี ิมพ เชน กนกอร ทองคํา. การใชภาษาไทย, กรงุ เทพฯ: ไทยวิวัฒน, 2549 ศิริอร ทองคําไพ. หลักการใชภาษา, นนทบรุ ี: ไทยเจรญิ , 2550 เรอ่ื งที่ 6 การกรอกแบบรายงาน การกรอกแบบรายงาน เปนการกรอกแบบฟอรมของหนวยราชการหรอื หนวยงานตาง ๆ ทีใ่ หก รอก เพอื่ แสดงขอ มลู ทีห่ นวยงานน้ัน ๆ ตองการทราบ เชน การกรอกใบสมคั รเรียน การ กรอกแบบฟอรมธนาณตั ิ แบบฟอรมฝากเงิน เปนตน หลักการกรอกแบบรายการ 1. อา นขอ ความในแบบรายการนนั้ ๆ ใหเ ขา ใจกอ นจะเขียนขอความ 2. เขียนใหถ ูกตอ งและสะอาด 3. กรอกขอความตามความจรงิ 4. ใชถ อยคําส้นั ๆ และกะทัดรัด 5. ปฏบิ ตั ิตามขอ บังคบั หรอื คําแนะนําของแบบรายการน้นั ๆ แบบรายการทใี่ ชใ นชวี ิตประจําวนั 1. แบบฟอรม ธนาณัติ 2. แบบฟอรม สง พัสดุทางไปรษณีย 3. แบบฟอรมสมัครงาน 4. แบบฟอรมคาํ รอง 5. แบบฟอรม สญั ญา 6. แบบฟอรม ฝากเงนิ ถอนเงินของสถาบันการเงิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook