Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ ประถม พว11001

วิทยาศาสตร์ ประถม พว11001

Published by กศน.ตำบลบางใหญ่, 2020-06-26 09:40:28

Description: วิทยาศาสตร์ ประถม พว11001

Search

Read the Text Version

2 เอกสารสรุปเนอ้ื หาทต่ี อ งรู รายวิชาวิทยาศาสตร ระดบั ประถมศึกษา รหสั พว11001 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร หา มจําหนาย หนงั สือเรียนนีจ้ ดั พมิ พด ว ยเงนิ งบประมาณแผนดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธเิ์ ปนของสาํ นักงาน กศน.สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

3

สารบัญ 4 คํานาํ หนา คําแนะนําการใชเอกสารสรปุ เนือ้ หาทต่ี อ งรู บทท่ี 1 ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร 1 บทท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร 4 บทที่ 3 ส่งิ มชี ีวิต 5 บทที่ 4 ระบบนิเวศ 12 บทที่ 5 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มในทองถน่ิ 17 บทท่ี 6 ปรากฎการณท างธรรมชาติ 25 บทท่ี 7 สารและสมบัตขิ องสาร 31 บทท่ี 8 การแยกสาร 35 บทท่ี 9 สารในชีวติ ประจาํ วัน 39 บทที่ 10 แรงและการเคล่ือนทีข่ องแรง 43 บทที่ 11 พลงั งานในชีวิตประจําวนั และการอนุรกั ษพ ลงั งาน 47 บทที่ 12 ความสัมพันธร ะหวา งดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร 51 บทที่ 13 อาชีพชา งไฟฟา 53 กจิ กรรมทายเลม 59 บรรณานกุ รม 83 คณะผูจัดทาํ 84

1 คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเน้อื หาท่ีตองรู หนังสือเรียนสรุปเน้ือหา รายวิชาแบบเรียน กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหนังสือสรุปเนื้อหาที่จัดทําข้ึน เพื่อใหผูเรียนที่เปน นักศึกษา กศน. สามารถทําความเขาใจ และเรียนรูในสาระสําคัญของเนื้อหารายวิชาสําคัญ ๆ ไดส ะดวก และสามารถเขาถงึ แกนของเนื้อหาไดดีขนึ้ ในการศึกษาหนังสือสรปุ เน้อื หารายวิชา ผูเรียนควรปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาจากหนังสือใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง และขอบขา ยเนอ้ื หาของรายวชิ านนั้ ๆ เขา ใจกอน 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนอื้ หาของหนังสือสรปุ เนอื้ หาหนงั สอื เรยี นเลม นี้ โดยศึกษาแตละบท อยา งละเอยี ด ทําแบบฝกหดั หรอื กิจกรรมตามทีก่ าํ หนด และทําความเขาใจในเน้ือหาใหมใหเขาใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเรอื่ งตอ ๆ ไป 3. หากตอ งการศึกษา รายละเอียดเนื้อหาเพ่ิมเติมจากหนังสือสรุปเนื้อหาหนังสือเรียนน้ี ใหผ เู รียนศึกษาเพ่มิ เตมิ จากหนงั สอื เรยี น หรอื ครูผูสอนของทาน

1 บทที่ 1 ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร วทิ ยาศาสตรค ืออะไร วิทยาศาสตร คอื การศกึ ษาหาความรเู รอ่ื งราวหรือปรากฏการณธ รรมชาติ อยา งมรี ะบบ ขน้ั ตอนโดยใชก ระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร วทิ ยาศาสตร มีความสาํ คัญอยา งไร วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญในการดําเนินชีวิต และมีนําความรูทางวิทยาศาสตรมาใชใหเกิด เทคโนโลยีสมยั ใหม และอํานวยความสะดวกมากมายแกมนุษย เชน ดานการสื่อสาร ปจจุบันที่ใชกนั ทั่วไป คือ โทรศัพทม ือถอื ดา นเทคโนโลยีทางการแพทย ปจจุบนั ท่ใี ชค อื เครื่องเอกซเ รยคอมพิวเตอร เปน ตน กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร หมายถึงอะไร กระบวนการทางวิทยาศาสตร หมายถงึ ขน้ั ตอนการเสาะหาความรอู ยา งมเี หตมุ ผี ล มขี นั้ ตอน อยา งเปน ระบบ มี 5 ขัน้ ตอน คอื 1. ขน้ั ระบุปญหา 2. ขน้ั ตั้งสมมตฐิ าน 3. ข้ันรวบรวมขอ มูล 4. ขั้นการวิเคราะหข อ มลู 5. ข้ันสรุปผล ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร คืออะไร ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เปน สิ่งทจี่ ําเปน ในการเรียนวิทยาศาสตรซ ่งึ จะทําให นกั ศึกษาสามารถคิดและแกปญ หาไดด ว ยตนเอง จงึ ควรฝกฝนใหเ กดิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร แบง ออกเปน 13 ทักษะ ไดแ ก

2 1. การสงั เกต 2. การวดั 3. การจาํ แนกประเภท 4. การใชต วั เลข 5. การหาความสมั พันธร ะหวา งสเปซกับสเปซ และสเปซกับเวลา 6. การจดั ทําและสอ่ื ความหมายขอมลู 7. การลงความคดิ เห็นขอ มลู 8. การพยากรณ 9. การตง้ั สมมตฐิ าน 10. การกาํ หนดนิยามเชิงปฏบิ ตั ิการ 11. การกาํ หนดนิยามและควบคมุ ตวั แปร 12. การทดลอง 13. การตคี วามหมายขอ มูลและการสรุปผล เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร คอื อะไร เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร หมายถึง ความรูท่ีดตี อ วชิ าวิทยาศาสตร มี 6 ลกั ษณะดังน้ี 1. มีเหตุผล 2. กระตือรอื รน คนหาความรู 3. อยากรูอยากเหน็ 4. มีความพยายามและอดทน 5. ยอมรับฟง ความคดิ เหน็ ของผอู น่ื 6. แกป ญหาโดยใชวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี หมายถึงอะไร เทคโนโลยี หมายถงึ การนาํ ความรดู า นวิทยาศาสตรไ ปประยุกตใชแ ละอาํ นวยความสะดวก ใหกบั มนษุ ย เชน โทรศพั ทมือถือที่ชว ยในการตดิ ตอสอ่ื สารไดร วดเร็วขน้ึ คอมพิวเตอรท่ชี ว ยเกบ็ ขอมลู

3 ไดเ ปน จาํ นวนมากและถูกตอ งแมน ยํา เปนตน ในการนําเทคโนโลยีมาใชค วรศึกษาผลดผี ลเสียกอน และควรใชเ ทคโนโลยอี ยางถูกตองและคมุ คา ทสี่ ุด อุปกรณทางวทิ ยาศาสตร ไดแ กอ ะไรบา ง อปุ กรณส าํ หรับการตวงสาร เชน บีกเกอร หลอดทดลอง กระบวกตวง ปเ ปตต เปน ตน อุปกรณส ําหรบั ช่ัง เชน เครอื่ งชั่งไฟฟา เคร่ืองชง่ั สองแขน เปนตน อปุ กรณส าํ หรบั วดั เชน ไมโครมิเตอร เวอรเนยี ร คาลเิ ปอร เปน ตน อุปกรณอ่นื ๆ เชน กลอ งจุลทรรศน แวน ขยาย เปน ตน

4 บทที่ 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร มอี ะไรบา ง 1. โครงงานวิทยาศาสตรป ระเภททดลอง 2. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทสํารวจ 3. โครงงานวทิ ยาศาสตรป ระเภทสง่ิ ประดษิ ฐ 4. โครงงานวทิ ยาศาสตรป ระเภททฤษฎี จงบอกลาํ ดบั ขนั้ ตอนของการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร 1. สาํ รวจและตดั สนิ ใจเลือกเร่ืองท่ีจะทําโครงงาน 2. ศึกษาขอ มลู ทีเ่ ก่ยี วของกบั เรื่องทจ่ี ะทําเอกสารและแหลงขอมูลตา ง ๆ 3. วางแผนทดลอง การใชว ัสดอุ ุปกรณ และระยะเวลาในการดาํ เนินงาน 4. เขยี นเคา โครงของโครงงานวทิ ยาศาสตร 5. ลงมอื ศกึ ษาทดลอง วเิ คราะหข อ มลู และสรปุ ผล 6. เขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร 7. เสนอผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร

5 บทที่ 3 สิง่ มีชีวิต ส่ิงมีชวี ิตมลี ักษณะอยางไร ลกั ษณะของส่งิ มชี ีวิต 1. การกินอาหาร ส่ิงมชี ีวิตจะตองกินอาหารเพื่อความอยูรอดของตนเอง พืชสามารถสราง อาหารไดเ องโดยกระบวนการสงั เคราะหด วยแสงและดดู ซึมน้ําและแรธ าตจุ ากราก สวนคนและสัตวไม สามารถสรางอาหารไดเ องตองกินพชื หรือสัตวอ ่นื เปน อาหาร 2. การหายใจ กระบวนการหายใจของส่ิงมีชีวิตเปนวิธีการเปล่ียนอาหารที่กินเขาไปเปน พลังงาน เพ่ือใชในการดาํ รงชีวติ 3. การเคล่ือนไหว สิ่งมีชีวิตสามารถเคลื่อนที่ไดดวยตนเอง ยกตัวอยาง เชน คนและสัตว สามารถวิง่ และเดนิ ได สว นพชื ทเี่ ปนเถาสามารถเลอื้ ยเกาะผนังหรือตนไมอ ่นื ได เปนตน 4. การเจริญเติบโต สง่ิ มชี วี ิตจะมีการเจรญิ เตบิ โต สง่ิ มชี ีวิตบางชนิดขณะเจริญเตบิ โตไมมีการ เปลย่ี นแปลงรูปราง แตบางชนิดขณะเจริญเติบโตมีการเปลี่ยนแปลงรูปรา ง ซ่ึงสามารถสังเกตเห็นได อยา งชดั เจน 5. การขบั ถา ย เปน การกําจัดของเสียทีส่ ิง่ มีชีวติ นนั้ ไมตองการออกจากรางกาย พืชจะขับของ เสียออกมาทางปากใบ สัตวจ ะขับของเสียออกมาในรูปของเหงื่อ ปสสาวะ และปะปนออกมากับลม หายใจ 6. การตอบสนองตอสิ่งเรา สิ่งมีชีวิตจะมีการตอบสนองตอส่ิงเรา เพ่ือปรับตัวเองใหอยูรอด และปลอดภัยตอ อันตรายตา ง ๆ 7.การสบื พนั ธุ ส่ิงมีชีวิตจะมกี ารสบื พันธุและขยายพนั ธเุ พอื่ ไมใ หเ ผา พันธุของตนเองตองสญู พันธุ

6 เกณฑท ่ใี ชในการจัดกลมุ ส่งิ มีชีวิตมีกปี่ ระเภท อะไรบาง เกณฑทใี่ ชในการจดั กลมุ ส่งิ มีชีวติ แบง ออกเปน 5 ประเภท ไดแก 1. เปรยี บเทยี บลักษณะโครงสรา งภายนอกและภายใน คือ ส่ิงมีชีวิตทมี่ โี ครงสรา งของอวัยวะ ที่มีตน กําเนิดเดียวกัน แตอาจมีหนาท่ีเหมือนกันหรือตางกันก็ได จัดอยูในกลุมเดียวกัน ในขณะท่ี อวยั วะซึ่งทาํ หนา ทแี่ บบเดียวกนั แตตน กาํ เนดิ แตกตา งกนั จดั อยคู นละกลุมกัน 2. แบบแผนการเจริญเติบโต หากมีรูปแบบการเจริญเติบโต ตั้งแตตัวออนจนถึงตัวเต็มวัย เหมอื นหรอื คลายกนั จดั อยูในกลมุ เดียวกัน 3. การเปรียบเทยี บลกั ษณะรอ งรอยของซากดึกดําบรรพ ทําใหทราบวาสิ่งมีชีวิตใดมีบรรพ บรุ ษุ รว มกันจัดอยูในกลมุ เดยี วกัน 4. กระบวนการทางชีวเคมี และสรีรวทิ ยา พจิ ารณาจากชนิดสารเคมีที่สิ่งมีชีวิตสรางข้ึนวามี ความคลายคลงึ กันอยางไร 5. เปรียบเทียบพฤติกรรมความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอม ตลอดจนการ แพรก ระจายทางภูมิศาสตรข องส่ิงมีชีวติ พชื คืออะไร พืช คอื สงิ่ มชี ีวติ ทสี่ ามารถสังเคราะหอ าหารไดเ อง โดยกระบวนการสังเคราะหด วยแสง สวนประกอบของพชื ประกอบดว ยอะไรบางและแตล ะสวนทําหนา ทอี่ ะไร 1. ราก เปน สวนของพชื ทง่ี อกออกจากเมล็ดกอนสวนอ่ืน และเจริญลงสูใตดิน รากมีหนาท่ียึด ลําตน ใหต งั้ บนดนิ ดดู นา้ํ และแรธ าตทุ ี่สะสมอยูใ นดนิ แลวลาํ เลยี งขึ้นไปยังสวนตางๆของพืช นอกจากนี้ รากของพืชบางชนดิ ทาํ หนา ท่ีสะสมอาหาร สงั เคราะหด วยแสง หายใจ ราก ของพชื แบงเปน 2 ประเภท คอื รากแกว เปน รากทีง่ อกออกจากเมล็ดกอนสว นอ่ืน ในพชื บางชนดิ รากแกวจะเจริญตอไป รากฝอย เปนรากเสนเลก็ ๆมากมาย งอกออกจากรอบๆ โคนตน แทนรากแกวท่ีหยดุ เตบิ โต

7 2. ลําตน เปนสวนของพืชท่ีอยูตอจากรากข้นึ มา พืชสวนมากจะมีลําตนอยูบนดิน แตพืชบาง ชนิดมีลําตนอยูใตดิน ลําตนมีหนาท่ีชูกาน ใบ และดอกใหไดรับแสงแดด เปนทางลําเลียงน้ําและแร ธาตุ และลาํ ตนบางชนิดสะสมน้าํ และอาหาร ขยายพันธุ 3. ใบ เปนสว นของพชื ท่เี จรญิ เตบิ โตยื่นออกมาทางขางของลําตน มีลักษณะแบน มีสีเขียว ใบ จะมีเสนใบซ่ึงมี 2 ลักษณะ คอื เสนใบขนาน และเสน ใบเปนรางแห ทําหนาที่สรา งอาหาร คายน้ําและ หายใจ บางชนิดทาํ หนาที่สะสมอาหาร ขยายพันธุ ลอ แมลง ดักและจบั แมลง 4. ดอก เปนสวนของพืชที่ทําหนาที่ในการสืบพันธุ ดอกโดยท่ัวไปประกอบดวยสว นตางๆ ดงั นี้คือ กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรตัวผู เกสรตัวเมีย กานดอก และฐานรองดอกดอกไมมีอยูมากมาย หลายชนิด บางชนิดมีสสี ันสวยงามบางชนดิ มกี ลิ่นหอมชวนดม 5. ผล เปน สว นที่เจริญมาจากรงั ไขหลงั จากดอกไดร บั การผสมแลว ผนังรังไขชั้นนอกสุด เจริญ เปน เปลอื กของผล ปจจยั ทีจ่ าํ เปน ตอ การเจริญเตบิ โตของพืชมีอะไรบาง ปจจยั ท่ีมีผลตอ การเจรญิ เติบโตของพชื ไดแ ก 1. ดนิ ใหทีย่ ึดเกาะแกพ ืช และเปนแหลง ธาตอุ าหาร นํา้ และอากาศ 2. นาํ้ ชว ยละลายแรธ าตอุ าหารในดนิ เพื่อใหร ากลําเลยี งนํา้ และแรธาตุ ดดู ไปเลีย้ งสวนตางๆ ของลําตน 3. ธาตอุ าหารหรอื ปุย ชวยในกระบวนการตาง ๆ ในการดาํ รงชวี ิตของพชื และชวยสรา ง คลอโรฟล ล 4. อากาศ พชื ใชแกสออกซเิ จนในการหายใจ และใชแกส คารบ อนไดออกไซดใ นการสรา ง อาหาร 5. แสงสวาง พชื ตอ งการแสงแดดมาใชในการสรา งอาหาร 6. อณุ หภมู ิ อณุ หภมู ิทพี่ อเหมาะอยรู ะหวาง 20–30 องศาเซลเซยี ส ชว ยในกระบวนการ สงั เคราะหดว ยแสง การงอกของเมล็ดและการทาํ งานของเอนไซม

8 การขยายพนั ธพุ ชื หมายถงึ อะไร การขยายพันธุพืช หมายถึง วิธีการที่ทําใหเกิดการเพิ่มปริมาณของตนพืชใหมากข้ึน เพื่อดาํ รงสายพนั ธุ พชื ชนดิ ตา ง ๆ ไวไ มใ หส ญู พนั ธุ การขยายพนั ธุพชื มีกปี่ ระเภทอะไรบาง การขยายพนั ธุพืชทนี่ ิยมปฏบิ ัติโดยทั่วไป มี 5 วิธี คอื 1. การตอนก่ิง คอื การทาํ ใหก่งิ หรือตนพืชเกิดรากขณะตดิ อยกู บั ตนแม จะทาํ ใหไดต น พชื ใหม ท่มี ลี ักษณะทางสายพนั ธุ เหมือนกบั ตนแมทกุ ประการ 2. การทาบกง่ิ คือ การนาํ ตนพชื 2 ตน เปนตนเดียวกัน โดยสว นของตน ตอท่ีนํามาทาบกง่ิ จะ ทาํ หนาท่ีเปน ระบบรากอาหารใหกับตนพนั ธดุ ี 3. การตดิ ตา คือ การเชอื่ มประสานสวนของตนพืชเขาดวยกนั เพื่อใหเจรญิ เปนพืชตน เดยี วกัน โดยการนาํ ตาจากกง่ิ พันธุดไี ปตดิ บนตนตอ 4. การเสียบยอด คอื การเช่ือมประสานเน้อื เยื่อของตน พืช 2 ตนเขาดว ยกัน เพ่ือให เจรญิ เติบโตเปนตนเดียวกัน 5. การตดั ชาํ คือ การนาํ สว นตาง ๆ ของพชื พันธดุ ี เชน ใบ และ ราก มาตัดและปกชาํ ในวสั ดุ เพาะชาํ เพือ่ ใหไดพ ืชตน ใหมที่นํามาตดั ชํา พืชในทอ งถ่นิ จําแนกพืชไดก ปี่ ระเภท อะไรบา ง พืชในทอ งถน่ิ แบงไดเ ปน 2 ประเภท ไดแ ก 1. พืชมดี อก คือพืชที่เจริญเตบิ โตเตม็ ที่แลว มีสวนของดอกสาํ หรบั ใชในการผสมพันธุ 2. พืชไมม ดี อก คอื พชื ที่ไมมดี อกเลย ตลอดการดาํ รงชีวิต ไมวาจะเจริญเติบโตเต็มที่แลวก็ตาม พืชจาํ พวกนจ้ี ึงไมมีดอกสาํ หรับใชใ นการผสมพันธุ แตจะสืบพันธุโดยการสรางสปอรซ่ึงจะงอกเปนพืช ตน ใหม

9 นอกจากจะเอาดอกมาเปนเกณฑในการจําแนกแลว เรายังสามารถใชลักษณะสวนประกอบ ของใบเล้ียงมาใชใ นการจําแนกพชื ไดเปน 2 ประเภท ไดแ ก 1. พชื ใบเลยี้ งเดี่ยว คือ พืชทมี่ ใี บเลี้ยงใบเดี่ยว ลักษณะเสนใบเรียงกันแบบขนาน มีระบบราก ฝอยลําตน มองเหน็ ขอปลอ งชัดเจน ไมม กี ารเจริญทางดานขาง กลีบดอก มจี ํานวนเปน 3 หรือทวีคูณ ของ 3 2. พืชใบเล้ยี งคู คอื พชื ท่มี ใี บเลี้ยงสองใบ ลักษณะเสนใบเปนรางแห มีระบบรากแกว ลําตน มองเหน็ ขอปลอ งไมช ดั เจน มกี ารเจริญออกทางดานขาง กลีบดอกมีจาํ นวนเปน 4-5 หรือ ทวีคูณของ 4-5 สตั วแ บงออกเปน กป่ี ระเภทอะไรบา ง สตั วแ ตล ะชนิดที่อาศัยอยตู ามธรรมชาติ มีลกั ษณะโครงสรางภายนอก และภายในแตกตางกัน ทําใหเ ราสามารถจาํ แนกประเภทของสตั วออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื 1. สัตวท ่มี ีกระดกู สันหลัง คือ สัตวที่มีกระดูกตอกันเปนขอๆ อยูเปนแนวยาวไปตามดานหลัง ของรา งกาย มีหนาท่ชี วยพยุงรางกายใหเปนรปู รางอยูไดและยังชวยปองกันเสนประสาทอีกดวย เชน คน สนุข แมว ควาย เสอื เปน ตน 2. สัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง คือ สัตวไมมีกระดูกเปนแกนของรางกาย สัตวบางชนิดจะสราง เปลือกแขง็ ขนึ้ มาหอ หมุ รางกายเพอื่ ปองกนั อันตราย เชน แมลงชนดิ ตาง ๆ เปน ตน โครงสรา งและหนา ที่ของระบบตาง ๆ ในรางกายสตั วม ีความจาํ เปน ตอการดาํ รงชีวติ ของสตั ว มีอะไรบา ง โครงสรางและหนา ที่ของระบบตา งๆ มีความจาํ เปน ตอ การดํารงชวี ติ ของสัตว ดังนี้ 1. ระบบยอ ยอาหาร ทําหนา ท่นี ําสารอาหารตาง ๆ เขาสูรางกาย เพอ่ื เปนวัตถุดิบสําคัญในการ เจรญิ เตบิ โต

10 2. ระบบหมนุ เวียนเลือด ทําหนาที่หมุนเวียนเลือด นําสารตาง ๆ ท่ีมีประโยชนไปยังเซลลท่ัว รางกาย และนําสารที่เซลลไมตอ งการไปยงั อวัยวะขบั ถายเพ่อื กาํ จดั ออกนอกรา งกาย 3. ระบบหายใจ ทาํ หนาท่ี นาํ กา ซที่เซลลตอ งการเขาสูรางกายและกาํ จดั กาซท่ีเซลลไ มตอ งการ ออกนอกรา งกาย นอกจากน้ียังทําหนาท่ีสรางพลังงานใหแกเซลล ทําใหเซลลสามารถนําไปใชใหเกิด ประโยชน 4. ระบบขบั ถาย ทําหนาทกี่ ําจดั ของเสียทเ่ี ซลลไมตอ งการออกนอกรางกาย 5. ระบบประสาท ทาํ หนาทค่ี วบคมุ กลไกลการทาํ งานของทุกระบบในรางกาย 6. ระบบโครงกระดูก ถามีโครงรางแข็งที่อยูภายนอกรางกาย จะชวยปองกันอันตรายภายใน ไมใหไดร ับอันตราย แตถา มีโครงรา งแขง็ ท่อี ยภู ายใน จะชวยในการเคลอื่ นไหวหรอื เคลื่อนท่ี 7. ระบบสืบพนั ธุ เมื่อสตั วเ จรญิ เติบโตเปน ตัวเตม็ วัยก็พรอมท่ีสะสืบพนั ธุเพื่อที่จะเพ่ิมลูกหลาน ทําใหสัตวแ ตละชนิดสามารถดาํ รงเผา พนั ธุไ วได ปจ จยั ทีจ่ าํ เปนตอ การดาํ รงชวี ติ ของสตั วมีอะไรบา ง ปจจยั ทจ่ี ําเปนตอ การดาํ รงชวี ติ ของสตั ว ไดแก 1. อาหาร เพ่อื จะไดม ีพลงั งานในการทํากจิ กรรมตาง ๆ สัตวแ ตล ะชนดิ กินอาหารท่ีแตกตางกัน ไป บางชนดิ กนิ พชื เปน อาหาร บางชนดิ กินสตั วเปน อาหาร และบางชนดิ กนิ ทัง้ พืชและสตั วเปนอาหาร 2. นํ้า ชว ยใหรา งกายสดช่นื ชวยดบั กระหาย เปน ท่ีอาศยั ของสตั วบ างชนดิ 3. อากาศ สัตวทุกชนิดตองใชกาซออกซิเจนในกระบวนการหายใจ พืชตองการกาซ คารบ อนไดออกไซดในการสรางอาหาร 4. ทีอ่ ยอู าศัย เพือ่ ความอบอนุ และปลอดภยั จากศตั รู และดํารงชีวิตดานตาง ๆ ท่ีแตกตางกัน ไป สัตวบางชนิดอาศัย บนบก บางชนิดอาศยั บนตน ไม บางชนดิ อาศัยในนํ้า

11 การสบื พนั ธขุ องสตั วม ีกปี่ ระเภทอะไรบา ง การสืบพนั ธขุ องสัตวม ี 2 ประเภท ไดแก 1. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ คือ การเพ่ิมจํานวนของสิ่งมีชีวิตโดยไมมีการผสมระหวาง เซลลสบื พนั ธุ ซง่ึ การสบื พนั ธุแบบนจี้ ะไมม กี ารกลายพันธุ เชน การแตกหนอ สิ่งมชี วี ติ ตัวใหมงอกออกมาจากตวั เดิม แลว หลุดออกมาเปนส่ิงมชี วี ติ ตวั ใหม การแบงตวั ส่งิ มชี วี ิตตวั หน่งึ แบงเปนสิ่งมีชวี ิตตัวใหมแบบเทา ๆกัน การแบง สว น สว นทห่ี ลุดไปจากสิ่งมีชวี ติ หนึ่งพฒั นาไปเปนสิ่งมชี วี ติ ตวั ใหมได 2. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ คือ การสืบพันธุที่ตองมีการรวมกันของเซลลสืบพันธุเพศผู (สเปร ม ) และเซลลส บื พนั ธเุ พศเมีย (ไข) แลว เกิดเปนส่ิงมีชวี ิตหนว ยใหม

12 บทท่ี 4 ระบบนิเวศ คําวา ระบบนเิ วศ (Ecosystem) มคี วามหมายอยางไร ระบบนเิ วศ (Ecosystem) หมายถึง ความสมั พันธข องกลมุ สงิ่ มชี ีวิตในแหลง ที่อยู และมี ความสมั พนั ธซ ่งึ กนั และกัน องคป ระกอบพนื้ ฐาน 2 อยา ง ในระบบนเิ วศ มีอะไรบา ง 1. องคประกอบท่ีไมม ชี ีวิต ไดแ ก สารประกอบอินทรีย อนินทรีย และสภาพแวดลอ มทาง กายภาพ 2. องคประกอบท่มี ีชวี ิต ไดแก ผผู ลิต ผูบ รโิ ภค และผูยอ ยสลาย ความสัมพันธข องส่งิ มีชีวติ ในระบบนิเวศ มีแบบใดบาง และสมั พนั ธก ันอยา งไร ความสมั พนั ธของสงิ่ มีชีวิตในระบบนเิ วศ มี 2 แบบ คือ 1. ความสมั พนั ธร ะหวา งส่งิ มชี ีวติ ดว ยกันเอง ใชคําวา ภาวะนําหนา ตัวอยาง เชน 1) ภาวะไดประโยชนรวมกัน (protocooperation +/+) คือ สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝาย ตางได ประโยชนดวยกนั ท้ังคู เชน ผ้ึงกับดอกไม เพล้ยี กบั มดดํา นกเอย้ี งกับควาย 2) ภาวะพึ่งพากนั (mutualism +/+ ) คอื สง่ิ มีชีวิตทั้ง 2 ฝายไดประโยชนรวมกัน แตตองอยู รวมกัน ตลอดเวลา หากแยกกันอยูจะทําใหอีกฝายไมสามารถดํารงชีวิตอยูได เชน ไลเคน โพรโทซวั ในลําไสปลวก แบคทีเรยี ในปมรากพชื ตระกูลถ่วั

13 3) ภาวะอิงอาศยั (commensalism +, o) สงิ่ มชี วี ิตฝายหนง่ึ ไดประโยชน อีกฝายหน่ึงไมไ ด และไมเ สยี ประโยชน เชน เถาวลั ยเกาะบนตน ไมใหญ กลวยไมก ับตนไม นกทํารงั บนตนไม เหาฉลาม กับปลาฉลาม เพรียงหินท่ีเกาะบนตวั ของสัตวท ะเล 2. ความสัมพนั ธระหวางสง่ิ มชี วี ติ กับสิ่งแวดลอ ม เชน 1) แสงสวา ง พืช ใชแ สงเปนพลังงานในกระบวนการสังเคราะหแสงเพอื่ สรางสารอาหาร 2) อุณหภูมิ ส่ิงมีชีวิตจะเลือกแหลงที่อยูอาศัยท่ีมีอุณหภูมิเหมาะสมกับตัวเอง สิ่งมีชีวิตจะ ปรับตัวใหมีชีวิตรอด เชน นกนางแอนจากประเทศจีนจะอพยพมาหากินในประเทศไทย ในฤดูหนาว และการจําศีลของกบ 3) แรธาตุและแกส พืช และสัตว นําแรธาตุและแกสตาง ๆ ไปใชในการสรางอาหาร และ โครงสรางของรางกาย ความตอ งการแรธาตุ และแกส ของสิ่งมชี ีวติ จะมีความแตกตา งกัน 4) ความเปนกรด-เบสของดนิ และนํา้ สง่ิ มีชวี ิตจะอาศัยในแหลงท่ีอยู ท่ีมีความเปนกรด-เบส ท่ี เหมาะสมกบั การดาํ รงชวี ติ ของตนเอง หว งโซอ าหาร (Food Chain) มีความหมายอยางไร หว งโซอ าหาร (Food Chain) หมายถงึ การถายทอดพลังงานในส่ิงมชี วี ิต โดยถา ยทอดในรปู ของอาหารตอเน่ืองกันเปนทอด ๆ ตามลาํ ดบั ของการกิน สวนใหญห ว งโซอ าหารจะเร่ิมถา ยทอดจาก ผผู ลิตไปสผู บู ริโภคตามลาํ ดับขน้ั ในการกินอาหาร ตัวอยาง เชน ขา้ ว ตกั แตน กบ เหยยี ว ผ้ผู ลติ ผู้บรโิ ภค ผู้บริโภค ผู้บรโิ ภค ลําดบั ที 1 ลําดบั ที 2 ลําดบั ที 3

14 หวงโซอาหาร มหี ลกั การเขียนอยา งไร หลักการเขยี นหว งโซอ าหาร มีดงั น้ี 1. หวงโซอ าหารแบบจบั กนิ 1) หวงโซที่มีผูผลิต เร่ิมการเขียนโดยต้ังตนจากผูผลิต และตามดวยผูบริโภคลําดับท่ี 1 ผบู ริโภคลําดบั ที่ 2 ผูบริโภคลําดับท่ี 3 และตอไปเรื่อย ๆ ตามลําดับขั้นของการบริโภค จนถงึ ผูบริโภคลําดบั สดุ ทาย 2) ตองเขียนลกู ศรแทนการถายทอดพลงั งานจากผูผลิต ไปสูผูบริโภคตามลําดับขั้นดังกลาว โดยเขยี นใหหัวลกู ศรหนั ไปทางผูทีไ่ ดร บั สารอาหารเทานั้น ในท่ีน้ี คือ หัวลูกศรหัน ไปทางผทู ีบ่ รโิ ภค หรือเขยี นใหหวั ลกู ศรชีไ้ ปทางผูลานนั่ เอง 2. หวงโซอาหารแบบอน่ื ๆ ใหเ ขยี นโดยเริม่ จากสิ่งมีชวี ติ ทเ่ี ปนจุดเรมิ่ ของการถา ยทอด สารอาหาร เชน ซากสตั ว หนอน นก งู เหย่ยี ว ดังตัวอยาง ซากสตั ว์ หนอน นก งู เหยยี ว ซาก ผ้บู รโิ ภค ผู้บริโภค ผู้บริโภค ผู้บริโภค สิงมีชีวติ ลําดบั ที 1 ลําดบั ที 2 ลําดบั ที 3 ลําดบั สดุ ท้าย สายใยอาหาร (Food Web) มีความหมายอยา งไร สายใยอาหาร หมายถงึ หวงโซอ าหารหลาย ๆ หว งโซ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก ันอยางซบั ซอน ในธรรมชาติ เราจะพบการถายทอดพลังงานในรปู แบบของสายใยอาหาร มากกวา หว งโซ อาหารแบบเดย่ี วๆ เน่ืองจากสิง่ มีชวี ิตแตล ะชนิดกินอาหารไดห ลายชนิด *** สามารถดูแผนภาพตวั อยา งสายใยอาหารไดในหนังสอื เรยี น กศน. หนา 89 ***

15 ในระบบนิเวศมีการถา ยทอดพลงั งานอยา งไร ดวงอาทติ ยเ ปนแหลงพลงั งานสําหรบั สิ่งมีชีวิต กลมุ สิง่ มชี ีวติ ท่เี ปน ผูผลติ จะเปล่ียนพลังงานแสง ใหเปนพลังงานที่สะสมไวในโมเลกุลของสารอาหาร โดยกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ซึ่งไดผลผลิตเบื้องตน คือ นํา้ ตาลกลูโคส สะสมไว ในกระบวนการนี้ไดปลอยกาซออกซิเจนออกสู บรรยากาศดวย พลงั งานในโมเลกุลของสารอาหารทส่ี ะสมไว จะถกู ถา ยทอดจากผผู ลติ ไปสูผบู ริโภคลาํ ดับตา งๆ จนถงึ ผยู อ ยสลายอนิ ทรยี สาร ซ่ึงพลังงานที่ถายทอดนั้นจะมีคาลดลงตามลําดับ เพราะสวนหน่ึงถูกใช ในการผลิตพลังงานใหแกรางกายโดยกระบวนการหายใจ อีกสวนหนึ่งสูญเสียไปในรูปของพลังงาน ความรอน การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศมีความสําคัญมากเพราะไมเพียงแตสารอาหารเหลาน้ันมี การถายทอดแตสารทุกชนิดที่ปนเปอนอยูในระบบนิเวศ ทั้งที่เปนประโยชน และเปนโทษจะถูก ถา ยทอดไปในโซอาหารดวย ตัวอยางเชน การใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช การถายเทของเสยี จากท่ีอยู อาศยั และกจิ กรรมตางๆของมนษุ ย ทาํ ใหมีของเสียทป่ี ลอย และสารตางๆ ดงั กลา วจะตกคาง ในผูผลิต และถา ยทอดและไปสูผูบ รโิ ภคตามลําดบั ในโซอ าหารและจะเพ่ิมความเขม ขนขนเรอ่ื ย ๆ ในลําดับชั้นท่ี สูงขึ้นๆ รวมถงึ กลบั มาสตู ัวมนุษยด ว ย สภาพแวดลอ มมีความสมั พนั ธกบั การดํารงชีวิตของส่ิงมชี ีวติ อยางไรบา ง สภาพแวดลอมมีความสัมพันธกับการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต ในลักษณะตางๆ เน่ืองจาก สิ่งมีชีวติ ทกุ ชนิดตอ งใชสภาพแวดลอ ม เปนท้ังแหลงที่อยู และเปนปจจัยท่ีสําคัญในการดํารงชีวิตรอด และแพรพันธุได ดังนั้นส่ิงมีชีวิตจึงตองมีการปรับตัวใหสามารถอยูรอดไดในสภาพแวดลอมและ ในสภาพทมี่ ปี จจยั จํากดั

16 การปรบั ตัวหมายถงึ อะไร การปรบั ตวั หมายถึง กระบวนการทีส่ งิ่ มชี ีวิตมีการเปลยี่ นแปลงหรือปรับลักษณะบางประการ ใหเ ขากับ สภาพแวดลอ มทอ่ี าศัยอยู ซึ่งลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปดังกลาวจะอํานวยประโยชนแกชีวิต ในการอยูรอดและสามารถสบื พนั ธตุ อ ไปได สิง่ มีชีวิตที่ปรบั ตัวไดดีจะสามารถดํารงชวี ิตและแพรพนั ธตุ อไปได ปจ จัยใดบา งที่มผี ลตอ การดํารงชีวติ ของส่ิงมีชีวติ ปจ จัยทม่ี ผี ลตอ การอยดู าํ รงชวี ติ ของส่งิ มีชวี ติ ไดแ ก อาหาร การสบื พันธุ ศัตรู และส่งิ แวดลอ ม เปนตน สง่ิ มีชวี ิตมีการปรบั ตัวอยา งไรบา ง สงิ่ มชี วี ิตมกี ารปรบั ตวั ดงั นี้ 1. การปรบั รปู รา ง สรรี ะ และสี สิ่งมีชวี ติ ตา งๆ จะมีการปรบั สรรี ะ ปรบั รางกาย หรือเปลย่ี นสี ใหค ลา ยคลงึ กับสภาพแวดลอ ม หรอื อยใู นแหลงอาศยั ได เพอื่ อําพรางศัตรู ลา เหย่อื และ สืบพนั ธุ เชน - การปรับสี เชน จิง้ จก ก้งิ กา - การปรบั สรรี ะ รปู ราง เชน ต๊กั แตนกงิ่ ไม ต๊ักแตนใบโศก นกเปด น้าํ มีพังผืดระหวางน้ิว หมี ขั้วโลกมีขนยาว การเปล่ียนใบเปน หนามของตนกระบองเพชร - การปรบั ปากของแมลงชนิดตางๆ เชน ปากกัด ปากเลยี ปากเจาะ และปากดูด - การรําแพนของนกยงู - กานใบทีก่ ลวงและพองออกเปนกระเปาะของผกั ตบชวา กานใบกลวงของผักบุง 2. การปรบั พฤตกิ รรม เชน - การอพยพยา ยถน่ิ และการจําศีล ในฤดหู นาว - การหากนิ ในเวลากลางคนื

17 บทท่ี 5 ทรพั ยากรธรรมชาติส่ิงแวดลอมและการอนรุ กั ษ ทรพั ยากรธรรมชาติ คืออะไร ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตา ง ๆ ทเี่ กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนษุ ยสามารถ นํามาใชประโยชนได เชน ดิน นา้ํ อากาศ ปาไม สง่ิ แวดลอ ม หมายถงึ อะไร ส่ิงแวดลอม หมายถงึ ส่งิ ตา ง ๆ ท่ีอยูรอบตัวเรา ทัง้ สงิ่ ท่ีมีชวี ิตและไมม ีชวี ิต รวมทั้งสิง่ ทเ่ี กิดข้ึน เองตามธรรมชาติ และสิ่งทม่ี นษุ ยสรา งมา ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม แบง ออกตามความสําคัญไดก ีล่ กั ษณะ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม สามารถแบงออกตามความสาํ คัญได 3 ลกั ษณะ 1. ดานเศรษฐกจิ ประเทศใดทีม่ ีทรัพยากรธรรมชาตอิ ุดมสมบูรณ จะสง ผลใหค ณุ ภาพชวี ติ ของ ประชากรและเศรษฐกจิ ของประเทศนั้นดีขึ้น 2. ดา นสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ เปน ปจจัยสาํ คัญในการพฒั นาประเทศใหท ัดเทียมนานา อารยประเทศไดเ ร็วขึ้น 3. ดานการเมือง ประเทศทม่ี ีทรพั ยากรธรรมชาตอิ ุดมสมบรู ณ จะสงผลตอการสรางอาํ นาจ ตอ รอง การยอมรับของอารยประเทศ และเวทรี ะดบั โลกได ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม แบง ออกเปน กป่ี ระเภท ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม แบงไดเปน 2 ประเภท

18 1. ทรพั ยากรท่ีใชแ ลวหมดไป คอื ทรัพยากรที่ใชแลวเมือ่ นานไปไมส ามารถเกิดขน้ึ ใหม หรือถา จะเกดิ ขนึ้ ใหมตองใชเ วลานานหลายลานป เชน แรธาตุ กาซธรรมชาติ นํ้ามัน 2. ทรัพยากรทใ่ี ชไ มหมดส้นิ เชน ดนิ นํา้ อากาศ ปาไม สัตวป า ฯลฯ ทรัพยากรแร หมายถึงอะไร ทรัพยากรแร หมายถงึ แรธ าตุตาง ๆ ท่มี อี ยใู นโลก ท้ังบรเิ วณสว นท่เี ปนพ้นื นา้ํ แหลงกาํ เนิดแร มสี าเหตุหลัก ๆ อะไรบา งแรตา ง ๆ มีแหลงกาํ เนิดมาจาก 1) ปรากฏการณธ รรมชาติ เชน การระเบดิ ของ ภูเขาไฟ การเคล่อื นท่ขี องแผนเปลือกโลก 2) การแปรสภาพทางเคมีของหินประเภทตา ง ๆ ทอ่ี ยูบนเปลือกโลก เชน ถานหิน หินน้าํ มนั เกลือหิน แร การอนุรกั ษท รพั ยากร มวี ิธีอยา งไรบา ง การอนุรกั ษแรมีหลายวธิ ี ดงั น้ี 1. ใชส ่งิ ของเคร่ืองใชต า ง ๆ อยา งรูคณุ คา โดยใชใหเกิดประโยชนส งู สุด 2. ใชแ รธาตุใหต รงกับความตอ งการและตรงกับสมบัตแิ รธาตุน้ัน ๆ 3. แยกขยะที่จะทง้ิ ออกตามประเภทของขยะ เพอ่ื ใหการนาํ ขยะไปผลิตเปน ผลติ ภัณฑใ หมได งา ยขนึ้ และลดการขุดใชแรธาตตุ า ง ๆ ลง ทรัพยากรดนิ เกดิ จากอะไร ทรัพยากรดิน เกิดจากการสลายและผุพังของหินชนิดตาง ๆ คลุกเคลาปะปนกับอินทรียสาร ชนิดตา ง ๆ รวมทั้งนํ้าและอากาศ ลักษณะความแตกตา งของดนิ จะตางกันตามพนื้ ที่ ๆ พบ ไดแกอ ะไรบาง

19 1. บริเวณที่ราบ น้ําทวมถึงสองฝงแมน้ํา เปนดินตะกอนท่ีมีอายุนอย ลักษณะของดินเปนดิน เหนยี ว เน้อื ละเอียด เชน บรเิ วณพนื้ ดินสองฝง แมน ้าํ ในจงั หวัดปทมุ ธานี จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 2. บริเวณท่ีราบลุมต่ํามาก เปนบริเวณที่มีนํ้าทวมขัง มีซากพืช ซากสัตวทับถมกันเปนช้ัน ๆ เปน ดนิ ทีม่ ีอิทรยี ว ัตถปุ ะปนอยูม าก เชน ชายฝง จังหวัดนราธิวาส บงึ บอระเพ็ด จงั หวัดนครสวรรค 3. บริเวณท่เี ปนชายฝง ทะเล มีลักษณะเปนเนินทรายหรือหาดทราย ความอดุ มสมบูรณ คอนขางนอย เชน ชายฝงทะเล จังหวัดประจวบครี ขี ันธ 4. บรเิ วณที่หางจากสองฝง แมน ํา้ สว นมากเปน ดนิ เหนียวและคอย ๆ ลดความอดุ มสมบูรณลง ไปเร่อื ย ๆ เน่อื งจากโดนชะลา งจากการไหลของน้ํา 5. บริเวณภเู ขาไมส งู ชัน เปนดินทม่ี อี ินทรยี สารสะสมอยู เนื่องจากถกู ปกคลุมดว ยปา ไมตาม ธรรมชาติ 6. บริเวณดินทม่ี คี ุณสมบตั เิ ปนเบสปะปนอยูมาก เชน หินปนู ดนิ มารล เปนตน เมือ่ สารเหลา น้ี สลายตวั ลงจะทาํ ใหดินมคี วามอุดมสมบูรณ ปญหาทรพั ยากรดนิ ในประเทศไทย มกี ี่แบบอะไรบา ง ปญ หาทรพั ยากรดินในประเทศไทยมี 2 แบบ คือ ปญหาท่เี กิดขึ้นจากธรรมชาติและปญหาท่ี เกิดจากการกระทําของมนุษย ปญหาทเี่ กดิ ข้ึนโดยธรรมชาติ การชะลา ง ปญ หาการสกึ กรอน และ แรธ าตใุ นดิน การพังทลายของดนิ ปญหาทเ่ี กดิ ข้ึนจากการกระทาํ ของมนุษย การปลกู พชื นิด การปลูกพชื โดย การทาํ ลายปา เพ่ือ การเผาปา เดียวกนั ซาํ้ ซาก ไมบ าํ รงุ ดิน การอุตสาหกรรม

20 ทรพั ยากรนา้ํ แบง ออกเปน กี่ประเภท 1. น้ําบนดนิ ไดแ ก นา้ํ ในแมนา้ํ ลําคลอง หนอง บึง อางเก็บนํ้า น้ําจากแหลง นี้จะมีปรมิ าณมาก หรอื นอยข้ึนอยกู ับปจจัยตอ ไปน้ี - ปริมาณของนํ้าฝนทไ่ี ดร ับ - อัตราการสูญเสยี ของน้าํ ซ่ึงมีสาเหตมุ าจากการระเหยและการคายนํ้า - ความสามารถในการกักเก็บนํ้า 2. นํ้าใตดิน เปนน้ําท่ีแทรกอยูใตดิน ไดแก นํ้าบาดาล การท่ีระดับนํ้าใตดินจะมีปริมาณมาก หรือนอยเพียงใดขึน้ อยกู ับปจจยั ตอ ไปน้ี - ปรมิ าณน้าํ ทีไ่ หลจากผวิ ดิน - ความสามารถในการกกั เกบ็ นํ้าไวในชัน้ หนิ นํา้ มคี วามสําคัญอยางไรบาง ความสาํ คัญของนา้ํ นํ้ามีความสาํ คญั ตอส่ิงมชี ีวิตมากมายดงั นี้ - ดานเกษตรกรรม เพือ่ การเพาะปลกู เลี้ยงสัตว ฯลฯ - ดานการคมนาคมขนสง ทางนา้ํ - ดานการอุตสาหกรรม - ดานการอุปโภคและการบรโิ ภค การอนุรกั ษทรพั ยากรนา้ํ มแี นวทางในการปฏบิ ตั อิ ยางไรบา ง การอนุรักษทรพั ยากรนํา้ มีแนวทางในการปฏบิ ัตดิ ังน้ี - การพัฒนาแหลงน้ํา โดยการขดุ ลอกแหลง น้าํ ตาง ๆ ท่ีตืน้ เขนิ - ใชนา้ํ อยางประหยัด ไมป ลอยใหน้าํ ทใี่ ชเสียไปโดยเปลาประโยชน

21 - ไมตัดไมทาํ ลายปา - ปอ งกันไมใ หเกดิ มลพิษกบั แหลงนาํ้ ทานมีความเขาใจเก่ียวกบั ทรพั ยากรปาไมอยา งไร ปาไมเปนสวนท่มี ีความสาํ คัญตอระบบนเิ วศเปน อยา งย่ิง เปนตนน้าํ เปนที่อยูอาศัยของสัตวปา มากมาย ชวยปองกันการชะลางหนาดิน เปนสวนสําคัญที่ทําใหเกิดการหมุนเวียนของสารตาง ๆ ใน ธรรมชาติ ฯลฯ การอนุรกั ษท รพั ยากรปา ไม มแี นวทางในการอนรุ กั ษอยางไรบา ง 1. การทาํ ความเขาใจถงึ ความสาํ คญั ของปาตอการดํารงชีวิตของมนุษย สัตว และส่ิงตาง ๆ ท่ี อยใู นโลก 2. การสรา งจิตสํานกึ รวมกันในการดูแลรกั ษาปาไมใ นชุมชน ซึ่งแนวทางหน่งึ คือการเปดโอกาส โดยภาครัฐในการออกพระราชบัญญัตปิ า ชุมชน 3. การออกกฎหมายเพื่อคมุ ครองพืน้ ทป่ี า และการออกกฎเพือ่ ปอ งกนั การตัดไมท ําลายปา ชวยกันปลูกปาในพ้ืนที่ปาเส่ือมโทรม โดยอาจจะเปนการวมมือกับสมาชิกในชุมชนเพื่อปลูกปาใน โอกาสตาง ๆ 4. ติดตามขาวสารเก่ียวกับสิ่งแวดลอมเปนประจํา เพื่อจะไดทราบความเคลื่อนไหวเก่ียวกับ การรว มอนรุ กั ษป า ไมรวมถึงสิ่งแวดลอมในดานอื่นดว ย หลกั การอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ ไดแกอ ะไรบา ง 1. การอนุรักษแ ละการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตอ งคาํ นงึ ถึงทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนควบคู กนั ไป เพราะทรัพยากรธรรมชาตติ างก็มคี วามเกีย่ วขอ สัมพันธและสง ผลตอ กนั อยางแยกไมได

22 2. การวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาด ตองเชื่อมโยงกับการพัฒนา สงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง และคุณภาพชีวิตอยา งกลมกลนื ตลอดจนรกั ษาไวซ ง่ึ ความสมดุลของระบบ นเิ วศควบคูกนั ไป 3. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ตองรวมมือกันทุกฝาย ท้ังประชาชนในเมือง ในชนบท และผูบริหาร ทุกคนควรตระหนักถงึ ความสําคญั ของทรพั ยากรและสิ่งแวดลอมตลอดเวลา โดยเริ่มตน ท่ีตนเองและทอ งถิน่ ของตน รวมมอื กันทัง้ ภายในประเทศและทั้งโลก 4. ความสําเร็จของการพัฒนาประเทศข้ึนอยูกับความอุดมสมบูรณและความปลอดภัยของ ทรพั ยากรธรรมชาติ ดังน้ันการทําลายทรัพยากรธรรมชาตจิ ึงเปน การทําลายมรดกและอนาคตของชาติ ดวย 5. ประเทศมหาอาํ นาจท่เี จรญิ ทางดานอตุ สาหกรรม มีความตองการทรัพยากรธรรมชาติเปน จาํ นวนมาก เพอ่ื ใชปอนโรงงานอตุ สาหกรรมในประเทศของตน ดังนั้นประเทศที่กําลังพัฒนาท้ังหลาย จงึ ตองชวยกันปอ งกันการแสวงหาผลประโยชนข องประเทศมหาอํานาจ 6. มนุษยสามารถนําเทคโนโลยีตาง ๆ มาชวยในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได แตการ จัดการน้ันไมควรมงุ เพียงเพอ่ื การอยูดกี นิ ดเี ทา นัน้ ตองคาํ นงึ ถงึ ผลดีทางดา นจิตใจดว ย 7. การใชทรัพยากรธรรมชาติในแตละแหงน้ัน จําเปนตองมีความรูในการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติทจ่ี ะใหป ระโยชนแ กมนษุ ยท กุ แงม ุม ทั้งขอดีและขอเสีย โดยคํานึงถึงการสูญเปลา อนั เกิดจากการใชทรพั ยากรธรรมชาตดิ วย 8. รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จําเปนและหายากดวยความระมัดระวัง พรอมท้ังประโยชน และการทําใหอยใู นสภาพทเ่ี พิ่มท้ังทางดา นกายภาพและเศรษฐกิจเทาทีท่ ําได รวมทั้งจะตองตระหนัก เสมอวาการใชท รัพยากรธรรมชาตทิ ี่มากเกนิ ไปจะไมเ ปนการปลอดภัยตอ สงิ่ แวดลอม 9. ตอ งรกั ษาทรพั ยากรท่ีทดแทนได โดยใหมีอัตราการผลิตเทากับอัตราการใชหรืออัตราการ เกดิ เทา กับอัตราการตายเปนอยางนอย 10. หาทางปรับปรุงวิธีการใหม ๆ ในการผลิตและการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมี ประสิทธิภาพ อีกทง้ั พยายามคนควาสิง่ ใหมมาใชท ดแทน 11. ใหก ารศกึ ษาเพอื่ ใหประชาชนเขาใจถึงความสําคญั ในการรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ

23 สงิ่ แวดลอมคืออะไร สิ่งแวดลอม คือ ทุกส่ิงทุกอยางท่ีอยูรอบตัวมนุษยท้ังท่ีมีชีวิตและไมมีชีวิต รวมท้ังรูปธรรม (สามารถจบั ตอ งและมองเห็นได) และนามธรรม (ตัวอยางเชน วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความ เชื่อ) ท้ังที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น มีความสัมพันธเช่ือมโยงกัน เกื้อหนุนซึ่งกัน และกนั สาเหตุหลกั ของปญ หาส่ิงแวดลอมมีกป่ี ระการ 1. การเพิ่มของประชากร (Population growth) ปริมาณการเพม่ิ ของประชากรกย็ งั อยูใ น อัตราทวคี ูณ (Exponential Growth) เมือ่ ผคู นมากข้ึนความตองการบริโภคทรพั ยากรกเ็ พม่ิ มากข้ึน ทกุ ทางไมว าจะเปนเรอื่ งอาหาร ทอี่ ยูอาศยั พลงั งาน 2. การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี (Economic Growth & Technological Progress) ความเจริญทางเศรษฐกิจน้ันทําใหมาตรฐานในการดํารงชีวิตสูงตามไป ดวย มีการบรโิ ภคทรัพยากรจนเกนิ กวา ความจาํ เปนขนั้ พืน้ ฐานของชีวิต มีความจําเปนตองใชพลังงาน มากข้ึนตามไปดวย ในขณะเดียวกันความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีก็ชวยเสริมใหวิธีการนํา ทรพั ยากรมาใชไ ดงายขึน้ และมากขนึ้ ผลทไ่ี ดรบั จากปญ หาสง่ิ แวดลอ มไดแ กอ ะไรบา ง 1. การเปลย่ี นแปลงสิ่งแวดลอมในทองถ่ินโดยธรรมชาติ ไดแก การเกิดอุทกภัยจากนํ้าปาไหล หลาก ทําใหส่ิงมีชีวิตโดยเฉพาะพืชถูกนํ้าทวม พืชบางชนิดไมสามารถดํารงชีวิตอยูไดในท่ีท่ีมีน้ําทวม จงึ ตายไปในทส่ี ดุ และอทุ กภัยยงั กอใหเกดิ ความเสยี หายตอส่ิงมชี วี ิตทุกชนิด โดยเฉพาะสตั วแ ละมนุษย 2. การเกดิ ลมพายุก็เปน สาเหตุทที่ ําใหส ่ิงแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยลมพายุอาจพัดพา รุนแรงจนทําใหตนไมสูง ๆ บางตนตานแรงลมไมไหว จึงโดนลมลงไป ทําใหเกิดความเสยี หายตาง ๆ ตามมาทาํ ใหส ่ิงแวดลอ มเปลยี่ นไป

24 3. การเกดิ ภูเขาไฟระเบิดกเ็ ปน สาเหตทุ ี่ทําใหส่ิงแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลง ความรอนของ ลาวาที่ไหลออกมาจากปลองภเู ขาไฟ ทาํ ใหส ิ่งมชี ีวติ ไมสามารถดํารงชีวิตได อีกทั้งกาซตาง ๆ ท่ีปลอย ออกมาจากปลองภูเขาไฟทําใหส ภาพอากาศเปลี่ยนไป 4. การเปล่ียนแปลงส่ิงแวดลอมในทองถิ่นโดยมนุษย ไดแก มนุษยทําใหภูเขาไมมีตนไม กลายเปนภูเขาหัวโลน ตนไมในปาถูกตัดโคนทําลาย สัตวปาไมมีที่อยูอาศัยและขาดอาหาร นํ้าเสีย อากาศเปนพิษ ดินเสยี และเสอื่ มสภาพ

25 บทที่ 6 ปรากฏการณทางธรรมชาติ เมฆเกดิ จากอะไร “เมฆ” เปนไอน้ําท่ลี อยตัวอยใู นอากาศ เมอ่ื ไดร ับความรอ นจากดวงอาทติ ยกจ็ ะลอยตัวสงู ขึน้ จนไปกระทบกับมวลอากาศเย็นที่อยูดา นบนทาํ ใหกลั่นตัวเปนละอองน้ําขนาดเล็กและเมอ่ื ละอองน้ํา เหลานนั้ รวมตัวกันก็จะเปนเมฆ นักอตุ นุ ยิ มวทิ ยา แบงเมฆออกเปน กช่ี นดิ 1. เมฆช้ันสูง เปน เมฆทก่ี อตวั ทรี่ ะดับความสูงมากกวา 6 กโิ ลเมตร เมฆในชั้นนี้สว นใหญม กั จะมี ลักษณะเปนกอนเลก็ ๆ และมกั จะคอนขางโปรง ใส เมฆชั้นสงู แบงออกเปน 3 ชนิด คือ 1.1 เมฆเซอโรควิ มูลสั เมฆสีขาว เปนผลึกนํา้ แขง็ มีลักษณะ เปนร้ิว คลื่นเล็กๆ มักเกดิ ข้ึนปก คลุมทอ งฟา บรเิ วณกวา ง 1.2 เมฆเซอโรสเตรตสั มีลักษณะคลา ยกบั เมฆเซอรสั แตจะแผ ออกเปนแผนบางๆ ตาม ทศิ ทางของลม แผนบาง สีขาว เปนผลึกน้าํ แขง็ ปกคลุมทองฟา เปน บริเวณกวาง โปรง แสง ตอ แสงอาทติ ย บางคร้งั หกั เหแสง ทาํ ใหเ กดิ ดวงอาทติ ยท รงกลด และดวงจันทร ทรงกรด 1.3 เมฆเซอรสั เมฆร้ิว สีขาว รปู รา งคลา ยขนนก เปนผลกึ น้าํ แขง็ มกั เกิดข้ึนในวันท่ีมอี ากาศดี ทองฟาเปนสฟี าเขม 2. เมฆชั้นกลาง เปนเมฆท่กี อตัวขึ้นจากหยดน้ําหรอื ผลึกนํา้ แข็ง อยทู ร่ี ะดับความสูงจากพื้นดนิ 2 - 6 กโิ ลเมตร เมฆช้ันกลาง แบงออกเปน 2 ชนดิ คือ 2.1 เมฆอลั โตคิวมลู ัส เมฆกอน สีขาว ลกั ษณะเปนกลุมกอ นเลก็ ๆ คลา ยฝงู แกะมีชองวาง ระหวา งกอนเลก็ นอย บางครงั้ อาจกอตัวตํา่ ลงมาดคู ลาย ๆ กบั เมฆสเตรโตควิ มูลสั

26 2.2 เมฆอัลโตสเตรตสั มีลกั ษณะเปนแผน ปกคลุมบรเิ วณทองฟา บริเวณกวา ง สวนมากมกั มสี ี เทา เนื่องจากบังแสงดวงอาทิตยหรอื ดวงจนั ทร ไมใหลอด 3. เมฆชัน้ ตํา่ เปนเมฆท่เี กดิ ข้ึนท่ีระดับความสูงจากพ้นื ดนิ ไมเ กิน 2 กโิ ลเมตร ซึ่งสามารถจําแนกตาม ลักษณะรูปรางไดด งั น้ี 3.1 เมฆสเตรตสั เปนเมฆแผน บาง สีขาว ปกคลุมทองฟาบริเวณกวาง และอาจทาํ ใหเ กดิ ฝน ละอองได มักเกดิ ขึ้นตอนเชา หรือหลังฝนตก บางครั้งอาจลอยต่ําปกคลุมพ้ืนดนิ เรยี กวา “หมอก” 3.2 เมฆสเตรโตคิวมูลัส เมฆกอน ลอยติดกนั เปนแพ ไมม ีรูปทรงที่ชัดเจน มชี อ งวา งระหวาง กอนเพยี งเล็กนอ ย มักเกดิ ขนึ้ เวลาที่อากาศไมดี 3.3 เมฆนมิ โบสเตรตัส เมฆแผนหนาสเี ทาเขม คลายพื้นดินที่เปยกนํ้า ทาํ ใหเ กิดฝนตกพราํ ๆ หรอื ฝนตกแดดออก ไมม พี ายฝุ นฟา คะนอง ฟารองฟาผา มกั ปรากฏใหเ ห็นสายฝนตกลง มาจากฐานเมฆ 4. เมฆกอตวั ในแนวต้ัง เปนเมฆท่ีอยูสูงจากพ้ืนดินตงั้ แต 500-20,000 เมตร แบงออกเปน 2 ชนดิ คือ 4.1 เมฆควิ มลู สั เมฆกอ นปุกปุย สีขาว รูปทรงคลา ยดอกกะหล่าํ ฐานเมฆเปนสเี ทาเน่อื งจากมี ความหนามากพอท่ีจะบดบงั แสง จนทาํ ใหเกดิ เงา มักปรากฏใหเหน็ เวลาอากาศดี ทองฟา เปนสฟี า เขม 4.2 เมฆคิวมโู ลนิมบสั เมฆกอตวั ในแนวต้งั พัฒนามาจากเมฆควิ มลู ัส มีขนาดใหญม ากปก คลุมพ้ืนท่ีครอบคลุมทง้ั จังหวัด ทาํ ใหเ กิดปรากฏการณท างธรรมชาตติ า งๆ เชน ฟาแลบ ฟารอ ง พายฝุ นฟา คะนอง และบางคร้ังอาจมีลกู เห็บตก สีของเมฆนน้ั สามารถใชในการบอกสภาพอากาศไดห รอื ไม 1. เมฆสีเขียวจางๆ นัน้ เกิดจากการกระเจงิ ของแสงอาทิตยเมือ่ ตกกระทบนํา้ แขง็ 2. เมฆสเี หลอื ง ไมค อ ยไดพบเห็นบอ ยคร้งั แตอ าจเกิดขึ้นไดใ นชวงปลายฤดูใบไมผลไิ ป จนถึงชวงตนของฤดูใบไมรวง ซง่ึ เปนชวงทเ่ี กดิ ไฟปาไดงาย โดยสเี หลืองนั้นเกิดจากฝนุ ควนั ในอากาศ 3. เมฆสแี ดง สสี ม หรอื สีชมพู โดยปกตเิ กิดในชวงพระอาทิตยข ึ้น และพระอาทติ ยต ก

27 หมอกเกดิ จากอะไร หมอกเกิดจากกล่ันตัวของไอนํ้าในอากาศ เมื่อไปกระทบกับความเย็นจะเปล่ียนสถานะ ควบแนนเปนละอองนํ้า คลายควันสีขาว ลอยติดพน้ื ดิน บางครั้งจะหนามากจนเปนอุปสรรคในการ คมนาคม ซ่ึงในวันที่มีอากาศชื้น และทองฟาใส พอตกกลางคืนพ้ืนดินจะเย็นตัวอยางรวดเร็ว ทําใหไ อนาํ้ ในอากาศเหนือพนื้ ดนิ ควบแนนเปนหยดน้ํา หมอกซ่ึงเกิดข้ึนโดยวิธีนี้จะมีอุณหภูมิต่ําและมี ความหนาแนนสงู เคลื่อนตัวลงสูท่ีต่ํา และมีอยูอยางหนาแนนในหุบเหว แตเมื่ออากาศอุนมีความช้ืน สงู ปะทะกับพืน้ ผิวที่มีความหนาวเย็น เชน ผิวน้ําในทะเลสาบ อากาศจะควบแนนกลายเปนหยดนํ้า ในลักษณะเชน เดียวกบั หยดน้ําซ่ึงเกาะอยูรอบแกวนํา้ แข็ง นาํ้ คา งเกดิ จากอะไร น้ําคางเปนหยดน้ําขนาดเล็กเกาะติดพื้นดินหรือตนไม เกิดจากการควบแนนของไอนํ้าบน พ้นื ผิวของวัตถุ ซึง่ มีการแผร ังสีออกจนกระท่ังอุณหภมู ิลดตํ่าลงกวา จดุ น้ําคางของอากาศซ่ึงอยู รอบ ๆ เนอื่ งจากพ้ืนผิวแตละชนิดมีการแผรังสีที่แตกตางกัน ดังนั้นในบริเวณเดียวกัน ปริมาณของน้ําคางท่ี ปกคลุมพ้ืนผิวแตละชนิดจึงไมเทากัน เชน ในตอนหัวคํ่า อาจมีนํ้าคางปกคลุมพื้นหญา แตไมมี นาํ้ คา งปกคลุมพนื้ คอนกรีต เหตผุ ลอีกประการหน่ึงซึ่งทําใหนํ้าคางมักเกิดขึ้นบนใบไมใบหญาก็คือ ใบ ของพชื คายไอนํา้ ออกมา ทําใหอ ากาศบริเวณนนั้ มคี วามช้ืนสูง ฝนเกิดจากอะไร ไอนํ้าที่กลั่นตัวเปนหยดนํ้า แลวตกลงมาบนพื้นผิวโลก ซ่ึงเปนรูปแบบหนึง่ ของการตกลงมา จากฟาของนาํ้ นอกจากฝนแลวยงั มกี ารตกลงมาในรูป หมิ ะ เกล็ดน้ําแข็ง ลูกเห็บ น้ําคาง ฝนน้ันอยูใน รปู หยดนาํ้ ซ่ึงตกลงมายังพืน้ ผวิ โลกจากเมฆ ลกั ษณะของการเกดิ ฝน สามารถแบงตามสาเหตุการเกดิ ได ดงั นี้ 1. ฝนเกดิ จากการพาความรอน มวลอากาศรอ นลอยตัวสงู ขึน้

28 2. ฝนภูเขา มวลอากาศทอี่ มุ ไอนํา้ พดั จากทะเล ปะทะภูเขา จะลอยตัวสูงข้นึ 3. ฝนพายุหมุน ความกดอากาศสงู เคลอื่ นไปสบู รเิ วณความกดอากาศตา่ํ มวลอากาศในบรเิ วณ ความกดอากาศตา่ํ ลอยตัวสงู ขนึ้ 4. ฝนในแนวอากาศ มวลอากาศรอนปะทะมวลอากาศทม่ี ีอุณหภูมิเยน็ มวลอากาศรอ น ลอยตัวสูงขน้ึ ลกู เหบ็ เกดิ จากอะไร หยดนํา้ ทก่ี ลายสภาพเปนนํา้ แขง็ เกิดจากมวลอากาศรอนท่ีลอยตัวสูงขึ้นพัดพาเม็ดฝนลอยขึ้น ไปปะทะกับมวลอากาศเย็นที่อยูดานบน ทําใหเม็ดฝนจับตัวกลายเปนนํ้าแข็ง เมื่อตกลงมายังมวล อากาศรอนทีอ่ ยดู า นลาง ความช้ืนจะเขาไปหอหุมเม็ดนํ้าแข็งใหเพ่ิมขึ้น จากน้ันกระแสลมก็จะพัดพา เมด็ นาํ้ แขง็ วนซํ้าไปซ้าํ มาหลายครัง้ จนเมด็ น้ําแขง็ มีขนาดใหญขึ้น และกระแสลมไมสามารถพยุงเอาไว ไดจึงตกลงมายังพ้นื ดนิ สว นใหญจ ะมีขนาดเสน ผา ศนู ยก ลางประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ซ่ึงมักจะเกิดขึ้น ในเขตพ้ืนทีท่ ี่มอี ากาศรอ นมาก และเกดิ ในชวงเปลีย่ นจากฤดรู อ นไปเปนฤดฝู น ทําใหเ กิดความเสียหาย ตอการเล้ยี งสัตว เรอื กสวนไรนา บา นเรือน และเคร่ืองบนิ กรณศี ึกษาน้ําคา งแข็ง“แมค ะนิ้ง” เกดิ จากอะไร นา้ํ คา งแข็ง หรอื “แมค ะนิ้ง” และ“เหมยขาบ” เกิดจากไอน้ําในอากาศท่ีใกลๆกับพ้ืนผิวดิน ลดอุณหภูมิลงจนถึงจุดน้าํ คา ง จากนั้นก็จะกลัน่ ตัวเปนหยดนํ้า โดยอุณหภูมิยังคงลดลงอยางตอ เนื่อง จนถึงจดุ ตาํ่ กวา จดุ เยือกแขง็ จากน้นั น้าํ คางก็จะเกิดการแข็งตัวกลายเปนน้ําคางแข็งเกาะอยูตามยอด ไมใบหญา ซ่ึงการเกิดแมคะน้ิงน้ันไมใชจะเกิดขึ้นไดงา ยๆ แตจะเกิดก็ตอเม่ือมีอากาศหนาวจัดจน นา้ํ คา งยอดหญา หรอื ยอดไมแข็งตัว ในอุณหภมู ปิ ระมาณศนู ยอ งศาเซลเซียสหรอื ติดลบเล็กนอ ย

29 ผลกระทบของนา้ํ คา งแขง็ “แมคะนงิ้ ”ทําใหเ กิดอะไรบา ง การเกดิ แมค ะน้งิ อาจจะนาสนใจสําหรบั ใครหลายๆคน แตก็มที งั้ ผลดี และผลเสีย ซ่ึงถามองใน ดานการทองเท่ียวก็เปนตัวกระตุนนักทองเที่ยว แตในทางตรงกันขามจะมีผลกระทบโดยตรงทาง การเกษตร เพราะสรางความเสียหายแกพืชไรและผักตางๆ เชน ขาวท่ีกําลังออกรวงก็จะมีเมล็ดลีบ พชื ไรช ะงักการเจรญิ เติบโต พชื ผักใบจะหงิกงอ ไหมเ กรียม สว นพวกกลวย มะพราว และทุเรียนใบจะ แหงรวง เปนตน ซ่ึงหากแมคะนิ้งเกิดติดตอกันยาวนาน ถือวาชาวนา ชาวไร ชาวสวนเดือดรอน แนน อน การพยากรณอ ากาศหมายถึงอะไร การคาดหมายสภาพลมฟาอากาศ และปรากฏการณทางธรรมชาติในอนาคต เชน การคาดหมายสภาพอากาศของวันพรุง น้ี เปนตน การท่ีจะพยากรณอ ากาศไดต องมอี งคประกอบอะไรบาง 1. ความรูความเขาใจในปรากฏการณและกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในบรรยากาศ โดยไดม าจากการเฝา สังเกตและบนั ทึกไว ซ่งึ มนษุ ยไดมกี ารสังเกตลมฟาอากาศมานานแลว 2. สภาวะอากาศปจจุบัน ซึ่งจําเปนตองใชเปนขอมูลเริ่มตนสําหรับการพยากรณอากาศ โดยขอมลู น้ไี ดม าจากการตรวจสภาพอากาศ ซึง่ มที ั้งการตรวจอากาศผวิ พ้ืน การตรวจอากาศช้ันบนใน ระดับความสูงตาง ๆ ส่ิงสาํ คญั ทตี่ อ งทาํ การตรวจเพื่อพยากรณอากาศไดแก อุณหภูมิความกดอากาศ ความช้นื ลม และเมฆ

30 อณุ หภูมขิ องอากาศ หมายถึงอะไร ระดับความรอนของอากาศ ซ่ึงมีความสําคัญตอการหมุนเวียนของอากาศ โดยอากาศจะ เคล่ือนที่จากบรเิ วณที่มีอุณหภูมิต่ําไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกวา ทั้งน้ีอุณหภูมิของอากาศในแตละ บริเวณนน้ั จะมีลักษณะทีแ่ ตกตา งกนั ออกไป และสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา ความกดอากาศ หมายถึงอะไร น้ําหนักของอากาศท่กี ดทับเหนอื บริเวณน้ันๆ สามารถวัดไดโ ดยใชเครอื่ งมือที่เรียกวา \" บารอมเิ ตอร \" มหี นว ยเปน มิลลิบาร หรือ ปอนดต อตารางนวิ้ ความกดอากาศแบง ไดกี่ชนิดอะไรบาง 1. บริเวณความกดอากาศต่าํ หรือ หยอมความกดอากาศต่ํา หมายถึง บริเวณซ่ึงมีปริมาณ อากาศอยูนอย ซ่ึงจะทําใหนํ้าหนักของอากาศนอยลงตามไปดวย ทําใหอากาศเบาและลอยตัวสูงขึ้น เกดิ การแทนทีข่ องอากาศทําใหเกิดลม 2. บรเิ วณความกดอากาศสงู หรอื หยอมความกดอากาศสูง หมายถึง บริเวณที่มีคาความ กดอากาศสูงกวาบริเวณโดยรอบ เรียกอีกอยางหนึ่งวา \"แอนติไซโคลน\" เกิดจากศูนยกลางความกด อากาศสูงเคล่ือนตัวออกมายังบริเวณโดยรอบ ทําใหอากาศขางบนเคล่ือนตัวจมลงแทนที่ ทําให อณุ หภมู สิ ูงขน้ึ ไมเกิดการ กล่ันตัวของไอน้ํา สภาพอากาศโดยท่วั ไปจงึ ปลอดโปรง ทอ งฟา แจม ใส

31 บทที่ 7 สารและสมบตั ขิ องสาร สารคืออะไร สาร หมายถึง สิ่งที่มีตัวตน มีมวล ตองการท่ีอยู และสัมผัสได สารแตละชนิดจะมีสมบัติ เฉพาะตัว ซ่ึงแตกตางจากสารอน่ื เชน นํ้ามีจุดเดือด 100๐ C เอทิลแอลกอฮอล มีจุดเดือด 78.5๐ C และติดไฟได กรดบางชนิดมรี สเปรีย้ ว สามารถกัดกรอนโลหะบางชนิดได เบสบางชนิดมีรสฝาด และ กดั กรอ นโลหะบางชนดิ เปน ตน สมบตั สิ ําคญั ของสาร มีอะไรบา ง สมบตั ิของสารแบงออกเปน 2 ประเภท 1) สมบัติทางกายภาพ หมายถึง สมบัติของสารท่ีแสดงใหเห็นลักษณะภายนอกของสาร สามารถสงั เกตไดงาย เชน รปู รา ง สี กลิ่น รส สถานะของสาร จุดเดือด จุดหลอมเหลว เปน ตน 2) สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติของสารที่แสดงลักษณะภายในของสารโดยอาศัยการ เปล่ยี นแปลงทางเคมี เชน กรดมีความสามารถในการกัดกรอนโลหะ กาซออกซิเจนมีสมบัติทําใหสาร อ่ืนที่เปนเช้ือเพลิงสามารถตดิ ไฟได กา ซฮเี ลยี ม เปนกาซเฉ่อื ย คือไมทําปฏิกริ ิยากับสารใด ๆ เปน ตน สถานะของสารมีอะไรไดบ า ง ยกตวั อยางสารทอี่ ยูสถานะตาง ๆ สาร มี 3 สถานะ คอื 1) ของแขง็ (solid) เชน โลหะเหลก็ โลหะทองคาํ โลหะทองแดง กอนถาน เพชร ผงกํามะถนั แกว ไม ผงการบูร นํ้าแขง็ 2) ของเหลว (liquid) เชน นํา้ กล่ัน น้าํ เชือ่ ม โลหะปรอท นาํ้ มันเช้ือเพลงิ แกสหุงตม (เม่ือถูก อัดลงในถงั เกบ็ ) น้าํ มนั พืช ทินเนอร

32 3) แกส (gas) เชน อากาศ ไอนาํ้ กาซออกซเิ จน กา ซไนโตรเจน กา ซคารบ อนไดออกไซด กา ซ หงุ ตม (ขณะพงุ ออกจากถังเขาสหู ัวเตา) การจัดเรียงอนุภาคของสารใน 3 สถานะ ขา งตนดังกลา ว แตกตางกันอยา งไร 1) ของแข็ง อนุภาคชิดกันเปนระเบียบ มีความหนาแนนและแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลสูง อนุภาคของสารถูกตรึงใหอยูกับที่ (แตสามารถหมุนได) ของแข็งจึงมีรูปรางแนนอน ไมเปล่ียนตาม ภาชนะบรรจุ 2) ของเหลว อนุภาคอยูใกลชิดกันไมเปนระเบียบ แตมีแรงยึดเหน่ียวระหวางกันสามารถ เคลอ่ื นท่ไี ดใ นชว งแคบ ๆ จึงมีการชนกันตลอดเวลา การที่อนุภาคสามารถเคลื่อนที่ได หมุนได สั่นได โมเลกลุ ของของเหลว จึงมพี ลงั งานสงู กวา โมเลกุลของของแขง็ (เม่ือเปรียบเทียบสารชนิดเดียวกัน เชน อนุภาคของน้ํามีพลังงานสูงกวาอนุภาคของนํ้าแข็ง) การที่อนุภาคเรียงไมเปนระเบียบเทาของแข็ง จงึ ทําใหของเหลว ไหลได รูปรางของของเหลวจงึ เปลีย่ นตามรปู รางของภาชนะบรรจุ 3) แกส อนภุ าคอยูห า งกันเปน อิสระแกก นั โดยสิ้นเชิง แตละอนุภาคสามารถเคล่ือนที่ไดอิสระ จึงมีการชนกันตลอดเวลา การท่ีอนุภาคสามารถเคล่ือนท่ีได อยางอิสระนี้ อนุภาคของแกสจึงมี พลงั งานสูงกวาอนุภาคของของเหลวและของแข็ง (เม่ือเปรยี บเทียบสารชนดิ เดียวกัน เชน อนุภาคของ ไอนา้ํ น้าํ มพี ลังงานสูงกวาอนุภาคของนํา้ และอนภุ าคของน้าํ แขง็ ) การทอี่ นภุ าคเรยี งไมเ ปนระเบียบและ ฟงุ กระจายตลอดเวลาน้ี จึงทําใหแกสไหลได มีรูปรางของตามรูปรางของภาชนะบรรจุและบรรจุเต็ม ภาชนะเสมอ มีปจจัยใดบางทท่ี าํ ใหสารมกี ารเปลยี่ นแปลงสถานะ ปจ จัยท่ที ําใหสารเปลยี่ นแปลงสถานะ มี 2 ปจจยั คือ 1) การเปลีย่ นแปลงอณุ หภมู ิ การใหค วามรอนแกสารหรือสารที่ไดรับความรอน ทําใหสารมี อุณหภูมิสูงข้ึน มีผลทําใหสารเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็ง  ของเหลว และ ของเหลว แกส เชน การเกิดภาวะโลกรอน ทําใหนํา้ แข็งข้วั โลกมอี อุณหภูมิสงู ขึ้น ผลคือ น้ําแขง็ เปล่ียนเปนนํ้า

33 ในทางกลบั กัน ถาบังคบั ใหส ารสูญเสียความรอนหรือดึงความรอนออกจากสาร เปนการทําใหสารมี อุณหภูมิลดลง สารจะเปล่ียนสถานะจาก แกส  ของเหลว (เชนการใหไอน้ําปะทะกับบริเวณที่เย็น กวา ไอน้ําจะควบแนนเปนหยดนํ้า) ของเหลว ของแข็ง (เชนการนํานํ้าใสในชองแชแข็ง นํ้าจะ เปล่ียนเปนน้ําแข็ง หรือในวันท่ีอากาศหนาวจัด เมื่ออุณหภูมิลดลงตํ่ากวา 0๐C น้ําคางบนยอดหญา เปล่ยี นเปนนํา้ คางแข็ง 2) การเปลย่ี นแปลงความดัน การเพ่ิมความดนั มาก ๆ เปน การบีบใหอนุภาคของสารอยูชิดกัน มากขน้ึ มีผลทําใหแ กสมีโอกาสเปลียนเปนของเหลวได ตัวอยางเชน การอดั แกสหุงตมดวยความดันสูง มาก ๆ ทาํ ใหแกส หุงตมเปล่ียนเปนของเหลวไดเม่ืออยูในถังเก็บ การอัดนํ้าหอมดวยความดันสูงลงใน ขวดหรอื กระปอ งของผลติ ภณั ฑสเปรย ทําใหน ้ําหอมนั้นอยใู นสถานะของเหลว แตเมื่อพนออกมานอก กระปอง คาความดนั ลดลงเปนคาความดันปกติ ทําใหของเหลวในกระปองสเปรยเปล่ยี นเปน แกส ทนั ที ในบางกรณี มคี วามจาํ เปน ตอ งเปล่ียนแปลงทงั้ อณุ หภมู ิและเปลีย่ นแปลงความดันไป พรอม ๆ กัน เชน ในการผลิตนํ้าแข็งแหง (Dry ice) ซึ่งหมายถึงคารบอนไดออกไซดที่ถูกทําใหเปนของแข็ง โดยการนําเอากาซคารบอนไดออกไซดที่ทําใหบริสุทธ์ิแลว มาลดอุณหภูมิพรอมกับการเพิม่ ความดัน การลดอหุ ณหภมู ิ เมอื่ อณุ หภมลิ ดลง อนภุ าคของคารบอนไดออกไซด จะมพี ลังงานลดลง จะอยูช ิดกัน มากข้ึน การเพ่ิมความดัน ชวยบีบใหอนุภาคชิดกันมากขึ้น จึงทําใหกาซคารบอนไดออกไซดเปล่ียน สถานะจากแกส ไปเปน ของแข็ง ท่เี รยี กวานา้ํ แข็งแหง น่ันเอง ใหยกตัวอยางคําท่ีใชเ รียกการเปลยี่ นแปลงสถานะของสาร คาํ ท่ใี ชเรยี กการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร ไดแก คาํ ตอ ไปน้ี 1. การกลายเปนไอ (vaporization) การกลายเปนไอเปนคําเรียกรวม ๆของการเปล่ียน สถานะของสารจากของเหลวเปนแกส 2. การระเหย (Evaporation) หมายถึง การเปล่ียนสถานะจากของเหลวกลายเปนแกส โดยการสง ผานพลังงานจากการชนกนั ของอนภุ าคที่อยูภายในของของเหลวจนถึงอนุภาคท่อี ยูผิวหนา ของของเหลว การระเหยจึงเกิดข้ึนไดในทุก ๆ ชวงอุณหภูมิ เชน นํ้าสามารถระเหยได ท้ังในท่ีท่ี อุหณภูมิสงู และอณุ หภมู ติ า่ํ (แตจ ะระเหยไดเร็วชาตา งกัน-เม่อื อณุ หภูมสิ งู จะระเหยไดเร็วกวา)

34 3. การเดือด (Boiling) หมายถงึ การท่ีของเหลวเปลี่ยนเปนแกส เมื่อของเหลวถูกทําใหรอนข้ึน จนมีอุณหภูมิเทากับจุดเดอื ดของของเหลวน้ัน เชน ถาทําใหนํ้ารอนข้ึนจนถึง 100๐C นํ้าจะเดือด และเปลี่ยนสถานะเปนไอนํ้า ถาทําใหเอทิลแอลกอฮอลรอนข้ึนจนถึง 78.5 ๐C เอทิลแอลกอฮอลจะ เดือด และเปลีย่ นสถานะเปนไอของเอทิลแอลกอฮอล 4. การหลอมเหลว (Melting) หมายถึงการที่ของแข็งไดรับความรอนแลวเปล่ียนสถานะเปน ของเหลว เชน เม่ือนํากอนน้ําแข็งออกจากชองชแข็งมาวางทิ้งไว ณ อุณหภูมิหองนํ้าแข็งจะคอย ๆ หลอมกลายเปน นํา้ การนําแทงเทียนไขใสลงในภาชนะแลวใหความรอน เทียนไขจะหลอทกลายเปน ของเหลว เปนตน 5. การแข็งตัว (Freezing) หมายถึงการท่ีของเหลวสูญเสียความรอน แลวเปล่ียนเปนของแข็ง เชน การนํานํ้าเช่ือมเขา แชในถงั เก็บไอศกรีม ซ่ีงมีอุณหภูมิต่ํามาก นํ้าเช่ือมจะสูญเสียความรอนใหกับ บริเวณรอบ ๆ ในถังเก็บ จนในท่ีสุดนํ้าเช่ือมแข็งตัว เม่ือหยุดใหความรอนแกเทียนท่ีเปนของเหลว เทยี นเหลวน้ันจะคอย ๆ คายความรอนออกมาอยา งชา ๆ จนในท่ีสุด เทียนเหลวกลับเปนไขอยางเดิม ในฤดหู นาว น้าํ มนั พืชบางชนิด เชน นา้ํ มนั มะพราว เปลี่ยนเปนไข 6. การระเหิด (Sublimation) หมายถึง การท่ีของแข็งเปลี่ยนสถานะเปนไอโดยไมตองผาน การเปน ของเหลวกอ น เชน แนฟธาลนี (ลูกเหมน็ )ในตเู ส้ือผา เปล่ียนสถานะเปนไอของลูกเหม็น ไอของ ลูกเหม็นน้ีมีสมบัติเปนสารไลแมลง (Insect repellant) ไอโอดีน ซ่ึงมีลักษณะเปนเกล็ดสีนํ้าตาล เปลยี่ นเปน ไอของไอโอดีน มีลกั ษณะเปน ไอสมี วง เปนตน 7. การควบแนน (Condensation) หมายถึง การท่ไี อของสารหรือสารในสถานะแกสถูกบังคับ ใหสูญเสียความรอ น(เชน ใหป ะทะกบั บรเิ วณท่เี ย็นกวา) ไอของสาร หรือแกส เปลยี่ นเปนของเหลว

35 บทท่ี 8 การแยกสาร การแยกสารมคี วามสําคญั อยางไร ทําไมจึงตอ งมีการแยกสาร ในธรรมชาติสารมักอยูในรูปของผสม กลาวคือ มีสารหลาย ๆ ชนิดรวมกันหรือปนกันอยู แตเรามคี วามจําเปนตอ งใชป ระโยชนจ ากสารบางชนิดท่ีปนอยูในของผสมนั้น จึงจําเปนตองมีการแยก เอาสารนั้น ๆ ออกมาก เชน เราตองการเกลือแกง(โซเดียมคลอไรด)ท่ีปนอยูกับนํ้า และสารอ่ืน ๆ ในน้ําทะเล เราตองการดินประสิว (โพแทสซียมไนเตรต) จากดินมูลคางคาวท่ีเก็บจากถํ้า เราตองการนํ้าตาลทราย(นาํ้ ตาลซโู ครส) จากตนออ ย เปนตน หลักการสาํ คญั ของการแยกสาร มหี ลกั สําคญั อยางไร ในการแยกสารน้ัน ตองอาศัยสมบัติของสารเปนสําคัญ กลาวคือ ตองทราบวาสารที่เรา ตองการน้นั มีสมบตั สิ ําคัญตา งจากสารอื่นที่ผสมกันอยูน้ันอยา งไร ตวั อยาง - ตอ งการแยกเกลือแกงซงึ่ ผสมอยกู บั ผงถา น เกลือแกงกับผงถาน สาร 2 ชนิดน้ี ละลายในน้ําได แตกตา งกนั เกลอื แกงละลายนา้ํ ไดด ี ผงถา นไมล ายนํา้ ดงั นน้ั เราใชสมบัติเรื่องการละลายน้ํา ในการแยก เกลือแกงกับผงถานจากกัน คือ นําของผสมใสภาชนะ เชน บีกเกอรหรือถวยแกว เติมน้ําลงไปเพียง เพอ่ื ใหล ะลายเกลือแกงไดห มด ผงถานไมล ะลายนา้ํ นําไปกรองดวยกรวยแกวและกระดาษกรอง ผงถาน ติดอยูทกี่ ระดาษกรอง เกลอื ท่ีละลายอยูในนา้ํ ผานกระดาษกรองไปได ขน้ั ตอนนีเ้ รียกวา การกรอง เมอื่ วางทิง้ ไวใ หนาํ้ ระเหยไป จะไดเ กลอื บรสิ ุทธอิ์ อกมา การทเี่ กลือแกงที่เคยละลายในน้ําได ตอมาเมื่อน้ํา ระเหยไป เกลือสว นที่ไมล ะลาย แยกออกมาจากน้าํ เกลือเขมขน น้ี เรียกวา การตกผลึก หรือหากตองการ ใหน าํ้ ระเหยออกไปอยางรวดเร็ว ก็ใหความรอนชวย โดยการตมก็ได หลักการนี้เปนหลักการท่ีใชในการ ทาํ เกลือสนิ เธาว คอื การแยกเกลืออกมาจากดนิ เคม็ - ตอ งการน้าํ บริสุทธิ์ จากน้ําทีม่ สี ารอ่นื ละลายปนอยดู วย ถาสารอื่นท่ีละลายปนอยูนั้น ระเหยได ยาก คือ มจี ุดเดือดสูง เชน นาํ้ ปนกับเกลือแกง เราสามารถแยกออกจากกนั โดยการกลน่ั กลาวคอื

36 นําของผสมใสใ นขวดแกว ท่ปี ด สนทิ มีชองทางใหไ อออกไดทางเดียว เมื่อใหความรอนน้ําระเหยกลายเปน ไอผานทางชองทางออก เขาสูสวนที่เย็นกวา เรียกวา คอนเดนเซอร (Condensor) แปลวา สวนท่ีทําให เกิดการควบแนน ไอน้ํา จะเปล่ียนเปนหยดนํ้า หยดลงสูภาชนะรองรับ สวนสารอื่น ๆ ที่ไมระเหยยังคง คา งในขวดแกว เราเรียกการแยกสารโดยวิธนี ว้ี า การกล่ัน (Distillation) - ตองการแยกนํ้าตาลทรายออกมาจากตนออ ย เมอื่ นาํ ลําตน ออ ย มาทาํ ความสะอาดใชแ รงกล ในการบบี หรือหีบออ ยใหนํ้าออ ยแยกออกมา แยกสว นทเี่ ปนของแข็งออกจากน้ําออยโดยการกรอง ไดผล เปนน้ําออ ย เมอื่ ทาํ ใหรอน น้ําระเหยไปจนไดนํ้าออยท่ีเขมขน นาํ้ ตาลทรายท่ีละลายในน้ําออยสวนท่ีเคย ละลายได จะละลายไดนอยลง จะแยกตวั ออกมา โดยการตกผลกึ ผลึกที่ไดน ี้ คือ นํ้าตาลทราย การกล่นั ลาํ ดับสว น มีหลกั การสาํ คัญอยา งไร แตกตา งจากการกลน่ั แบบธรรมดาอยางไร ในกรณีท่ีของผสมเปนของเหลว ซ่ึงมีจุดเดือดแตกตางกัน ผสมกันอยู การกลั่นธรรมดา ไมอาจแยกของเหลวที่ผสมกันนั้นออกจากกันได เน่ืองจากในขณะที่ใหความรอนของเหลวชนิดหน่ึง ระเหย ของเหลวชนดิ อ่นื ๆ ก็ระเหยไดด วย จงึ มคี วามจําเปนตองเพ่ิมอุปกรณบางอยางเขาไป เพ่ือทํา ใหไอของของเหลวท่ีมีจุดเดือดสูงกวา ระเหยออกมาทีหลัง ตามลําดับของคาจุดเดือด กลาวคือ ของเหลวที่มีจดุ เดอื ดต่ํา ระเหยไดง ายกวา จะกลายเปนไอและเขา สูคอนเดนเซอร(สวนที่ทําใหเกิดการ ควบแนน)กอน จงึ เกบ็ ของเหลวทีก่ ลนั่ ไดก อน สวนของเหลวทมี่ ีจุดเดอื ดสงู กวา กลายเปนไอออ/กมาที หลัง เขาสูคอนเดนเซอร และเก็บไดเปนลําดับถัดมา ของเหลวที่กลั่นได จะถูกเก็บแยกเปนสวน ๆ ตามลาํ ดับของจุดเดอื ด จึงเรยี กการกลน่ั แบบน้วี า การกลัน่ ลําดับสว น (Fractional Distillation) อปุ กรณท ี่เพิ่มจากการกลน่ั ธรรมดา คือ กระบอกแกว ทรงสูง บรรจุดว ยลูกแกว เศษแกว หรือแกว ท่ีพับทบ ไปทบมาเพื่อเพ่ิมพื้น ที่ ผิวสัมผัส ทําใ หไอ ขอ ง ของเหลวที่มีจุดเดือดสูง กวาผานออกไปไดยากขึ้น เรียกก ระบอกแกวน้ีวา คอมลมั นกลน่ั ลาํ ดับสว น

37 ในการกล่ันลําดับสวนปโตรเลียม ไดประยุกตหลักการนี้ โดยการดัดแปลงใหมีชองทางออก สําหรับไอของของเหลวหลาย ๆ ชอ ง ตามระดับความสงู ตาง ๆ กัน (ดูภาพหอกลั่นนํ้ามันดิบประกอบ) ของเหลวที่มจี ดุ เดอื ดต่าํ กลายเปนไอกอน เม่ือใหความรอนจนของเหลวท่ีมีจุดเดือดสูงกวากลายเปน ไอตามมา ไอของของเหลวเหลาน้ีจะลอยอยูที่ความสูงแตกตางกัน สารท่ีมีจุดเดือดตํ่าสุดลอยอยูท่ี สงู สดุ ของหอกล่ัน สว นสารท่มี ีจุดเดือดต่าํ กวา จะลอยต่าํ ลงมาตามลําดับ เมื่อตอทอใหไอเขาสูเครื่อง ควบแนน ที่ระดบั ความสูงแตกตา งกัน จะไดของเหลวที่มีจุดเดือดแตกตางกันออกมาเปนสวน ๆ เรียก การกล่ันแบบน้ี วา การกล่ันลําดับสวน เชนกัน ซ่ึงใชในการแยกนํ้ามันเช้ือเพลิงชนิดตาง ๆ ออกจาก น้าํ มันดบิ ไอของสารท่มี จี ุดเดอื ดตาํ่ กวา ระเหยงา ยกวา ลอยอยสู งู กวา ในหอกลัน่ ไอของสารที่มจี ดุ เดอื ดสูงกวา ระเหยยากกวา ลอยอยูตา่ํ กวา ในหอกลน่ั โครมาโทกราฟ คอื อะไร มอี งคประกอบสําคญั อะไรบา ง แยกสารผสมออกจากกนั ไดอยา งไร โครมาโทกราฟ แปลตามศพั ทแปลวาแยกออกเปน สี ๆ เปน วธิ กี ารแยกสารทีอ่ าศยั สมบัติท่ีแตกตา ง กันของสารใน 2 ประการ คอื 1. สมบัตใิ นการละลายในตัวทําละลาย (ทใี่ ชใ นโครมาโทกราฟคร้ังน้นั ) ไดแ ตกตา งกนั 2. สมบัตใิ นการถูกดดู ซบั โดยตวั กลาง (ทีใ่ ชในการทาํ โครมาโทกราฟค รั้งนัน้ ) ไดแตกตางกัน

38 องคป ระกอบในการทําโครมาโทกราฟ ประกอบดว ยอะไรบา ง - องคป ระกอบท่ี 1 สว นท่ีอยกู ับท่ี หรือตัวดดู ซับ - องคป ระกอบท่ี 2 สว นท่ีเคลอื่ นที่ หรือตัวทาํ ละลายที่ใช กลไกการแยกเกิดขึ้นเมื่อปลอยใหสารผสมเคล่ือนท่ีผานตัวดูดซับ สารแตละชนิดจะละลายในตัวทํา ละลายทใี่ ชไ ดต า งกัน และถูกดดู ซับโดยตัวดดู ซับไดแ ตกตางกนั สารท่ีละลายไดดีและถูกดูดซับไดน อย จะเคลื่อนที่ไปไดม ากกวา ในทางกลับกัน สารที่ละลายไดไมคอยดีและถูกดูดซับไดมากจะเคล่ือนที่ไป ไดนอ ยกวา การแยกจงึ เกิดขึ้น ในปจจุบันมีเทคนิคทางโครมาโทกราฟทส่ี ามารถใชแ ยกสารไดหลากหลาย ท้ังสารที่มสี ีและไม มสี ี และเปนวธิ ีการท่ีสาํ คญั มากที่ใชท้ังกระบวนการแยกสารและกระบวนการตรวจวิเคราะห เพ่ือบง บอกชนดิ ของสาร

39 บทที่ 9 สารในชีวิตประจาํ วัน สารเขาสรู า งกายไดอ ยางไร ในชีวิตประจําวนั สารมีโอกาสเขา สูร า งกายในทางตอ ไปนี้ 1. ทางปาก โดยการกินจะกินโดยต้ังใจ หรือสารปนเปอนกับอาหาร เปอนมือมาในขณะที่จับ สารพิษแลวไมไดลางทําความสะอาดกอนหยิบจับอาหารมารับประทาน ตัวอยาง ผูที่ทํางานในภาค การเกษตร หยิบจับปุย ยาฆาแมลง สารกําจัดวัชพืช แลวไมลางมือ ทําความสะอาดใหดี เมอ่ื มารบั ประทานอาหาร โอกาสทีจ่ ะสารเหลานจี้ ะเขาสรู างกายโดยการกนิ จงึ มโี อกาสเกดิ ขน้ึ ได 2. ทางจมูก โดยการสูดดมเอาไอของสารน้ัน ๆ เขาไป เชน ผูท่ีทํางานในปมน้ํามัน ในขณะท่ี เติมน้าํ มันน้นั ไอระเหยของน้าํ มนั เชอ้ื เพลิงมโี อกาสเขา สูรา งกายได 3. ทางผิวหนัง โดยการสัมผัสกับสารเคมีเหลานั้น เชน ผูที่ทํางานในภาคการเกษตรในขณะ หยบิ จบั สารพิษท่ใี ชฆ าแมลงหรือยาปราบวัชพืช ในขณะสมั ผัสโดยไมใชถ งุ มือปองกันท่ีดีพอ สารพิษมี โอกาสซึมผานผิวหนังได ใหยกตัวอยา งสารทพ่ี บในชวี ิตประจาํ วนั และวกี ารใชส ารน้นั ๆ อยา งปลอดภัย ในชวี ิตประจาํ วนั เราพบและใชส ารกลมุ ตา ง ๆ มากมาย ขอยกตัวอยางสารกลมุ ตางๆ ทสี่ ําคญั ๆ ดังน้ี 1. กลุม ผลิตภัณฑจากการกลั่นปโตรเลียมและตัวทําละลายอินทรีย ไดแก น้ํามันเชื้อเพลิง ชนิดตา ง ๆ ไดแก นํ้ามันเบนซิน น้ํามันดีเซล น้ํามันกาด ตัวทําละลาย เชน ทินเนอรผสมสี น้ํามันสน น้าํ ยาลา งเล็บ แอลกอฮอลจ ดุ ไฟ กาวบางชนดิ สารกลมุ นี้มีสมบตั ิที่สําคญั คือ ไมล ะลายนํ้าหรือละลาย ไดน อ ยมาก เมอื่ ผสมกบั นาํ้ จะแยกชั้น มีสมบัตเิ ปน เชอ้ื เพลิง ตดิ ไฟไดดี 2. สารกลุมละลายน้ําไดและมีฤทธ์ิกัดกรอน ไดแก สารกลุมที่เปนกรด เชน นํ้าสมสายชู นํ้ามะนาวสังเคราะห (กรดซิตริก) น้ํากรดในแบตเตอรีรถยนต (กรดซัลฟวริก) กรดเกลือ (กรดไฮโดรคลอริก) ในผลติ ภัณฑล า งพืน้ หอ งน้าํ บางชนดิ กรดกดั แกว ในการกัดกระจกใหเปนลายแบบ

40 ตาง ๆ สารกลมุ ทเี่ ปนเบส (ดาง) เชน โซดาไฟทีใ่ ชในการลางทอที่อุดตันใชในการทําสบู และใชในการ ผลติ แกส ไฮโดรเจนเพื่ออดั เขา สลู กู โปงชนดิ ลอยได แอมโมเนียในผลติ ภัณฑเ ชด็ กระจก 3. กลุม สารเคมที ่ใี ชใ นการทําความสะอาด สบู แชมพสู ระผม (นับเปนสบูชนดิ หนึง่ ) ผงซกั ฟอก นาํ้ ยาขจดั คราบ ยาสีฟน 4. สารเคมที ่ใี ชใ นการเกษตร ไดแ ก สารฆา แมลง (Insecticide) สารกันรา (Fungicide) สาร ปราบวชั พืช (Herbicide) เปนตน 5. กลุมสารทใ่ี ชใ นการขบั ไลแ มลง เชน สเปรยฉ ีดกนั ยงุ /แมลงสาบ โลชัน่ ทากนั ยงุ ยาจดุ กัน ยุง แนฟธาลีน (ลกู เหมน็ ) สารกลุมทกี่ ลาวมาขา งตน ตอ งใชด ว ยความเขา ใจ ระมัดระวัง เนือ่ งจากอาจกอ ใหเกิดอนั ตราย โดยตรง เกดิ ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอม โดยมีรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ในแตละกลมุ 1. กลุมผลติ ภัณฑจากการกลั่นปโตรเลียมและตัวทําละลายอินทรีย ไดแก นํ้ามันเชื้อเพลิง ชนิดตาง ๆ ไดแ ก น้าํ มันเบนซิน นํา้ มันดีเซล น้ํามนั กา ด ตัวทําละลาย เชน ทินเนอรผสมสี นํ้ามันสน นํา้ ยาลางเล็บ แอลกอฮอลจ ุดไฟ กาวบางชนดิ สารกลุมน้มี สี มบตั ิทสี่ าํ คัญ คือ ไมละลายนํ้าหรือละลาย ไดนอยมาก เมอื่ ผสมกับนํ้า จะแยกช้ัน มีสมบัติเปนเช้ือเพลิง ติดไฟไดดี กอใหเกิดความระคายเคือง ตอ เนอ่ื เยือ่ ของรางกาย หากสดู ดม เผลอกินเขาไป หรือสัมผัส ในการใชสารกลุมน้ี จึงตองระมัดระวัง เก็บในภาชนะท่ีเหมาะสม เชน นํ้ามันเบนซินไมควรเก็บในขวดพลาสติก เน่ืองจากพลาสติกสามารถ ละลายในน้ํามันเบนซินได ภาชนะที่เก็บตองปดสนิทเพ่ือไมใหไอระเหยออกมาได เก็บใหหางจาก บรเิ วณที่รอน มีเปลวไฟหรือประกายไฟ เก็บใหพนมือเด็ก เก็บไวในที่มืด แหง และเย็น และอากาศ ระบายถายเทไดดี ในขณะใชควรสวมถุงมือ มีผาปดจมูก เปนตน การชําระลางสิ่งท่ีปนเปอนดวยสาร กลมุ น้ี ตอ งใชสารกลุมผงซักฟอกหรือสบู ชว ย เนอ่ื งจากสารกลมุ นไ้ี มล ะลายในนาํ้ แตละลายปนกับนํ้า ไดดีข้นึ เม่อื มีผงซักฟอกหรือสบชู วย 2. สารกลุมละลายน้ําไดและมีฤทธิ์กัดกรอน ไดแก สารกลุมท่ีเปนกรด เชน นํ้าสมสายชู นํ้ามะนาวสังเคราะห (กรดซิตริก) น้ํากรดในแบตเตอรีรถยนต (กรดซัลฟวริก) กรดเกลือ (กรดไฮโดรคลอริก) ในผลิตภณั ฑลา งพื้นหองนํา้ บางชนิด กรดกดั แกวในการกัดกระจกใหเปนลายแบบ ตา ง ๆ สารกลมุ ทเี่ ปนเบส (ดา ง) เชน โซดาไฟทใี่ ชใ นการลา งทอท่ีอดุ ตันใชใ นการทําสบู และใชในการ

41 ผลิตแกสไฮโดรเจนเพ่ืออัดเขาสูลูกโปงชนิดลอยได แอมโมเนียในผลิตภัณฑเช็ดกระจก สารกลุมนี้ ละลายนํ้าไดดี สามารถเขาสูรางกายไดท้ังทางปาก ทางจมูกและโดยการสัมผัส และมีฤทธ์ิกัดกรอน อยา งรนุ แรง โดยเฉพาะบรเิ วณเย่อื บุ เชน เยื่อบุตา หากเขาตาจะเปนอันตรายมาก ดงั นั้นในการใชจึง ตองระมดั ระวังเปนพเิ ศษ หากเขา ตา ตองลางดวยนาํ้ สะอาดปรมิ าณมาก ๆ ทันทแี ละตอ งรบี พบแพทย พรอ มนาํ ขวดท่ีบรรจุผลิตภัณฑน ้ัน ๆ ไปดว ย 3. กลุมสารเคมีท่ีใชในการทําความสะอาด สบู แชมพูสระผม(นับเปนสบูชนิดหน่ึง) ผงซักฟอก น้ํายาขจัดคราบ ยาสีฟน สมบัติเฉพาะของสบูและผงซักฟอกคือ บางสวนของโมเลกุล ละลายไดใ นนาํ้ ในขณะที่อีกบางสวนของโมเลกุลละลายไดใ นนํ้ามัน จึงทําใหเมื่อใสสบูหรือผงซักฟอก ลงไปในของผสมระหวางน้ํากับนา้ํ มนั มีผลทาํ ใหนํ้ามันแตกออกเปนอนุภาคท่ีเล็กมากและกระจายอยู ในนํ้า เราจึงใชส บแู ละผงซกั ฟอกเปนสารทําความสะอาดและซักลาง ขอแตกตา งที่สําคัญระหวางสบู กบั ผงซกั ฟอกคือ สบูไมใชท าํ ความสะอาดไดใ นน้าํ ออ น แตไมสามารถทําความสะอาดไดในนํ้ากระดาง (นา้ํ ทม่ี ไี อออนของธาตุแคลเซียมละลายอยู) สวนผงซกั ฟอกสามารถใชไ ดท ง้ั ในนํา้ ออ นและนา้ํ กระดาง สารกลมุ นี้ มคี วามระคายเคอื ง ตอรางกาย เน่ืองจากสามารถทําละลายไขมันไดดี การสัมผัสเปน เวลานาน ๆ จะทําใหผิวแหง แตก และอักเสบได ดังน้ัน เม่ือใชสบูห รือผงซักฟอกติดตอกันนาน ๆ ควร ลางทําความสะอาดผิวหนงั และใชครีม หรอื โลชน่ั ถนอมผิวทา เพ่ือมใิ หผิวแหง การใชส ารกลุมนใี้ นปริมาณมาก ๆ สง ผลกระทบตอสง่ิ แวดลอ ม กลาวคือ เม่ือนํ้าผงซักฟอกถูก ถายเทลงแหลงน้ําในปริมาณมาก ๆ ฟอสเฟตท่ีปนมากับผงซักฟอก จะทําใหพืชน้ํา เชน ผักตบชวา สาหรา ย จอก แหน เจรญิ ไดรวดเรว็ เปน ตนเหตใุ หเกิดน้ําเนาเสียได 4. สารเคมีทใ่ี ชในการเกษตร ไดแ ก สารฆาแมลง (Insecticide) สารกันรา (Fungicide) สาร ปราบวัชพชื (Herbicide) สารกลมุ น้ีเปน สารอินทรยี สงั เคราะหท ม่ี พี ิษ (Toxic) ตอ รางกายอยางรุนแรง ตองใชอยางระมดั ระวงั ตามคูมือและวธิ กี ารทผ่ี ูผ ลิตแนะนาํ บนกลอ งหรอื ขวดบรรจุภณั ฑอยางเครงครัด และใชเมือ่ มีการระบาดของโรคพชื แมลงศตั รูพชื อยา งรนุ แรง ใชเ ทาทจี่ ําเปน และไมมีวิธีการอื่นใหเปน ทางเลือก ภายใตการดูแลและคําแนะนําของผูท่ีมีความรูเฉพาะ เชน เจาหนาท่ีการเกษตร นัก พษิ วทิ ยา เปน ตน เน่อื งจากสารเคมีกลุมนี้ นอกจากเปนพิษโดยตรงตอผูใช ผูที่สัมผัสแลว เน่ืองจากมี ฤทธิ์ตกคางนานกวา สารจากธรรมชาติ จึงตกคางในสิ่งแวดลอม ตกคางในผลผลิตทางการเกษตรไปสู ผูบรโิ ภคผลผลติ น้ัน ๆ ไดด ว ย

42 5. กลุมสารที่ใชในการขับไลแมลง หรือฆาแมลงที่อาศัยในบาน แมลงท่ีอาศัยในบาน (Household Insect) เชน ยงุ แมลงสาบ เปนพาหะของโรคและทําความรําคาญ การใชสารไลแมลง เชน สเปรยฉ ีดกนั ยุง/แมลงสาบ โลชน่ั ทากันยงุ ยาจุดกันยุง แนฟธาลีน (ลกู เหม็น) ท่ีใชไลแมลงสาบใน ตูเสื้อผา สารเหลานไี้ มเพียงแตเปนพิษตอแมลงเทานั้น แตเปนพิษโดยตรงตอมนุษย จึงตองใชเทาท่ี จาํ เปน และหลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรง การสูดดมเอาไอ หรือควนั ของสารเหลาน้ี ยกตวั อยา งผลกระทบที่อาจเกดิ ขน้ึ จากการใชสารตอ ชีวติ และสิ่งแวดลอ ม ในชีวิตประจําวัน เราตองเก่ียวของกับสารมากมายหลายชนิดและเขาสูรางกายไดหลายทาง ดงั ท่ไี ดกลา วแลว การใชสารอยางขาดความเขาใจและขาดความระมัดระวังอาจกอใหเกิดอันตรายได อยา งมหาศาล ทง้ั ตอ ชวี ิตมนุษยโ ยตรง ตอ พืชและสตั วตาง ๆในระบบนิเวศหรอื ส่งิ แวดลอม นอกจากท่ี ไดกลาวแลว ขอยกตัวอยางอันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นจากการใชสารอยางขาดความเขาใจและไม ระมดั ระวงั ดังตอไปน้ี 1. กลุมสารที่ติดไฟได (Flamable) มีสมบัติเปนเช้ือเพลิงอยางดี เชน ทินเนอร นํ้ามันสน น้ํามันเชื่อเพลิงชนิดตาง ๆ น้ํายาลางเล็บ แอลกอฮอล สารกลุมนี้ตองเก็บใหมิดชิด ในบริเวณท่ีแหง เย็น อากาศระบายไดด ี เก็บใหหางจากแหลงท่ีมีความรอน ประกายไฟ เพราะหากไมระมัดระวังแลว อาจเปน สาเหตุของการเกดิ อัคคีภัยรุนแรงได และหากรั่วไหลลงสูส่ิงแวดลอม จะเปนพิษตอพืชและ สัตว 2. กลุมสารเคมีทางการเกษตร ทําใหเกิดอันตรายตอผูใ ชโดยตรงตอผูใชโดยตรง เปนพิษตอ ประชาชนทั่วไป ตกคางในสิ่งแวดลอม ตกคางในสัตวนํ้า สัตวอ่ืน ๆ ที่สามารถเขาสูรางกายมนุษย ตอไปไดเม่ือจับสัตวเหลา นั้นมาเปนอาหาร หรืออาจทําใหสัตวบางชนิดตายไปในปริมาณเกินสมดุล เชน ทําใหนกตายไปปริมาณมาก ๆ ปกติแมลงเปนอาหารของนก นกเปนผูควบคุมปริมาณแมลงใน ระบบนิเวศแมลง เมื่อนกตายไปมาก ๆ ทําใหแมลงศัตรูพืชระบาดได เปนตน นอกจากนี้ การใช สารเคมีกลุมนเี้ กินความจําเปน ทําใหเกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เนื่องจากสวนใหญเราตองนําเขา สารกลมุ นจี้ ากตางประเทศ

43 บทท่ี 10 แรงและการเคล่อื นทข่ี องแรง จงอธิบายความหมายของแรง และประเภทของแรงโดยสงั เขป แรง หมายถงึ อาํ นาจภายนอกทสี่ ามารถทําใหว ัตถเุ ปล่ยี นสถานะได เชน ทําใหว ัตถทุ อ่ี ยนู ิ่ง เคล่ือนท่ไี ป ทําใหวัตถุท่ีเคลอ่ื นที่อยแู ลว เคลอ่ื นทเี่ รว็ หรือชา ลง ทาํ ใหว ัตถมุ กี ารเปล่ยี นทศิ ตลอดจนทํา ใหว ัตถมุ กี ารเปล่ยี นขนาดหรอื รูปทรงไปจากเดมิ ได แรงเปนปรมิ าณเวกเตอรทีม่ ีท้งั ขนาดและทศิ ทาง การรวมหรือหักลางกนั ของแรงจงึ ตอ งเปนไปตามแบบเวกเตอร ประเภทของแรง แรงมีหลายประเภท ไดแก แรงยอย แรงลพั ธ แรงกิรยิ าและแรงปฏิกริ ยิ า แรงขนาน แรงคูค วบ แรงตงึ แรงสูศูนยกลาง แรงตาน แรงเสียดทาน จงอธิบายความหมาย ประโยชน และโทษของแรงเสียดทาน แรงเสยี ดทาน หมายถงึ แรงทเี่ กิดจากการเสียดสรี ะหวา งผิววตั ถทุ ีม่ ีการเคลื่อนที่หรือพยายาม ท่ีจะเคลื่อนที่ แรงเสียดทานเปนแรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีทิศทางตรงขามกับทิศทางการ เคล่ือนทีเ่ สมอ แรงเสียดทานมี 2 ชนดิ คือ 1. แรงเสยี ดทานสถติ คือ แรงเสยี ดทานทีเ่ กดิ ข้ึนขณะวตั ถุเริม่ เคล่อื นท่ี 2. แรงเสียดทานจลน คือ แรงเสียดทานทีเ่ กดิ ขึ้นขณะท่วี ตั ถุเคล่อื นที่ ปจจยั ท่ีมีผลตอแรงเสียดทาน 1. น้ําหนกั ของวตั ถุ คือวตั ถุทมี่ นี ้าํ หนกั กดทับลงบนพนื้ ผวิ มากจะมีแรงเสียดทานมากกวาวัตถุท่ี มนี า้ํ หนักกดทับลงบนพื้นผวิ นอย 2. พน้ื ผิวสัมผสั ผิวสัมผัสท่เี รียบจะเกดิ แรงเสยี ดทานนอยกวาผวิ สัมผัสท่ีขรุขระ ประโยชนข องแรงเสยี ดทาน ไดแก แรงทที่ าํ ใหว ัตถทุ ่กี ําลังเคล่อื นท่ี หยุด หรือเคล่ือนทชี่ า ลง เชน - ระบบเบรคปอ งกันการเกดิ อบุ ัติเหตุทางรถยนต - รองเทา ปองกนั การหกลม

44 โทษของแรงเสียดทาน ไดแก แรงทฉี่ ดุ รัง้ ไมใ หวัตถุเคล่อื นท่ี หรอื เคลอ่ื นท่ไี ดช า เชน - ถา ลอ รถยนตก ับพนื้ ถนนถา มีแรงเสียดทานมากรถยนตจะแลนชา ตองใชนํ้ามันเช้ือเพลิงมาก ขนึ้ เพือ่ ใหร ถยนตมีพลังงานมากพอท่ีจะเอาชนะแรงเสียดทาน - การเคลื่อนตูขนาดใหญ ถาใชว ิธีผลักตปู รากฏวา ตูเคลือ่ นทยี่ ากเพราะเกิดแรงเสยี ดทาน จะตอ งออกแรงผลกั มากข้ึนหรอื ลดแรงเสยี ดทาน โดยใชผา รองขาตเู พอื่ ลดแรงเสยี ดทาน จงอธบิ ายถึงความหมายและประโยชนข องแรงลอยตัว แรงลอยตวั คือ แรงลัพธที่ของไหลกระทําตอ ผวิ ของวัตถทุ จ่ี มบางสว นหรอื จมท้ังชิ้นวัตถุซึ่งเปน แรงปฏิกิริยาโตตอบในทิศทางข้ึนเพ่ือใหเกิดความสมดุลกับการท่ีวัตถุมีนํ้าหนักพยายามจมลงอัน เนื่องมาจากแรงโนมถวงของโลก ขนาดของแรงลอยตัวมีคาเทากับนํ้าหนักของของไหลท่ีมีปริมาตร เทากบั วัตถุสวนท่จี ม ซึ่งสามารถพสิ ูจนไ ดโ ดยพจิ ารณาวตั ถุท่จี มในของไหล “แรงลอยตัวจะเทา กบั นา้ํ หนกั ของของเหลวท่ีถกู แทนท”่ี ปจจยั ทีเ่ กีย่ วของกบั แรงลอยตัว ไดแ ก 1. ชนิดของวัตถุ วัตถุจะมีความหนาแนนแตกตา งกนั ออกไปยิง่ วตั ถุมีความหนาแนนมาก ก็ยงิ่ จมลงไปในของเหลวมากยงิ่ ขนึ้ 2. ชนิดของของเหลว ยงิ่ ของเหลวมีความหนาแนนมาก ก็จะทาํ ใหแ รงลอยตัวมขี นาดมากขึ้นดว ย 3. ขนาดของวัตถุ จะสง ผลตอ ปรมิ าตรท่จี มลงไปในของเหลว เม่อื ปรมิ าตรที่จมลงไปใน ของเหลวมาก กจ็ ะทําใหแ รงลอยตวั มีขนาดมากขึ้นอีกดวย ประโยชนข องแรงลอยตวั - ใชใ นการประกอบเรอื ไมใหจมนา้ํ - ใชท าํ ชูชีพในการชวยเหลือผูประสบภัยทางน้าํ - ใชทําเครื่องมอื วัดความหนาแนนของวัตถุ

45 จงอธิบายกฎการเคล่อื นทข่ี องนวิ ตนั และประโยชนท ี่นาํ มาใช นวิ ตนั ไดค นพบทฤษฎีโดยบังเอิญ เหตุการณเกดิ ข้นึ ในวันหนงึ่ ขณะที่นิวตันกําลังนั่งดูดวงจันทร แลว ก็เกิดความสงสยั วาทําไมดวงจันทรจงึ ตอ งหมุนรอบโลก ในระหวา งท่ีเขากําลังน่ังมองดวงจันทรอยู เพลิน ๆ ก็ไดย นิ เสียงแอปเปล ตกลงพ้ืน เมื่อนิวตันเห็นเชนน้ันก็ให เกิดความสงสัยวาทําไมวัตถุตาง ๆ จึงตองตกลงสูพ้ืนดินเสมอทําไมไมลอยขึ้นฟาบาง ซึ่งนิวตันคิดวาตองมีแรงอะไรสักอยางท่ีทําใหแอป เปล ตกลงพื้นดิน จากความสงสัยขอนี้เอง นิวตันจึงเร่ิมการทดลองเกี่ยวกับแรงโนมถวงของโลก การ ทดลองครง้ั แรกของนวิ ตนั คือ การนาํ กอ นหนิ มาผกู เชือก จากนั้นก็แกวงไปรอบ ๆ ตัว นิวตนั สรุปจาก การทดลองคร้ังนี้วาเชือกเปนตัวการสําคัญที่ทําใหกอนหินแกวงไปมารอบ ๆ ไมหลุดลอยไป ดังน้ัน สาเหตุที่โลก ดาวเคราะหตองหมุนรอบดวงอาทิตยและดวงจันทรตองหมุนรอบโลก ตองเกิดจากแรง ดึงดูดที่ดวงอาทิตยท่ีมีตอโลก และดาวเคราะห และแรงดึงดูดของโลกที่สงผลตอดวงจันทร รวมถึง สาเหตทุ ี่แอปเปลตกลงพนื้ ดนิ ดว ยกเ็ กิดจากแรงดงึ ดดู ของโลก นิวตนั จงึ สรุปไดว า เมอ่ื แรงถกู กระทํากบั วัตถหุ นง่ึ วัตถุนนั้ สามารถไดร ับผลกระทบ 3 ประเภทดงั น้ี 1. วัตถุที่อยูนงิ่ อาจเร่มิ เคลื่อนท่ี 2. ความเรว็ ของวัตถุที่กําลงั เคลอ่ื นทอ่ี ยเู ปลีย่ นแปลงไป 3. ทิศทางการเคลอื่ นทขี่ องวัตถอุ าจเปล่ียนแปลงไป กฎการเคล่อื นทีข่ องนิวตนั มีดว ยกนั 3 ขอ 1. วัตถุจะหยุดน่ิงหรือเคล่ือนท่ีดวยความเร็วและทิศทางคงท่ีไดตอเน่ืองเม่ือผลรวมของแรง (แรงลัพธ) ที่กระทําตอวัตถเุ ทากบั ศนู ย 2. เม่ือมีแรงลัพธที่ไมเปนศูนยมากระทําตอวัตถุ จะทําใหวัตถุที่มีมวลเกิดการเคลื่อนท่ีดวย ความเรง โดยขนาดของแรงจะเทา กับมวลคูณความเรง 3. ทุกแรงกริ ิยายอ มมีแรงปฏกิ ิริยาทม่ี ขี นาดเทากนั แตท ศิ ทางตรงกันขามเสมอ ประโยชนของแรงดงึ ดูด ทงั้ ประโยชนโดยตรงและประโยชนโดยออ ม เชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook