Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CBL_RBM_TOWS ไพสิฐ

CBL_RBM_TOWS ไพสิฐ

Published by ณก วรรณพร, 2023-07-03 04:33:11

Description: CBL_RBM_TOWS ไพสิฐ

Search

Read the Text Version

ดร.ไพสฐิ บุณยะกวี วสส.ตรัง การเรียนรโู้ ดยใชช้ มุ ชนเป็นฐาน

1 วนั ทเี่ ราจะอยู่ดว้ ยกนั ▸ CBL ▸ RBM ▸ SWOT Analysis & TOWS Matrix ▸ Creative for changed 2

การทากรณีศึกษา (การเรยี นรูแ้ บบ CBL) “ใหท้ ่านศึกษาปัญหา สาธารณสุขหรอื ปัญหาทส่ี ่งผลต่อสุขภาพในระดบั อาเภอ (ที่ท่านไป ฝึ กปฏิบตั ิงาน) โดยเสนอกลยุทธ ์ และแผนปฏิบตั ิการในการแกไ้ ข ปัญหาระดบั พนื้ ทเี่ พอื่ พฒั นาระบบการบรหิ ารงานสาธารณสขุ ” โดยมกี จิ กรรม ดงั นี้ 1. ใหค้ วามรูเ้ รอื่ งแนวคดิ และกระบวนการ CBL กอ่ นลงเก็บขอ้ มูลใน พนื้ ทจี่ รงิ 2. ศกึ ษาขอ้ มูลพนื้ ท่เี บอื้ งตน้ เพอื่ วเิ คราะหห์ าปัญหา และสาเหตุของ ปัญหาสาธารณสขุ หรอื ปัญหาทสี่ ง่ ผลต่อสขุ ภาพ 3. วางแผน และสรา้ งเครอื่ งมอื เพม่ิ เตมิ เพอ่ื เก็บขอ้ มูลทจ่ี าเป็ นสาหรบั การวเิ คราะห ์ (ดาเนินการ ณ วทิ ยาลยั ) นาเสนอผเู ้ ชยี่ วชาญวพิ ากษ ์ 4. ลงพนื้ ท่เี พอื่ เก็บขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ เพอื่ หาปัจจยั ทางดา้ นการบรหิ ารท่ี สง่ ผลต่อการจดั การสาเหตขุ องปัญหาสาธารณสขุ หรอื ปัญหาทสี่ ง่ ผล ตอ่ สขุ ภาพ นาเสนอผูเ้ ชยี่ วชาญวพิ ากษ ์ 5. รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทไ่ี ด/้ แผนการดาเนินการเดิมของพนื้ ที่ เพ่ือแกไ้ ขหรอื ปรบั ปรุง แผนกลยุทธ ์ เดิม ณ วิทยาลยั ที่จัดอบรม นาเสนอผเู ้ ชย่ี วชาญวพิ ากษ ์ 6. จดั ทารายงานและนาเสนอกลยุทธ ์ และแผนปฏบิ ตั กิ ารในสัปดาห ์ สดุ ทา้ ยของการอบรมเพอ่ื เป็ นขอ้ มลู ป้ อนกลบั เพอ่ื การพฒั นาแกพ่ นื้ ที่ 3

BIG CONCEPT การเรียนร้โู ดยใช้ชมุ ชนเป็นฐาน 1. ใหค้ วามรูเ้ รอื่ งแนวคดิ และกระบวนการ CBL กอ่ นลงเกบ็ ขอ้ มูลในพนื้ ทจี่ รงิ (CBL 1) 30ม.ิ ย.66 2. ศกึ ษาขอ้ มูลพืน้ ทีเ่ บือ้ งตน้ เพือ่ วเิ คราะหห์ าปัญหา และสาเหตุของปัญหาสาธารณสุข หรอื ปัญหาทสี่ ง่ ผลตอ่ สุขภาพ (CBL 2) 30ม.ิ ย.66 3. วางแผนและสรา้ งเครอื่ งมอื เพมิ่ เตมิ เพอื่ เก็บขอ้ มูลทจี่ าเป็ นสาหรบั การวเิ คราะห ์ (ดาเนินการ ณ วทิ ยาลยั ) (CBL 3) 7ก.ค.66 4. นาเสนอผูเ้ ชยี่ วชาญวพิ ากษใ์ ห้ ขอ้ เสนอแนะ และปรบั แกต้ ามขอ้ เสนอ (CBL 4) 7ก.ค.66 5. ลงพนื้ ทเี่ พอื่ เกบ็ ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ เพอื่ หาปัจจยั ทางดา้ นการบรหิ ารทสี่ ่งผลต่อการจดั การสาเหตุ ของปัญหาสาธารณสุข หรอื ปัญหาทสี่ ง่ ผลตอ่ สุขภาพ (CBL 5, CBL 6, CBL 7) 10-11ก.ค.66 6. รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทไี่ ด/้ แผนการดาเนินการเดมิ ของพนื้ ทเี่ พอื่ แกไ้ ข หรอื ปรบั ปรุง แผนกลยุทธเ์ ดมิ (CBL 8) 10-11ก.ค.66 7. นาเสนอผูเ้ ชยี่ วชาญวพิ ากษใ์ ห้ ขอ้ เสนอแนะ และปรบั แกต้ ามขอ้ เสนอ (CBL 9) 13ก.ค.66 8. ศกึ ษาขอ้ มูลพนื้ ที่ (เพมิ่ เตมิ ) และปรบั แกไ้ ขผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล (CBL 10) 13ก.ค.66 9. นาเสนอผูเ้ ชยี่ วชาญวพิ ากษใ์ หข้ อ้ เสนอแนะ และปรบั แกต้ ามขอ้ เสนอ (CBL 11) 14ก.ค.66 10. สรุปรายงานและนาเสนอกลยุทธ ์ และแผนปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ เป็ นขอ้ มูลป้ อนกลบั เพอื่ การพฒั นา แกพ่ นื้ ที่ พนื้ ทรี่ บั ฟั งและใหข้ อ้ เสนอแนะ (CBL 12) 14ก.ค.66 4

กระบวนการการเรียนรูโ้ ดยใชช้ มุ ชนเป็ นฐาน 1.การประเมนิ ชมุ ชน (Community Assessment) : การศึกษาชุมชน รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล 2. การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community Diagnosis) : การวินจิ ฉยั ปัญหา และการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3. การวางแผนเพอื่ แกป้ ัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community Planning) 4. การปฏิบตั ิตามแผนงานสุขภาพชมุ ชน (Community Implementation) 5. การประเมินผลการดาเนนิ งานสุขภาพชมุ ชน (Community Evaluation) 5

1. ทาไมตอ้ งประเมนิ ชมุ ชน การประเมินชมุ ชน นกั พฒั นาจะตอ้ งเขา้ ใจชมุ ชนก่อน ตอ้ งทราบลกั ษณะทางกายภาพของชมุ ชน (Community Assessment) ตอ้ งทราบแบบแผนการดาเนนิ ชีวิต ตอ้ งทราบปัญหาทางดา้ นสุขภาพของประชาชน ตอ้ งทราบความตอ้ งการทางดา้ นสขุ ภาพของประชาชน เป็ นการสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชน

“ ข้นั ตอนของการประเมินชมุ ชน การประเมินชมุ ชน 1.การสรา้ งสมั พนั ธภาพกบั ผูน้ าชุมชน (Community Assessment) 2.การศึกษาชมุ ชน 3.การรวบรวมขอ้ มูล 7 4.การวิเคราะหข์ อ้ มูล 5.การสรุปผล และนาเสนอขอ้ มูล

2. เพอื่ ทีจ่ ะทราบว่า การวินิจฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน ❖ อะไรคือปัญหาสุขภาพทีส่ าคญั ของชุมชน ที่จะทาการ (Community Diagnosis) แกไ้ ขปัญหา และอะไรคือสาเหตุของปัญหาน้นั ๆ ❖ เพือ่ กาหนด และเลือกปัญหาสุขภาพชมุ ชน และ นามาจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา ❖ เพือ่ ประโยชนใ์ นการจดั สรรทรพั ยากร เพือ่ แกป้ ัญหา ตามความจาเป็ นรีบด่วน ตามกาลงั ทรพั ยากรที่จะ อานวย ❖ การระบุปัญหาที่เหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั ความ ตอ้ งการของคนในชมุ ชนจะทาใหช้ มุ ชนยอมรบั และ มีส่วนร่วมในการดาเนนิ กิจกรรมเพอื่ แกป้ ัญหา สุขภาพชมุ ชน

การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) • ปัญหาบางปัญหาที่ไดจ้ ากการสารวจวิเคราะหโ์ ดยนกั สาธารณสุข (หรือบางคร้งั มี อสม. ร่วมดว้ ย) อาจไม่ใช่ปัญหาที่สาคัญที่สุดที่ ชมุ ชนตอ้ งการแกไ้ ข ----> ปัญหาของเรา ไม่ใช่ของชมุ ชน • ข้นั ตอนการวินิจฉยั ชุมชน จาเป็ นตอ้ งมีการนาเสนอขอ้ มูลที่เก็บ รวบรวมไดต้ ่อชมุ ชนเสมอ ➢ เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ เขา้ ใจบริบทของชมุ ชนเหมอื นๆ กนั ➢ เพอื่ ยืนยนั ความถูกตอ้ งของขอ้ มูล ➢ เพอื่ รบั ฟังความคิดเห็นของคนในชมุ ชนต่อขอ้ มูลที่ได้ 9

การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) ข้นั ตอนการวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน 1. การระบุปัญหาสุขภาพชุมชน (Identify problem) 2. การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา (Priority setting) 3. การศึกษาสาเหตุของปัญหา (Web of causation) 10

การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) การระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Identify problem) ปัญหาสุขภาพชมุ ชน หมายถงึ สภาวะที่เกิดข้ ึนแลว้ มี ผลต่อ สุขภาพอนามยั ของชุมชนโดยส่วนรวม แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ▸ ปัญหาความเจ็บป่ วย หรือโรค (Diseases) ▸ ปัญหาสภาพการณ์ (Conditions) 11

ปัญหาสุขภาพชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) ปัญหาความเจ็บป่ วยหรือโรค (Diseases) เช่น ▸ โรคติดต่อ เช่น ไขเ้ ลือดออก อุจจาระร่วง ไขห้ วดั ใหญ่ วณั โรค เอดส์ ฯลฯ ▸ โรคไม่ติดต่อ เช่น เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง หวั ใจและหลอดเลอื ด มะเร็ง อุบตั ิเหตุจราจร ฯลฯ ขอ้ มลู ปัญหาความเจ็บป่ วยของชมุ ชนไดม้ าจากสถานบริการ เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงพยาบาลชมุ ชน โรงพยาบาลทวั่ ไป โรงพยาบาลศนู ย์ หรืออาจจะไดจ้ ากการสัมภาษณ/์ สารวจขอ้ มลู จาก ประชาชนในชมุ ชนก็ได้ 12

ปัญหาสุขภาพชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) ปัญหาสภาพการณ์ (Conditions) ซึ่งเป็ นอปุ สรรคต่อการพฒั นาสขุ ภาพ หรือทา ใหเ้ กดิ โรค แบง่ เป็ น 3 ประเภท ➢ การขาดแคลนบริการ/ทรพั ยากรสขุ ภาพ ทาใหไ้ ม่สามารถเขา้ ถงึ บริการ สุขภาพ ➢ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ขาดการออกกาลงั กาย ดืม่ แอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ บริโภคอาหารที่มนี ้าตาล/ไขมนั สูง ฯลฯ ➢ สงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชนไม่เหมาะสม เช่น น้าดืม่ /น้าใชไ้ ม่สะอาด ขยะ น้าเสีย ฯลฯ ขอ้ มลู ปัญหาสภาพการณไ์ ดจ้ ากการสารวจ สมั ภาษณป์ ระชาชนในชมุ ชน 13

ปัญหาสุขภาพชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) วิธีการระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Identify problem) 1. ใชห้ ลกั 5 D (Death, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction) 2. เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ หรือค่ามาตรฐานสากล 3. ใชก้ ระบวนการกล่มุ 14

วิธีการระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Identify problem) การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) วิธีการระบุปัญหาสุขภาพชมุ ชน : ใชก้ ระบวนการกล่มุ ▸ เป็ นการใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการตดั สินใจดว้ ยตนเองว่า อะไรเป็ น ปัญหาอนามยั ชมุ ชน เป็ นการแสดงใหเ้ ห็นถงึ การรบั รูข้ องชมุ ชนต่อปัญหา ▸ ผูด้ าเนนิ งานจะตอ้ งนาเสนอขอ้ มูลที่ผ่านการวิเคราะหแ์ ลว้ ท้งั ในเชิง ปริมาณ และคุณภาพใหช้ มุ ชนทราบก่อน พรอ้ มท้งั เปิ ดอภิปรายถึงผลดี ผลเสียที่มผี ลต่อสุขภาพ หลงั จากน้นั จึงใหป้ ระชาชนลงความเห็นว่า ขอ้ ใดสมควรเป็ นปัญหาอนามยั ชมุ ชน 15

การจัดลาดบั ความสาคญั ของปัญหา การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) ❖ ปัญหาสุขภาพชมุ ชนมหี ลายปัญหา แต่ ไม่สามารถแกป้ ัญหาท้งั หมด พรอ้ มกนั ในเวลาเดียวกนั เนอื่ งจากขอ้ จากดั เรือ่ ง เวลา งบประมาณ กาลงั คน ฯลฯ ❖ บุคคลทีเ่ ขา้ ร่วมควรมีความรู้ มปี ระสบการณ์ และมคี วามสามารถในการ มองเห็นปัญหา เช่น เจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข และบุคคลในชมุ ชน 16

การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) วิธีการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 1. วิธีขององคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization, WHO) 2. วิธีของ John J. Hallon 3. วิธีของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 4. วิธีของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล 5. วิธีใชก้ ระบวนการกล่มุ (Nominal Group Technique) 17

เครื่องมือและเทคนิคการทางานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) ▸ การประชุมแบบมีส่วนร่วม (Appreciation Influence Control : AIC) ▸ การประชุมเพอื่ แสวงหาอนาคตร่วม (Future Search Conference : FSC) ▸ การวิเคราะหจ์ ุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส ขอ้ จากดั (SWOT) ▸ กระบวนการเรียนรูแ้ บบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) ▸ ฯลฯ 18

การประชมุ แบบมสี ่วนร่วม การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Appreciation Influence Control : AIC) (Community diagnosis) ต้งั อยู่บนพ้ นื ฐานความพึงพอใจ และมจี ุดมุ่งหมายเดียวกนั ที่จะ สรา้ งสรรค์ และจดั การร่วมกนั แบง่ เป็ น 3 ข้นั ตอน คือ ❖ ข้นั ตอนความพงึ พอใจ หรือ Appreciation (A) ❖ ข้นั ตอนกลวิธีทีทีม่ อี ิทธิพลต่อความสาเร็จ หรือ Influence (I) ❖ ข้นั ตอนการควบคุม หรือ Control (C) 19

กระบวนการ AIC สู่การปฏิบตั ิ การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) ▸ ข้นั ตอนการสรา้ งความรู้ (Appreciation : A) A1 : การวิเคราะหส์ ภาพการของหมู่บา้ น ชมุ ชน ตาบล ในปัจจุบนั A2 : การกาหนดอนาคตหรือวิสยั ทศั น์ อนั เป็ นภาพพึงประสงคใ์ นการพฒั นาว่าตอ้ งการอยา่ งไร ▸ ข้นั ตอนการสรา้ งแนวทางการพฒั นา (Influence : I) I1 : การคิดกิจกรรมโครงการที่จะทาใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคต์ ามภาพที่พึงประสงค์ I2 : การจดั ลาดบั ความสาคญั ของกิจกรรมโครงการทาเองได้ บางส่วนตอ้ งการความร่วมมือ/การ สนบั สนุนจากหน่วยงาน ไม่สามารถทาเองได้ ตอ้ งขอความร่วมมือ ▸ ข้นั ตอนการสรา้ งแนวทางปฏิบตั ิ (Control : C) C1 : การแบง่ ความรบั ผิดชอบ C2 : การตกลงในรายละเอียดการดาเนนิ งานจดั ทา 20

กระบวนการ AIC สู่การปฏิบตั ิ การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) 21

การประชมุ เพอื่ แสวงหาอนาคตร่วมกนั การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Future Search Conference : FSC) (Community diagnosis) ▸ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหลกั 3 ส่วน ไดแ้ ก่ 1. การวิเคราะห์เหตุการณใ์ นอดีต เพ่ือเช่ือมโยงกับสภาพการณ์ และแนวโน้ม ในปัจจุบนั 2. การวเิ คราะห์ และสงั เคราะห์สภาพการณป์ ัจจุบัน เพ่ือความเข้าใจในทศิ ทาง และปัจจัยท่มี ีอทิ ธพิ ลในประเดน็ หลักของการประชุม 3. การสร้างจินตนาการถงึ อนาคตท่พี ึงปารถนาในประเดน็ หลักของการประชุม เพ่ือร่วมกันกาหนดความคิดเห็นร่วม และสร้างแผนปฏิบัติการไปสู่อนาคต ร่วมกนั 22

กระบวนการ F.S.C. การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) 23

การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน การเรียนรูแ้ บบมสี ่วนร่วมเพอื่ การพฒั นาสาธารณสุข (Community diagnosis) (Participatory Learning for Health Development) ▸ มีข้นั ตอน 5 ข้นั ตอน ดงั น้ ี 1. การศึกษาชมุ ชน 2. ระบุปัญหาสาธารณสุข และจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3. จดั ทาแผนปฏิบตั ิการ และจดั ทาประชาคม 4. ดาเนนิ การตามแผน / โครงการ 5. ประเมนิ โครงการ 24

การศึกษาชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) ▸ เพือ่ ใหเ้ กิดความรูค้ วามเขา้ ใจเบ้ ืองต้นเกี่ยวกบั สภาพชุมชนท้ังเชิงกายภาพ สังคม และ วฒั นธรรม และที่สาคญั คือการเลือกกลุ่มผูม้ ี ส่วนเสีย (Stakeholder) ในชุมชนเพือ่ เชิญเขา้ สู่ กระบวนการเรียนรูส้ ถานการณด์ า้ นสาธารณสุข ของชมุ ชนร่วมกนั 25

ข้นั ตอนการศึกษาชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) ▸ สภาพโดยทัว่ ไปของชุมชนเป็ นอย่างไร ท้ังในแง่ กายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม และแหล่งประโยชนต์ ่างๆ ▸ โดยใชก้ รอบแนวคิดทางวิทยาการระบาด นิเวศวิทยา สงั คมวิทยา – วฒั นธรรมสุขภาพ มีปัจจยั เสีย่ ง หรือ ภาวะเสีย่ งใดบา้ งในชุมชน 26

ข้นั ตอนการศึกษาชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) ▸ จากการสงั เกตประกอบกบั ขอ้ มูลจากแหล่งต่างๆ จะ สามารถสรา้ งจินตภาพสถานการณป์ ัญหา (Problem Scenario) สาธารณสุขของชมุ ชนไดเ้ ป็ นอย่างไร มีใคร จะถูกผลกระทบจากสถานการณเ์ หล่าน้นั บา้ ง ▸ ในบรรดาผู้ที่ถู กกระทบโดยสถานการณ์ปั ญหา สาธารณสุขเท่าที่ประเมินไดน้ ้นั มีใครบา้ งควรจะได้ เชิญมาร่วมในกระบวนการระดมความคิด เช่น กลุ่ม ผูส้ ูงอายุ กล่มุ เยาวชน กล่มุ สตรี ฯลฯ 27

เครือ่ งมอื ศึกษาชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) นพ.โกมาตร จงึ เสถยี รทรพั ย ์ 1 แผนทเี่ ดนิ ดนิ 28 2 ผงั เครอื ญาติ 3 โครงสรา้ งองคก์ รชมุ ชน 4 ระบบสุขภาพชมุ ชน 5 ปฏทิ นิ ชมุ ชน 6 ประวตั ศิ าสตรช์ มุ ชน 7 ประวตั ชิ วี ติ

1. แผนทีเ่ ดินดิน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) สาคญั ทสี่ ุดเพราะ…. ✓ รูจ้ กั โลกของชาวบา้ น ✓ ไดข้ อ้ มูลมาก/เรว็ /เชอื่ ถอื ได้ ✓ เหน็ ภาพรวม/เป้ าหมาย ✓ ไดค้ วามสมั พนั ธ/์ คุน้ เคย ➢ เดนิ ทว่ั ทง้ั ชมุ ชน / ดูดว้ ยตาตนเองทุกบา้ น ➢ เห็นพนื้ ทที่ างกายภาพ / เขา้ ใจพนื้ ทที่ าง สงั คม 29

แผนที่นัง่ โตะ๊ แผนที่เดินดิน White Is the color of milk and fresh snow, the color produced by the combination of all the colors of the visible spectrum. 30

2. ผงั เครือญาติ การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) 31

การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) 32

4 ระบบสขุ ภาพชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) 33

การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) Mind Mapping ระบบสุขภาพชุมชน 34

การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) 5 ปฏิทินชมุ ชน การเข้าใจชีวิตเป็ น รากฐานบริการ สขุ ภาพเชิงรกุ 35

6 ประวตั ิศาสตรช์ มุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) ▸ เศรษฐกจิ ▸ สงั คม 36 ▸ การเมอื ง ▸ สาธารณสุข

37

7 ประวตั ิชีวิต การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชมุ ชน (Community diagnosis) ▸ คนจน ▸ คนทุกข์ 38 ▸ คนป่ วย ▸ หมอบา้ น ▸ คนเฒ่าคนแก่ ▸ ผูน้ าทางการ/ธรรมชาติ “เรียนรูค้ วามเป็ นมนุษยจ์ ากชีวิต”

กิจกรรมวาดภาพทีพ่ งึ ปรารถนาของชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) 39

การมสี ่วนร่วมของชมุ ชน การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) ▸ คนจน ▸ คนทุกข์ 40 ▸ คนป่ วย ▸ หมอบา้ น ▸ คนเฒ่าคนแก่ ▸ ผูน้ าทางการ/ธรรมชาติ “เรียนรูค้ วามเป็ นมนุษยจ์ ากชีวิต”

การจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์ การวินจิ ฉยั ปัญหาสุขภาพชุมชน (Community diagnosis) 41

การกาหนดจดุ หมายปลายทาง (Ends) ทตี่ อ้ งการบรรลุ 1) จดุ มุ่งหมายหรอื เป้ าประสงค ์(Goals) เป็ นการแสดงถงึ ความคาดหวงั ทตี่ อ้ งการ ใหเ้ กดิ ขนึ้ ในชว่ งระยะเวลาขา้ งหนา้ ซงึ่ มกั จะมองในรปู ของผลลพั ธ ์(Outcomes ) ใน อนาคตกาหนดอยา่ งกวา้ งๆ 2) วตั ถปุ ระสงค ์ (Objective) เป็ นองคป์ ระกอบทเี่ ป็ นผลมาจากการแปลง จดุ มุ่งหมาย (Goal) ใหเ้ ป็ นรปู ธรรมมากขนึ้ เพอื่ ง่ายในการนาไปปฏบิ ตั ิ วตั ถปุ ระสงคจ์ งึ เป็ นการกาหนดผลผลติ (Output) ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขนึ้ อยา่ งกวา้ ง ๆ แตช่ ดั เจน และ สามารถปฏบิ ตั ไิ ด ้ 3) เป้ าหมาย (Targets) เป็ นองคป์ ระกอบทเี่ ป็ นผลมาจากการแปลงวตั ถปุ ระสงคใ์ ห ้ เป็ นรปู ธรรมในการปฏบิ ตั มิ ากขนึ้ เป้ าหมายจงึ เป็ นการกาหนดผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ยทเี่ กดิ ขนึ้ จากการปฏบิ ตั ติ ามแผนโดยจะกาหนดเป็ นหน่วยนับทวี่ ดั ผลไดเ้ ชงิ ปรมิ าณ และกาหนด ระยะเวลาทจี่ ะบรรลผุ ลสาเรจ็ น้ันดว้ ย 42

43

แนวทางการวางแผนยุทธศาสตร ์ ขององคก์ ร การ การ การจดั ทา การกาหนด การ เตรียมการ วเิ คราะห์ วสิ ัยทศั น์ ยุทธศาสตร์ กาหนด (Project ศักยภาพ เป้าประสงค์ (Strategy) โครงการ Setup) และประเดน็ (Action ของ ยุทธศาสตร์ Plans) องค์กร (Vision, (SWOT) Goals and Strategic Issues) 44

รายละเอยี ดข้นั ตอนพืน้ ฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์ ข้นั เตรียมการ ข้ันตอนที่ 1 ข้นั ตอนที่ 2 ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันตอนที่ 4 การเตรียมการ การวเิ คราะห์ การจัดทาวิสัยทัศน์ การกาหนด การกาหนด ศักยภาพ เป้าประสงค์ และ ยทุ ธศาสตร์ แผนปฏบิ ัตกิ าร (Project Setup) องค์กร ในการพฒั นา ประเด็น (Strategies) (Action Plans) • จัดต้งั คณะทางาน (SWOT Analysis) ยทุ ธศาสตร์ • รวบรวมข้อมูล (Vision, Goals and องค์กร ต้องทาส่ิง การนา ปัจจยั ภายใน Strategic Issues) ใดบ้างเพ่ือให้ผลการ ยทุ ธศาสตร์ไปสู่ เพื่อวเิ คราะห์ Strength จุดแขง็ ปฏบิ ตั งิ านบรรลตุ าม การปฏบิ ตั ิในรูป ศักยภาพ ของ Weakness จุดอ่อน • องค์กรต้องการ วสิ ัยทศั น์ และ ของแผนงาน/ องค์กรในประเด็น ปัจจยั ภายนอก เป็ นอะไร เป้าประสงค์ และ โครงการ ทเ่ี กย่ี วข้อง Opportunity โอกาส เป้าหมายท่กี าหนด Threat อุปสรรค • มเี ป้าประสงค์ และ 45 เป้าหมายอย่างไร • มปี ระเดน็ ทาง ยทุ ธศาสตร์ท่ี สาคัญอะไรทต่ี ้อง ได้รับการพฒั นา

ขอ้ มูล DATA ▸ ขอ้ มูล : สารสนเทศ ▸ แผนทดี่ เี กดิ จากขอ้ มูลมคี ณุ ภาพ ผูน้ ามสี ว่ นรว่ ม ใครเป็ นคนวเิ คราะห ์ ▸ ตอ้ งใชข้ อ้ มูลกรี่ ายการ ปัจจยั ภายนอกกรี่ ายการ ปัจจยั ภายในกรี่ ายการ ▸ มแี หลง่ รวบรวมจากไหน/เพยี งพอไหม/เสถยี รไหม/zoneปลอดภยั ▸ ใชเ้ ทคนิคอะไรในการวเิ คราะห ์ – การวเิ คราะหแ์ นวโนม้ การวเิ คราะหค์ วาม ตอ้ งการของผูร้ บั บรกิ าร ▹ 4M (man, money, material, management + product & structure) ▹ 5 Forces Model ▹ Pest Model ปัจจยั ภายนอก (อาจเพมิ่ I&L) ▹ 7S ปัจจยั ภายใน (strategy, structure, style, system, share value, skill, staff) ▹ SWOT, TOWS MATRIX ▹ GAP analysis ดา้ นพฒั นาบุคลากร 46

SWOT ANALYSIS การวเิ คราะหส์ ารวจตรวจสอบ สภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร และสภาพแวดลอ้ มภายนอกองคก์ ร ซงึ่ เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการวางแผน 47

SWOT คอื อะไร? คาวา่ “SWOT” เป็ นคาทยี่ อ่ มาจากตวั อกั ษรตวั แรกของคา 4 คา S = Strength จดุ แข็ง W = Weakness จดุ ออ่ น O = Opportunity โอกาส T = Treat อปุ สรรคหรอื ภยั คุกคาม S กบั W จะเป็ นการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร O กบั T จะเป็ นการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกองคก์ ร 48

SWOT Analysis ปัจจยั ภายใน จดุ แขง็ (Strength: S) จดุ อ่อน (Weakness: W) ปัจจยั ภายนอก เป็นการพิจารณาปัจจยั ภายใน เป็นการพิจารณาปัจจยั ภายใน องคก์ ร องคก์ ร เกี่ยวกบั ส่วนดี ความ เกี่ยวกบั ส่วนเสีย ความอ่อนแอ ข้อจากดั ความไมพ่ รอ้ ม รวมทงั้ ประเดน็ ปัญหา เข้มแขง็ ความสามารถ ศกั ยภาพ และความต้องการพืน้ ที่ เป็นอยา่ งไร ส่วนที่ส่งเสริมความสาเรจ็ โอกาส (Opportunity: O) อปุ สรรค (Threat: T) เป็ นการศึกษาสภาพแวดล้อม ภายนอก(Outside in) ว่ามีสภาพเป็ น (เOปu็นtsiกdeาinร)ศทึกี่เปษ็นาสอภปุ าสพรแรควดหลรอื้อภมาภ4วาะย9คนกุ อคกาม เช่นไร และจะสร้างให้เกิดโอกาสใด ให้กบั องคก์ ร อย่างไร ก่อให้เกิดผลเสียหรอื เป็นข้อจากดั ต่อ องคก์ ร

ตวั แปร บทบาท และ สภาวะแวดลอ้ มทเ่ี กดิ ขนึ้ โอกาสบวกทมี่ บี ทบาทเป็น ก่อเกดิ สภาวะแวดล้อม เขา ภาวะคุกคามลบทม่ี บี ทบาทเป็ น ก่อเกดิ สภาวะแวดล้อม จุดแขง็บวกทม่ี บี ทบาทเป็ น ก่อเกดิ สภาวะแวดล้อม เรา จุดอ่อนลบทม่ี บี ทบาทเป็ น ก่อเกดิ สภาวะแวดล้อม 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook