จนหมดปญหาแลว ปญ หาใดยงั มอี ยู ไดร บั การจดั การมากี่วันแลว แพทยจะตองปรับปรุงรายการปญหานี้ ให ทนั สมยั อยเู สมอ โดยปรบั ปรงุ รายการนี้ทกุ วนั หรือทกุ ครัง้ ท่ีผปู วยมีการเปลยี่ นแปลงท่ีสําคัญ การเขยี นรายการปญ หา จะใชตัวเลขนําหนาปญหาทุกปญหา และใชตัวเลขเดิมอางอิงไปตลอดการ เขียนเวชระเบยี นผปู วยรายนั้น โดยเฉพาะการเขยี นบนั ทกึ ความกาวหนา แพทยจะอางอิงตัวเลขของปญหาที่ ตดิ ตามตอเนอื่ งไปตลอด เมื่อเกิดปญ หาใหม แพทยจ ะใชตัวเลขตอจากรายการปญ หาเดิม เปนเลขอางอิงปญหา ท่ีเกดิ ขึ้นใหม เพ่ือปญหาเปล่ียนแปลงไป เชน ปญหาหมดไป หรือ ปญหา 2 รายการ รวมกันเหลือรายการเดียว แพทยจ ะตองเขยี นสญั ลักษณใ นรายการปญหา เชน สญั ลกั ษณล กู ศร รวมปญหา เพ่ือปรับปรุงรายการปญหา สะทอ นความเปล่ยี นแปลงของผปู วย ใหท นั สมัยอยเู สมอ ในรายการปญหาแตละรายการ สามารถแยกไดเปน Active หรือ Inactive Problem สําหรับ Active Problems แพทยอาจเขียนรายละเอียดเพิ่มเติม เชน การวินิจฉัยแยกโรค ชนิดของโรค สาเหตุการ เกิดโรค ฯลฯ ลงไปภายใตหวั ขอปญหานน้ั ตามตัวอยา งดงั ตอ ไปนี้ ตัวอยางรายการปญ หา (Problem List) ACTIVE PROBLEMS INACTIVE PROBLEMS #1. Ischemic heart disease #2. Seizure disorder #3. Diabetes Mellitus #4. Cholecystectomy #5. Anemia การเขียน Problem Lists ทีด่ ี มหี ลักการทั่วไปดงั ตอไปนี้ ปญหาทีย่ กขึ้นมา อาจเปน อาการ (symptoms) อาการแสดง (symptoms) ภาวะ (condition) หรือ ช่อื โรค (diagnosis) ก็ได โดยหากไมมนั่ ใจวา อาการหลายอาการเกิดจากโรคเดียวกัน แพทย อาจเขียนเร่ิมจากการเขียน อาการแตละอาการเปนปญหา และเมื่อคนพบภายหลังวาอาการใด สามารถนํามารวมเปน โรคเดยี วกนั ได ก็คอ ยปรับปรุงรวมเปน ปญหาเดยี วกนั ไมควรเขยี นเคร่ืองหมาย อศั เจรีย (เคร่ืองหมายคําถาม ?) อยกู บั ช่อื ปญ หา เพราะปญ หาทย่ี กขึน้ มา ควรเปน ปญหาทีแ่ พทยแ นใ จแลววา เกิดขึน้ กบั ผปู ว ย 94
หากทราบวา อาการหรืออาการแสดงเกดิ จากโรคอะไรอยูแ ลว ใหเขียนช่อื โรคนั้นเปนปญหาโดยไม ตอ งเขยี นอาการ หากทราบวาโรคใดมีสาเหตุมาจากโรคอ่ืน ใหระบุสาเหตุในรายการปญหาได แตหากไมทราบ สาเหตุ กใ็ ชคําบรรยายเพิ่มเตมิ เปน unknown etiology 5B.7 แผนการรกั ษา การวางแผนขน้ั ตน (Initial) เปนกระบวนการท่ีแพทยจะวิเคราะหขอมูลจาก Database ของผูปวย วินิจฉัยแยกโรค แลววางแผนการรักษาผูปวยในวันแรก โดยการวางแผนจะอางอิงรายการปญหาเปนหลัก กลาวคือทุกๆปญหาที่แพทยบันทึกไวในรายการปญหา ควรมีแผนการรักษาของปญหาน้ันแยกออกมาจาก แผนการรักษาของปญ หาอืน่ โดยชัดเจน โดยมีหัวขอ ยอ ยดงั ตอ ไปน้ี 1. หมายเลขและชือ่ ของปญหา 2. ขอมูลจากประวตั ิผปู ว ยทีแ่ พทยคดิ วาสมั พันธก บั ปญ หาในขอ 1 (Subjective Data - S) 3. ขอมูลจากบันทึกการตรวจรางกายผูปวยที่แพทยคิดวาสัมพันธกับปญหาในขอ 1 (Objective Data - O) 4. การประเมนิ ความหมายของขอ มลู ในสวนที่ 2 และ 3 การสนั นษิ ฐานสาเหตุของโรค วินิจฉัยแยก โรค จําแนกประเภทของโรค ประเมินความรุนแรงของโรค ตามความคิดเห็นของแพทย (Assessment – A) 5. การวางแผน เพอื่ การตรวจเพมิ่ เติม เพ่ือการรักษา และเพ่อื ใหค วามรกู บั ผปู วย (Plan – P) ลกั ษณะรายละเอยี ดการบันทึกหัวขอยอยในแตละปญ หาเรียงจากหัวขอยอยที่ 2 ถึง 5 อาจเรียกตาม ตวั ยอ ภาษาองั กฤษเรยี งกันไดวา การบนั ทึกแบบ S-O-A-P หรอื SOAP ขอ มูลในสวน SOAP ตองมีความสัมพันธและเชื่อมโยงกับปญหาที่ต้ังไวแตละปญหา โดยแพทยจะ เปนผพู ิจารณาวา ขอมูลในประวัติและตรวจรางกายรายการใดท่ีเช่ือมโยงกับปญหาแตละปญหา แลวเลือก ขอ มูลมาสวนท่เี กีย่ วของมาเขียนไวแยกกันในแตละหัวขอปญหา หลังจากน้ันประเมินความหมายของขอมูล แลว วินิจฉยั แยกโรค หรือถา วินจิ ฉัยโรคไดแ ลว ก็ประเมินความรุนแรงของโรค จําแนกชนิดของโรค แลวจบลง ดว ยการวางแผนตรวจเพ่มิ เตมิ การรกั ษาและการใหความรูกบั ผปู ว ย 95
5B.8 บนั ทึกการสง่ั การรกั ษาของแพทย บันทกึ การสง่ั การรักษาของแพทย (Doctor’s Orders) เปนบันทึกทแี่ พทยส ั่งใหพยาบาลดําเนินการ ดูแลรักษาผปู ว ยตามคําส่ังของแพทย ประกอบดวยการสั่งการรักษาคร้ังเดียว และการส่ังการรักษาตอเน่ือง โดยมีหวั ขอยอ ยดงั ตอไปน้ี วันทแี่ ละเวลาทส่ี ั่งการรักษา คําส่ังตรวจเพ่ิมเตมิ เชน การสง ตรวจทางหอ งปฏิบัตกิ าร หรอื สงตรวจทางรงั สีวิทยา คําสง่ั ใหท ําหตั ถการตางๆ การใหยา การใหสารนํ้า กจิ กรรมการรักษาพยาบาลอ่ืนเชน เชน งดนา้ํ และอาหาร หรอื การใหอาหารเฉพาะ การใหลุกนั่ง บอยๆ ฯลฯ ลายมอื ช่อื ของแพทยทีส่ ั่ง การเขียนบันทกึ ส่งั การรักษาท่ดี ี มหี ลกั การทว่ั ไปดงั ตอไปนี้ เขยี นใหบรรจง อา นงา ย เพราะหากพยาบาลอา นคาํ สง่ั ผิด จะเกดิ อันตรายตอผปู วย ไมควรเขียนเครอื่ งหมาย สัญลกั ษณ ตวั ยอ ทีไ่ มเปนมาตรฐาน หากส่ังการรกั ษาดวยวาจาในกรณเี รง ดวน แพทยตอ งบันทกึ เปน ลายลกั ษณอ ักษรภายหลังในเวลา รวดเร็วที่สดุ หลงั การส่งั ดวยวาจา 5B.9 บนั ทกึ การใหค าํ ปรึกษา บนั ทึกความเหน็ แพทยท ่ปี รึกษา เปน บนั ทกึ ที่แสดงใหผูอา นทราบวา แพทยทปี่ รึกษาท่ีมาตรวจเยี่ยม ผูป ว ยมีความเหน็ เฉพาะดาน เก่ยี วกบั ผปู วยอยางไร มีการวินิจฉัยโรค หรือ วนิ จิ ฉัยแยกโรคอยางไร และ ควร วางแผนรกั ษาอยา งไร บันทึกความเห็นแพทยที่ปรึกษาทีม่ ีคณุ ภาพดี ควรมีคณุ ลกั ษณะดังน้ี มีการบันทกึ วัน เวลาท่แี พทยท่ีปรึกษามาตรวจเย่ยี มผูป วย มีรายละเอียดผลการซกั ประวัตแิ ละตรวจรา งกายโดยแพทยทปี่ รึกษา มีการวนิ ิจฉยั โรคและการวนิ ิจฉยั แยกโรคโดยแพทยท ่ปี รึกษา มกี ารวางแผนระยะสั้น และระยะยาวในการดแู ลรกั ษาผปู วย 96
5B.10 บนั ทึกการทาํ ผา ตัดหรือหัตถการ บันทึกการผาตัด เปนบันทึกรายละเอียดการตรวจพบและขั้นตอนการผาตัดท่ีเกิดขึ้นในการผาตัด ผปู วยแตละครัง้ โดยแพทยผ ผู า ตดั มักจะเปนผูบันทกึ รายละเอียดเหลานดี้ วยตนเอง สว นประกอบท่สี ําคัญของบันทึกการผาตัด ควรมีองคประกอบดงั น้ี วัน เวลา ที่เริ่มทาํ ผา ตัดและสิน้ สุดการผา ตดั ช่ือแพทยผูท าํ ผาตัด รวมทั้งทมี ผชู วย การวนิ ิจฉยั โรคกอนและหลังการผาตัด ส่งิ ที่ตรวจพบในระหวา งการผา ตดั แนวการลงมดี (Incision) รายละเอียดขนั้ ตอนการผาตดั ตัง้ แตเ รม่ิ จนสิ้นสดุ การผา ตดั มรี ูปภาพประกอบ การบันทึกการผาตัด ควรเกิดขึ้นทุกครั้งที่ผูปวยไดรับการผาตัด ในกรณีท่ีการผาตัดเกิดขึ้นในหอง ผา ตัดเล็ก แพทยอาจบันทึกเปน Short operative note โดยควรมีหัวขอ Diagnosis, operative finding, operation, anesthetic technique และ Result บนั ทกึ การผา ตดั ทดี่ มี คี ุณภาพ ควรมคี ุณลกั ษณะดงั นี้ มีการบนั ทึกทกุ ครง้ั ท่ีทําการผา ตดั มีหวั ขอ ที่จําเปน ตอ งมคี รบถวน มรี ายละเอยี ดขั้นตอนการผาตัด มิใชส รุปเพียง Appendectomy was done ฯลฯ มรี ปู ภาพประกอบทีช่ ัดเจน 5B.11 บันทึกความกาวหนา บนั ทกึ ความกาวหนา เปน เอกสารท่แี สดงใหเห็นสภาวะผปู ว ยท่ีเขารับการรักษาในโรงพยาบาล โดย บันทกึ ความกาวหนา ทดี่ ี จะทําใหผ อู า นเห็นภาพผปู วย และการเปลยี่ นแปลงท่เี กิดขนึ้ ของตวั ผูป ว ยและเหตผุ ล ของการตัดสินใจใหการรักษาในชวงเวลาตางๆกัน ตั้งแตวันแรกที่ผูปวยเขารับการรักษาจนถึงวันจําหนาย ผูปวยออกจากโรงพยาบาล 97
รปู แบบของบันทกึ ความกา วหนามหี ลายแบบ แตแ บบท่สี ามารถแสดงแงมุมตา งๆไดครบถว นทส่ี ุดคือ แบบ S-O-A-P โดย S = Subjective คอื ความรูสกึ ของผปู วย, O = Objective คอื ขอ มูลท่ีไดจากการตรวจ รางกายหรือการตรวจพิเศษ , A = Assessment คือการประเมนิ , P = Plan คอื การวางแผนการรกั ษา บนั ทึกผลการตรวจรางกายทด่ี ีมีคณุ ภาพ ควรมีคณุ ลกั ษณะดังนี้ มกี ารบนั ทึกทกุ วัน ในชว งหลังจากรบั ผปู วยเขา รกั ษา 72 ชั่วโมงแรก มกี ารบันทกึ ในวันท่ี ผปู วยไดรบั การผาตดั มีการบนั ทกึ ในวนั ที่ เกิดโรคแทรกซอน มีการบนั ทกึ ในวันท่ี มีการเปล่ยี นแผนการรกั ษา มีการบันทกึ ในวนั ที่ จาํ หนายผปู วย มีการบันทกึ ครบทุกหวั ขอ ทจ่ี าํ เปน S-O-A-P มีการบรรยายรายละเอียดชัดเจนมากกวา คาํ วา same, WNL, OK 5B.12 บนั ทกึ ทางการพยาบาล บนั ทกึ การพยาบาล เปนเอกสารสําคญั ที่สามารถใชใ นการตรวจสอบคุณภาพการใหการพยาบาลได โดยพยาบาลผดู แู ลรักษาจะเปนผูบันทึกทุกชว งเวลาที่กําหนด เชน ทุกๆ 8 ชั่วโมง หรือ ทุกๆ 16 ช่ัวโมงตอง บนั ทึก 1 คร้ัง โดยบันทึกการพยาบาลทดี่ ี ควรมคี ณุ ลักษณะดงั น้ี มกี ารบนั ทึกทกุ ครั้งหลงั ปฏบิ ัติการพยาบาล บันทกึ ขอมลู สมบูรณใ นแงม มุ ตา งๆดงั น้ี S (Subjective data) ขอมูลทผี่ ูปวยบอกเลา O (Objective data) ขอ มลู ทีไ่ ดจากการสงั เกต ตรวจรา งกาย และการตรวจ ทางหองปฏบิ ัตกิ าร A (Assessment) การประเมนิ ปญ หาจากขอ มลู ทีร่ วบรวมได P (Planning) จดุ ประสงคและการวางแผนแกไ ขปญ หา E (Evaluation) การประเมนิ ผลหลงั การแกไขปญหา มขี อมลู สะทอ นใหเ ห็นภาพรวมของกระบวนการพยาบาล อธบิ ายการดําเนินโรคของผูปวยไดตอ เน่อื ง สอดคลอ งกับแผนการพยาบาลเฉพาะราย 98
เอ้อื ตอ การศกึ ษาขอ มลู ในการวจิ ยั การประเมนิ คุณภาพการพยาบาล มขี อมูลชวยสนับสนุนเพ่ิมเติมการวินิจฉัยโรค และการทาํ หตั ถการที่เกดิ ขน้ึ กบั ผูปว ย 5B.13 บันทึกการคลอด บันทึกการคลอด มีประโยชนทําใหทราบวา สภาวะมารดากอนเขาสูระยะการคลอดเปนอยางไร ความกาวหนา ของการคลอดเปนอยางไร ตรวจพบภาวะแทรกซอนอยางไร เด็กในทองเปนอยางไร คลอดได สําเร็จหรือไม เม่อื คลอดแลว ทารกเปน อยางไร บนั ทกึ การคลอดทด่ี ี ควรมคี ณุ ลักษณะดงั น้ี มบี ันทกึ สถานะของมารดาเมอื่ เริ่มเขาหองคลอด มรี ายละเอยี ดความกาวหนา ของการคลอด เชน การเปด ของปากมดลูก ตาํ แหนงศีรษะเดก็ ตามระยะเวลาท่ผี านไป และ/หรอื มกี าร เขียนเปน กราฟ มีรายละเอยี ดการตรวจประเมินปจจยั เส่ยี งตอ มารดาและเด็กในครรภเ ปน ระยะๆ บันทึก mode of delivery, การตัดฝเ ย็บ การเย็บซอ ม ภาวะมารดาหลังคลอด มบี ันทกึ เวลาคลอด ภาวะของเด็กเมอ่ื คลอด Apgar score 5B.14 บนั ทกึ กจิ กรรมเวชศาสตรฟน ฟู บนั ทกึ กจิ กรรมเวชศาสตรฟ น ฟหู รือการทาํ กายภาพบาํ บดั ของผูปวย แสดงใหเหน็ รายละเอียดการทาํ กายภาพบําบัด วัน เวลา การวินิจฉัย การบําบัด การวางแผน เวชระเบียนผูปวยทุกรายท่ีไดรับการทํา กายภาพบําบัด ตอ งมี Rehabilitation record อยใู นแฟม โดยบันทึกกิจกรรมเวชศาสตรฟน ฟูท่ีดี ควรมคี ณุ ลักษณะดงั น้ี มีบนั ทกึ การวินิจฉัยโรค และการประเมนิ สภาวะผูป ว ย บนั ทึกแผนการรกั ษา ชนดิ การบาํ บัด ระยะเวลาชัดเจน มกี ารบนั ทึกกิจกรรมกายภาพบําบดั โดยละเอยี ด มบี ันทกึ เรอ่ื งการใหคาํ แนะนาํ ผูปว ยและญาติ มีการประเมินผลการทํากายภาพบาํ บัดแตละคร้งั 99
5B.15 บนั ทึกการรักษาแบบแผนไทย แผนจนี หรือ การแพทยทางเลือก บันทึกการรักษาแบบแผนไทย แผนจีน หรือ การแพทยทางเลือก ควรแสดงใหเห็นรายละเอียด ประวตั ิ การตรวจรางกาย การวินิจฉัย และการรักษาตามหลักการแพทยแผนไทย แผนจึน หรือการแพทย ทางเลือก โดยบันทึกการรกั ษาแบบแผนไทย แผนจีน หรอื การแพทยท างเลือก ทด่ี ี ควรมคี ุณลกั ษณะดงั นี้ มีบนั ทึกประวตั ทิ ีซ่ กั ตามแนวทางหลกั การแพทยแ ผนไทย แผนจนี หรอื การแพทยทางเลอื ก มีผลการตรวจรางกายตามแนวทางหลักการแพทยแผนไทย แผนจนี หรอื การแพทยทางเลือก บนั ทึกแผนการรกั ษา ตามแนวทางหลกั การแพทยแ ผนไทย แผนจนี หรอื การแพทยท างเลือก มกี ารบนั ทกึ กิจกรรมการรักษาเชน การนวด ประคบ อบสมนุ ไพร ฝง เขม็ ฯลฯ โดยละเอียด 5B.16 สรปุ การรักษา สรุปการรกั ษาหรอื Discharge summary เปนเอกสารท่แี พทยใ ชสรุป ผลการวินจิ ฉัยโรคเมื่อสิ้นสุด การรักษา สรุปรายการการทําผาตัดและหัตถการที่สําคัญท้ังหมด เพื่อประโยชนตอการทบทวนขอมูลการ รักษาผูปวยในแตละคร้ัง ในอนาคตเม่ือผูปวยมารับการรักษาในโรงพยาบาล แพทยผูรักษาก็สามารถ ตรวจสอบขอ มลู การรกั ษาแตล ะคร้งั ไดอ ยา งรวดเร็วโดยอาจดูเพยี ง Discharge summary เทานั้น นอกจากน้ัน Discharge summary ยังเปนเอกสารสําคัญที่ผูใหรหัสโรค (Coder) จะใชขอมูลโรค และการผา ตัดทีบ่ ันทึกไว เปนขอมลู เบือ้ งตน ในการใหรหัสโรคตามหลักการของ ICD-10 ตอ ไป โดย Doctor discharge summary ที่ดคี วรมีลักษณะดังนี้ มีเลขทผี่ ปู ว ย HN, AN และ เลขประจําตวั ประชาชน 13 หลกั ครบถวน บันทกึ ชอ่ื นามสกุล เพศ อายุ วนั เดอื นปเกดิ ทอ่ี ยูครบถวนชดั เจน บันทึกขอ มูลอน่ื ๆที่เกี่ยวของ เชน นํ้าหนักแรกเกิดในทารกแรกเกิด ประวัติการตั้งครรภและการ แทง ฯลฯ ตองมีวนั ท่ีรบั ไวรักษา และวันทจ่ี ําหนา ยออกจากโรงพยาบาล รวมทั้งจํานวนวนั นอนโรงพยาบาล ครบถว น ชอ งรายการที่ไมม ีขอ มูล ตองใสเครอื่ งหมาย – หรอื เขียน none แสดงใหเ ห็นชดั เจนวาไมม ี ขอ มูล แพทยบ ันทกึ โรคหลัก(Principal diagnosis) เพียงโรคเดยี วเทานัน้ บนั ทกึ โรครว มครบถว นทุกโรคทพ่ี บในผูป ว ย บันทกึ โรคแทรกครบทุกโรคท่ีเกิดขึ้นภายหลงั ผปู วยเขา รับการรักษาในโรงพยาบาล 100
ไมบนั ทึกโรคสลบั ตําแหนง เชน ตองไมเขียนโรคแทรกเปน โรคหลัก บนั ทกึ การผา ตดั ครบถว นทุกคร้ัง บันทึกหัตถการทสี่ าํ คัญครบถว น เชน การทํา tracheostomy ฯลฯ บันทกึ รายละเอียดของโรคแตละโรครบทกุ แงม มุ ทงั้ ตาํ แหนง พยาธิสภาพ และสาเหตขุ องโรค ไมใ ชค ํายอ ในการเขยี นช่ือโรค และช่ือการผา ตัด ลายมืออา นออก ชดั เจน สรปุ ลักษณะการจาํ หนาย (discharge status, discharge type) แพทยท่ีสรปุ ลงนามรบั รอง 5B.17 แบบฟอรม การใหข อ มูลและการขอความยนิ ยอมเพ่อื รกั ษา หนังสือแสดงความยินยอมใหรักษา ดังตัวอยางในภาพที่ 5.1 เปนเอกสารสําคัญที่ตองมีอยูในเวช ระเบียนผูปวยใน เพราะถือเปนหลักฐานสําคัญแสดงใหเห็นวา ผูปวยไดรับทราบขอมูลที่จําเปน เชน โรคที่ ตวั เองเปน แผนการรกั ษาที่แพทยจะดําเนนิ การ และแสดงใหเห็นวา ผูปวยยนิ ยอม หรอื อนญุ าตใหแพทยทํา การรักษาได ทงั้ น้ี เปนท่รี ับทราบกนั โดยท่ัวไปวา หากผูป วยยนิ ยอมใหแพทยรักษา ก็หมายความวาผูปวยให ความไวว างใจตอ การรักษาของแพทย โดยผลการรักษาท่เี กิดขึน้ เปน ส่งิ ทผ่ี ปู ว ยรว มรบั ผิดชอบตอตัวเองดวย ถงึ แมการรักษาอาจจบลงดว ยการเสยี ชีวิตของผปู วย ญาติผูปวยกส็ ามารถยอมรับไว ตามธรรมเนียม “ฝากผี ฝากไข” ของวัฒนธรรมไทย แตเ ดมิ โรงพยาบาลอาจมิเครงครัดมากนัก ตอการดําเนินการใหมีการลงนามในหนังสือยินยอมให การรักษา แตใ นปจจบุ นั การพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลไดใหความสําคัญตอการใหขอมูลผูปวย สิทธิผูปวย และการปอ งกันความเสี่ยงอยางมาก ทําใหการลงนามในหนงั สอื ยินยอมใหก ารรกั ษากลายเปนส่ิงที่ตองทําใน ทุกโรงพยาบาล หลักการท่ีสําคญั ของการลงนามยินยอมใหก ารรกั ษา ประกอบดวยประเด็นหลักดงั น้ี ผูปว ยรบั ทราบวา ตนเองเปนโรคอะไร แพทยห รือตวั แทนทีมรักษาไดใ หคาํ อธิบายตอ ผปู วยเก่ยี วกับโรค และแผนการรักษาโดยละเอียด แลว ผปู วยไดซ กั ถามรายละเอยี ด ประเด็นขอ สงสยั ตา งๆเกี่ยวกับโรคและการรักษา จนหมดขอสงสัย แลว 101
ผูป วยยนิ ยอมใหการรักษา บนพ้ืนฐานที่วา หากแพทยไดดําเนินการตามมาตรฐานวิชาชีพอยาง ถกู ตอ ง ผูปวยจะยอมรบั ผลของการรักษาไดทุกรูปแบบ การใหค วามยินยอม จะไมคุมครองแพทย และผปู วยจะไมเ สียสิทธิในการขอชดเชยความเสียหาย หากแพทย หรอื ทมี ผรู ักษา ทาํ การรกั ษาโดยประมาท ขาดความระมดั ระวัง โดยทั่วไป การลงนามยินยอมใหการรกั ษา มักเกดิ ขึ้นในหว งเวลาตา งๆดังนี้ เมื่อผปู ว ยเขารบั การรักษาเปน ผปู ว ยใน(รวมการผาตดั รกั ษา) เมือ่ มีการทําผาตดั เพ่มิ เติมนอกเหนอื แผนการรักษาเดมิ หลังจากผปู ว ยนอนในรพ.แลว เมอ่ื มกี ารทําหตั ถการเพ่ิมเติมนอกเหนือแผนการรกั ษาเดิม หลังจากผูปวยนอนในรพ.แลว เม่ือมีการทาํ หัตถการในหนวยตรวจโรคผปู วยนอก การดาํ เนนิ การใหมกี ารลงนามยินยอม มกั กระทํากันในหนวยตรวจโรคผูปวยนอก หรือในตึกผูปวย โดยผูดําเนินการหลักสวนใหญคือ พยาบาล โดยกระบวนการดําเนินการจะมีลําดับข้ันตอนท่ี สําคัญดงั นี้ แพทย พยาบาล หรอื ตวั แทนทมี ผูรกั ษา ใหข อมลู โรคและแผนการรักษา ผูปว ยซกั ถามจนหมดขอ สงสัย ผูป ว ยลงนามในเอกสาร ในชอง ผปู วย(ผูใหความยินยอม) แพทยห รือตวั แทนทีมผรู กั ษาลงนามในเอกสาร ในชอ งผรู กั ษา(ผรู ับมอบความยนิ ยอม) พยาบาล ลงนามในชอ งพยาน(ฝายแพทย) ญาตผิ ปู ว ย หรือ บคุ คลท่ีมิใชเจา หนาทีโ่ รงพยาบาล ลงนามในชองพยาน(ฝา ยผปู วย) การดําเนนิ การข้ันตอนดังกลา ว มจิ ําเปน จะตองเกิดขนึ้ ในหว งเวลาเดียวกนั เชน แพทยอาจใหขอมูล โรคและแผนการรักษาในหอ งตรวจโรคและผปู ว ยซกั ถามจนหมดขอสงสัยแลว แพทยอาจนัดใหผูปวยมาเขา รับการรักษาอกี 2-3 วนั ตอ มา เมอื่ ผปู วยเขา นอนโรงพยาบาลจึงลงนามในเอกสาร หลังจากน้ัน แพทย และ พยานท้งั สองฝา ย จงึ ลงนามในหว งเวลาตอไป อยางไรก็ตาม การลงนามในเอกสารทั้งหมด ควรเกิดขึ้นกอน Discharge 102
(ตัวอยาง) หนังสืออนุญาตของผูปวย โรงพยาบาล …………………………………………………………… --------------------------------------------------------------------------------------- ขาพเจา นางสาว/นาง/นาย………………………………………………………..…...ซึ่ง เปน [ ] ผูปวย หรือ [ ]เ ป น ผู แ ท น ผู ป ว ย ใ น ฐ า น ะ ……………...ข อ ง น า ง ส า ว /น า ง / นาย………………………… ไดรับการอธิบาย ตอบขอซักถาม โดย นพ. / พญ. / ทพ. / ทญ.…………………………………………ผมู ีหนังสอื อนุญาตประกอบวิชาชพี เวชกรรม/ ประกอบโรค ศลิ ป เลขท่ี…………………………. ในฐานะตัวแทนคณะแพทยท่ีใหการดูแลแกผูปวย ภายใตขอบเขต ของแพทยแผนปจ จบุ ัน เกีย่ วกับเรอ่ื ง โรค สภาวะของโรค การวินิจฉัย การตรวจรักษา โดยการใชยา การผา ตดั การระงบั ความรูส ึก หรอื วิธกี ารอืน่ ๆ ผลของการรักษาตามวิธีการเหลานั้น และกระบวนการ จัดการเรยี นการสอนของแพทยศาสตร หรอื วิทยาศาสตรสุขภาพท่ีเก่ียวของ รวมถึงผลอันไมเปนที่พึง พอใจ และโรคแทรกซอน ซง่ึ อาจเกิดข้นึ ไดจากวิธกี ารรักษานั้น ๆ ตลอดถึงอาการและผลอัน อาจเกิดขึน้ กรณที ี่ไมไ ดร บั การรกั ษา หรือตรวจวินจิ ฉัยตามคําอธบิ ายดงั กลา ว ขา พเจา เขาใจและรับทราบ วา มีสิทธิทจ่ี ะเลอื กไมรับการรักษาก็ได ตามคาํ ประกาศสทิ ธิผูปวยซงึ่ ปรากฏอยดู านหลังของหนงั สือฉบับนี้ ขา พเจา ยนื ยันวา 1. [ ] อนญุ าต [ ] ไมอนุญาต ใหค ณะแพทยทําการดูแล ตรวจและรกั ษา แกข าพเจา / ผปู ว ยของ ขาพเจา 2. [ ] อนญุ าต [ ] ไมอ นุญาต ใหคณะแพทยท าํ การ ผา ตดั ………………………………………… แกข าพเจา / ผูปวยของขา พเจา 3. ขา พเจา ทราบวา คณะแพทยไ ดต ั้งใจทาํ การตรวจรักษา/ ผา ตดั ผูป วย ตามมาตรฐานทางการแพทยแ ผน ปจจบุ ัน ซ่ึง เปนการกระทําโดยใชค วามระมัดระวงั ตามวิสยั และพฤติกรรมของผูประกอบวชิ าชีพเวชกรรม ตามกฎหมายวาดวยการประกอบวชิ าชพี เวชกรรมแลว ขา พเจาจะไมกลา วโทษใด ๆ ทง้ั สิ้น ทงั้ นีข้ า พเจา ทราบดอี ยูแ ลววา แพทย / คณะแพทย ไมส ามารถรบั ประกันผลการรักษาได เพราะการรกั ษาพยาบาลน้ัน 103
ยังมีขอ จํากัดอ่ืน ๆ อยอู ีกมาก จงึ ไดลงนามไวเปน หลักฐาน เพอ่ื แพทย และ/หรอื คณะแพทย จะไดใ หการ ดูแล ตรวจรกั ษาแกขา พเจา/ ผูปว ยของขาพเจา ตอ ไป ลงนามผูอนญุ าต…………………………. ลงนามพยานฝา ยผปู ว ย……………………… (…………………………………) (……………………………) ความเก่ยี วขอ งกับผปู วย…………………. ความเกี่ยวขอ งกบั ผปู วย………………… ลงนามแพทย …………………………… ลงนามพยานฝายแพทย… …………………… (…………………………………) (………………………………) วันท่ี………เดอื น…………………….พ.ศ…………………เวลา………….น. ภาพที่ 5.1 ตวั อยา งหนังสอื อนุญาตของผปู ว ยใหแ พทยท ําการตรวจรกั ษา/ผาตัด การประเมินคณุ ภาพ Informed Consent เปน การประเมนิ 2 ดาน คอื เนื้อหาในแบบฟอรม เอกสาร และ การบันทึกขอมูลรวมถึงการลงนามใน เอกสาร โดย Informed consent ทมี่ ีคุณภาพดี ควรมีลักษณะดงั น้ีคอื มขี อความแสดงวา ผปู ว ยไดรบั ทราบขอ มลู เก่ยี วกับโรค และแผนการรกั ษาโดยละเอยี ด มขี อความแสดงวา ผูปวยไดซ ักถามขอสงสยั ตางๆแลว และผูปว ยมีสทิ ธทิ ี่จะไมร บั การรักษากไ็ ด มีขอความแสดงวา ไดใหความยินยอมตอแพทย/ตัวแทนทีมแพทย ช่ืออะไร เลขที่ ประกอบ วิชาชีพเวชกรรมเลขท่ีเทา ไร มีการลงนามครบทุกฝา ย มีการเขยี นชื่อ-นามสกุลเตม็ ของทุกฝา ยอยา งชดั เจน อา นออกไดง า ย 5B.18 บันทกึ อน่ื ๆ เชน บันทกึ การใหยาระงบั ความรสู กึ บนั ทึกการระงับความรูสึก เปนเอกสารที่กําหนดรูปแบบไวชัดเจน โดยผูมีหนาที่บันทึกคือ วิสัญญี พยาบาล และ วิสัญญแี พทย 104
การระงบั ความรูสกึ ที่ดี ควรมีคุณลกั ษณะดังน้ี มกี ารประเมินสถานะของผปู วย เชน Class 1,2,3,4,5 เปน emergency หรอื ไม บันทึกขอ มลู ครบถวนทกุ ชองรายการ ระบุรายละเอียดเทคนคิ การเปลี่ยนแปลงสญั ญาณชีพ ยาทใี่ ช สรปุ เวลาการผา ตัด, Intake/output และ Estimate blood loss ครบถว น 105
บทท่ี 6. การใหรหสั มาตรฐาน (Standard Coding) การใหรหัสมาตรฐาน เปนข้ันตอนการทํางานของเจา หนา ท่สี ถานพยาบาลข้ันตอนหน่ึง โดยขั้นตอนน้ี อยรู ะหวา ง การบันทึกขอมูล และ การสงออกขอมูลไปสูหนวยงานภายนอก โดยกอนการสงออกขอมูลจาก สถานพยาบาลไปสูหนวยงานภายนอกน้ัน ขอมูลบางอยางตองการการเขารหัสเปนรหัสมาตรฐาน เน่ืองจาก ปลายทางทีร่ ับขอ มลู ตองการรบั ขอ มลู เปน รหัสมาตรฐาน ไมตอ งการรับขอ มูลเปน ขอ ความ เชน กองทนุ ประกนั สุขภาพตางๆ ตองการรับขอมูลรหัสกลุมโรค (International Classification of Diseases – ICD) ไม ตอ งการรบั ชอ่ื โรคของผูปวย สํานกั งานสาธารณสุขจังหวัด ตองการรับรหัสสัญชาติ รหัสสถานภาพสมรส ไม ตองการรับขอความบรรยายสัญชาติ หรอื สถานภาพสมรสของผูป วยเปนตน การใหรหัสมาตรฐาน หรือขั้นตอนการเปล่ียนขอความใหกลายเปนรหัส จึงเปนหนาที่ของ สถานพยาบาลที่ตองดําเนินการใหขอมูลที่สงออกมีรหัสมาตรฐานตามขอกําหนดของผูท่ีรับขอมูล การให รหสั มาตรฐานสว นใหญ สามารถดาํ เนินการไดโดยใชร ะบบคอมพิวเตอรเ ปน ตัวชว ยใหรหัส แตมรี หสั บางอยางที่ เราไมสามารถใชระบบคอมพิวเตอรชวยในการใหรหัสได เนื่องจากระบบรหัสสลับซับซอนเกินกวาจะใช คอมพวิ เตอรเ ขา รหัส กรณีนน้ั ก็ตอ งมีบคุ ลากรท่ีฝกอบรมเปนอยางดีแลวมาทําหนาที่ใหรหัสนั้น เราสามารถ แบง การใหร หัสมาตรฐานในสถานพยาบาลไดเปน 2 แบบ คือ 1. การใหรหัสมาตรฐานโดยบุคลากร และ 2. การใหร หัสมาตรฐานโดยระบบคอมพวิ เตอร 6A. การใหรหัสมาตรฐานโดยบุคลากร รหัส ICD หรอื รหสั กลมุ โรค เปน รหสั ท่ไี มสามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชว ยคนหารหสั ได (วรรษา) เพราะรหัส ICD ไมเ หมอื นรหัสไปรษณยี หรอื รหัสทวั่ ไป ท่ีสามารถกําหนดรหัสจากขอความที่แตกตางกันได การใหร หสั ICD จงึ ตอ งดําเนินการโดยมนษุ ยเทา นนั้ หากฝนธรรมชาตนิ ้โี ดยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร เทียบช่ือโรคกับรหัสและใหรหัสโดยคอมพิวเตอร จะทําใหเกิดความผิดพลาดในการใหรหัสในอัตราความ ผดิ พลาดท่ีสูงได รหสั ICD-10 และ ICD-10-TM เปนรหสั ทไ่ี มเ หมาะสมจะนําไปใชใ นโปรแกรมคอมพวิ เตอรข อง โรงพยาบาล นอกจากผูใชโปรแกรมจะเขา ใจขอ จํากดั และขอ ควรระวงั ใหดเี สียกอ นจงึ จะนําไปใชไ ด โดยตอ ง ระมดั ระวงั วาขอ มูลอาจผิดพลาดไดทกุ เวลา สาเหตุเพราะฐานขอมลู ICD ในคอมพวิ เตอรมิใชเ คร่อื งมือ มาตรฐานในการใหรหสั โรค 106
ในปจ จบุ นั เครือ่ งมอื มาตรฐานในการใหร หสั โรคทส่ี มบรู ณมากทส่ี ดุ (Gold standard) คือ หนังสือ ICD-10 ครบชุดทัง้ 3 เลม หรอื หนังสอื ICD-10-TM ทั้ง 5 เลม โดยองคการอนามยั โลกก็ไดแนะนําให ประเทศสมาชิกใชห นงั สอื ICD-10 ครบทง้ั ชดุ โดยมิใหแ ยกใชเ พยี งเลม ใดเลมหนึ่ง อยางไรกต็ าม การใหรหสั โรค ICD-10 ทดี่ าํ เนนิ การในประเทศไทยในชว งแรกเริ่ม พบวา มกี ารให รหสั โรคโดยมิไดใชหนงั สอื ของ ICD-10 ครบชุด เน่ืองจากความเขา ใจผดิ เรอ่ื งรหสั หรือความไมเขา ใจในเรอื่ ง วธิ ีปฏิบตั ิมาตรฐานในการใหร หัสโรค ทาํ ใหง านสาํ รวจวธิ ีการใหร หสั โรคในประเทศไทย พบวา บางโรงพยาบาล ไมมหี นังสอื ICD-10 หรอื ใชห นังสอื ICD-10 เพยี งเลมใดเลม หนงึ่ การใชห นงั สือ ICD-10 เพยี งเลมใดเลมหนงึ่ จะทาํ ใหค วามถกู ตอ งในการใหรหสั ลดตา่ํ ลงอยา งมาก เชน หากใชหนงั สอื ดรรชนเี พียงอยา งเดียว จะทําใหไ ดรหสั ไมค รบทุกตวั อกั ขระ หรือไดร หัสทไี่ มเหมาะสมกบั กรณขี องผปู วย หรอื หากใชห นงั สอื รายการรหัสโรค (เลม ท่ี 1 ของ ICD-10) เพยี งเลม เดียวโดยไมม ดี รรชนี ก็ จะทาํ ใหคน หารหัสท่ีเหมาะสมไมพบ และผูใชอาจตดั สนิ ใจเลือกรหสั ผดิ ไป การไมใชหนังสือ ICD-10 ในการลงรหสั ยงิ่ ทาํ ใหเ กดิ ความผดิ พลาดมากขึน้ ไปอีก ในอดตี บาง โรงพยาบาลใชสมุดจดรายการโรคทพ่ี บบอ ยๆ เทียบกบั รหสั ICD-10 เปนเครอื่ งมอื หลักในการใหร หสั แลว เปด หารหสั จากสมุดเลม นี้แทน ดงั ตวั อยา งการจดโรคเทียบกบั รหสั ICD-10 ในหนาตอ ไป การใชสมุดจดรหัสดงั กลา วเปน เครอื่ งมือในการคน หารหสั โรคนอกจากจะถือไดว า เปนการละเมิด มาตรฐานการทาํ งานแลว ยังทําใหเ กิดความผิดพลาดเปน ปรมิ าณมาก โดยผูใชไมรสู กึ ตัวอกี ดวย ท้ังน้ี เนอ่ื งจาก ตรรกะของ ICD-10 ไมเอื้ออํานวยใหส ามารถกําหนดชอ่ื โรคเทียบกบั รหสั ใดรหสั หนงึ่ ตามรูปแบบดังกลาวนีไ้ ด โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ตรรกะที่สําคญั ท่สี ดุ ของรหสั ICD-10 คอื เปน รหสั ท่ีมิไดยึดคาํ เรียกชอื่ โรคเปนหลกั ในการกาํ หนดรหสั คําท่แี พทยใชในการเรียกช่ือโรค เปนเพียงสวนประกอบสวนหน่ึงที่ผูใหรหัสโรคใชในการลงรหัสให ถูกตอง โดยสว นประกอบอื่นๆที่สําคัญไมย งิ่ หยอนไปกวาช่อื โรค ไดแ ก อายุ เพศ ภาวะตงั้ ครรภ สาเหตุของโรค ตําแหนง ที่เปนโรค และ บรบิ ทอนื่ ๆ ดงั ภาพที่ 6.1 น้ี 107
อายขุ องผ้ปู ่ วย รหสั โรคหลกั รหสั โรคร่วม การสงั เคราะห์ข้อมลู รหสั เสริม ชอื� โรคทแี� พทย์เขียน รหสั โรคแทรก รหสั โรคอืน� ๆ เพศของผ้ปู ่ วย ภาวะตงั � ครรภ์ สาเหตขุ องโรค ตาํ แหนง่ ที�เป็ นโรค บริบทอ�นื ๆ ภาพท่ี 6.1 องคป ระกอบทีส่ ําคัญในการพจิ ารณาใหร หสั โรค สว นประกอบตางๆเหลา นี้ มีความสาํ คญั ไมเ ทากันในการใหร หัสผปู ว ยแตล ะชนิด เชน ตําแหนงท่ีเปน โรคจะสาํ คัญในกรณี ผูปวยโรคมะเรง็ และบาดเจ็บ, สาเหตุของโรคจะสําคญั ในกรณี โรคติดเชื้อ และบาดเจ็บ หรอื อายขุ องผูปวยจะสําคัญในกรณี ผูปว ยเปนเด็กทารก ฯลฯ การใหรหัสโรคที่ถูกตอ งตามมาตรฐาน จึงจะไมใชคําท่ีแพทยใชเรียกช่ือโรคเปนหลักเทาน้ัน แตผูให รหัสจะตองตรวจสอบขอมลู อน่ื ๆทจ่ี ําเปน ดวยเชน แพทยวนิ จิ ฉัยโรควา Hemorrhoid ซง่ึ ถาใหรหัสจากคําน้ี โดยไมตรวจสอบขอ มูลอนื่ ๆจะไดรหัสเปน I84.9 Hemorrhoid unspecified แตถาผูใหรหัสตรวจสอบ พบวา ผูปวยเปนหญิงต้ังครรภ ก็จะเลือกรหัสเปน O22.4 Hemorrhoid in pregnancy แทน หรือ กรณี แพทยวินจิ ฉัยโรควา Bronchitis ซ่ึงถา ใหร หัสจากคาํ นีโ้ ดยไมต รวจสอบขอมูลอ่ืนๆจะไดรหัสเปน J40 Bronchitis, unspecified แตถ า ผใู หรหสั ตรวจสอบพบวา ผูปวยเปนเด็กอายุ 10 ป ก็จะเลือกรหัสเปน J20.9 Acute bronchitis, unspecified เชนน้ี เปนตน ความรูเ รือ่ งการจัดหมวดหมูโรคใน ICD-10 เปนสง่ิ สาํ คญั ท่จี ะทาํ ใหผใู หร หสั สามารถใหรหัสไดอยาง ถกู ตอ งและมีประสิทธิภาพ 108
ความสมั พนั ธร ะหวา งรหสั ICD-10 กบั ช่อื โรค รหสั ICD-10 แตล ะรหสั มคี วามสมั พันธก บั ชอื่ โรคแตละชอื่ ได 2 แบบดงั นี้คือ 1. รหัส ICD-10 รหสั น้นั ตรงกบั ชอื่ โรคเพยี งชอ่ื เดยี ว พบนอ ย 2. รหสั ICD-10 รหสั นั้น ตรงกับช่ือโรคหลายชือ่ พบบอ ยกวา แบบที� 1 รหัส ICD-10 ตรงกบั ชือ� โรคเพียงชือ� เดียว Diagnosis แบบที� 2 รหสั ICD-10 ตรงกบั ชือ� โรคหลายโรค Diagnosis Diagnosis Diagnosis Diagnosis Diagnosis ในทาํ นองกลับกนั ชื่อโรคแตล ะชื่อ ก็มคี วามสมั พันธกบั รหัส ICD-10 ไดสองแบบ ดงั นี้ คือ 1. ช่ือโรคช่อื หนงึ่ ตรงกบั รหัส ICD-10 เพียงรหัสเดยี ว พบนอ ย 2. ชื่อโรคชื่อหนงึ่ ตรงกบั รหัส ICD-10 ไดห ลายรหสั พบบอ ยกวา 109
แบบที� 1 ชือ� โรคชือ� หนง�ึ ตรงกบั รหัส ICD-10 เพียงรหัสเดียว แบบที� 2 ชือ� โรคชือ� หนง�ึ ตรงกบั รหสั ICD-10 ไดห้ ลายรหัส การท่ีช่อื โรคแตล ะชอื่ มีรหสั ไดห ลายรหัส เปนเพราะวา บรบิ ทของ ICD-10 ไมไดกําหนดรหัสจากคํา วินจิ ฉัยโรคของแพทยเ พียงอยา งเดียว แตใ ชภ าวะอ่นื ๆของผปู วย (อายุ เพศ หญิงตั้งครรภ) และ รายละเอียด ลกั ษณะอนื่ ๆ ของโรคมากาํ หนดรหัสดวย ตัวอยางเชน คําวา Fracture Clavicle เพียงคําเดียว อาจเขารหัส เปนรหสั ICD-10 ได 3 รหสั ข้นึ อยูกบั บริบทของการใชค ํานน้ั ๆ ดังน้ี คําวา Fracture Clavicle หากพบในเดก็ ทารกแรกเกดิ ใหร หสั เปน P13.4 หากพบเพียงโรคเดียวในบุคคลทั่วๆไป ใหรหสั เปน S42.0 หากพบเปนโรครว มกบั ภาวะกระดกู บรเิ วณหัวไหลหัก ใหร หัสเปน S42.7 ดังนั้น ขอ ควรระวังในการใชรหัส ICD-10 ท่ีสําคัญที่สุด คือ อยาคิดวา ชื่อโรคชื่อใดช่ือหน่ึง ตรงกับ รหัสโรครหัสเดียวเสมอ และหามใชเครอ่ื งมอื คน หารหสั โรคที่ออกแบบในลกั ษณะดงั กลา ว เชน 1. หามใชส มดุ จดช่อื โรคทีพ่ บบอ ย ในลักษณะทีบ่ อกวา โรคใดตรงกับรหัสใด 110
2. หามใชโ ปรแกรมคอมพิวเตอร ท่ีตั้งไววา โรคใดตรงกับรหัสใด เชน โปรแกรมคอมพิวเตอรหลาย โปรแกรม ใหผใู ชพ มิ พคาํ วา Fracture Clavicle เขาไป แลว ใหรหัสออกมาเปน S42.0 ก็จะทําใหลงรหัสผิด ในกรณี เด็กทารกแรกเกิด หรอื กรณเี ปน โรคทพ่ี บรว มกบั ภาวะกระดกู บริเวณหวั ไหลหกั ขั้นตอนการใหรหัส ICD ท่ีถูกตองจึงตองดําเนินการใหรหัสจากหนังสือ ICD-10 เทานั้น โดยมี ขน้ั ตอนมาตรฐานรวม 6 ขั้นตอนดงั นี้ 1. ตรวจสอบโรคท่ีปรากฏในใบสรปุ การรักษาใหส อดคลอ งกบั ขอ มลู ในเวชระเบียน 2. เปลีย่ นคาํ ยอทุกคําใหเ ปนคําเตม็ 3. เลือกคําหลกั ของโรคท้งั หมด 4. ใชคาํ หลกั เปด หารหสั ICD-10 จากดรรชนี 5. ตรวจสอบรายละเอยี ดจากหนงั สือ ICD-10 เลม ที่ 1 แลว เลอื กรหัสทเ่ี หมาะสม 6. กําหนดรหสั โรคหลัก โรครวม โรคแทรก และโรคอืน่ ๆ 6A.1 การตรวจสอบโรคทป่ี รากฏในใบสรปุ การรกั ษากบั ขอมลู ในเวชระเบยี น ทาํ โดยการอานใบสรปุ การรกั ษา อานขอ มลู ทง้ั หมดในเวชระเบียน แลว พิจารณาวาขอมลู สอดคลอ งกนั หรอื ไม บางครง้ั อาจพบวา แพทยสรปุ การรักษาไมค รบถวน หรอื มรี ายละเอียดไมส อดคลองกบั ในเวชระเบียน ทําใหผูใหร หัส อาจตอ งนาํ ขอมูลในเวชระเบยี น มาเพมิ่ เตมิ รหสั หรือใหร หสั ไดล ะเอียดข้ึน ขอ มลู ทีม่ ีคุณคา และมีน้ําหนกั เทา กับใบสรปุ การรกั ษา ทที่ าํ ใหสามารถใหร หัสโรคเพ่ิมเติมหรือลงรหัส ละเอียดมากข้ึน ไดแก ขอมูลจากแพทยคนอื่น เชน ผลการตรวจทางรังสีวิทยา ใบบันทึกความเห็นจาก ผเู ชยี่ วชาญสาขาตา งๆ ที่มาชว ยดแู ลผปู วย ฯลฯ บางครั้ง ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ อาจบงช้ีใหเห็นลักษณะโรคแทรกซอนบางอยางท่ีแพทย มองขามไป เชน ผลการเพาะเช้ือจากเสมหะ พบวา มีเช้ือ Klebsiella pneumonia, Pseudomonas aeruginosa แตแพทยมิไดสรุปโรค Pneumonia เอาไว หรือผลการตรวจปสสาวะ พบวาขึ้น เช้ือ Escherichiae coli ปริมาณมากกวา 105 colony/ml แตแพทยไมระบุโรค Urinary Tract Infection เหลาน้ี ควรปรึกษาแพทยเพ่ือใหแพทยบันทึกโรคแทรกเพ่ิมเติม กอนใหรหัสโรคแทรก Pneumonia หรือ Urinary Tract Infection หรือไม 111
การเก็บขอมลู เพมิ่ เตมิ จากเวชระเบยี น ตอ งเปน ขอ มูลที่มกี ารบนั ทึกไวอยา งชดั เจนแลวเทานั้น หามทํา การตีความ หรอื วนิ จิ ฉยั โรคใหมโ ดยไมมขี อ มลู เพียงพอ 6A.2 การเปลย่ี นคาํ ยอใหเ ปนคาํ เตม็ ในหนังสอื ICD-10 ท้งั เลมท่ี 1 และเลม ที่ 3 มคี ํายอไมมากนัก หากตรวจสอบจากหนงั สอื ดรรชนี แลวไมพ บคํายอ นน้ั ๆ ตอ งสอบถามจากแพทยผ ใู ชค ํายอ วา คําเตม็ ของชือ่ โรคนั้นคอื คาํ วา อะไร หรืออาจทาํ ความตกลงกบั แพทยวา ขอใหใชค ําเตม็ ในการวนิ จิ ฉัยโรคหรอื เรียกการผา ตัด เพ่อื ลดความผดิ พลาดในการ แปลงคําเตม็ ตวั อยา งการเปลย่ี นคาํ ยอ ใหเ ปนคําเตม็ คําวา DM เปล่ียนเปน Diabetes Mellitus คําวา HT เปลย่ี นเปน Hypertension คําวา CVA เปล่ียนเปน Cerebrovascular Accident บางครง้ั พบคํายอ ที่ไมม าตรฐาน หรอื คาํ ยอ ทม่ี คี ําเตม็ ซ้ํากันหลายคํา กรณีน้ี ตอ งสอบถามแพทยผ ใู ช คาํ ยอ เพอ่ื ลดความผดิ พลาดในการลงรหัส ตวั อยางเชน คํายอวา MI ควรเปลย่ี นเปน Myocardial Infarction? หรอื Mitral Insufficiency คํายอวา ET ควรเปลย่ี นเปน Esotropia? หรือ Essential Thrombocytopenia? คาํ ยอ วา CHF ควรเปล่ยี นเปน Congestive Heart Failure? หรอื Chronic Hepatic Fibrosis? 6A.3 เลือกคาํ หลกั ของโรคทง้ั หมด การเลือกคําหลัก คอื การเลอื กคาํ ทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ มาใชเ ปน คาํ แรกทนี่ าํ มาเปด หารหสั โดยทั่วไป การ เรยี กช่อื โรคในทางการแพทยม กั ใชค าํ ประกอบกนั หลายๆคาํ ตัวอยา งเชน Diabetes Mellitus ใชค ํา 2 คาํ 112
Chronic Obstructive Pulmonary Disease ใชคํา 4 คํา Congestive Heart Failure ใชค ํา 3 คาํ แตค าํ หลกั ในแตล ะโรคมกั มเี พยี งคําเดยี ว เปนคําทบ่ี อกวาผปู วยเปนโรคอะไร เชน Diabetes Mellitus คาํ หลักคือคาํ วา Diabetes Chronic Obstructive Pulmonary Disease คาํ หลักคือคําวา Disease Congestive Heart Failure คาํ หลักคือคาํ วา Failure 6A.4 การใชค ําหลกั คนหารหสั ในดรรชนี เมื่อผูใช ICD เลอื กคาํ หลักไดแลว ตองใชคําหลกั มาคนหารหสั ทาํ โดย เปด หนงั สอื ดรรชนีคน หารหสั หรอื หนงั สอื เลม ที่ 3 (Volume 3) ของ ICD-10 ในหนังสอื ดรรชนีรหสั โรค ของ ICD-10 จะเรยี งคําหลกั ตา งๆตามลาํ ดบั อกั ษรภาษาองั กฤษใน พจนานุกรม ต้งั แต A-Z หลกั การคน หารหสั ดงั กลาว จึงใชห ลกั การเดียวกบั การคน หาคาํ ศพั ทใ นพจนานกุ รม 6A.5 ตรวจสอบรายละเอียดจากหนงั สอื ICD-10 เลม ที่ 1 แลว เลอื กรหัสที่เหมาะสม ข้นั ตอนน้ี คือการตรวจสอบคําอธิบายรหัส คาํ อธบิ ายกลมุ รหสั คําอธบิ ายตนหมวดและตน บท เพ่ือให แนใจวา รหสั โรคที่ไดจากการเปดดรรชนี เปนรหสั ทเี่ หมาะสมตรงกบั โรคทีพ่ บในผูปวยจริงๆ และอาจตอ ง คน หารหสั ยอ ยที่ซอนอยูในหนังสอื เลม ที่ 1 จะใสป ดทา ยรหสั ที่หามาไดจากหนังสือดรรชนี ข้นั ตอนน้ี ถอื เปนข้ันตอนสาํ คัญทีไ่ มอ าจละเลยได เพราะเปน ขั้นตอนทผี่ ูใ ช ICD-10 ตองตรวจสอบ บรบิ ทอน่ื ๆนอกเหนอื จากคาํ วนิ ิจฉยั โรค เพ่อื นาํ ขอ มลู อืน่ ๆเหลา น้ี มาประกอบการตดั สนิ ใจเลอื กรหสั ท่ีถูกตอ ง ตอไป หากละเลยขัน้ ตอนน้ี อาจทําใหเกดิ ความผดิ พลาดอยา งรายแรงในการใหร หัส 6A.6 กาํ หนดรหสั โรคหลัก โรครว ม โรคแทรก และโรคอน่ื ๆ ขนั้ ตนสุดทา ย ของการใชรหสั ICD-10 เปนขนั้ ตอนการเลอื กรหสั โรคหลัก โรครวม โรคแทรก และ โรคอน่ื ๆ ตามคําจํากดั ความ 113
คาํ จํากัดความประเภทของโรคตางๆในผูปว ยนอก โรคทพ่ี บในผปู วยนอก จาํ แนกไดเ ปน 3 ประเภท คอื 1. โรคหรอื ภาวะหลัก (Main Condition) 2. โรคหรือภาวะอน่ื ๆ (Other Conditions) และ 3. สาเหตขุ องการบาดเจ็บ (External Causes of Injuries) 6A6.1 โรคหลกั ของผูป วยนอก โรคหลัก (Main Condition) ของผูปวยนอก หมายถึง โรคท่ที ําใหผปู ว ยตอ งมารับการรกั ษาในครงั้ นี้ ซึ่งผรู ักษาบนั ทึกไดเ พียงโรคเดยี วเทา น้ัน โดยหากโรคทท่ี ําใหผ ปู วยตอ งมารับการรักษามีพรอมกนั หลายโรค ผูรกั ษาตองเลือกโรคทม่ี อี าการรุนแรงทสี่ ดุ เปน โรคหลัก หากวนิ จิ ฉยั โรคไมไ ด และรกั ษาไปตามอาการ สามารถ บนั ทกึ อาการเปนโรคหลกั ได สําหรับกรณผี ทู ่มี ารับบริการสง เสรมิ สขุ ภาพ ใหระบรุ ายละเอียดการสง เสรมิ สขุ ภาพนั้นเปนโรคหลักได ดังตวั อยา งตอไปนี้ ผูปวย เปน ไข เจบ็ คอ ตรวจพบนา้ํ มูก คอแดง วนิ จิ ฉยั วาเปน ไขห วัด ใหก ารรักษาแบบไขหวัด รายนี้ โรคหลัก คอื โรคหวดั ผปู วย มีอาการ เจบ็ คอ ตรวจพบวาไมม ีไข แตคอแดง ไมทราบวา เปน โรคอะไรแน ใหก ารรกั ษาตาม อาการ รายนี้ โรคหลกั คอื เจบ็ คอ ผูมารบั บรกิ ารสบายดี มารับวัคซีนปองกนั โรคบาดทะยกั เขม็ ที่ 2 ตามนดั โรคหลกั คือ รบั วัคซีน ปอ งกนั โรคบาดทะยักเขม็ ที่ 2 ตามนัด 6A6.2 โรคอน่ื ๆ ของผูป ว ยนอก โรคอ่นื ๆ (Other Conditions) ของผปู วยนอก หมายถึง โรคทม่ี ใิ ชโ รคหลัก อันเกดิ ขึ้นอยูใ นตัวผูปว ย แลว ในวันท่ีมารกั ษาโรคหลกั ไดแ ก โรคประจาํ ตัวของผปู ว ย แผลถลอกทเี่ กดิ รวมกบั โรคหลกั คอื ขอเทา แพลง เปน ตน ดงั ตวั อยางตอไปน้ี ผปู วย เปน ไข เจบ็ คอ ตรวจพบนาํ้ มูก คอแดง วินจิ ฉยั วาเปน ไขห วัด มีโรคประจาํ ตัวเปน เบาหวาน และ ความดันโลหิตสงู ใหก ารรกั ษาแบบไขหวัด รายน้ี โรคหลกั คอื โรคหวัด โรคอืน่ ๆ คือ เบาหวาน และ ความดนั โลหติ สงู 114
ผูปวย มีอาการปวดหลัง ตรวจพบวากดเจ็บบริเวณหลังสวนลางเล็กนอย มีโรคประจําตัวเปน เบาหวาน และ ความดันโลหติ สงู ไมท ราบวาเปน โรคอะไรแน ใหก ารรักษาตามอาการ รายน้ี โรคหลกั คือ ปวด หลงั โรคอ่นื ๆ คือ เบาหวาน และ ความดนั โลหิตสงู ผูปวย ขับรถจักรยานยนตลมเอง รูสึกขอเทาแพลง มีแผลถลอกท่ีแขนซาย และ เขาซาย มาปฐม พยาบาลและทําแผลที่ รพ.สต. รายน้ีโรคหลกั คือ ขอ เทาแพลง โรคอน่ื ๆ คอื แผลถลอกที่แขนซา ย และ แผล ถลอกที่เขาซาย ผูมารับบริการสบายดี มารับวัคซีนปองกันโรคบาดทะยักเข็มที่ 2 ตามนัด มีโรคประจําตัวเปน เบาหวาน โรคหลกั คือ รบั วคั ซีนปองกนั โรคบาดทะยักเขม็ ที่ 2 ตามนัด โรคอนื่ ๆ คือ เบาหวาน 6A6.3 สาเหตกุ ารบาดเจบ็ ของผปู วยนอก สาเหตุการบาดเจ็บ (External Causes of Injuries) ของผูปวยนอก หมายถึง ประวัติการไดรับ บาดเจ็บที่ทําใหตองมารับการรักษาบาดแผลหรือการบาดเจ็บในครั้งน้ี บันทึกเพียงครั้งแรกในวันท่ีเริ่มมา รกั ษาการบาดเจ็บเทาน้ัน หา มบันทกึ สาเหตกุ ารบาดเจบ็ เปนโรคหลกั เชน ผูปวยโดนสุนัขกัดมีแผลท่ีนองขวา หามบนั ทกึ โรคหลกั เปน สุนขั กัด ตวั อยา งการบนั ทกึ สาเหตุการบาดเจ็บ ไดแ ก ผูปวย ขับรถจักรยานยนตลมเอง รูสึกขอเทาแพลง มีแผลถลอกที่แขนซาย และ เขาซาย มาปฐม พยาบาลและทําแผลที่ รพ.สต. รายนีโ้ รคหลัก คือ ขอ เทาแพลง โรคอ่ืนๆ คอื แผลถลอกที่แขนซาย และ แผล ถลอกทเี่ ขาซา ย สาเหตกุ ารบาดเจบ็ คือ ขบั รถจกั รยานยนตลม เอง ผูป วยคนดงั กลาว มารับบรกิ ารลา งแผลอกี ครงั้ ในวนั ที่ 3 หลังรถจักรยานยนตล ม ครง้ั นี้ โรคหลัก คือ บรกิ ารทําแผล ไมต อ งบันทึก สาเหตกุ ารบาดเจบ็ ผูมารบั บริการสบายดี เคยโดนสังกะสีบาดตองรักษาโดยการเย็บแผลเม่ือ 3 เดือนกอน วันน้ีสบายดี มารับวัคซีนปองกันโรคบาดทะยักเข็มท่ี 2 ตามนัด มีโรคประจําตัวเปน เบาหวาน โรคหลัก คือ รับวัคซีน ปองกันโรคบาดทะยักเข็มที่ 2 ตามนดั โรคอื่นๆ คือ เบาหวาน ไมต องบันทึกสาเหตุการบาดเจ็บ 115
คาํ จํากดั ความประเภทของโรคตา งๆของผปู ว ยใน กระทรวงสาธารณสขุ โดยสาํ นักนโยบายและยุทธศาสตรไ ดก าํ หนดคําจาํ กดั ความประเภทของโรค ตางๆ ท่ใี ชในระบบขอ มลู ขา วสารของสุขภาพของประเทศไทย ในหนงั สอื ICD-10-TM (ICD-10-Thai Modification)1 เลม ท่ี 5 Standard coding guidelines ดังนี้ GN001 PRINCIPAL DIAGNOSIS (การวนิ จิ ฉัยหลัก) การวนิ ิจฉยั หลัก (principal diagnosis หรอื main condition) มีคาํ จํากัดความตามหนังสือ ICD- 10 วา “The condition, diagnosed at the end of the episode of health care, primarily responsible for the patient’s need for treatment or investigation. If there is more than one such condition, the one held most responsible for the greatest use of resources should be selected. If no diagnosis was made, the main symptom, abnormal finding or problem should be selected as the main condition” องคประกอบทสี่ ําคญั ตามคาํ จาํ กดั ความ ไดแก 1. การวินิจฉยั หลกั มไี ดเพยี งการวินจิ ฉัยเดียวเทาน้ัน แพทยผบู นั ทกึ ตองเขียนคําวินจิ ฉยั โรคไวเ พยี งโรค เดยี ว 2. การวนิ จิ ฉัยวา โรคใดเปน การวินจิ ฉยั หลักใหก ระทําเมอ่ื สิ้นสุดการรกั ษาแลวเทานน้ั เพ่อื ใหไดคาํ วนิ จิ ฉัยโรคข้นั สุดทา ย (final diagnosis) ซงึ่ จะเปนคาํ วนิ จิ ฉยั โรคที่ละเอยี ดชัดเจนมากที่สุด ดงั นั้นการ วนิ ิจฉยั หลกั อาจแตกตางไปจากการวนิ ิจฉยั เมื่อแรกรบั (admitting หรอื provisional diagnosis) 3. ในกรณีของผูปวยใน โรคทบ่ี นั ทกึ เปน การวินจิ ฉยั หลกั ตองเปนโรคทเ่ี กิดข้ึนในตัวผปู ว ยตงั้ แตก อ นรบั เขา ไวรกั ษาในโรงพยาบาล มิใชโ รคแทรกทเี่ กดิ ขนึ้ มาภายหลงั ถึงแมโรคแทรกทเ่ี กิดมาภายหลงั จะทาํ ให สญู เสียทรัพยากรหรือคาใชจา ยในการรักษามากกวา แพทยกม็ ิอาจเลือกโรคแทรกมาบนั ทกึ เปนการ วินิจฉยั หลกั ได 4. ในผูปว ยท่ีมโี รคหลายโรคปรากฏขึน้ พรอมๆกนั ต้ังแตก อนรบั เขา ไวรักษาในโรงพยาบาล ใหเ ลอื กโรคท่ี ไดทําการรกั ษาเปนการวินจิ ฉัยหลัก หากรกั ษาหลายโรคพรอมๆกนั ใหเ ลอื กโรคทร่ี นุ แรงทสี่ ุดเปนการ วนิ จิ ฉัยหลกั หากโรคทรี่ ักษาพรอมๆกนั หลายโรคมีความรนุ แรงใกลเคียงกัน ใหเ ลือกโรคท่ใี ชทรพั ยากร ในการรักษาสูงสดุ เปนการวินจิ ฉัยหลัก 1 ICD-10-TM(ICD-10-Thai modification) คือระบบรหสั ICD ที�ถูกดดั แปลงเพมิ� เตมิ โรคตา่ งๆที�พบมากในประเทศไทย ประกอบด้วย หนงั สือ 5 เลม่ คือ 1.Tabular list of diseases 2.Alphabetical indexs to diseases 3. Procedure codes 4.Index to procedures 5.Standard coding guidelines 116
5. ในผูปว ยบางรายที่แพทยว ินจิ ฉยั โรคใหแ นชดั ไมไ ดจ นสิน้ สดุ การรกั ษาแลว (ผปู ว ยหายจากอาการ เจ็บปวยเองโดยไมทราบสาเหตุ หรอื ผปู วยเสียชวี ิตโดยยงั วินจิ ฉยั โรคไมได หรอื สง ตอผปู วยไปรกั ษายัง โรงพยาบาลอน่ื ) ใหแ พทยบ ันทกึ อาการ (symptom) หรอื อาการแสดง (sign) หรอื กลมุ อาการ (syndrome) ท่สี ําคญั ทสี่ ดุ เปนการวนิ จิ ฉยั หลกั GN002 COMORBIDITY (การวนิ ิจฉัยรวม) โรคทีเ่ ปน การวนิ จิ ฉยั รวม (comorbidity) คือ โรคทปี่ รากฏรวมกับโรคทเ่ี ปนการวินจิ ฉยั หลกั และเปน โรคที่มคี วามรุนแรงของโรคมากพอท่ีจะทําใหผ ูป วยมีความเสี่ยงชวี ติ สงู มากข้นึ หรอื ใชท รัพยากรในการรักษา เพม่ิ ข้นึ ระหวา งการรกั ษาตวั ในโรงพยาบาลคร้ังนี้ องคป ระกอบทส่ี าํ คัญตามคาํ จํากัดความของโรคทเี่ ปนการวนิ จิ ฉัยรวม ไดแ ก 1. เปน โรคท่ีพบรวมกบั การวินจิ ฉยั หลัก หมายความวา เกดิ ขน้ึ กอ น หรอื พรอ มๆ กบั โรคที่เปน การวนิ จิ ฉัย หลัก คอื เปนโรคทเี่ กิดขนึ้ ในตัวผปู ว ยตัง้ แตกอนรบั เขา ไวร ักษาในโรงพยาบาล มิใชโรคแทรกที่เกิดขนึ้ มาภายหลัง 2. เปนโรคท่มี ีความรนุ แรงมากพอท่ที าํ ใหผ ูปว ยมคี วามเสี่ยงตอการเกดิ โรคแทรก เส่ียงตอ การเสียชวี ิตหรอื พกิ ารระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล ทาํ ใหต อ งเพม่ิ การตรวจพิเศษ เพม่ิ ยาหรอื เวชภัณฑ ตอ ง ไดร บั การดูแลเพ่ิมเตมิ จากแพทยผ เู ชีย่ วชาญแผนกอ่นื ๆ ตอ งทําการรักษาเพมิ่ เตมิ 3. แพทยส ามารถบนั ทกึ การวินจิ ฉยั รวมไดมากกวา 1 โรค โดยไมจาํ กัดจํานวนสูงสุดท่จี ะบนั ทกึ ได โรคทม่ี กั เปน การวินิจฉัยรว ม ไดแ ก โรคเรื้อรงั ตา ง ๆ เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสงู ไตวายเร้ือรัง โรคหัวใจขาดเลือด หรือโรคประจําตัวผูปวย เชน systemic lupus erythematosus, old cerebrovascular accident ฯลฯ ในกรณีผูปวยบาดเจ็บหลายตําแหนง มักมีบาดแผลตางๆที่มีความ รุนแรงนอยกวาบาดแผลหลกั เปนโรครวมอยเู สมอ การใหร หสั โรคทีเ่ ปนการวินจิ ฉยั รว มทกุ รหัส ตองมกี ารวนิ จิ ฉยั โรคอยา งเปน ลายลักษณอ กั ษรของ แพทยผ ูดแู ล หรือรว มกันรักษาเปนหลกั ฐานรบั รองการบนั ทกึ รหสั เสมอ ผใู หร หสั ไมส ามารถนาํ เอาผลการตรวจ เลอื ด การตรวจปส สาวะ หรอื การตรวจพเิ ศษอน่ื ใดท่ีมใิ ชคําวินจิ ฉยั โรคของแพทยม าตคี วามเปน การวินิจฉัยรว ม 117
เองโดยพลการ ถา หากมีขอ สงสัยวา ผปู วยจะมีโรคทเี่ ปนการวินจิ ฉัยรว มอืน่ ใดท่ีแพทยลมื บันทึก ผูใหรหัส อาจสง เวชระเบยี นใหแ พทยพ จิ ารณาทบทวนวนิ จิ ฉัยโรคเพิม่ เติมไดก อนใหร หสั GN003 COMPLICATION (โรคแทรก) โรคแทรก (complication) คอื โรคท่ไี มปรากฏรวมกบั โรคท่ีเปน การวินิจฉยั หลกั แตแรก แตเกดิ ข้ึน หลงั จากผปู วยเขารับการรกั ษาในโรงพยาบาลไปแลว และเปน โรคทีม่ ีความรนุ แรงของโรคมากพอที่จะทาํ ให ผูป ว ยมคี วามเสีย่ งตอ ชวี ติ สงู มากขึ้น หรอื ใชทรัพยากรในการรกั ษาเพ่มิ ข้ึนระหวา งการรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล ครัง้ น้ี องคประกอบทสี่ าํ คัญตามคาํ จํากัดความของโรคแทรก ไดแก 1. เปนโรคทีเ่ กดิ ขึ้นภายหลัง ไมเกดิ ข้ึนกอน หรอื ไมเกดิ พรอมกบั โรคท่เี ปนการวนิ จิ ฉัยหลัก คอื เปนโรคที่ เกดิ ขน้ึ หลังจากผปู วยเขารบั การรักษาในโรงพยาบาลแลว 2. เปนโรคทีม่ ีความรุนแรงมากพอทท่ี ําใหผ ปู วยมคี วามเสย่ี งตอ การเกิดโรคแทรก เส่ยี งตอ การเสยี ชวี ติ หรือพกิ ารระหวางรักษาตวั อยูในโรงพยาบาล หรอื ทําใหต องเพิ่มการตรวจพเิ ศษ เพม่ิ ยาหรือเวชภัณฑ ตอ งไดรบั การดูแลเพ่มิ เติมจากแพทยผ เู ชย่ี วชาญแผนกอืน่ ๆ ตองทาํ การรกั ษาเพม่ิ เตมิ 3. โรคแทรกอาจเปน โรคตา งระบบกบั โรคทเ่ี ปน การวนิ ิจฉัยหลกั และอาจไมเกยี่ วเน่อื งกบั การวนิ ิจฉัยหลกั 4. แพทยสามารถบันทกึ โรคแทรกไดมากกวา 1 โรค โดยไมจาํ กัดจํานวนโรคสูงสดุ ตัวอยางโรคท่ีมักเปนโรคแทรก ไดแก โรคท่ีมักเกิดข้ึนอยางเฉียบพลันในโรงพยาบาล ทําใหผูปวย เดือดรอ นมากข้นึ เชน โรคติดเชอ้ื ตา งๆ หลอดเลือดอดุ ตันเฉียบพลัน กลา มเนื้อหวั ใจตายเฉียบพลัน การแพ ยา ผน่ื ลมพษิ รวมถึงผลขา งเคียงท่ีเกดิ จากการรักษาหรือผาตดั ดว ย การใหรหสั โรคแทรกทุกรหสั จะตองมีการวนิ จิ ฉัยโรคอยางเปน ลายลกั ษณอ ักษรของแพทยผูดูแลหรือ รว มกนั รักษาเปนหลกั ฐานรบั รองการบันทกึ รหสั เสมอ ผใู หร หัสไมส ามารถนาํ เอาผลการตรวจเลอื ด การตรวจ ปส สาวะ หรือการตรวจพเิ ศษอืน่ ใดท่ีมิใชคาํ วนิ ิจฉัยโรคของแพทยมาตีความเปนรหัสโรคแทรกเองโดยพลการ หากมีขอสงสยั วา ผปู ว ยจะมโี รคแทรกอ่ืนใดท่ีแพทยลืมบันทึก ผูใหรหัสอาจสงเวชระเบียนใหแพทยพิจารณา ทบทวนวินจิ ฉยั โรคแทรกเพิ่มเติมไดกอ นใหร หัส 118
GN004 OTHER DIAGNOSES (การวินิจฉยั อน่ื ๆ) การวินิจฉัยอ่ืนๆ (other diagnoses) คือ โรคของผูปวยท่ีไมเขาขายคําจํากัดความของการวินิจฉัย หลัก การวินิจฉยั รว ม หรอื โรคแทรก กลาวคอื เปน โรคทค่ี วามรนุ แรงของโรคไมมากพอท่ีจะทําใหผ ปู ว ยมีความ เส่ียงตอชีวิตสูงมากข้ึน หรือเปนโรคท่ีไมตองใชทรัพยากรในการรักษาเพ่ิมขึ้นระหวางการรักษาตัวใน โรงพยาบาลคร้ังนี้ อาจเปนโรคที่พบรวมกับโรคท่ีเปนการวินิจฉัยหลัก หรือพบหลังจากเขารักษาตัวใน โรงพยาบาลแลวก็ได องคป ระกอบทส่ี ําคัญตามคําจาํ กดั ความของการวินจิ ฉยั อ่นื ๆ ไดแก 1. เปน โรคเลก็ นอย หรอื เปนโรคที่มีความรุนแรงไมมากพอท่ีทําใหผูปวยมีความเส่ียงตอการเกิดโรค แทรกเสย่ี งตอการเสียชีวิต หรือพิการระหวางรักษาตัวอยูในโรงพยาบาล ไมทําใหตองเพ่ิมการตรวจ พเิ ศษ ไมต องเพม่ิ ยาหรอื เวชภัณฑ ไมต อ งทําการรกั ษาเพิ่มเตมิ 2. เปนโรคพบรว มกบั โรคท่ีเปน การวินจิ ฉัยหลกั หรือพบหลังจากเขารกั ษาตัวในโรงพยาบาลแลวก็ได 3. อาจเปน โรคระบบเดียวกันกบั การวนิ จิ ฉัยหลกั หรอื อาจไมเ กย่ี วเนื่องกบั การวินิจฉัยหลกั กไ็ ด 4. แพทยสามารถบนั ทึกการวนิ จิ ฉัยอนื่ ๆไดม ากกวา 1 อยา ง โดยไมจํากัดจํานวนสงู สดุ GN005 EXTERNAL CAUSE OF INJURY AND POISONING (กลไกการบาดเจบ็ หรอื การไดร ับพษิ ) กลไกการบาดเจ็บหรอื กลไกการไดร บั พษิ (external cause of injury and poisoning) คือ ขอ มูล ท่ไี ดจ ากการซกั ประวัตผิ ปู วย เพ่ือใหท ราบวาบาดเจบ็ มาอยา งไร เปนอบุ ตั เิ หตุ ถูกทาํ ราย ฆา ตวั ตาย ฯลฯ เพ่ือใหไดขอ มลู มาใชปองกนั การบาดเจบ็ ที่อาจเปน สาเหตใุ หส ูญเสยี ประชาชนไทยกอนวยั อนั ควร แพทยต อ ง ระบกุ ลไกการบาดเจบ็ ของผปู วยบาดเจบ็ ทกุ ราย องคป ระกอบทส่ี าํ คัญของ กลไกการบาดเจบ็ ไดแก 1. บอกลักษณะกลไกการบาดเจ็บไดอยางละเอียด เชน บรรยายวา น่งั ซอ นทายรถจกั รยานยนตจะไป ทํางาน แลวรถจกั รยานยนตส ะดดุ กอ นหินลื่นลมเอง หรือบรรยายวาถูกฟน ดวยมีดอีโตขณะไปเทย่ี วท่ี งานวัด 119
2. ระบไุ ดช ดั เจนวาเปน อบุ ตั เิ หตุ หรอื ถกู ทําราย หรอื เปนการฆาตวั ตาย/ทาํ รายตวั เอง ผูใหรหัสมหี นา ทสี่ ําคัญยง่ิ ในการบันทึกรหัสผูปวยบาดเจ็บ ถาหากแพทยไมระบุกลไกการบาดเจ็บ หรือ ระบุกลไกไมช ดั เจน ผใู หรหัสตอ งสืบคน ขอมลู เพิม่ เติมจากเวชระเบียน เพื่อใหรหัสสาเหตุการบาดเจ็บ ไดค รบถวนและถูกตอ งตรงตามมาตรฐานการใหรหสั ผปู วยบาดเจบ็ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ รหัสกิจกรรม, รหัส สถานทเี่ กิดเหตุ และรหัสตาํ แหนงผูปวยในยานพาหนะแตล ะแบบ 6A.7 การบันทกึ รหัส ICD เมื่อใหรหัสเสร็จแลว ใหบันทึกรหัสโดยใชปากกาหมึกสีดําหรือสีนํ้าเงินลงในเวชระเบียนผูปวย ดา นขางของคาํ วินจิ ฉัยโรค แลว ลงนามผใู หรหสั กํากบั ดว ยเสมอ 6B. การใหรหัสมาตรฐานโดยระบบคอมพวิ เตอร การใหรหัสมาตรฐานอื่นๆ โดยระบบคอมพิวเตอรสามารถดําเนินการไดไมยาก ผูเขียนโปรแกรม สามารถฝง รายการรหัสเขา ไปไวในหนา จอบันทกึ ขอ มลู เพื่อใหผ ูใชส ามารถบนั ทึกรหัสมาตรฐานตา งๆ เชน รหสั สัญชาติ สถานภาพสมรส อาชีพ สิทธกิ ารรักษา ฯลฯ เขา ไปในระบบฐานขอมูลไดโ ดยตรง 120
บทท่ี 7. การจดั การเวชระเบียนในโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตําบล (Medical Record Management in Tambon Health Promoting Hospital) โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตาํ บล (รพ.สต.) หรือสถานอี นามยั หรือศูนยสุขภาพชุมชน เปนหนวยงาน บริการสขุ ภาพระดบั ปฐมภมู ิท่ีใหบ รกิ ารดแู ลรกั ษาอาการเจบ็ ปวย และสง เสรมิ สุขภาพของประชาชน เปนดาน หนาของการบรกิ ารสขุ ภาพของประเทศ ซึง่ ตอ งมีระบบจดั การขอ มลู ผูปวยหรอื เวชระเบียนท่ีเปนระบบชัดเจน เพื่อม่ันใจวาขอมูลที่จัดเก็บมีความครบถวน ถูกตอง มีรายละเอียดชัดเจนท่ีดี และทันสมัยทันเวลา เพื่อให สามารถนําขอ มลู มาใชใหบรกิ ารผปู วย จดั ทาํ สถิตแิ ละวิเคราะหข อ มูลเพอ่ื หาโอกาสพฒั นาตอ ไป การจดั การเวช ระเบยี นในรพ.สต. จงึ มคี วามสําคญั อยางย่ิง โดยมีดา นตางๆ ทีส่ าํ คญั 4 ดา นดงั น้ี 1. รายการเอกสารและขอมูลสําคญั ทตี่ อ งเกบ็ รวบรวมและบนั ทึก 2. วธิ ีบันทกึ ขอ มูล แกไ ขขอ มูล จัดระเบียบเอกสารและจัดเก็บ 3. การจดั การควบคุมคุณภาพขอมลู 4. การสงออกขอ มูล 7A. รายการเอกสารและขอ มลู สาํ คญั ท่ตี องเก็บรวบรวมและบันทกึ เมอ่ื ผูปว ยหรือประชาชนมารับบรกิ าร ตองจัดทาํ เวชระเบยี นของผมู ารบั บรกิ ารทุกคน โดยเอกสารและ ขอมูลสําคัญท่ีตองเก็บรวบรวมและบันทึกไวใน รพ.สต. ของผูมารับบริการแตละรายจะตองประกอบดวย รายการดงั ตอไปน้ี 1. รายละเอียดผปู วย/ประชาชนผูมารบั บรกิ าร 2. รายการปญ หาทางสุขภาพ รวมถึงการแพยา/อาหาร 3. รายการยาทผ่ี ปู ว ยใชในปจ จบุ นั และยาทเ่ี คยใชใ นอดตี 4. รายการวัคซีนปองกันโรคทีผ่ ูปว ยเคยไดร ับ 5. รายละเอยี ดการมารบั บริการในแตละครงั้ a. วนั ท่ีและเวลาทีม่ ารบั บริการ b. อาการสําคญั c. ประวตั ิปจจบุ นั d. ผลการตรวจรางกาย 121
e. ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการหรอื การตรวจพิเศษอ่นื ๆ f. ผลการรักษาในกรณที ี่นดั ติดตามผล g. คาํ วนิ จิ ฉยั โรค h. การรักษา i. การใหคาํ แนะนํา j. วนั ที่นดั ตดิ ตามผล k. ชื่อและการลงลายมอื ชอื่ ของผรู กั ษา รายการที่ 1-4 จะอยูในรูปแบบของบัตรผปู ว ยสวนหนา ซ่ึงจัดทําข้ึนในครั้งแรกท่ีผูปวยมารับบริการ แตอาจเพมิ่ เตมิ แกไ ขขอมลู ไดถ า มีการเปลยี่ นแปลง สว นรายการที่ 5 จะเปนบตั รสว นเสรมิ ซง่ึ จะเพ่ิมเตมิ จํานวน แผน ตามลาํ ดบั ครง้ั ท่ีมารบั บริการในครงั้ ตอไป 7A.1 รายละเอียดผปู ว ย/ประชาชนผมู ารับบรกิ าร รายละเอยี ดผปู วย/ประชาชนผูมารับบริการ ควรมรี ายละเอียดดังตอ ไปนี้ - ช่ือ นามสกลุ - เลขประจําตวั ประชาชน - ท่ีอยูบ า น และ หมายเลขโทรศัพท - วนั เดือนปเกิด - เพศ - สถานภาพสมรส - เชื้อชาติ สญั ชาติ - ศาสนา - สิทธกิ ารรักษา - ช่อื นามสกุลบิดา ชอื่ นามสกุลมารดา - อาชีพ - สถานทท่ี าํ งาน - ท่ือยสู ถานท่ีทาํ งาน และ หมายเลขโทรศัพท - ชื่อนามสกลุ ญาติผูใ กลชิด 122
- ทีอ่ ยูของญาติผูใ กลช ดิ และ หมายเลขโทรศพั ท - ความสมั พนั ธก บั ญาติผใู กลชิด (เกีย่ วของเปน อะไร) 7A.2 รายการปญหาทางสขุ ภาพรวมทัง้ การแพย า/แพอาหาร รายการปญหาทางสุขภาพ (Problem List) เปน รายการปญหาทางสุขภาพทั้งหมดของตัวผูปวย ซึ่ง ครอบคลมุ โรคประจําตัวท้งั หมด โรคสาํ คญั ที่เคยเกิดข้ึนในอดีต ปจจยั เสยี่ ง การแพย า/แพอ าการ โดยแพทยท ุก คนที่ดูแลรักษาผูปวยจะตองบันทึก ปรับปรุง แกไขรายการนี้ใหทันสมัย เพ่ือใหแพทยท่ีมาอานรายการนี้ใน ภายหลงั สามารถอา นแลวเหน็ ภาพปญหาสขุ ภาพทัง้ หมดของผปู วยไดในกระดาษแผนเดียว ดังตวั อยา งรายการ Problem List ในภาพ 7.1 Problem List นาย ประชา ชนไทย HN 23678 ลาํ ดบั วนั ที่เกิดปญ หา ชอื่ ปญ หา สถานะ วันที่ปญหาหายไป 1 8 ส.ค. 2535 ความดันโลหิตสูง (Active/Inactive) Active 2 พ.ศ. 2520 สูบบหุ รี่ วนั ละ 1 ซอง Active 3 เม.ย. 2540 น่ิวถุงนา้ํ ดี -> ผาตัดถุงนํ้าดีออกดวย Inactive พ.ค. 2540 การสอ งกลอ ง ท่ี รพท. จังหวดั 4 ก.ย. 2545 กระดกู ไหปลารา หกั จากขบั มอเตอร Inactive ม.ค. 2546 ไซดล ม 5 12 ก.ค. 2550 ไขมันในเลอื ดสงู Active ภาพท่ี 7.1 ตวั อยาง Problem List หลักการท่สี ําคัญในการบนั ทึก Problem List บันทึกโรคเร้ือรัง โรคเฉียบพลันท่ีมีความรุนแรงพอสมควร ไมบันทึกโรคไมรุนแรง ซ่ึงเปนแลว รกั ษาหายโดยงาย เชน โรคหวัด ทองเสยี เล็กนอย ปวดกลามเนื้อ ฯลฯ ไมบ นั ทึกกรณีที่ไมทราบแนชดั วา เปน โรคอะไร ปรับปรงุ รายการปญหาโดยสมํ่าเสมอ อยา งนอยทกุ ๆ 6 เดอื น เพ่อื ใหรายการทนั สมยั กรณีปญ หาหมดไป ใหบนั ทึกสถานะเปน Inactive 123
7A.3 รายการยาทผี่ ปู วยใชใ นปจจุบนั และยาท่ีเคยใชใ นอดตี รายการยาที่ผูป วยใชในปจจุบัน และยาท่ีเคยใชในอดีต (Medication List) เปนรายการยาท่ีผูปวย กาํ ลังใชอยูในปจจุบันที่รักษาโรคประจําตัวท้ังหมด รวมยาท่ีเคยใชรักษาโรคสําคัญที่เคยเกิดข้ึนในอดีต โดย แพทยทุกคนที่ดูแลรักษาผูปวยจะตองบันทึก ปรับปรุง แกไขรายการน้ีใหทันสมัย เพ่ือใหแพทยท่ีมาอาน รายการน้ีในภายหลังสามารถอานแลวเห็นภาพรวมการใชยาทั้งหมดของผูปวยไดในกระดาษแผนเดียว ดัง ตัวอยางรายการ Medication List ในภาพ 7.2 Medication List นาย ประชา ชนไทย HN 23678 ชอ่ื ยา วธิ ีใชย า วันที่เร่ิม วนั ท่หี ยดุ สาํ หรบั ปญ หา 3 เม.ย. 40 Amlodipine 10 mg tab กินวนั ละเมด็ ตอนเชา 10 ม.ค. 36 20 ก.ย. 45 1 3 Air-X tablet เคี้ยวคร้ังละเม็ด วันละ 3 2 ก.พ. 40 4 ครัง้ หลงั อาหาร 5 Ibuprofen 400 mg tab กินครั้งละ 1 เม็ด เชา เย็น 14 ก.ย. 45 หลงั อาหาร Atorvastatin 20 mg กนิ วันละเม็ด ตอนเชา 15 ก.ค. 50 tab ภาพที่ 7.2 ตัวอยาง Medication List หลักการที่สาํ คัญในการบันทึก Problem List บันทึกยาทกุ ตวั ท่ีผูปวยไดรับอยางตอเน่ืองเปนเวลานาน เพ่ือรักษาโรคประจําตัวซ่ึงมักเปนโรค เร้ือรงั ไมบนั ทึกยาทใ่ี ชบรรเทาอาการชว่ั คราวท่ีใชนานๆครั้ง เชน กินยา Paracetamol เม่ือมีไข นานๆ ครง้ั ไมจําเปนตองบนั ทึกยาที่ใชรกั ษาโรคเฉียบพลัน ซึ่งรักษาไดโดยงาย เชน ให ORS รักษาอาการ ทองเสีย หรอื ใชย า Chlorpheniramine รักษาอาการน้ํามกู ไหล หากมีอาการติดเช้ือซ้ําๆหลายๆครั้ง ใหบันทึกโรคติดเช้ือนั้นๆในรายการปญหาและบันทึกยา ปฏชิ ีวนะทีใ่ หในรายการยาดวย 124
7A3.4 รายการวัคซีนปอ งกนั โรคท่ผี ปู ว ยเคยไดร ับ รายการวคั ซีนปอ งกันโรคทีผ่ ปู วยเคยไดร ับ (Vaccination List) เปนรายการวัคซีนท่ีผูปวยเคยไดรับ ในอดตี ท้งั หมด เพอื่ ใหท ราบวา ผปู วยนาจะมภี มู คิ ุมกนั โรคอะไรแลวบา ง และใชต ิดตามการใหวัคซีนใหม่ันใจวา ผปู ว ยไดรบั วัคซนี ตามประเภทและเวลาท่กี าํ หนด ดังตวั อยา งรายการวคั ซีนที่ผูปวยเคยไดร ับ ในภาพท่ี 7.3 Vaccination List เด็กหญงิ มนี า ชนไทยHN 38456 วันท่ีรับวัคซีน ชอื่ วคั ซนี คร้งั ที่ หมายเหตุ 4 ม.ี ค. 2558 4 พ.ค. 2558 BCG 1 4 พ.ค. 2558 OPV 11 ก.ค. 2558 DTP 1 11 ก.ค. 2558 OPV DTP 1 2 2 ผปู วยเปนไขในวันท่ีนัด จงึ ไดร ับวัคซีนชา ไปกวา กําหนด 1 สปั ดาห ภาพที่ 7.3 ตวั อยาง Vaccination List 7A3.5 รายละเอยี ดการมารบั บริการในแตละคร้งั รายละเอยี ดการมารับบรกิ ารในแตละครั้ง ควรบนั ทกึ ตามหลกั การตอไปนี้ 7A3.51 การบันทกึ ขอมลู ผปู วยในกรณที ผ่ี ปู วยมาตรวจครงั้ แรก ควรประกอบดว ยขอมลู ตอไปนี้ ก. ประวตั คิ วามเจบ็ ปว ย ประกอบดว ย อาการสําคญั ไดแก อาการนํา (chief complaint) ระยะเวลาทเ่ี ปน รายละเอียดของอาการ และการดาํ เนนิ โรค สว นนเ้ี ปน สวนทจ่ี ําเปน สําคัญ และ อาจประวัตอิ ดตี ประวตั คิ รอบครวั การทบทวนตามระบบประวตั สิ ว นตวั ท่ีสาํ คญั เชน การสบู บหุ ร่ี ด่มื สุรา สารเสพตดิ ประวัติการแพยา ในสว นทสี่ ําคญั และเกยี่ วของกับการเจบ็ ปวยคร้งั นี้ ข. การตรวจรา งกาย ประกอบดวย การบนั ทึกเฉพาะสว นตามอาการนํา เชน มาตรวจดว ยอาการ ปวดทอ ง บันทกึ การตรวจเฉพาะการตรวจชอ งทอ ง ควรบันทึกการตรวจรา งกายอนื่ ๆ ทเี่ ก่ยี วของ เชน บนั ทกึ ลกั ษณะทั่วไปของผูปวย เชน ซดี เหลอื ง ตรวจรา งกายระบบปอด และหวั ใจที่อาจเปน รอยโรคท่ที าํ ใหป วดราวมาชองทอ งได สว นนี้เปน สว นท่ีจําเปน และสาํ คญั การบันทกึ อาจมี รายละเอียดมากนอ ยตามความสาํ คญั ของระบบรา งกายสว นที่เกยี่ วขอ งกบั การเจ็บปว ยครง้ั นี้ 125
ค. การวนิ ิจฉยั /การวนิ จิ ฉยั แยกโรค เม่อื บันทึกประวตั ิ และการตรวจรา งกายแลว ตองควรบันทกึ การ วนิ ิจฉยั โดยไมใ ชค าํ ยอ (เชน DM) ไมเปนคาํ กํากวม (เชน URI) ตองไมใชคาํ บรรยายรหสั ICD เปนคําวินจิ ฉยั โรค และ คําวนิ จิ ฉยั โรคตอ งบอก ชื่อโรค ชนิดโรคและตาํ แหนงทเี่ ปนโรคใหช ดั เจน ง. การตรวจทางหอ งปฏิบัติการ หลงั จากบันทกึ ประวัตติ รวจรางกายและการวนิ ิจฉัยแลว บางโรค ตอ งการการตรวจทางหอ งปฏบิ ัติการ เพอ่ื ยืนยันการวนิ จิ ฉยั และการวนิ ิจฉัยแยกโรค สว นที่ จาํ เปน และสาํ คัญคือ บันทกึ การตรวจทง้ั หมดทส่ี งั่ จ. การรกั ษา สว นท่ีสาํ คญั คอื การบนั ทึกการรกั ษา ซึ่งไดแ ก การผาตัด การทําหตั ถการ การใหยาทุก ขนาน พรอมขนาดยา และการใหคําแนะนาํ ฉ. หตั ถการและการทาํ ผาตดั เลก็ ตองบนั ทกึ ส่ิงทีต่ รวจพบระหวา งทาํ หัตถการ วธิ รี ะงบั ความรสู กึ และวิธีการทําหัตถการโดยสรปุ อาจวาดภาพประกอบ บอกรายละเอียดการทําในแตล ะขั้นตอน รวมถึงวัสดอุ ปุ กรณท ี่ใช เชน วสั ดเุ ย็บแผล เปน ตน ช. การนดั ตรวจตดิ ตามผล (ถา ม)ี ซ. ชือ่ ผูใ หบรกิ าร ตอ งมชี อ่ื นามสกลุ บนั ทึกไวใหอ านออกไดช ัดเจน ไมเ ปน ลายเซน็ เพยี งอยางเดยี ว 7A3.52 การบนั ทกึ ขอมูลผปู วยกรณีทมี่ าตรวจติดตามหลังไดรบั การรักษาไปแลว ควรประกอบดว ยขอมลู ตอไปน้ี ก. ประวัติการติดตาม บนั ทกึ ตรงตามโรคท่มี าตดิ ตาม เชน มาตรวจโรคเบาหวาน บันทึกประวตั ิ อาการของโรคเบาหวาน เชน ปส สาวะบอย หิวนาํ้ บอ ย กนิ เกง นํา้ หนักลด อาจบันทกึ อาการของ โรคแทรกซอ น เชน อาการระดับนาํ้ ตาลในเลอื ดต่ํา ไดแก อาการเปน ลม หวิ ใจส่นั เหงอื่ แตก อาการโรคแทรกซอนเรอ้ื รัง เชน ชาปลายมอื ปลายเทา บวม ตามัว ข. การตรวจรางกายทจ่ี ําเปน บันทึกตรงตามโรคทม่ี าติดตาม เชน มาตรวจโรคความดนั โลหติ สงู ควร วัดความดนั โลหิต มาลางแผลหลังการทําแผล ตอ งบันทกึ ลกั ษณะแผล อาจบันทกึ การตรวจ รา งกายทเี่ ปน โรคแทรกซอ น เชน วดั อุณหภมู ิรางกาย เปน ประเมินวา เกิดไขจากแผลติดเชอ้ื หรือไม ค. ผลการตรวจทางหอ งปฏบิ ัติการ บันทกึ ผลการตรวจทางหอ งปฏบิ ตั ิการใหครบถวน อาจบันทกึ การแปลผล การตรวจทางหอ งปฏบิ ัตกิ ารนนั้ วาผลเปนอยา งไร เชน ผูป วยเบาหวาน ตรวจระดบั fasting plasma glucose ได 135 มก./ดล. HbA1c 8.0% แปลผลวาระดับการควบคมุ ยงั ไมได ตามเปา หมายคือ FPG < 130 มก./ดล. HbA1c < 7.0% เปน ตน 126
ง. การวินจิ ฉยั บันทกึ การวินจิ ฉยั โดยไมใชคํายอ เชน Hypertension ไมเ ขียน HT อาจบันทกึ ให สมบรู ณ โดยบันทกึ ชนดิ ความรนุ แรง และโรคแทรกซอ น เชน บันทกึ วา เปน Diabetes Mellitus type 2 กลมุ เสี่ยงตํา่ และมโี รคแทรกซอนเปน Diabetic ulcer left foot จ. ผลการรกั ษา ใหระบวุ า อาการดีขน้ึ อาการเทาเดิม หรือ อาการแยลง หากเปน โรคเรอื้ รังใหร ะบุ วา ควบคุมได ไมมอี าการ หรอื ยงั ควบคมุ ไมได ฉ. การรกั ษา บนั ทึกการรกั ษา เชน ชอื่ ยา พรอมขนาดยา และวิธรี ับประทาน รวมทัง้ การรักษาวิธีอื่น เชน การแนะนํา การควบคมุ อาหาร ออกกําลงั กาย อาจบนั ทกึ รายละเอียดวามกี ารเปลี่ยนแปลง การรกั ษาอยางไร เชน เพม่ิ หรือลดขนาดยา เพิม่ หรอื ลดชนดิ ของยาใด พรอ มคําแนะนาํ และ อธิบายเหตผุ ล ช. การนัดตรวจติดตามผล (ถา ม)ี ซ. ชอื่ ผูใหบริการ ตอ งมีชือ่ นามสกลุ บันทกึ ไวใ หอานออกไดชัดเจน ไมเ ปน ลายเซ็นเพียงอยา งเดยี ว 7A3.53 การบนั ทกึ ขอ มลู ผูมารับบริการสงเสรมิ สขุ ภาพและปองกนั โรค การบันทึกขอ มลู ผมู ารบั บริการสงเสรมิ สุขภาพ และปองกนั โรค ไดแก กลุมผูที่ไมไดมีอาการเจ็บปวย แตม ารับบริการสงเสริมสุขภาพหรือปอ งกันโรค เชน มารับยาคุมกําเนิด มารับวัคซีนปองกันโรค มาตรวจคัด กรองโรคแลวไมพบวาเปนโรค (ในกรณีท่ีผูปวยไมมีอาการ แตผลการตรวจคัดกรองพบความผิดปกติ ใหใช หลักการบันทึกขอมูลผปู วยกรณที ม่ี าตรวจรกั ษาครง้ั แรก) การบนั ทกึ ขอมลู ผมู ารบั บรกิ ารสงเสรมิ สุขภาพและปอ งกันโรค ควรประกอบดว ยขอ มลู ตอไปน้ี ก. เหตผุ ลการมา ใหร ะบปุ ระเภทของบรกิ ารและรายละเอียด เชน มารับวัคซีนปอ งกนั โรคพษิ สุนขั บา เขม็ ที่ 4 มารบั ยาคุมกาํ เนิดคร้งั แรก มาฝากครรภค รง้ั ที่ 5 อายุครรภ 36 สปั ดาห เปนตน ข. การตรวจรางกายท่ีจาํ เปน บันทึกตรงตามลกั ษณะของบริการ เชน เด็กมารบั วัคซีนคอตบี ไอกรน บาดทะยกั เมือ่ อายุ 6 เดอื น ตอ งบนั ทกึ การตรวจรา งกาย และการตรวจพฒั นาการของเดก็ มา ฝากครรภ ตอ งบันทกึ รายละเอยี ดการฝากครรภ ตามมาตรฐานการบนั ทึกขอมลู ผมู าฝากครรภ ค. ผลการตรวจทางหอ งปฏิบัตกิ าร บนั ทึกผลการตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารใหครบถว น อาจบนั ทกึ การแปลผล การตรวจทางหองปฏิบัตกิ ารนน้ั วาผลเปนอยา งไร ง. การรกั ษา บันทึกการใหย า (ถา ม)ี มีรายละเอียดชอ่ื ยา พรอ มขนาดยา และวธิ รี ับประทาน รวมทั้ง การแนะนํา การดแู ล การควบคุมอาหาร ออกกาํ ลงั กาย และกาํ หนดนัดครง้ั ตอ ไป จ. ชื่อผูใ หบริการ ตองมีช่อื นามสกลุ บนั ทกึ ไวใหอ า นออกไดช ัดเจน ไมเ ปน ลายเซ็นเพยี งอยางเดียว 127
7B. วิธบี นั ทกึ ขอมูล แกไ ขขอมูล จัดระเบียบเอกสารและจดั เกบ็ แนวทางมาตรฐานการบันทึกขอมูล แกไขขอมูล จัดระเบียบเอกสาร และจัดเก็บควรมีแนวทาง มาตรฐานดังตอไปนี้ 1. การลงทะเบยี นผูป ว ยรายใหมใหก ระทําทันทีเมื่อผูปว ยมารบั บริการครั้งแรก โดยบันทึกขอมูลให ครบทุกหัวขอ ตามที่กําหนด หากขอมูลสําคัญขาดหายไป เชนเลขประจําตัวประชาชน ตองรอง ขอใหผูปว ยนาํ บตั รประชาชนมาแสดงภายในเวลาเร็วทส่ี ุดหลังจากใหบริการคร้ังแรก 2. ถา มีแบบฟอรมลงทะเบียนท่ีผูปวยเปนผูกรอกขอมูลเบ้ืองตนใหตรวจสอบรายละเอียดขอมูลที่ ผปู ว ยกรอกกบั ตวั ผปู ว ย หากพบความผดิ พลาดตอ งแกไ ขใหถ ูกตอ งครบถวน และเก็บแบบฟอรม ไวเปน หลกั ฐานเสมอ 3. การแกไ ขรายละเอยี ดการลงทะเบียนผูปวยสามารถทําได โดยใหผูปวยกรอกแบบฟอรมเพ่ือขอ แกไข พรอมอธิบายเหตุผลที่ขอแกไขรวมกับเอกสารประกอบ การแกไขรายละเอียดการ ลงทะเบยี นผูปว ยใดๆตอ งใหผ อู ํานวยการหรือผทู ่ีผอู าํ นวยการมอบหมายเปน ผอู นุมตั เิ สมอ 4. ผูใหบริการผูปวยทุกรายตองบันทึกรายละเอียดกิจกรรมสวนที่ตนเองดําเนินการลงไปในเวช ระเบียนผูปวยนอกทุกกิจกรรม การบันทึกใหกระทําทันทีระหวางการรักษาหรือหลังการส้ินสุด การรักษาไมน าน ไมค วรรอไวบันทกึ ในวนั ตอไป และใหบ ันทกึ วนั เวลาทีท่ ํากจิ กรรมดวยเสมอ 5. การบนั ทึกขอ ความลงในเอกสาร ใหใชปากกาหมึกสีดําหรือสีนํ้าเงิน เขียนดวยความบรรจง ให อานไดงาย ชัดเจน หากเขียนผิดหามใชปากการะบายสีทึบทับขอความจนไมเห็นขอความเดิม หา มใชน ้ํายาลบคาํ ผิดในเวชระเบยี นผปู ว ย การแกไขทําไดโดยการลากเสนทับขอความเดิมเพียง เสนเดียว แลวเขียนขอความท่ีแกไขไวใกลกับขอความเดิม พรอมลงนามกํากับ และวันเวลาที่ แกไ ข 6. เวชระเบียนผูปวยนอก ใหจัดเรียงตามลําดบั ดังน้ี a. รายละเอียดผปู ว ย/ประชาชนผมู ารับบรกิ าร b. รายการปญหาทางสขุ ภาพ รวมถงึ การแพยา/อาหาร c. รายการยาทีผ่ ปู วยใชใ นปจ จบุ ัน และยาทีเ่ คยใชใ นอดีต d. รายการวคั ซีนปองกันโรคทผ่ี ปู วยเคยไดรับ e. รายละเอียดการมารับบริการในแตละครงั้ โดยครั้งสุดทา ยจะอยหู ลงั สดุ 128
7. การจดั เก็บเวชระเบียนผปู ว ยนอกในตเู อกสารใหจ ดั เกบ็ โดยเรยี งลาํ ดบั ตามเลขทายของหมายเลข ผูปวย หรือเรียงลําดับตามบานเลขที่ หรือเรียงลําดับตามแนวทางมาตรฐานอื่นๆที่กําหนดโดย กระทรวงสาธารณสุข อาจใชแถบสชี วยในการจัดหมวดหมูเวชระเบียน 8. เวชระเบยี นผปู ว ยนอกของผูท่อี ยูใ นพื้นที่รบั ผดิ ชอบของรพ.สต. ใหจัดเก็บไวตลอดไป หากผูปวย เสียชวี ติ ใหแยกเวชระเบยี นของผูเ สียชวี ติ ออกมาเก็บไวในสถานที่เก็บเวชระเบียนผูเสียชีวิต โดย หากเปนการเสียชีวิตผิดธรรมชาติใหเก็บรักษาไวไมตํ่ากวา 20 ป หากมิใชการเสียชีวิตผิด ธรรมชาตใิ หเ กบ็ รักษาไวไมตํ่ากวา 10 ป แลวอาจพิจารณาทําลายเวชระเบียน ถามีปญหาพ้ืนท่ี จัดเกบ็ ไมเพยี งพอ 9. หากตองการยกเลิกการเก็บเวชระเบียนผูปวยนอกในรูปแบบกระดาษ แลวเปลี่ยนมาใชระบบ ฐานขอมูลเพื่อจัดเก็บและเรียกกลับมาใชเมื่อตองการผานระบบคอมพิวเตอร ตองตรวจสอบ คณุ สมบัติของโปรแกรมวา มีคณุ สมบตั ิดงั นี้ กลา วคอื a. โปรแกรมสามารถบันทึกขอมูลสําคัญทั้งหมดของผูปวยตามท่ีสํานักนโยบายและ ยทุ ธศาสตรกําหนด เชน ตองบันทึกชอ่ื โรคของผปู วยไวไ ด ไมใช ICD แทนชอื่ โรค ฯลฯ b. โปรแกรมสามารถพิมพร ายงานออกมาไดต ามรูปแบบรายงานมาตรฐานท่ีสํานกั นโยบาย และยทุ ธศาสตรกาํ หนด เชน ตอ งพิมพรายการปญหาของผูป วยออกมาได ฯลฯ c. โปรแกรมมีมาตรการปองกันการเปล่ยี นแปลงแกไขขอมูลผูปวยอยางเครงครัด มีระบบ เขารหัสขอมูล มีระบบ Digital Signature และระบบรักษาความปลอดภัยอยาง เครงครัด ตามมาตรฐานท่ีสาํ นักนโยบายและยุทธศาสตรก ําหนด 10. หากรพ.สต.ใดใชโปรแกรมท่ียังไมไดมาตรฐานตามขอ 9 หามยกเลิกเอกสารเวชระเบียนผูปวย นอกท่ีเปนกระดาษ เพราะจะทําใหขอมูลสําคัญของผูปวยหายไป หรือละเมิดความลับ ความ ปลอดภยั ของขอ มูลผปู วย ขอ มูลสําคญั ใดทีย่ ังไมส ามารถบนั ทึกเขาโปรแกรมใดตอ งเขยี นบนั ทึกไว ในกระดาษเวชระเบียนของผูป วยแตละรายแลวจดั เกบ็ ไวตามระบบเวชระเบยี นกระดาษ 11. ตองจดั ใหม ีระบบสํารองขอ มูลทงั้ เวชระเบยี นกระดาษและขอมูลที่อยูในระบบฐานขอมูล โดยใช ระบบ Scan หรอื ถา ยภาพเอกสารเวชระเบยี นกระดาษ และใชร ะบบสาํ รองขอมูลจากฐานขอมูล ของ รพ.สต. โดยตอ งกําหนดใหม แี นวทางปฏบิ ัติการสาํ รองขอมูล กําหนดผูรับผิดชอบ และรอบ ระยะเวลาการสาํ รองขอมลู อยางนอยสัปดาหล ะ 1 ครงั้ 129
7C. การจดั การควบคุมคณุ ภาพขอ มลู ขอมลู คณุ ภาพดมี ีลกั ษณะท่ีสําคัญ 4 ลกั ษณะดังน้ี 1. ครบถว น มีขอมูลการใหบ รกิ ารทกุ ราย มีขอมลู ทุกดานทจี่ ําเปน 2. ถกู ตอ ง ไมมขี อผดิ พลาด เชือ่ ถือได 3. ละเอียด ไมก าํ กวม ชดั เจน แยกแยะประเภทตา งๆได 4. ทันสมยั เปนขอมลู ปจ จบุ ัน บนั ทกึ หรือสง ภายในเวลาทกี่ ําหนด การจัดการใหขอมลู มคี ุณภาพดี เปน หนาทข่ี องทมี งานท่ีกํากบั ดแู ลระบบขอ มลู โดยตองมกี ระบวนการ ตรวจสอบคุณภาพขอมูลอยางสมํ่าเสมอเปนระยะ ปละ 2-4 ครั้ง โดยถาตรวจพบวา ขอมูลมีปญหาดาน คณุ ภาพ ก็ตอ งมีกิจกรรมแกไ ขและพัฒนาคุณภาพใหดีข้นึ อยา งตอเนือ่ ง และหากขอมลู มคี ุณภาพดีแลว ก็ตอ งมี ระบบควบคมุ คณุ ภาพใหมีคุณภาพดอี ยางตอ เน่อื ง การตรวจสอบคุณภาพขอ มลู ผปู ว ยนอกระดบั สถานพยาบาล ประกอบดว ยข้ันตอนการดําเนินการดงั ตอ ไปนี้ 1. การสุมตวั อยา งขอมลู ผูปว ยนอก 2. การตรวจสอบคณุ ภาพขอ มูลการใหบ ริการ 3. การตรวจสอบคุณภาพการใหรหสั ICD 4. การจดั ทํารายงานผลการตรวจสอบ การสรปุ ปญ หา และแนวทางแกไขปญ หา 7C.1 การสุมตัวอยางขอ มูลผูปว ยนอก การสุมตัวอยางขอมูลผปู ว ยนอก มีรายละเอยี ดการดาํ เนินการดงั น้ี หวั ขอ รายละเอียด จาํ นวนขอ มลู สุมตัวอยางใหไ ด 5 % ของจํานวนผูปวยที่มารับบริการในชวงเวลาที่ แหลง ขอ มูลทีใ่ ชส ุมตัวอยาง กําหนด ถาผูปวยมีปริมาณมาก อาจลดสัดสวนเหลือ 3 % แตอยาง นอ ยไมควรต่าํ กวา 40 รายการตอ การตรวจสอบแตละคร้งั วธิ ีการสมุ ตัวอยา ง สมุ ตัวอยางจากขอมูลผูปวยที่มาตรวจแบบผูปวยนอก ที่บันทึกไวใน ระบบฐานขอมูลของสถานพยาบาล เชน สุมตัวอยางจากแฟม DIAGNOSIS_OPD ในระบบ 43 แฟม โดยกาํ หนดสถานะในฟลด DIAGTYPE เปน 1 เพอ่ื เลอื กโรคหลกั เปนตัวโยง PID สุมตวั อยางโดยวธิ กี าร Stratified Random Sampling 130
หวั ขอ รายละเอยี ด รายละเอียดการสุมตวั อยา ง สุมตวั อยา งใหไ ดข อมูลผูปว ยทม่ี สี ัดสวนรหัสโรคหลัก ดงั ตอไปน้ี รหสั A,B สัดสว น รอยละ 8 การเลอื ก HN รหสั D50-D89 สัดสว น รอ ยละ 4 รหัส E สดั สวน รอยละ 4 รหัส I สดั สวน รอ ยละ 4 รหสั J สดั สว น รอ ยละ 4 รหสั K สัดสว น รอยละ 4 รหสั M สัดสว น รอ ยละ 8 รหัส O สัดสวน รอยละ 8 รหัส R สัดสวน รอ ยละ 8 รหัส S สัดสว น รอ ยละ 8 รหัส Z สดั สว น รอยละ 20 รหสั อืน่ ๆ สัดสว น รอ ยละ 20 เมื่อสุมตัวอยางแลวจะไดรายการรหัสโรคหลักที่มี PID อยูคู ใหนํา PID ไปเปรียบเทียบกับ HN ในแฟมท่ีเก็บขอมูลผูปวย PERSON เพื่อนํารายงาน HN ไปคน เอกสารผูปวยเพ่ือนําออกมาตรวจสอบ ตอไป 131
7C.2 การตรวจสอบคณุ ภาพขอมลู การใหบริการ การตรวจสอบคุณภาพขอมูลการใหบริการ มรี ายละเอียดการดําเนินการดงั น้ี หลักเกณฑก ารตรวจสอบและประเมนิ คะแนนคุณภาพขอมูลการใหบ รกิ ารผปู ว ยนอก หวั ขอ การประเมนิ คะแนนคณุ ภาพ วนั เวลาทม่ี ารบั บริการ คะแนน 0 : ไมบ นั ทึกวันหรอื เวลาทม่ี ารับบรกิ าร คะแนน 1 : บันทกึ วันและเวลาทมี่ ารบั บรกิ ารครบถว น อาการสาํ คญั CC คะแนน 0 : ไมบ ันทกึ อาการสําคญั หรอื เหตุผลที่มา (กรณีมารักษาความเจ็บปวย) คะแนน 1 : บันทึกอาการสําคัญแตไมระบุระยะเวลา หรือบันทึก หรือ เหตผุ ลท่ีมาแตไมมีความหมายใชแยกรายละเอียดไมได เชน บันทกึ วา เหตุผลท่ีมา (กรณีมารับบริการ “มาตามนัด” หรอื “มารับยาเดมิ ” ฯลฯ สงเสรมิ สุขภาพ) คะแนน 2 : บันทึกอาการสําคัญและระบุระยะเวลา หรือ บันทึก เหตุผลท่ีมาท่ีใชแยกรายละเอียดได เชน บันทึกวา มารับวัคซีน OPV, DPT ครั้งท่ี 2 ประวตั กิ ารเจ็บปวย คะแนน 0 : ไมบนั ทกึ ประวัตกิ ารเจ็บปว ย คะแนน 1 : บันทึกประวตั กิ ารเจบ็ ปว ยเฉพาะประวตั ปิ จจุบนั คะแนน 2 : บันทึกประวัติการเจ็บปวยท้ังประวัติปจจุบัน และโรค ประจาํ ตัวหรอื ประวัติอดตี คะแนน 3 : บันทึกประวัติการเจ็บปวยทั้งประวัติปจจุบัน และโรค ประจาํ ตวั หรอื ประวตั ิอดีต และประวตั ิสว นตัว ปจ จัยเสย่ี งตางๆ ผลการตรวจรางกาย และผล คะแนน 0 : ไมบ นั ทกึ ผลการตรวจรางกาย การตรวจชนั สตู ร คะแนน 1 : บันทกึ ผลการตรวจรางกายเพยี งระบบเดยี ว คะแนน 2 : บนั ทึกผลการตรวจรา งกายสองระบบ คะแนน 3 : บันทึกผลการตรวจรางกายมากกวาสองระบบแตไม บนั ทกึ ผลการตรวจชันสตู ร หรอื บันทกึ สองระบบแตไ มม ี lab คะแนน 4 : บันทึกผลการตรวจรางกายมากกวาสองระบบและมี บันทึกผลการตรวจชนั สูตร 132
หลกั เกณฑก ารตรวจสอบและประเมนิ คะแนนคุณภาพขอมลู การใหบริการผูป ว ยนอก (ตอ) หัวขอ การประเมินคะแนนคุณภาพ คําวนิ จิ ฉยั โรค ไมประเมนิ NA : กรณีผปู ว ยไมมีโรคใดๆอยเู ลย คะแนน 0 : ไมบันทึกคําวินิจฉัยโรค หรือ ใชรหัส ICD แทนคํา การรักษา วนิ ิจฉยั โรค หรือใชค ําบรรยายรหัส ICD แทนคาํ วนิ ิจฉัยโรค คะแนน 1 : บันทึกคําวินิจฉัยโรคไมครบตามจํานวนโรคทั้งหมดที่ ผูป ว ยเปน อยูใ นปจ จุบนั คะแนน 2 : บันทกึ คาํ วนิ จิ ฉัยโรคครบตามจํานวนโรคท้ังหมดที่ผูปวย เปน อยใู นปจ จุบนั แตมบี างคํากํากวม ขาดรายละเอียดชนิดโรคหรือ ตาํ แหนงโรค คะแนน 3 : บันทกึ คําวินจิ ฉัยโรคครบตามจํานวนโรคท้ังหมดท่ีผูปวย เปน อยใู นปจ จบุ นั รายละเอยี ดชนดิ โรคและตาํ แหนง โรคทั้งหมด แตมี บางคําวินิจฉัยโรคเปน คํายอ หรอื อานไมออก คะแนน 4 : บันทกึ คําวนิ ิจฉัยโรคครบตามจํานวนโรคท้ังหมดที่ผูปวย เปนอยูในปจจุบนั รายละเอยี ดชนิดโรคและตาํ แหนง โรคท้ังหมด ไมมี คาํ วินจิ ฉัยโรคทีเ่ ปน คํายอ ลายมืออานไดโดยชัดเจน ไมป ระเมิน NA : กรณีไมมกี ารรักษาใดๆ คะแนน 0 : มีการรกั ษา แตไมม ีการบนั ทึก หรือบนั ทึกขอความท่ีไมมี รายละเอยี ดเชน RM , same, ใหย าเดิม ฯลฯ คะแนน 1 : บันทึกการรักษา แตขาดรายละเอียดสวนใหญ เชน บันทึกช่อื ยา แตไมระบวุ ธิ กี ารใชย าและปรมิ าณยาท้ังหมด บันทึกการ ทําหัตถการแตไ มมรี ายละเอยี ดการทําหตั ถการ คะแนน 2 : บันทึกการรักษา แตขาดรายละเอียดปลีกยอย เชน บันทึกชื่อยา วิธีการใชยาและปริมาณยาทั้งหมดแตอาจไมบอก รูปแบบยาวา เปน ยาเมด็ บนั ทกึ การทําหัตถการมีรายละเอียดการทํา หตั ถการพอสมควร คะแนน 3 : บนั ทกึ การรกั ษา โดยมรี ายละเอียดท้ังหมด บันทึกชื่อยา วธิ กี ารใชยาและปริมาณยาทั้งหมด ขนาด รูปแบบยา บันทึกการทํา หัตถการโดยมีรายละเอียดทุกดาน คือ ข้ันตอนการใหยาชา การทํา ผา ตัด รวมถึงวัสดเุ ยบ็ แผล 133
7C.3 การตรวจสอบคณุ ภาพขอมลู การใหร หัส ICD กรณผี ปู วยนอก การตรวจสอบคุณภาพขอมูลการใหรหัส ICD มีรายละเอียดการดาํ เนินการดังน้ี หัวขอ รายละเอียด การใหรหสั ICD ผูตรวจสอบดูคาํ วนิ จิ ฉยั โรคทง้ั หมดทอี่ ยใู นบันทกึ ผปู วย แลวดําเนินการให โดยผตู รวจสอบ รหสั โดย 1. คนหาคําหลักตามชื่อโรคจากดรรชนี ICD-10-TM for PCU vol. 1 หรอื กรอบแนวทางมาตรฐาน vol. 3 2. ตรวจสอบความเหมาะสมของรหสั จาก Tabular list 3. เติมเลขรหสั ใหค รบถว นทุกหลกั 4. จดั เรียงลําดับรหสั เปน รหสั โรคหลกั type =1, รหัสโรคอ่ืนๆ type = 4 และ รหสั สาเหตุภายนอก type = 5 5. ใหร หัสหตั ถการตามหนังสือ ICD-10-TM for PCU vol.2 การตรวจสอบคุณภาพ ผตู รวจสอบเปรียบเทียบรหสั โรคหลักของตนเองกับรหสั โรคหลักของขอมูล ของ รหัสโรคหลัก ที่ตรวจสอบ แลวรายงานผลการตรวจสอบเปนสัญลักษณดังน้ี(เลือกผล เพยี งอยา งเดียวสําหรบั ความผิดพลาดแตละรหัส) สัญลักษณ Y : ใหร หสั โรคหลักถูกตอ ง สัญลกั ษณ A : ใหรหสั โรคหลกั ผดิ พลาด สัญลกั ษณ B : มรี หัสโรคหลักทัง้ ๆที่ไมมคี าํ วินจิ ฉยั โรคในบนั ทึก สัญลักษณ C : รหสั โรคหลักเปนรหัสดอ ยคุณภาพ โดยมีสาเหตุมาจากคํา วินิจฉยั โรคที่ดอ ยคณุ ภาพ เชน ไมบอกชนดิ หรอื ตําแหนง โรค สัญลักษณ D : รหัสโรคหลกั มตี ัวเลขไมครบทกุ ตาํ แหนง สัญลกั ษณ E : ใชส าเหตุภายนอก (V,W,X,Y) เปน รหสั โรคหลกั สัญลักษณ F : รหัสโรคหลกั มตี วั เลขมากเกินไป การตรวจสอบคุณภาพ ผตู รวจสอบเปรียบเทียบรหสั โรคทีไ่ มใชโ รคหลักของตนเองกับรหัสท่ีไมใช ของ รหัสโรคอื่นๆและ โรคหลักของขอมูลทต่ี รวจสอบ แลวรายงานผลการตรวจสอบทุกรหัสเปน รหัสสาเหตภุ ายนอก สญั ลักษณด ังนี้ (เลอื กผลเพยี งอยา งเดียวสาํ หรบั ความผิดพลาดแตล ะรหัส) สญั ลักษณ Y : ใหร หัสถกู ตอ ง สัญลกั ษณ A : ใหร หสั โรคผดิ พลาด สัญลักษณ B : มรี หัสโรคท้ังๆทไ่ี มมีคําวินิจฉยั โรคในบันทกึ สัญลักษณ C : รหัสเปนรหัสดอยคุณภาพ โดยมีสาเหตุมาจากคํา วินิจฉัยโรคทดี่ อ ยคณุ ภาพ เชน ไมบ อกชนดิ หรอื ตําแหนง โรค 134
สญั ลกั ษณ D : รหสั มตี ัวเลขไมค รบทกุ ตําแหนง สัญลักษณ F : รหัสมตี ัวเลขมากเกินไป สัญลกั ษณ G : ควรมรี หสั น้ี แตร หสั ไมป รากฏในขอมลู ท่ีตรวจสอบ สญั ลักษณ H : ไมค วรมีรหสั น้ี แตมรี หัสในขอมลู ท่ีตรวจสอบ การตรวจสอบคุณภาพขอ มลู การใหร หสั ICD กรณีผปู วยนอก (ตอ ) หัวขอ รายละเอยี ด การตรวจสอบคุณภาพ ผูตรวจสอบเปรียบเทียบรหัสหัตถการของตนเองกับรหัสหัตถการของ รหสั หตั ถการ ขอมูลที่ตรวจสอบ แลวรายงานผลการตรวจสอบทุกรหัสเปนสัญลักษณ ดังน้ี (เลือกผลเพียงอยา งเดียวสาํ หรับความผดิ พลาดแตล ะรหัส) สญั ลักษณ Y : ใหร หสั ถกู ตอ ง สญั ลักษณ A : ใหร หัสหัตถการผดิ พลาด สญั ลกั ษณ B : มีรหสั หตั ถการทงั้ ๆที่ไมมีการทาํ หัตถการในบันทึก สญั ลกั ษณ D : รหสั มีตวั เลขไมค รบทุกตาํ แหนง สัญลักษณ F : รหสั มตี วั เลขมากเกนิ ไป สัญลักษณ G : ควรมรี หสั นี้ แตรหสั ไมป รากฏในขอ มูลที่ตรวจสอบ สญั ลกั ษณ H : ไมควรมรี หัสนี้ แตม ีรหัสในขอ มลู ท่ีตรวจสอบ การบนั ทกึ ผลการตรวจ ใหผตู รวจสอบบนั ทึกผลการตรวจสอบคณุ ภาพในตารางบันทึกผล ดงั ตัวอยางในหนาถดั ไป การกรอกขอมลู ในตารางบนั ทกึ ผล ตารางผลการตรวจสอบคุณภาพการบันทึกขอ มลู - กรอกขอ มลู โดยกาํ หนดให ขอมลู ผูปวย 1 ราย อยใู น 1 บรรทัด - คะแนนเตม็ คอื การรวมคะแนนสงู สดุ ทเี่ ปนไปได ถารายการใดผลการประเมินเปน na ไมต องนาํ คะแนนเตม็ ของรายการนน้ั มารวม 135
ตารางผลการตรวจสอบคณุ ภาพการใหร หสั - กรอกขอมลู โดยกําหนดให ขอ มลู ผูปวย 1 ราย อาจอยใู น 1 หรือ หลาย บรรทดั - โดยหากขอ มลู ผปู ว ยรายใด มรี หสั ICD มากกวา 1 รหสั ใหก รอกขอ มลู โดยกาํ หนดใหร หสั ICD ทม่ี ีอยูใ นขอมลู 1 รหสั อยใู น 1 บรรทดั เทา น้ัน - หามกรอกรหสั ICD ทต่ี อ งการตรวจสอบ มากกวา 1 รหัสในแตล ะบรรทัด - การกรอกขอ มลู ประเภทรหัสหตั ถการ ใหก าํ หนดประเภทรหสั เปน P 136
Form A1 ตารางบันทึกผลการตรวจสอบคุณภาพการบนั ทกึ ขอมูลผูปว ยนอก รหสั สถานพยาบาล _______ ชอื่ ______________________วนั ที่_____________ตรวจโดย___________ HN วนั ที่ เวลา วนั /เวลา CC ประวตั ิ ตรวจรา งกาย คําวนิ ิจฉยั การรักษา คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด หมายเหตุ 12345678 20/01/2015 08:30 1 21 1 2 2 17 9 คาํ วนิ ิจฉัย Myalgia ไมบ อกตําแหนง 15789678 20/01/2015 08:50 1 32 2 3 3 17 14 - สรุปผลการตรวจ คะแนนท่ีไดทงั้ หมด_______ คะแนนเตม็ __________สดั สวน ________ % 137
ตารางบนั ทึกผลการตรวจสอบคุณภาพการใหรหัส ICD ผูปว ยนอก รหสั สถานพยาบาล _______ ชอ่ื ____________________วนั ท่ี_____________ตรวจโดย___________ HN วันท่ี เวลา การวินจิ ฉัย หรือ เหตุผลทม่ี ารบั บรกิ าร ลําดบั ประเภท ICD AuditICD ผลการตรวจ หมายเหตุ Myalgia 12345678 20/01/2015 08:30 1 1 M79.1 M79.19 D วินิจฉัยโรคไมบ อกตําแหนง DM E14.9 87654321 20/01/2015 09:30 2 4 E11.9 J06.9 A ใหรหสั ผิด 87358321 20/01/2015 09:45 URI 81448321 20/01/2015 09:55 1 1 J06.9 xx C นาจะบอกไดว า เปน โรคคออักเสบ -- Z25.1 12544678 20/01/2015 10:30 1 1 B83.9 B มีรหสั โรคโดยทไ่ี มม คี าํ วนิ ิจฉยั มาฉดี วัคซนี ปอ งกันไขหวดั ใหญ I10 12545678 20/01/2015 10:45 1 1 Z25.1 A09.9 Y Hypertension 24 - - G ใหร หสั ไมครบ Diarrhea S81.8 1 1 A09.99 W54.99 F รหัสมีตัวเลขมากเกนิ ไป -- 2 4 Z01.3 900-80-70 H ใหร หสั เกนิ มา โดนหมากัดที่นองขาขวา 1 1 W54 E ใชส าเหตุภายนอกเปน รหัสโรคหลกั -- 25 - G ใหรหัสไมครบ ลา งแผลท่ีนองขวา 3P - G ใหร หัสไมครบ สรปุ ผลการตรวจ Error A ____ B _____ C _____ D _____ E_____F_____G_____H____ จํานวนรหัสทผ่ี ิด______ รหัสทง้ั หมด________ผดิ พลาด______ % 138
7C.4 การจัดทาํ รายงานผลการตรวจสอบ การสรปุ ปญหา และแนวทางการแกปญ หา ผูตรวจสอบควรจัดทํารายงานผลการตรวจสอบ การสรุปปญ หา และ แนวทางการแกป ญ หา ดงั ตัวอยางตอ ไปนี้ รายงานผลการตรวจสอบคณุ ภาพขอ มูล และ คณุ ภาพการใหรหสั สถานพยาบาล ………… วันที่ตรวจสอบ …10 เมษายน 2558…. ชว งระยะเวลาของขอมูลท่ตี รวจสอบ ม.ค.- มี.ค. 2558 สมุ ตัวอยา งขอ มลู ผปู วย จํานวน 40 คน มีรหัส ICD ทงั้ หมด 68 รหัส ผลการตรวจสอบการบันทกึ ขอ มูล คะแนนเฉลี่ยคุณภาพขอ มูล คุณภาพเฉลี่ยโดยรวม 65.27 % คุณภาพการบันทึกวนั เวลา 75 % คุณภาพการบนั ทึกอาการสาํ คญั 92.25 % คุณภาพการบันทกึ ประวัติ 72.35 % คุณภาพการบนั ทกึ ตรวจรางกาย 37.5 % คณุ ภาพการบันทกึ คาํ วนิ ิจฉยั โรค 52.5 % คณุ ภาพการบนั ทึกการรักษา 85.17 % ผลการตรวจสอบการใหร หสั ICD ใหรหสั ถกู ตอ ง 47.5 % ใหร หัสผดิ 52.5 % 139
ลักษณะความผิดพลาด A ใหร หัสผดิ พลาด 12.5 % B มีรหัสโรคหลักท้งั ๆท่ไี มมคี าํ วนจิ ฉัยโรคในบันทึก 20 % C รหสั ดอยคณุ ภาพ กํากวม 2.0 % D ใหรหัสไมค รบทกุ ตําแหนง 4.5 % E ใชรหัสสาเหตุการบาดเจบ็ เปน รหสั โรคหลกั 5.5 % F รหสั มตี ัวเลขมากเกนิ ไป 0% G ใหรหัสไมครบ 3.5 % H ใหร หสั มากเกนิ 4.5 % สรุปปญหา ปญหาทีพ่ บบอยคือ การไมบนั ทกึ คําวินิจฉยั โรคแตใสรหัสไปเลย การใหร หัสผดิ พลาด และ การใชรหัส สาเหตภุ ายนอกเปน รหสั โรคหลกั สาเหตุ สาเหตุหลัก มาจากการไมบันทกึ คาํ วินจิ ฉยั เพราะบางคร้งั ผูตรวจรักษาไมวินจิ ฉัยโรค วิธกี ารใหรหัสผดิ พลาด ใชโ ปรแกรมในการคน หารหสั ICD ไมใชคมู ือมาตรฐาน การขาดความรแู ละความชํานาญในการใหร หสั การแกปญ หา 1. ควรวางระบบควบคมุ ใหผ ตู รวจรกั ษาโรคทุกคน ตอ งบันทกึ คาํ วนิ ิจฉยั โรค 2. กําหนดมาตรฐาน หามคนหารหัส ICD จากโปรแกรม 3. อบรมเพิม่ ความรคู วามชํานาญดา นการใหร หสั ICD 140
7D. การสงออกขอมูล การสงออกขอมูลจาก รพ.สต. ไปสูภายนอก คือ การสงขอมูลใหกับหนวยงานภายนอกซ่ึงอาจเปน หนวยงานท่ีเปนตนสังกัดของ รพ.สต. เชน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข หรือ หนว ยงานอน่ื ๆ เชน สาํ นกั ทะเบยี นราษฎร โรงพยาบาลเอกชน บริษัทประกันชีวิต โดยการสงออกมีแนวทางมาตรฐาน แบงออกเปน 2 แนวทาง คือ แนวทางมาตรฐานการสงออกขอมูลเปน เอกสาร และ แนวทางมาตรฐานการสงออกขอมูลเปน แฟมขอ มูล 43 แฟม 7D.1 แนวทางมาตรฐานการสง ออกขอ มลู เปน เอกสาร การสง ออกขอมูลจากเวชระเบยี นผปู วยนอกไปยังหนวยงานภายนอก ควรมแี นวทางมาตรฐานดงั น้ี 1. การสง ออกขอ มูลไปยงั หนวยงานภายนอกท่ไี มใ ชตน สงั กดั ของรพ.สต. ตอ งไดร บั อนุมัตจิ าก ผอู าํ นวยการเทาน้นั 2. ผูขอขอ มลู ตองสง คาํ รอ งพรอ มอธบิ ายเหตผุ ลท่ีตองการขอ มลู เปนลายลักษณอักษรมายัง ผอู าํ นวยการกอ นการสงออกขอมลู โดยผอู ํานวยการสามารถปฏิเสธมใิ หข อ มูลไดหากพจิ ารณา แลว วาการใหขอมลู จะเปนการปฏิบัติงานทีผ่ ิดระเบยี บหรอื ละเมิดความเปน สว นตัวของผปู ว ย 3. ไมค วรถายเอกสารเวชระเบยี นผูปว ยนอกสง ใหก บั หนวยงานอนื่ ภายนอก เพราะจะทําใหผูขอ ขอมลู ไดข อ มลู มากเกนิ ความตองการ และอาจละเมิดความเปน สว นตวั หรอื เปดเผยความลับผปู ว ย ได ควรจดั ทาํ เปนรายงานแยกทตี่ อบคําถามเฉพาะผทู รี่ อ งขอขอมลู ตองการเทานนั้ 4. ขอ มลู จากเวชระเบียนผปู วยนอก ใหถ ือเปน เอกสารลบั ตองดาํ เนนิ การตามแนวทางจัดการ เอกสารลบั เชน ตอ งใสซองปด ผนกึ ใหเ รียบรอ ย ไมใหผ รู บั ถอื กระดาษทม่ี ีขอ มลู ไปโดยไมใสซอง ปด ผนึก 5. การสง ออกขอ มูลตอ งบันทึกลงในทะเบียนเอกสารสงออกทกุ ครั้ง โดยบันทกึ วันท่ี เวลา ผรู บั ให ชดั เจนเพอ่ื เปนหลกั ฐานในการตรวจสอบตอไป 141
7D.2 แนวทางมาตรฐานการสง ออกขอมูลเปน แฟม ขอ มลู 43 แฟม การสง ออกขอ มูลเปน แฟม ขอ มลู 43 แฟมไปยงั หนว ยงานภายนอก ควรมแี นวทางมาตรฐานดังนี้ 1. กอนสงออกขอมลู ผูทร่ี บั ผิดชอบควรตรวจสอบความครบถวน ถกู ตอง มรี ายละเอยี ดท่ีดี ของ ขอมูลทง้ั หมดเพือ่ ใหแนใ จวา สามารถสง ขอมลู ไดครบถว น มคี ุณภาพ 2. สงขอมลู ภายในเวลาทกี่ ําหนด เชน ภายในวนั ท่ี 15 ของเดือนตอไป หากไมส ามารถดําเนินการได ตอ งช้แี จงเหตผุ ลตอ สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวัด และดําเนนิ การสง ขอ มลู ทันทเี มอ่ื พรอม 3. การขอสง ขอมลู เพมิ่ เติมหรอื แกไ ขขอ ผดิ พลาดใหส ามารถดาํ เนนิ การได แตตอ งไมลา ชา เกินกวา 90 วันหลังจากใหบ รกิ ารผปู วย 4. หากรพ.สต. อนญุ าตให สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเปนผูดําเนนิ การดงึ ขอ มลู จากระบบ ฐานขอมูลโดยฝา ยรพ.สต.ไมต อ งดาํ เนินการสง ขอมลู ฝาย รพ.สต. ตอ งรบั ผิดชอบดูแลใหข อมูลมี ความครบถวน ถกู ตอ งกอนถงึ เวลาการดงึ ขอ มลู 5. แฟม ขอ มลู ทก่ี ําหนดใหรายงานปล ะ 1 ครงั้ ใหส งภายในเดอื นทก่ี ําหนด แตห ากมกี ารปรบั ปรุง แกไ ขเพิ่มเตมิ ขอ มลู ในแฟม ใหส ง ขอ มลู แกไขเพ่มิ เติมไดทันทโี ดยไมต องรอใหค รบรอบป 142
บทที่ 8. การจัดการเวชระเบียนในโรงพยาบาล (Medical Record Management in Hospital) โรงพยาบาล เปนหนวยงานบริการสุขภาพระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ซ่ึงตองมีระบบจัดการขอมูล ผูปว ยหรอื เวชระเบยี นท่ีเปนระบบชัดเจน เพ่อื มนั่ ใจวา ขอมูลท่ีจัดเก็บมีความครบถวน ถูกตอง มีรายละเอียด ชดั เจนท่ีดี และทนั สมยั ทันเวลา เพื่อใหสามารถนาํ ขอ มูลมาใชใหบริการผูปวย จัดทําสถิติและวิเคราะหขอมูล เพอื่ หาโอกาสพฒั นาตอไป การจัดการเวชระเบยี นในโรงพยาบาล จึงมคี วามสาํ คญั อยา งย่ิง โดยมีดานตางๆ ที่ สาํ คัญ 4 ดานดงั นี้ 1. รายการเอกสารและขอ มลู สําคญั ท่ตี องเกบ็ รวบรวมและบันทกึ 2. วิธีบันทกึ ขอ มูล แกไขขอ มูล จัดระเบยี บเอกสารและจดั เก็บ 3. การจัดการควบคมุ คุณภาพขอมูล 4. การสง ออกขอ มูล 8A. รายการเอกสารและขอ มูลสาํ คญั ทต่ี องเก็บรวบรวมและบนั ทึก เอกสารและขอมูลสาํ คัญทตี่ อ งเก็บรวบรวมและบนั ทึกในโรงพยาบาลประกอบไปดวยเอกสาร 2 กลุม คอื เอกสารสําหรบั การดูแลรักษาผูปว ยนอก และเอกสารสาํ หรับการดูแลรักษาผปู วยใน สาํ หรบั เอกสารการดแู ลรกั ษาผูปวยนอกจะมลี กั ษณะเหมือนกันกับการจัดการเอกสารใน รพ.สต. (ดู บทท่ี 7) ดังนี้ 1. รายละเอยี ดผูปวย/ประชาชนผมู ารับบรกิ าร 2. รายการปญหาทางสขุ ภาพ รวมถงึ การแพย า/อาหาร 3. รายการยาที่ผูปวยใชในปจจุบนั และยาทีเ่ คยใชในอดีต 4. รายการวัคซีนปองกนั โรคทีผ่ ูป วยเคยไดรบั 5. รายละเอยี ดการมารบั บรกิ ารในแตละคร้ัง a. วันท่ีและเวลาทมี่ ารับบริการ b. อาการสําคัญ c. ประวัตปิ จ จบุ ัน 143
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172