Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

หนังสือชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

Published by phattadon, 2019-09-07 22:54:34

Description: หนังสือชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าชีวิตกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ชมพนู ุท สงกลาง วท.ม. (วิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ ม) สานกั วชิ าศกึ ษาท่ัวไป มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี 2556

(1) คำนำ เอกสารประกอบการสอนรายวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อม รหัส GE40001 เล่มนี้ ได้แบ่งเน้ือหา การเรียนการสอนไว้ 8 บทเรยี น ซ่ึงประกอบดว้ ย ความรเู้ บือ้ งต้นเก่ียวกับสิ่งแวดล้อม วิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตและมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและ การอนุรักษ์ มลพิษสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก และการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน เอกสารประกอบการสอนน้ีจัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็น เอกสารหลักประกอบการเรียนการสอนแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกชั้นปี มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิด ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา พรอ้ มท้ังนาความรู้ที่ไดไ้ ปปฏิบตั ิตนใหถ้ กู ต้องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ท้ัง การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด การ ปฏิบัติตนเพ่ือลดการเกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม และลดหรือป้องกันการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก โดยเฉพาะภาวะโลกร้อนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน การรักษาระบบนิเวศให้คงอยู่ รวมท้ังการมีจริยธรรม ทางด้านสง่ิ แวดลอ้ ม เพ่อื ให้เรามีสงิ่ แวดล้อมท่ดี อี ยูก่ ับเราตราบนานเท่านาน ผู้สอนได้ศึกษารายละเอียดหัวข้อในแต่ละบทเรียนจากหนังสือ ตารา เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังศึกษาจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เพิ่มเติม และเรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์การสอน มากกว่า 8 ปี โดยเน้ือหาจากเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ได้ครอบคลุมคาอธิบายรายวิชาชีวิตกับ สง่ิ แวดลอ้ ม ของสานกั วชิ าศึกษาทว่ั ไป มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี หวังว่าเอกสารประกอบการสอน เล่มนี้คงอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในรายวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อมพอสมควร หากท่านท่ี นาไปใชม้ ีขอ้ เสนอแนะผูเ้ ขยี นยินดรี ับฟงั และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนีด้ ้วย ชมพูนทุ สงกลาง ธนั วาคม 2556

สารบญั (3) คานา หน้า สารบญั สารบญั ตาราง (1) สารบญั ภาพ (3) แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา (9) แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 (11) บทท่ี 1 ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม (17) 1 1. ความหมายของส่ิงแวดลอ้ ม 3 2. ประเภทของสงิ่ แวดล้อม 3 3. สมบัติเฉพาะตวั ของสง่ิ แวดลอ้ ม 4 4. มติ ทิ างสง่ิ แวดลอ้ ม 7 5. จริยธรรมทางส่ิงแวดลอ้ ม 9 6. บทสรุป 13 คาถามท้ายบท 19 เอกสารอ้างองิ 20 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 2 21 บทท่ี 2 วิวฒั นาการของสิง่ มีชวี ิตและมนษุ ย์ 23 1. กาเนดิ ของส่ิงมีชวี ติ 25 2. ววิ ัฒนาการของสง่ิ มีชีวิต 25 3. วิวฒั นาการของมนษุ ย์ 26 4. เผ่าพันธ์มุ นุษย์ 37 5. บทสรปุ 43 คาถามท้ายบท 47 เอกสารอ้างอิง 48 49

(4) หนา้ สารบัญ (ตอ่ ) 51 53 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 3 53 บทที่ 3 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนษุ ย์กับส่ิงแวดล้อม 62 64 1. อิทธิพลของส่งิ แวดล้อมทมี่ ีต่อมนุษย์ 67 2. อทิ ธพิ ลของมนุษย์ทม่ี ตี ่อสิ่งแวดล้อม 69 3. การปรบั ตัวของสงิ่ มชี วี ิตและมนุษย์ในสิง่ แวดล้อม 74 4. วิถีการดารงชวี ิตของมนษุ ย์ 75 5. ส่งิ แวดลอ้ มกับคุณภาพชวี ิต 76 6. บทสรปุ 77 คาถามท้ายบท 79 เอกสารอ้างองิ 79 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4 82 บทที่ 4 ระบบนิเวศ 85 1. ความหมายของนเิ วศวทิ ยาและระบบนิเวศ 90 2. ประเภทของระบบนเิ วศ 91 3. องค์ประกอบของระบบนเิ วศ 95 4. ความสัมพันธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชีวติ กับปัจจัยทางกายภาพในระบบนเิ วศ 108 5. ความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวิตกับสิ่งมีชวี ติ ท่ีอยรู่ ว่ มกนั ในระบบนเิ วศ 112 6. หนา้ ทขี่ องระบบนิเวศ 116 7. ความสมดุลของระบบนิเวศ 117 8. ความหลากหลายทางชีวภาพ 119 9. ผลกระทบของเทคโนโลยชี วี ภาพตอ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ 120 10. ประเทศไทยกับอนุสญั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 121 11. บทสรปุ คาถามท้ายบท เอกสารอ้างอิง

สารบัญ (ตอ่ ) (5) แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5 หน้า บทท่ี 5 ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรกั ษ์ 123 1. ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ 125 2. ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ 125 3. ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 126 4. สาเหตุทีต่ อ้ งมีการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 128 5. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่สี าคัญและการอนรุ กั ษ์ 129 130 5.1 ทรัพยากรป่าไม้ 130 5.2 ทรัพยากรสตั ว์ปา่ 138 5.3 ทรพั ยากรนา 143 5.4 ทรัพยากรดนิ 146 5.5 ทรพั ยากรแร่ธาตุและพลังงาน 149 6. บทสรปุ 158 คาถามทา้ ยบท 159 เอกสารอา้ งอิง 160 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 6 161 บทท่ี 6 มลพษิ ส่ิงแวดล้อม 165 1. ความหมายของมลพษิ ส่งิ แวดลอ้ ม 165 2. ประเภทของสารมลพิษสิ่งแวดล้อม 166 3. สาเหตุของการเกดิ มลพษิ สิ่งแวดล้อม 166 4. ประเภทของมลพิษสิ่งแวดลอ้ มทีส่ าคัญ 167 4.1 มลพษิ ทางนา 167 4.2 มลพษิ ทางอากาศ 172 4.3 มลพษิ ทางดิน 178 4.4 มลพิษทางเสียง 184 4.5 มลพิษทางอาหาร 189

(6) สารบญั (ตอ่ ) หน้า บทที่ 6 มลพิษสิ่งแวดล้อม (ตอ่ ) 196 4.6 มลพษิ ทางทัศนยี ภาพ 199 4.7 มลพษิ ทางสังคม 202 4.8 มลพษิ ทางขยะมลู ฝอย 209 210 5. บทสรุป 211 คาถามท้ายบท 213 เอกสารอ้างองิ 215 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 7 215 บทที่ 7 สถานการณ์ปัญหาสิง่ แวดล้อมของโลก 225 1. ภาวะโลกรอ้ น 231 2. ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา 234 3. การลดลงของโอโซน 4. ฝนกรด 238 5. ข้อตกลงระหวา่ งประเทศด้านส่งิ แวดล้อมเกีย่ วกบั ปญั หา 243 244 ดา้ นการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ 245 6. บทสรุป 247 คาถามทา้ ยบท 251 เอกสารอ้างองิ 251 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 8 252 บทที่ 8 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพอ่ื การพฒั นาอย่างยง่ั ยืน 253 1.ความหมายของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 254 2. สาเหตุทตี่ ้องมีการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 254 3. แนวความคดิ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 261 4. กลยทุ ธ์ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 5. การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 6. แนวความคดิ ในการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน

(7) สารบญั (ต่อ) หนา้ บทที่ 8 การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื (ตอ่ ) 262 7. แนวทางทเี่ ก่ียวข้องในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม 262 เพอ่ื การใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน 263 7.1 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 265 7.2 เกษตรทฤษฎีใหม่ 267 7.3 มาตรฐานการจดั การส่ิงแวดล้อม ISO14000 277 7.4 ฉลากสิง่ แวดล้อม 279 7.5 การวเิ คราะห์ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม 282 7.6 กฎหมายส่ิงแวดล้อม 283 7.7 องค์กรทางด้านสงิ่ แวดล้อมในประเทศไทย 284 7.8 องค์การสิง่ แวดล้อมโลก 288 7.9 สง่ิ แวดลอ้ มศึกษา 289 8. บทสรุป 290 คาถามท้ายบท เอกสารอา้ งองิ บรรณานุกรม 293 อ้างอิงตาราง 301 อา้ งองิ รูปภาพ 303 ภาคผนวก 313 ประวัตผิ ูเ้ รยี บเรียง 337

(8)

สารบญั ตาราง (9) ตารางที่ หน้า 185 6.1 แสดงระดบั ความดังของเสยี งจากแหล่งกาเนดิ เสียง 187 6.2 ระดบั เสียงของพาหนะแต่ละประเภท 209 6.3 ระยะเวลาที่ขยะแต่ละชนิดยอ่ ยสลายตามธรรมชาติ

(10)

สารบญั ภาพ (11) ภาพท่ี หนา้ 1.1 สิง่ แวดลอ้ มทางชวี ภาพ 4 1.2 สง่ิ แวดล้อมท่เี ปน็ รูปธรรม 5 1.3 ประเพณีราบวงสรวงกรมหลวงประจักษศ์ ิลปาคม จังหวดั อุดรธานี 6 1.4 ประเภทของส่งิ แวดล้อม 6 1.5 เอกลักษณ์เฉพาะตัวของชา้ ง 7 1.6 ปลากับนา 8 1.7 มิตทิ างส่ิงแวดล้อม 13 2.1 ซากดึกดาบรรพ์ของปลาเกล็ดแข็งพบที่ ภูกมุ้ ข้าว จงั หวัดกาฬสินธ์ุ 27 2.2 ลามารก์ 29 2.3 วิวฒั นาการของยรี าฟตามทฤษฎขี องลาร์มารค์ 30 2.4 ออกัส ไวสม์ าน 31 2.5 ชารล์ ส์ ดาร์วนิ 31 2.6 ภาพวาดเรอื หลวงบเี กลิ 32 2.7 หม่เู กาะกาลาปากอส 32 2.8 จงอยปากของนกฟนิ ชท์ ่แี ตกต่างกนั ตามความเหมาะสมในการกินอาหาร 33 2.9 วิวัฒนาการของยีราฟตามทฤษฏีของชาลล์ ดารว์ ิน 34 2.10 เกรเกอร์ เมนเดล 35 2.11 การผสมพนั ธ์ุถวั่ ลนั เตาซ่งึ เป็นไปตามกฎของเมนเดล 37 2.12 ลาดับขนั ตอนการสืบสายวิวฒั นาการของมนุษย์ 38 2.13 ซากดึกดาบรรพข์ อง A. afarensis ที่เรยี กวา่ “ลูซี่” 39 2.14 ซากดกึ ดาบรรพ์กระดูกกะโหลกศรี ษะของ Australopithecus 39 2.15 ภาพสันนิษฐานลกั ษณะของ A. afarensis 39 2.16 ซากดกึ ดาบรรพก์ ระดูกกะโหลกศีรษะของ H. habilis 40 2.17 H. habilis เปน็ มนุษย์พวกแรกทร่ี ู้จกั ใช้เคร่ืองมืออย่างง่ายท่ที ามาจากหิน 40 2.18 ซากดกึ ดาบรรพก์ ระดกู กะโหลกศรี ษะของ H. erectus 41 2.19 H. erectus เปน็ มนุษย์พวกแรกท่ีรูจ้ กั ใช้ไฟ 41

(12) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพท่ี หนา้ 2.20 ลกั ษณะของมนุษยน์ ีแอนเดอร์ทัล 41 2.21 พิธฝี งั ศพของมนษุ ยน์ ีแอนเดอร์ทัล 42 2.22 กะโหลกศรี ษะของโฮโม เซเปยี นส์ เซเปียนส์ 42 2.23 ภาพเปรียบเทยี บขนาดกะโหลกศีรษะของมนุษย์นแี อนเดอร์ทัลกบั มนุษย์ปจั จบุ ัน 43 2.24 ภาพเขียนบนถาโครมายอง 43 2.25 แอฟริกนั นกี รอยด์ 44 2.26 ปิกมี่ 44 2.27 เผา่ พันธ์ุออสเตรลอยด์ 45 2.28 เผ่าพันธ์ุคอเคซอยด์ 45 2.29 มองโกลอยดโ์ บราณ (จนี ) 46 2.30 เอสกิโม 46 3.1 บ้านในเขตร้อนชืนและบา้ นในเขตอบอุน่ 55 3.2 ท่อี ยู่อาศยั ของชาวเอสกิโมในอดีตและปจั จบุ นั 56 3.3 เครอ่ื งนงุ่ ห่มของมนุษย์ในเขตร้อนและเขตหนาวเย็น 57 3.4 ทะเลทรายสะฮาราทมี่ ีประชากรอาศยั อยนู่ ้อย 58 3.5 สิง่ แวดลอ้ มมีอทิ ธพิ ลต่อลักษณะทางประเพณี 61 3.6 การเปลย่ี นส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติให้กลายเปน็ เมือง 63 3.7 มนุษย์เป็นผู้ทาลายส่งิ แวดล้อม 63 3.8 การปลูกปา่ ทดแทนเป็นการรักษาและแกไ้ ขผลกระทบจากการใช้ 64 สิง่ แวดล้อมของมนุษย์ 64 3.9 การปรับตวั ของตก๊ั แตนก่ิงไม้มีรูปรา่ งและสีผิวคล้ายกิ่งไม้ 65 3.10 การปรับตวั ดา้ นสรรี ะของตน้ กระบองเพชร 66 3.11 การปรับตัวดา้ นพฤตกิ รรมของสง่ิ มชี วี ิต 66 3.12 สีผวิ ของมนษุ ย์ถือเป็นการปรับตัวดา้ นพันธกุ รรม 80 4.1 แอนสต์ เฮคเคล (Ernst Haeckel) บิดาแห่งวิชานเิ วศวทิ ยา 80 4.2 ระดับความสัมพันธข์ องสิ่งมชี วี ติ

(13) สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 82 83 4.3 ระบบนเิ วศทางทะเล 84 4.4 ระบบนเิ วศแหลง่ นาจืด 84 4.5 ระบบนิเวศกง่ึ บก 85 4.6 ระบบนิเวศบนบกแท้ 86 4.7 ระบบนเิ วศท่ีมนุษยส์ ร้างขนึ 86 4.8 พชื สีเขียวเปน็ ผผู้ ลิตในระบบนิเวศ 87 4.9 ตน้ หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลิงเป็นผผู้ ลติ ท่ีมีลักษณะเป็นมิกโซโทรพ (Mixotroph) 88 4.10 ผ้บู ริโภคทีก่ นิ พชื เปน็ อาหาร (Herbivore) 88 4.11 ผู้บริโภคที่กนิ สัตวเ์ ป็นอาหาร (Carnivore) 88 4.12 ผบู้ ริโภคที่กนิ ทังพืชและสัตว์ (Omnivore) 89 4.13 ผูบ้ ริโภคท่ีกินซากพืชซากสัตว์ (Detritivore or Scavenger) 90 4.14 ลาดบั ขันของการบริโภคในระบบนิเวศ 92 4.15 ผยู้ ่อยสลายในระบบนเิ วศ 92 4.16 ไลเคนส์ (รากบั สาหรา่ ย) ในภาวะพึ่งพากัน 93 4.17 ภาวะไดป้ ระโยชน์ร่วมกัน 93 4.18 ภาวะเกอื กูลกันหรือภาวะองิ อาศัย 94 4.19 เสอื ล่ากวางเปน็ ภาวะล่าเหยื่อ 94 4.20 ยุงกับคนอยูใ่ นภาวะมปี รสติ 94 4.21 ชา้ งสกู้ ันแสดงการมีอานาจอยู่ในภาวะแขง่ ขนั 98 4.22 เหด็ บนขอนไม้อย่ใู นภาวะมีการย่อยสลาย 4.23 สายใยอาหาร 99 4.24 แสดงพลังงานศกั ย์ในรูปของมวลชวี ภาพทสี่ ะสมในเนือเย่ือ 99 100 ของผูบ้ ริโภคลาดับตา่ งๆ 101 4.25 ปิรามิดของพลังงาน 4.26 การหมุนเวียนของนา 4.27 การหมนุ เวียนของคารบ์ อน

(14) หนา้ สารบัญภาพ (ต่อ) 103 104 ภาพที่ 105 107 4.28 การหมนุ เวยี นของไนโตรเจน (Nitrogen cycle) 112 4.29 การหมุนเวียนของฟอสฟอรสั (Phosphorus Cycle) 113 4.30 การหมุนเวยี นของกามะถัน 114 4.31 การถา่ ยทอดพลงั งานและการหมนุ เวยี นธาตุอาหารในระบบนิเวศ 133 4.32 ความหลากหลายทางพันธุกรรมของขา้ วและแมว 133 4.33 ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพนั ธุ์ของสง่ิ มชี ีวติ 135 4.34 ความหลากหลายของระบบนเิ วศ 139 5.1 ป่าดบิ เมืองรอ้ น 145 5.2 ปา่ สน 149 5.3 ป่าผลดั ใบ 151 5.4 สัตว์ป่าสงวน 151 5.5 การอนุรักษ์ทรัพยากรนา 169 5.6 การอนรุ ักษ์ดิน 173 5.7 แรโ่ ลหะ 173 5.8 แร่อโลหะ 181 6.1 ยูโทรฟเิ คช่ัน 182 6.2 องค์ประกอบของอากาศบริสุทธ์ิ 186 6.3 ระบบภาวะมลพษิ อากาศ 189 6.4 พนื ทด่ี นิ เค็ม 193 6.5 การปลูกพชื ทนเคม็ 203 6.6 แหล่งกาเนิดมลพษิ ทางเสยี ง 203 6.7 เครือ่ งครอบหแู ละเคร่ืองอดุ หู 204 6.8 ฟอรม์ าลินในอาหารทะเลสด 6.9 ขยะเปียก 6.10 ขยะรไี ซเคลิ 6.11 ขยะทัว่ ไป

สารบัญภาพ (ตอ่ ) (15) ภาพที่ หนา้ 6.12 ขยะอันตราย 204 6.13 วิธีฝังกลบแบบขดุ เป็นรอ่ ง 206 6.14 เตาเผาขยะ 207 7.1 ปรากฏการณ์เรือนกระจก 216 7.2 หมีขัวโลกบนแผ่นนาแข็ง 221 7.3 สภาวะปกติ 227 7.4 สภาวะเอลนโี ญ 228 7.5 แสดงบรรยากาศชนั โอโซน (Ozone Layer) 231 7.6 การลดลงของโอโซน (ที่มา: NASA) 232 7.7 การเกดิ ฝนกรด 235 7.8 ผลกระทบจากฝนกรดต่อสงิ่ ปลกู สรา้ งของมนุษย์ 237 8.1 การสร้างเข่ือนเพื่อถนอมนาไว้ใชใ้ นชว่ งฤดแู ลง้ 257 8.2 การบูรณะวดั 258 8.3 การใช้สิง่ อ่ืนทดแทน 259 8.4 ไม้อัดจากชานอ้อย 259 8.5 การแบ่งพนื ทที่ ากินตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ 264 8.6 Green leaf จากมลู นิธใิ บไม้เขียว 268 8.7 ฉลากส่ิงแวดล้อมประเภทที่ 1 ต่างประเทศและประเทศไทย 269 8.8 ฉลากส่งิ แวดล้อมแสดงวสั ดทุ ี่สามารถย่อยสลายได้ 269 8.9 สญั ลักษณแ์ ปรใช้ใหม่ (Mobius loop) หรอื การรีไซเคลิ ได้ 270 8.10 ฉลากเขยี ว 270 8.11 EU Flower 271 8.12 สัญลกั ษณข์ องฉลากลดคาร์บอน 273 8.13 แสดงฉลากลดคาร์บอนในระดับต่างๆ ในประเทศไทย 274 8.14 สัญลกั ษณ์ของฉลากคาร์บอนฟุตพรินท์ของประเทศไทย 275

(16) หนา้ สารบญั ภาพ (ต่อ) 275 276 ภาพท่ี 277 8.15 สัญลักษณ์ของฉลากคารบ์ อนฟตุ พรินท์ของตา่ งประเทศ 8.16 ผลติ ภัณฑ์ทีไ่ ดร้ บั ฉลากคารบ์ อนฟตุ พรินท์ 8.17 ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5

(17) แผนบรหิ ารการสอนประจาวชิ า รายวชิ า ชวี ติ กับสง่ิ แวดล้อม (Life and Environment) รหัสวชิ า GE40001 จานวนหนว่ ยกิต 2 (1-2-3) เวลาเรียน 48 ชัว่ โมง คาอธบิ ายรายวชิ า ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ความหมายและความสาคัญของส่ิงแวดล้อม ส่ิงแวดล้อมศึกษา พ้ืนฐานนิเวศวิทยา ระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และการอนุรักษ์ มลพิษและสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก การจัดการสิ่งแวดล้อมและ ทรพั ยากรธรรมชาตเิ พ่อื การใช้ประโยชน์อยา่ งย่งั ยนื จดุ ประสงคร์ ายวิชา 1. เพื่อใหน้ ักศกึ ษามีความรู้ความเขา้ ใจในความหมายและความสาคญั ของส่งิ แวดลอ้ ม 2. เพ่อื ใหน้ ักศึกษามีความรคู้ วามเขา้ ใจในเร่ืองววิ ัฒนาการของส่งิ มชี วี ติ และมนษุ ย์ 3. เพื่อให้นักศึกษามีความรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั ความสมั พันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั สง่ิ แวดล้อม 4. เพ่ือให้นักศกึ ษามีความรคู้ วามเข้าใจในเร่ืองพนื้ ฐานนิเวศวิทยา ระบบนิเวศ และความ หลากหลายทางชีวภาพ 5. เพื่อให้นักศึกษามีความรคู้ วามเข้าใจในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและการอนรุ กั ษ์ 6. เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามีความร้คู วามเขา้ ใจที่ถกู ต้องเกีย่ วกับปัญหามลพษิ และสถานการณป์ ัญหา สิง่ แวดล้อมของโลกที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต 7. เพื่อใหน้ กั ศกึ ษาเกิดทศั นคติทีด่ ี มคี วามรบั ผดิ ชอบในการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม 8. เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องการจดั การส่ิงแวดลอ้ มและทรัพยากร ธรรมชาติเพือ่ การใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน ส่ิงแวดลอ้ มศึกษา และนาไปใช้ได้ใน ชีวิตประจาวัน 9. เพอ่ื ให้นักศกึ ษานาความรู้ทีไ่ ด้ไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทดี่ ี มีจิตสานกึ ทดี่ ใี นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

(18) แผนการสอน สปั ดาห์ หวั ข้อ/รายละเอียด จานวน กจิ กรรมการเรียนการสอน ชั่วโมง และสอ่ื ทใี่ ช้ ท่ี 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) 1 บทที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเก่ยี วกับ - อธิบาย Course Outline รายละเอยี ดวชิ า เนือ้ หา เกณฑ์ ส่งิ แวดล้อม การใหค้ ะแนน กฎกติกาในการ เรยี น กจิ กรรมที่ต้องทา 1. ความหมายของส่งิ แวดล้อม - บรรยาย - ศกึ ษาจากเอกสารหลัก 2. ประเภทของส่ิงแวดล้อม กจิ กรรม (2 ชว่ั โมง) - แบง่ กลุ่มทากจิ กรรมและทา 3. สมบัตเิ ฉพาะตวั ของสงิ่ แวดลอ้ ม ใบงาน - อภิปรายรว่ มกนั 4. มิติทางสิ่งแวดล้อม 5. จรยิ ธรรมทางสิ่งแวดลอ้ ม 2 บทท่ี 2 ววิ ัฒนาการของสิ่งมีชวี ิตและ 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) มนษุ ย์ - บรรยาย 1. กาเนิดของสิง่ มชี วี ิต - ศกึ ษาจากเอกสารหลกั 2. วิวัฒนาการของส่งิ มชี วี ิต กิจกรรม (2 ช่วั โมง) 3. วิวัฒนาการของมนุษย์ - ดวู ดี ที ศั นเ์ ร่อื งกาเนดิ ของ 4. เผ่าพนั ธ์มุ นุษย์ สิ่งมีชวี ติ วิวัฒนาการของ สิ่งมชี ีวติ ววิ ฒั นาการของมนุษย์ - ตอบคาถามในใบงานจากการ ดูวีดีทัศน์ - อาจารยส์ รปุ เน้ือหาสาคัญจาก การชมวดี ีทัศน์

(19) สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน กิจกรรมการเรยี นการสอน ท่ี ชัว่ โมง และสือ่ ทใ่ี ช้ 3 บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) สิง่ แวดลอ้ ม - บรรยาย 1. อทิ ธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มตี ่อมนษุ ย์ - ศึกษาจากเอกสารหลัก 2. อทิ ธิพลของมนษุ ย์ทม่ี ีตอ่ สงิ่ แวดล้อม กจิ กรรม (2 ชั่วโมง) 3. การปรับตัวของส่งิ มชี ีวติ และมนุษย์ใน - แบ่งกลุ่มอภิปรายและทาใบ สง่ิ แวดล้อม งานเร่อื งความสมั พันธร์ ะหว่าง 4. วถิ กี ารดารงชวี ิตของมนุษย์ มนษุ ย์กับส่งิ แวดล้อม สง่ิ แวดล้อมกับคุณภาพชวี ติ 4 บทที่ 4 ระบบนเิ วศ 3 บรรยาย ( 1 ช่วั โมง) 1. ความหมายของนิเวศวิทยาและระบบ - บรรยาย นิเวศ - ศกึ ษาจากเอกสารหลกั 2. ประเภทของระบบนเิ วศ กิจกรรม (2 ชวั่ โมง) 3. องค์ประกอบของระบบนิเวศ - แบ่งกลมุ่ สารวจระบบนิเวศ 4. ความสมั พันธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวิตกับ นาเสนอรายงานหนา้ ชั้น สรปุ ปจั จัยทางกายภาพในระบบนเิ วศ อภปิ รายผลร่วมกนั ถึงส่งิ ที่ได้ 5. ความสัมพนั ธ์ระหว่างสง่ิ มชี ีวติ กับ จากการศึกษา สง่ิ มีชวี ิตทีอ่ ยู่รว่ มกันในระบบนิเวศ 6. หนา้ ท่ีของระบบนเิ วศ 5 บทที่ 4 ระบบนเิ วศ (ตอ่ ) 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) 7. ความสมดุลของระบบนิเวศ - บรรยาย 8. ความหลากหลายทางชีวภาพ - ศกึ ษาจากเอกสารหลกั 9. ผลกระทบของเทคโนโลยชี วี ภาพต่อ กจิ กรรม (2 ชว่ั โมง) ความหลากหลายทางชวี ภาพ - ดูวีดีทัศน์เร่ืองความหลาก 10. ประเทศไทยกบั อนุสญั ญาวา่ ด้วย หลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ - ตอบคาถามจากการดูวดี ที ัศน์

(20) สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ชัว่ โมง และส่ือท่ใี ช้ ท่ี 3 บรรยาย ( 1 ชว่ั โมง) 6 บทท่ี 5 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการ - บรรยาย - ศึกษาจากเอกสารหลกั อนรุ ักษ์ กิจกรรม (2 ชั่วโมง) - แบ่งกล่มุ อภปิ รายเร่ือง 1. ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติและการ อนรุ กั ษ์ 2. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 3. ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 4. สาเหตทุ ต่ี ้องมีการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ 7 บทที่ 5 ทรัพยากรธรรมชาติและการ 3 บรรยาย ( 1 ชว่ั โมง) อนุรกั ษ์ - บรรยาย 5. ทรพั ยากรธรรมชาติทีส่ าคัญและการ - ศกึ ษาจากเอกสารหลกั อนุรักษ์ กิจกรรม (2 ชัว่ โมง) - ชมวดี ีทศั น์เร่ืองทรัพยากรป่า 8 ทดสอบย่อยครั้งท่ี 1 ไม้ สตั วป์ ่า ดนิ น้า แร่ธาตุ และ 9 บทท่ี 6 มลพิษส่ิงแวดล้อม ตอบคาถามจากใบงานท่แี จก ประกอบการชมวีดีทัศน์ 1. ความหมายของมลพิษส่ิงแวดล้อม 2. ประเภทของสารมลพษิ ส่ิงแวดลอ้ ม 3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 บทท่ี 1 - 5 3. สาเหตขุ องการเกดิ มลพิษส่งิ แวดล้อม 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) - บรรยาย - ศึกษาจากเอกสารหลกั กิจกรรม (2 ชวั่ โมง) - ศกึ ษากรณีศึกษา จากขา่ ว บทความ เก่ียวกับมลพิษ สิ่งแวดลอ้ ม วิเคราะหป์ ัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทาง แก้ไขมลพิษ - สอบปฏบิ ัติการแลบ็ กร๊ิง (Lab Practical Exam) บทที่ 1 - 5

(21) สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กจิ กรรมการเรยี นการสอน ชัว่ โมง และสื่อท่ใี ช้ ที่ 3 บรรยาย ( 1 ชว่ั โมง) 10 บทที่ 6 มลพิษสง่ิ แวดลอ้ ม - บรรยาย - ศกึ ษาจากเอกสารหลกั 4. ประเภทของมลพิษสง่ิ แวดลอ้ มท่ี กจิ กรรม (2 ช่วั โมง) - จดั แบง่ กลุ่มทากจิ กรรม สาคัญ การสอนแบบ Jigsaw - ตอบคาถามเร่ืองมลพิษ 4.1 มลพิษทางน้า ส่ิงแวดล้อม 4.2 มลพษิ ทางอากาศ 3 บรรยาย ( 1 ชัว่ โมง) - บรรยาย 4.3 มลพิษทางดิน - ศึกษาจากเอกสารหลกั กิจกรรม (2 ช่วั โมง) 4.4 มลพษิ ทางเสยี ง - ดูวดี ที ศั นเ์ รอื่ งสถานการณ์ ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มของโลก 4.5 มลพิษทางอาหาร และตอบคาถามลงในใบงาน - อภปิ รายรว่ มกนั 4.6 มลพษิ ทางทัศนียภาพ 3 บรรยาย ( 1 ช่วั โมง) 4.7 มลพษิ ทางสงั คม - บรรยาย - ศึกษาจากเอกสารหลกั 4.8 มลพิษทางขยะมูลฝอย กิจกรรม (2 ชว่ั โมง) - ศึกษากรณีศึกษา จากขา่ ว 11 บทที่ 7 สถานการณป์ ัญหาสงิ่ แวดล้อม บทความ เกีย่ วกับสถานการณ์ ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มของโลก ของโลก วเิ คราะหป์ ญั หา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแกไ้ ข 1. ภาวะโลกรอ้ น 2. ปรากฏการณ์เอลนโี ญและลานญี า 3. การลดลงของโอโซน 4. ฝนกรด 12 บทที่ 7 สถานการณป์ ัญหาสง่ิ แวดล้อม ของโลก 5. ข้อตกลงระหวา่ งประเทศดา้ น ส่งิ แวดล้อมเกีย่ วกบั ปญั หาดา้ นการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

(22) สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน กิจกรรมการเรยี นการสอน ที่ ช่ัวโมง และสือ่ ทใ่ี ช้ - ทารายงานเก่ยี วกับข้อตกลง ระหวา่ งประเทศด้านสงิ่ แวดล้อม เก่ียวกับปญั หาดา้ นการ เปล่ียนแปลงภมู ิอากาศ - อภปิ รายรว่ มกนั 13 บทท่ี 8 การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ 3 บรรยาย ( 1 ชั่วโมง) และสิง่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่าง - บรรยาย ยั่งยืน - ศึกษาจากเอกสารหลัก 1.ความหมายของการจัดการ กิจกรรม (2 ชว่ั โมง) ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม - แบ่งกลมุ่ ทารายงานเกี่ยวกับ 2. สาเหตทุ ต่ี อ้ งมกี ารจดั การ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และสงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นา 3. แนวความคดิ ในการจดั การ อย่างยง่ั ยนื ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - นาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น 4. กลยุทธ์ในการจัดการ - ผูส้ อนสรปุ และอภิปราย ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม รว่ มกนั 5. การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดลอ้ ม 6. แนวความคิดในการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน 14 บทที่ 8 การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ 3 บรรยาย ( 1 ช่ัวโมง) และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่าง - บรรยาย ยง่ั ยนื - ศกึ ษาจากเอกสารหลัก 7. แนวทางท่เี กย่ี วข้องในการจัดการ กิจกรรม (2 ช่วั โมง) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ - แบ่งกลุม่ ทารายงานเกย่ี วกับ การใช้ประโยชน์อยา่ งย่ังยนื การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มเพื่อการพัฒนา อย่างยงั่ ยนื

(23) สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน กจิ กรรมการเรยี นการสอน ที่ ชวั่ โมง และสอ่ื ท่ใี ช้ 7.1 เศรษฐกิจพอเพยี ง - นาเสนอหน้าชั้นเรียน 7.2 เกษตรทฤษฎใี หม่ - ผู้สอนสรุปและอภปิ ราย 7.3 มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอ้ ม ร่วมกนั ISO14000 7.4 ฉลากส่งิ แวดลอ้ ม 7.5 การวเิ คราะหผ์ ลกระทบ สิง่ แวดล้อม 7.6 กฎหมายสงิ่ แวดลอ้ ม 7.7 องคก์ รทางด้านสิง่ แวดลอ้ มใน ประเทศไทย 7.8 องค์การสิ่งแวดล้อมโลก 7.9 ส่ิงแวดลอ้ มศกึ ษา 15 สอบเกบ็ คะแนนครง้ั ท่ี 2 3 - สอบเกบ็ คะแนนคร้ังที่ 2 บทที่ สอบปากเปลา่ 6–8 - แบง่ กลุ่มสอบปากเปล่า (Oral exam) บทที่ 8 16 สอบปลายภาค 3 สือ่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนหลัก รายวิชาชีวิตกับส่ิงแวดล้อม (GE40001) เรียบเรียงโดย ชมพูนุท สงกลาง สานกั วชิ าศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี พ.ศ. 2556 2. ตาราวิชาการที่เก่ียวข้อง เช่น ตารามลพิษสิ่งแวดล้อม เรียบเรียงโดยชมพูนุท สงกลาง สานักวิชาศกึ ษาทัว่ ไป มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี พ.ศ. 2556 3. e – Learning รายวชิ าชีวติ กับส่งิ แวดลอ้ ม (GE40001) อาจารย์ชมพูนทุ สงกลาง 4. Powerpoint ประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาชวี ิตกับสิง่ แวดลอ้ ม (GE40001) 5. วดี ีทัศนป์ ระกอบการเรียนการสอน

(24) 6. ส่อื อิเล็กทรอนิกสต์ ่างๆ หนงั สือพมิ พ์ บทความสง่ิ แวดลอ้ ม 7. แบบฝกึ หดั และใบงาน การวัดผลและการประเมนิ ผล 1. คะแนนระหว่างภาคเรยี น 60% 1.1 กิจกรรมในและนอกช้นั เรียน 30% รายงาน แบบฝกึ หัด ใบงาน สอบปากเปล่า สอบปฏบิ ตั ิการ 10% 1.2 สอบเก็บคะแนนครงั้ ท่ี 1 10% 1.3 สอบเก็บคะแนนครงั้ ท่ี 2 10% 1.4 จติ พิสัย การมีส่วนรว่ ม อภิปราย เสนอความคิดเห็น การแตง่ กาย 40% การตรงต่อเวลา 100% 2. คะแนนสอบปลายภาค รวม เกณฑก์ ารใหค้ ่าระดับคะแนน คะแนน 80 – 100 ไดร้ ะดบั A B+ คะแนน 75 – 79 ไดร้ ะดบั B คะแนน 70 – 74 ไดร้ ะดับ C+ คะแนน 65 – 69 ไดร้ ะดับ C D+ คะแนน 60 – 64 ได้ระดับ D คะแนน 55 – 59 ได้ระดบั F คะแนน 50 – 54 ไดร้ ะดับ คะแนน 0 – 49 ไดร้ ะดับ

(25) นโยบายในการเข้าเรียนและการสอบ 1. นักศึกษาจะต้องเข้าเรียนทุกคร้ัง หากมีเหตุจาเป็น เช่น เจ็บป่วย หรือมีกิจธุระสาคัญ จะตอ้ งแจ้งใหอ้ าจารยผ์ ู้สอนทราบทกุ ครง้ั โดยทาเปน็ จดหมายลาใหอ้ าจารยผ์ สู้ อนรบั ทราบ 2. นักศึกษาต้องมีการตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม กาหนดเวลา มีระเบียบวนิ ัยและความรบั ผิดชอบในการเรียน 3. นักศึกษาตอ้ งมีการปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บ ข้อบังคับ ข้อตกลงในรายวชิ าอย่างเคร่งครดั 4. นกั ศึกษาต้องแต่งกายให้เหมาะสมตามกฎระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั 5. การสอบต้องดาเนินไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ห้ามขาดสอบเก็บคะแนนหรือขาด สอบปลายภาคโดยเดด็ ขาด

1 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 ความรู้เบ้อื งต้นเกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ ม เนอ้ื หาประจาบทท่ี 1 ความร้เู บอื้ งต้นเก่ียวกับส่งิ แวดล้อม 1. ความหมายของสงิ่ แวดลอ้ ม 2. ประเภทของสงิ่ แวดลอ้ ม 3. สมบตั ิเฉพาะตวั ของสิ่งแวดลอ้ ม 4. มิติทางส่งิ แวดล้อม 5. จริยธรรมทางสิ่งแวดลอ้ ม จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. นกั ศกึ ษาสามารถบอกความหมายของสงิ่ แวดล้อมได้ 2. นักศึกษาสามารถจาแนกประเภทของส่งิ แวดลอ้ มได้ 3. นกั ศกึ ษาสามารถยกตวั อย่างสมบัตเิ ฉพาะตัวของสงิ่ แวดลอ้ มได้ 4. นักศกึ ษาสามารถอธิบายความหมายของมติ ทิ างสง่ิ แวดลอ้ มได้ 5. นักศึกษาสามารถสรปุ ความสมั พนั ธ์ของมติ ทิ างสิง่ แวดล้อมได้ 6. นักศึกษาสามารถยกตวั อยา่ งลกั ษณะของผู้ทมี่ ีจริยธรรมทางสิ่งแวดล้อมได้ 7. นกั ศกึ ษาสามารถนาความรทู้ ่ไี ด้ไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ติ นให้เป็นผ้มู ีจริยธรรมทางส่งิ แวดลอ้ ม วิธีสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบทท่ี 1 1. วิธีสอน 1.1 ใชว้ ิธกี ารสอนแบบบรรยาย 1.2 เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมสี ่วนร่วม 1.3 วิธีการสอนแบบกลุ่มสัมพนั ธ์ 1.4 วิธกี ารสอนแบบอภิปราย 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอนและตาราอนื่ ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 2.2 ศึกษาจาก Powerpoint และสื่ออเิ ล็กทรอนกิ สต์ า่ งๆ 2.3 ร่วมกันอภิปรายเนอ้ื หาและสรปุ ประเดน็ 2.4 ผสู้ อนสรุปเนื้อหาเพมิ่ เตมิ

2 2.5 แบ่งกลุ่มสารวจสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย นาเสนอรายงานหน้าช้ัน สรุป อภิปรายผลร่วมกันถึงส่ิงที่ไดจ้ ากการศกึ ษา 2.6 ทาสมดุ สะสมความดีทางด้านสง่ิ แวดลอ้ ม 2.7 ทาแบบฝกึ หดั บทที่ 1 สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนหลกั รายวชิ าชวี ิตกบั ส่ิงแวดล้อม (GE40001) 2. Powerpoint และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ 3. ใบงาน 4. วดี ที ศั น์ การวดั ผลและการประเมินผล 1. ตรวจรายงานกิจกรรมกลุ่ม การนาเสนอหน้าชนั้ เรียน และการอภิปราย 2. ให้คะแนนการเขา้ ห้องเรยี น 3. การทาแบบฝึกหดั ท้ายบท 4. การทาใบงาน 5. การบันทึกสะสมความดีทางด้านสงิ่ แวดล้อม 6. สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม ความรว่ มมอื ในและนอกหอ้ งเรยี น 7. การตอบคาถามในห้องเรยี น

3 บทที่ 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ส่ิงแวดลอ้ มเป็นสิง่ ท่ีอย่รู อบตวั เรา มีท้งั ส่งิ แวดล้อมทเี่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้าง ข้ึน ส่ิงแวดล้อมมีทั้งท่ีเป็นประโยชน์และเป็นโทษต่อมนุษย์ มีสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งแวดล้อมน้ันๆ มี ความเกี่ยวเน่ืองกันของแต่ละสิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่ิงแวดล้อมมีความสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ เน่อื งจากเป็นปัจจัย 4 สาหรับมนุษย์ เม่ือใดท่ีสิ่งแวดล้อมเปล่ียนแปลงไปย่อมส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต ของมนุษย์ และการดารงชีวิตของพืชและสัตว์ นอกจากน้ีเรายังสามารถมองส่ิงแวดล้อมได้เป็นมิติท้ัง มิติทรัพยากร มิติเทคโนโลยี มิติของเสียและมลพิษ และมิติมนุษย์และเศรษฐสังคมอีกด้วย ซึ่งแต่ละ มิติก็มีความเชื่อมโยงเก่ียวข้องกันและเกี่ยวข้องกับมนุษย์ด้วยเช่นกัน ดังนั้นเราจึงควรเรียนรู้เร่ือง สงิ่ แวดลอ้ มและเรยี นรู้เร่ืองการปฏิบัติตัวให้มีจริยธรรมทางสิ่งแวดล้อม เพ่ือท่ีจะช่วยให้เราปรับตัวเข้า กับสิ่งแวดลอ้ มทก่ี าลังเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา การศึกษาเร่ืองส่ิงแวดล้อมจึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็นสาหรับ ทุกคน 1. ความหมายของส่ิงแวดล้อม ไดม้ ผี ู้ใหค้ วามหมายของสง่ิ แวดลอ้ มไว้หลากหลายดงั นี้ พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมและรักษาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ได้ให้คานิยามของ ส่งิ แวดล้อม หมายถงึ สงิ่ ต่าง ๆ ท่ีมลี กั ษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ซ่ึงเกิดขึ้นโดย ธรรมชาติและส่ิงท่ีมนุษยไ์ ด้ทาขึน้ (เกษม จนั ทรแ์ ก้ว, 2544 : 1) กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม ได้ให้ความหมายของ สงิ่ แวดล้อม ว่าคือ ทุกสิ่งทุกอย่างท่ีอยู่ รอบตัวมนุษย์ท้ังที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งท่ีเป็นรูปธรรม ซ่ึงสามารถจับต้องและมองเห็นได้ และ นามธรรม ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเช่ือ มีอิทธิพลเก่ียวโยงถึงกัน เป็นปัจจัย ในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัยหน่ึงจะมีส่วนเสริมสร้างหรือทาลายอีกส่วนหนึ่ง อย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ส่ิงแวดล้อมเป็นวงจรและวัฏจักรที่เกี่ยวข้องกันไปทั้งระบบ (กรมส่งเสริมคุณภาพ ส่ิงแวดล้อม, 2555) เกษม จันทร์แก้ว (2544 : 3) กล่าวไว้ว่า สิ่งแวดล้อมเป็นทุกส่ิงทุกอย่างบนพ้ืนโลก อาจรวม ไปท้งั จักรวาล เปน็ ทง้ั ของแขง็ ของเหลว ก๊าซ ท้งั เปน็ พิษและไม่เป็นพิษ สารเคมีท้ังเป็นพิษและไม่เป็น พิษ ต้นไม้ สัตว์ มนุษย์ ดิน หิน แร่ อากาศ วัตถุธาตุ สิ่งก่อสร้าง บ้านเรือน ถนน โรงเรียน วัด เมือง ชุมชน ศาสนา ประเพณี กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ เป็นต้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่าสิ่งแวดล้อม

4 อาจเป็นส่ิงท่ีให้คุณและโทษต่อมนุษย์และต่อส่ิงมีชีวิต เป็นส่ิงซึ่งสามารถสัมผัสได้ด้วยอาการท้ังห้าได้ หรอื อาจเปน็ ทรัพยากรหรือไม่ใชท่ รัพยากรกไ็ ด้ ประชา อินทร์แก้ว (2542 : 1) กล่าวไว้ว่า ส่ิงแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่างๆ ท่ีมีลักษณะทาง กายภาพ ชีวภาพ และสังคม ทอี่ ยูร่ อบตวั มนุษย์ ซ่งึ เกิดข้ึนเองโดยธรรมชาตแิ ละมนษุ ยส์ ร้างขน้ึ ดงั นั้นสรปุ ไดว้ า่ ส่ิงแวดล้อม (Environment) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างท่ีอยู่รอบๆ ตัวเรา มี ท้ังเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างข้ึน มีทั้งส่ิงมีชีวิต หรือเรียกว่าชีวภาพ และไม่มีชีวิต หรือ เรียกว่ากายภาพ มีลักษณะเป็นรูปธรรมหรือกายภาพ และนามธรรมหรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า สิ่งแวดล้อมทางสังคม และยังมีทั้งส่ิงท่ีเป็นประโยชน์และโทษต่อมนุษย์และส่ิงมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม อาจเป็นทรพั ยากรธรรมชาตหิ รอื ไม่ใชท่ รัพยากรธรรมชาติกไ็ ด้ 2. ประเภทของส่ิงแวดลอ้ ม จากความหมายของสง่ิ แวดล้อม สิ่งแวดล้อมแบ่งได้หลายประเภท อาจแบ่งเป็นส่ิงแวดล้อมท่ี มีประโยชน์และเป็นโทษ แบ่งเป็นส่ิงแวดล้อมที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตก็ได้ แต่ในที่น้ีจะแบ่งสิ่งแวดล้อม ตามลักษณะการเกิดข้ึนของสิ่งแวดล้อมซ่ึงแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนเอง ตามธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มทม่ี นษุ ยส์ ร้างขึน้ ดงั น้ี 2.1 ส่งิ แวดล้อมท่เี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ (Natural environment) สิ่งแวดล้อมประเภทนี้เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมท่ีมีชีวิต หรือ “ชวี ภาพ” และสิง่ แวดล้อมที่ไมม่ ชี วี ติ หรอื “กายภาพ” ดงั นี้ 2.1.1 ส่ิงแวดล้อมท่ีมีชีวิต หรือ “ชีวภาพ” (Biotic environment) เป็นสิ่งแวดล้อมที่ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีชีวิต เรียกอีกอย่างหน่ึงว่าสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นชีวภาพ ได้แก่ พืช สัตว์ มนุษย์ และส่ิงมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น จุลินทรีย์ แบคทีเรีย รา ไวรัส เป็นต้น ตัวอย่างสิ่งแวดล้อมทาง ชีวภาพแสดงดงั ภาพที่ 1.1 ก. พืช ข. สัตว์ ภาพท่ี 1.1 สิ่งแวดลอ้ มทางชวี ภาพ

5 2.1.2 ส่ิงแวดล้อมท่ีไม่มีชีวิต หรือ “กายภาพ” (Abiotic environment) เป็น ส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและไม่มีชีวิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นกายภาพ ไดแ้ ก่ นา้ ดิน หนิ แร่ธาตุ แสงแดด อณุ หภูมิ ความชื้น กระแสลม เป็นต้น 2.2 ส่ิงแวดล้อมที่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ (Man-made environment) เป็นสิ่งแวดล้อมท่ีไม่ได้เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ แต่มนุษย์เป็นผู้สร้างข้ึนมา ได้จาก ทรัพยากรด้ังเดิม แล้วมนุษย์เป็นผู้ดัดแปลงให้อยู่ในรูปท่ีสนองความต้องการของมนุษย์ได้ดีขึ้น ประกอบด้วย ส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นรูปธรรม หรือ “กายภาพ” และสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นนามธรรม หรือ “สังคม” 2.2.1 ส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นรูปธรรม หรือ “กายภาพ” (Physical environment) เป็น ส่ิงแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึน มีรูปทรง มีลักษณะทางกายภาพและมองเห็นได้ด้วยตา สัมผัสจับต้องได้ ได้แก่ ถนน ตึก อาคาร บ้านเรือน เรือ รถยนต์ เข่ือน ห้างสรรพสินค้า โรงเรียน ตลาด วัด สมุด คอมพวิ เตอร์ เป็นตน้ แสดงตวั อย่างดงั ภาพท่ี 1.2 ก. อาคารเรียน ข. รถยนต์ ภาพที่ 1.2 ส่ิงแวดล้อมท่เี ป็นรูปธรรม 2.2.2 สิ่งแวดล้อมท่ีเป็นนามธรรม หรือ “สังคม” (Anstract environment หรือ Social environment) เป็นส่ิงที่มนุษย์สร้างข้ึนในสังคม เพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม หรือเป็นส่ิงแวดล้อมท่ีแสดงถึงพฤติกรรมที่แสดงออกมา เช่น ความเช่ือ กฎหมาย ศาสนา การเมือง วัฒนธรรม ประเพณี เป็นต้น ดังเช่น ในจังหวัดอุดรธานีจะมีประเพณีราบวงสรวงกรมหลวงประจักษ์ ศิลปาคม ซ่งึ ท่านเปน็ ผูท้ รงกอ่ ตงั้ เมืองอดุ รธานี ซึ่งรูปป้ันท่านกรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมเป็นท่ีเคารพ บชู าและนบั ถือของชาวอดุ รธานีมาช้านาน ประเพณนี ี้แสดงดังภาพที่ 1.3

6 ภาพที่ 1.3 ประเพณีราบวงสรวงกรมหลวงประจกั ษ์ศิลปาคม จงั หวดั อดุ รธานี จากคาอธิบายประเภทของส่ิงแวดล้อมข้างต้น สามารถนามาแสดงเป็นแผนภาพสรุป ประเภทของสิง่ แวดลอ้ มไดด้ งั ภาพที่ 1.4 ประเภทของสง่ิ แวดลอ้ ม สง่ิ แวดลอ้ มที่เกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ มท่ีมนษุ ย์สร้างขนึ้ (Natural environment) (Man-made environment) สง่ิ แวดล้อมทีม่ ี สิง่ แวดลอ้ มที่ไมม่ ี สงิ่ แวดลอ้ มทีเ่ ปน็ ส่งิ แวดลอ้ มทเ่ี ปน็ ชวี ติ หรือชีวภาพ ชีวิต หรือกายภาพ รูปธรรม หรือ นามธรรม หรอื สังคม (Abstract /Social (Biotic (Abiotic กายภาพ environment) environment) (Physical environment) environment) ภาพที่ 1.4 ประเภทของส่ิงแวดลอ้ ม

7 3. สมบัติเฉพาะตัวของส่ิงแวดล้อม สมบตั เิ ฉพาะตัว หมายถึง โครงสรา้ งหรือลักษณะท่ีมีอยู่ในส่งิ แวดล้อม ซ่ึงมีการแสดงออกของ บทบาทหน้าที่ของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมย่อมมีสมบัติเฉพาะตัว การเข้าใจสมบัติเฉพาะตัวของ ส่ิงแวดล้อม เป็นสิ่งสาคัญในการที่จะทาให้สิ่งแวดล้อมย่ังยืน (Sustainable environment) เกิดการ คงการมีบทบาทหน้าท่ีของส่ิงแวดล้อมนั้นอย่างสม่าเสมอและตลอดไป ดังนั้นการเข้าใจและเรียนรู้ สมบตั เิ ฉพาะตวั ของสิ่งแวดลอ้ มจึงเป็นสงิ่ ทจ่ี าเปน็ สมบตั เิ ฉพาะตวั ของสิ่งแวดลอ้ มมีดงั นี้ 3.1 ส่ิงแวดล้อมมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวใน ด้านโครงสร้างหรือองค์ประกอบ เช่น รูปทรง ขนาด สี หรือกระบวนการท่ีสร้างส่ิงแวดล้อมนั้น เอกลักษณ์ที่แสดงออกมาน้ัน สามารถบ่งบอกได้ว่าส่ิงแวดล้อมนั้นเป็นอะไร เช่น ป่าไม้ ดิน น้า สัตว์ วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม เป็นต้น ยกตัวอย่างเอกลักษณ์เฉพาะตัวของสิ่งแวดล้อม เช่น ช้าง มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวคือ “มงี วง มงี า” ซ่ึงเป็นลกั ษณะทีแ่ ตกต่างจากส่ิงมีชวี ิตอน่ื ๆ เปน็ ตน้ ดังภาพที่ 1.5 ป่าเบญจพรรณมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวคือ เป็นป่าไม้ท่ีประกอบด้วยไม้เด่น 5 ชนิด ได้แก่ มะคา่ แดง ประดู่ ชิงชนั และสกั ภาพที่ 1.5 เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของช้าง ทม่ี า : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0% B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0% B8%87#mediaviewer/File:Olifant_2.JPG, 2556 3.2 ส่ิงแวดล้อมไม่อยู่โดดเด่ียวในธรรมชาติ แต่จะมีสิ่งแวดล้อมอื่นอยู่ด้วยเสมอ การท่ี สงิ่ แวดลอ้ มไม่อยู่โดดเดี่ยว หมายความวา่ แต่ละสงิ่ ตา่ งมีบทบาทและหนา้ ที่ของตนเอง การอยู่โดดเดี่ยว ของส่ิงแวดล้อมไม่สามารถทาให้ส่ิงแวดล้อมน้ันๆ ดารงอยู่ได้ เช่น ปลากับน้า ต้นไม้กับดิน มนุษย์กับ บ้านเรือน สัตว์ป่ากับป่าไม้ ปูแสมกับป่าชายเลน ปลาตีนกับป่าชายเลน ถนนกับรถยนต์ เรือกับน้า เป็นตน้ ดังตัวอยา่ งแสดงในภาพท่ี 1.6

8 ภาพท่ี 1.6 ปลากบั นา้ ทมี่ า : http://ปลา-ทอง.blogspot.com /2012/09/blog-post_26.html, 2556 3.3 สิ่งแวดล้อมมีความต้องการส่ิงแวดล้อมอ่ืนเสมอ สิ่งแวดล้อมแต่ละประเภทจะมีความ ตอ้ งการสิง่ แวดล้อมอ่ืนเสมอเพื่อความอยู่รอดและรักษาสถานภาพตนเอง เช่น ต้นไม้ต้องการดิน ธาตุ อาหาร น้า คนต้องการอากาศในการหายใจ คนต้องการอาหาร น้า และปัจจัย 4 ในการดารงชีวิต เป็นตน้ 3.4 สงิ่ แวดล้อมอยู่รวมกนั เปน็ กลมุ่ เรยี กว่าระบบนิเวศ ภายในระบบนเิ วศจะมอี งค์ประกอบ หลากหลายชนดิ แต่ละชนดิ จะมีบทบาทและหน้าที่เฉพาะของมันเอง แต่มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์ กนั เชน่ ระบบนิเวศปา่ ไม้ จะมอี งค์ประกอบท่ีเป็นส่ิงแวดล้อมทั้งส่ิงมีชีวิตและไม่มีชีวิต ซึ่งส่ิงแวดล้อม ที่เป็นสง่ิ มชี วี ิตในระบบนิเวศป่าไม้ ได้แก่ พืช สตั วช์ นดิ ต่างๆ และจุลินทรีย์ที่อยู่ในดิน ส่วนส่ิงแวดล้อม ทไี่ ม่มชี วี ติ ไดแ้ ก่ ดิน ความชื้น แสงแดด กระแสลม เป็นต้น ซึ่งส่ิงแวดล้อมดังกล่าวก็จะมีบทบาทและ หน้าที่เฉพาะของมันเอง เช่น พืชมีบทบาทเป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศซ่ึงมีหน้าที่สร้างอาหารให้ตัวเอง และใหผ้ บู้ รโิ ภคตอ่ ไป 3.5 ส่ิงแวดล้อมมีการเกี่ยวโยงกันอย่างเป็นระบบและมีความสัมพันธ์ต่อกันเป็นลูกโซ่ การเปลยี่ นแปลงส่ิงแวดล้อมหน่ึง ไม่ว่าจะเป็นการเปล่ียนแปลงสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อยหรือเป็นการ เปล่ยี นแปลงอย่างมาก ย่อมส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมอ่ืนๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เป็นลูกโซ่ไปเร่ือยๆ ตวั อย่างเชน่ การตดั ไมท้ าลายปา่ ของมนษุ ย์ ย่อมส่งผลกระทบถงึ ความอุดมสมบรู ณข์ องแหล่งน้า การทงิ้ ขยะและส่งิ ปฏิกูลลงแหลง่ นา้ ย่อมส่งผลกระทบถงึ คณุ ภาพของนา้ การใชส้ ารซีเอฟซีทาให้โอโซนในชั้นบรรยากาศถูกทาลาย ส่ิงมีชีวิตในโลกได้รับอันตราย จากรงั สียูวี ทาให้มนษุ ย์เป็นมะเร็ง และโลกร้อนขึน้ มนุษย์ต้องการข้าวเพ่ือบริโภค ข้าวต้องการธาตุอาหารในดิน ดินต้องการน้าเพื่อละลาย ธาตุอาหารในดิน รากพืชก็จะดูดซับธาตุอาหารในดินไปใช้ในการเจริญเติบโตของพืชต่อไป ซ่ึงถ้าหาก ขาดน้าพืชกไ็ ม่สามารถเจรญิ เติบโตได้ 3.6 ส่ิงแวดล้อมแต่ละประเภทจะมีความทนทานและความเปราะบางต่อการถูกกระทบ แตกต่างกัน ปัจจัยท่ีควบคุมความทนทานหรือความเปราะบางของส่ิงแวดล้อม ได้แก่ คุณลักษณะ เฉพาะตัว แหลง่ กาเนดิ ขนาด รูปทรง สี อายุ ความสามารถในการป้องกันตนเอง ฯลฯ ปัจจัยควบคุม

9 เหล่าน้ีทาให้ส่ิงแวดลอ้ มมกี ารเปลี่ยนแปลงไดย้ ากง่ายแตกต่างกันออกไป สิ่งแวดล้อมที่มีความทนทาน สงู ย่อมมีการเปลย่ี นแปลงหรือถูกทาลายไดย้ าก สิ่งแวดลอ้ มทมี่ ีความเปราะบางยอ่ มมกี ารเปลี่ยนแปลง หรือถูกทาลายได้งา่ ย ตวั อย่างของสงิ่ แวดลอ้ มแต่ละประเภทจะมคี วามทนทานและความเปราะบางต่อ การถูกกระทบแตกต่างกัน เช่น บ้านที่สร้างด้วยอิฐด้วยปูนจะมีความทนทานมากกว่าบ้านที่สร้างด้วย ไม้เม่ือเกิดพายุรุนแรง แก้วน้าท่ีทาจากซิลิกาท่ีอยู่ในทรายจะมีความเปราะบางมากกว่าแก้วน้าท่ีทา จากโลหะ เป็นตน้ 3.7 ส่ิงแวดล้อมมีการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลา อาจเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบถาวรหรือ ช่ัวคราวก็ได้ ส่ิงแวดล้อมโดยท่ัวไปจะมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลาท้ังในด้านปริมาณและ คุณลักษณะ ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงน้ันอาจเกิดข้ึนอย่างช้าๆ หรืออย่างรวดเร็วก็ได้ อาจเป็นการ เปล่ียนแปลงไปตามธรรมชาติของสิ่งแวดล้อมนั้น หรือเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนเน่ืองจาก สิ่งแวดล้อมอ่ืนๆ เช่น มนุษย์ สัตว์ และพืช ย่อมเจริญเติบโตและขยายพันธ์ุไปตามธรรมชาติ น้าและ อากาศอาจมีสภาพเสอื่ มโทรมลงจากการกระทาของมนุษย์เมื่อเวลาเปลย่ี นแปลงไป 4. มิติทางส่งิ แวดล้อม (Environmental dimensions) สง่ิ แวดล้อมต่างๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบส่งผลซ่ึงกันและกัน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ คุณภาพของสงิ่ แวดล้อมมีหลายปัจจัยหรือหลายมิติที่ควรพิจารณา การมองสิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติเป็น สิ่งสาคัญอย่างมาก เนอ่ื งจากสง่ิ แวดลอ้ มมที ั้งโครงสร้าง บทบาท และหน้าที่ท่ีแตกต่างกันไป ดังนั้นมิติ ด้านส่ิงแวดล้อมคือการมองสิ่งแวดล้อมตามบทบาทและหน้าท่ี การมองสิ่งแวดล้อมเป็นมิติจะทาให้ ง่ายต่อการนาผลการศึกษามาประยุกต์ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมท่ีมีประสิทธิภาพและการวางแผน มองเห็นเป็นรูปธรรมได้ง่ายข้ึน ซ่ึงส่ิงแวดล้อมในโลกนี้ได้แบ่งเป็นมิติส่ิงแวดล้อมโดยใช้บทบาทหน้าท่ี เป็นเกณฑ์ได้เป็น 4 มิติ คือ มิติทรัพยากร มิติเทคโนโลยี มิติของเสียและมลพิษ และมิติมนุษย์/ เศรษฐสงั คม มรี ายละเอียด ดงั นี้ 4.1 มิติทางทรัพยากร มิติทางทรัพยากร คือ โครงสร้างส่ิงแวดล้อมที่แสดงบทบาทหน้าที่เป็นทรัพยากร ประกอบด้วย ทรัพยากรที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษย์สร้างข้ึน เป็นมิติที่สาคัญ อย่างยิ่ง เพราะมีบทบาทต่อมนุษย์ในการเอ้ือให้ปัจจัยด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เครือ่ งนุ่งหม่ ใหค้ วามปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ให้พลังงาน และให้ความสะดวกสบาย ส่ิงเหล่าน้ี เป็นส่ิงท่ีมนุษย์สามารถบริโภคโดยตรงและทางอ้อม สามารถสัมผัสด้วยอวัยวะทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ล้ิน และผิวกาย ทาให้มนุษย์มีชีวิตอยู่อย่างมีความผาสุก อย่างไรก็ตามทรัพยากรท่ีสาคัญและเป็น พ้ืนฐานทางด้านสิ่งแวดล้อมท่ีจะอยู่ในสมดุลหรือไม่นั้น ทรัพยากรจะเป็นตัวกาหนดบทบาทท้ังระบบ นิเวศและสง่ิ แวดลอ้ ม (เกษม จนั ทร์แก้ว, 2544 : 8) มติ ทิ างทรพั ยากร แบง่ ได้ 2 ประเภท ดังนี้

10 4.1.1 ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองหรือมีอยู่เองตามธรรมชาติ และให้ ประโยชนต์ ่อมนุษย์ไมท่ างใดกท็ างหนึ่ง แบ่งเป็น 3 กล่มุ คือ 1) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดส้ิน (Non – exhausting natural resources) เปน็ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ม่ี ีความจาเป็นตอ่ มนษุ ย์ บางชนดิ หากมนุษย์ไม่ได้รับแม้ในระยะ เวลาส้ันก็อาจทาให้ถึงแก่ชีวิตได้ แต่บางชนิดก็อาจขาดได้เป็นเวลานาน ได้แก่ น้าในวัฎจักร อากาศ พลังงานแสงอาทิตย์ กระแสลม ความชนื้ เป็นตน้ 2) ทรัพยากรธรรมชาติท่ีทดแทนได้ (Renewable natural resources) เป็น ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมนุษย์นามาใช้แล้วสามารถเกิดทดแทนขึ้นได้ ซ่ึงการทดแทนน้ันอาจใช้เวลาส้ัน หรือยาวนานกไ็ ด้ เชน่ น้าในแหล่งนา้ ธรรมชาติ ดนิ ป่าไม้ สตั วป์ ่า 3) ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วหมดสิ้นไป (Exhausting natural resources) เป็นทรัพยากรที่เมื่อมีการใช้แล้วหมดไป ไม่สามารถทดแทนได้ เป็นทรัพยากรสิ้นเปลือง เช่น น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ถา่ นหนิ แร่ 4.1.2 ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างข้ึน เป็นทรัพยากรท่ีไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มนุษย์มีการดัดแปลงและสร้างขึ้นมาเกี่ยวข้องกับการอุปโภคบริโภคของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทรัพยากรชีวกายภาพ เป็นกลุ่มทรัพยากรท่ีมนุษย์ได้นามาใช้เป็นวัตถุดิบ ผ่านกระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยี จนได้ผลผลิตท่ีเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น การเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม การคมนาคมขนสง่ การสอ่ื สาร ประปา การใชท้ ดี่ นิ 2) ทรัพยากรคุณภาพชีวิตหรือทรัพยากรสังคม เป็นทรัพยากรที่ทาให้คุณภาพ ชีวิตของมนุษย์ดีข้ึน ได้แก่ การอนามัยสาธารณสุข การศึกษา เศรษฐกิจ ศาสนา ศาสนาสถาน นนั ทนาการ ฯลฯ 4.2 มติ ทิ างเทคโนโลยี เทคโนโลยี หมายถึง การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เทคโนโลยีน้ันเปรียบเสมือนศิลปวิทยาการในการนาความรู้ท่ีได้ค้นพบทาง วิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ ที่สาคัญยิ่งก็คือ มิติเทคโนโลยีนั้นมีบทบาท และ ความสาคัญต่อการใช้ทรัพยากรอย่างมาก เพราะมนุษย์จาเป็นต้องนาทรัพยากรมาใช้สนองความ ต้องการตนเอง โดยนาเทคโนโลยีหลากหลายรูปแบบมาใช้ประกอบ การนาเทคโนโลยีท่ีไม่เหมาะสม หรือไม่ถูกต้องตามหลักการมาใช้ จะก่อให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อมตามมา ดังน้ันเทคโนโลยีจึงเป็นมิติที่ สาคัญของงานทางส่ิงแวดล้อมที่ตอ้ งระมดั ระวังอยา่ งยง่ิ ความผิดพลาดของการนาเทคโนโลยีมาใช้อาจ ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดลอ้ มไม่มากกน็ อ้ ยอยา่ งหลกี เล่ยี งไมไ่ ด้ (เกษม จนั ทรแ์ กว้ , 2544 : 11)

11 เทคโนโลยีประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอร์ฟแวร์ (Solfware) ซ่ึงฮาร์ดแวร์หรือฮาร์ดเทคโนโลยี หมายถึง เครื่องมือและอุปกรณ์ตลอดจนวัสดุ สิ่งประดษิ ฐ์ทั้งหลายที่มนษุ ย์ไดส้ ร้างขึ้นอย่างสลบั ซับซ้อน ซ่ึงสามารถนาไปใช้ในการแปรรูปทรัพยากร ได้ ส่วนซอร์ฟแวร์หรือซอร์ฟเทคโนโลยี หมายถึง หลักการ ทฤษฎี และข้อเท็จจริง ที่นาไปสู่การ ปฏิบัติเพ่ือสรา้ งฮาร์ดแวร์ เปน็ สว่ นทีก่ อ่ ให้เกิดเทคโนโลยีตา่ งๆ ข้ึนมา รปู แบบของเทคโนโลยีน้ัน มี 3 รปู แบบคือ 4.2.1 เคร่อื งจกั รกล เป็นเครื่องมือและอุปกรณ์ที่สร้างพลังงานและให้งานเกิดขึ้น ได้แก่ เคร่ืองจักรกลธรรมชาติ เช่น การบาบัดน้าเสียด้วยพืชน้า พืชริมตล่ิงช่วยลดการพังทลายของดิน เคร่ืองจักรกลชาวบ้าน เช่น ครก รถไถนา การผันน้า เครื่องยนต์ เช่น เทคโนโลยีการคมนาคม การ ถลุงแร่ และเครื่องอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เชน่ อปุ กรณเ์ ครื่องใช้ไฟฟา้ คอมพิวเตอร์ 4.2.2 แบบผลิตภัณฑ์ เป็นเทคโนโลยีที่สามารถใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาสภาพ เศรษฐกิจ สังคม สามารถซ้ือขายได้ ตัวอย่างแบบผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แบบหล่อ เช่น หลอดไฟ แบบ ขนมปัง แบบทาบ เช่น รูปแบบเส้ือผ้า แบบพิมพ์ เช่น แบบพิมพ์หนังสือ แบบพิมพ์ภาพ และแบบ โครง สร้างเหมือน เชน่ แบบบ้าน แบบสินค้า 4.2.3 กระบวนการผลิต เปน็ เทคโนโลยที ี่ผู้สร้างจะสร้างข้ันตอนและสัดส่วนทรัพยากรที่ ใช้ รวมทั้งวิธีการผลิตและวิธีทาท่ีชัดเจน ตัวอย่างเทคโนโลยีกระบวนการผลิต เช่น กระบวนการผลิต ยา อาหาร งานทางวิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมและการปกครอง 4.3 มติ ทิ างของเสียและมลพษิ เมื่อมีการใช้ทรัพยากรด้วยเทคโนโลยีใดๆ ก็ตาม ส่ิงที่ตามมาคือ การเกิดของเสียและ มลพษิ มติ ิทางด้านของเสยี และมลพษิ เป็นมิติท่ีแสดงใหเ้ ห็นผลของการใช้ทรัพยากรซึ่งเกิดจากการนา เทคโนโลยีมาใชไ้ มว่ า่ จะผิดพลาดหรอื เหมาะสมก็ตาม ท้งั ปริมาณและคุณภาพของของเสียและมลพิษท่ี เกิดขน้ึ จะถกู ใช้เป็นตวั ดชั นีชว้ี ัด ของเสีย หมายถึง ขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล น้าเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือวัตถุอันตราย อ่ืนใด ซ่ึงปล่อยท้ิงหรือมีท่ีมาจากแหล่งกาเนิดมลพิษ รวมท้ังการตกตะกอน หรือสิ่งตกค้างจาก สิ่งเหล่านั้น ท่ีอยู่ในรูปของแข็ง ของเหลว ก๊าซ หรือสมบัติทางฟิสิกส์หรือกายภาพ เมื่อของเสียอยู่ใน สิ่งแวดล้อมในปริมาณมากจะก่อให้เกิด มลพิษส่ิงแวดล้อมขึ้น จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของ ส่งิ มชี วี ติ ท้งั มนุษย์ สตั ว์ และพชื ซงึ่ ของเสียและมลพษิ ประกอบด้วย 4.3.1 ของเสยี และมลพิษที่เป็นของแข็ง เกิดจากเศษเหลือใช้ หรือกากของเสีย เช่น ขยะ มูลฝอย กากสารพษิ 4.3.2 ของเสียและมลพิษที่เป็นของเหลว เป็นสารพษิ ทอ่ี ยใู่ นสถานะของเหลว เช่น น้ามัน เคลือบผิวน้าทาให้พชื นา้ ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้

12 4.3.3 ของเสียและมลพิษท่ีเป็นก๊าซ มีผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งมีชีวิต เช่น ก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน ไอระเหย 4.3.4 ของเสียและมลพษิ ที่มีสมบัติทางฟิสิกส์หรือกายภาพ ส่วนใหญ่จะสัมผัสได้โดยตรง เช่น เสียงรบกวน กัมมนั ตรังสี รงั สีความรอ้ น 4.4 มิตมิ นษุ ย/์ เศรษฐสงั คม มิติมนุษย์/เศรษฐสังคม เป็นมิติท่ีเก่ียวข้องกับสังคมมนุษย์ท่ีสร้างพฤติกรรมต่อ สิ่งแวดล้อม มิติมนุษย์เป็นมิติที่มีความสาคัญมากในการที่จะก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรซึ่งก่อให้เกิด ของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามมา มิติเศรษฐสังคมเป็นสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม ที่เป็น องค์ประกอบหนึ่งภายในระบบสิ่งแวดล้อม สาหรับมิติมนุษย์/เศรษฐสังคม ประกอบด้วย ประชากร การศึกษา การอนามัยและสาธารณสุข เศรษฐกจิ โบราณสถานและศาสนา ความปลอดภัย การเมือง การปกครอง และการนันทนาการ 4.4.1 ประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรทั้งการเกิด การตาย การย้ายถ่ิน รวมทั้ง คุณภาพของประชากรมผี ลตอ่ การอนุรกั ษ์และการใชท้ รัพยากร 4.4.2 การศกึ ษา เป็นปัจจยั หนึง่ ทส่ี ่งผลตอ่ คณุ ภาพประชากรในการท่ีจะช่วยกันอนุรักษ์ ส่งิ แวดลอ้ ม 4.4.3 การอนามัยและสาธารณสุข มนุษย์ถ้ามีสุขภาพอนามัยดี ก็จะมีศักยภาพในการที่ จะทาหนา้ ท่ีในสงั คม จึงเปน็ ตวั ควบคมุ ทรัพยากรทง้ั ทางตรงและทางอ้อม 4.4.4 เศรษฐกจิ ชีวติ ความเปน็ อยู่ อาชพี เงินออม แผนการพัฒนาเศรษฐกิจ เป็นปัจจัย ทม่ี ีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางสง่ิ แวดลอ้ ม 4.4.5 โบราณสถาน และศาสนา เป็นส่วนสาคัญในการขัดเกลาให้มนุษย์นึกถึง สง่ิ แวดลอ้ มและไม่กล้าทาลายสิ่งแวดล้อม 4.4.6 ความปลอดภัย ความปลอดภัยของมนุษย์เป็นตัวดัชนีสาคัญในการทาหน้าท่ีของ มนุษย์ ความรู้สึกไม่ปลอดภัยทาให้มนุษย์แสดงบทบาทของตนเองได้ไม่เต็มที่ย่อมก่อให้เกิดปัญหา ส่ิงแวดล้อมตามมา จานวนอาชญากรรมหรือจานวนครั้งของภัยพิบัติต่างๆ มีผลต่อการปฏิบัติต่อ สิ่งแวดลอ้ มของมนุษย์ 4.4.7 การเมืองการปกครอง การได้มาซึ่งอานาจในการควบคุมทรัพยากรมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงทรัพยากร ระบบการปกครองมสี ว่ นต่อการอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม ซึง่ การอนุรักษ์ส่งแวดล้อม ตอ้ งการความหลากหลายทางความคดิ และแนวปฏิบตั ิ หากการเมืองการปกครองที่ไม่เอื้อต่อส่ิงเหล่าน้ี ยอ่ มมีผลต่อปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มตามมา 4.4.8 การนันทนาการ เป็นการสร้างพลังให้มนุษย์หายเครียด มีความคิดแจ่มใสด้าน การอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม และมีผลตอ่ เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงสง่ิ แวดล้อมในมุมกวา้ ง

13 จากมติ ิทางส่ิงแวดลอ้ มท่ีกล่าวมาท้ังหมด สามารถสรปุ เปน็ แผนภาพไดด้ งั ภาพที่ 1.4 มิติทางส่งิ แวดล้อม มิตทิ างทรัพยากร มิตทิ างเทคโนโลยี มติ ิทางของเสยี มติ ิมนุษย์/ และมลพิษ เศรษฐสงั คม - ทรพั ยากรธรรมชาติ - ฮาร์ดแวร์ - ของแขง็ - ประชากร - ทรัพยากรที่มนุษย์ (Hardware) - ของเหลว - การศกึ ษา สร้างข้นึ - ซอร์ฟแวร์ - ก๊าซ - การอนามยั และ (Solfware) - ฟิสกิ ส์ สาธารณสขุ หรือกายภาพ - เศรษฐกจิ - โบราณสถาน และศาสนา - ความปลอดภัย - การเมืองการ ปกครอง - การนนั ทนาการ ภาพท่ี 1.4 มิตทิ างสิ่งแวดล้อม 5. จรยิ ธรรมทางสิง่ แวดล้อม (Environmental ethic) ปัจจุบันปัญหาส่ิงแวดล้อมถือได้ว่าเป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนในระดับชุมชน จังหวัด ประเทศ หรือ ระดับโลก ซ่ึงปัญหาสิ่งแวดล้อมน้ันมิใช่ปัญหาเฉพาะสังคมใดสังคมหน่ึงหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่ เป็นปัญหาของคนทุกคนที่ต้องร่วมกันแก้ไข เพราะคนท่ีได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาส่ิงแวดล้อมก็ คอื มนุษย์ทกุ คนที่อยู่ในโลกนี้ และอาจกล่าวได้ว่าส่วนหน่ึงท่ีทาให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมข้ึนก็จากฝีมือ มนุษย์นั่นเอง หากเราไม่อยากให้ความเดือดร้อนจากปัญหาสิ่งแวดล้อมเกิดข้ึนแก่ตัวเราเองและผู้อ่ืน รวมถงึ สงิ่ มีชวี ติ อน่ื ๆ ท่ีร่วมโลกกบั เรา จาเปน็ ทเ่ี ราจะตอ้ งปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรมและสร้างจิตสานึก

14 ในดา้ นส่งิ แวดล้อมให้กับคนทุกคนในสังคม โดยการนาคุณธรรมจริยธรรมมาใช้ในการประพฤติปฏิบัติ เพ่อื ให้สงิ่ แวดล้อมอยู่กบั เราอย่างย่งั ยืนตราบนานเทา่ นาน จริยธรรม (Ethics) คือ ความประพฤติที่เป็นธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตัวเอง ก่อให้เกิด ความสงบเรียบร้อยในสังคม รวมสรุปว่าคือ ข้อควรประพฤติปฏิบัติ หรืออาจกล่าวได้ว่า “จริยธรรม ทางส่ิงแวดล้อม” หมายถึง การนาเอาความรู้ในความจริงหรือกฎธรรมชาติมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อ การดาเนนิ ชวี ติ ที่ดงี าม ซ่งึ จะกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม คุณธรรม (Moral/Virtue) คอื คณุ งามความดีท่ีเป็นธรรมชาติ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเอง และสงั คม ซึง่ รวมสรุปวา่ คือ สภาพคุณงามความดี คุณธรรม จริยธรรม มีส่วนท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงและสัมพันธ์กัน คุณธรรมมีความหมายในแง่ คณุ ลกั ษณะหรือสภาวะภายในจิตใจของมนุษย์ที่เป็นไปในทางถูกต้องดีงาม ซึ่งเป็นภาวะนามธรรมอยู่ ในจิตใจ ส่วนจริยธรรมเป็นการแสดงออกทางการประพฤติปฏิบัติซึ่งสะท้อนคุณธรรมภายในให้เห็น เป็นรูปธรรม 5.1 บทบาทของจรยิ ธรรมของมนุษยต์ ่อส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาส่ิงแวดล้อมมีสาเหตุสาคัญมาจากการเพ่ิมประชากรและความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี แตถ่ ้าพิจารณาใหล้ ึกลงไปจะเหน็ ว่า สาเหตทุ ัง้ สองน้มี รี ากฐานมาจากตัวมนุษย์เป็นประการ สาคัญ กล่าวได้ว่าเจตคติ ความเชื่อ และพฤติกรรมของมนุษย์เป็นพื้นฐานของปัญหาส่ิงแวดล้อม ดังน้ันบทบาทของมนุษย์ต่อส่ิงแวดล้อมจึงอยู่ท่ีการเปล่ียนแปลงความเช่ือ เจตคติ และพฤติกรรมที่ ไม่พึงปรารถนา ด้วยการปลูกฝังจริยธรรมสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์ทุกคน ดังนั้นบทบาท ของมนษุ ย์จงึ ไม่ไดอ้ ยเู่ พียงแต่จะตอ้ งรับผดิ ชอบต่อบุคคลและต่อสังคมท่ีอาศัยอยู่ แต่ยังต้องรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ด้วย เพราะส่ิงแวดล้อมเป็นแหล่งกาเนิดและสาคัญต่อการ ดารงชวี ติ ของมนุษย์ ทรัพยากรทุกชนดิ ไมว่ ่าจะเปน็ พืช สัตว์ และสิง่ ต่างๆ บนพ้ืนโลกใบนี้จึงควรมีสิทธิ ท่ีจะดารงอยู่ตลอดไปตามครรลองแห่งธรรมชาติ ดังน้ันมนุษย์จะต้องเปล่ียนบทบาทของตนจากผู้มี อานาจเหนือสิ่งแวดล้อมท้ังหลายมาเป็นผู้ท่ีรับภาระในการพิทักษ์ส่ิงแวดล้อม ด้วยการให้ความรักต่อ ส่ิงแวดล้อม รวมท้ังการดารงชีวิตอยู่และใช้สิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรมหรือมีจริยธรรมส่ิงแวดล้อม นั่นเอง ความสาคัญของจริยธรรมที่มีต่อชีวิต ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ได้แก่ เป็นเคร่ือง อบรมให้มนุษย์ไม่มีความโลภ เป็นเครื่องควบคุมสังคม รวมทั้งช่วยให้ระบบนิเวศไม่ถูกทาลาย แนวทางการสร้างจริยธรรมทางส่ิงแวดล้อม ได้แก่ การอบรมส่ังสอนให้เห็นความสาคัญของ ส่ิงแวดล้อม และการปลูกฝงั ความร้สู กึ เปน็ เจ้าของร่วมกนั

15 5.2 พุทธจริยธรรมเพือ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ทางพระพุทธศาสนาเชื่อว่า ศีลธรรมของมนุษย์สามารถส่งผลกระทบไปถึงสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาตไิ ด้ เนอื่ งจากในทศั นะของพระพุทธศาสนา สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติไม่ได้เป็น ส่ิงที่แยกขาดจากการกระทาของมนุษย์ มนุษย์จะเพิกเฉยต่อผลกระทบส่ิงแวดล้อม อันเน่ืองมาจาก การกระทาของมนุษย์ไม่ได้ หลักธรรมทางศาสนาสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ยกตัวอยา่ งไดด้ งั นี้ 5.2.1 หลักการทากุศลกรรมที่มีอานิสงส์มาก “ชนเหล่าใดสร้างอาราม คือสวนดอกไม้ สวนผลไม้ ปลูกหมไู่ ม้เพ่อื ให้รม่ เงา สรา้ งสะพาน และชนเหล่าใดให้โรงน้าดื่มเป็นทาน บ่อน้า บ้านเป็น ที่พักอาศัย ชนเหล่าน้ันย่อมมีบุญเจริญในกาลทุกเม่ือทั้งกลางวันและกลางคืน ชนเหล่าน้ันต้ังอยู่ใน ธรรม สมบรู ณ์ด้วยศีล เปน็ ผู้ไปสวรรค์” 5.2.2 หลักศีล 5 ของพระพุทธศาสนา ข้อท่ี 1 “ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ าม”ิ คือ “เวน้ จากการทาลายชีวิต” และหลกั “หิรโิ อตตปั ปะ” หลกั ศีล 5 เป็นหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาที่ปลูกฝงั มาต้ังแต่วัยเด็ก ศีลข้อแรก “ปาณาตปิ าตา เวรมณี” มิไดห้ มายถึงการไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึง การไม่เบียดเบียนผู้อ่ืนและสัตว์น้อยใหญ่ด้วย ฉะนั้น กล่าวได้ว่า การทาลายสิ่งแวดล้อมย่อมเป็นการ ละเมดิ ศลี ขอ้ นี้อย่างจงใจ เพราะถือเป็นการเบยี ดเบยี นและสร้างความเดือดรอ้ นให้แก่ผู้อื่น ยกตัวอย่าง เช่น หากเราทาลายทรัพยากรน้า ไม่ว่าจะเป็นการก่อมลพิษลงในแหล่งน้าหรือใช้น้าอย่างไม่รู้คุณค่า ย่อมทาลายแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า ณ ที่นั้น สัตว์น้าต่างๆ ล้มตายเน่ืองจากสภาวะแวดล้อมเป็น พิษ และอาจยังมกี ารเบยี ดเบียนผู้ใช้น้าเพ่อื การอปุ โภคบริโภคท่ีอยู่ปลายสายของน้าด้วย หากมลพิษที่ เราก่อนั้นเกดิ ณ ต้นสายของนา้ จึงถอื ไดว้ ่าเป็นการสร้างบาป ผิดศีลขอ้ ที่ 1 ได้เชน่ กัน อยา่ งไรกต็ าม การตระหนักรู้ถึงความผิด ความชั่ว ส่ิงบาปดังท่ียกตัวอย่างข้างต้น ยังไม่เพียงพอ หากแต่ต้อง “ปลุก” ความละอายต่อการกระทาชั่วและเกรงกลัวต่อผลของพฤติกรรม บาปด้วย จึงถือเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน ธรรมะที่คุ้มครองโลก รวมถึงโลกแห่ง ธรรมชาติ ในทนี่ กี้ ็คือ “หิรโิ อตตัปปะ” หิริ หมายถึง ความละอายต่อความชั่ว และโอตตัปปะ หมายถึง ความเกรงกลัวต่อบาปกรรมที่ตนได้กระทา เมื่อมีคุณธรรมทั้ง 2 ประการนี้ย่อมเป็นการเตือนสติมิให้ คนเราละเมิดล่วงเกินศีลและเกิดความระมัดระวังตัวอยู่ทุกเม่ือมิให้ทาลายท รัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม กล่าวคือ คนๆ น้ันจะระลึกได้ว่าผลเสียหรือเคราะห์กรรมท่ีจะตามมาหากเกิดปัญหา สงิ่ แวดล้อมจะเป็นเช่นไร เม่ือไม่เกิดการละเมิดสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมก็ย่อมได้รับการพัฒนาให้ดีข้ึน ได้อยา่ งมน่ั คง (พทิ กั ษ์สนิ สวิ รุจน์, 2554)

16 5.2.3 ความเมตตากรุณาและความเสียสละต่อบุคคลอ่ืน จะทาให้สิ่งแวดล้อมไม่ถูก ทาลาย ถ้าเรามีความกรุณามาก ก็จะไม่เบียดเบียนท้ังส่ิงท่ีมีชีวิตและไม่มีชีวิต พุทธศาสนิกชนที่ดีก็จะ กรุณาตอ่ ทั้งสิ่งมีชีวติ และไมม่ ีชีวิต ปฏิบัตติ ่อคน สตั ว์ สิ่งของดว้ ยความเคารพ 5.2.4 “ความอ่อนโยน” เป็นการอ่อนโยนต่อสรรพส่ิงทั้งส่ิงมีชีวิตและไม่มีชีวิต มีความ เคารพต่อกัน 5.2.5 “อนัตตา” ความไม่มีตัวตนในสิ่งนั้น ความเป็นมนุษย์ไม่ได้อยู่ท่ีหัวหรือมันสมอง หากแตอ่ ยทู่ ่ีใจ ไม่ไดข้ ้ึนกบั ความฉลาดอย่างเดยี ว ไม่สามารถตัดสินด้วยการใช้ปัญญาขบคิดอย่างเดียว หากแต่เป็นการเห็นปัญญาเกิดข้ึนภายใน (Insight) ผ่านการปฏิบัติหรือวิปัสสนา ไม่มีความเห็นแก่ตัว ไม่มีตัวตน มนุษย์ท่ีปราศจากการยึดม่ันในตัวตน จะไม่มีความเห็นแก่ตัว มีความถ่อมตน และปฏิบัติ ต่อคนอ่ืน ปฏิบัติต่อโลกอย่างมีความกรุณาและอ่อนโยน จะไม่มองเห็นทุกอย่างเป็นทรัพยากรท่ีจะ นามาถลงุ ใช้ แต่จะมองสง่ิ นนั้ จริงในคุณค่าและความงามของชวี ติ 5.2.6 “การมีสติอยู่กับตัว” เป็นการรู้เน้ือรู้ตัวในอารมณ์ สติเป็นคุณธรรมหลักของพุทธ ศาสนา ซง่ึ จะมีอิทธิพลตอ่ ความหว่ งหาอาทรคนอนื่ ดว้ ย อนั จะสง่ ผลต่อเราในการปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อม ด้วย เราทุกคนรู้ว่าส่ิงแวดล้อมมีปัญหา เรามีความห่วงใยต่อปัญหา แต่เรากลับไม่ใส่ใจต่อส่ิงแวดล้อม ชัว่ ขณะ ไม่มีสติในทุกขณะของการใช้ชีวิต เราทาลายสิ่งแวดล้อมไปโดยไม่รู้ตัว ดังนั้นเราจึงต้องมีการ ฝึกสตใิ ห้เกิดขึ้นอยเู่ สมอ 5.2.7 ความกตัญญกู ตเวที เชน่ การกตญั ญตู ่อแผน่ ดนิ ทอี่ ยูอ่ าศัย 5.3 จริยธรรมทางส่ิงแวดลอ้ มแบบใหม่ การมองโลกด้วยวิถีทางใหม่เชื่อว่า \"โลกเป็นระบบที่มีชีวิต มนุษย์เราเป็นส่ิงมีชีวิต ที่ไม่ อาจแยกจากธรรมชาติได้มนุษย์เป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ เปน็ สมาชกิ ของประชาคมโลกธรรมชาติ ซ่ึง เต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายที่มีความเชื่อมโยงกัน\" เราเรียกแนวคิดใหม่น้ีว่า \"Sustainable Earth worldview\" โดยในภาษาไทยใช้ศัพท์คาว่า \"โลกธรรมชาติยั่งยืน\" ซึ่งสามารถสรุปสาระได้ 4 หวั ขอ้ คอื 5.3.1 เรียนรู้กฎนิเวศวิทยาอย่างเป็นระบบ เพื่อท่ีจะเข้าใจปรากฏการณ์พ้ืนฐานทาง ธรรมชาตแิ ละให้มีพฤติกรรมสอดคล้องกับกฎธรรมชาติอย่างกลมกลืน อันเป็นเงื่อนไขสาคัญท่ีสุดของ การดารงอยขู่ องธรรมชาตอิ ย่างหลากหลายและมีเสถยี รภาพ กฎนิเวศวิทยาท่ีสาคัญมีดังนี้ 1) ทุกส่ิงทุกอย่างที่มนุษย์เราทาไป ย่อมมีผลกระทบท่ีเราไม่สามารถพยากรณ์ได้ ตอ่ บคุ คล ต่อสงั คม และตอ่ ส่งิ มีชวี ติ ทงั้ หมดในโลกธรรมชาติ 2) มนษุ ย์เปน็ สว่ นหนึ่งของธรรมชาติ สง่ิ มชี ีวิตท้ังหมดเกี่ยวพันกันและอาศัยพึ่งพา ซ่งึ กันและกนั

17 3) ธรรมชาติมีลักษณะยุ่งยากซับซ้อนท่ีสุด โดยท่ีมนุษย์ไม่สามารถเข้าใจได้อย่าง ลกึ ซ้งึ และรอบดา้ น 4) โลกธรรมชาติไม่ได้เป็นของมนุษย์ หากแต่มนุษย์เป็นของธรรมชาติ มนุษย์เป็น เพยี งส่วนเล็กๆ ของสายใยแห่งชวี ิต เปน็ สมาชิกหน่ึงของโลกธรรมชาตินนั่ เอง 5) บทบาทของมนุษย์ คือ มนุษย์ต้องทาความเข้าใจร่วมมือทางานกับธรรมชาติ ไม่ใช่พิชิตธรรมชาติ จะเห็นได้ว่ากฎนิเวศวิทยาทั้ง 5 ข้อน้ี เป็นพ้ืนฐานของการสร้างจริยธรรมทาง สงิ่ แวดล้อมแบบใหม่ ซึง่ จะเปน็ เครอ่ื งช้ีนาใหเ้ รามีวถิ ีชวี ติ ทส่ี อดคล้องกับธรรมชาติ 5.3.2 เคารพสิทธทิ างธรรมชาติของสรรพสิ่งมีชีวิต \"โลกธรรมชาติย่ังยืน\" ให้ความสาคัญ เรื่องสิทธิและหน้าท่ีของบุคคลในสังคม นอกจากนั้นยังขยายขอบเขตของสิทธิมนุษย์ไปสู่ส่ิงมีชีวิต ทั้งหมดดว้ ย หลักการสาคัญเก่ียวกบั สทิ ธิหน้าที่เหล่านี้ คือ 1) ส่ิงมีชีวิตทั้งหลายมีสิทธิท่ีจะมีชีวิตอยู่ หรืออย่างน้อยที่สุดมีสิทธิที่จะต่อสู้เพ่ือ การมชี ีวติ อยดู่ ว้ ยเหตผุ ลง่ายๆ ทวี่ า่ เม่ือเกดิ มาแลว้ ตอ้ งดารงอยู่ตอ่ ไป 2) การกระทาใดๆ ก็ตาม ถ้าทาไปเพื่อรักษาเสถียรภาพ ความย่ังยืน และความ หลากหลายของระบบนิเวศถือได้วา่ เปน็ ส่ิงถูกต้อง แต่ถา้ ทาไปเพ่อื ทาลายถอื วา่ ผดิ 3) มนุษย์ทุกคนที่เกิดมาจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง ในกรณีท่ี ก่อให้เกิดมลพิษ และสร้างความทรุดโทรมให้กับธรรมชาติ การนาของเสียไปทิ้งในธรรมชาตินับเป็น ความผดิ ท่รี า้ ยแรง 4) เราจะต้องมอบโลกธรรมชาติให้เป็นสมบัติของคนรุ่นหลังในสภาพท่ีไม่ทรุด โทรมหรอื ในสภาพที่ดีกว่า คนรนุ่ หลงั ในอนาคตก็มีสทิ ธิทจี่ ะมคี ุณภาพทางสิ่งแวดลอ้ มเทา่ เทียมกัน 5.3.3 รักษ์และอนุรักษ์ธรรมชาติ โลกทัศน์แบบใหม่มีแนวคิดว่า ส่ิงท่ีดีท่ีสุดในชีวิตไม่ใช่ ส่งิ ของหากแตเ่ ปน็ ความรกั ความหว่ งใย ความเมตตา และความสุข จึงยดึ หลักทวี่ ่า 1) การกระทาใดๆ ที่ก่อให้เกิดการสูญพันธุ์ และการทาลายถ่ินฐานของส่ิงมีชีวิต ในธรรมชาตเิ ปน็ ส่ิงท่ผี ิด 2) เราจะต้องให้การคุ้มครองพ้ืนท่ีธรรมชาติ ที่ยังเหลืออยู่ไม่ให้มีการดาเนิน กิจกรรมใดๆ ที่ทาลายธรรมชาติ และจะต้องทาการฟ้ืนฟูระบบธรรมชาติท่ีเสื่อมโทรม ธรรมชาติคือ ถิ่นฐานที่เราเคยเร่มิ ตน้ มา 3) ในการคุ้มครองธรรมชาติ เราจะต้องดาเนินการให้ไปไกลกว่าข้อบังคับทาง กฎหมาย 4) จงให้ความรัก ความห่วงใย ความเอาใจใส่ส่ิงแวดล้อมในชุมชนของเรา และ ดารงชวี ติ อยา่ งสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ

18 5) มีความเมตตาและความรักต่อผู้ยากไร้ และส่ิงแวดล้อมของผู้ยากไร้มากที่สุด เหนอื สงิ่ อื่นใด สนั ตสิ ุขและความยุติธรรมทางส่ิงแวดล้อมไม่อาจมีขึ้นได้ ตราบใดท่ีมวลชนส่วนใหญ่ใน สงั คมยงั ยากไร้อยู่ 6) รักและช่ืนชมธรรมชาติโดยการสัมผัสโดยตรง จะเป็นวิถีทางที่ดีที่สุดในการ สอนใหเ้ ราอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติ 5.3.4 สร้างจริยธรรมทางเศรษฐศาสตรส์ เี ขียว มหี ลกั การทสี่ าคญั คอื 1) ในการสนองความต้องการของมนุษย์เพ่ือการดารงอยู่ ควรท่ีจะต้องมีการใช้ ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งระมดั ระวงั ทส่ี ุด ไม่ให้เกดิ ความเสยี หายอย่างมากหรือรนุ แรง 2) หากต้องมีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ ก็ต้องเปล่ียนแปลงในลักษณะที่ยั่งยืน สอดคลอ้ งกบั วถิ ที างธรรมชาติ 3) ทรพั ยากรมปี ริมาณจากดั จงึ ต้องใช้แบบประหยัดไมล่ า้ งผลาญหรือฟุ่มเฟอื ย 4) ตอ้ งใชท้ รัพยากรธรรมชาตขิ องโลกอย่างเหมาะสมพอดี 5) เปน็ ส่งิ ที่ผดิ ถา้ เรามองว่าคนและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ คือปัจจัยการผลิต ซึ่งวัดค่าด้วย เงนิ ตรา 6) ทุกส่งิ ทเ่ี รามีในระบบเศรษฐกิจมีต้นกาเนิดจากโลกธรรมชาติ และแสงอาทิตย์ ถา้ โลกธรรมชาติลม่ สลายเศรษฐกจิ กพ็ ังไปด้วย 7) อย่ากระทาส่ิงใดท่ีเป็นการทาลายดุลยภาพในโลกธรรมชาติ อันเป็นการ บั่นทอน \"ทุนธรรมชาติ\" ซึ่งเป็นพ้ืนฐานสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ การขาดดุลยภาพทางธรรมชาติ คือ การขาดสมดุลทย่ี ่ิงใหญแ่ ละรา้ ยแรงท่ีสดุ Miller ซึ่งเป็นนักนิเวศวิทยา เขาได้กล่าวถึง หลักการของจริยธรรมทาง สิ่งแวดล้อม กล่าวว่า การท่ีเราจะมีโลกทัศน์แนวโลกธรรมชาติยั่งยืนได้นั้น เราต้องผ่านการยกระดับ \"ความตืน่ ตัวทางส่ิงแวดล้อม\" (Environmental awareness) 4 ระดบั ด้วยกัน คอื ระดับท่ี 1 เราเร่ิมมองเห็นปรากฏการณ์และรับรู้ปัญหา เราเริ่มรู้สึกว่ากาลังมี ปัญหาบางอย่างเกิดขึ้น เช่น ปัญหามลพิษ เราคิดแต่เพียงว่าเม่ือมีปัญหามลพิษ เราต้องเข้าไปแก้ไข โดยการควบคุมหรือแก้ไข แต่ยงั มองไม่เห็นระบบ ระดับที่ 2 เริ่มมองเห็นความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ท่ีเช่ือมโยงกันอย่างเป็น ระบบ เช่น เริ่มรู้สึกว่าปัญหามลพิษ ความเสื่อมโทรมทางส่ิงแวดล้อม และการหมดส้ินของทรัพยากร เป็นเรื่องท่ีเกี่ยวพันกับปัญหาประชากร การพัฒนาอุตสาหกรรม ลัทธิการบริโภคนิยม และความ ยากจนในสงั คม การตนื่ ตัวมากขนึ้ ในระดับนี้เรยี กรอ้ งให้เราแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบเช่นกัน แต่เรายัง มองไมเ่ ห็นว่า ปญั หาส่ิงแวดล้อมเขา้ ไปเกยี่ วข้องกับระบบเศรษฐกจิ การเมอื งได้อย่างไร

19 ระดับที่ 3 การต่ืนตัว ในระดับน้ีจะทาให้เรามองเห็นความเช่ือมโยงทางด้าน สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบมากข้ึน และมีการแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ ในการจัดระบบทางเศรษฐกิจ สังคม เช่น มองหาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจแบบใหม่ ที่เรียกกันว่า \"การพัฒนาแบบยั่งยืน หรือ นิเวศพัฒนา \" ในขณะเดียวกันก็พัฒนาวิธีการจัดการทางสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะสลับซับซ้อนและมี ประสิทธภิ าพย่ิงขึน้ ระดับที่ 4 เป็นการต่ืนตัวในระดับสูงสุด มนุษย์จะต้องนึกถึงหาก \"ความอยู่ รอดของธรรมชาติ\" ไม่ใช่ \"ความอยู่รอดของมนุษย์\" จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อมจะเกิดข้ึนได้ ก็ต่อเม่ือ เรามีความสัมพันธ์กับธรรมชาติ โดยการเห็น การรู้สึกสัมผัส การเข้าใจ ความรักและความห่วงใย ท่ี สาคัญคือ เกิดความศรัทธาโลกทัศน์ใหม่ ซึ่งเป็นวิถีการคิดและความรู้สึกแบบใหม่ อันเกิดจากการ เข้าถึงธรรมชาติ ซ่ึงหมายความว่า วิถีชีวิตแบบใหม่จะต้องมีลักษณะเรียบง่าย ปฏิเสธบริโภคนิยม ไม่ ลุ่มหลงในวตั ถุ และใชช้ วี ิตอย่างมีความหมาย (การพฒั นาทีย่ ่ังยืนและจรยิ ธรรมสิ่งแวดล้อม, 2554) 6. บทสรุป ในบทน้ีทาให้ทราบถึงความหมายของสิ่งแวดล้อม ประเภทของส่ิงแวดล้อมซึ่งแบ่งตาม ลกั ษณะการเกิดข้ึนจะมีทง้ั ส่ิงแวดลอ้ มทีเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตแิ ละมนุษย์สร้างข้ึน มีทั้งสิ่งแวดล้อมที่ มีชีวิตและไม่มีชีวิต มีท้ังส่ิงแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งแวดล้อมแต่ละอย่างย่อมมีสมบัติ เฉพาะตัว อันได้แก่ ส่ิงแวดลอ้ มมเี อกลักษณ์ทีเ่ ดน่ ชัดเฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมไม่อยู่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมมีความต้องการสิ่งแวดล้อมอื่นเสมอ สิ่งแวดล้อมอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเรียกว่าระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมมีการเกี่ยวโยงกันอย่างเป็นระบบและมีความสัมพันธ์ต่อกันเป็นลูกโซ่ สิ่งแวดล้อมแต่ละ ประเภทจะมีความทนทานและความเปราะบางต่อการถูกกระทบแตกต่างกัน และส่ิงแวดล้อมมีการ เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ซ่ึงการเข้าใจสมบัติเฉพาะตัวของส่ิงแวดล้อม เป็นส่ิงสาคัญในการท่ีจะทา ให้ส่ิงแวดล้อมยั่งยืนต่อไป สิ่งแวดล้อมต่างๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบส่งผลซึ่งกันและกัน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อมมีหลายปัจจัยหรือหลายมิติที่ควรพิจารณา การมอง สิ่งแวดล้อมให้เป็นมิติคือการมองสิ่งแวดล้อมตามบทบาทและหน้าท่ี ซึ่งจะทาให้ง่ายต่อการนาผล การศึกษามาประยุกต์ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพและการวางแผนมองเห็นเป็น รูปธรรมได้ง่ายขึ้น และการที่ส่ิงแวดล้อมจะดีและอยู่กับเราไปนานๆ ส่ิงสาคัญที่มนุษย์ต้องมีคือการมี จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อม คิดดีทาดีกับสิ่งแวดล้อมท่ีประกอบกันขึ้นในโลกของเรา และมองโลกด้วย วิถีทางใหม่ท่ีเช่ือว่า โลกเป็นระบบที่มีชีวิต มนุษย์เราเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีไม่อาจแยกจากธรรมชาติได้ และ มนุษยเ์ ป็นหน่ึงเดียวกับธรรมชาติ

20 คาถามท้ายบท 1. การศกึ ษาเรอ่ื งส่ิงแวดลอ้ มให้ประโยชน์กับนกั ศกึ ษาอยา่ งไรบา้ ง 2. จงบอกความหมายของสงิ่ แวดล้อม 3. ใหน้ ักศึกษาออกแบบแผนผัง (Mind map) จาแนกประเภทของส่ิงแวดล้อม พร้อมสรุป และ ยกตวั อยา่ งประเภทของสงิ่ แวดล้อมมาอยา่ งน้อยประเภทละ 10 ชนิด 4. จงบอกความแตกต่างระหวา่ งส่ิงแวดลอ้ มที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาตแิ ละมนุษย์สรา้ งข้ึน 5. จงยกตัวอย่างสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งแวดล้อมข้อท่ีกล่าวว่า“ส่ิงแวดล้อมมีเอกลักษณ์เฉพาะ ตวั ” มา 10 ตัวอย่าง 6. จงยกตัวอย่างสมบัติเฉพาะตัวของส่ิงแวดล้อมข้อที่กล่าวว่า “ส่ิงแวดล้อมมีการเกี่ยวโยงกัน อยา่ งเปน็ ระบบและมีความสัมพันธต์ อ่ กนั เปน็ ลกู โซ”่ มา 5 ตวั อยา่ ง 7. จงอธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติกับส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์ สร้างขึน้ 8. จงอธบิ ายมติ ิของสงิ่ แวดล้อมท้ัง 4 มิติ มาใหเ้ ข้าใจพอสังเขป 9. จงยกตวั อย่างลกั ษณะของผู้ทม่ี ีจรยิ ธรรมทางส่ิงแวดล้อมมาอย่างนอ้ ย 5 ขอ้ 10. ใหน้ กั ศึกษาเขยี นบันทึกการปฏิบัติตนเป็นผู้มีจริยธรรมทางส่ิงแวดล้อม โดยการสะสมความดี ทางด้านส่ิงแวดล้อมของนักศึกษาลงสมุดบันทึกในช่วงเวลา 1 ภาคเรียนการศึกษาในขณะท่ี เรียนในรายวชิ าน้ี (ดังใบงานในภาคผนวก)

21 เอกสารอ้างองิ กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม. (2555). การอนรุ ักษ์ส่ิงแวดล้อม. [Online]. Available : (http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/envi1-1.htm [วันที่ค้นข้อมลู 15 มกราคม 2555]. เกษม จันทรแ์ ก้ว. (2544). วทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ ม. พมิ พ์คร้ังท่ี 5. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ประชา อินทร์แกว้ . (2542). ชวี ติ กบั สง่ิ แวดล้อม. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชน่ั . พิทกั ษ์สนิ สิวรจุ น์. (2555). ปลกู และปลุกจริยธรรมเพ่ือการอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดล้อม. [Online]. Available : http://www.stou.ac.th/study/sumrit/7-55(500)/page2-7-55(500).html [วันทค่ี น้ ขอ้ มลู 15 มกราคม 2555]. มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิดต์. (2554). การพฒั นาทย่ี ่ังยนื และจริยธรรมสงิ่ แวดล้อม. [Online]. Available : http://human.uru.ac.th/Major_online/ManWeb/Text/Envi-6.pdf [วนั ทคี่ ้นข้อมูล 15 กนั ยายน 2554].

23 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 2 ววิ ัฒนาการของส่ิงมีชีวติ และมนษุ ย์ เนือ้ หาประจาบทท่ี 2 ววิ ฒั นาการของสิง่ มีชวี ิตและมนษุ ย์ 1. กำเนดิ ของสง่ิ มีชีวติ 2. ววิ ัฒนำกำรของสงิ่ มชี วี ติ 3. ววิ ฒั นำกำรของมนุษย์ 4. เผำ่ พนั ธุ์มนษุ ย์ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. นักศึกษำสำมำรถอธบิ ำยกำรกำเนดิ ของสิง่ มชี ีวติ ได้ 2. นกั ศกึ ษำสำมำรถบอกควำมหมำยของววิ ฒั นำกำรของสิ่งมีชวี ิตและมนษุ ย์ได้ 3. นักศกึ ษำสำมำรถสรุปทฤษฎเี กย่ี วกบั ววิ ัฒนำกำรของสง่ิ มชี ีวติ ได้ 4. นกั ศึกษำสำมำรถสรุปววิ ฒั นำกำรของมนษุ ยไ์ ด้ 5. นกั ศกึ ษำสำมำรถบอกควำมแตกต่ำงของทฤษฎีววิ ฒั นำกำรของส่งิ มีชวี ิตได้ 6. นกั ศึกษำสำมำรถจำแนกเผำ่ พันธุม์ นุษยแ์ ตล่ ะเผ่ำพันธ์ุได้ วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบทท่ี 2 1. วิธสี อน 1.1 ใชว้ ธิ กี ำรสอนแบบบรรยำย 1.2 เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนร่วม 1.2 วธิ ีกำรสอนแบบนำเสนอโดยวีดีทศั น์ 1.3 วธิ ีกำรสอนแบบกลุ่มสมั พนั ธ์ 1.4 วิธีกำรสอนแบบอภิปรำย 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 ศกึ ษำจำกเอกสำรประกอบกำรสอนและตำรำอนื่ ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง 2.2 ศึกษำจำก Powerpoint และส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ตำ่ งๆ 2.3 ร่วมกันอภิปรำยเนอื้ หำและสรุปประเดน็ 2.4 ผูส้ อนสรปุ เนือ้ หำเพม่ิ เตมิ 2.5 ดูวีดีทศั น์เรอ่ื งกำเนิดของส่ิงมีชวี ิต วิวฒั นำกำรของสิง่ มีชีวติ ววิ ัฒนำกำรของมนษุ ย์

24 2.6 ตอบคำถำมในใบงำนจำกกำรดูวีดีทัศน์ 2.7 อำจำรย์สรปุ เนอ้ื หำสำคัญจำกกำรชมวีดที ัศน์ 2.8 ทำแบบฝึกหัดบทท่ี 2 สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสำรประกอบกำรสอนหลกั รำยวิชำชวี ิตกบั สิ่งแวดล้อม (GE40001) 2. Powerpoint และสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3. ใบงำน 4. วีดีทัศน์ การวดั ผลและการประเมนิ ผล 1. ใหค้ ะแนนกำรเข้ำหอ้ งเรียน 2. กำรทำแบบฝกึ หดั ทำ้ ยบท 3. กำรทำใบงำน 4. สังเกตพฤติกรรมกำรมสี ว่ นร่วมในชั้นเรียน 5. กำรตอบคำถำมในห้องเรยี น

25 บทท่ี 2 ววิ ัฒนาการของส่ิงมชี ีวิตและมนุษย์ วิวัฒนำกำรเป็นกระบวนกำรเปล่ียนแปลงมำจำกบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตในระยะเวลำที่ ยำวนำนและเปน็ ไปอยำ่ งชำ้ ๆ ก่อนท่ีส่ิงมีชีวิตรวมท้ังมนุษย์จะมีรูปร่ำงลักษณะที่เหมือนปัจจุบันย่อมมี ววิ ัฒนำกำรมำโดยมีสมมุติฐำนและทฤษฎีต่ำงๆ ของนักวิทยำศำสตร์และนักมำนุษยวิทยำที่คล้ำยคลึง และแตกต่ำงกันไป ส่ิงมีชีวิตบำงชนิดมีกำรสูญพันธุ์ไปเพรำะปรับตัวเข้ำกับสภำพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไปไม่ได้ ในกำรกำเนิดของส่ิงมีชีวิตในอดีตมีควำมเชื่อกันหลำกหลำยแนวคิด มีกำรศึกษำ และนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับกำเนิดชีวิตและวิวัฒนำกำรซึ่งพบว่ำ วิวัฒนำกำรเป็นกำรเปล่ียนแปลง จำกรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูกและเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยตำมสภำพแวดล้อม วิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตมี ควำมสำคัญต่อกำรศึกษำกำรเปล่ียนแปลงของสิ่งมีชีวิตบนโลก เก่ียวกับกำรปรับตัวให้กับส่ิงแวดล้อม กำรเกิดวิวัฒนำกำรของส่ิงมีชีวิตที่แตกต่ำงกันไปจำกเดิมท้ังด้ำนรูปร่ำง พฤติกรรม กำรดำรงชีวิตอัน เป็นผลมำจำกกำรเปล่ยี นแปลงทำงดำ้ นกรรมพนั ธแุ์ ละส่ิงแวดล้อม กำรเกิดวิวัฒนำกำรจะเกิดข้ึนได้ใน ระดับประชำกรซึ่งหมำยถึงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน สำมำรถผสมพันธุ์กันได้ให้กำเนิดลูกหลำนท่ีเหมือน บรรพบุรษุ ได้ แตไ่ ม่สำมำรถผสมข้ำมเผำ่ พนั ธุไ์ ด้ 1. กาเนิดของสิ่งมีชีวิต (Origin of life) โลกมีกำเนิดประมำณ 4,500 - 5,000 ล้ำนปีมำแล้ว แต่สันนิษฐำนว่ำส่ิงมีชีวิตเพ่ิงเกิดขึ้นเม่ือ ประมำณ 3,300 ลำ้ นปมี ำนี้ ซง่ึ แบคทีเรียน้นั ถือเปน็ ส่งิ มีชวี ิตพวกแรกทีเ่ กดิ ขน้ึ บนโลกนี้มีอำยุประมำณ 3,000 ลำ้ นปี ไดม้ ผี ใู้ หแ้ นวคิดเกี่ยวกำรกำเนิดส่งิ มชี วี ิตทแ่ี ตกต่ำงกันไปดังน้ี 1.1 สง่ิ มีชวี ิตเกิดจากอานาจวิเศษ (Special creation) เป็นทฤษฎีท่ีอธิบำยว่ำ ชีวิตทุกชนิดเกิดขึ้นพร้อมกันจำกกำรสร้ำงของอำนำจวิเศษ โดย อ้ำงว่ำมีอำนำจเหนือธรรมชำติอย่ำงใดอย่ำงหน่ึงเป็นผู้สร้ำงชีวิตขึ้น เช่น พระเจ้ำเป็นผู้บันดำลให้ เกิดขึ้น เป็นควำมเช่อื ทีไ่ ม่มีเหตุผลในทำงวิทยำศำสตร์ ดังนั้นนักวิทยำศำสตร์จึงไม่ยอมรับ แต่ยังเป็น ควำมเชือ่ ถอื ของศำสนำบำงศำสนำอยู่ 1.2 สง่ิ มชี วี ติ เกดิ จากส่งิ ไม่มชี ีวติ (Spontaneous generation หรอื Abiogenesis) เป็นทฤษฎีท่ีอธิบำยว่ำ “ชีวิตเกิดข้ึนได้เองเร่ือยๆ จำกส่ิงท่ีไม่มีชีวิต” เช่น ปลำบำงชนิด เกดิ จำกโคลนและทรำย หนูเกดิ จำกเศษผงและเศษกระดำษตำมช่องที่อำศัยอยู่ จิ้งหรีดเกิดจำกน้ำค้ำง บนใบหญ้ำ เป็นต้น ควำมเชื่อดังกล่ำวนี้นักวิทยำศำสตร์รุ่นหลังๆ ต่อมำได้ทำกำรทดลองคัดค้ำนและ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook