Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือแนวทางการพัฒนา รพ.สต.ติดดาว 2564

คู่มือแนวทางการพัฒนา รพ.สต.ติดดาว 2564

Published by phattadon, 2021-06-23 13:15:58

Description: คู่มือแนวทางการพัฒนา รพ.สต.ติดดาว 2564

Search

Read the Text Version

คูมอื แนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 ก คำนำ ระบบสุขภาพของประเทศไทยขยายการเขาถึงบริการสุขภาพ โดยมีการสรางสถานีอนามัย ครอบคลุมในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ในป 2551 ยกระดับสถานีอนามัยเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และพัฒนาเครือขายการสงตอในทุกระดับอยางมีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงกันทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อใหระบบหลักประกันสุขภาพมีคุณภาพอยางเพียงพอทั่วถึง มีทางเลือกหลากหลายรูปแบบ และครอบคลุม ไดถงึ การรกั ษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชนท่ีเขา รว มโครงการ กระทรวงสาธารณสุขกำหนดยุทธศาสตรพัฒนาความเปนเลิศใน 4 ดาน (PP&P, Service, People, Governance) และจากนโยบายกระทรวงสาธารณสุขป 2564-2565 ทั้ง 9 ดาน ในสวนของระบบ ปฐมภูมิ (Primary Care) มุงเนนการสรางระบบสุขภาพปฐมภูมิที่เขมแข็ง ไดผนวก 3 ประเด็นหลัก คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) การพัฒนาระบบการแพทยปฐมภูมิ : คลินิกหมอครอบครัว ทั้งประเภท หนวยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit) และเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ (Network of Primary Care Unit) โดยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน และ การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองคกร คุณภาพ : รพ.สต.ติดดาว การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. เปนประเด็นสำคัญในยุทธศาสตรที่ 4 แผนยุทธศาสตร บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) หนังสือเลมนี้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อเปนคูมือให บุคลากรสาธารณสุขนำไปใชประโยชนในการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ตามเกณฑคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ซ่งึ เน้ือหาหลกั ประกอบดวยเกณฑคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว แนวทางการพัฒนาและการประเมินคุณภาพ รพ.สต. ป 2564 หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือแนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 เลม นี้จะเปนประโยชนแ กผูอา นทเ่ี ปนเจาหนาท่สี าธารณสุข เพอื่ ใหการบริการปฐมภูมิ มีคุณภาพมาตรฐาน และเปน พ้นื ฐานสกู ารพัฒนาคุณภาพอืน่ ๆ ตอไป คณะทำงานพฒั นาคุณภาพ โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว ธนั วาคม 2563 สำนักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คูม ือแนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 ข สารบญั หนา ค คำนิยมปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 1 บทที่ 1 แนวคดิ การพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว 3 บทท่ี 2 ภาพรวมของเกณฑค ุณภาพโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว 12 บทที่ 3 เกณฑค ุณภาพโรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตำบลติดดาว 12 แบบประเมินโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว ป 2564 23 หมวด 1 บริหารดี 25 การนำองคกรและการจดั การดี 28 หมวด 2 ประสานงานดี ภาคีมีสว นรวม 101 การใหความสำคัญกับประชากรเปาหมาย ชุมชน และผมู สี วนไดส วนเสีย 110 หมวด 3 บคุ ลากรดี 119 การมุงเนนทรัพยากรบคุ คล หมวด 4 บริการดี การจดั ระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทกุ กลุมวยั หมวด 5 ประชาชนมสี ุขภาพดี ผลลัพธ แบบสรุปคะแนนประเมนิ โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว ป 2564 บทท่ี 4 แนวทางการประเมนิ โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตำบลตดิ ดาว ภาคผนวก สำนกั สนับสนุนระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คมู อื แนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 ค คำนยิ มปลัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล เปนหนวยบริการระดับปฐมภูมิ ใหบริการ ดา นการรักษาพยาบาล สงเสรมิ สขุ ภาพ ปอ งกนั โรค ฟน ฟูสขุ ภาพ ดูแลประชากรทงั้ กลุมปกติ กลมุ เสยี่ ง และกลุมปวย ทำใหประชาชนไดร บั บริการสุขภาพที่จำเปนจากหนวยบริการสุขภาพใกลบา น การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตำบลโดยใชเกณฑโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) เริ่มดำเนินงาน ตัง้ แตป  พ.ศ. 2560 และดำเนนิ งานมาอยา งตอ เน่ือง นบั เปน กลไกสำคัญในการสนบั สนุนใหหนวยบริการปฐมภูมิ มกี ารพฒั นาคุณภาพมาตรฐาน เพอื่ การบรรลุเปา หมาย ประชาชนสุขภาพดี เจาหนา ที่มคี วามสุข ระบบสขุ ภาพย่ังยืน โดยกระทรวงสาธารณสุขไดเล็งเห็นถึงความสำคัญดังกลาว จึงกำหนดให รอยละของ รพ.สต. ทีผ่ า นเกณฑคุณภาพ รพ.สต.ตดิ ดาว ระดับ 5 ดาว เปนตัวช้ีวัดในโครงการพัฒนาองคกรคุณภาพ แผนงานท่ี 11 การพฒั นาระบบธรรมาภิบาล และองคกรคุณภาพ แผนยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรบริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาลของแผนยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสขุ 20 ป (Governance Excellence) จากการดำเนินงานทผ่ี านมามีจำนวน รพ.สต. ทผ่ี า นเกณฑ 5 ดาว เพมิ่ ขนึ้ ในแตละปสูงกวาเกณฑ ท่ีตั้งไว แสดงใหเ ห็นถงึ ความเขมแขง็ ความรวมมอื กันในการทำงานจนบรรลุผลสำเร็จ ปจ จบุ นั มจี ำนวน รพ.สต. ทีผ่ านเกณฑ 5 ดาว รอยละ 70.10 (สะสม) โดยป พ.ศ. 2563 ตัง้ เปาหมาย รพ.สต. ท่ผี า นเกณฑ 5 ดาว รอ ยละ 75 (สะสม) แตเ น่ืองจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สง ผลใหม ีการเล่ือนประเมิน รพ.สต.ติดดาว ออกไป ดังนั้น ในป พ.ศ. 2564 จึงไดตั้งเปาหมายวา รพ.สต. ที่ผานเกณฑการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดบั 5 ดาว รอยละ 75 (สะสม) ผมขอขอบคณุ และเปนกำลังใจให รพ.สต. ทกุ แหง เจาหนา ท่ี รพ.สต. ทกุ ทา น และผูด ำเนนิ งาน ทุกระดบั ในการรว มแรงรว มใจกนั ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว เพ่ือใหป ระชาชนในพื้นที่ไดรับบริการ ทไ่ี ดมาตรฐาน บรรลุเปา หมายประชาชนสุขภาพดี เจาหนาท่ีมคี วามสุข ระบบสุขภาพยงั่ ยืน นายแพทยเกียรติภูมิ วงศร จิต ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ สำนกั สนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คูมอื แนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 1 บทที่ 1 แนวคดิ การพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว การพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทย มีความเจริญกาวหนามากขึ้นกวาเดิม สามารถขยาย การเขาถึงบริการสุขภาพ โดยมีการสรางโรงพยาบาลอำเภอและสถานีอนามัยครอบคลุมในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ปจจุบันสถานีอนามัยไดมีการยกระดับมาเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) มีการใหบริการเพิ่มมากข้ึน ในทุกดาน ทั้งดานการรักษา สงเสริม ปองกัน ฟนฟู รวมถึงงานคุมครองผูบริโภค ทำใหประชาชนไดร บั บริการสุขภาพ ที่จำเปนได ในหนวยบริการสุขภาพใกลบาน ถึงแมวามี รพ.สต. ครอบคลุมทุกพื้นที่ และสามารถเขาถึงบริการได สะดวกมากขึ้น แตสัดสวนบุคลากรยังไมสอดคลองกับภาระงานและจำนวนประชากรที่รับผิดชอบตามการแบงขนาด รพ.สต. S M L โดยระดับ S รับผิดชอบดูแลประชากรนอยกวา 3,000 คน มีบุคลากรประมาณ 5 คน ระดับ M รับผิดชอบดูแลประชากร 3,000 - 8,000 คน มีบุคลากรประมาณ 8 คน ระดับ L รับผิดชอบดูแลประชากรมากกวา 8,000 คน มีบุคลากรประมาณ 11 คน (อางอิงจากกองยุทธศาสตรและแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข) จึงไดมี การกำหนดเกณฑคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว เพื่อการจัดบริการใหสอดคลองกับขนาดของ รพ.สต. และจำนวนบุคลากร ทมี่ ีอยู กระทรวงสาธารณสุขจึงไดกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการสุขภาพทุกระดับ โดยเฉพาะการพฒั นาคุณภาพในโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบล โดยมเี ปา หมายใหประชาชนมสี ขุ ภาพดี เจา หนาท่ีมี ความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน อันจะนำไปสูวิสัยทัศนของกระทรวงสาธารณสุข คือ เปนองคกรหลักดานสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดีในที่สุด โดยมียุทธศาสตรในการพัฒนาความเปนเลิศใน 4 ดานตอไปน้ี คือ 1. การสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค (PP&P Excellence) 2. ระบบบริการ (Service Excellence) 3. การพัฒนาคน (People Excellence) และ 4. ระบบบริหารจัดการ (Governance Excellence) ในขณะเดียวกัน บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขก็มีคานิยมในการขบั เคลื่อนงานรวมกัน 4 ดาน โดยนำตัวยอจากชื่อกระทรวงสาธารณสุข คือ MOPH ประกอบดวย M คือ Mastery คือบุคลากรเปนนายของตัวเอง ที่ตองเอาชนะโลภ โกธร หลง ใหได O คือ Originality สรางสรรคสิ่งใหมๆ P คือ People Centered Approach เอาประชาชนเปนศูนยกลาง และ H คือ Humility ออ นนอ มถอ มตน ดังนั้น จึงไดมีการพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการสุขภาพในระดับ รพ.สต. ขึ้น คือ เกณฑพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ซึ่งการพัฒนาเกณฑคุณภาพ (Approach) มีเนื้อหาผสมผสานอางอิงจากเกณฑคุณภาพ Primary Care Award เพื่อพัฒนาคุณภาพของหนวย บริการปฐมภูมิ ในรูปแบบของเครือขายบริการ โดยมุงเนนเชื่อมโยงระบบบริการ กระบวนการบริการ รวมท้ัง การบริหารจัดการ ซึ่งจะทำใหเกิดการจัดการเปนระบบทั้งองคกร เกณฑขึ้นทะเบียน หนวยบริการประจำและหนวย บริการปฐมภูมิของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) มุงเนนพัฒนาศักยภาพการจัดบริการ (ทรัพยากร บุคคล อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ เครื่องมือ) และการบริหารจัดการ เพื่อใหเกิดการพัฒนาขีดความสามารถและ คุณภาพบริการสาธารณสุขของหนวยบริการเกิดการสรางและพัฒนาเครอื ขายของระบบบริการที่มีการสงตอและการ ดูแลอยางตอเนื่อง โดยสอดคลองกับการบริหารงบประมาณกองทุน มีระบบการทำงานดานสุขภาพระดับอำเภอ รวมกันของทุกภาคสวนดวยการบูรณาการทรัพยากรภายใตบริบทของพื้นที่ผานกระบวนการชื่นชมและการจัดการ ความรู สงเสรมิ ใหประชาชนและชุมชนพง่ึ ตนเองได และไมท อดทิ้งกัน โดยมีเปา หมายรว มเพื่อสุขภาวะของประชาชน (DHS) และอาศัยการมสี วนรวมของ สหวิชาชพี ท่เี กยี่ วขอ งกับเกณฑ รวมถึงผปู ฏบิ ตั งิ านซึ่งเปน ผทู ตี่ องนำเกณฑไ ปใชใน การทำงานใน รพ.สต. (Participation) ทำใหเกณฑคุณภาพมี ความเปนรูปธรรมที่วัดได สามารถนำไปปฏิบัติไดจริง ตามบริบทของพื้นท่ี (Deployment) เปนงานประจำที่ทำอยูลดความซ้ำซอน ไมเปนภาระเพิ่มเติมใหกับผูปฏิบัติงาน สำนกั สนับสนุนระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คูมอื แนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 2 และใหความสำคัญกับเกณฑมาตรฐานการทำงานรวมกับชุมชน ดูแลสุขภาพประชาชนทุกกลุมแบบผสมผสานเปน องครวมอยา งใกลชดิ และตอ เนื่องตั้งแตระดบั บุคคลครอบครวั และชุมชน (Integration) นอกจากนั้นกระบวนการกำกับและติดตาม (Monitor and Evaluation) และกระบวนการประเมิน รับรอง รพ.สต.ติดดาว (Accreditation) จะชวยกระตุน สนับสนุน และเสริมพลังใหทีมงานในพื้นที่ใหทำงานประสบ ความสำเร็จ โดยใชกระบวนการเยี่ยมผูปฏิบัติงานดวยการดูแล (Caring) จากสหวิชาชีพ เครือขายบริการหรือ โรงพยาบาลแมขาย มีการใหคำแนะนำในการดำเนินงาน (Coaching)ใหไดตามเกณฑมาตรฐานวิชาชีพและการให คุณคา (Appreciation) กับทีมงานพื้นท่ีหลังการประเมินมีการถอดบทเรียนเกิดการเรียนรูร ว มกัน (Learning) เพื่อให ทุกสวนทเี่ ก่ยี วของเกิดกระบวนการเรียนรูร ว มกัน สามารถนำไปใชอยา งเปน รปู ธรรมและยั่งยืน ทีมสหวิชาชีพประกอบดวยแพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาล นักเทคนิคการแพทย กายภาพบำบดั สาธารณสขุ อำเภอ นกั วชิ าการสาธารณสขุ นกั วชิ าการคอมพิวเตอร แพทยแ ผนไทย ฯลฯ มีบทบาทใน การพัฒนาลงเยี่ยมเสริมพลังและประเมินคุณภาพ เพราะสามารถใหคำแนะนำไดอยางถูกตองตามมาตรฐานวิชาชีพ และเปน การลดขอจำกัดดานบุคลากรที่เปนวิชาชพี เฉพาะท่ีขาดแคลนใน รพ.สต. ได โดยอาศัยการแบง ปน ทรัพยากร จากโรงพยาบาลแมขาย ผลพลอยไดที่เกิดขึ้นคือความสามัคคีในทีมงาน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและสราง ความสัมพันธอันดีในเครือขายบุคลากรดานสุขภาพ เกิดการเรียนรูและเขาใจกันในทีมงาน เขาถึงและพัฒนางานให เหมาะสมกบั พื้นทไ่ี ดเปนอยางดี ซง่ึ การประเมินมีในทงั้ 3 ระดบั คือ ระดบั อำเภอ ระดบั จงั หวัด และระดับเขต ผลที่จะไดรับจากการเยี่ยมเสริมพลังและการประเมินคุณภาพ คือ เกิดการกระตุนให รพ.สต. มีกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางผูปฏิบัติ ผูบริหารและผูเกี่ยวของในเครือขายที่เปนระบบสนับสนุน (CUP) ตลอดจนหนวยงานที่เกี่ยวของและชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการใน รพ.สต. ใหตอบสนองความตองการ ความจำเปนดา นสขุ ภาพของประชาชน และนำไปสูก ารมีสขุ ภาพดี ชมุ ชนพ่งึ ตนเองไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คูม อื แนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 3 บทที่ 2 ภาพรวมของเกณฑค ณุ ภาพโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว กระทรวงสาธารณสุขไดกำหนดนโยบายการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขทุกระดบั ใหไดมาตรฐาน โดยยกระดับสถานีอนามัยทุกแหงเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่เนนการพัฒนาคุณภาพระบบ บริการและกระบวนการบริการสุขภาพ เพื่อตอบสนองความตองการและความจำเปนดานสุขภาพของประชาชนมี การจัดบรกิ ารเพ่ือดูแลสุขภาพประชาชนทุกกลุมแบบผสมผสานเปนองครวมอยางใกลช ิดและตอเน่ืองต้ังแตระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ตามองคประกอบ UCCARE (U : Unity Team, C : Customer focus, C : Community Participation A : Appreciation, R : Resource Sharing and human development, E : Essential care) เพื่อใหการดำเนินงานเปนไปในทิศทางเดียวกันทั้งประเทศ ตั้งแต ระดับ รพ.สต. เกณฑคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว มีการพัฒนาความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมียุทธศาสตรใน การพัฒนาความเปนเลิศใน 4 ดานตอไปนี้ คือ 1. การสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค (PP&P Excellence) 2. ระบบบริการ (Service Excellence) 3. การพัฒนาคน (People Excellence) และ 4. ระบบบริหารจัดการ (Governance Excellence) การพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตำบลติดดาว แผนยุทธศาสตรช าติ (รพ.สต.ติดดาว) ระยะ 20 ป 4 Excellence Strategies มกี ารกำหนดทศิ ทาง แนวทางการกำกบั ดแู ลตนเองที่ดี ถายทอด สื่อสารทิศทาง Governance และแผนไปสูการปฏิบัติทั่วทั้ง รพ.สต. และกำหนดวิธีการทบทวนผลการดำเนินการ excellence ของ รพ.สต. เพื่อใหบรรลุพันธกิจของ รพ.สต. อยางตอเนื่องและยั่งยืน ดำเนินการ อยา งมีสวนรว มที่แสดงความรับผิดชอบตอสังคมอยางมจี รยิ ธรรมและเปน รพ.สต. ท่ี คำนึงถึงประโยชนสวนรวม ซึ่งสอดคลองกับความตองการและความคาดหวังของ สังคม วางแผนเชิงกลยุทธ โดยใชขอมูลสถานการณ รพ.สต. รวมกับสภาพปจจัย ภายนอก ในการกำหนด ยุทธศาสตรระยะสั้น ระยะยาว และกลยุทธการดำเนินงาน ใหเปนไปตามพันธกิจ และวิสัยทัศนของ รพ.สต. รวมทั้งการนำแผนไปสูการปฏิบัติ และมีการวัด วิเคราะห และการจัดการความรู ในดานการวัด การเลือก รวบรวม วิเคราะหและจัดการขอมูล สารสนเทศ เพื่อผลักดันใหเกิดการประเมินผล ทบทวน ผลการดำเนินงาน และนำมาใชในการวางแผนพัฒนาการจัดการและกระบวนการ ดำเนนิ งานของ รพ.สต. ใหม ีประสทิ ธิภาพเพ่อื เพิม่ ขีดความสามารถ รพ.สต. รับรู เขาใจ สถานการณสุขภาพของประชากร กลุมเปาหมายและ PP&P สถานการณช ุมชนที่รับผิดชอบ เขาใจ รับรู ความตอ งการ ความคาดหวัง และความนิยม excellence ของประชากรเปาหมาย ผรู บั บรกิ าร และผมู ีสว นไดส วนเสยี ท่ีทนั สมัย เพ่อื ใหม ัน่ ใจวา จัดการดำเนินงานไดตอบสนอง และสอดคลองกับความตองการไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพทง้ั ในปจ จบุ ันและอนาคต สรางความสมั พนั ธที่ดแี ละความประทับใจตอ ประชากรเปา หมาย ชมุ ชนผรู บั บริการและผูมสี ว นไดสวนเสีย ท่ีกอ ใหเกิดความความ เชื่อมั่นศรัทธาการยอมรับและความพึงพอใจในระบบบริการของ รพ.สต. โดยมีการ จัดระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ดังนี้ สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คมู ือแนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 4 การพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตำบลติดดาว แผนยทุ ธศาสตรชาติ (รพ.สต.ตดิ ดาว) ระยะ 20 ป 1. การจดั ระบบบรกิ ารสุขภาพโดยรวมที่เอื้อตอการเขา ถึงบริการ และบริการที่ 4 Excellence เปนองครวมตอ เน่ือง Strategies 2. การบริการปฐมภูมิระดับบุคคลและครอบครัวแบบผสมผสานเปนองครวม People และตอ เนอ่ื ง excellence 3. การดแู ลสุขภาพของกลุม ประชากรเชิงรกุ อยางครอบคลุมทนั การณ Service 4. การสรา งกระบวนการเรียนรรู ว มกบั ชุมชน excellence ตรวจประเมินระบบงาน ระบบการเรียนรูของบุคลากร การสรางแรงจูงใจให บุคลากรพัฒนาตนเอง และใชศักยภาพอยางเต็มที่เพื่อใหมุงไปในแนวเดียวกันการ สรางและรกั ษาสภาพแวดลอมในการทำงาน สรางบรรยากาศที่เอื้อตอการปฏิบัติงาน ของบุคลากร ซึ่งจะนำไปสูผลการดำเนินงานที่เปนเลิศและความเจริญกาวหนาของ บุคลากรใน รพ.สต. 1. การจัดระบบสนับสนนุ บรกิ าร (ควบคุมคณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ) 1.1 การจัดการส่งิ แวดลอ ม 1.2 ระบบเฝา ระวังการปองกันและควบคุมการตดิ เช้อื (IC) 1.3 การบริหารยาและเวชภัณฑที่มใิ ชยา คุมครองผูบริโภค และการใชยาอยาง สมเหตผุ ล (Rational Drug Use: RDU) 1.4 การจัดระบบมาตรฐานทางหองปฏิบัตกิ ารดา นการแพทย (LAB) 1.5 การจัดหา บำรุงรักษา สอบเทียบ การซอม เครอ่ื งมือ วสั ดแุ ละอปุ กรณ 2. การสนับสนุนและมีสวนรวมของทองถิ่น ชุมชน หนวยงานตางๆ การตรวจ ประเมินผลการปฏิบัติงาน/วิเคราะห ในมิติดานประสิทธิผลมิติดานคุณภาพ การใหบริการ มิติดานประสิทธิภาพของการใหบริการ และมิติดานการพัฒนา รพ.สต. เพอื่ การปรบั ปรงุ และพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง ยงั่ ยืน สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คมู อื แนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 5 โดยมาตรฐานประกอบดวย 5 หมวด ตอไปน้ี คือ หมวด 1 การบริหารดี หมวด 2 ประสานงานดี ภาคี มีสวนรวม หมวด 3 บุคลากรดี หมวด 4 บริการดี และ หมวด 5 ประชาชนมีสุขภาพดี จึงเปนที่มาของคำวา รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ด)ี ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ไดใชคานิยมของกระทรวงสาธารณสุข MOPH ใน การขับเคล่อื นการดำเนนิ การ โดยใน M คือ Mastery การมีภาวะผูนำในทุกระดับ ทำใหการนำองคกรและการจัดการดี มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น เชน ผูบริหารทุกระดบั กำหนดทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน ตองมีการทำงานรวมกันของคณะกรรมการสุขภาพ อำเภอ (DHS) คณะกรรมการสุขภาพตำบล โรงพยาบาลแมขายตองทำงานรวมกับ รพ.สต. เพื่อจัดบริการที่ได มาตรฐานใหกับประชาชน เปนตน ถาสวนนี้ไมสำเร็จอาจทำใหการพัฒนาในสวนอื่นไมสำเร็จตามมาได O คือ Originality การสรางสรรคสิ่งใหมๆ เกณฑคุณภาพ ในหมวด 3 รพ.สต. มีระบบการพัฒนาการเรียนรู สรางนวัตกรรม งานวิจัยทส่ี ง ผลใหประชาชนในพนื้ ทสี่ ขุ ภาพดี เปนตน P คือ People Centered Approach เอาประชาชนเปนศูนยกลาง เกณฑคุณภาพ ในหมวด 4 เนนใหมีการจัดบรกิ ารทีจ่ ำเปนเหมาะสม(Essential care) ใหสอดคลองกบั ปญ หาสำคัญของพ้ืนที่ (OTOP) ครอบคลุม ทุกประเภทและกลุมวยั H คอื Humility บคุ ลากรตองออนนอมถอมตน เกณฑค ุณภาพ ในหมวด 2 การประสานเครือขายได ตอ งการการทำงานเปน ทมี มคี วามออนนอ มถอมตน ทำใหการทำงานราบร่ืน สุดทายผลการพัฒนาก็จะทำใหบรรลุเปาหมาย คือประชาชนมีสุขภาพดี เจาหนาที่มีความสุข ระบบสุขภาพยัง่ ยนื อนั จะนำไปสูวสิ ยั ทัศนของกระทรวงสาธารณสุข คอื เปน องคกรหลกั ดานสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสขุ ภาพดีในท่สี ุด สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภมู ิ

คูม ือแนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 6 เอกสารอางอิงอื่นๆ ในการพัฒนาเกณฑประเมินคุณภาพโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว เพอ่ื ลด ความซ้ำซอ น สอดคลองกับงานประจำท่ีทำอยูแ ลว เชน 1. กระบวนการพัฒนาคณุ ภาพระบบสุขภาพระดบั อำเภอ (DHS-PCA) 2. เกณฑการประเมนิ คัดเลือก โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบล(รพ.สต.) ดีเดน / สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอ(สสอ.) ดเี ดน ป 2559 3. เกณฑประเมนิ รพ.สต.ตดิ ดาว เขตสขุ ภาพที่ 8 / จงั หวัดสิงหบรุ /ี จังหวัดอุทัยธานี ป 2559 4. ตำบลจัดการสขุ ภาพแบบบูรณาการ 5 กลมุ วยั เขตสขุ ภาพที่ 9 ประจำป 2559 5. 4 Excellence Strategies 6. การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ป 2560 7. คูมือแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) เพื่อการสงเสริมบทบาทของครอบครัวในการดูแล สุขภาพตนเอง ป 2558 8. เกณฑขึ้นทะเบียน “หนว ยบริการประจำและหนว ยบริการปฐมภูมิ” ป 2561 (สปสช.) 9. เกณฑคุณภาพ เครือขายบริการปฐมภมู ิ (Primary Care Award : PCA) 10. ตวั ชว้ี ดั ผลการดำเนนิ งานดา นสงเสรมิ สขุ ภาพและปอ งกันโรค (PP) กระทรวงสาธารณสุข 11. การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและระบบสุขภาพอำเภอ (District Health Board : DHB) 12. การใชยาอยางสมเหตผุ ล (Rational Drug Use: RDU) (ระดบั รพ.สต.) 13. Green and Clean กรมอนามยั (ระดบั รพ.สต.) 14. คมู ือการใหบรกิ ารของโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบล ป 2552 การพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตำบลติดดาวมีวตั ถุประสงค ดงั ตอไปน้ี 1. เพือ่ พัฒนาเครือขายสุขภาพระดับอำเภอ ใหเกดิ การบรหิ ารจดั การทีม่ ีความรว มมือจากทุกฝาย ที่เกี่ยวของในการจัดการปญหาสุขภาพ อันจะสงผลใหประชาชนไดรับบริการอยางทั่วถึงและเปนธรรม ดวยการ ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพื้นที่ที่อยูใกลชิดกับประชาชน เกิดการ บูรณาการเปาหมายทิศทางและ ยทุ ธศาสตรร วมกันระหวางหนว ยงานของรฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนอยางเปน องครวม เนน การมีสวนรวมของ ทุกภาคสวน โดยมีพื้นที่เปนฐานและประชาชนเปนศูนยกลาง มีความเปนเจาของและภาวะการนำรวมกัน เพื่อแกไข ปญหาสำคัญที่สงผลตอคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยบูรณาการและประสานความรวมมือในการนำไปสูการสราง เสริมใหบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน มสี ุขภาวะทางกาย จติ และสังคม เพือ่ คุณภาพชีวิตทีด่ ีและเกิดความย่ังยืนสืบไป โดยคณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดบั อำเภอ (พชอ.) ขบั เคลอ่ื นดว ยกระบวนการ UCCARE 2. เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิใหไดมาตรฐานตามเกณฑ และมีเครื่องมือในการกำกับและ ประกนั คุณภาพของระบบตา ง ๆ 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาลและหนวยบริการปฐมภูมิ เพื่อตอบสนอง ความตอ งการและความจำเปน ดานสุขภาพของประชาชน สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คมู อื แนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 7 โดยมีความคาดหวังวา ประชาชนที่อยูในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยบริการสุขภาพที่ผานการพัฒนา คณุ ภาพโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาวจะไดร ับบริการท่ีไดมาตรฐานใน 5 ประเด็น (5 ดาว 5 ด)ี ตอไปน้ีเปน อยา งนอยคอื 1. ประชาชนไดรับบริการในสถานบริการที่มีการบริหารจัดการที่ดี มีสวนรวม สามารถจัดการ เรื่องระบบบริการ การเงิน โครงสราง สถานที่ และอุปกรณ รวมถึงระบบสนับสนุน ทำใหหนวยบริการทำงานเพื่อ ประชาชนไดอยา งมคี ณุ ภาพและประสิทธิภาพ 2. หนวยบริการสุขภาพใหความสำคัญกับประชากรกลุมทุกเปาหมาย ทำงานโดยอาศัยการมี สวนรวมของภาคีเครอื ขา ย เพอื่ ตอบสนองความตองการของประชาชนในพน้ื ที่ไดอยางแทจริง 3. บคุ ลากรท่ใี หบรกิ ารมีเพยี งพอเหมาะสม มศี ักยภาพ และมคี วามสุขในการใหบริการ รวมถึงมี กลไกทำใหป ระชาชนมีความเขมแข็งมีความสามารถดแู ลตนเอง ครอบครวั และชุมชนทตี่ นเองอาศยั อยูได 4. ประชาชนจะไดรับบริการที่ดี ตอบสนองกับปญหาในพื้นที่ การบริการในและนอกหนวย บรกิ าร มคี รบถว นตามความจำเปน ทงั้ ดานการรักษา สงเสริม ปอ งกนั ฟนฟู ควบคมุ โรคและการคุมครองผูบรโิ ภคดาน สขุ ภาพ โดยมีบริการครอบคลุมประชากรทุกกลมุ วยั 5. ประชาชนมีสุขภาพดี มีกลไกสนับสนุนใหเกิดการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวมี การติดตามผลการดำเนินงานดานสุขภาพ เพื่อนำไป พัฒนานวัตกรรม การจัดการความรู นำไปสูการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพอยา งตอ เน่อื งและยงั่ ยนื ตอ ไป 6. พฒั นาคุณภาพ รพ.สต. และภาคีเครอื ขาย ดวยเกณฑค ณุ ภาพ 5 ดาว เพื่อนำไปสกู ารบริการ ทมี่ คี ุณภาพ ระบบทม่ี ีมาตรฐาน ทมี หมอครอบครวั ท่เี ขมแข็ง (FCT ท้งั ระดบั อำเภอ ตำบลและชุมชน) ภาคีเครือขายท่ี รวมมือรวมใจในบทบาทของคลินิกหมอครอบครัว ทั้งประเภท หนวยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit) และ เครือขา ยหนวยบรกิ ารปฐมภูมิ (Network of Primary Care Unit) สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คูม อื แนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 8 เน้ือหาของมาตรฐานในแตล ะหมวดมีดังตอไปนี้ ผูบรหิ ารมสี ว นสำคัญในการพัฒนา แตการมีภาวะผูน ำมีสวนสำคญั เชนกนั แมไมไดเปน ผูบริหารก็ตาม เชน สามารถประสานงาน ผูบริหาร ภาคีเครือขาย ใหเห็นความสำคัญในการแกปญหาในพื้นที่ จนสามารถขับเคลื่อน งานใหประสบความสำเร็จ เปนตน ผูนำหรือทีมนำ มีนโยบายที่ชัดเจนและมีชองทางการสื่อสารใหทีมงานเขาใจ สามารถปฏบิ ัติตามได ทำใหก ารทำงานเปน ไปในทิศทางเดียวกัน ผนู ำของภาคเี ครือขา ย มสี ว นรว มในการขับเคลื่อนใน การพัฒนาระบบสุขภาพในพ้ืนที่ตนเอง มีการวางแผนการทำงานที่ชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค มีการติดตาม ผลการทำงาน มีคานิยมในการทำงาน เปนนายตนเอง ยึดมั่นในกฎหมาย ระเบียบราชการ รับผิดชอบตอสังคม โดยการเสริมสรางความเขมแข็งใหประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได รวมกันจัดการสิ่งแวดลอมที่สงผลตอ สขุ ภาพ ดูแลกันในชุมชนใหมีสุขภาพดี นอกจากนั้นระบบการบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ ทั้งดานการเงิน การจัดการสิ่งแวดลอม พฒั นาระบบสนับสนนุ ใหการบริการมีคณุ ภาพไดมาตรฐาน เชน การปองกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) มาตรฐานทาง หองปฏิบัติการดานการแพทย (LAB) เภสัชกรรม/คุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ (คบส.) การใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use: RDU) ระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขภาพ (IT) สหวิชาชีพจากโรงพยาบาลแมข ายมสี วนสำคญั ในการใหคำแนะนำการพัฒนาใหไดตามมาตรฐานวิชาชีพของตน เปนการเพิ่มศักยภาพการใหบริการในหนวยบริการ ใหประชาชนไดรับบรกิ ารท่ีมคี ุณภาพมากขน้ึ และสอดคลองกับการพฒั นาคลินกิ หมอครอบครวั * ในป 2562 ทานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีหนังสือสั่งการ“แจงใหนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด ไดม อบหมายใหผูอำนวยการโรงพยาบาลและสาธารณสุขอำเภอทุกแหง ดำเนนิ การแตงต้ังทีมพ่ีเลี้ยงและสนับสนุนทีม พี่เลี้ยงในการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว เพื่อทีมพี่เลี้ยงคอยใหคำแนะนำและสนับสนุนทรัพยากรในสวนท่ี ขาดแคลน” ดวยเห็นเปนปจจัยแหงความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ดังนั้น ตั้งแตป 2563 เปนตนมา จึงให ความสำคัญในหมวด 1 บริหารดี ขอ 1.4 การสนับสนุนทีมพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาตามเกณฑ รพ.สต.ติดดาว ที่กำหนดใหมี การแตงตั้งทีมพี่เลี้ยงเพื่อลงพัฒนา ใหยึดตามบริบทพื้นที่ ไมจำกัดจำนวนบุคลากรในทีมพี่เลี้ยง มีบทบาทการพัฒนา เชิงประจักษ รวมวิเคราะหปญหา สวนขาด รวมวางแผนปรับปรุง แกไข ดำเนินการพัฒนาตามสวนขาด และสรุปผล การพัฒนาตามเกณฑ * หากไมม ีการแตง ตง้ั ทีมพ่เี ล้ียงระดบั อำเภอไปรวมวิเคราะหส วนขาด วางแผนการพัฒนา ดำเนินการ พฒั นา และประเมนิ ผลการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ รพ.สต.ติดดาว จะไมม ีการประเมนิ ในหมวดอื่น ๆ สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คมู อื แนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 9 ในการทำงานรว มกับชุมชน ภาคีเครือขา ย ตองอาศัยความออนนอมถอมตน ประสานงานในเครือขาย และภาคเี ครือขาย มชี อ งทางการส่ือสารทชี่ ัดเจน มีกลไกสรางสมั พันธกับชุมชนและสรา งความรวมมือ รวมกันคิดคนหา ความจำเปนดานสขุ ภาพในพน้ื ท่ี จากนั้นมาวางแผนโครงการแกปญหา รวมกันทำ รวมกันแกปญหา รวมถึงประเมินผล และเรียนรูไปดวยกนั สงผลใหประชาชนมีสขุ ภาพดแี ละพึงพอใจ ไมเ กิดขอรองเรียน นอกจากการประสานงานกับภาคีเครือขายแลวการประสานภายใน คปสอ. หรือ รพ.สต. มีแนวทาง ชดั เจน นำไปปฏบิ ตั ิไดอยางเปน รปู ธรรม เหมาะสมตามบรบิ ท สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คมู ือแนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 10 เพ่อื ใหเกิดการบริการที่ดี ตอ งมกี ารวเิ คราะหองคกร มกี ารวางแผนเร่ืองอตั รากำลัง สำรวจสวนขาด วางแผนการสรรหาบุคลากรใหต รงตามความตองการ มีการมอบหมายความรับผิดชอบท่ีชัดเจน มีการพัฒนาคุณภาพ บุคลากร สรางแรงจูงใจ สรางความกาวหนาในหนาที่การงาน ใหรางวัล ประเมินผลอยางเปนธรรม การสราง สงิ่ แวดลอมเอื้อตอการทำงาน ทำใหบุคลากรในองคกรมีความพึงพอใจ อันเปน เปา หมายของกระทรวงสาธารณสุข คือ ประชาชนสุขภาพดีแลวเจาหนาที่ตองมีความสุขในการทำงานดวยและเพื่อใหเกิดระบบสุขภาพยั่งยืน ในการพัฒนา บคุ ลากร รวมถงึ การพฒั นาศักยภาพใหประชาชนสามารถดูแลสขุ ภาพตนเอง และครอบครัวได หนาที่สำคัญของ รพ.สต. คือ การจัดระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุมวัย จึงควรมีการพัฒนาคุณภาพการบริการ ทั้งในเชิงรุก และเชิงรับ มีระบบการบริการและขอมูลสุขภาพที่เชื่อมโยงกับ โรงพยาบาลแมข า ยอยางเหมาะสม การพัฒนางานเชิงรับในสถานบริการ รพ.สต. เปนหนวยบริการดานหนา สามารถใหบริการที่เปน ความจำเปนขั้นพื้นฐานใหไดตามมาตรฐาน ครบทุกมิติทั้งดานการรักษา สงเสริม ปองกัน ฟนฟู และทุกกลุมวยั ไดแก การบริการตรวจรักษาโรคแบบผูปวยนอก การใหบริการงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน การฝากครรภ คลินิกสงเสริมสุขภาพ เด็กดี งานทันตกรรม การฟนฟูโดยแพทยแผนไทย กายภาพบำบัด และเภสัชกรรม การใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use: RDU) มีเคร่อื งมอื อปุ กรณใหเ พียงพอ พรอมใชสำหรับการใหบ ริการประชาชน การพัฒนาบริการเชิงรุกในพื้นที่ มีระบบการดูแลตอเนื่อง Continuing of Care : COC) ครอบคลุม อยางนอย 4 กลุม ไดแกผูสูงอายุกลุมเตียง 3 – 4 ผูพิการที่ตองดูแลเปนพิเศษ เด็กพัฒนาการลาชาที่ตองไดรับ การกระตุนรักษา และกลุมผูปวยระยะสุดทาย (Palliative care) การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุม และสอบสวนโรค (SRRT) และการคุมครองผูบรโิ ภค (คบส.) สำนกั สนับสนุนระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คมู ือแนวทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 11 ในการบริการตองมีการทำงานรวมกับโรงพยาบาลแมขาย จึงอาศัย Clinical Practice Guidelines (CPG) จากโรงพยาบาลแมขา ยเปนแนวทางการใหบริการและสามารถปฏบิ ตั ิไดจริง สรางชอ งทางการสื่อสาร ระบบให คำปรึกษา ระบบสงตอผูปวยกรณีเกินขีดความสามารถ เพื่อใหเกิดการบริการที่ไรรอยตอ มีการบันทึกขอมูลบริการ อยางครบถวน ถูกตอง เก็บรักษาในฐานขอมูลที่มีความปลอดภัย ซึ่ง รพ.สต. ทั้งขนาด S M L ตองสามารถจัดบริการ ใหไดตามมาตรฐานของ รพ.สต. แตละขนาดที่กำหนดไว โดย - การจัดบริการใน รพ.สต. ขนาด S เนน การจดั บรกิ ารแบบเครอื ขา ย - การจัดบริการใน รพ.สต. ขนาด M เนนการจัดบริการแบบเครือขายและเปนพี่เลี้ยงให รพ.สต. ขนาด S - การจัดบริการใน รพ.สต. ขนาด L เนนการจัดบริการแบบเครือขายและเปนพี่เลี้ยงให รพ.สต. ขนาด S, M เพื่อใหประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบไดรับบริการครอบคลุมตามชุดสิทธิประโยชนที่ควรไดรับ ไมวา จะอยูในพ้นื ทีร่ ับผิดชอบของ รพ.สต. ขนาดใด สุดทายผลลัพธในการทำงานคือ ประชาชนมีสุขภาพดี ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเอง และครอบครัวได รวมถึงรวมกันดูแลกันในชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู ไดรับบริการดานสุขภาพครบถวนเหมาะสม มีการติดตามผลการดำเนินงานตัวชี้วัดจากแหลงขอมูลกลาง คือ HDC และนำขอมูลมาวิเคราะหสรางนวัตกรรม งานวจิ ัย สอดคลอ งกับปญหาชุมชน เพือ่ หาโอกาสพัฒนาคุณภาพการทำงานอยางตอ เนื่อง ตอ ไป เนื่องจาก รพ.สต. แตละพื้นท่ีมีบริบทท่ีแตกตางกันไปตามลักษณะประชากร ภูมิศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ศาสนา รวมทั้งจำนวนประชากรที่รับผิดชอบ ดังนั้นเกณฑการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว นี้จึงเปนเกณฑขั้นพื้นฐานที่พึงประสงค สำหรับเปนแนวทางสำหรับการพัฒนาคุณภาพใน รพ.สต. ให สามารถตอบสนองความตองการและความจำเปน ดา นสุขภาพของประชาชนไดอยางเหมาะสม ทมี พฒั นา/ทีมประเมิน และผรู ับการประเมินตองทำความเขาใจเกณฑ รพ.สต.ตดิ ดาว อยางละเอียด มขี อ ตกลงในการประเมินรวมกัน เพื่อให การพัฒนาบรรลุวัตถุประสงคทีต่ องการอยางแทจ ริง นอกจากนั้นพื้นที่สามารถพัฒนาคุณภาพ เพิ่มเติมจากเกณฑนี้ได อนั เปน การพฒั นาตอยอด ตอ เนื่อง เปนการพัฒนาตามวงลอ PDCA ท่ไี มม ีส้นิ สุด สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คมู อื แนว บ เกณฑค ุณภาพโรงพยาบา แบบประเมนิ โรงพยาบาลสงเ หมวด การนำองคก หนวยบริการ...................................................... 1.1 ภาวะผูนำ การนำ ธรรมาภบิ าล 1.1.1 ภาวะผูนำของผบู รหิ ารองคกร เกณฑ 1 คะแนน 23 มีการทำงานรวมกนั 1. มแี นวทางทจ่ี ะ 2. มขี อ 1 และ 3. มขี อ 1, 2 ของคณะกรรมการ ทำงานรวมกนั และ มีการกำหนด และมกี าร ประสานงาน ดำเนินงานตาม และ ดำเนนิ การ สาธารณสุขระดับ หนาท่ใี นสวนท่ี การถายทอด รวมกันเปน อำเภอ(คปสอ.) และ รับผิดชอบ ทิศทางทำงาน ทีมอยางม มกี ารสนับสนุน รว มกนั เปนทมี จรยิ ธรรม การดำเนนิ งานของ และ มีการ คณะกรรมการพฒั นา สนบั สนนุ ต รพ.สต. หรอื ชมุ ชน คณะกรรมการกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพ ระดบั ทองถ่นิ หรือพืน้ ท่ี

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 12 บทที่ 3 าลสง เสรมิ สขุ ภาพตำบลตดิ ดาว เสรมิ สุขภาพตำบลตดิ ดาว ป 2564 ด 1 บรหิ ารดี กรและการจดั การดี .อำเภอ............................. จังหวัด............................... 4 5 คำสำคญั 2 4. มีขอ 1, 2, 5. มีขอ 1, 2, และนิยามปฏิบัตกิ าร ร 3 และ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ ร มีการกำกบั 3, 4 และมี (คปสอ.) เปนคณะกรรมการทบ่ี รหิ ารจดั การสุขภาพ น ติดตามดูแล การทบทวน ระดับอำเภอ ประกอบดวย คณะกรรมการจากหนวยงาน มี อยา งเปน ผลการ รพช. รพท. หรือ รพศ. สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอ ดำเนนิ งาน โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตำบล ศนู ยสุขภาพชุมชน ระบบ และวางแผน และภาคเี ครอื ขา ยทเ่ี กยี่ วขอ ง มีหนาทใ่ี นการบริหาร ร แกไขอยาง จัดการสุขภาพในระดบั อำเภอ ประกอบดวย ตอ ตอ เนื่อง การวางแผน ควบคุมกำกับ นิเทศตดิ ตาม สนบั สนนุ และ ประเมนิ ผลสำเรจ็ ในการดำเนินงานสาธารณสขุ ในอำเภอ คณะกรรมการพฒั นา รพ.สต. หรอื คณะกรรมการบริหาร รพ.สต. เปนคณะกรรมการสรางความรว มมือให รพ.สต. สามารถดำเนนิ การไดต ามเปา หมายบรกิ าร การประสาน เช่ือมตอ กบั หนวยงาน องคก รเครอื ขายตา งๆ ใหบ ริการ สำนกั สนับสนุนระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คมู อื แนว เกณฑ 1 คะแนน 23 เอกสารทเี่ กี่ยวของ มคี ำสั่งแตงตง้ั รายงานการประชมุ รปู ภาพกิจกรร คณะกรรมการ คณะกรรมการ การบนั ทกึ คะแนนที่ได ประสานงานสาธารณสุข ประสานงาน การให ระดับอำเภอ (คปสอ.) สาธารณสขุ ระดับ การสนบั สนุน คณะกรรมการพฒั นา อำเภอ (คปสอ.) ชุมชน รพ.สต. หรอื คณะ คณะกรรมการ กรรมการแกไขปญ หา พัฒนา รพ.สต. หรอื ระดบั พน้ื ที่ และมี คณะกรรมการแกไข บทบาทหนาท่ีทช่ี ดั เจน ปญ หาระดบั พื้นที่

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 13 4 คำสำคญั 5 และนิยามปฏิบตั กิ าร รม/ สมั ภาษณ/ สอบถาม รวมกัน รวมถงึ สนบั สนนุ ดา นทรพั ยากรจากทกุ ภาคสวน ผเู ก่ยี วของ อาทิ บุคลากร หรืองบประมาณภาครฐั องคก รปกครอง สวนทอ งถิ่น องคก รเอกชน ชมุ ชน ในการเขา มารว มกัน สรา งสขุ ภาพของประชาชนในเขตบรกิ ารของ รพ.สต คณะกรรมการแกไขปญหาระดับพ้นื ท่ี หมายถงึ คณะกรรมการที่เกยี่ วของกบั การแกไ ขปญ หาระดบั พนื้ ที่ ประกอบดว ย ตวั แทนแตล ะกลมุ ตามความเหมาะสมของ แตล ะพ้ืนท่ี เชน ตัวแทนประชาชน/ อสม./ ผนู ำชุมชน/ องคกรปกครองสวนทองถน่ิ / ราชการสว นภูมภิ าค และ องคกรเอกชน เพอื่ ใหมีสว นรวมในการบรหิ ารจดั การ สนับสนนุ การดำเนนิ งาน ตลอดจนการกำกบั ดูแล ใหเกิด ความรสู ึกความเปนเจา ของ เพอื่ รว มพิจารณาแกไ ข ปญหาในพนื้ ที่ - สัมภาษณ/ สอบถาม ผเู กย่ี วขอ ง - เอกสารสรุปผล การดำเนินงาน และแผนแกไ ข - รูปภาพ กิจกรรม สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คูม อื แนว แบบประเมนิ โรงพยาบาลสงเ หมวด การนำองคก หนวยบริการ......................................................อำ 1.2 แผนปฏิบตั ิการดา นสุขภาพ เกณฑ รายการตรวจประเมนิ 1.2 แผนปฏบิ ัติการดา นสขุ ภาพ 1.2.1 การจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ าร เปาประสงคแ ผนปฏบิ ตั กิ าร มีการกำหนดเปาประสงค ตัวชี้วัด เปาหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุ เปาประสงค กลวิธีเพื่อใหบรรลุผลที่มีความชัดเจนและเปนรูปธรรมทั้ง เชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพ (1) มีการกำหนดเปาประสงค (2) มีขอ (1) และมตี ัวชี้วดั (3) มขี อ (1) (2) และมีเปา หมาย (4) มขี อ (1), (2), (3) และมีระยะเวลาทจ่ี ะบรรลุเปาประสงค (5) มขี อ (1), (2), (3), (4) และมีกลวธิ เี พ่ือใหบ รรลผุ ลท่ีมคี วามชดั เจนและ เปนรปู ธรรมท้ังเชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพ

วทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 14 เสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว ป 2564 ด 1 บริหารดี กรและการจัดการดี ำเภอ............................. จังหวัด......................................... คะแนน คะแนน แนวทางการพิจารณา คำชี้แจง/คำนิยาม เต็ม ทไ่ี ด แผนปฏบิ ตั ิการ (Action plan) หมายถงึ แผนที่ระบกุ ิจกรรม 5 - แผนปฏิบัติการของ CUP เพอ่ื ตอบสนองตอ วตั ถปุ ระสงค และแผนปฏิบัตกิ าร รพ.สต. รวมทงั้ รายละเอยี ดทรัพยากร ทีส่ อดคลองกนั (เอกสาร) ท่ีตองใชใ นชวงเวลาท่ีตองทำให - ภาพกิจกรรมการประชมุ / สำเรจ็ ถายทอดแผนปฏิบัตกิ าร 1 - สอบถาม/สมั ภาษณวธิ กี าร 2 จดั ทำแผนปฏิบตั ิการของ 3 CUP และแผนปฏบิ ตั ิการ 4 ของ รพ.สต. 5 สำนักสนับสนุนระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คมู อื แนว เกณฑ รายการตรวจประเมิน 1.2 แผนปฏิบัตกิ ารดา นสุขภาพ 1.2.2 การนำแผนปฏบิ ัติการไปสูการปฏิบัติ การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการ ถายทอดแผนไปสูการปฏบิ ัติ มีการจัดทำแผนปฏิบัติการที่ตอบสนอง สอดคลองกับการจัดสรร ทรัพยากร (คน เงิน ของ) ใหเพียงพอตอการดำเนินงานไดสำเร็จ ถายทอด แผนไปสูบุคลากรทุกคนใหตระหนักและมีสวนรวมในการนำไปปฏิบัติให บรรลุ กำหนดตวั ชี้วัดท่ใี ชต ิดตามความคืบหนา ของแผนปฏบิ ัตกิ าร (1) มีการจัดทำแผนปฏิบัติการที่ตอบสนอง สอดคลองกับการจัดสรร ทรัพยากร (คน เงนิ ของ) (2) มขี อ (1) และมจี ัดสรรทรพั ยากร (คน เงิน ของ) ใหเพียงพอ ตอการดำเนนิ งานไดส ำเร็จ (3) มีขอ (1), (2) และถายทอดแผนไปสูบุคลากรทุกคนใหตระหนักและ มีสว นรว มในการนำไปปฏบิ ัติใหบ รรลุ (4) มีขอ (1), (2), (3) และกำหนดตัวชี้วัดที่ใชติดตามความกาวหนาของ แผนปฏบิ ัตกิ าร (5) มีขอ (1), (2), (3), (4) และบุคลากรรบั ทราบและสามารถปฏบิ ตั ไิ ด รวมคะแนน

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 15 คะแนน คะแนน แนวทางการพิจารณา คำชี้แจง/คำนยิ าม เตม็ ท่ีได 5 - แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน การจดั ทำแผนปฏิบตั ิการ ร ตามตวั ชี้วัดของ รพ.สต. ถายทอดแผนไปสูการปฏบิ ตั ิ ด - สอบถาม/สมั ภาษณ เพอ่ื บรรลวุ ัตถปุ ระสงคทส่ี ำคัญ ห การนำแผนปฏบิ ัติการไปสู สรางความมน่ั ใจในความย่งั ยืน ร1 การปฏบิ ตั ิ ของการเปล่ียนแปลงที่สำคัญท่ี เปนผลจากแผนปฏบิ ัตกิ าร 2 บคุ ลากรตระหนักในบทบาท และการมีสวนรวมตอการบรรลุ วตั ถุประสงค ะ3 ง4 5 10 สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คูมือแนว แบบประเมนิ โรงพยาบาลสง เ หมวด การนำองคก หนว ยบริการ.................................................................อำเ 1.3 ระบบบริหารจดั การทสี่ ำคญั 1.3.1 การจดั การการเงนิ และบัญชี เกณฑ รายการตรวจประเมนิ 1.3 ระบบบริหารจัดการทีส่ ำคัญ 1.3.1 การจัดการการเงินและบญั ชี มีการกำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การเงนิ การคลงั ปองกันการทุจรติ ประพ 1. มีคำสั่งคณะกรรมการเก็บรักษาเงินของหนวยงาน และเจาหนาท การเบิกจา ยเงนิ ถอนเงนิ และเจาหนาที่รบั ผิดชอบงานการเงนิ 2. มีแผนการใชเ งนิ งบประมาณและเงนิ บำรุง 3. มหี ลกั ฐานทางการเงินท่ีตรวจสอบไดแ ละเปนปจ จบุ นั - มีบญั ชีควบคมุ การรบั -จา ยเงินเปน ปจ จุบันถูกตอง (404/407) - สมุดคมุ การใชใบเสรจ็ รับเงิน และสรปุ ผลการใชป ระจำป - มเี อกสารการดำเนินการจดั ซอื้ /จา ง ดำเนนิ การไดถ กู ตอ งตามระเบยี และเปน ปจจบุ นั 4. มีแฟมการจัดทำบัญชีเกณฑคงคางหรือมีการบันทึกบัญชีผานโปรแก อื่นๆไดถ ูกตองและทนั ตามกำหนดเวลา 5. ไดรับการตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจสอบภายในอยางนอยป และนำผลขอเสนอแนะไปแกไข รวมคะแนน

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 16 เสรมิ สุขภาพตำบลติดดาว ป 2564 ด 1 บรหิ ารดี กรและการจัดการดี เภอ..........................................จงั หวัด......................................... คะแนน แนวทางการพิจารณา คำช้แี จง/คำนยิ าม เต็ม ได 5 พิจารณาจากเอกสารดำเนนิ งาน การกำกบั ตดิ ตาม พฤตมิ ชิ อบ - คำส่ังคณะกรรมการการเงิน ตรวจสอบ การเงิน ที่รับผิดชอบ 1 - แผนการใชเงินงบประมาณ การคลงั หมายถึง เงนิ บำรุง การควบคมุ ดแู ลการใช 1 - บญั ชีการควบคมุ จา ยเงนิ แผนดิน และ 1 การรับ-จา ยเงิน ของหนวยงานภาครัฐให - บัญชีเกณฑค งคาง เปน ไปโดยถูกตองมวี นิ ยั ยบ - สมุดคุมการใชใ บเสร็จรับเงนิ คมุ คา โปรง ใส และ กรมการเงิน 1 และสรปุ ผลการใชป ระจำป สามารถตรวจสอบได ปละ 1 ครั้ง 1 - เอกสารการดำเนินการจดั ซ้ือ/ โดยการวางกรอบ จัดจาง เปน ปจจบุ นั หลักเกณฑก ลาง 5 - ผลการตรวจสอบของ ใหหนว ยงานภาครัฐ คณะกรรมการตรวจสอบ ถอื ปฏบิ ัติ ภายในและแผนแกไ ข สำนักสนับสนุนระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คูมือแนว แบบประเมนิ โรงพยาบาลสง เ หมวด การนำองคก หนว ยบริการ...................................................... 1.3 ระบบบรหิ ารจดั การทส่ี ำคญั 1.3.2 การจัดการทรพั ยากร (เพ่อื สนับสนนุ ระบบบริการจากแมขา ย IT, IC, LA เกณฑ รายการตรวจประเมิน 1.3 ระบบบริหารจัดการท่ีสำคญั 1.3.2 มีการจัดการทรัพยากร (เพื่อสนับสนุนระบบบริการจากแมขาย IT, เครื่องมอื บริการ, เภสัชกรรมและ RDU/ คบส.) 1. มีแผนการจดั สรรงบประมาณ/วสั ดุ/ครุภณั ฑ/เครื่องมือบรกิ าร 2. มแี ผนพัฒนาบคุ ลากรจากแมข า ย 3. มแี ผนสนับสนนุ /หมุนเวยี นบคุ ลากร 4. มแี ผนการสอบเทียบ/แผนการบำรงุ รักษาเครื่องมือ 5. มกี ารกำหนดผรู ับผดิ ชอบและดำเนินการอยา งสม่ำเสมอ ตอเนื่องและเปน รวมคะแนน

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 17 เสรมิ สุขภาพตำบลตดิ ดาว ป 2564 ด 1 บรหิ ารดี กรและการจดั การดี .อำเภอ............................. จังหวดั ............................... AB, เครือ่ งมอื บรกิ าร, เภสชั กรรมและ RDU/ คบส.) IC, LAB, คะแนน แนวทางการพจิ ารณา คำชแ้ี จง/คำนิยาม นปจ จุบนั เตม็ ได - เอกสารทเี่ กี่ยวขอ ง การจดั การทรัพยากร 5 - สอบถาม/สัมภาษณ เพื่อสนับสนุนระบบบรกิ าร 1 จากแมขา ย 1 หมายถึง การสนับสนนุ ระบบ 1 บริการจากแมข าย ครอบคลุม 1 งาน IT, IC, LAB, เคร่ืองมือ 1 บริการ, เภสัชกรรมและ RDU/ คบส. โดยการควบคุมกำกับ ตดิ ตาม นเิ ทศงานดำเนินการ ตามแผนที่กำหนดไว 5 สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คูมือแนว แบบประเมินโรงพยาบาลสงเ หมวด การนำองคก หนว ยบริการ............................................................ 1.3 ระบบบรหิ ารจดั การที่สำคัญ 1.3.3 การจดั การดา นสง่ิ แวดลอ ม เกณฑ รายการตรวจประเมิน 1.3 ระบบบริหารจดั การทส่ี ำคัญ 1.3.3 การจดั การดานสง่ิ แวดลอม 1 รพ.สต. มีการจดั การสภาพแวดลอมภายนอกอาคาร ดำเนนิ การตามมาตรฐ 1.1 มกี ารดูแลสิ่งแวดลอมภายนอก บริเวณทวั่ ไปสะอาด 1.2 มกี ารกำหนดจุดสำหรบั จอดรถฉุกเฉิน อยา งเหมาะสม 1.3 มกี ารกำหนดจุดสำหรับจอดรถผูพิการ/ผสู งู อายุ อยา งเหมาะสม 2 รพ.สต. มกี ารจดั การสภาพแวดลอมภายในสถานทท่ี ำงาน ดำเนินการตามม 2.1 มีการดแู ลสง่ิ แวดลอมภายในสถานทที่ ำงาน บรเิ วณท่ัวไปสะอาด 2.2 หองทำงาน (Back office & Service) มปี า ยตดิ หนาหองทกุ หองที่ส 2.3 โตะ ภายในหองทำงานมีปายชื่อเจาหนา ท่ี ระบชุ ือ่ สกลุ ตำแหนง ให กรณีเปนโตะสำหรับใหบริการไมตองมีปายชื่อประจำโตะ ให เจา หนาที่ ระบชุ ่ือ สกลุ ตำแหนง ใหช ดั เจน 2.4 โตะคอมพิวเตอร/เครื่องพิมพ สายอุปกรณตอพวงคอมพิวเตอร/เค และเปนระเบยี บ 2.5 ตูเก็บเอกสารและการเก็บเอกสาร มีปาย ส สะดวก ติดไวใหชัดเจน ในทุกตู และจัดเก็บเปนระเบยี บ

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 18 เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว ป 2564 ด 1 บริหารดี กรและการจดั การดี ...อำเภอ.................................. จังหวดั ............................... คะแนน คะแนน แนวทางการพจิ ารณา เต็ม ทไี่ ด ฐาน 5 ส 30 - เอกสารที่เกย่ี วของ 3 - สังเกต สอบถาม/สัมภาษณ มาตรฐาน 5 ส 1 สอดคลอ งกับภารกจิ 1 หต รงกบั ผูปฏบิ ัตงิ านในวันน้ันๆ/ 1 หมีปายติดหนาอกหรือหอยคอ 6 1 1 1 ครื่องพิมพ ตองเก็บใหปลอดภัย 1 น ครอบคลุม เหมือนกันทุกแฟม 1 สำนักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ

คูมอื แนว เกณฑ รายการตรวจประเมนิ 1.3 ระบบบริหารจัดการท่ีสำคัญ 1.3.3 การจัดการดา นสง่ิ แวดลอ ม 2 2.6 เอกสารที่อยใู นแฟมงานจะตองเปนเอกสารปปจ จุบนั หรือหากมีเอก เอกสารท่ีมคี วามจำเปน ตอ งใชข อมูลเก่ียวพนั กัน และตองระบุจาก 3 รพ.สต. พฒั นาสว มใหไดมาตรฐานสว มสาธารณะไทย (HAS) ไดแก ความสะอาด (Health : H) 1. พื้น ผนัง เพดาน โถสว ม ทก่ี ดโถสว ม โถปส สาวะ สะอาด ไมม คี ราบส 2. นำ้ ใชส ะอาด เพยี งพอ และไมมลี กู น้ำยงุ ภาชนะเกบ็ กกั นำ้ ขันตกั นำ้ 3. กระดาษชำระเพียงพอตอการใชงานตลอดเวลาที่เปดใหบริการ (อา สายฉดี น้ำชำระทสี่ ะอาด อยูในสภาพดี ใชง านได 4. อางลา งมือ กอกนำ้ กระจก สะอาด ไมมีคราบสกปรก อยูในสภาพดแี 5. สบูลา งมอื พรอมใหใชตลอดเวลาท่เี ปด ใหบริการ 6. ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปด อยูในสภาพดี ไมรั่วซึม ตั้งอยูใน ใกลเคียง 7. มีการระบายอากาศดี และไมมกี ลน่ิ เหม็น 8. สภาพทอ ระบายส่ิงปฏกิ ลู และถงั เก็บกักไมร ั่ว แตก หรือชำรุด 9. จัดใหมกี ารทำความสะอาด และระบบการควบคุมตรวจตราเปน ประ ความเพียงพอ (Accessibility: A) 10. จดั ใหม สี วมนัง่ ราบสำหรับผพู ิการ ผสู งู วัย หญงิ ต้งั ครรภแ ละประชา * ตอ งจัดใหม ีหองสวมสำหรับผูพ ิการหรอื ทุพพลภาพ และคนชราเขา ใชไ อำนวยความสะดวกสำหรบั ผพู ิการหรือ ทพุ พลภาพ และคนชรา ตามท่ีก สง่ิ อำนวยความสะดวกในอาคารสำหรบั ผูพกิ ารหรอื ทุพพลภาพ แ 11. สวมสาธารณะพรอมใชง านตลอดเวลาที่เปด ใหบริการ

วทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 19 คะแนน คะแนน แนวทางการพิจารณา เต็ม ท่ไี ด กสารยอนหลงั เกิน 1 ป ตอ งเปน 30 - เอกสารท่เี กย่ี วของ กปใ ด ถึง ปใ ด 1 - สงั เกต สอบถาม/สัมภาษณ 16 สกปรกอยูใ นสภาพดใี ชงานได 1 ำ สะอาดอยใู นสภาพดี ใชง านได 1 าจจำหนายหรือบริการฟรี) หรือ 1 และใชงานได 1 นบริเวณอางลางมือหรือบริเวณ 1 1 ะจำ 1 1 1 าชนทัว่ ไปอยา งนอยหนึ่งท่ี 1 ได อยางนอ ย 1 หอง และมีส่งิ 1 กำหนดในกฎกระทรวงกำหนด และคนชรา พ.ศ.2548 สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภมู ิ

คมู ือแนว เกณฑ รายการตรวจประเมิน 1.3 ระบบบรหิ ารจัดการทส่ี ำคัญ 1.3.3 การจัดการดานสิ่งแวดลอม 3 ความปลอดภัย (Safety: S) 12. บริเวณทตี่ ้ังสวมตองไมอยทู ลี่ ับตา/เปล่ียว 13. กรณีที่มีหองสวมตั้งแต 2 หองขึ้นไป ใหแยกเปนหองสวมสำห สัญลักษณท ่ีชดั เจน 14. ประตูท่ีจบั เปด – ปด และทลี่ อ็ คดานใน สะอาด อยูใ นสภาพดี ใชงา 15. พ้ืนหองสวมแหง 16. แสงสวา งเพยี งพอ สามารถมองเห็นไดท่วั บรเิ วณ 4 รพ.สต. มีมาตรการประหยดั พลงั งานทเ่ี ปนรปู ธรรมเกิดการปฏบิ ตั ติ ามมาตร มาตรการประหยัดพลังงาน หมายถึง การใชพลังงานไฟฟา พลังงานเ อยางประหยัด เชน - กำหนดเวลาการเปดปด เครอื่ งใชไ ฟฟา - การต้ังคา อณุ หภมู เิ ครือ่ งปรบั อากาศที่ 25 องศาเซลเซยี ส - สงเสริมการใชจกั รยานในโรงพยาบาล - รณรงคก ารใชน้ำอยา งประหยัด เปนตน มีการดำเนินการดงั ตอ ไปน้ี 4.1 มมี าตรการการดำเนินงานประหยดั พลังงานทช่ี ดั เจน 4.2 มผี ลการดำเนนิ การกจิ กรรมประหยัดพลังงานทเี่ ปนรูปธรรมและส

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 20 คะแนน คะแนน แนวทางการพจิ ารณา เต็ม ทไ่ี ด หรับชาย - หญิง โดยมีปายหรือ 30 - เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ ง 1 - สังเกต สอบถาม/สัมภาษณ 1 านได 1 1 1 รการทก่ี ำหนดรวมกนั ทั้งองคกร 2 - เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ ง เชื้อเพลิง รวมถึงทรัพยากรอื่นๆ - สังเกต สอบถาม/สัมภาษณ สอดคลองกบั มาตรการ 1 1 สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ

คูมือแนว เกณฑ รายการตรวจประเมิน 1.3 ระบบบรหิ ารจัดการที่สำคญั 1.3.3 การจัดการดา นส่ิงแวดลอ ม 5 รพ.สต. จดั ใหม ีการจดั นำ้ อุปโภค บริโภค เพยี งพอในการใหบริการตามสภา รพ.สต. จดั ใหม กี ารจัดนำ้ อุปโภค บริโภค เพียงพอในการใหบรกิ ารตามสภา 5.1 มีน้ำอุปโภค บริโภค ปริมาณเพยี งพอตามสภาพพนื้ ท่ี 5.2 จดั ใหม จี ดุ บรกิ ารน้ำด่ืมอยา งเพียงพอตอ จำนวนผูมารบั บริการ 5.3 มกี ารเฝา ระวงั คุณภาพน้ำดม่ื ดว ยชดุ ทดสอบการปนเปอนแบคทีเรยี น้ำด่ืม ความถ่ี 6 เดือน/ครั้ง รวมคะแนน

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 21 คะแนน คะแนน แนวทางการพิจารณา เตม็ ที่ได าพพ้ืนที่ 30 าพพ้นื ท่ี 3 - เอกสารที่เก่ียวขอ ง ย (อ11) ณ จุดทีใ่ หบรกิ าร 3 - สังเกต สอบถาม/สัมภาษณ 1 1 1 30 สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คมู อื แนว แบบประเมินโรงพยาบาลสง เ หมวด การนำองคก หนว ยบริการ............................................................ 1.4 การสนับสนนุ ทีมพเ่ี ลีย้ งเพ่อื พัฒนาตามเกณฑ รพ.สต.ติดดาว เกณฑ รายการตรวจประเมนิ 1.4 การสนบั สนุนทีมพเ่ี ลี้ยงเพอื่ พัฒนาตามเกณฑ รพ.สต.ตดิ ดาว 1. มกี ารแตงตง้ั ทมี พเ่ี ล้ียงระดับอำเภอครอบคลุมตามรายหมวดและแตล ะ 2. มีขอ 1 มีการประชมุ ทีมพเ่ี ลย้ี งระดบั อำเภอ เพ่ือรว มกนั วางแผนการพ 3. มีขอ 2 และมีแผนการดำเนินงาน 4. มขี อ 3 และมกี ารดำเนินงานตามแผนทว่ี างไว 5. มีขอ 4 และมีการสรุปผลการพฒั นาครอบคลุมตามรายหมวดและแตล คะแนนรวม

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 22 เสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว ป 2564 ด 1 บริหารดี กรและการจดั การดี ...อำเภอ.................................. จังหวัด............................... คะแนน คะแนน แนวทางการพจิ ารณา เตม็ ท่ีได 1 ะเกณฑ 2 - การสัมภาษณ/สอบถามทีมพ่ีเลี้ยง พัฒนา 3 - เอกสารท่เี ก่ยี วของ ละเกณฑ 4 - คำสงั่ แตงตัง้ ทีมพีเ่ ลยี้ งระดบั อำเภอ 5 ***** หากไมมกี ารแตง ตัง้ ทีมพเี่ ลย้ี งระดับอำเภอไป รว มวิเคราะหสวนขาด วางแผนพฒั นา ดำเนนิ การ 5 พัฒนาและประเมินผลการพัฒนาคณุ ภาพตามเกณฑ รพ.สต.ติดดาว จะไมมีการประเมนิ ในหมวดอน่ื ๆ หมายเหตุ การแตงต้ังทมี พ่ีเลยี้ งเพอื่ ลงพัฒนาใหย ึด ตามบรบิ ทพ้ืนท่ี ไมจำกัดจำนวนบคุ ลากรในทีมพเ่ี ล้ยี ง แตขอใหมบี ทบาทการพฒั นาเชิงประจักษ สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คมู ือแนว แบบประเมินโรงพยาบาลสง เ หมวด 2 ประสา การใหความสำคญั กบั ประชากรเป หนว ยบรกิ าร................................................................ เกณฑ ข้ันท่ี 1 ขัน้ ที่ 2 0.5 1 0.5 1 หมวด 2 - มีฐานขอมูลกลุมเปาหมาย - จดั ทำแผนงานโครงการ - ประสานงานดี (ตามปญหาสำคัญของพืน้ ท่ี - ชุมชน ภาคีเครอื ขา ย ภาคีมสี วนรวม OTOP) มสี ว นรว มในกิจกรรม - - มีแนวทางในการจดั การ ดา นสขุ ภาพ การใหความสำคญั แกไขปญหา - มกี ารจัดระบบบริการ กบั ประชากร - ชมุ ชนและภาคีเครอื ขาย สขุ ภาพรวมกัน เปาหมาย ชุมชน มสี ว นรว มคิด/วางแผนงาน และ กิจกรรมดา นสุขภาพ ผูม สี วนได สวนเสยี - มีชองทางการประสานงาน Customer Focus ภายในเครอื ขายและ - Community ภายนอกเครือขาย Participation -

วทางการพฒั นาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 23 เสรมิ สุขภาพตำบลตดิ ดาว ป 2564 านงานดี ภาคีมสี วนรวม ปา หมาย ชุมชน และผูมีสว นไดสว นเสีย .....อำเภอ………............................ จงั หวดั ............................... ขนั้ ที่ 3 ข้นั ที่ 4 ข้นั ที่ 5 0.5 1 0.5 1 0.5 1 ดำเนนิ การดานสุขภาพ - ผลลัพธป ญหาสำคัญของ - มีการนำขอเสนอแนะ/ อยา งเปน ระบบ พ้ืนท(ี่ OTOP) ดีขึ้น ขอ รองเรยี น พฒั นา รวมรบั รู โดยมีกระบวน - ภาคเี ครือขายมีสว นรว ม การจดั ระบบบริการและ การคน หา ทบทวนปญหา ทบทวน รวมรบั ผิดชอบ ความพึงพอใจทดี่ ีข้ึน โดยภาคีเครอื ขา ยมสี ว นรวม และตรวจสอบ - ชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา ย (ประชาคม/SRM/ธรรมนญู มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู เขมแข็ง รวมเปนเจา ของใน สขุ ภาพ) คนื ขอ มลู ให ผลลพั ธท ี่ไดแ ละปรับปรงุ การจัดการปญหาสุขภาพท่ี แกป ระชาชน ชุมชน และ รวมกนั ตอ เนอ่ื ง และบูรณาการกบั หนว ยงานทเี่ กี่ยวของ - มีผลการประเมิน งานบริการอ่นื รว มทำกิจกรรมดำเนนิ งาน ความพงึ พอใจหรือ - มีแผนงานโครงการที่ แกไขปญ หาสำคัญของ การสัมภาษณ พูดคุย สอดคลองกบั ปญหาสำคญั พ้ืนท่ี(OTOP) เกีย่ วกับความพงึ พอใจ ของพน้ื ท่(ี OTOP) ที่ไดรบั รวมประเมนิ ผล ของภาคเี ครือขายกับ การอนุมัติ การทำงานรว มกบั รพ.สต. - สามารถเปน แบบอยางใน การแกไขปญ หาสำคัญของ พื้นท(ี่ OTOP) สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภมู ิ

คูมือแนว เกณฑ ข้ันที่ 1 ขัน้ ที่ 2 0.5 1 0.5 1 วิธกี ารประเมินและ - สอบถาม/สัมภาษณ/ - สอบถาม/สมั ภาษณ/ - เอกสารประกอบ เอกสารทีเ่ กีย่ วของกบั เอกสาร ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การพิจารณา ฐานขอ มูล แผนงานโครงการและ ชอ งทางการสือ่ สาร การมีสว นรว มของภาคี - สอบถาม/สัมภาษณ/ เครือขาย เอกสารทเี่ กีย่ วของกบั แนวทางการแกไ ขปญ หา คะแนนทีไ่ ด หมายเหตุ - การใหค ะแนน คือ ทำครบทุกหัวขอ ให 1 คะแนน, ทำไดบางหัวขอ - ผลลพั ธปญ หาสำคญั ของพ้ืนท่ี (OTOP) ดีขนึ้ หมายถึง เปรียบเทยี บ

วทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 24 ขัน้ ท่ี 3 ข้ันท่ี 4 ข้นั ที่ 5 0.5 1 0.5 1 0.5 1 สอบถาม/สมั ภาษณ/ เอกสาร - สอบถาม/สมั ภาษณ/ - สอบถาม/สมั ภาษณ/ ท่เี กย่ี วของกับ เอกสารที่เกย่ี วของกบั เอกสารที่เกี่ยวของกบั การไดมาซ่ึงปญหาสำคญั ผลลัพธการแกไ ขปญ หา การจัดการขอ รองเรียน ของพื้นท่ี (OTOP) สำคญั ของพื้นท่ี (OTOP) - แผนงาน/สำเนาโครงการท่ี การดำเนินกิจกรรมและ - สอบถาม/สมั ภาษณ/ อนมุ ัติ การประเมินผล เอกสารทีเ่ ก่ียวของกับ - สอบถาม/สมั ภาษณ/ รูปแบบ วธิ ีการใน เอกสารที่เกย่ี วของกบั การทบทวนหรือ การดำเนนิ งานแกไขปญ หา การแลกเปลี่ยนเรียนรู สำคญั ของพน้ื ที่ (OTOP) - สอบถาม/สมั ภาษณ/ ไดป ระสบผลสำเรจ็ ความพึงพอใจของ ภาคีเครือขา ย อ ให 0.5 คะแนน บกบั เกณฑหรือเปา หมายทีพ่ น้ื ท่ีกำหนดไววาดขี ึ้นหรือไม สำนักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คมู อื แนว แบบประเมนิ โรงพยาบาลสง เ หมวด การมุงเนน หนว ยบริการ......................................................อำเภอ เกณฑ 1 2 หมวด 3 1. มผี ลการวิเคราะห 2. มีขอ 1 และ บุคลากรดี Happinometer/ มีการประเมนิ มีการขยาย ความพึงพอใจของบคุ ลากร และ การดำเนินการตาม การมงุ เนน ผลการวเิ คราะหอ งคกรดาน แนวทางหรือวิธีการ ทรพั ยากรบคุ คล อัตรากำลังเปรียบเทยี บตามกรอบ ดแู ลพฒั นาเพ่มิ ขึ้น Appreciation ของขนาด S M L ซ่ึงดำเนนิ การรวมกนั Resources เริ่มมแี นวทางหรอื วิธกี าร ในการใชท รัพยากรแล Sharing and ดำเนนิ การดแู ลพฒั นาวาง พัฒนาบคุ ลากรในบาง Human แผนการใชทรพั ยากร และพัฒนา ประเดน็ ไดแก Development บุคลากรทง้ั ภายในองคก รและ ปญหาสำคัญของพื้นท ภาคเี ครอื ขายรว มกนั (OTOP) หรอื บางระบบของ การจดั ระบบบริการ

วทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 25 เสริมสุขภาพตำบลติดดาว ป 2564 3 บุคลากรดี นทรพั ยากรบคุ คล อ......................................... จังหวดั ....................................... คะแนน 45 3 4. มีขอ 1, 2, 3 และ 5. มขี อ 1, 2, 3, 4 และ มกี ารเรยี นรู ทบทวน สรางวัฒนธรรมให 3. มขี อ 1, 2 และ กระบวนการดูแลพัฒนา บคุ ลากรมีความสุข มกี ารดำเนนิ การตาม ใหสอดคลองกบั ภารกจิ ที่ เกดิ ความพึงพอใจ แนวทางหรือวิธีการ จำเปนอยางเปน ระบบ มคี วามผูกพันกับองคกร ดูแลพฒั นา มกี ารใช สรางความพึงพอใจ และ ภูมิใจ และรับรคู ุณคา ทรพั ยากรและพัฒนา ความผกู พันของบุคลากร ในการพัฒนาคุณภาพ บุคลากรรว มกนั อยาง ใหส อดคลองกบั บรบิ ท เครือขายบรกิ ารปฐมภูมิ รวมกนั มีการปรับปรุง การใชทรัพยากรรว มกนั ละ เปน ระบบ ครอบคลมุ การใชทรัพยากร และมีการใชทรพั ยากรจาก ตามบริบท และ พฒั นาบุคลากร ชมุ ชนสงผลใหเกิดการแกไข ความจำเปน ของพื้นที่ ใหเหมาะสมและ ปญหาสำคัญของพ้ืนที่ มีประสทิ ธิภาพเพ่มิ ขนึ้ (OTOP) และการจดั ระบบ ที่ เพ่ือสนับสนุนการแกไข บรกิ ารอยางยั่งยนื ปญ หาสำคญั ของพ้นื ที่ (OTOP) และ การจดั ระบบบริการ สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ

คมู ือแนว เกณฑ 12 วิธกี ารประเมนิ - สอบถาม/สมั ภาษณ - สอบถาม/สมั ภาษณ และเอกสาร - เอกสารทเ่ี ก่ยี วของ - รปู แบบและวธิ ีสรา ง ประกอบ หมายเหตุ การเรยี นรู การพัฒนา การพิจารณา - ผลการวเิ คราะห Happinometer - บันทึกการประชมุ ของกระทรวงสาธารณสขุ - เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ ง หรือผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ ของบุคลากร บางประเดน็ : - ขอ มลู พืน้ ฐานองคกร อางองิ จาก ประเด็น OTOP หรือ ระบบขอมูลทรัพยากรสุขภาพ การจัดบริการ หนวยบริการปฐมภูมขิ องกอง อยางนอย 1 มิติ ยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน (กยผ.) (สง เสรมิ ปองกนั - ผลการวเิ คราะหองคก รดาน รักษา ฟนฟ)ู อัตรากำลังเปรียบเทยี บตามกรอบ ของขนาด S M L - เอกสารการมอบหมายหนาที่ รบั ผดิ ชอบ - การประเมนิ สมรรถนะรายบุคคลใช แบบสรุปการประเมินผลการ ปฏิบตั ริ าชการ ของจังหวัดหรือ ตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี - แผนการใชท รพั ยากรและ แผนพัฒนาบคุ ลากร คะแนนทไ่ี ด

วทางการพัฒนาโรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ตดิ ดาว) ป 2564 26 คะแนน 4 5 3 - สอบถาม/สมั ภาษณ - สอบถาม/สมั ภาษณ - เอกสารทเี่ ก่ยี วของ - เอกสารทีเ่ กย่ี วของ - สอบถาม/สมั ภาษณ - บันทึกการประชมุ - บนั ทกึ การประชมุ - รปู แบบและวิธสี รา ง - รปู แบบและวิธกี ารสราง - รปู แบบและวิธีการสราง การเรียนรู การพัฒนา การเรยี นรู การเรียนรู - บนั ทึกการประชมุ - รูปแบบการทบทวน - รูปแบบการทบทวน - เอกสารที่เก่ยี วของ ครอบคลุม : วิเคราะห ปรับปรุง วิเคราะห ปรับปรุง การจดั การทรัพยากร การจดั การทรัพยากรและ ประเด็น OTOP และ และการใชทรัพยากร การใชทรัพยากรจากชุมชน การจัดบรกิ ารทุกมติ ิ ในบางประเด็นหรือ ในบางประเดน็ หรือ (สง เสริม ปองกัน รักษา ครอบคลุมทกุ มิติ ครอบคลุมทุกมิติ ฟน ฟู) - รปู แบบและวธิ ีการสรา ง ความผกู พัน ความพึงพอใจ และความผาสุก สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภมู ิ

คูมอื แนว คำสำคญั และนิยามปฏบิ ตั กิ าร การวิเคราะหองคกร หมายถึง การวิเคราะหดานอัตรากำลังเปรียบเทียบตามกรอบของ ท้ังดา นการรกั ษาพยาบาล การสง เสรมิ สุขภาพ การปอ งกนั โรค และการฟน ฟูส ความผกู พนั (engagement) หมายถงึ การทีบ่ คุ ลากรมีความกระตือรือรน ในการปฏิบตั ิงานในหนา ความผกู พัน อาจหมายถึง การผูกใจบุคลากร หรือใชคำวา “รวมดวย ชวยก การเสริมสรางวัฒนธรรมองคกร การบริหารคาตอบแทน การสรางแรงจูงใจ ขององคกรงานท่ีไดร ับมอบหมายเปน งานที่มีคุณคา สอดคลอ งกับคานยิ มสว น ผลตอความพงึ พอใจของบุคลากร ควรพิจารณาประเด็นเรื่องคา ตอบแทน ควา สง่ิ แวดลอ มในการทำงาน การชวยเหลือของผูบริหาร การชว ยเหลอื ของผบู ริก ความม่ันคงในงาน การพฒั นาและการเรียนรู หมายถึง การวิจัย และพัฒนา การประเมินและปรับปรุงวิธีการทำงา การพัฒนาบุคลากร อาจทำไดทั้งภายในและภายนอกองคกร อาจเปนการฝ ทางไกล หรอื รปู แบบของการศกึ ษาและฝก อบรมอ่นื ๆ การฝกอบรมอาจจะเกิด Resource หมายถึง คน เงิน ของ ความรู รวมทั้งขอมูล ซึ่งเปนปจจัยนำเขา (in แนวทางที่จังหวดั กำหนดหรอื ตามบริบทหรือพื้นที่ผลการวิเคราะห Happinom

วทางการพัฒนาโรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 27 ขนาด S M L ตามบทบาทหนาที่และภารกิจการจัดบริการของ รพ.สต. ครอบคลุมทุกมิติ สภาพ แกป ระชาชน รวมถึงการจัดระบบบริการแบบเครอื ขาย าที่ และในงานท่ีไดรบั มอบหมาย ดว ยความมงุ มนั่ เพื่อใหบรรลพุ นั ธกิจขององคก ร กัน”การสรางความผูกพัน ครอบคลุมการสรางความสัมพันธ การสรางความพึงพอใจ การฝกอบรมบุคลากรที่มี ความพึงพอใจและความผูกพันกับองคกร จะรูสึกวาเปนสวนหน่ึง นตัว สอดคลองกับทิศทางขององคก ร และมีความรับผิดชอบตอ ความสำเรจ็ ของงานปจจัยท่ีมี ามกา วหนา ในตำแหนงงาน การแกไ ขปญ หาและขอรองเรียน การพฒั นาความรคู วามสามารถ การ ความปลอดภยั ในสถานท่ีทำงาน ภาระงาน การสอ่ื สาร ความรว มมอื การทำงานเปนทีม าน การแลกเปลี่ยนวิธีการทำงานที่ดี และการจัดระดับเทียบเคียง(benchmarking) รูปแบบ ฝกอบรมระหวางการปฏิบัติงาน การเรียนในหองเรียน การเรียนจากคอมพิวเตอร การเรียน ดจากการไดรับมอบหมายใหปฏิบตั ิงานในหรือนอกองคก ร nput) ของการทำงานการประเมินความพึงพอใจและการประเมินสมรรถนะของบุคลากรตาม meter ของกระทรวงสาธารณสขุ ในหว งระยะเวลาทก่ี ำหนด สำนักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ

คมู ือแนว แบบประเมนิ โรงพยาบาลสง เ หมวด การจัดระบบบรกิ ารครอบคล หนวยบริการ...................................................... จัดใหม ีระบบงานและกระบวนการบรกิ ารปฐมภมู ิทคี่ รอบคลมุ การบรกิ ารทีส่ รา การใหบรกิ ารดังกลาวเพื่อใหบรรลผุ ลและครอบคลุมประชากรทกุ กลุมวยั เกณฑ 1. มีชอ งทาง รายการตรวจปร การเขา ถงึ บริการ เชิงรกุ เชิงรบั 2. ระบบบริการ 3. เครื่องมือ บริการ 1.1 ชองทางการสื่อสาร 2.1 มี CPG ราย 3.1 มเี ครอ่ื งมือท การจัดบริการระบบให บริการทีส่ นบั สนนุ พรอมใช สอดคล คำปรึกษา (โทรศัพท, จากแมขาย กับการบรกิ าร Line, สอื่ (ไมเ กิน 5 ป ) (การบำรงุ รกั ษา ประชาสมั พันธ) 2.2 บคุ ลากรมี สอบเทียบ) 1.2 โครงสรา งหนาที่ ความรู 3.2 บคุ ลากรมคี ว ความรับผิดชอบ ความเขา ใจ ความเขาใจ สาม 1.3 ตารางการ สามารถใช CPG ใชเ ครือ่ งมือ ในก ปฏิบัติงาน ตารางการ ในการใหบ ริการได ใหบรกิ ารได ใหบรกิ ารระบบจัดคิว ปเอรกะสเมารนิ ทจเ่ี ากกย่ี วขอ ง เปอรกะสเมารินทจเ่ี ากกี่ยวของ ปแบระบเปมรินะจเมากิน สอบถาม/สัมภาษณ สอบถาม/ ภาคผนวก สมั ภาษณ 4.1 การจัดบริการตามสภาพปญ หาสำคัญของพ้ืนที่ (OTOP) ระดบั S : OTOP เรอื่ ง....................................... .......................................................... (ตามประเดน็ ปญ หาสำคัญของพ้นื ที)่

วทางการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ป 2564 28 เสริมสุขภาพตำบลติดดาว ป 2564 ด 4 บรกิ ารดี ลุมประเภทและประชากรทกุ กลุมวัย .อำเภอ............................. จังหวัด............................... างคณุ คาแกผ ูรับบริการและผมู สี วนไดส วนเสีย รวมท้งั จดั ใหม กี ระบวนการสนบั สนนุ ระเมิน คะแนน คะแนน แนวทางการ คำช้แี จง/ อ 4. มีระบบ 5. การบันทึกขอ มูล เตม็ ท่ีได พจิ ารณา คำนยิ าม สงตอ-รบั กลบั 5.1 การบันทึกขอ มูลท่ี ที่ ใหบ ริการใน ลอ ง เวชระเบียน (เอกสาร หรอื Electronic file) า 5.2 การบนั ทึก Family - Folder ครบถว น สมบูรณต ามมาตรฐาน วามรู (เอกสารหรือ มารถ Electronic file) การ ปเอรกะสเมารินกจาารกสงตอ, บปรรบิะเทมสินถตาานมบริการ 5 ทะเบยี นสง ตอ , การสื่อสารระบบ อื่นๆ เชน ไลน, โทรศัพท เอกสารท่ี การจัดบรกิ ารตามสภาพ เกย่ี วของ ปญ หาสำคญั ของพื้นท่ี สอบถาม/ หมายถงึ การจัดบรกิ ารที่ สัมภาษณ สอดคลอ งกบั ประเด็น OTOP สำนักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook