Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter-1-5-Ver-4

Chapter-1-5-Ver-4

Published by san, 2022-01-20 05:07:11

Description: Chapter-1-5-Ver-4

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 1 บทนำ คมู่ อื การจดั ทางานนพิ นธร์ ะดับบัณฑิตศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เน้ือหาในบทนา จะเกย่ี วขอ้ งกบั รายละเอยี ดตา่ งๆ ดังนี้ 1. นิยามและประเภทของงานนิพนธ์ 2. ความสาคญั ของงานนิพนธ์ 3. จรรยาบรรณในการดาเนนิ งานนพิ นธ์ 4. ประเด็นทค่ี วรตระหนกั ในการดาเนนิ งานนิพนธ์ 1. นยิ ำมและประเภทของงำนนิพนธ์ 1.1 นยิ ำม งานนิพนธ์ คือ ผลงานทางวิชาการ ที่นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ได้ดาเนินงาน ตามกระบวนการและระเบียบวิธกี ารแสวงหาความรู้ของแต่ละสาขาวชิ า โดยเรยี บเรียงเป็นรายงานในรูปแบบของ การค้นคว้าอิสระ วิทยานิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์ เพ่ือเสนอเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามเงื่อนไข ของแต่ละหลกั สตู ร 1.2 ประเภทของงำนนิพนธ์ งานนพิ นธ์ของคณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคอื 1.2.1 กำรค้นคว้ำอิสระ (Independent Study) หมายถึง งานนิพนธ์ท่ีนักศึกษาระดับ มหาบัณฑิต แผน ข. ได้รับอนุมัติให้ทาการศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์เจาะลึก ในประเด็นท่ีสาคัญของแต่ละสาขาวิชา และได้ดาเนินการถูกต้องตามระเบียบวิธีการ แสวงหาความรู้ของแต่ละสาขาวิชาจนเสร็จ สมบูรณ์ แล้วเผยแพร่ผลงาน ตอ่ สาธารณชน 1.2.2 วิทยำนิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ (Thesis or Dissertation) หมายถึง งานนิพนธ์ ของนักศึกษาในระดับมหาบัณฑิตหรือนักศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิตที่ได้รับอนุมัติ ให้ทาการศึกษาค้นควา้ ตามเง่ือนไขของหลักสตู ร โดยอาศัยระเบียบวธิ ีวิจัยดาเนินงาน อย่างเป็นระบบ และตามแบบแผนท่ีกาหนด เพ่ือแสดงถึงความคิดริเริ่มใน การแสวงหาความรู้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การสร้างสรรค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การอภิปรายถึงหลักฐานและข้อค้นพบจากการศึกษาวิจัยโดยเช่ือมโยงกับสมมติฐาน หรือหลักการหรือทฤษฎีหรือกรอบแนวคิดที่ได้กาหนดไว้เม่ือเริ่มทาการศึกษาวิจัย รวมทัง้ มีข้อสรุปบนพนื้ ฐานของขอ้ คน้ พบดังกลา่ ว

2 งานนิพนธ์เป็นสื่อในการถ่ายทอดความรู้ และ วิทยาการไปสู่นักวิชาการ นักวิชาชีพ และบุคคลทั่วไป ฉะนนั้ จาเป็นต้องมคี ุณภาพและมคี วามถูกต้องเชิงวชิ าการ 2. ควำมสำคัญของงำนนพิ นธ์ การจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มุ่งหวังท่ีจะให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการประกอบ อาชีพ รวมท้ังความสามารถในการแสวงหาความรู้ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ใหม่ส่งผลต่อการพัฒนาวิชาชีพ พัฒนา คุณภาพชวี ติ ของตนเอง และพฒั นาสงั คมตอ่ ไป ฉะนั้นงานนพิ นธ์ในแตล่ ะระดับจึงมคี วามสาคญั ดงั นี้ 1. เปน็ สญั ลักษณ์แสดงถึงควำมวริ ยิ ะอุตสำหะและควำมรอบรู้ของนักศกึ ษำ งานนิพนธ์แสดงถึงความสามารถในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ความสนใจใฝ่รู้วิชาการ อย่างต่อเน่ือง ความสามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาตามหลักวิชาการได้อย่างถูกต้องความสามารถเชิงวิจารณ์ อย่างสร้างสรรค์ ความสามารถเชิงการเขียนการใช้ภาษา รวมถึงเป็นหลักฐานสาคัญในการตรวจสอบคุณสมบัติ และคณุ ภาพของมหาบัณฑติ หรอื ดุษฎบี ณั ฑิต 2. เป็นเงื่อนไขสว่ นหนง่ึ ของกำรสำเรจ็ กำรศกึ ษำ ตามมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา กาหนดให้นักศึกษาในระดับมหาบัณฑิตและ ดุษฎีบัณฑิตต้องทางานนิพนธ์ โดยต้องสอบผ่านตามเงื่อนไขของคณะศึกษาศาสตร์ ดังนั้นหากนักศึกษา ไมส่ ามารถทางานนิพนธใ์ ห้ลลุ ่วงเปน็ ผลสาเรจ็ ก็ไม่สามารถสาเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตรได้ 3. เป็นดัชนีบง่ ช้คี ุณภำพของกำรศึกษำระดบั บัณฑติ ศึกษำ งานนิพนธ์นับว่าเป็นดัชนีบ่งช้ีคุณภาพของการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งนี้หากนักศึกษา ผลิตผลงานนิพนธ์ท่ีมีคุณภาพ เช่น ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ที่มีประโยชน์ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ในสังคม หรือได้ยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการท่ีมีมาตรฐานหรือการประชุมสัมมนา ระดับชาติ ระดับนานาชาติ จะส่งผลให้การจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของหลักสูตรสาขาวชิ านั้นๆ ได้รับการยอมรับ จากแวดวงวิชาการมากย่งิ ขนึ้ 3. จรรยำบรรณในกำรดำเนนิ งำนนพิ นธ์ ในการแสวงหาความรู้เพ่ือดาเนินงานนิพนธ์น้ัน จาเป็นต้องอาศัยวิธีการอันเป็นท่ียอมรับในแต่ละ สาขาวิชา โดยเฉพาะอย่างย่ิงวิธีวิทยาการวิจัย ซึ่งในที่นี้ครอบคลุมถึงแนวคิดและมโนทัศน์ วิธีการท่ีจะได้มาซึ่ง สารสนเทศทตี่ ้องการ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการสร้างองค์ความรู้ใหม่ การดาเนนิ งานในลักษณะเช่นน้ี อาจมีผลกระทบต่อบุคคล วิถีชีวิตทางสังคมของชุมชน ฉะนั้นนักศึกษาพึงตระหนักถึงจรรยาบรรณ หรือหลัก ความประพฤติอันเหมาะสมซึ่งแสดงถึงจริยธรรมในการดาเนินงานนิพนธ์ ท้ังนี้ต้องปฎิบัติตามแนวปฏิบัติ ท่ีคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือกาหนด และดังท่ีสานักงาน การวิจัยแห่งชาติ (2541) ได้กาหนด “จรรยำบรรณนักวิจัย” ไว้เป็นแนวทางสาหรับยึดถือปฏิบัติเพื่อให้ การดาเนนิ งานวจิ ยั ต้ังอยบู่ นพื้นฐานของจรยิ ธรรมและหลกั วชิ าการทีถ่ ูกตอ้ ง (ภาคผนวก ก หน้า 57)

3 การดาเนินงานนพิ นธ์ นักศกึ ษาพึงตระหนกั ตอ่ ข้อกาหนดทางจรยิ ธรรมดงั น้ี 1. สิทธิและควำมยินยอมของผู้ให้ข้อมูล ให้ถือเป็นหน้าท่ีท่ีผู้วิจัยต้องตระหนักในสิทธิ ของผู้ให้ข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่างที่จะได้รับทราบคาช้ีแจงเกี่ยวกับงานวิจัยและผลกระทบท่ีอาจจะ ได้รับจากการเข้าร่วมการวจิ ัยอย่างครบถว้ น ครอบคลุมและตรงไปตรงมา ทง้ั น้ผี ูว้ ิจัยต้องไม่กระทา การใดๆ อันเป็นการละเมิดต่อเสรีภาพในการตัดสินใจของผู้ให้ข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่าง ทที่ าการศกึ ษา ในกรณีท่ีจาเป็นต้องดาเนินการวิจัยซึ่งไม่สามารถเปิดเผย ให้ผู้ถูกศึกษาได้ทราบว่าตนเอง กาลังถูกศึกษา เน่ืองจากจะมีผลต่อความถูกต้องของผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องเพ่ิมความระมัดระวัง ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนต่อผู้ถูกศึกษา ทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ และ สังคม นอกจากนี้ต้องไม่ ดาเนินการวิจัยอันเป็นผลต่อการละเมิดหรือลิดรอนหรือลดทอนศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ของ ผถู้ ูกศึกษาและผูท้ ่ีเกีย่ วข้อง 2. กำรรักษำควำมเป็นส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล ผู้วิจัยต้องรักษาข้อมูลการวิจัยไว้เป็น ความลับ ไม่ว่าข้อมูลดังกล่าวจะอยู่ในรูปของคาตอบในแบบสอบถาม ภาพ หรือ เสียงการให้ สัมภาษณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีท่ีผลงานวิจัยจะส่งผลกระทบต่อผู้ให้ข้อมูล โดยต้องมีแนว ทางการป้องกันไม่ให้การตรวจสอบย้อนกลับไปบ่งช้ีได้ว่า ข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลของบุคคลใด ตวั อย่างเชน่ การใชน้ ามสมมติ การใช้รหัสแทนชอ่ื บคุ คลหรอื สถานที่สมมติ เปน็ ต้น 3. จรรยำบรรณในกำรใช้ประโยชน์จำกผลงำนของผู้อ่ืน การวิจัยเป็นการต่อยอดจาก ฐานขององค์ความรู้เดิมซ่ึงได้มีการพบมาก่อนน้ัน ความรู้ดังกล่าวอาจอยู่ในรูปของ แนวคิด ทฤษฎี ข้อเขียน ความคิด หรือ ข้อค้นพบจากงานวิจัย ซ่ึงเท่ากับว่าเจ้าของผลงานทางวิชาการดังกล่าว ขา้ งต้นเป็นผู้ท่ีมีคุณปู การทางวชิ าการ การใช้ประโยชน์จากผลงานของผู้อ่ืนนั้น แม้ว่าผู้วิจัยจะได้เขียนเรียบเรียงขึ้นใหม่ ผู้วิจัย จะต้องระบุว่า เป็นการเขียนและเรียบเรียงข้ึนมาจาก ข้อความ คาพูด ความคิด หรือ ข้อค้นพบ ของผู้ใด และต้องไม่ทาการใดๆ ท่ีทาให้เกิดความเข้าใจผิดว่า ผลงานวิชาการของผู้อ่ืนเป็นผลงาน ของผวู้ ิจยั โดยการทไ่ี มอ่ ้างอิงหรอื การอ้างอิงทไี่ ม่ถกู ต้อง ในส่วนของการทบทวนวรรณกรรม ผู้วิจัยจะตอ้ งเปน็ ผู้ที่ประมวลความรู้ต่างๆ ข้ึนมาด้วย ตนเอง โดยจะต้องไม่ลอกเลียนหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นท่ีเคยนาเสนอไว้แล้วมาเสนอใหม่ใน งานของตนแบบคาต่อคา บรรทัดต่อบรรทัด หรือหน้าต่อหน้า ในกรณีท่ีจาเป็นต้องคัดลอกก็ต้องใช้ การอ้างองิ ทถี่ กู ตอ้ งตามรูปแบบทค่ี ่มู ือนี้กาหนด เพื่อใหเ้ ห็นชัดเจนวา่ คัดลอกจากแหล่งใด 4. ควำมซ่ือตรงทำงวิชำกำรของผู้วิจัย ผู้วิจัยจะต้องมีความซื่อตรงทางวิชาการใน การดาเนินงานวิจัย เร่ิมตั้งแต่การทบทวนวรรณกรรม การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการวจิ ัย ซ่ึงจะต้องเปน็ ไปตามข้อเท็จจริงและการอ้างอิง โดยจะตอ้ งไม่บิดเบอื นเพื่อ วัตถปุ ระสงคแ์ อบแฝงใดๆ

4 เพื่อเป็นแนวปฏิบัติท่ีดีของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงกาหนดให้นักศึกษาทุกคนท่ีกาลังดาเนินการทางานนิพนธ์ จะต้องปฏิบัติกิจกรรม เพิ่มเติม ดังน้ี 1. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ต้องเข้าอบรมจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ ตามโครงการของ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้จัดขึ้น หรือสามารถเข้าอบรมในสถาบันต่างๆ ที่มี การจัดอบรมในเรื่องดังกล่าว ตามความเหมาะสม และนักศึกษาต้องนาเอกสารรับรองการ เขา้ อบรมประกอบเป็นหลักฐานในการขอสอบเคา้ โครงงานนิพนธเ์ ป็นลาดับต่อไป 2. เม่อื นักศกึ ษาผ่านการสอบเค้าโครงงานนิพนธ์แลว้ จะตอ้ งดาเนนิ การส่งโครงการวิจัยดังกล่าว เพื่อยื่นเสนอขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย จากคณะกรรมการการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือในหน่วยงานที่มีมาตรฐาน ก่อนการดาเนินการ วิจัยตามแผนการวจิ ยั 3. ก่อนการดาเนินการสอบงานนิพนธ์ นักศึกษาต้องดาเนินการตรวจอักขราวิสุทธ์ิ ในระบบตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรมทางวิชาการ ที่ website : http://plag.grad. chula.ac.th/ มีค่าไม่เกินตามที่มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ประกาศเป็น แนวปฏิบัติ และต้องแนบรายงานการแสดงค่าเปอร์เซ็นต์ความคล้ายระหว่างงานเขียนกับ เอกสารทอ่ี ยใู่ นฐานขอ้ มูล เพื่อเสนอกรรมการสอบงานนิพนธ์ 4. ประเด็นที่ควรตระหนักในกำรดำเนินงำนนพิ นธ์ ในการทางานนพิ นธ์ นกั ศกึ ษาตอ้ งตระหนักในประเดน็ ต่างๆ ดังน้ี 1. ระเบียบและประกำศตำ่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับกำรทำงำนนพิ นธ์ นกั ศึกษาควรทาความเข้าใจ ระเบยี บ ประกาศ และ ข้อกาหนด ของมหาวทิ ยาลยั ที่เก่ียวกับแนวปฏิบัติ ในการทางานนิพนธ์ให้ชัดเจน เพื่อช่วยให้สามารถวางแผนในการทางานนิพนธ์สาเร็จได้ตามกาหนดเวลา ซ่ึงสามารถอ่านและทาความเข้าใจได้จากคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและคู่มือการ จัดทางานนิพนธ์ ของคณะศึกษาศาสตร์ฉบบั น้ี 1.1 อำจำรยท์ ีป่ รึกษำงำนนิพนธ์ 1.1.1 กำรเลอื กอำจำรยท์ ป่ี รกึ ษำ นักศึกษาควรปรึกษาอาจารย์ท่ีปรึกษาท่ัวไป ประธานหรือกรรมการบริหารหลักสูตร ถึงหัวข้อปัญหาและแนวทางการวิจัยท่ีตนได้ศึกษามาแล้ว เพื่อขอคาแนะนาในการเลือกหรือติดต่ออาจารย์ ที่มีความรู้ ความชานาญหรือสนใจในหัวข้อปัญหาดังกล่าวให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ์ กิจกรรมการเลือก อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาน้ี อาจอยใู่ นดุลยพนิ จิ ของแตล่ ะสาขาวชิ าในการจัดอาจารย์ทปี่ รึกษาใหก้ บั นักศึกษา

5 1.1.2 กำรปรึกษำหำรือ ในการทางานนิพนธ์ นักศึกษาต้องพบปรึกษาหารือและรายงานความก้าวหน้า ของการทางานนิพนธ์อย่างสม่าเสมอ ตลอดระยะเวลาท่ีทางานนิพนธ์น้ัน หากเป็นไปได้ควรกาหนดตารางเวลา การเข้าพบอาจารย์ท่ปี รกึ ษาใหเ้ ป็นท่ีแนน่ อน อาจเป็นเดือนละหน่งึ ครัง้ หรือสองครงั้ เป็นอย่างน้อย 1.2 กำรวำงแผนทำงำนนพิ นธ์ ในการวางแผนทางานนิพนธ์ นักศึกษาสามารถดาเนินการควบคู่ไปพร้อมกับการเรียนรายกระบวน วิชา นักศึกษาสามารถเสนอเค้าโครงงานนิพนธ์ได้ เม่ือมีหน่วยกิตสะสมตามที่หลักสูตรสาขาวิชา กาหนดในแต่ละ หลักสูตร โดยไมจ่ าเป็นต้องเรียนให้ครบกระบวนวชิ า

6

7 บทที่ 2 แนวปฏิบัตใิ นกำรทำงำนนพิ นธ์ แนวปฏิบัติในการทางานนิพนธ์ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ได้กาหนดรายละเอยี ดดังน้ี 1. การลงทะเบยี นทางานนิพนธ์ 2. การเสนอหัวข้องานนพิ นธ์ 3. การนาเสนอเคา้ โครงงานนิพนธ์ 4. การขอแตง่ ต้งั อาจารยท์ ีป่ รึกษางานนพิ นธ์ 5. การประเมนิ ผลความกา้ วหน้าในการทางานนพิ นธ์ 6. การขอสอบงานนพิ นธ์ 7. การดาเนนิ การตา่ งๆ ในการสอบงานนพิ นธ์ 8. การสง่ งานนพิ นธ์ 9. แผนภมู ิขั้นตอนการทางานนิพนธ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ 1. กำรลงทะเบยี นทำงำนนิพนธ์ ปรญิ ญำโท (แผน ข) นักศึกษาจะลงทะเบียนทางานนิพนธ์คร้ังแรก เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาครบถ้วนตามกาหนด ในหลักสูตร โดยจะต้องได้รับระดับคะแนนเฉล่ียไม่ต่ากว่า 3.00 จาก ระดับ 4 ระดับคะแนน สอบผ่านการสอบ ประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียน และ/หรือปากเปล่าในสาขาวิชานั้น พร้อมท้ัง เสนอรายงานการค้นคว้าอิสระ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัย แต่งตัง้ และเปน็ ระบบเปิดใหผ้ ู้สนใจเข้ารับฟงั ได้ ปริญญำโท (แผน ก) แบบ ก1 และ ก2 นักศึกษาจะลงทะเบียนทางานนิพนธ์ครั้งแรก เม่ือนักศึกษาได้ศึกษาครบถ้วนตามกาหนด ในหลักสูตร โดยจะต้องได้รับระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จาก ระดับ 4 ระดับคะแนน หรือเทียบเท่า พร้อมท้ังเสนองานนิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งต้ัง และต้องเป็นระบบเปดิ ให้ผสู้ นใจเข้ารับฟงั ได้ ปรญิ ญำเอก (หลักสตู รแบบ 1.1,1.2,2.1 และ 2.2) นักศึกษาลงทะเบียนทางานนิพนธ์คร้ังแรก เมื่อศึกษาครบถ้วนตามข้อกาหนดในหลักสูตร โดยต้อง ได้ระดับคะแนนเฉล่ียไม่ตากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพ่ือเป็นผู้มีสิทธิขอทางานนิพนธ์ เสนองานนิพนธ์ การสอบผ่านการสอบปากเปล่า

8 ข้ันสุดท้าย โดยคณะกรรมการท่ีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือแต่งตั้ง ซึ่งจะต้อง ประกอบดว้ ยผู้ทรงคุณวุฒภิ ายในและภายนอกสถาบนั และตอ้ งเป็นระบบเปดิ ให้ผูส้ นใจเขา้ รบั ฟังได้ 2. กำรเสนอหัวข้องำนนิพนธ์ การเสนอหวั ข้องานนิพนธ์ โดยนกั ศึกษาทาบนั ทึก ตามแบบ ศษ.02 (ภาคผนวก ค หนา้ 91) เสนอต่อ ประธานหลักสตู รเพื่อให้ความเห็นชอบ และหลักสูตรสาขาวิชา ทาบนั ทกึ เสนอผ่านคณะศึกษาศาสตร์ เพอื่ เสนอ ตอ่ คณะกรรมการบัณฑติ ศกึ ษาเพ่อื พิจารณา เมื่อการพิจารณาหัวข้องานนิพนธ์ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิต หลักสูตรสาขาวิชา เสนอขอแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษา ตามแบบ ศษ.03 (ภาคผนวก ค หน้า 93) เสนอคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ เพอ่ื พจิ ารณาแตง่ ต้ัง 3. กำรนำเสนอเคำ้ โครงงำนนพิ นธ์ เค้าโครงงานนิพนธ์ เป็นเอกสารโครงการศึกษาวิจัยท่ีนักศึกษาเรียบเรียงข้ึนมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ คือ ช่ือเรื่อง (หัวข้อที่จะทาการวิจัย) ความสาคัญและที่มาของปัญหา คาถามการวิจัย วัตถุประสงค์ สมมติฐาน ขอบเขตเน้ือหา ประชากร ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ วรรณกรรมและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง กรอบแนวคิด และ วิธีการดาเนินการวิจัย โดยเป็นหัวข้อและองค์ประกอบตามที่คณะศึกษาศาสตร์กาหนด โดยความเห็นชอบ ของอาจารย์ท่ีปรึกษา นาเสนอสาขาวชิ าเพอื่ ทาการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการพิจารณาอนุมัตหิ ัวข้อต่อไป 4. กำรขอแตง่ ตั้งอำจำรย์ทปี่ รกึ ษำงำนนิพนธ์ เมื่อนักศึกษาได้รับการอนุมัติหัวข้องานนิพนธ์ ให้ดาเนินการเสนอแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษางานนิพนธ์ โดยผ่านการเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร นักศึกษาจะต้องดาเนินการจัดทารูปเล่มเค้าโครงงาน นิพนธ์ โดยมีหัวข้อและองค์ประกอบตามหลักสูตรสาขาวิชากาหนด โดยผ่านการพิจารณาเห็นชอบของอาจารย์ ที่ปรึกษา ประธานหลักสูตร เสนอตอ่ คณบดี เพอื่ พิจารณาอนุมัตใิ นการขึ้นสอบเค้าโครงงานนพิ นธ์ (3 บท) ต่อไป ให้นักศึกษาเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ์ ตามแบบ ศษ. 03 โดยผ่านความเห็นชอบของ ที่ประชุมสาขาวิชา ซ่ึงอาจารย์ที่ปรึกษามีคุณสมบัติและมีหน้าที่ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์ มาตรฐานหลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2558 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2558) โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี 4.1 อำจำรยท์ ป่ี รึกษำระดบั ปริญญำโท อาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานพิ นธ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและการค้นคว้าอิสระ ต้องเป็นอาจารย์ประจา หลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มี ตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษา

9 เพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ี กาหนดในการพิจารณาแตง่ ตัง้ ให้บคุ คล ดารงตาแหน่งทางวชิ าการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปียอ้ นหลัง โดยอย่างนอ้ ย 1 รายการ ต้องเป็นผลงานวจิ ัย 2) อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ร่วม (ถา้ มี) ต้องมีคณุ วฒุ ิและคุณสมบตั ิ ดงั นี้ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมท่ีเป็นอาจารย์ประจา ต้องมีคุณวุฒิ และ ผลงานทางวิชาการเช่นเดียวกับอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก สาหรับอาจารย์ ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ที่มีชื่ออยู่ ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือ การคน้ ควา้ อสิ ระ ไมน่ ้อยกว่า 10 เรื่อง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ ตามที่กาหนด ข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผมู้ ีความรู้ความเช่ยี วชาญและประสบการณ์สงู เป็นท่ียอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่าน ความเหน็ ชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งนั้น และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษา รับทราบ 4.2 อำจำรยท์ ี่ปรึกษำระดบั ปรญิ ญำเอก อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดุษฎีนพิ นธ์ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1) อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หลัก ต้องเป็นอาจารย์ประจาหลกั สูตร มีคุณวุฒิปริญญา เอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็น ผลงานทางวิชาการ ที่ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณา แต่งตัง้ ใหบ้ ุคคลดารงตาแหนง่ ทางวิชาการ อย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยี ้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการตอ้ งเปน็ ผลงานวจิ ัย 2) อาจารย์ทปี่ รกึ ษาดุษฎีนพิ นธ์รว่ ม (ถ้าม)ี ต้องมีคุณวุฒิและคณุ สมบัติ ดังนี้ อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ร่วมท่ีเป็นอาจารย์ประจา ต้องมีคุณวุฒิ และ ผลงานทางวิชาการเช่นเดียวกับอาจารย์ท่ีปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หลัก สาหรับอาจารย์ ท่ีปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ร่วมท่ีเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ที่มีช่ืออยู่ใน ฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ ไมน่ ้อยกว่า 5 เร่ือง

10 กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ ตามท่ีกาหนด ขา้ งต้น ผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอกจะตอ้ งเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง มาก เป็นทย่ี อมรับ ซึ่งตรงหรอื สัมพนั ธก์ ับหวั ขอ้ ดษุ ฎีนพิ นธ์ โดยผา่ นความเห็นชอบจาก สภาสถาบันอดุ มศึกษาแหง่ นนั้ และแจง้ คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 5. กำรประเมินผลควำมก้ำวหนำ้ ในกำรทำงำนนิพนธ์ การประเมินผลความก้าวหน้าในการทางานนิพนธ์ในแต่ละภาคการศึกษาในขณะท่ีการศึกษา ยังไม่เสรจ็ สนิ้ ให้กระทาดังนี้ 1. อาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ์ เป็นผู้ประเมินผลความก้าวหน้าในการทางานนิพนธ์ของนักศึกษา ทกุ ภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบยี น และรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะศกึ ษาศาสตร์ 2. การประเมนิ ความกา้ วหนา้ ในการทางานนิพนธ์ 2.1 การประเมินผลในระหว่างการดาเนินการทางานนิพนธ์ให้ใช้สัญลักษณ์ S (Satisfaction) หมายถึง ผลการประเมินความก้าวหน้าในการทางานนิพนธ์ของนักศึกษาเป็นที่พอใจ ให้อาจารย์ท่ีปรึกษางานนิพนธ์ประเมินความก้าวหน้าในการทางานนิพนธ์ของนักศึกษา โดยระบุจานวนหน่วยกิตงานนิพนธ์ที่ได้รับการประเมินให้ได้สัญลักษณ์ S ของนักศึกษา แต่ละคน ในแต่ละภาคการศึกษาน้ัน แต่ทั้งน้ีต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน หากผลการประเมินพบว่าไม่มีความก้าวหน้า จานวนหน่วยกิตท่ีได้ในภาคการศึกษาน้ันๆ ให้มีค่าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) โดยมีเกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าการทางานนิพนธ์ ตามท่ีแต่ละหลักสูตรสาขาวชิ า ไดก้ าหนดไว้ ประเมินผลรายวิชางานนิพนธ์ให้นักศึกษาได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวน หน่วยกิตในหลักสูตร นักศึกษาต้องเสนอต้นฉบับร่างงานนิพนธ์ท่ีพร้อมนาเสนอ คณะกรรมการสอบและต้นฉบับผลงานงานนิพนธ์ที่ต้องพิมพ์หรือเผย แพร่ตามเงื่อนไข ท่ีหลักสูตรกาหนด ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของงานนิพนธ์ ซึ่งต้องกาหนดจานวนหน่วยกิต ตามความเหมาะสมแล้วแต่กรณี 2.2 นักศึกษาท่ีลงทะเบียนงานนิพนธ์แล้วได้รับการประเมินผลความก้าวหน้าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรต้องพิจารณาสาเหตุ ซ่ึงอาจให้นักศึกษาผู้นั้นได้รับ การพิจารณาให้เปลีย่ นหัวข้อเรอื่ งงานนิพนธ์ หรือเปล่ียนอาจารย์ท่ีปรึกษางานนิพนธ์ หรือ อื่นๆ แล้วแต่กรณีและประธานหลักสูตรต้องรายงานสาเหตุและผลการพิจารณาต่อคณบดี เพื่อหาข้อยุติ หากไม่มีความก้าวหน้าในการทางานนิพนธ์โดยได้รับการประเมินผล สัญลักษณ์ เปน็ 0 ตดิ ตอ่ กัน 2 ภาคการศึกษาใหพ้ น้ สภาพการเปน็ นักศึกษา

11 6. กำรขอสอบงำนนิพนธ์ 1. นกั ศกึ ษาทม่ี ีสิทธิขอสอบงานนิพนธ์ จะตอ้ งผา่ นการสอบเค้าโครงงานนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 90 วัน และ มีผลการประเมินความก้าวหน้าในการทางานนิพนธ์ โดยได้สัญลักษณ์ S ครบตามที่หลักสูตร กาหนด 2. การดาเนินกอ่ นสอบงานนพิ นธ์ 2.1 นกั ศึกษาต้องเสนองานนิพนธ์ท่ยี ังไม่เข้าปกจานวน 1 เล่ม โดยผ่านการเหน็ ชอบของอาจารย์ ที่ปรึกษา พร้อมแบบคาร้องขอสอบตามแบบ ศษ.07 (ภาคผนวก ค หน้า 101) เสนอต่อ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร 2.2 ประธานหลักสตู รเสนอชือ่ คณะกรรมการสอบงานนิพนธ์ ผ่านคณบดีศกึ ษาศาสตร์ เพ่ือเสนอ ให้อธกิ ารบดอี นมุ ตั ิและส่งงานนิพนธ์ให้กรรมการสอบกอ่ นวันกาหนดสอบอย่างน้อย 10 วัน 7. กำรดำเนินกำรตำ่ งๆ ในกำรสอบงำนนิพนธ์ การสอบเพ่ือประเมินงานนิพนธ์ของนักศึกษา มี 2 ระยะ คือ การสอบเค้าโครงงานนิพนธ์ (3 บท) และ การสอบงานนิพนธ์ (5 บท) ซึ่งในแต่ละระยะจะประกอบด้วยการตรวจและประเมินคุณภาพผลงาน การทดสอบ ความรู้ของนักศึกษาด้วยวิธีการสอบปากเปล่า และการประชุมพิจารณาผลงานของกรรมการ โดยให้มี คณะกรรมการสอบงานนิพนธ์เปน็ ผู้สอบ 7.1 ระยะเวลำในกำรสอบงำนนพิ นธ์ 7.1.1 การสอบเคา้ โครงงานนพิ นธ์ (3 บท) 1) เมื่อนักศึกษาเป็นผู้มีสิทธิขอทางานนิพนธ์ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา 2558 นักศึกษาเสนอเค้าโครงงานนิพนธ์ ผ่านคณะกรรมการ บริหารหลักสูตร เพื่อเสนอให้คณบดีคณะศึกษาศาสตร์แต่งตั้งคณะกรรมการ พิจารณาอนุมัติเค้าโครงงานนิพนธ์ และประธานหลักสูตร เสนอคณบดี คณะศึกษาศาสตร์อนมุ ัตอิ าจารยท์ ป่ี รึกษางานนิพนธ์ 2) นักศึกษาส่งรูปเล่มเสนอขอขึ้นสอบเค้าโครงงานนิพนธ์ (3 บท) พร้อมแนบ หลักฐานการผ่านการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ต่อคณะกรรมการ บริหารหลกั สตู ร 7.1.2 การสอบงานนพิ นธ์ (5 บท) 1) หลังจากคณะกรรมการอนุมัติเค้าโครงงานนิพนธ์อย่างน้อย 90 วัน นักศึกษา เสนอรูปเล่มงานนิพนธ์ต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพ่ือพิจารณาแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบงานนิพนธ์ (5 บท) 2) นักศึกษาส่งรูปเล่มเสนอขอข้ึนสอบงานนิพนธ์ (5 บท) พร้อมแนบหลักฐาน การตรวจอักขราวิสุทธ์ิ ในกรณีวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์ ต่อคณะกรรมการ บรหิ ารหลกั สูตร

12 3) นักศึกษาจัดทารูปเล่มงานนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ส่งคณะศึกษาศาสตร์ โดยผ่าน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ภายใน 45 วัน หลังสอบ พร้อมเอกสารยืนยัน การตีพิมพ์บทความวิจัยตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา 2558 7.2 อำจำรย์ผ้สู อบงำนนิพนธ์ อาจารยผ์ สู้ อบงานนิพนธ์ มจี านวนและคณุ สมบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 (กระทรวงศึกษาธิการ,2558) โดยมี รายละเอยี ดดงั นี้ 7.2.1 ระดับปริญญำโท อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตร และ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ท้ังนี้ ประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็น อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม โดยอาจารย์ผู้สอบ วทิ ยานิพนธ์ ตอ้ งมีคุณวุฒิ คณุ สมบตั แิ ละผลงานทางวชิ าการดงั นี้ 1) กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการท่ี ไม่ใช่ส่วนหนึ่ง ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการ เผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด ในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง วชิ าการอย่างนอ้ ย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยี ้อนหลงั โดยอย่างน้อย 1 รายการตอ้ งเป็น ผลงานวิจัย 2) กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทาง วิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารท่ีมีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นท่ียอมรับ ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ไม่น้อย กวา่ 10 เรอ่ื ง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ ตามท่ีกาหนด ข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญและประสบการณ์ สูง เป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดย ผ่านความเห็นชอบ จากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งน้ัน และแจ้งคณะกรรมการการ อุดมศกึ ษารับทราบ 7.2.2 ระดับปริญญำเอก อาจารย์ผู้สอบงานนพิ นธ์ ตอ้ งประกอบด้วยอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร และผทู้ รงคุณวุฒิ ภายนอกสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า 5 คน ท้ังน้ีประธานกรรมการสอบต้องเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก โดยอาจารย์ผ้สู อบงานนิพนธ์ตอ้ งมีคุณวฒุ ิ คณุ สมบตั แิ ละผลงานทางวิชาการ ดงั นี้

13 1) กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่า ปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญาและเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับ การเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด ในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่ง ทางวชิ าการอยา่ งนอ้ ย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลงั โดยอยา่ งนอ้ ย 1 รายการต้อง เปน็ ผลงานวจิ ยั 2) กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทาง วิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพรใ่ นวารสารท่ีมีชอ่ื อยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ ใน ระดับนานาชาติ ซง่ึ ตรงหรือสมั พันธก์ ับหัวข้องานนิพนธ์ ไม่น้อยกวา่ 5 เรือ่ ง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ ตามที่กาหนด ข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเปน็ ผ้มู ีความรู้ความเช่ยี วชาญและประสบการณ์ สูงมาก เป็นท่ียอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้องานนิพนธ์ โดยผ่านความเห็นชอบ จากสภาสถาบนั อุดมศึกษาแหง่ นนั้ และแจง้ คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษารบั ทราบ การสอบงานนิพนธ์ต้องเป็นแบบเปิด โดยเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังการนาเสนอและตอบ คาถามของผ้เู ขา้ สอบได้ และคณะศึกษาศาสตรต์ ้องประกาศใหผ้ ้สู นใจเขา้ รว่ มรับฟัง 7.3 ผ้ปู ระเมนิ กำรสอบและเกณฑ์กำรประเมนิ คณะกรรมการสอบต้องเป็นกรรมการท่ีอยู่ร่วมในวันสอบ ตามแบบประเมินการสอบ เคา้ โครงงานนพิ นธ์ และแบบประเมนิ การสอบงานนพิ นธ์ (ภาคผนวก ง หนา้ 111) ซง่ึ การประเมินผลโดยให้ถือผล การประเมนิ ดังน้ี 1) กำรประเมนิ กำรสอบเค้ำโครงงำนนิพนธ์ เกณฑ์การให้ระดบั คะแนน X > 90 = สอบผ่าน 50 < X < 90 = ผ่านอย่างมเี งื่อนไข X < 50 = ไม่ผา่ น X หมายถึงคะแนนเฉลี่ย ในกรณที สี่ อบไมผ่ า่ น สามารถยน่ื เรอ่ื งขอสอบใหม่ ภายใน 45 วัน

14 2) กำรประเมนิ กำรสอบงำนนิพนธ์ เกณฑก์ ารใหร้ ะดบั คะแนน X > 90 = Excellent 80 < X < 90 = Good 70 < X < 80 = Pass X < 70 = Fail X หมายถงึ คะแนนเฉลีย่ ในกรณีท่ีสอบไมผ่ า่ น สามารถยืน่ เร่อื งขอสอบใหม่ ภายใน 45 วัน 7.4 กำรแจ้งผลกำรสอบงำนนิพนธ์ 1) ให้ประธานกรรมการสอบแจ้งผลการสอบเป็นลายลักษณ์อักษรแก่ คณบดี คณะศกึ ษาศาสตร์ และผู้เข้าสอบ ภายใน 3 วนั ทาการถัดจากวันสอบ 2) ในกรณีสอบผ่านแต่ต้องมีการแก้ไขให้มีบันทึกประเด็นหรือรายการที่ต้องการแก้ไข พร้อมท้ังมีการอธิบายช้ีแจงให้ผู้เข้าสอบรับทราบ ท้ังน้ีผู้เข้าสอบต้องแก้ไขให้แล้ว เสรจ็ และคณะกรรมการสอบให้ความเห็นชอบ ภายใน 45 วนั นับจากวนั สอบ หากไม่ สามารถดาเนินการได้ทันตามกาหนดดังกล่าวให้ถือว่าไม่ผ่านในการสอบครั้งน้ัน ให้ คณะกรรมการสอบรายงานผลข้นั ตอนสุดท้ายต่อคณบดี 3) กรณีสอบไม่ผ่านคณะกรรมการต้องสรุปสาเหตุหลักของการพิจารณาไม่ให้ผ่าน โดย การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร รายงานต่อประธานหลักสูตร ภายใน 3 วันทาการ ถัดจากวันสอบให้หัวหน้าภาควิชา หรือประธานหลักสูตรแจ้งผลการสอบให้คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ ภายใน 15 วัน 4) หากนักศกึ ษาขาดสอบโดยไม่มเี หตุสดุ วิสัย ใหถ้ ือวา่ สอบไม่ผ่านในการสอบครั้งนนั้ 7.5 นักศึกษำที่สอบงำนนิพนธ์ไมผ่ ำ่ น 1) ผู้สอบงานนิพนธ์ครั้งแรกไม่ผ่าน มีสิทธิ์ย่ืนขอสอบคร้ังท่ี 2 ได้ ภายใน 15 วันหลัง วันสอบ และ ต้องสอบภายใน 45 วันหลังวนั สอบ 2) ในกรณีที่ไม่ผ่านการสอบตามนัยแห่งข้อ 5.2 ให้ย่ืนขอสอบคร้ังที่สองภายใน 15 วัน หลังวันครบกาหนดการแก้ไข และต้องสอบภายใน 45 วัน หลังวันครบกาหนด การแก้ไข 3) การขอสอบท้ัง 2 กรณี (ตามข้อ 6.1 และ 6.2) ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือ ค่าลงทะเบียนสอบตามที่คณะกาหนด หากไม่ดาเนินการตามกาหนดข้างต้นให้พ้น สภาพการเปน็ นกั ศึกษา 4) การให้โอกาสสอบครั้งที่ 2 น้ี ไม่เป็นเหตุให้ได้รับยกเว้นหรือมิต้องปฏิบัติตามระเบยี บ หรอื หลกั เกณฑ์ที่กาหนดไว้ท่ีอ่ืนแต่อยา่ งใด 5) การอทุ ธรณ์ผลการสอบงานนิพนธ์ให้เป็นไปตามทม่ี หาวทิ ยาลัยกาหนด

15 8. กำรส่งงำนนิพนธ์ 1. นักศึกษาที่สอบผ่านการสอบงานนิพนธ์แล้ว ให้จัดพิมพ์รูปเล่มโดยมีองค์ประกอบและรูปแบบการ จัดพิมพ์ตามข้อกาหนดของคณะศึกษาศาสตร์ และส่งงานนิพนธ์ท่ียังไม่เข้าปก จานวน 1 ชุด ที่ หลักสูตรสาขาวิชา ภายใน 45 วันหลังจากวนั สอบเพอ่ื ตรวจสอบความถกู ต้องของรูปแบบงานนิพนธ์ สาหรบั นกั ศกึ ษาที่สอบผ่านแบบมีเงอ่ื นไข ใหจ้ ัดทารูปเลม่ โดยมีองคป์ ระกอบและรูปแบบ การจัดพิมพ์ตามข้อกาหนดของคณะศึกษาศาสตร์ และส่งงานนิพนธ์ ที่ยังไม่เข้าปก จานวน 1 ชุด ที่หลักสูตรสาขาวิชาภายใน 45 วันหลังวันสอบเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบงานนิพนธ์ เช่นกนั แต่ทัง้ น้ีหลงั จากที่คณะกรรมการสอบเหน็ ชอบการแก้ไขน้ัน นกั ศึกษาตอ้ งสง่ งานนิพนธ์ฉบับ สมบรู ณ์ท่ยี งั ไมเ่ ข้าปก ภายใน 3 วันทาการทหี่ ลกั สูตรสาขาวชิ า 2. หลักสูตรสาขาวิชาตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบและความเรียบร้อยทั่วไปของงานนิพนธ์ ภายใน 3 วันทาการ นับจากวันที่ส่งถึงคณะศึกษาศาสตร์ ถ้าหากมีข้อผิดพลาดนักศึกษาจะต้อง รีบดาเนนิ การแกไ้ ขแลว้ ส่งหลกั สูตรสาขาวชิ าภายใน 7 วัน 3. นักศึกษาไม่สามารถดาเนินการตามระยะเวลาในข้อ 1 และ ข้อ 2 และ ในกรณีที่ไม่ดาเนินการ ตามระยะเวลาภายใน 45 วันถอื ว่า การสอบงานนิพนธ์ เปน็ โมฆะตอ้ งดาเนินการขอสอบใหม่ 4. หลักสูตรสาขาวิชาจะส่งใบอนุมัติงานนิพนธ์ หลังจากท่ีนักศึกษาส่งงานนิพนธ์ท่ีแก้ไขเรียบร้อยแล้ว ตาม ขอ้ 1 เพอื่ ให้คณบดีลงนามภายใน 1 วัน 5. นักศกึ ษาตอ้ งรับงานนิพนธ์ฉบบั สมบูรณ์ท่คี ณบดีคณะศึกษาศาสตรล์ งนามแลว้ ไปดาเนนิ การเข้าเล่ม เย็บปกติตามมาตรฐานของคณะศึกษาศาสตร์ จานวน 2 เล่ม และต้นฉบับชนิดไม่เข้าปก จานวน 1 เล่ม รวมเป็น 3 เล่ม พร้อมแผ่นซีดีบันทึกข้อมูลงานนิพนธ์ จานวน 2 แผ่น ส่งคณะศึกษาศาสตร์ ภายใน 30 วัน นับตัง้ แตว่ นั ท่ีคณบดคี ณะศึกษาศาสตร์ลงนามรับรอง 6. นักศึกษาส่งงานนิพนธ์ตาม ข้อ 5 แล้ว คณะกรรมการวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์พิจารณา การสาเรจ็ การศกึ ษา 7. กรรมการวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์แจ้งรายช่ือนักศึกษาต่อสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือให้ความเห็นชอบ เพ่ือเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พิจารณาอนุมัติปรญิ ญา

16 9. แผนผงั ข้ันตอนกำรทำงำนนิพนธ์ คณะศกึ ษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยภำคตะวันออกเฉยี งเหนอื ปรบั แก้ นักศกึ ษาเสนอหวั ข้องานนพิ นธ์ ไมผ่ า่ น คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร ปรบั แก้ พจิ าณาหวั ข้องานนพิ นธ์ ไม่ผ่าน ผา่ น คณะกรรมการ บัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั พิจารณา หัวข้องานนพิ นธ์ ผ่าน คณะศกึ ษาศาสตร์ แต่งตั้งอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา นกั ศกึ ษาทาบนั ทึกขอสอบ เค้าโครงงานนิพนธ์ ดาเนนิ การขอสอบใหม่ ไมผ่ ่าน สอบเคา้ โครง ภายใน 45 วัน งานนิพนธ์ ดาเนนิ การขอพจิ ารณา ผ่าน ใหม่ ไมผ่ า่ น ดาเนนิ การขอพจิ ารณา จริยธรรมการวิจยั ในมนษุ ย์ ในชว่ งการพัฒนางานนพิ นธ์ นกั ศึกษา สามารถเขียนบทความวจิ ัยที่ ผา่ น เปน็ ส่วนหนึ่งของงำนนพิ นธ์ ดาเนนิ การตามแผนการวจิ ยั ไมน่ อ้ ยกวา่ 90 วนั เพื่อตพี ิมพใ์ นวารสารระดบั ชาติ หรือนานาชาติ ได้ นับจากวันที่เสนอสอบเคา้ โครงงานนิพนธ์ ดาเนินการขอสอบใหม่ ไมผ่ ่าน สอบงานนพิ นธ์ แนบหลักฐานการ ภายใน 45 วนั ตรวจอักราวิสทุ ธิ์ ผา่ น นศ.จดั ทารูปเล่มฉบับสมบรู ณ์ และย่ืนเรอ่ื งขอสาเร็จการศึกษา

17 บทที่ 3 องคป์ ระกอบงำนนพิ นธ์ฉบับสมบูรณ์ งานนิพนธ์ซึ่งแบ่งเป็น การค้นคว้าอิสระ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ มีองค์ประกอบในการเขียนฉบับ สมบูรณเ์ ช่นเดียวกนั ดังนี้ 1. สว่ นประกอบตอนตน้ 2. ส่วนเนอ้ื เรอ่ื ง 3. สว่ นประกอบตอนทา้ ย ตัวอย่างการพมิ พส์ ว่ นต่างๆ ในองคป์ ระกอบของงานนิพนธ์ แสดงไวใ้ นภาคผนวก ข สาหรับรายละเอยี ด ขององค์ประกอบแต่ละสว่ นมดี งั น้ี 1. ส่วนประกอบตอนตน้ ส่วนประกอบตอนต้น เป็นส่วนของรายงานท่ีเป็นด้านหน้าก่อนที่จะถึงเน้ือเรื่องของรายงาน ประกอบด้วย 1. ปกนอก ลักษณะงานนิพนธ์ฉบับที่ส่งคณะศึกษาศาสตร์ต้องเป็นปกแข็ง พ้ืนปกเป็นหนังเทียมโดย ให้ใช้พน้ื สีกรมท่า พิมพ์ข้อความบนปกและสนั ปกด้วยอักษรสที อง ส่วนประกอบบนปก ประกอบด้วย ตรามหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเรื่องงานนิพนธ์ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชื่อ- น า ม ส กุ ล ผู้ เ ขี ย น ง า น นิ พ น ธ์ แ ต่ ถ้ า มี ย ศ ฐ า นั น ด ร ศั ก ด์ิ ร า ช ทิ น น า ม ห รื อ ส ม ณ ศั ก ดิ์ ก็ให้ใส่ไว้ด้วย และข้อความเก่ียวกับประเภทงานนิพนธ์ หลักสูตร วิชาเอก สาขาหรือกลุ่มวิชา และ ปีพ.ศ.ที่สาเรจ็ การศึกษา บรรทัดสดุ ท้ายระบคุ าวา่ ลขิ สิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ภาคผนวก ข หน้า 65) 2. ปกใน มี 2 หน้า หน้าแรกให้พิมพ์ข้อความเป็นภาษาไทย หน้าสองพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ ชื่อหัวข้อ งานนพิ นธ์ภาษาอังกฤษให้พิมพ์ดว้ ยตวั พิมพใ์ หญ่ทุกตวั อักษร ข้อความบนปก ประกอบด้วย ชอ่ื เร่ือง งานนิพนธ์ ช่ือผู้เขียน ข้อความระบุประเภทของผลงาน หลักสูตร สาขาวิชา มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. ทส่ี าเร็จการศกึ ษา (ภาคผนวก ข หน้า 66) 3. หน้ำอนุมัติ จัดทาไว้เพ่ือให้คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ คณะกรรมการสอบงานนิพนธ์ ลงนามอนุมัติ ประกอบด้วย ตรามหาวิทยาลัย รายชอ่ื คณะกรรมการสอบ และ รายชอ่ื อาจารย์ทีป่ รึกษางานนิพนธ์ พรอ้ มลายมอื ช่ือ 4. บทคัดย่อ บทคัดย่อคือ ข้อความสรุปเน้ือหาของงานนิพนธ์ที่สั้นกะทัดรัด ชัดเจน ทาให้ผู้อ่านทราบ ถึงเนื้อหาของงานนิพนธ์อย่างรวดเร็ว ความยาวไม่เกิน 1 หน้า งานนิพนธ์ทุกเล่มต้องจัดพิมพ์ บทคัดย่อท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทคัดย่อดังกล่าวควรระบุถึง วัตถุประสงค์ และขอบเขต ของการวิจัย วิธีการวิจัย จานวนและลักษณะของกลุ่มที่ศึกษา รวมถึงเคร่ืองมือที่ใช้ วิธีการเก็บ

18 รวบรวมข้อมูล สถิติท่ีใช้ในการวิจัย ผลการวิจัย รวมถึงระดับนัยสาคัญทางสถิติ (ถ้ามีการทดสอบ) และคาสาคัญ สาหรับบทคัดย่อภาษาอังกฤษให้ถอดความตรงตามบทคดั ย่อภาษาไทย 5. หน้ำประกำศกำรได้รับทุน ในกรณีท่ีผู้วิจัยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยควรจัดทาหน้าประกาศ การได้รบั ทุนโดยระบุ หนว่ ยงาน องค์กร หรอื ผ้ใู ห้ทุนสนบั สนนุ 6. กิตติกรรมประกำศ คือ ข้อความแสดงความขอบคุณบุคคล สถาบันและ/หรือหน่วยงานที่มี ส่วนช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพ่ือเขียนงานนิพนธ์ ตลอดทั้งคณะกรรมการสอบ ผู้สนับสนุนเงินทุนวิจัย ผู้ให้ข้อคิดเห็น ผู้ให้ข้อมูล ข้อความดังกล่าวควรเขียนเป็นภาษาทางวิชาการ การระบุช่ือบุคคลให้ระบุ ช่ือจริงพร้อมนามสกลุ และ คานาหนา้ ห้ามใชช้ ่อื เล่น ถ้าเป็นบุคคลที่มียศ/ ตาแหน่งทางวิชาการ และตาแหน่งหน้าที่การงานให้ระบุไว้ด้วย กิตติกรรมประกาศนี้ให้พิมพ์ไว้ ต่อจากบทคัดยอ่ งานนิพนธ์ภาษาองั กฤษ ความยาวไมเ่ กนิ 1 หน้า 7. สำรบัญ เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสาคัญท้ังหมดของงานนิพนธ์ เรียงลาดับเลขหน้า หน้าแรกของสารบญั ไมต่ ้องพิมพ์เลขหน้า แต่นับหนา้ ส่วนหนา้ ถดั ไป พิมพเ์ ลขหนา้ กากบั ทุกหนา้ 8. สำรบัญตำรำง เป็นส่วนบอกตาแหน่งหน้าของตารางท้ังหมดที่มีอยู่ในงานนิพนธ์ รวมท้ังตารางใน ภาคผนวกด้วย พิมพ์เรียงลาดับต่อจากส่วนสารบัญ กรณีชื่อตารางยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์ ขอ้ ความในบรรทัดถัดไปโดยให้ข้อความตรงกับชอ่ื ตารางบรรทดั แรก 9. สำรบัญภำพหรือสำรบัญแผนภูมิ เป็นส่วนบอกตาแหน่งหน้าของภาพ (รูปภาพ แผนท่ี แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทงั้ หมดท่ีมีอยใู่ นงานนิพนธ์ พมิ พข์ ้นึ หนา้ ใหมเ่ รยี งต่อจากสารบัญตาราง 10. คำอธิบำยสัญลักษณ์และคำย่อ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์และคาย่อต่างๆ ท่ีใช้ในงาน นพิ นธ์ พมิ พ์ข้นึ หนา้ ใหม่เรียงต่อจากสารบัญภาพ 2. สว่ นเน้อื เรอ่ื ง ส่วนเนื้อเร่ืองของงานนิพนธ์ จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นบทๆ การกาหนดจานวนบทในคู่มือฉบับน้ี แบ่งออกเป็น 5 บทดังนี้ บทท่ี 1 บทนา บทท่ี 2 วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ส่วนโครงสร้างหัวข้อภายในแต่ละ บทอยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ์ ซ่ึงควรสอดคล้องตามแบบแผนการดาเนินงานวิจัยที่เป็น ท่ียอมรับในสาขาวิชาท่ีทางานนิพนธ์นั้น การเขียนส่วนเนื้อหางานนิพนธ์ อาจกาหนดจานวนบทแตกต่างจาก ที่กาหนดได้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของอาจารยท์ ป่ี รึกษางานนพิ นธ์ แตล่ ะบทมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ บทท่ี 1 บทนำ หัวข้อสาคัญในบทน้ีคือ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา คาถามการวิจัย วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั สมมติฐานการวิจยั ขอบเขตของการวจิ ยั ขอ้ ตกลงเบ้อื งตน้ (ถา้ มี) ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จาก งานวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ และ หากมีหัวข้อสาคัญอื่นๆ ที่เป็นเง่ือนไขของการวิจัย ก็อาจเพิ่มเติมหัวข้อเหล่านั้น ได้ตามความเหมาะสม

19 บทท่ี 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เป็นบทที่ผู้วิจัยนาเสนอผลการค้นคว้าและรวบรวมทฤษฎี หลักการ แนวคิดต่างๆ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องหรือข้อมูลพื้นฐานท่ีเกี่ยวข้องกับงานวิจัย ในการเขียนบทท่ี 2 ผู้วิจัยอาจ กาหนดหัวข้อย่อยแตกต่างกันออกไป ข้ึนอยู่กับลักษณะของเน้ือหาและตัวแปรที่เก่ียวข้อง โดยท่ัวไปมักประกอบ ไปดว้ ยหวั ข้อยอ่ ยดงั นี้ ความร้พู ืน้ ฐานเกี่ยวกับเรือ่ งทวี่ จิ ยั ทฤษฎที ร่ี องรับ ผลการวิจัยทเี่ กย่ี วข้องทงั้ ภายในประเทศ และตา่ งประเทศ และกรอบแนวคิดการวจิ ัย บทท่ี 3 วิธีดำเนินกำรวิจัย เป็นบทที่กล่าวถึง รายละเอียดของระเบียบวิธีการวิจัย หรือการดาเนิน งานวิจัย ตลอดจนขั้นตอนการดาเนินงานวิจัย การกาหนดหัวข้อย่อย และเน้ือหาของบทนี้ อาจจะแตกต่างกันไป ตามประเภทของการวิจัย โดยท่ัวไปแล้ว บทที่ 3 ควรประกอบด้วย หัวข้อย่อยดังต่อไปนี้ รูปแบบการวิจัย หรือ แบบแผนการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และนาเสนอ ขอ้ มูล และเกณฑก์ ารแปลความหมาย (ถา้ ม)ี บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล เป็นบทท่ีเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือแสวงหาคาตอบหรือปัญหา การวิจัย จะเป็นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรปู แบบข้อความ ตาราง หรือภาพ พร้อมคาอธิบาย ซึ่งต้อง สอดคล้องและเรียงลาดบั ตามวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ เป็นบทสุดท้ายของรายงาน มักจะประกอบด้วยหัวข้อ ย่อย ดงั ตอ่ ไปนี้ • สรุปการดาเนินงานวิจยั เป็นการสรุปการดาเนนิ งานวจิ ยั โดยนาสาระสาคัญจากบทท่ี 1 และ บทที่ 3 มาสรปุ ยอ่ ๆ เป็นความเรียง • สรุปผลการวิจัย เป็นการสรุปผลการวิจัย ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลในบทท่ี 4 โดย นาเสนอเป็นข้อๆ เรียงตามวตั ถุประสงค์การวจิ ัย • อภิปรายผล เป็นการอภิปรายถึงผลการวิจัยที่ได้รับว่า ผลการวิจัยนั้นๆ สัมพันธ์กับ ผลการวิจัยที่มีผู้ทาไว้ก่อนแล้ว หรือสัมพันธ์กับนโยบาย หรือการปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ แล้วแต่ กรณี การอภิปรายผลใน บทที่ 5 มักจะเก่ียวข้องกับการทบทวนวรรณกรรมท่ี เสนอไว้ในบท ท่ี 2 • ข้อเสนอแนะ ประกอบด้วย ข้อเสนอแนะเพ่ือการนาผลการวิจัยไปใช้และข้อเสนอ เพอื่ การวจิ ัยตอ่ ไป 3. สว่ นประกอบตอนทำ้ ย 1. หน้ำบอกตอน คือ หน้าที่เขียนหรือพิมพ์หัวข้อเร่ืองไว้กลางหน้ากระดาษเพื่อบอกว่า ตอนต่อไปคือ อะไร หน้าบอกตอนน้ีจะจัดไว้ก่อนตอนต่างๆ ในส่วนประกอบตอนท้าย เช่น หน้าบอกตอนของ บรรณานุกรม ก็จะเขียนหรือพิมพ์คาว่า “บรรณานุกรม” ไว้กลางหน้ากระดาษเพ่ือบอกให้ผู้อ่าน ทราบวา่ ตอนตอ่ ไปคือ บรรณานกุ รม 2. บรรณำนุกรม คือ รายการวัสดุสารสนเทศทุกประเภทท่ีใช้ศึกษาค้นคว้า ซึ่งอาจประกอบด้วย หนังสือ บทความ วารสาร งานนิพนธ์ และส่ืออ่ืนๆ ท่ีผู้วิจัยได้ค้นคว้าในการทารายงานการวจิ ัยเร่อื ง

20 น้ัน บรรณานุกรมจะต้องนาเสนอโดยการจัดเรียงตาม ลาดับอักษร ช่ือผู้แต่งถ้ามีรายการทั้งเอกสาร ภาษาไทย และเอกสารภาษาอังกฤษ ให้แยกรายการ โดยจัดให้เอกสารภาษาไทยข้ึนก่อน ตามด้วย เอกสารภาษาอังกฤษ รายละเอยี ดการอา้ งองิ ดูในบทที่ 4 3. ภำคผนวก คือ ส่วนที่เป็นรายละเอียดเพ่ิมเติมเพื่อช่วยให้เกิดความสมบูรณ์ในข้อมูล เป็นข้อความ ท่ีไม่สามารถบรรจุอยู่ในส่วนของเน้ือหา เป็นส่วนเสริมให้เกิดความเข้าใจชัดเจนย่ิงขึ้น แต่ไม่ถือว่า เป็นส่วนหน่ึงของเน้ือเรื่อง เช่น รายละเอียดการคานวณหรือการวิเคราะห์ข้อมูล สูตรการคานวณ หนังสือติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นต้น ในกรณีท่ีมีหลายภาคผนวกให้ พิมพ์เรียงลาดับเป็น ภาคผนวก ก (APPENDIX A) ภาคผนวก ข (APPENDIX B) ภาคผนวก ค (APPENDIX C).... ต่อเนื่องกันไปจนหมด เฉพาะหน้านี้ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้า แต่นับหน้า แต่ละ ภาคผนวกใหข้ น้ึ หน้าใหม่และพิมพเ์ ลขหน้าทุกหน้า 4. ประวัติย่อผู้วิจัย คือ ส่วนท้ายสุดของงานนิพนธ์ และพิมพ์เลขหน้าด้วย เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถ ติดต่อผู้เขียนงานนิพนธ์ได้ ให้เขียนเป็นความเรียง ความยาวไม่เกิน 1 หน้า ครอบคลุมรายละเอียด ดงั น้ี ชื่อนามสกุล พร้อมคานาหนา้ (ใหร้ ะบุว่าเป็น นาย นางสาว นาง หรือ ยศ ฐานันดรศกั ดิ์ ราชทิน นาม หรือ สมณศักด์ิ) วัน เดือน และปีเกิด และสถานท่ีเกิด (ให้บอกอาเภอ และจังหวัดท่ีเกิด) ท่ีอยู่ ปัจจุบัน (ให้ระบุที่อยู่ที่สามารถติดต่อทางไปรษณีย์ได้) และประวัติการศึกษา (ให้ระบุปีที่สาเร็จ การศึกษา วุฒิที่ได้รับ และสถาบันที่สาเร็จการศึกษา ต้ังแต่ข้ันปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเท่าข้ึนไป จนถึงปัจจุบัน) ประสบการณ์การทางาน ช่ือผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ รางวัลหรือ ทุนการศึกษาท่ีได้รับ ระบุเฉพาะที่สาคัญ ตาแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน และสถานที่ทางาน (ถ้ามี) เช่น อาจารย์ ผอู้ านวยการโรงเรยี น นักวิชาการ เปน็ ตน้

21 บทที่ 4 กำรจดั พิมพง์ ำนนิพนธ์ งานนิพนธ์เป็นผลงานทางวิชาการของนักศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ดังน้ันเพ่ือให้งานนิพนธ์ของนักศึกษา เป็นผลงานท่ีมีคุณค่า สามารถนาไปใช้ในการอ้างอิง และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า มีรูปแบบที่น่าอ่าน และทาความเข้าใจได้ง่าย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงกาหนดรูปแบบการพิมพ์ งานวจิ ยั และส่วนประกอบสาคัญตามลาดับดังน้ี 1. กระดาษและการจดั หนา้ กระดาษ 2. การจัดตาแหนง่ ข้อความในหนา้ กระดาษ 3. การใส่เลขหน้าและการลาดับหนา้ 4. การแบง่ บทและหัวขอ้ ในบท 5. ตวั พิมพ์ 6. การเว้นระยะห่างระหว่างบรรทดั 7. การย่อหน้า 8. การใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน 9. การพมิ พ์คาภาษาตา่ งประเทศ 10. การพมิ พอ์ ญั พจน์ 11. การพิมพ์สารบัญ 12. การพมิ พต์ าราง 13. การพมิ พ์ภาพ 14. การพมิ พห์ น้าบอกตอน 1. กระดำษและกำรจดั หน้ำกระดำษ กระดาษที่ใช้พิมพ์ให้ใช้กระดาษขาวไม่มีบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 หนา 80 แกรม ใช้พิมพ์เพียงหน้า เดยี ว โดยจดั หนา้ กระดาษดังนี้ 1. การเว้นที่ว่างจากขอบกระดาษถึงเน้ือหา ด้านซ้ายมือและด้านบน ให้เว้นห่างจากขอบกระดาษ ประมาณ 1.5 นิ้ว (3.5 เซนติเมตร) ด้านขวามือ และด้านล่าง เว้นห่างขอบกระดาษประมาณ 1 นว้ิ (2.5 เซนตเิ มตร) ทุกหนา้ 2. ใหจ้ ดั พิมพ์ดว้ ยเครื่องพมิ พ์เลเซอร์

22 2. กำรจดั ตำแหนง่ ข้อควำมในหน้ำกระดำษ การพิมพ์รายละเอียดสว่ นเน้ือเร่ือง ใหจ้ ดั ตาแหนง่ ข้อความเปน็ แบบชิดขอบซ้ายและขอบขวา (กระจาย แบบไทย) โดยคานงึ ถงึ ความถูกต้องทางภาษา ไมพ่ มิ พ์แยกคา การเว้นวรรคใหเ้ ว้นระยะ 1 ตัวอักษร สว่ นการเว้น ระยะอืน่ ๆ ให้เป็นไปตามรูปแบบทกี่ าหนดไว้ 3. กำรใสเ่ ลขหน้ำและกำรลำดบั หนำ้ ในการลาดับหน้า ส่วนประกอบตอนต้น ท้ังหมด ให้ใช้ตัวอักษรเรียงตามลาดับพยัญชนะในภาษาไทย โดยเริ่มพิมพ์ตัวอักษร ง ท่ีหน้าบทคัดย่อภาษาไทย เว้นแต่ ปกใน (ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) หน้าอนุมัติ และ หนา้ แรกของสารบญั ไม่ต้องพมิ พต์ ัวอักษรกากบั หน้า แตใ่ หน้ บั จานวนหน้ารวมไปด้วย ส่วนเนื้อเร่ือง และ ส่วนประกอบตอนท้าย ให้ลาดับหน้าโดยพิมพ์หมายเลข 2, 3, 4 ฯลฯ ต่อเน่ืองกัน ตลอดทกุ หน้าจนจบเล่ม ยกเวน้ หนา้ แรกของบทที่ทุกบท หนา้ แรกของบรรณานกุ รม และหนา้ แรกของภาคผนวก ไม่ต้องพมิ พ์เลขหน้ากากับ แตใ่ ห้นับจานวนหนา้ รวมไปด้วย ตาแหน่งการพิมพ์เลขหน้า ให้พิมพ์ไว้ท่ีมุมขวาด้านบนของแต่ละหน้า ห่างจากขอบกระดาษด้านบน 2 เซนติเมตร และดา้ นขวา 1.5 เซนติเมตร 4. กำรแบ่งบทและหวั ข้อในบท 1. กำรพิมพ์ชือ่ บท เมื่อข้ึนบทใหม่ ต้องข้ึนหน้าใหม่เสมอ โดยแต่ละบทจะเร่ิมด้วยข้อความ “บทท่ี” ซึ่งเป็นอักษรตัวหนา และตามด้วยเลขอารบิกกากับบท วางไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ ท่ีบรรทัดแรกของหน้า ช่ือบทให้พิมพ์ไว้ในบรรทัด ถัดลงมา และจัดให้อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษเช่นเดียวกัน ในกรณีที่ช่ือบทท่ียาวเกิน 1 บรรทัด ให้แบ่งเป็น 2 -3 บรรทดั ตามความเหมาะสม โดยพมิ พ์เรียงลงมาเปน็ ลกั ษณะสามเหลีย่ มกลบั หวั 2. กำรลำดับหวั ขอ้ ในบท หัวข้อสาคัญ (Heading) ในแต่ละบท หมายถึงหัวข้อหลัก ซ่ึงมิใช่เป็นชื่อเร่ืองประจาบท ควรพิมพ์ด้วย อักษรตัวเข้ม ชิดแนวพิมพ์ด้านซ้ายมือ และควรเว้นระยะก่อน หัวข้อสาคัญ 1 บรรทัด เว้นระยะห่างก่อนบรรทัด ถัดมา 6 Points สาหรับภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของคาแรกและของทุกๆ คาในหัวข้อสาคัญๆ เหล่านี้ต้อง พิมพ์ด้วยอักษรตัวใหญ่เสมอ แต่ บุพบท (preposition) สันธาน (conjunction) และ คานาหน้านาม (article) ไมต่ อ้ งพมิ พ์ด้วยอกั ษรตวั ใหญ่ เว้นแต่ บพุ บท สันธาน และ คานาหน้านามดังกล่าวเป็นคาแรกของหวั ข้อนั้น การขึ้นหัวข้อใหม่ ถ้ามีท่ีว่างสาหรับพิมพ์ข้อความต่อไปได้ไม่เกินหน่ึงบรรทัดแล้ว ให้ขึ้นหัวข้อใหม่ใน หน้าถดั ไป หัวข้อย่อย (Sub Heading) พิมพ์หัวข้อย่อยโดยย่อหน้า 0.5 เซนติเมตร การพิมพ์หัวข้อย่อย อาจใช้ ตวั อกั ษรกากับสลับกบั ตวั เลข หรือตัวเลขอยา่ งเดยี วก็ได้ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี

23 แบบตัวเลขกากับอยา่ งเดียว -----1 บรรทดั ----- แนวคิดและทฤษฎีท่เี กี่ยวกบั กำรบริหำรสถำนศกึ ษำ(หัวข้อหลกั ) 1. ความหมายของการบรหิ ารสถานศกึ ษา (หวั ข้อย่อย) ต้งั ค่าระยะห่างก่อน 6 Points 1.1 ……………………….… 1.1.1 ..................................... 1)................................ 2)................................ (1)................................ (2)................................ 3)................................. 1.1.2…………………….. 1.2 ………………………... 5. ตวั พมิ พ์ กำรใช้ตัวอักษร ให้ใช้ตัวอักษรไทยสารบรรณ แบบ PSK (TH Sarabun PSK) ขนาด 16 Points ตลอดทัง้ เลม่ • หัวขอ้ ให้พิมพ์เป็นตัวอักษรแบบตัวหนา และตอ้ งเปน็ ตวั อกั ษรแบบเดยี วกันตลอดทง้ั เล่ม • ตวั อักษรภาษาองั กฤษตัวแรกของคาหรือขอ้ ความขน้ึ ต้นด้วยอกั ษรตัวใหญ่ • ตวั เลขใหใ้ ช้แบบเดยี วกันตลอดทั้งเล่ม เช่น ใชเ้ ลขอารบิกแบบเดียวโดยตลอด หากจาเป็นต้องใช้ เลขไทยต้องเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสม 6. กำรเว้นระยะห่ำงระหว่ำงบรรทัด 1. ใหก้ าหนดระยะหา่ งระหวา่ งบรรทัดเป็นแบบระยะพิมพ์เดยี่ ว (Single Space) 2. ระยะหา่ งระหว่างชือ่ บทกับหัวข้อแรกหรือบรรทดั แรกของเนอื้ เรือ่ งให้เวน้ ว่าง 1 บรรทัด 3. การพมิ พ์หัวข้อใหม่ ระยะหา่ งระหว่างบรรทัดสุดทา้ ยของหัวขอ้ เดิมกบั หัวข้อใหม่ ให้เว้น 1 บรรทัด 7. กำรยอ่ หน้ำ การย่อหน้า ย่อหน้าแรกให้เว้นระยะ 1.5 เซนติเมตร จากขอบซ้าย หากมีย่อหน้าที่ย่อยลงไปอีกให้เว้น ระยะเพ่ิมออกไปอีก 0.5 เซนติเมตรไปเร่ือยๆ และเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการพิมพ์ให้ดาเนินการ จัดระบบการพมิ พ์

24 ตัวอยำ่ งกำรกำหนดย่อหนำ้ คา่ ย่อหน้า | 1.5 |สว่ นประกอบของงานนพิ นธ์ มี 3 สว่ นคือ | 2.0 |1. /ส่วนประกอบตอนตน้ ประกอบด้วย | 2.5 |1.1 ปก 8. กำรใชเ้ ครือ่ งหมำยวรรคตอน 1. การใช้เคร่อื งหมาย มหัพภาค (.) 1.1 เครือ่ งหมายนจี้ ะไมป่ รากฏในสารบัญ สารบัญตาราง สารบญั ภาพ และ ตวั เลขทแี่ สดงจานวน 1.2 เคร่ืองหมายน้ีใชก้ ากบั หมายเลขขอ้ โดยใหเ้ ว้น 1 ตวั อกั ษร แลว้ จงึ พมิ พข์ อ้ ความตอ่ ไป 1.3 ในกรณีท่ีใช้เคร่ืองหมายน้ีกับอักษรย่อ หากเป็นอักษรย่อชุดเดียวกันไม่ต้องเว้นระยะ เช่น พ.ศ., กศ.ม. , Ph.D. เป็นต้น 2. การใช้เคร่อื งหมายวรรคตอนอื่นๆ ใหถ้ ือปฏบิ ัตดิ ังนี้ 2.1 เครื่องหมาย จุลภาค (,) หน้าเครื่องหมายนี้ไม่ต้องเว้นระยะ แต่หลังเครื่องหมายน้ี ให้เวน้ 1 ตัวอักษร แล้วจงึ พมิ พข์ ้อความต่อไป 2.2 เคร่ืองหมาย อัฒภาค (;) หนา้ และหลงั เคร่ืองหมายนใ้ี ห้เวน้ ระยะ 1 ตวั อักษร 2.3 เคร่ืองหมาย ทวภิ าค (:) หน้าและหลงั เครอ่ื งหมายนี้ใหเ้ ว้นระยะ 1 ตวั อักษร 2.4 เครอื่ งหมาย ยัตภิ ังค์ (-) หนา้ และหลังเครือ่ งหมายนไี้ มต่ ้องเว้นระยะ 2.5 เครือ่ งหมาย วงเลบ็ ( ) หนา้ และหลงั วงเล็บใหเ้ ว้นระยะ 1 ตวั อักษร 9. กำรพมิ พค์ ำภำษำตำ่ งประเทศ สาหรับคาที่เป็นชื่อเฉพาะในภาษาต่างประเทศ ให้เขียน ทับศัพท์ เป็นภาษาไทยโดยไม่ต้องวงเล็บ ภาษาต่างประเทศน้ันๆ ส่วนคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่ได้มีการบัญญัติศัพท์ไว้แล้วโดย รำชบัณฑิตยสถำน ก็ให้ใช้ ตามน้ัน การพมิ พภ์ าษาตา่ งประเทศโดยใช้ตวั อักษรภาษาไทยไม่นิยมใสร่ ปู วรรณยุกต์กำกบั เสยี งสงู ตำ่ เช่น Technology เป็น เทคโนโลยี Hypergraph เป็น ไฮเพอร์กราฟ Computer เป็น คอมพวิ เตอร์ Function เป็น ฟังก์ชัน

25 คาภาษาองั กฤษทเี่ ป็นพหูพจน์ ในภาษาไทยไมเ่ ตมิ “ส” หรือ “ส์” เช่น เป็น อินทกิ รัล Integrals เป็น เซมิกรุป Semigroups เป็น เกม Games ยกเว้นคานามท่ีใชเ้ ปน็ ช่ือเฉพาะ เช่น SEAGAMES เป็น ซีเกมส์ THAI AIRWAYS เป็น ไทยแอรเ์ วส์ NEW YORK TIMES เป็น นิวยอร์ก ไทมส์ 10. กำรพมิ พ์อัญพจน์ อัญพจน์ คือ การคัดลอกข้อความจากแหล่งต่างๆ จะต้องเหมือนของเดิมทุกประการ ไม่ควรแทรก ข้อความอ่ืนใดลงในอัญพจน์ หากจาเป็นต้องอธิบายให้พิมพ์ไว้ในวงเล็บเหล่ียม [ ] หรือให้เชิงอรรถอธิบาย หาก ต้องการตัดข้อความบางตอนออกไปให้ใช้จุดสามจุด (...) แทนข้อความท่ีไม่ต้องคัดลอกนั้น ในกรณีที่อัญพจน์น้ัน ไม่ใช่ภาษาเดยี วกบั งานนพิ นธใ์ ห้แปลหรือถอดความไว้ดว้ ย ซ่งึ มีหลักเกณฑใ์ นการพมิ พด์ ังน้ี 1. อัญพจน์ทเ่ี ปน็ รอ้ ยแก้ว 1.1 อัญพจน์ที่มีความยาวไม่เกินสองบรรทัด ให้ใส่ไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศ “...” ถ้าอัญ พจนด์ ังกลา่ วมีอัญพจน์อีกอัญพจน์หนง่ึ ซอ้ นอย่ใู ห้ใช้เครือ่ งหมายอญั ประกาศเด่ียว 1.2 อัญพจน์ที่มีความยาวเกินสองบรรทัด ให้พิมพ์แยกจากข้อความบรรยายโดยไม่ต้องใช้ เคร่ืองหมายอัญประกาศกากับ ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ห่างจากข้อความข้างบนสองช่วงบรรทัด พิมพ์โดยบรรทัดแรกให้ย่อหน้าเข้ามา 1.5 เซนติเมตร ส่วนบรรทัดอื่นๆ ทุกบรรทัดย่อหน้า เข้ามา 0.5 เซนติเมตร จากขอบซ้าย และ ห่างจากขอบขวา 0.5 เซนติเมตร 1.3 ระบุแหล่งที่มาให้ถูกตอ้ งตามรปู แบบการอา้ งอิง 2. อัญพจน์ที่เป็น บทกวี คาขวญั คตพิ จน์ คาพงั เพย และ สภุ าษิต 2.1 ถ้ามีความยาวไม่เกินสองบรรทัด ให้พิมพ์แทรกไว้ในข้อความบรรยาย โดยใช้เครื่องหมาย อัญประกาศคกู่ ากับ 2.2 ถ้ามีความยาวเกินสองบรรทัด ให้พิมพ์แยกจากข้อความบรรยายโดยไม่ต้องใช้เคร่ืองหมาย อัญประกาศ ให้ขึ้นบรรทดั ใหมใ่ ห้หา่ งจากขอ้ ความข้างบนสองช่วงบรรทดั พิมพ์ 2.3 วางรูปบทกวี ฯลฯ ตามความเหมาะสม พิมพ์ชื่อผู้แต่งบทกวี ฯลฯ ไว้ข้างล่างด้านขวามือ หา่ งจากอญั พจนห์ นงึ่ ชว่ งบรรทัดพิมพ์ 2.4 ระบุแหล่งทีม่ าใหถ้ ูกต้องตามรปู แบบการอา้ งอิง

26 11. กำรพมิ พ์สำรบญั 1. ในหน้าแรกของสารบัญให้พิมพ์คาว่า “สารบัญ” ด้วยอักษรตัวหนา อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษท่ี บรรทัดแรกของหนา้ กระดาษ 2. หัวข้อและเลขหน้าท่ีปรากฏในสารบัญ จะต้องเป็นข้อความที่ทุกคาตรงกับหัวข้อและเลขหน้าแรก ของหวั ขอ้ น้นั ๆ 3. คาว่า “บทท่ี” จะต้องพิมพ์ตัวหนาชิดขอบซ้ายและห่างจากคาว่า “สำรบัญ” 1 ช่วงบรรทัดพิมพ์ สว่ นคาวา่ “หน้ำ” ใหพ้ ิมพต์ ัวหนาไวบ้ รรทัดเดยี วกบั “บทท”ี่ โดยพิมพ์ใหช้ ดิ ขอบขวา 4. การพิมพ์ตัวเลขกากับบท ให้พิมพ์เฉพาะเลขกากับบทเท่าน้ัน ไม่มีจุดอยู่หลังตัวเลข โดยห่างจาก ขอบซ้าย 4 ตัวอักษร และห่าง 1 ช่วงบรรทัดพิมพ์จากบรรทัดก่อนที่อยู่ติดกัน หลังตัวเลขกากับบท ใหเ้ วน้ 4 ตัวอกั ษร แล้วจงึ พมิ พช์ ือ่ บทตอ่ ไป 5. หัวข้อใดที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ให้พิมพ์บรรทัดต่อมาโดยย่อหน้าเข้าไป 0.5 เซนติเมตร ทุกบรรทัด จนกวา่ จะจบหัวขอ้ 6. หัวขอ้ รองใหย้ อ่ เขา้ ไป 0.5 เซนตเิ มตร เป็นลาดับเชน่ เดียวกัน 7. การพิมพ์เลขหน้า ให้เลขหลักหน่วยของตัวเลขหน้าอยู่ในตาแหน่งแนวเดียวกับ “สระอา” ของคาว่า “หน้า” 8. ระหวา่ งแตล่ ะบทให้เว้นระยะ 1 ชว่ งบรรทัดพมิ พ์ 9. หากสารบัญมีความยาวเกิน 1 หน้า ให้พิมพ์หน้าต่อไปโดยต้องมีคาว่า “สารบัญ (ต่อ)” และ ยงั คงมีคาวา่ “บทท”่ี และ “หน้า” ในตาแหนง่ เดิม 10. คาว่า “บรรณานุกรม” ในรายการสารบัญให้พิมพ์ชิดขอบซ้ายและให้เว้นระยะ 1 บรรทัดพิมพ์ จากบรรทดั สดุ ท้ายของบท 11. ถา้ มี “ภาคผนวก” ให้ปฏิบัติเชน่ เดยี วกบั “บรรณานุกรม” คอื ให้พิมพช์ ดิ ขอบซา้ ยและเวน้ ระยะห่าง จากบรรณานุกรม 1 บรรทัดพิมพ์ ถ้าภาคผนวกแบ่งออกเป็นหลายเรื่อง ให้แยกเรื่องเรียงตามลาดับ โดยใช้อกั ษร ก ข ค ตามลาดบั 12. คาว่า “ประวัติย่อผู้วิจัย” ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับ “บรรณานุกรม” คือให้พิมพ์ชิดขอบซ้ายและเว้น ระยะห่างจากภาคผนวก 1 บรรทดั พมิ พ์ 12. กำรพิมพต์ ำรำง ตาราง ประกอบด้วยลาดับท่ีของตาราง ช่ือของตาราง ส่วนข้อความและที่มาของตาราง โดยปกติ ใหพ้ ิมพอ์ ยูใ่ นหน้าเดียวกันทง้ั หมด กรณีที่ตารางนั้นมีความยาวมากไม่สามารถให้สิ้นสุดในหน้าเดียวกันได้ ก็ให้พิมพ์ส่วนท่ีเหลือในหน้า ถัดไป แต่ท้ังนี้จะต้องพิมพ์ลาดับท่ีและช่ือของตาราง และมีส่วนของข้อความในตารางรวมอยู่ด้วยในแต่ละหน้า อย่างน้อย 2 บรรทัด ในกรณีที่ส่วนข้อความของตารางนั้นส้ินสุดลงและจาเป็นจะต้องอ้างถึงที่มาของตาราง

27 ในหน้าถัดไป จะต้องยกข้อความบางส่วนของตารางไปรวมไว้ในหน้าใหม่อย่างน้อย 2 บรรทัด โดยยอมปล่อย ใหม้ ที วี่ ่างในตารางหนา้ เดิม ขนาดของตารางไมค่ วรเกินกรอบของเนื้อหางานนิพนธ์ สาหรบั ตารางขนาดใหญ่ควรพยายามลดขนาด โดยใช้เคร่ืองถ่ายย่อส่วนหรือวิธีอื่นๆ ตามความเหมาะสม แต่จะต้องชัดเจนพอท่ีจะอ่านได้ง่าย สาหรับตาราง ท่ีกว้างเกินกว่าความกว้างของหน้างานนิพนธ์ ก็อาจจะจัดให้ส่วนบนของตารางน้ันหันเข้าหาขอบซ้ายของหน้า หรอื จดั หน้าเปน็ แนวนอน รปู แบบของการพิมพ์ตาราง มีดงั น้ี 1. ตารางอยู่ห่างจากข้อความข้างบนและข้างล่าง 1 ช่วงบรรทัดพมิ พ์ 2. ช่ือตาราง ข้อความในตาราง และข้อมูลในตาราง ให้พิมพด์ ้วยตัวบางทกุ ตัว 3. ขอ้ ความของช่ือตารางเรมิ่ ด้วยคาว่า “ตารางที่” ใหพ้ ิมพ์ชิดขอบซ้าย แลว้ เวน้ วรรค 1 เคาะ ตามด้วยหมายเลขลาดบั ตาราง จากนนั้ ใหเ้ ว้น 2 ตวั อักษร แล้วพมิ พ์ชื่อตาราง ถ้าชือ่ ตารางไมจ่ บในบรรทัดเดยี ว บรรทัดตอ่ ไปให้พิมพ์อักษรตวั แรกให้ตรงกับอักษรตัวแรก ของชอื่ ตารางในบรรทดั บน 4. เส้นที่เปน็ ส่วนประกอบของตารางใหม้ ีเฉพาะเสน้ ในแนวนอน ไมม่ เี สน้ ในแนวตัง้ 5. เส้นแนวนอนบนสุดและลา่ งสุดของตารางต้องเปน็ เสน้ คู่ ซง่ึ หา่ งกนั ประมาณ 1 มลิ ลเิ มตร 6. ตวั เลขในตารางทเ่ี ป็นแนวต้ัง ควรพิมพใ์ หไ้ ด้ระดบั เสมอกนั โดยตลอด โดยถือเลขหลกั ขวาสุด เป็นแนว หากเปน็ ตัวเลขท่มี ีจุดทศนยิ มให้ยึดจดุ เป็นแนวตรงกนั ถา้ มีเคร่ืองหมายอนื่ ใดอยู่ ระหว่างเลข 2 จานวนต้องจดั ให้เคร่ืองหมายตรงกนั 7. ชอ่ื รายการในแต่ละชอ่ งที่เปน็ ภาษาองั กฤษ ให้พมิ พ์อักษรตัวแรกด้วยตวั พิมพ์ใหญ่ 8. ตารางทไ่ี มจ่ บในหนา้ เดียว ไม่ตอ้ งขีดเส้นปิดตารางเปน็ เส้นเดยี ว โดยในหน้าตอ่ ไปให้พิมพค์ าวา่ “ตาราง” และหมายเลขกากับตารางพร้อมกับมีคาว่า “(ต่อ)” คาว่า “ตาราง” นี้ใหพ้ ิมพ์ชิดขอบ ซา้ ยของหนา้ เมือ่ ข้ึนหนา้ ใหม่ใหพ้ ิมพ์หวั ตารางเชน่ เดียวกบั หัวตารางในหนา้ แรกของตารางน้ัน 9. เลขลาดับของตาราง ให้เรียงลาดบั หมายเลขตารางตามบท เชน่ บทท่ี 2 ใช้ลาดับหมายเลข ตารางเปน็ ตารางที่ 2.1, ตารางที่ 2.2,… บทที่ 3 ใชล้ าดบั ตารางเป็น ตารางท่ี 3.1, 3.2, …

28 13. กำรพมิ พภ์ ำพ ภาพ หมายถึง รูปภาพ (Picture) ภาพถ่าย (Photograph) แผนภูมิ (Chart) แผนที่ (Map) แผนภาพ (Diagram) ซ่ึงจะต้องจัดพิมพ์หรือทาสาเนาให้มีความชัดเจนก่อนแสดงภาพประกอบต้องกล่าวนาภาพประกอบ นั้นก่อน แลว้ จึงนาเสนอภาพประกอบท่สี มบรู ณ์และเข้าใจง่าย 1. ภาพจะอยหู่ ่างจากขอ้ ความบนและลา่ ง 1 ช่วงบรรทัดพิมพ์ 2. ชื่อภาพ ใหว้ างไวใ้ ต้ภาพกง่ึ กลางหน้า โดยมคี า “ภาพที่” ตามดว้ ยหมายเลขลาดบั แล้วจงึ เปน็ ชอ่ื ภาพ ถา้ ช่อื ภาพไมจ่ บในบรรทดั เดยี ว ให้พิมพ์บรรทัดใหม่ โดยให้อกั ษรตวั แรกตรงกบั อักษรตวั แรกของ ชือ่ ภาพนั้น 3. ระหว่างชือ่ ภาพกบั ตวั ภาพให้เว้นหา่ งกนั 1 ชว่ งบรรทัดพิมพ์ 4. เลขลาดบั ของภาพให้ใช้หลกั การเดยี วกบั เลขตาราง 5. ใหจ้ ัดวางภาพแทรกไว้ตามส่วนเนือ้ หาทีร่ ะบุถึงภาพน้ันๆ ยกเว้นภาพทีม่ ีความจาเป็นน้อยหรือไม่มี ความสมั พนั ธต์ ่อการอธิบายเน้ือหาโดยตรง ใหร้ วมไว้ในภาคผนวก การจัดวางภาพให้วาง อยู่ใน ตาแหนง่ ทเ่ี หมาะสม เรยี บร้อยและสวยงาม 6. กรณีภาพต่อเนื่องหรือภาพที่ไมส่ ามารถจัดพิมพใ์ ห้ส้ินสดุ ในหน้าเดียวไดใ้ ห้พิมพ์ สว่ นที่เหลอื ในหนา้ ถดั ไป ท้งั นจ้ี ะต้องมลี าดบั ภาพและช่ือภาพทุกหน้า และพิมพค์ าว่า (ต่อ) ไว้ในวงเล็บต่อท้ายช่ือภาพ ดว้ ย 7. การพิมพ์อา้ งอิงแหล่งที่มาของภาพ ให้เลอื กใชต้ ามรายละเอยี ดวิธีการอา้ งองิ ในบทที่ 5 โดยพิมพไ์ ว้ ใต้ภาพ ตรงตาแหน่งกงึ่ กลางหน้ากระดาษ 14. กำรพิมพห์ น้ำบอกตอน หน้าบอกตอน เป็นหน้าท่ีอยู่ในส่วนประกอบตอนท้ายของงานนิพนธ์ ท่ีระบุถึงเน้ือหาเป็นตอนๆ เช่น บรรณานุกรม ภาคผนวก เป็นต้น ซึ่งในหน้าน้ีจะมีเพียงหัวข้อเร่ืองอยู่กลางหน้ากระดาษเท่านั้น เช่น หน้าบอก ตอนของบรรณานุกรมจะมีคาว่า “บรรณำนกุ รม” หรือ หน้าบอกตอนของภาคผนวกจะมีคาว่า “ภำคผนวก” ซง่ึ พิมพ์ด้วยตัวหนา ปรากฏอยู่ในหน้าบอกตอน ในกรณีที่ภาคผนวกหนึ่งเรื่องน้ัน แบ่งได้เป็นหลายเรื่องย่อยหรือ หลายตอน ให้พิมพ์ว่า ภาคผนวกพร้อมตัวอักษรกากับ เช่น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข พร้อมชื่อเร่ือง ไว้กลาง หนา้ กระดาษ

29 บทท่ี 5 กำรอ้ำงองิ เอกสำรในงำนนิพนธ์ การทางานนพิ นธ์ซ่ึงเปน็ งานเชงิ วิชาการนั้น นักศึกษาจาเปน็ ต้องรวบรวมแหลง่ ทีม่ าของสารสนเทศท่ีได้ นามาอา้ งองิ จากแหล่ง ความรตู้ ่างๆ เช่น บุคคล เอกสาร หรอื สอ่ื ประเภทต่างๆ ใหช้ ดั เจน เพอ่ื เป็นหลกั ฐานยนื ยัน ท่ีจะทาให้งานนิพนธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ และเพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมสาหรับผู้ที่สนใจ สาหรับสิ่งที่ควร ตระหนกั อย่างยิง่ ในการเขยี นฐานนพิ นธ์คือ เรื่อง จรยิ ธรรม หรอื จรรยาบรรณในการวจิ ัย นกั ศึกษาต้องรับผิดชอบ ในการหารายละเอียดที่ถกู ตอ้ งเกีย่ วกับเอกสารและแหลง่ ขอ้ มูลท่ใี ช้อ้างองิ การคัดลอกสาระสาคัญของผลงานวิจัย หรือข้อเขียนของผู้อื่นมาใส่ไว้ในงานนิพนธ์ของตนเอง จะต้องระบุแหล่งที่มาของข้อมูลทุกรายการ เพื่อให้ผลงาน เขียนน้ันๆ เปน็ ที่ยอมรบั และน่าเชื่อถอื เปน็ การใหเ้ กยี รติผเู้ ขียนเดิมซง่ึ เป็นผู้เสนอผลงานเดมิ ไวก้ ่อนแล้ว และเป็น การแสดงเจตนาบริสุทธิ์ของผู้เขียนว่าไม่ได้ขโมยความ คิดหรือล อกเลียนข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้าง อิง (Plagiarism) ซึ่งหากมีการตรวจพบจะเกิดผลเสียหายร้ายแรง และถือเป็นการกระทาที่ผิดจรรยาบรรณในทาง วชิ าการที่ไม่ควรกระทา บางกรณอี าจจะมีความผดิ ทางกฎหมายฐานละเมิดได้ การอ้างอิงเอกสารในคู่มืองานนิพนธ์เล่มน้ีได้ยึดรูปแบบการอ้างอิงเอกสารที่เป็นมาตรฐานสากลและ ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางท่ัวโลก ตามหลักเกณฑ์ของ American Psychological Association [APA]. (2020) จากคู่มือ Publication Manual of the American Psychological Association, 7 Edition และมี บางส่วนได้มีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับการนาไปใช้ให้เหมาะสมกับการอ้างอิงในภาษาไทย ซ่ึงอาจมีลักษณะ บางอย่างที่แตกต่างจากเอกสารในภาษาอังกฤษ เพราะมีบางส่วนท่ีได้นามาดัดแปลงเพื่อใช้กับการอ้างอิงเอกสาร ในภาษาไทย ในการเขียนอา้ งอิงเอกสารในผลงานการศกึ ษาคน้ ควา้ จาเป็นต้องมีการอ้างอิงท้งั 2 สว่ นคือ สว่ นเนอื้ เรื่อง และส่วนท้ายเรื่องหรือท้ายเลม่ 1. การอ้างองิ ในสว่ นเนือ้ เรอ่ื ง 2. การอา้ งอิงในสว่ นท้ายเลม่ หรือบรรณานุกรม 1. กำรอ้ำงอิงในส่วนเนอ้ื เรื่อง การอา้ งอิงในส่วนเนอ้ื เรื่องเป็นการบอกแหลง่ ท่ีมาของฐานขอ้ มูลโดยอ้างอิงแทรกในสว่ นเนือ้ เร่อื ง ทาให้ ทราบวา่ ข้อความในสว่ นนน้ั นามาจากแหล่งใด โดยใหอ้ า้ งอิงในเนอื้ หาแบบ ชอื่ – ปี (Author – Date method of citation) การอา้ งอิงแบบ ชื่อ – ปี เป็นการเขียนอา้ งองิ แหลง่ ท่ีมาของข้อมลู ในเน้ือหางานนิพนธโ์ ดยระบชุ ื่อผู้แต่ง (Author) และปีพิมพ์ของเอกสาร (Year of publication) ไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังข้อความท่ีต้องการอ้างซึ่งอาจ ระบเุ ลขหนำ้ ของเอกสำรอ้ำงอิงด้วยก็ไดห้ ากตอ้ งการ ดงั มรี ูปแบบการอ้างอิงมที ้ังอ้างข้างหน้าข้อความและอ้างไว้

30 ข้างหลังข้อความ เพ่ือต้องการเน้นชื่อผู้แต่งท่ีเป็นเจ้าของข้อความหรือแนวคิดโดยอ้างชื่อผู้แต่ง และปีใส่ไว้ใน วงเล็บไว้ขา้ งหนา้ ขอ้ ความหรือไว้ขา้ งหลงั ข้อความแล้วแต่กรณี กำรอ้ำงไวห้ น้ำข้อควำม ชอื่ ผ้แู ตง่ (ปพี ิมพ์) กำรอ้ำงไวห้ ลังข้อควำม ...................(ช่อื ผแู้ ตง่ , ปพี ิมพ์) หลักกำรเขยี นกำรอ้ำงอิงแบบชอื่ – ปี มรี ำยละเอียดดังน้ี 1.1 เอกสำรทีม่ ีผแู้ ต่ง 1 คน กรณที ่ีเป็นผู้แตง่ คนไทย แต่งเอกสารเป็นภาษาไทย ใหใ้ ส่ช่อื และนามสกลุ ตามลาดบั ส่วนกรณี ท่ีผู้แต่งเปน็ ผูแ้ ตง่ ชาวต่างประเทศ หรอื ผแู้ ตง่ คนไทยท่แี ต่งเอกสารเปน็ ภาษาตา่ งประเทศใหใ้ สช่ ่ือสกุลเท่าน้ัน ดังตัวอยา่ ง 1.1.1 ผ้แู ต่งคนไทย แตง่ เอกสำรเป็นภำษำไทย ณรงวิทย์ แสงทอง (2544)..................................................... พระราชโมลี (2554)……………………………………………………... หรือ ………………………………………….....…(ณรงวิทย์ แสนทอง, 2554) .......................................................(พระราชโมล,ี 2554) 1.1.2 ผ้แู ตง่ ชำวตำ่ งประเทศ Willmarth (1980) ………………………………………………………. หรอื ........................................................(Willmarth, 1980) 1.1.3 ผู้แตง่ คนไทย แตง่ เอกสำรเป็นภำษำตำ่ งประเทศ Punyaratabandhu (1998)………………………………………………… หรือ ......................................................... (Punyaratabandhu, 1998)

31 1.2 เอกสำรท่ีมผี ู้แต่ง มำกกว่ำ 1 คน 1.2.1 ผู้แตง่ 2 คน ให้อ้างอิงช่ือผ้แู ตง่ ท้งั 2 คน ทุกครัง้ ทม่ี กี ารอ้างโดยมคี าว่า และ/ and* หนา้ ชื่อผู้แตง่ คนสดุ ท้าย ตัวอย่ำงท่ี 1 นฤมล พฤกษาศิลป์ และพัชรา หาญเจริญกิจ (2542)………………………………… หรอื . .......................................(นฤมล พฤกษาศิลป์ และพัชรา หาญเจริญกจิ , 2542) ตัวอยำ่ งที่ 2 Defleur and O’Keef (1989)……….…………………………………………………. หรอื ………………………………….……………………..(Defleur & O’Keef, 1989) *ตามกดของ APA ให้ใชส้ ญั ญาลกั ษณ์ & แทนคาว่า and หนา้ ชื่อผ้แู ต่งคนสดุ ทา้ ย 1.2.2 ผู้แต่ง 3 คน ให้อ้างองิ ชอื่ ผู้แต่งท้งั 3 คนในการอา้ งองิ คร้ังแรก หากมีการอา้ งอิงครั้ง ต่อไปใหใ้ ช้ชือ่ ผู้แต่งคนท่ี 1 ตามดว้ ยคาวา่ และคณะ หรอื et al.(et al. มีเครื่องหมาย . ท้าย al และไม่ใช่อักษรตวั เอน) • กำรอ้ำงอิงคร้ังแรก ระเบียบ ณ กาฬสินธุ์, ขนิษฐา อุทวนิช และยูระ เอีย่ มช่นื (2540)........................ Nakalasin, Utawanit and Iemchuen (1997)…………………………………………. หรือ …………….......(ระเบียบ ณ กาฬสนิ ธ์,ุ ขนิษฐา อุทวนิช และยรู ะ เอี่ยมชน่ื , 2540) …………………………………………(Nakalasin, Utawanit and Iemchuen, 1997) • กำรอ้ำงองิ คร้ังตอ่ ไป ระเบียบ ณ กาฬสนิ ธุ์ และคณะ (2540)..................................................... Nakalasin et al. (1997) …………………………….……………………....………..

32 ข้อยกเว้น ถา้ หากเอกสารสองเรื่องที่อ้างครั้งต่อไป เมื่อเขยี นย่อโดยใช้ et al. แล้วทาใหร้ ายการทอี่ า้ งปรากฏคล้ายกนั เช่น Bradley, Ramirez, and Soo (1973)………………………………………… Bradley, Soo, and Brown (1983)…………………………………………… ถา้ เขยี นย่อจะเป็น Bradley et al. (1983) เหมือนกนั ในกรณีเช่นนเ้ี พ่ือไม่ใหผ้ ู้อา่ นสบั สนให้ เขียนช่อื ผู้แตง่ ทุกคน 1.2.3 ผู้แต่งมำกกวำ่ 3 คน การอา้ งทุกคร้ังใหใ้ ส่เฉพาะชอ่ื ผู้แต่งคนที่ 1 ตามด้วยคาว่า และคณะหรือ et al. ตวั อยำ่ งที่ 1 ทดั ดาว ลออโรจนว์ งศ์ และคณะ (2541)............................................. หรือ ……………………………………………..(ทดั ดาว ลออโรจน์วงศ์ และคณะ, 2541) ตวั อย่ำงท่ี 2 Sarin et al. (2010)………………………………………………………………………. หรือ ...................................................................................(Sarin et al., 2010) ข้อยกเว้น ถ้าเอกสารสองเรอื่ งท่ีอ้างเม่ือเขียนย่อแล้วทาใหร้ ายการท่ีอ้างปรากฏคล้ายกัน ในกรณีน้ี เม่อื อ้างถงึ เอกสารเหลา่ นั้นในเนื้อความ ให้ระบผุ ูแ้ ต่งคนตอ่ มาเรอื่ ยๆ จนถงึ ชือ่ ผู้แต่งท่ไี ม่ซ้ากนั ตัวอย่ำง เร่ืองที่ 1 Sarin, Chale, Kohli and Challagalla (2010) เรื่องที่ 2 Sarin, Sego, Kohli and Challagalla (2010) กำรอ้ำงองิ Sarin, Chale et al. (2010)…………………………………………………………………… Sarin, Sego et al. (2010)……………………………………………………………………. หรอื .................................................................(Sarin, Chale et al., 2010) …………………………………………………………(Sarin, Sego et al., 2010)

33 1.3 เอกสำรที่มผี ู้แต่งเป็นสถำบนั 1) เอกสำรทีม่ สี ถำบันเป็นผูแ้ ตง่ ให้ระบุช่ือผู้แต่งท่ีเป็นสถาบนั โดยเขียนช่ือเตม็ ในการอ้างครั้ง แรก และถ้ามชี ่อื ย่อท่ีเป็นทางการใหร้ ะบุชื่อยอ่ น้ันในวงเลบ็ ใหญ่ [ ] ไวด้ ว้ ย กรณีนใ้ี นการอา้ ง ครัง้ ต่อไปให้ใชช้ ื่อย่อนน้ั ได้ ถ้าไม่มีชอ่ื ย่อ การอา้ งครัง้ ต่อไปให้ระบสุ ถาบันเต็มทกุ ครงั้ ตัวอยำ่ ง กำรอ้ำงคร้งั แรก องค์การรบั สง่ สินคา้ และพัสดุภัณฑ์ [ร.ส.พ.] (2542)………………………………….. Asian Institute of Technology [AIT] (1981)………………………………………….. หรอื ...........................................(องคก์ ารรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ [ร.ส.พ.], 2542) ……...……………………………..(Asian Institute of Technology [AIT], 1981) ตวั อยำ่ งกำรอำ้ งอิงครั้งต่อๆ ไป ร.ส.พ. (2542)…………………………………………………………………………. AIT (1981)………………………………………………………………………………. หรอื ………………………………………………………………………….(ร.ส.พ., 2542) .………………………………………………………………………….(AIT, 1981) 2) กรณีทท่ี งั้ ช่ือหน่วยงำนย่อยและหนว่ ยงำนใหญ่ ใหอ้ ้ำงองิ หนว่ ยงำนใหญ่ แล้วตอ่ ดว้ ยหน่วยงำนย่อยลงมำ ตวั อย่ำง มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ, คณะคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ (2544)...................... หรอื .......................(มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ, คณะคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2544) 3) กรณที ่ชี ่อื หน่วยงำนยำวมำก การอา้ งครงั้ แรกให้อา้ งชื่อเต็ม ส่วนการอ้างครั้งต่อไปสามารถ ตัดใหส้ น้ั ลงไดโ้ ดยใชเ้ ครื่องหมายจุด 3 จุด ... ตวั อยำ่ ง กำรอำ้ งองิ ครั้งแรก สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ (2550)…… สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ (2548)…………

34 หรือ .....(สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย,์ 2550) ...(สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2548) ตวั อยำ่ งกำรอำ้ งอิงครั้งตอ่ ๆ ไป สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คม... (2550)............................................... สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ ... (2548)........................................ หรือ ..............................................(สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คม..., 2550) ..……………...………...(สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ ..., 2548) 1.4 เอกสำรหลำยช่ือเรอื่ งท่ีมผี แู้ ตง่ คนเดยี วกนั การอ้างอิงเอกสารหลายเร่ืองทเ่ี ขียนโดยผ้แู ตง่ คนเดียวกนั แต่ปีพมิ พ์ต่างกันให้ระบุชื่อผู้แตง่ ครัง้ เดยี ว แล้วระบปุ ีพมิ พต์ ามลาดับ ใชเ้ ครอ่ื งหมาย อฒั ภาค (;) คน่ั ระหว่างปี โดยไม่ต้องระบุชือ่ ผู้แตง่ ซ้าอกี ตัวอย่ำงกำรอ้ำงอิง บญุ ยงค์ เกศเทศ (2554 ; 2555 ; 2556)…………………………………………………... Hassam and Grammick (1981 ; 1982)……………………………………………..… หรือ ..............................................................(บญุ ยงค์ เกศเทศ, 2554 ; 2555 ; 2556) ..........................................................(Hassam and Grammick, 1981 ; 1982) กรณีงานนิพนธอ์ ้างเอกสารหลายชื่อเร่อื งท่ีเขียนโดยผู้แต่งคนเดียวกัน แตป่ ีพมิ พซ์ ้ากนั ให้ใช้ a b c d ตามหลังปีพมิ พ์ สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และใช้ ก ข ค ง ตามหลังปีพิมพ์ สาหรับเอกสาร ภาษาไทย ตัวอยำ่ งกำรอำ้ งอิง กนกอร บญุ มี (2554ก)................................................................................... Bruce (1980a ; 1980b)………………………….,,………………………………………. หรอื ...................................................................................(กนกอร บุญมี, 2554ก) .…………………………………………………………………(Bruce, 1980a ; 1980b)

35 1.5 เอกสำรหลำยช่ือเรื่องโดยผแู้ ต่งหลำยคน การอา้ งเอกสารหลายเร่อื งท่เี ขยี นโดยผูแ้ ต่งตา่ งกนั มีวิธีเขียน 2 วธิ ี ใหเ้ ลอื กใช้วธิ ีใดวธิ ีหนงึ่ เพยี งวิธีเดียวตลอดท้ังเล่ม ดังนี้ 1.5.1 ใหร้ ะบชุ อ่ื ผู้แตง่ โดยเรยี งตามลาดบั อกั ษร ตามดว้ ยปพี ิมพ์ และใสเ่ ครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่นเอกสารทอ่ี ้างแตล่ ะเรอื่ ง ตัวอยำ่ งกำรอ้ำงอิง (เจอื สตะเวทิน, 2551 ; ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ และประภาศรี สีหอาไพ, 2553 ; ทองสุข นาคโรจน์, 2552 ; เปลื้อง ณ นคร, 2542) (Argote et al.,2000 ; Kogut and Zander, 1992 ; Nonaka, 1994) 1.5.2 ให้เรยี งตามปีพมิ พ์จากน้อยไปหามาก และใช้เครอ่ื งหมายอัฒภาค (;) ค่นั ระหว่าง เอกสารท่ีอ้างแต่ละเร่ือง ทั้งน้ีเพื่อแสดงววิ ัฒนาการของเรอ่ื งทศ่ี ึกษา ตวั อย่ำงอ้ำงอิง (Kogut and Zander, 1992 ; Nonaka, 1994 ; Argote et al., 2000) 1.5.3 ในกรณที ่ีอา้ งเอกสารหลายชื่อเรอื่ ง ที่มีท้งั ผ้แู ต่งเป็นภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศให้ อา้ งชอื่ ผแู้ ต่งเป็นภาษาไทยจนครบก่อน แล้วจงึ ตามด้วยช่อื ผู้แตง่ เปน็ ภาษาต่างประเทศ โดยวิธใี ดวธิ หี นึ่งตามข้อ 1.5.1 หรอื 1.5.2 1.6 เอกสำรท่ีไม่ปรำกฏช่ือผูแ้ ต่ง ใหใ้ สช่ ือ่ เร่ืองของเอกสารแทนชอ่ื ผูแ้ ต่ง โดยอาจใสช่ ือ่ เรื่องท่ีสมบรู ณ์ หรือตดั ใหส้ ้ันลงตามดว้ ย เครอื่ งหมายจดุ 3 จดุ ... ก็ได้ • กำรอำ้ งองิ ชอ่ื บทควำม หรือ บทจำกหนังสือ ให้ใส่ช่ือเรอ่ื งไว้ในเคร่ืองหมาย “......” ตวั อยำ่ งกำรอ้ำงอิง ในบทความเรื่อง “ปัญหาการขาดสภาพคล่องในการชาระหนี้สนิ ...” (2557) หรอื ........................ (“ปญั หาการขาดสภาพคล่องในการชาระหนีส้ นิ ...”, 2557) • กำรอ้ำงองิ ชื่อวำรสำร ช่ือหนังสอื แผน่ พับ หรือรำยงำน ตวั อยำ่ งกำรอำ้ งองิ การศึกษาวิเคราะหศ์ ักยภาพและแนวทางในการส่งเสรมิ การศึกษา...(2556).......... หรอื ..............(การศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพและแนวทางในการส่งเสริมการศึกษา, 2556)

36 1.7 เอกสำรชอื่ ผูแ้ ตง่ ท่ชี ่ือสกุลซ้ำกัน ผูแ้ ตง่ ชาวตา่ งประเทศที่มชี ื่อสกลุ ซ้ากัน ให้ใส่อกั ษรย่อชื่อต้น และช่ือกลางกากับไว้ทุกคร้ังทอ่ี า้ ง แม้ปีท่ีพิมพจ์ ะแตกตา่ งกนั ตวั อย่ำงกำรอำ้ งอิง Smith P.J. (1994)………………………………………………………………… Smith P. (1997)…………………………………………………………………. หรือ …………………………………………………………………….(Smith P.J., 1994) ……………………………………………………………………..(Smith P., 1997) 1.8 เอกสำรไม่ปรำกฏปีพิมพ์ ใหใ้ ส่ ม.ป.ป. ตัวอยำ่ งกำรอ้ำงองิ กรมวชิ าการ (ม.ป.ป.)......................................................................... Viravaidya (n.d.)……………………………………………………………………. หรือ ................................................................................(กรมวชิ าการ, ม.ป.ป.) ………………………………………………………………………(Viravaidya, n.d.) 1.9 เอกสำรอย่ใู นระหวำ่ งตีพมิ พ์ ให้ใส่ ระหวำ่ งตีพิมพ์ หรือ in press แทนปีพิมพ์ ตวั อย่ำงกำรอ้ำงองิ สุบัน มขุ ธระโกษา (ระหวา่ งตพี ิมพ์)........................................................ Viravaidya (in press)………………………………………………………………….. หรือ ........................................................(สุบนั มุขธระโกษา, ระหวา่ งตีพมิ พ)์ ...……………………………………………….(Viravaidya, in press) 1.10 กำรอ้ำงอิงเอกสำรท่ถี ูกอ้ำงอิงอยใู่ นเอกสำรอนื่ กรณีที่เอกสารทตี่ อ้ งการถูกนาไปอ้างไว้ในเอกสารอ่ืน หากไม่สามารถหาต้นฉบับของเอกสาร ทถี่ กู นาไปอ้าง กส็ ามารถอ้างอิงโดยวิธกี ารอ้างองิ เอกสารซ้อน ซงึ่ เขยี นได้ 2 วิธี ดงั นี้

37 1.10.1 อ้ำงชื่อผแู้ ต่งของเอกสำรตน้ ฉบบั ข้นึ ก่อน ให้ใส่ชอ่ื ผู้แตง่ เอกสารต้นฉบับ ตามด้วยคาว่า อ้ำงถงึ ใน หรือ Cited in แลว้ ตามด้วย ชือ่ ผแู้ ตง่ เอกสารที่นาขอ้ มูลไปอา้ ง เช่น ต้องการอ้างเอกสารของ Dubrion ที่ถกู นาไปอ้างไวใ้ นเอกสาร ของ ธรี ะพงษ์ แกว้ หาวงษ์ ให้อ้างองิ ดงั น้ี Dubrion (1993 อ้างถึงใน ธีระพงษ์ แกว้ หาวงษ์, 2542)……………………. หรือ ………………………………...(Dubrion, 1993 อ้างถึงใน ธีระพงษ์ แกว้ หาวงษ์, 2542) 1.10.2 อ้ำงชื่อผแู้ ต่งเอกสำรท่ีนำขอ้ มลู ไปอำ้ งขึ้นก่อน ให้ใสช่ ื่อผู้แต่งเอกสารทีน่ าข้อมูลไปอ้าง ตามด้วยคาวา่ อำ้ งจำก หรือ cited from แล้วตามดว้ ย ช่ือผแู้ ต่งเอกสารต้นฉบับทีถ่ ูกอ้าง เช่นตอ้ งการอา้ งอิงเอกสารของ ธีระพงษ์ แกว้ หาวงษ์ ท่ีไดน้ าข้อมลู จากเอกสาร ของ Dubrion มาอ้างให้อา้ งดังน้ี ธรี ะพงษ์ แก้วหาวงษ์ (2542 อ้างจาก Dubrion, 1993)……………………………………… หรือ .............................................(ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์, 2542 อ้างจาก Dubrion, 1993) 1.11 กำรอำ้ งอิงกำรสอื่ สำรระหว่ำงบุคคล การอ้างอิงการส่ือสารระหว่างบุคคล ได้แก่ จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ บันทึกช่วยจา หรือ กลุ่มอภิปรายบนอินเตอร์เน็ต การสัมภาษณ์บุคคล การสนทนาทางโทรศัพท์ เป็นต้น และเป็นการติดต่อส่วนตวั ท่ี เกี่ยวกับเรื่องทางวิชาการ ให้อ้ำงอิงเฉพำะในเนื้อเรื่องเท่ำน้ัน ไม่ต้องทำรำยกำรเอกสำรอ้ำงอิง โดยระบุคาว่า ติดต่อส่วนตัว หรือ personal communication แล้วตามด้วย วัน เดือน ปี ท่ีติดต่อ กรณีผู้แต่งชาว ตา่ งประเทศใหใ้ ส่อักษรยอ่ ช่อื ต้น ชือ่ กลาง และคาเต็มของเชอ่ื สกลุ ตวั อย่ำงกำรอำ้ งอิง วเิ ชยี ร ร้ยู นื ยง (ตดิ ตอ่ ส่วนตัว, 2 มีนาคม 2557)....................................................... D.Ellis (personal communication, March 2, 2014)…………………………………….. หรอื ....................................................(วเิ ชียร รยู้ นื ยง, ติดตอ่ สว่ นตวั , 2 มีนาคม 2557) ............................................(D.Ellis, personal communication, March 2, 2014)

38 2. กำรอ้ำงองิ ในส่วนทำ้ ยเล่มหรอื บรรณำนกุ รม การอ้างอิงส่วนท้ายเล่ม เป็นการรวบรวมรายการเอกสารท้ังหมดที่ผู้เขียนผลงานน้ันๆ โดยปกติ จะจัดเรียงรายการตามลาดับอักษรชื่อผู้แต่ง ซึ่งการรวบรวมรายการเอกสารที่อ้างอิงไว้ท้ายเล่ม อาจรวบรวมเป็น รายการ บรรณำนกุ รม(Bibliography) หรือรายการเอกสำรอ้ำงองิ (References) กไ็ ด้ ซง่ึ มีขอ้ แตกต่างกันคือ 1) การรวบรวมรายการบรรณานุกรม ผู้เขียนสามารถนาเอารายการเอกสารอ่ืนท่ีมิได้อ้างไว้ในส่วน เน้ือเร่ืองมารวบรวมไว้ก็ได้ หากเห็นว่าเอกสารนั้นมีความเก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีเขียนและจะเป็น ประโยชน์แก่ผู้อ่าน ดังน้ันจานวนเอกสารท่ีอ้างอิงในส่วนท้ายเร่ือง อาจจะมากกว่าจานวนที่ถูกต้อง ในส่วนเน้ือเรอ่ื ง 2) การรวบรวมรายการเอกสารอ้างอิง จะรวบรวมเฉพาะรายการที่ถูกอ้างอิงไว้ในส่วนเน้ือเร่ืองเทา่ น้นั ดังน้ันจานวนเอกสารที่อ้างอิงในส่วนท้ายเร่ืองจึงมีจานวนเท่ากันกับเอกสารที่ถูกอ้างอิงในส่วน เนื้อเร่อื ง 2.1 หลกั ทั่วไป 2.1.1 ชอื่ ผแู้ ตง่ 1) ผแู้ ตง่ คนไทย แตง่ เอกสารเป็นภาษาไทยให้ใส่ชื่อและนามสกุลตามลาดับ โดย ไม่ต้องใส่คานาหน้าชอ่ื (เชน่ นาย นาง นางสาว) ยศ (เชน่ พ.ต.ท. ร.อ.) ตาแหน่ง (เช่น รองศาสตราจารย์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย)์ หรือ คุณวฒุ ิ (เชน่ ดร. นพ.) หากผแู้ ต่งมบี รรดาศักด์ิ หรอื ฐานันดรศักด์ิให้กลับข้อความทร่ี ะบบุ รรดาศกั ดิ์ หรือฐานนั ดรศกั ด์ิไปไว้ข้างท้ายชือ่ โดยคน่ั ด้วยเครอ่ื งหมาย ( , ) สว่ นชอื่ ผู้แต่ง ทเ่ี ป็นสมณศักด์ิ ให้เขยี นตามปกติ ดงั ตวั อย่าง บญุ ชม ศรสี ะอาด. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) แมน้ มาส ชวลติ , คุณหญิง คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. 2) ผแู้ ต่งชำวต่ำงประเทศ หรอื ผู้แตง่ คนไทยทีแ่ ตง่ เอกสารเปน็ ภาษาต่างประเทศ ใหใ้ สช่ ือ่ สกลุ คนั่ ด้วยเคร่ืองหมาย ( , ) และตามด้วยอักษรย่อของชอ่ื ต้นและ ช่ือกลาง ดังตัวอย่าง Punyaratabandhu, B. Gelfand, M.A.

39 3) ผแู้ ตง่ ที่เปน็ บรรณำธิกำร (editor) ให้ใส่คาว่า บรรณาธิการ หรือ Ed. ไว้ในเครอ่ื งหมาย ( ) ต่อทา้ ยชื่อ สว่ นผ้แู ต่งท่เี ป็นผู้รวบรวม (compiler) ให้ใสค่ าว่า ผู้รวบรวม หรือ Comp. หรอื Comps. ไว้ในเครอ่ื งหมาย ( ) ตอ่ ทา้ ยช่ือ ดังตัวอย่าง สมใจ บญุ ศริ .ิ (บรรณาธิการ). สมพนั ธ์ เตชะอธกิ . (ผู้รวบรวม). Hernon, P. (Comp.). Sharma, K. (Ed.). Gebbie, K. and Hernandez, L.M. (Eds.). 4) ผู้แตง่ ทีเ่ ปน็ นิตบิ คุ คล ใหใ้ ส่ช่ือนิตบิ ุคคลตามท่ปี รากฏในเอกสาร โดยเริ่มจากหน่วยงาน ย่อยไปหาหนว่ ยงานใหญ่ ตามลาดับดังกล่าว คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร. Graduate School Northeastern University. 5) ผู้แต่ง 2 – 3 คน ให้ใสช่ ือ่ ผู้แต่งคนที่ 1 คัน่ ดว้ ยเคร่ืองหมาย ( , ) ตามดว้ ย ช่อื ผู้แต่งคนท่ี 2 คั่นด้วยเครื่องหมาย ( , ) ก่อนหน้าชื่อผูแ้ ต่งคนสุดทา้ ย ใหใ้ ส่ เครือ่ งหมาย & ค่ัน (หรืออาจใช้ และ หรอื and ก็ได้) ดังตัวอยา่ ง ชตุ มิ า สจั จานนั ท์ และสุวคนธ์ ศริ วิ งศ์วรวัฒน.์ ธารง บวั ศรี, เบญญาภรณ์ ชตุ ิกาญจน์ และ บรรพต สวุ รรณประเสริฐ. Ducas, A.M.,& Nicole M.O. Chu, F.T., Baker, R.k.,& Haines, H.E. 6) ผู้แต่งมำกกว่ำ 3 คน ให้ใส่ชื่อผแู้ ต่ง 3 คนแรก และตามด้วยคาวา่ และคณะ หรอื et al. ดงั ตวั อยา่ ง ธรี พงษ์ แกว้ หาวงษ์, นิตยา เงินประเสริฐ, มงคล ด่านธารนิ ทร์ และคณะ. Green, R., Mary, B., Thompson, E.H. et al.

40 2.1.2 ช่อื เรื่อง 1) ชื่อหนังสือ ชื่อบทควำม ชื่องำนนพิ นธ์ และชื่อเอกสำรท่ีไม่ได้ตพี ิมพ์ ▪ ใหใ้ ส่ชื่อเตม็ ตามทปี่ รากฏในเอกสาร สาหรบั ช่อื เร่ืองภาษาอังกฤษให้พิมพ์ ตวั อกั ษรตัวแรกของคาแรกเป็นตวั พมิ พ์ใหญ่ ส่วนคาอืน่ ๆ ใหข้ ้นึ ต้นด้วย ตัวพมิ พ์เล็ก ยกเว้นกรณีทีเ่ ปน็ ช่อื เฉพาะ ▪ กรณีท่มี ชี ่ือเร่ืองยอ่ ย (sub – title หรือ two-part title) ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย ( : ) ค่นั ระหว่างชื่อเรอ่ื งย่อยน้ัน กรณีช่อื เรื่องภาษาองั กฤษ ใหพ้ ิมพ์อักษรตวั แรกของคาแรกของช่ือเรอ่ื งย่อยเปน็ ตวั พิมพใ์ หญ่ เชน่ ทฤษฎีองค์กำร : แนวกำรศึกษำเชิงบูรณำกำร. ประชำคม : ยุทธศำสตรเ์ พ่ือเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศลี ธรรมและ สขุ ภำพ. Acquisition work : Processes involved in building library collections. Ecological economics : Concepts and methods. ▪ การพมิ พช์ อ่ื หนงั สือ ช่อื งานนิพนธ์ ควรเนน้ โดยการพิมพเ์ ป็นตวั ดาหนา หรือ ตัวเอน หรอื ขีดเส้นใตก้ ็ได้ ส่วนการพมิ พ์ชอ่ื บทความและชื่อเอกสารที่ไมไ่ ด้ ตพี มิ พ์ (เชน่ จลุ สาร เอกสารอัดสาเนา) ใหพ้ ิมพ์ตวั ปกติ 2) ชือ่ วำรสำร ช่ือสำรำนุกรม ชื่อกำรประชุม / สัมมนำ ▪ ให้ใสช่ ่ือเตม็ ตามท่ปี รากฏในเอกสาร สาหรบั ชอ่ื ภาษาองั กฤษ ใหพ้ ิมพต์ วั อักษร แรกของคาสาคญั ทุกคาเปน็ ตัวพิมพใ์ หญ่ ▪ การพมิ พช์ ือ่ วารสาร ชอ่ื สารานกุ รม ควรเนน้ โดยการพิมพ์เป็นตัวหนา หรือตัว เอน หรอื ขีดเสน้ ใตก้ ็ได้ สว่ นการพมิ พช์ ่อื การประชุม / สมั มนา ใหพ้ มิ พต์ วั ปกติ ยกเว้นชื่อการประชมุ น้ันเป็นช่อื ของหนังสอื ด้วยให้พิมพ์เนน้ เหมอื นชื่อหนงั สือ วำรสำรกำรเงนิ กำรธนำคำร วำรสำรวชิ ำกำรและวิจัย มหำวทิ ยำลัยภำคะวนั ออกเฉยี งเหนอื สำรำนกุ รมไทย ฉบับรำชบณั ฑติ ยสถำน Journal of Economics Journal of Population and social studies Encyclopedia of the Social Sciences

41 2.1.3 ขอ้ มูลเกย่ี วกับกำรพิมพ์ 1) กำรพิมพข์ องหนังสือ ▪ ครัง้ ท่พี ิมพ์ใหใ้ ส่ครงั้ ที่พิมพ์ตง้ั แต่ครัง้ ที่ 2 ขน้ึ ไป หากมีข้อความระบุการ ปรบั ปรงุ แก้ไข (revised) หรอื การแกไ้ ขเพิ่มเตมิ (enlarged) ก็ให้ใสไ่ วด้ ้วย ดงั ตวั อยา่ ง พิมพ์ครง้ั ที่ 2 2nd ed. พิมพ์ครงั้ ที่ 6 6th ed. พิมพ์ครง้ั ที่ 3 ฉบบั ปรับปรุงแก้ไข 3rd rev. ed. พิมพค์ รั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเตมิ 2nd rev.& enl. ed. ▪ สถานทีพ่ ิมพ์ ใหใ้ สช่ ื่อเมือง หรือช่อื จงั หวัด ซึ่งเป็นสถานท่พี ิมพ์ตามท่ีปรากฏ ในหนงั สอื หากในหนังสอื บอกชอ่ื เมืองไว้หลายชอ่ื ให้ใส่ชอ่ื แรกเทา่ นัน้ ในกรณี ที่ตอ้ งการระบุชื่อรฐั หรือเขต หรือแคว้น ตอ่ จากชื่อเมืองอาจใส่เปน็ ชอ่ื ยอ่ ย หรอื ชื่อเต็มก็ได้ กรณีไม่ปรำกฏชอื่ สถำนท่พี ิมพใ์ หใ้ ส่ [ม.ป.ท.] หรือ [n.p.] ▪ สานกั พิมพห์ รอื โรงพมิ พใ์ หใ้ ส่ชอ่ื สานักพิมพ์หรือโรงพมิ พ์ตามที่ปรากฏใน หนงั สอื หากมีทง้ั ชือ่ สานกั พิมพ์และโรงพิมพใ์ ห้ใสช่ อ่ื สานักพมิ พ์ กรณีท่ี สานักพิมพเ์ ปน็ หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ให้ใส่ชอ่ื หนว่ ยงานหรือองคก์ รนั้น เป็นสานกั พิมพ์ คาท่เี ป็นสว่ นหนึง่ ของชื่อสานักพมิ พ์ สาหรับภาษาไทยตัดคา วา่ บรษิ ทั หา้ งห้นุ ส่วนจากัด และจากัดออก ภาษาอังกฤษตัดคาว่า Limited (Ltd.), Incorporated (Inc.) ออก กรณไี ม่ปรำกฏช่ือสำนักพิมพ์หรือ โรงพิมพใ์ หใ้ ส่ [ม.ป.ป.] หรอื [n.d.] 2) กำรพิมพ์ของวำรสำร ▪ ปีพมิ พใ์ หใ้ สต่ ามวธิ กี ารใส่ปพี ิมพข์ องหนงั สือ ▪ ปีท่ี (volume) ฉบับที่ (number) และเลขหน้าใหใ้ สต่ ามลาดบั ดงั น้ี ปที ี่ (ฉบบั ที)่ , เลขหน้า เช่น 2 (3), 16 – 20. 7, 9 – 15. [กรณีไม่ระบฉุ บบั ที่] (15), 7 – 15 [กรณไี ม่ระบุปีท่ี] 25 (September), 21 – 25 [กรณีไมร่ ะบุฉบับท่แี ต่ระบเุ ดือน]

42 ▪ วารสารยังไม่ออกเผยแพร่ บทความอยใู่ นระหว่างตีพิมพใ์ ห้ใส่ (ระหว่างตพี มิ พ)์ หรอื (in press) ตอ่ ท้ายช่ือผู้แตง่ 3) กำรพมิ พ์ของสำรำนกุ รม ▪ ปพี ิมพ์ ให้ใสต่ ามวิธกี ารใส่ปีพิมพ์ของหนงั สือ ▪ ใสข่ ้อมลู เลม่ ที่ (volume) และเลขหนา้ สถานท่ีพิมพแ์ ละสานกั พิมพ์ ตามลาดบั ดงั นี้ เล่มท.่ี (หนา้ ). สถานที่พิมพ์ : สานกั พิมพ์ ดังตวั อยา่ ง International Encyclopedia of the Social Sciences. Vol.11 (pp.297 – 305). York : The Macmillan Company & The Free Press. ▪ สารานกุ รมเลม่ เดียวจบ ไมต่ ้องระบเุ ล่มท่ี ดังตวั อย่าง Encyclopedia of the United Nations and International Agreements. (pp.390 – 391). New York : Taylor and Francis. 4) กำรพมิ พ์ของงำนนิพนธ์ ▪ ปพี มิ พ์ใหใ้ ส่ตามวธิ กี ารใส่ปพี ิมพข์ องหนงั สือ ▪ ใสข่ ้อมูลระบชุ ื่อปรญิ ญา สาขาวิชา สถาบนั การศึกษา ตามลาดบั ดงั นี้ งานนิพนธป์ รญิ ญา.......สาขาวิชา........คณะ..........สถาบัน / มหาวิทยาลัย...... ตวั อยำ่ ง วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ▪ งานนิพนธ์ของต่างประเทศ ให้ใสข่ อ้ มูลระบุช่อื ประเทศทีเ่ ป็นทีต่ ้งั ของสถาบนั ด้วย ดังตวั อย่าง Doctoral Dissertation in Linguistics, Indiana University, U.S.A. Ph.D. Thesis in Psychology, Massey University, New Zealand.

43 5) กำรพมิ พ์ของเอกสำรอนิ เทอร์เน็ต ใหใ้ ส่ข้อมูลระบุวนั เดือนปที ค่ี ้นข้อมลู และท่ีอยู่ URL หรือ domain ของเอกสาร บนอนิ เทอรเ์ นต็ ตอ่ ทา้ ยดว้ ยรายละเอียดอืน่ ๆ ของเอกสารประเภทนั้นๆ ดังตัวอย่าง Online Journal of Ethics, 3(1) Retrieved August 20, 2001, From http://www.stthom.edu/cbes/ethunder.html ภำวะผู้นำ และนวัตกรรำมทำงกำรศึกษำ. ค้นเมื่อ 25 กนั ยายน 2553, จาก http://www.pochanukul.com 2.2 รูปแบบกำรเขียนรำยกำรอ้ำงองิ หรอื บรรณำนุกรมแต่ละตวั อย่ำง 2.2.1 หนังสอื 1) ผู้แต่ง 1 คน พมิ พค์ ร้งั แรกหรอื พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 ไม่ลงรำยกำรครง้ั ทพ่ี มิ พ์ ชือ่ ผแู้ ต่ง. (ปพี มิ พ์). ชื่อหนังสือ. สถานทพ่ี ิมพ์: สานักพมิ พ์ . ทองทิพภา วริ ิยะพนั ธ.์ุ (2551). กำรบริหำรทมี งำนและกำรแกป้ ญั หำ. กรงุ เทพฯ: บริษทั สหธรรมกิ . เรวตั ร์ ชาตรีวศิ ษิ ฐ.์ (2548). กำรบรหิ ำรองค์กรยคุ ใหม.่ กรงุ เทพฯ: ธรรมนิติ Patten, c. (2005). Not quite the diplomat : home truths about world affairs. London: Allen Lane. Ryan, S. (2000). The United Nations and international politics. New Yorks: St. Martin’s Press. 2) ผู้แต่ง 1 คนพิมพ์คร้งั ทส่ี องขึ้นไป ชือ่ ผู้แต่ง. (ปีพมิ พ์). ชื่อหนังสือ. คร้งั ทพี่ ิมพ.์ สถานท่ีพมิ พ์: สานักพมิ พ์ . ธารง บัวศรี. (2548). ทฤษฎีหลกั สูตร กำรออกแบบและพฒั นำ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ: พฒั นาศึกษา. ประเวศ วะส.ี (2547). กระบวนกำรนโยบำยสำธำรณะ. พิมพ์ครงั้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: มูลนธิ สิ าธารณสุขแหง่ ชาติ.

44 Nafziger, E.W. (1997). The economics of developing countries. 3nd ed. London: Prentice – Hall International. 3) ผู้แต่ง 2 คน ช่ือผู้แตง่ คนท่ี 1, และชือ่ ผ้แู ต่งคนที่ 2. (ปีพิมพ์). ชอ่ื หนังสือ. ครงั้ ที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์: สานกั พิมพ์ . ชุติมา สัจจานนั ท์ และ สุวคนธ์ ศิริวงศ์วรวฒั น์. (2546). เอกสำรกำรสอนชดุ วิชำกำร พัฒนำทรัพยำกรสำรสนเทศ หน่วยที่ 9 – 15 “ควำมร่วมมือในกำรจัดหำ ทรัพยำกรสำรนเิ ทศ”. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Schaie, K.W. & Willis, S.L. (2002). Adult development and aging. 5th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. 4) ผู้แต่ง 3 คน ชอ่ื ผู้แต่งคนที่ 1, ชื่อผแู้ ต่งคนท่ี 2 และชือ่ ผ้แู ต่งคนที่ 3. (ปีพมิ พ์). ชื่อหนังสอื . ครัง้ ทพี่ ิมพ์. สถานทีพ่ ิมพ์: สานักพมิ พ์ . ม่ิงสรรพ์ ขาวสะอาด, อัครพงศ์ อนั้ ทองและไพรชั พบิ ลู ยร์ ุ่งโรจน์. (2549). กำรสำรวจ ควำมคิดเห็นของประชำชนตอ่ กำรจัดกำรปัญหำสิ่งแวดล้อม. เชยี งใหม่: สถาบนั วจิ ัยสังคม มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. Simpson, G., Sinatra, S.T. & Suarez – Menendes, J. (2004). Spa medicine: Your gateway to the ageless zone. North Bergen, NJ: Basic Health. 5) ผู้แต่งมำกกว่ำ 3 คน ใหใ้ ส่ช่ือผู้แต่ง 3 คนแรก และตามด้วยคาว่า และคณะ หรอื et al. ชือ่ ผู้แต่งคนที่ 1, ชื่อผแู้ ต่งคนท่ี 2, ชื่อผูแ้ ตง่ คนที่ 3, และคณะ. (ปีพิมพ์). ช่อื หนังสอื . คร้ังท่พี มิ พ.์ สถานท่พี ิมพ์: สานักพิมพ์ . สังวร ปญั ญาดิลก, วลยั ชวลิตธารง, สมุ นตรา ปยิ ะเกศนิ , และคณะ. (2546). เศรษฐศำสตร์ธุรกจิ . พมิ พ์คร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

45 Pilot, Perter, Kapita, Bila M., Ngugi, Elizabeth N., et al. (1992). AIDS in Africa: manual for physicians. Geneva: World Health Organization. 6) ผแู้ ตง่ เป็นบรรณำธิกำร (editor) ผรู้ วบรวม (compiler) ชื่อผู้แตง่ . (บรรณาธกิ าร). (ปีพิมพ)์ . ชือ่ หนงั สือ. ครัง้ ทีพ่ ิมพ.์ สถานทพ่ี ิมพ์: สานักพิมพ์ . ใหร้ ะบุคาวา่ (บรรณำธกิ ำร) สาหรับผแู้ ตง่ คนไทย หรอื (ed.) สาหรับผแู้ ตง่ ชาวต่างประเทศ พิทยา ว่องกลุ . (บรรณาธกิ าร). (2541). ไทยยุควัฒนธรรมทำส. กรุงเทพฯ: โครงการวถิ ที างทรรศน.์ สมใจ บุญศริ ิ. (บรรณาธกิ าร). (2538). อนิ เตอร์เนต็ : นำนำสำระแหง่ กำรบริกำร. กรุงเทพฯ: สถาบนั วทิ ยบริการ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Sharma, K. (Ed). (2003). Trade policy, growth and poverty in Asian Developing countries. London: Routledge. Gebbie, K., & Hernandez, L.M. (Eds). (2003). Who will keep the public healthy ? : Educating public health professionals for the 21st century. Washington, D.C.: National Academy Press. 7) ผูแ้ ต่งเปน็ นิตบิ คุ คล ชอ่ื นิติบคุ คล. (ปีพิมพ์). ช่ือหนังสอื . ครัง้ ท่ีพิมพ.์ สถานทพี่ ิมพ์: สานกั พิมพ์ . สานักวิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . (2552). รำยงำนประจำปี 2552. ขอนแกน่ : สานักวิทยบรกิ าร. World Health Organization. (2001). How to development a National drug policy. Geneva: The Organization.

46 8) ไม่ปรำกฏชื่อผ้แู ต่ง ช่ือหนงั สือ. (ปีพมิ พ)์ .ครั้งท่พี ิมพ.์ สถานท่ีพิมพ์: สานกั พมิ พ์ . แผนกำรศึกษำแหง่ ชำตฉิ บบั ที่ 8 พ.ศ. 2540 – 2544. (2542). กรุงเทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ สานักนายกรัฐมนตรี. Proceeding of the workshop on breastfeeding and Supplementary foods. (1980). Bangkok: The institute of nutrition and department of pediatrics. 9) ไมป่ รำกฏสถำนทีพ่ มิ พ์ สำนักพิมพ์ ปีพิมพ์ ชอื่ ผู้แตง่ . (ปพี ิมพ์). ช่ือหนังสือ. คร้ังที่พิมพ.์ [ม.ป.ท.]: สานกั พมิ พ์ ชอ่ื ผูแ้ ต่ง. (ปีพมิ พ)์ . ชื่อหนังสือ. ครงั้ ทพี่ ิมพ์. สถานท่ีพิมพ์: [ม.ป.พ.] ชื่อผูแ้ ต่ง. [ม.ป.ป.]. ชอ่ื หนงั สือ. คร้ังที่พิมพ.์ สถานท่ีพมิ พ์: สานักพมิ พ์ ชื่อผู้แต่ง. [ม.ป.ป.]. ชื่อหนังสือ. ครัง้ ทพ่ี ิมพ์. [ม.ป.ท.:ม.ป.พ.] กรณกี ำรอ้ำงองิ ภำษำตำ่ งประเทศ [ม.ป.ป.] ใช้ (n.d.) และ [ม.ป.ท.] ใช้ (n.p.) ตัวอยำ่ กำรอำ้ งอิงบรรณำนุกรม กาญจนา แกว้ เพท. [ม.ป.ป.]. กำรเขำ้ ใจสังคม: คู่มอื สำหรับผู้ปฏิบตั ิงำนและ นกั พฒั นำสังคม. [ม.ป.ท.]: สานักเลขาธกิ าร สภาคาทอลกิ แหง่ ประเทศ ไทยเพื่อการพฒั นา. บรรพต สุวรรณประเสรฐิ . (2554). กำรพัฒนำหลกั สูตรโดยเน้นผเู้ รยี น เปน็ สำคัญ. [ม.ป.ท.: ม.ป.พ.] ไพรัตน์ เดชะรินทร.์ [ม.ป.ป.]. การจดั องคก์ รประชาชน: เฉพาะกรณี ของการพฒั นาชุมชน. กรงุ เทพฯ: [ม.ป.พ.] Singhal, D.P. (1977). Buddhism in Southeast Asia. New Delhi: [n.p.] David, F.R. [n.d.]. Strategic management. [n.p.]: Boyd & Fraser Publishing.

47 2.2.2 หนงั สือแปล ชือ่ ผูแ้ ตง่ ด้งั เดิม. (ปีพิมพ)์ . ชื่อหนังสือฉบบั แปล. (ชือ่ ผูแ้ ปล, ผูแ้ ปล). คร้งั ทีพ่ มิ พ.์ สถานทพี่ ิมพ์: สานักพมิ พ์. Laplace, P.S. (1951). A philosophical essay on probabilities. (F.W. Truscott & F.L.Emoly, Trans.) New York: Dover. 2.2.3 บทควำมในหนังสือ (หนังสือรวมบทควำมหลำยเรื่อง ผแู้ ตง่ หลำยคน) ช่อื ผเู้ ขยี นบทความ. (ปพี มิ พ์). ชอ่ื บทความ. ใน ชอ่ื บรรณาธิการ(บรรณาธิการ). ชอื่ หนังสือ. (หนา้ – ). ครัง้ ทพ่ี ิมพ.์ สถานทีพ่ มิ พ์: สานักพมิ พ์. สมหมาย จนั ทร์เรอื ง. (2540). กฎหมายและจรยิ ธรรมกับการกา้ วไกลของ การสื่อสาร. ในคณะกรรมการจัดงาน(บรรณาธกิ าร). วนั สอ่ื สำรแห่งชำติ 4 สิงหำคม 2554 วันส่ือสำรแห่งชำติ. (หน้า 8 – 14). [ม.ป.ท.]:กระทรวงคมนาคม. ศุกฤษณ์ แพทยน์ ้อย. (2530). หลกั การทีแ่ ทจ้ ริงของทฤษฎีสัญญาประชาคม. ใน ธเนศ วงศ์ยานนาวา(บรรณาธิการ). รฐั ศำสตร์สำระปรชั ญำและ ควำมคิด. (หนา้ 55 – 75).กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์พริ้นต้งิ กรุ๊พ. Ngo, N.V. (1988). Some aspects of cooperation in the Mekong delta. In D.G. Marr & C.P. White (Eds). Postwar Vietnam: Dilemmas in socialist development. (pp. 163 – 173). Ithaca, NY: Cornell University, Southeast Asia Program. 2.2.4 บทควำมในวำรสำร ชอ่ื ผู้เขยี นบทความ. (ปีพมิ พ)์ . ช่อื บทความ. ช่ือวำรสำร, ปีที่ (ฉบับท่ี), เลขหนา้ . ภญิ ญาพัชญ์ ภาคย์พริ ิยะกุล. (2556). กลยทุ ธก์ ารจัดการบริหารการของ ตลาดสดในกรุงเทพมหานคร. วำรสำรวชิ ำกำรและวิจัยมหำวิทยำลัย ภำคตะวนั ออกเฉียงเหนือ.5(3), 135 – 144. Ducas, A.M., & Nicole, M.O. (2004). Toward a New Venture: Building Partnerships with faculty. College & Research Libraries, 65(4), 334 – 348.

48 Gelfand, M.A. (1958). Techniques of library Evaluators in the Middle States Association. College and Research Libraries, 19(July), 305 – 320. 2.2.5 บทควำมในหนังสือพิมพ์ ช่อื ผู้เขยี นบทความ. (ปีพิมพ์,วัน เดือน). ช่อื บทความ. ชือ่ หนังสอื พิมพ.์ หน้า., ปที ี่ (ฉบบั ที่), เลขหนา้ . วสิ ฐิ ตันติสุนทร. (2552, 4 มิถุนายน). ผลตอบแทน กบข. ครั้งแรกปรับตวั ดีขึ้น. มติชน. 22. Nareerat Wiriyapong. (2009, June 18). Survey: Thai SMEs most perimetric, Bangkok Post. 19. 2.2.6 บทควำมในหนังสอื สำรำนกุ รม ช่อื ผู้เขยี นบทความ.(ปที พ่ี ิมพ์). ชอ่ื บทความ. ใน ชอ่ื บรรณาธิการ (บรรณาธกิ าร). ช่ือสำรนุกรม. เล่มที่ (หนา้ ).สถานทพ่ี ิมพ์: สานกั พิมพ์ \\ รตั นะ บวั สนธ.์ิ (2550). การประเมินอภิมาน. ใน บุญศรี ไพรรตั น์ และคณะ (บรรณาธิการ).สารานุกรมศึกษาศาสตร.์ (หนา้ 66 – 69). กรุงเทพฯ: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. Willower, Donald J. (1992). Educational Administration: Intellectual Trends. In Maruin.C. Alkin (Ed.) Encyclopedia of Educational Research. (pp.364 – 374). New York: Macmillan. 2.2.7 งำนนิพนธ์ ชอื่ ผูแ้ ต่ง. (ปีพิมพ์). ช่ืองำนนิพนธ์. งานนิพนธ์ปรญิ ญา......สาขาวิชา........ คณะ.........สถาบนั ........ บงกช ศวิ ิวัฒนมงคล. (2547). บทบำทหนำ้ ท่ีบรรณำรักษ์ ในกำรสนบั สนนุ กำรเรยี นกำรสอนตำมพระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำ พ.ศ. 2542: ศึกษำเฉพำะกรณมี หำวิทยำลยั ขอนแกน่ . การศกึ ษาอสิ ระ ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ ศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.

49 สนั ติ วิจักขณาลญั ฉ์. (2545). กำรพฒั นำระบบกำรเรยี นกำรสอนโดย ใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศเป็นฐำน สำหรับนกั ศกึ ษำระดบั อุดมศึกษำ. วิทยานพิ นธป์ ริญญาศึกษาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและ การสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . Boon mathya, R. (1997). Contested concepts of development in rural Northeaster Thailand. Ph.D. Dissertation, Department of AnthropologyUniversity of Washington,U.S.A. 2.2.8 บทคัดย่องำนนพิ นธ์ จำกสง่ิ พมิ พ์รวมบทคดั ย่อ ชื่อผู้แตง่ . (ปพี มิ พ)์ . ชือ่ งานนิพนธ์ [บทคดั ย่อ], งานนิพนธ์ปริญญา........สถานบัน........ ใน ชอ่ื สิ่งพมิ พ์รวมบทคดั ยอ่ . เลขหนา้ จิตนา ศรีธรรมา. (2539). ปัจจัยทมี่ ผี ลตอ่ คุณภาพชีวิตผ้สู งู อายใุ นชนบท จังหวดั ขอนแกน่ [บทคดั ย่อ]. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาพยาบาลศาสตร มหาบณั ฑิต,มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ใน บทคดั ย่อวทิ ยำนพิ นธ์และ รำยงำนกำรคน้ ควำ้ อิสระ 2539. มหำวิทยำลัยขอนแก่น. หนา้ 49 – 50. Jengjalern, P. (1988). Decentralizing rural development planning: A case study of rural employment generation program in northern Thailand [Abstract]. Doctoral Dissertation, Syracuse University. In Dissertation Abstracts International. P.807A. 2.2.9 หนังสือรำยงำนกำรประชุม เอกสำรประชุมวชิ ำกำร ชื่อผู้จดั ทาหรือบรรณาธกิ าร. (ปพี ิมพ์). ชือ่ เอกสำร. ช่ือการประชุม. สถานทพ่ี ิมพ์: สานกั พมิ พ์. นิศาชล จานงศร.ี (2550) กำรพฒั นำ Metadata เพ่อื กำรค้นคืนเอกสำร ใบลำน. เอกสารประกอบการสัมมนา ความร่วมมือระหว่าง ห้องสมุดสถาบันอุดมศกึ ษา ครัง้ ที่ 25. นครราชสมี า: ศูนยบ์ รรณสาร และสอ่ื การศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร.ี

50 กรณถี ำ้ ช่อื เร่อื งไมไ่ ด้ระบชุ ือ่ ประชุมใหใ้ สช่ ่ือกำรประชุมต่อจำกรำยกำรชอื่ เรื่อง เชน่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานกั งานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2547). เอกสาร การสัมมนาทางวิชาการ เนอ่ื งในโอกาสครบรอบปที ่ี 36 ธนาคาร แห่งประเทศไทย สานักงานภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ.[ขอนแกน่ ]: ธนาคาร. Shrestha, R.M. Kumar, S., & Martin, S. (Eds). (2005). Proceedings of Asian Regional Workshop on Electricity and Development: 28 – 29 April 2005, Asian Institute of Technology, Pathum thani, Thailand. Pathum Thani: Asian Institute of Technology. 2.2.10 กำรอำ้ งอิงขอ้ มูลจำกอนิ เทอรเ์ น็ต หลกั การอา้ งอิงข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ตตามรูปแบบของ APA Style โดยท่ัวไปมีดงั น้ี • การอา้ งขอ้ มลู ควรอา้ งจาก Website ที่มขี อ้ มลู นนั้ ๆ โดยตรง ไมค่ วรอา้ งจากหน้า home page หรือหน้า menu page ขอเอกสาร • การพิมพ์ท่ีอยู่ URL หากพมิ พ์ไม่พอ ต้องขึน้ บรรทัดใหม่ ให้แบ่งข้อความหลัง เคร่อื งหมาย / (slash) หรือเคร่อื งหมาย . (dot) • การอ้างจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e – mail message) ให้อ้างในเนอื้ หาของเอกสาร (in–text citation) เทา่ นน้ั ไมค่ วรนามารวบรวมไวใ้ นรายการอ้างองิ เอกสารทา้ ยเลม่ เพราะขอ้ มลู จาก e – mail จะไม่อยู่ถาวร และสบื ค้นต่อเนื่องอีกไม่ได้ • ถ้าข้อมลู จากอินเทอร์เน็ตไมป่ รากฏชอื่ ผู้แต่งให้ใสช่ ือ่ เรื่องหรือส่วนหนึง่ ของชื่อเร่ือง ตามดว้ ยปพี ิมพ์ ตัวอยำ่ งกำรอำ้ งอิงเอกสำรอินเทอรเ์ นต็ รปู แบบตำ่ งๆ 1) บทควำมวำรสำรเผยแพร่บนอนิ เทอร์เนต็ โดยท่ีวำรสำรนน้ั มฉี บับท่ีเป็นส่ิงพมิ พ์ (printed version) อยูด่ ว้ ย ไมต่ ้องใส่วันทส่ี ืบคน้ และURL ชือ่ ผ้จู ดั ทาหรือบรรณาธิการ. (ปพี ิมพ์). ช่อื เอกสำร. ช่ือการประชมุ . สถานทพี่ ิมพ์: สานักพมิ พ์. Montiel – Overall, P. (2009). Teacher’s perception of teacher and librarian collaboration: Instrumentation development and validation [Electronic version]. Library & Information Research, 31, 182 – 191.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook