Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01ประมาณราคาก่อสร้าง

01ประมาณราคาก่อสร้าง

Published by puangchan.benz36, 2019-02-24 01:53:21

Description: 01ประมาณราคาก่อสร้าง

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน วิชาการประมาณราคากอสรา ง 1 (2106 - 2107) หลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2545 ประเภทวชิ าชา งอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา งกอสราง โดย นายวเิ ชยี ร ปญ ญาจกั ร แผนกวชิ าชา งกอสรา ง วทิ ยาลัยเทคนิคเชยี งใหม สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานการใชเ อกสารประกอบการสอน วิชาการประมาณราคากอ สรา ง 1 (2106 - 2107) หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 2545 ประเภทวชิ าชางอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชางกอสราง โดย นายวเิ ชยี ร ปญญาจกั ร แผนกวิชาชางกอสรา ง วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาํ แนะนาํ การใชเอกสารประกอบการสอน วิชา การประมาณราคากอสรา ง (2106 – 2107) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการประมาณราคากอ สราง (2106 – 2107) ผูเขียนมคี วามประสงค ใหค รผู ูส อน และผเู รียนใชเอกสารประกอบการสอน ทมี่ เี นอ้ื หาทค่ี รอบคลมุ จรงตามหลักสตู ร ในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช) 2545 ประกอบดวยคําบรรยาย และรูปภาพประกอบทช่ี ัดเจน เขา ใจงา ย การเรยี บเรยี งเนอ้ื หาภายในเลมเปนเรอื่ งเกย่ี วกบั การประมาณราคากอ สราง ประกอบดวย การ ประมาณราคากอสรา งเบอื้ งตน การหาปรมิ าณงานดนิ ขดุ และงานดินถม การหาปริมาณงานโครงสราง การหาปรมิ าณงานสถาปตยกรรม การหาปริมาณงานไฟฟา การหาปรมิ าณงานสขุ าภบิ าล และบัญชวี ัสดุ กอ สรา ง กาํ หนด 18 สปั ดาห (รวมสอบปลายภาค) เนอ้ื หาในเอกสารเลมนปี้ ระกอบไปดว ย 7 หนว ยคอื หนว ยที่ 1 เรื่อง การประมาณราคากอสรา งเบ้อื งตน มีเนื้อหาเกย่ี วกับความหมายของการประมาณราคา ประโยชนของการประมาณราคา ลักษณะ ของการประมาณราคา วธิ กี ารประมาณราคา ข้นั ตอนในการประมาณราคา แบบกอ สรา ง การจัดหมวด งานกอสรา ง และสัญญากอ สราง หนวยท่ี 2 เรอื่ ง การหาปรมิ าณงานดนิ ขดุ และงานดนิ ถม มเี นื้อหาเกยี่ วกบั การหาปรมิ าณงานดนิ ขดุ ฐานราก การหาปริมาณงานดนิ ขดุ บอเกรอะและบอ ซึม การหาดินถมฐานราก การปรมิ าณงานดนิ ถมบอ เกรอะและบอซึม และการหาปริมาณงานทรายถมรอง พ้นื กอนเทคอนกรตี พน้ื ชน้ั ลา ง หนวยท่ี 3 เรือ่ ง การหาปรมิ าณงานโครงสรา ง มีเน้อื หาเก่ียวกับการหาปริมาณงานโครงสรางฐานราก การหาปริมาณงานโครงสรางเสา การหา ปรมิ าณงานโครงสรา งคาน การหาปริมาณงานโครงสรา งพืน้ และการหาปริมาณงานโครงหลงั คา การหา ปรมิ าณงานโครงสรางกแ็ ยกงานยอ ยเปนงานคอนกรตี งานเหล็กเสรมิ งานไมแ บบ งานลวดผูกเหลก็ และงานตะปู หนว ยที่ 4 เรอื่ งการหาปรมิ าณงานสถาปต ยกรรม มเี น้อื หาเกี่ยวกบั การหาปรมิ าณงานผนัง การหาปรมิ าณงานประตูและหนา ตา ง การหาปรมิ าณ งานสี การหาปริมาณงานตกแตง ผวิ พ้ืนและงานตกแตงผวิ ผนงั การหาปริมาณงานฝา เพดาน

หนว ยที่ 5 เร่ืองการหาปรมิ าณงานไฟฟา มีเนอื้ หาเก่ยี วกับการเดนิ สายไฟฟา ในบา น และชนดิ ของอุปกรณหลอดไฟ โคมไฟ งานระบบ ไฟฟาท่ีตอ งประมาณการ การหาปรมิ าณงานไฟฟา หนวยที่ 6 เร่อื งการหาปริมาณงานสขุ าภิบาล มเี นื้อหาเกีย่ วกับระบบสขุ าภบิ าล การหาปริมาณงานทอ ประปา ทอ นํ้าเสยี ทอ นา้ํ อุนน้ํารอน ทอโสโครก การหาปริมาณงานสุขภณั ฑต า งในหองนาํ้ หนวยที่ 7 เร่ืองบัญชรี ายการวสั ดุ มเี นอ้ื หาเก่ยี วกบั สว นประกอบตา งๆของใบรายการวสั ดกุ อ สราง ประโยชนข องการทําบัญชี รายการวัสดกุ อ สราง แบบฟอรม ทใ่ี ชใ นการประมาณราคา ........................................................ (นายวิเชยี ร ปญ ญาจักร) ครู คศ.2 แผนกวชิ าชางกอ สรา ง วิทยาลยั เทคนคิ เชียงใหม

1 หนวยท่ี 1 การประมาณราคากอ สรา งเบื้องตน หัวขอเร่ือง ความหมายของการประมาณราคา ประโยชนข องการประมาณราคา ลกั ษณะของการประมาณราคา วิธีการประมาณราคาและขั้นตอนการประมาณราคา แบบกอ สรางและการจัดหมวดรายการกอ สราง สญั ญากอ สราง สาระสําคญั การประมาณราคาเบ้ืองตน เปน ทฤษฎพี ้ืนฐานท่ีผูเรียนตอ งรกู อ นทจ่ี ะเริม่ ประมาณราคาจรงิ ตอ ง มีความรใู นการประมาณราคา รูหลักการและขน้ั ตอนในการประมาณราคา การจัดหมวดรายการกอสราง เพือ่ จดั หมวดงานตา งๆ ใหเ ปน ระเบียบและทส่ี ําคญั คอื ไมหลงลมื กอ นทจ่ี ะทาํ สัญญากอ สรา ง จดุ ประสงคการเรียนรู เมือ่ เรียนบทท่ี 1 จบแลวผเู รยี นสามารถ 1. บอกความหมายของการประมาณราคาได 2. บอกประโยชนของการประมาณราคาได 3. บอกลักษณะของการประมาณราคาได 4. บอกวธิ กี ารและขน้ั ตอนการประมาณราคาได 5. บอกลกั ษณะสว นประกอบของแบบและจัดหมวดงานกอสรางได 6. บอกความหมายของสญั ญากอ สรา งได

2 บทนาํ การประมาณราคาตนทุนงานกอสรางของโครงการใดโครงการหน่ึงเปนเร่ืองที่ตองนํามา พิจารณาในแตละระดับนับต้ังแตเจาของโครงการ ผูออกแบบ ผูรับเหมา ซ่ึงจะพิจารณาตนทุนงาน กอสรางที่แตกตางกัน นอกจากตนทุนแลว ยังประกอบดวยคาใชจายอื่นๆอีกหลายอยาง ในฐานะผู ประมาณราคาตอ งพยายามอยา งทส่ี ุดทจ่ี ะใหยอดคา ใชจา ยถกู ตอ ง หรอื ใกลร าคาจรงิ มากทสี่ ดุ ความหมายของการประมาณราคา คําวา “ประมาณ” เปนคําท่ีมีความหมายชัดเจนตัวเองอยูแลวคือ ความไมแนนอนตายตัว แตเปน การคาดคะเนใหใกลเคียงหรือเกือบเทากับความจริง เทานั้น ฉะนั้นคําวาการประมาณราคากอสราง จึง หมายความวา การคิดการคํานวณหาปริมาณและราคาวัสดุกอสราง คาแรงงาน คาโสหุย คากําไร คา ภาษีตลอดจนคาใชจายอื่นๆท่ีควรจะเปนสําหรับงานกอสรางในหนวยน้ันๆ โดยอาศัยหลักวิชาและ ขอเท็จจริงตามทองตลาดรวมกับสถิติตางๆทางดานงานกอสราง ราคากอสรางท่ีประมาณไดจึงเปนราคา ที่ไมใชราคาจริง แตอาจใกลเคียงกับราคากอสรางจริง ท้ังนี้ขึ้นอยูกับประสบการณของผูประมาณราคา และหลักวิธีการประมาณราคาท่ีผูประมาณราคาเลือกมาใชวาถูกวิธีมากนอยเพียงใด ผูประมาณราคาที่มี ประสบการณมากอาจจะประมาณราคาไดใกลความจริงมาก ซึ่งอาจผิดพลาดไปจากความจริงเพียงรอย ละ 1 – 5 % ของราคาจริงเทานน้ั ผูประมาณราคา หมายถึง บุคคลที่ทําหนาท่ีประมาณราคาหรือแยกราคาวัสดุกอสรางในหนวย กอสรางนั้นๆ ใหเปนไปตามรูปแบบและรายการกอสรางอันประกอบดวยคาวัสดุ คาแรงงาน คาโสหุย คากําไร และคาภาษี เพื่อเสนองานแกเจาของงานหรือผูวาจาง บางครั้งในกรณีท่ีผูวาจางเปน ผูรับเหมากอสราง ผูประมาณราคาจะดําเนินการประมาณราคาเฉพาะคาวัสดุและคาแรงงานเทานั้น สวน คากําไรและคา ภาษผี วู าจางจะเปน ผูประมาณการเองกอนทจ่ี ะนําไปประมลู หรือประกวดราคา การประมาณราคากอ สรางจะใกลเคียงความเปนจริงมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับประสบการณของ ผูป ระมาณราคา ซึง่ ควรมคี ณุ สมบัตดิ ังตอไปนี้ คือ 1. มีความรูพ ื้นฐานทางดานคณติ ศาสตร และเรขาคณติ 2. มีความรคู วามเขา ใจในการอา นแบบ รายการกอ สรา ง และสญั ญากอสรา งเปน อยางดี 3. มีความรู ความชํานาญเก่ียวกับเทคนิคและการควบคุมงานกอสราง สามารถรูและทํางานตาม ขน้ั ตอนหรอื ลําดับงานของการกอ สราง ตลอดจนสามารถแกปญหาทเี่ กดิ ข้ึนขณะดาํ เนนิ การกอสรา ง 4. มีความรูความสนใจเก่ียวกับวัสดุกอสรางตามทองตลาด ท้ังคุณสมบัติ ราคา ตลอดจนแหลง ผลิตและจาํ หนายวัสดนุ น้ั ๆ เพื่อนํามาคํานวณหาตนทุนของวัสดแุ ตล ะชนดิ 5. มีวิสัยทัศนในการมองเหตุการณท่ีจะเกิดข้ึนระหวางการดําเนินการกอสราง เชนแหลงที่มา ของวสั ดุ และสภาพแวดลอ มและอทิ ธิพลของดินฟาอากาศ

3 6. สามารถเลือกวิธีการประมาณราคาใหเหมาะสมตามสถานการณ มีลําดับขั้นตอนในการ ประมาณราคาเพ่อื กันการลืม 7. มีความสนใจเก่ียวกับสถิติ การความเคลื่อนไหวของและการเปล่ียนแปลงตามตลาดแรงงาน อยูเสมอ 8. มีความชางสังเกตและติดตาม ตลอดจนการวิเคราะหประเมินผลการดําเนินงานในแตละคร้ัง เพ่อื นาํ ขอ บกพรองหรอื ขอ ผิดพลาดไปทําการแกไขตอ ไป จากคุณสมบัติขางตน จะสังเกตวาผูประมาณราคาที่ดี จะตองเปนบุคคลท่ีมีความรูความสามารถ ตลอดจนประสบการณในการกอสรางเปนอยางมากจึงจะชวยใหการประมาณราคาไดใกลเคียงกับความ เปน จรงิ มากย่ิงขึ้น ประโยชนข องการประมาณราคา การประมาณราคากอสรางมีความสําคัญและมีประโยชนตอบุคคลที่เก่ียวของกับธุรกิจกอสราง ทุกฝายไมวาจะเปนเจาของงาน สถาปนิก วิศวกร หรือผูรับเหมากอสราง ท้ังในดานการดําเนินการ กอสราง และวงเงินคา กอสรา ง และการเปลี่ยนแปลงรูปแบบรายการกอสราง หากประมาณราคาผิดพลาด อาจทาํ ใหโ ครงการนั้นลม เหลวไดโดยงาย เจาของงาน เปนบุคคลท่ีสามารถกําหนดงบประมาณวงเงินคากอสรางเพ่ือใหสถาปนิก หรือ วศิ วกรทาํ การออกแบบ สถาปนิกหรือวิศวกร เปนบุคคลที่นําวงเงินหรืองบประมาณที่ไดจากเจาของงานมาพิจารณา ออกแบบ รวมท้ังศึกษาหาความเหมาะสมของโครงการ หรอื ใชในการเสนอราคากลางแกเจาของงาน ผูรับเหมา เปนบุคคลท่ีนําแบบจากเจาของงานมาประมาณราคาเพื่อเสนอราคา จึงมีความสําคัญ มากท่ีผูรับเหมาะจะตองรูจักวิธีการประมาณราคากอสราง เพราะถาเสนอราคาสูงเกินไปโอกาสท่ีจะได งานก็มีนอย ในทางตรงกันขามถาเสนอราคาต่ําเกินไปก็อาจเสี่ยงตอการขาดทุน จนเปนสาเหตุทําใหทิ้ง งานกอใหเกดิ ความเสียหายตอ เจาของงาน การประมาณราคากอสรางยังมีประโยชนในกรณีท่ีเจาของเกิดการเปล่ียนแปลงงาน คือเพิ่ม หรือ ลดงานในขณะกอสราง จะชวยใหผูรับเหมาสามารถตกลงราคากับเจาของงานเปนหนวยตามที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงจริง จะชวยใหลดความขัดแยงที่เกิดข้ึนระหวางผูรับเหมากับเจาของงาน ซึ่งบางครั้งเจาของ งานอาจเห็นเปนเร่ืองเล็กนอย สําหรับผูรับเหมาถือเปนตนทุนในการผลิตอาจเกิดผลกระทบตอกําไร- ขาดทนุ ได ดังนั้นการคิดราคางานเพิม่ หรอื ลดงานควรจะทาํ เปน งานๆไป ณ เวลานั้นๆ ไมควรทิ้งไวทีหลัง เนือ่ งจากงานเพ่มิ หลายๆงานจะทาํ ใหราคาเปลย่ี นแปลงไปมากจนอาจทาํ ใหเกิดปญ หาระหวางเจา ของงาน และผูรบั เหมาเรอ่ื งราคาทีส่ ูงหรือต่ําเกินไป

4 ลกั ษณะของการประมาณราคา การประมาณราคากอสรางสามารถทําไดหลายวิธี ต้ังแตวิธีการประมาณราคาอยางงาย คือ การ เดาโดยอาศัยประสบการณและความชํานาญ ไปจนถึงการประมาณราคาอยางละเอียด แตละวิธีมีขอจํากัด และระดบั ความแมนยาํ แตกตา งกันออกไป สําหรบั ผลท่ีไดรับจะเปนเพียงความใกลเคียงกับความเปนจริง เทาน้ัน การประมาณราคาจึงจําแนกออกไดห ลายลักษณะตามข้ันตอนตางๆของการวางแผนการกอสราง ต้ังแตเ ริ่มโครงการ จนถงึ การกอสรางแลว เสร็จซ่งึ จําแนกออกเปนหลายลักษณะตางกนั ออกไป การประมาณราคาเบ้อื งตน เปนการประมาณราคาอยางหยาบเพื่อนําไปใชในกรณีการคาดการณ เพื่อตัดสินใจในการทําโครงการ ความเปนไปได และการกําหนดงบประมาณ ผูออกแบบจะกําหนด ขนาดของโครงการใหเพียงพอกับงบประมาณทีม่ อี ยู การประมาณราคาโดยผูรับเหมากอสราง เปนการประมาณราคาอยางละเอียด เนื่องจากผูรับเหมา ตองมีขอมูลอยางละเอียดเพ่ือคํานวณตนทุนจากรูปแบบและรายการกอสรางตามที่ตนตองการจะเขารวม การประมลู งานหรอื เสนอราคา ซึ่งจะตอ งใชความละเอียด รอบคอบสงู มาก การประมาณราคาโดยเจาของงาน การประมาณราคาแบบน้ีมีขอบเขต และขอจํากัดมากกวาการ ประมาณราคาโดยผูรับเหมา จะตองประมาณราคาท้ังหมด ตั้งแตริเริ่มหาที่ดิน คากอสราง คา สาธารณปู โภค คาออกแบบโครงการ ตลอดจนคาภาษเี งินกู ฯลฯ การประมาณราคาโดยผูประมาณการ การประมาณราคาแบบนี้เปนการประมาณการแบบ ละเอียด สามารถมองออกเปนหลายมุมมอง เชน ถาผูประมาณราคาเปนคนของเจาของโครงการ ก็จะเริ่ม ประมาณตัง้ แตร ิเรม่ิ โครงการไปจนแลวเสร็จโครงการ ราคาที่ไดถือเปนราคากลางของการโครงการ ถา ผูประมาณราคาเปนคนของผูรับเหมาก็จะประมาณราคาในลักษณะเฉพาะจุด เชน งานปรับถนน งาน กอ สรางอาคาร หรอื งานสาธารณปู โภค ฯลฯ การประมาณราคาความกาวหนา การประมาณการแบบน้ีเปนการประมาณในลักษณะการ ตรวจสอบไปในตัว เพราะจะตองประมาณการในขณะท่ีทํางานเพื่อนําไปเปรียบเทียบกับการประมาณ ราคาทที่ าํ ไวใ นแตล ะจุด วธิ ีการประมาณราคากอสราง การประมาณราคากอสรางโดยทวั่ ไปแบง ออกได 2 วิธี คือการประมาณราคาอยางหยาบ และการ ประมาณราคาอยางละเอยี ด 1. วธิ กี ารประมาณราคาแบบหยาบ เปน การประมาณราคาเบื้องตน ใชสําหรับการประมาณราคา ท่ีรวดเร็ว และไมตองการความแมนยํามากนัก การประมาณราคาเบื้องตนเหมาะสําหรับท่ีจะนําไปใชใน ข้นั ตอนตางๆของการวางแผนงานกอ สรางดังนี้ คือ

5 1.1 ขั้นรเิ ริม่ โครงการ เมอื่ เจา ของโครงการตองการทราบขอมูลตนทุนเครา ๆ จะชวยใหทราบวา โครงการนั้นจะอยูในระดับใด จะตองใชเงินลงทุนประมาณเทาไร อันจะกอใหเกิดงบประมาณในการ ลงทุนขน้ึ 1.2 ข้ันศึกษาโครงการ เมื่อคํานวณแลววาโครงการสามารถเกิดข้ึนได ก็เร่ิมศึกษาความเปนไป ไดหรือความเหมาะสมของโครงการ ในข้ันตอนน้ีตองการความแมนยําในการประมาณราคาที่คอนขาง สงู เพอื่ ประมาณราคาและวเิ คราะหก ารเงนิ เบอ้ื งตน 1.3 ข้ันการออกแบบ เม่ือเจาของโครงการตัดสินใจที่จะทําโครงการ คณะผูออกแบบคือ สถาปนกิ และวิศวกรก็จะใชห ลกั การประมาณราคาเบื้องตน เพอื่ ศกึ ษาสถิติและขอมูลในอดีตเก่ียวกับราคา คากอสราง เพ่อื เลอื กรปู แบบของโครงการใหเ หมาะสมภายใตวงเงนิ ทก่ี าํ หนดไว หลักการประมาณราคาเบ้ืองตนสามารถทําไดหลายแบบ ในแตละแบบจะมีตัวแปรหลักเปน สัดสวนโดยตรงกับราคาคากอสราง เชน พื้นที่ใชสอยของอาคาร ปริมาตรของอาคารและจํานวนหนวย การใชส อย การประมาณราคาโดยใชพน้ื ทใี่ ชสอย การประมาณราคาโดยพื้นที่ใชสอย ทําไดโดยการหาพื้นท่ีใชสอยรวมของอาคารทั้งหมดซ่ึงคิด จากเสนรอบรูปภายนอกของอาคารไมหกั สวนใดสว นหน่งึ ออก แลว คูณดวยตนทุนตอ หนว ยพนื้ ทใ่ี ชสอย ของอาคาร หรือสงิ่ ปลกู สรางนนั้ ๆ ตัวอยางท่ี 1 อาคารพาณิชย 2 ช้ัน 4 คูหา มีความกวางรวม 12.00 เมตร ความยาวรวม 16.00 เมตร ตน ทนุ การผลติ ตารางเมตรละ 10,000 บาท จงคํานวณหาราคาโดยพ้ืนทใี่ ชสอย

6 รปู ท่ี 1.1 แปลนพน้ื ช้ัน 1 และชั้น 2 ของอาคารพาณิชย 2 ช้ัน 4 คหู า ที่มา : วเิ ชยี ร ปญ ญาจักร วธิ ีคิด หาพนื้ ใชสอยทีร่ วมทง้ั หมด = ความกวาง x ความยาว x จํานวนชนั้ = 12 x 16 x 2 ตน ทุนตารางเมตรละ 10,000 บาท = 384 ตารางเมตร จะใชตน ทุนในการกอ สรา ง = 384 x 10,000 = 3,840,000 บาท ตนทุนคา กอสรางซึ่งไดจ ากการประมาณราคาแบบน้ีอาจแตกตางกนั ออกไป เนื่องจาก 1. เขตพืน้ ท่กี อสราง ทําใหร าคาวัสดแุ ละคาแรงงานตางกัน 2. วิธกี ารกอสรา ง เชนวัสดุสําเร็จรปู และวัสดทุ าํ ในที่ 3. รายละเอียดอน่ื ๆ เชน รูปแบบของอาคารท่ีแตกตางกัน ทําใหล ักษณะโครงสรา งตา งกนั การเลอื กใชวธิ กี ารประมาณราคาแบบพื้นท่ีใชสอย เปนการประมาณราคากอสรางอยางหยาบ จึง ควรระวงั เรอื่ งตัวเลขของตน ทุนตอ ตารางเมตร ตอ งไมลืมวา มคี วามคลาดเคลือ่ นคอนขา งสูง

7 การประมาณราคากอสรางโดยปริมาตร การประมาณราคาแบบน้ีคลายกับการประมาณราคาแบพื้นที่ใชสอย จะตางกันตรงที่วา การ ประมาณราคาแบบพ้นื ทีใ่ ชสอยใชพ ้นื ที่เปนตัวแปรหลัก สวนการประมาณราคาแบบปริมาตรใชปริมาตร ของงานเปน ตวั แปรหลกั การประมาณราคาแบบปริมาตรอาศัยปรมิ าตรที่คํานวณจากการครอบคลมุ พื้นที่ ของอาคารท้ังหมดตง้ั แตพน้ื ช้นั ลา งไปจนถึงหลังคาแลวคูณดว ยตนทนุ ราคาตอหนว ยปรมิ าตร ตวั อยา งท่ี 2 ตึกแถว 3 ชัน้ 5 คหู า แตละคูหามีความกวาง 4.00 เมตร ความยาว 12 .00 เมตร ความสูง 10.40 เมตร รปู ที่ 1.2 แปลนพ้นื และรปู ดานของอาคารพาณชิ ย 3 ชัน้ 5 คหู า ทมี่ า : วิเชยี ร ปญ ญาจักร

8 วิธคี ิด หาปรมิ าตรของตกึ = ความกวา ง x ความยาว x ความสงู x จํานวนคหู า = 4 x 12 x 10.40 x 5 = 2496 ลูกบาศกเ มตร ถา ราคาตนทุนตอ ลกู บาศกเมตร = 1500 บาท จะไดต นทุนกอ สรางตึกแถว = 2496 x 1500 บาท = 3,744,000 บาท จะเห็นไดวาถาอาคารหรือสิ่งกอสรางที่มีพื้นท่ีเทากัน แตความสูงของอาคารตางกัน ยอมทําให ปริมาตรตางกนั จึงเปนเหตุทําใหต น ทุนตา งกัน การประมาณราคากอ สรางโดยหนวยการใชส อย การประมาณราคาแบบน้ีอาศัยหลักการท่ีวาตนทุนของสิ่งกอสรางแปรตามจํานวณหนวยการใช สอยการประมาณราคาโดยหนวยการใชสอย ทําไดโดย การคูณจํานวนหนวยของตัวแปรหลักดวย ตนทุนตอ หนวยของตัวแปรหลักนน้ั ตวั อยา งที่ 3 หอพัก คสล. 2 ชน้ั จํานวนช้ันละ 6 ยูนติ ราคาคากอสรางตอ ยูนติ 120,000 บาท รูปที่ 1.3 แปลนพ้ืนช้ัน 1 และ แปลนพ้ืนช้ัน 2 ของอาคารหอพกั คสล. 2 ชัน้ 6 ยูนิต ทมี่ า : วเิ ชยี ร ปญ ญาจกั ร

9 วิธคี ิด หาหนว ยการใชส อย = จาํ นวนยนู ติ x จาํ นวนชนั้ = 6x2 = 12 ยูนติ ถาราคาตอยนู ติ = 120,000 บาท จะไดตนทุนกอ สรา งตกึ แถว = 12 x 120,000 = 1,440,000 บาท การประมาณราคาแบบนจ้ี ะใหผลทมี่ ีความแมนยาํ สูงขึ้นเมื่อมลี ักษณะของสิง่ กอ สรางคลา ยกัน 2. วิธีการประมาณราคาแบบละเอียด จะสามารถทําไดเมื่อรูปแบบไดพัฒนาจนถึงขั้นสมบูรณ แลวและมีรายละเอียดครบถวน กําหนดระยะเวลากอสรางที่แนนอนแลว และพรอมที่จะเปดการ ประกวดราคา ฉะน้ันผูรับเหมาจึงมีบทบาทมากในการประมาณราคาอยางละเอียด เร่ิมต้ังแตการเขาไป สํารวจสถานท่ีกอสรางกอนเพ่ือใหทราบถึงสภาพเดิม ลักษณะของเสนทางเขาถึง ปญหาอุปสรรคท่ีตอง แกไขที่หนางาน จากน้ันจะประชุมกับผูเก่ียวของแตละฝายเพ่ือมอบหมายหนาที่รับผิดชอบ เชน ติดตอ จดั เตรยี มเครือ่ งจกั ร ตดิ ตอแหลง วัสดุตา งๆ ติดตอผรู บั เหมาชว ง เปนตน การเตรียมการประมาณราคาตองศึกษาแบบรายละเอียดใหชัดเจนทุกระบบงาน รวมท้ังเอกสาร ประกอบแบบและเง่ือนไขเพ่ิมเติมตางๆ จากนั้นจึงเร่ิมถอดแบบหาปริมาณของวัสดุตางๆสํารวจแหลง ราคาวัสดุและแหลงแรงงานท่ีมีอยูและตองจัดหาเพิ่ม รวมท้ังจัดหาผูรับเหมาชวงที่เหมาะสมสําหรับงาน แตละประเภท วิธีการประมาณราคาแบบละเอียดนี้ จะไดปริมาณและราคาวัสดุที่ไดใกลเคียงความจริงมาก สามารถนําปริมาณจากประมาณการเอาไว มาควบคุมปริมาณวัสดุที่ใชในการกอสรางจริงได และการ ตรวจสอบคาวัสดุกอสรางเทียบกับที่ไดประมาณการเอาไวก็สามารถทําไดโดยงาย นับวาเปนที่นิยมใช กนั พอประมาณเพราะความละเอียดของขอมลู ทําใหโ อกาสผดิ พลาดนอ ย และยังคอยควบคุมปริมาณวัสดุ กอสรา งไมใหเ กินกาํ หนดไดเ ปน อยางดี ซึ่งจะสรุปใหทราบเปนแนวทางกวางๆดังนี้ 1. แรงงาน 2. วสั ดกุ อ สราง 3. เครอื่ งจักรกลและอปุ กรณ 4. การจดั เตรยี มและบริหารหนวยงานกอสราง 5. การควบคมุ หนวยงานกอสราง 6. การจัดเตรยี มพ้นื ท่ีกองเกบ็ วสั ดุหรอื ประกอบชน้ิ สวน 7. ผูรบั เหมาชว ง 8. คาใชจา ยนอกเหนอื จากท่ีปรากฏในรปู แบบ 9. คา ดาํ เนนิ การ

10 10. คา กําไรและคาภาษี 11. ดอกเบ้ีย ขั้นตอนการประมาณราคา เปนหนาที่ของผูรับเหมาที่จะตองตัดสินใจหลังจากที่ไดรับแบบแปลนกอสรางจากเจาของงาน แลว วาจะวางแผนดําเนินการถอดราคาและคิดราคาอยางไรจึงจะประมูลงานสูกับผูรับเหมารายอื่นไดโดย ไมเสี่ยงตอสภาวะขาดทุน แตละคนจะตองหากลยุทธวิธีที่จะชนะคูตอสูใหได และวิธีท่ีสําคัญที่สุดท่ี ผรู ับเหมาแตละคนไมสามารถหลีกเลีย่ งไดก ค็ อื วธิ กี ารประมาณราคาที่ถูกตองเปนไปอยางเปนระบบและ เปน ขั้นเปนตอน ดังนน้ั การประมาณราคาทีถ่ กู วิธคี วรมีข้ันตอนดงั น้ี 1. รวบรวมขอ มูลทง้ั หมดพรอมท้งั สํารวจสถานทก่ี อสรา งจริง ( Data) 2. ถอดแบบเพือ่ หาปริมาณงานและวัสดุทั้งหมดที่ปรากฏอยูใ นแบบ (Take off ) 3. ลงราคาวัสดแุ ละแรงงานทใี่ ชล งแบบฟอรมการประมาณราคา ( Take cost ) 4. สรปุ ราคารวมคา ดาํ เนินการและกําไร (Overhead and profit ) 1. รวบรวมขอมูล (Data) หลังจากที่ผูรับเหมาตัดสินใจจะประมูลงานน้ีแลว จะตอง ดําเนินการรวบรวมขอมูลพรอมทั้งตรวจสอบสถานท่ีจะตองกอสรางจริงวามีอุปสรรคหรือปญหา อะไรบา งท่ีจะเกดิ ข้ึนหรือตามมา ขอ มลู สว นมากทจี่ ะใชในขนั้ ตอนนี้กค็ ือ 1.1. แบบรปู ( Drawing ) 1.2. รายการประกอบหรือขอ กําหนดในแบบ ( Specification ) 1.3. เอกสารท่ีเกี่ยวขอ งท้งั หมด เชน เอกสารสัญญา เอกสารแนบทา ยสัญญา เปนตน 1.4. สํารวจสถานท่ีจรงิ จากขอมูลดังกลาวขางตนนี้จะเปนขอมูลสําคัญสําหรับการประมาณราคา ไมวาจะเปนอาคาร ขนาดเล็กหรืออาคารขนาดใหญก็ตาม ผูรับเหมาหรือผูประมาณราคาจะตองนํามาดําเนินการตามขั้นตอน ของการประมาณราคาตอไป ในขณะเดียวกันขอมูลท่ีไดอาจเปนปญหาอยางมากสําหรับผูประมาณราคา มือใหมหรือผูประมาณราคาที่ไมเคยมีประสบการณมากอน ที่อาจไมรูวาจะเริ่มดําเนินการอยางไร ท่ีจริง แลวการประมาณราคางานกอสรา งทกุ ชนดิ ทกุ ประเภทจะมีแนวทางการดําเนนิ การหรือหลักการประมาณ ราคาหรือพื้นฐานการประมาณราคาเปนไปในแนวเดียวกันหมด อาจแตกตางกันตรงเทคนิควิธีเพียง เล็กนอย แตผลสรุปออกมาก็คือเปาหมายอันเดียวกันโดยมีแบบรูปหรือแบบแปลนเปนตัวกําหนด หรือ แมแตขอกําหนดที่ตกลงดวย ไมวาจะระบุไวในแบบหรือไมก็ตามผูรับจางควรจะนํามาคิดไวเปนตนทุน ดวย งานกอสรางบางงานระบุขอกําหนดหรือคุณสมบัติของวัสดุตางๆท่ีใชในงานน้ันๆลงไวในแบบ เรียบรอ ย ดังนนั้ ไมว าผลการประมาณราคาจะออกมาแตกตางราคากันมากนอยเพียงใดก็ตาม ถาผูรับเหมา

11 ยื่นซองประมูลราคามาแลวถือวาไมมีผูใดประมาณราคาผิด แตที่ราคาที่ผูรับเหมายื่นซองมาแลวมีราคาที่ แตกตา งกันออกไปก็เนอื่ งจากนโยบายใน ทางการดําเนินการหรือในเชิงธุรกิจทีไ่ มเหมือน ผูรับเหมาบางคนอาจตองการกําไรมาก บางคน อาจมีตน ทุนทีต่ า่ํ กวา เชน ไมแ บบท่ีใชใ นการกอสรางในสถานการณจ รงิ แลวสามารถใชได 2 ถึง 3 ครั้ง ตอไมแบบ 1 ชุด การประมาณราคาไมแบบจึงสามารถลดปริมาณประมาณได 30 - 50 เปอรเซ็นต ซึ่ง ผูรับเหมาบางคนอาจคดิ 100 เปอรเ ซ็นต ก็ไมผ ิดเง่ือนไขการประมาณราคา การดูสถานท่ีกอสรางจริงเปนวันที่ถูกกําหนดข้ึนโดยผูวาจาง ที่จะนัดหมายใหผูที่จะตองการ ประมูลราคาในงานกอ สรางนน้ั ๆใหมาดูสถานทจี่ รงิ กอ นที่จะนําไปประกอบในการคิดราคาซึ่งผูวาจางจะ เปนผูกาํ หนดเง่ือนไขตา งๆข้ึนใหผ ูร ับจา งไดปฏิบัติตาม เชน ระดบั อางองิ ในการกอ สรา ง การรกั ษาตนไม บางตนไว เปนตน จึงนับวาเปนส่ิงสําคัญและจําเปนอยางมากสําหรับผูรับจางหรือผูประมาณราคา เนอื่ งจากสถานที่อาจเปนตัวกาํ หนดตนทนุ หรอื กาํ ไรไดม าก สถานท่จี รงิ จะบอกไดวาอุปสรรคท่จี ะเกดิ ขึน้ ในขณะปฏิบัติงานหรือข้ันเตรียมงานมีมากนอยเพียงใดท่ีผูรับจางจะตองแกไขหรือดําเนินการหรือตอง เสียคาใชจายเพิ่มข้ึน เชน สถานที่จริงในการปฏิบัติงานเปนสถานที่แคบมาก การขนยายวัสดุไมสะดวก ตอ งใชแรงงานคนในการขนยา ยวัสดบุ างสว น ก็สามารถที่จะคิดคา ใชจ ายเพม่ิ ข้ึนได 2. ถอดแบบหาปริมาณของงานทัง้ หมด จากขอมูล (Take off) ในวงการกอสรางเราคุนเคยกับ คาํ วา “ ถอดแบบ ” หรอื “Take off” ก็คอื การหาปรมิ าณวัสดุกอสราง ท่ีเปนไปตามรูปแบบ ( Drawing ) เปนไปตามขอกําหนด (Specification ) เปนไปตามสัญญาและขอตกลงอ่ืนๆ เพราะขอมูลทุกอยาง แลวแตเปน เงนิ ทั้งน้นั การหาปริมาณวสั ดแุ ตละชนดิ น้ันเราสามารถคํานวณปรมิ าณตา งๆ ตามหลักดงั นี้ ในเรือ่ งความยาว มีหนวยเปน มิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร เชน 1.1 ความยาวของเสาเขม็ เปน เมตร 1.2 ควมยาวของเชิงชาย เปน เมตร 1.3 ความสงู ของอาคาร เปนเมตร เปน ตน ในเรื่องของพ้นื ที่ มีหนวยเปน ตารางเมตร ตารางวา งาน ไร 1.1 พืน้ ที่ของไมแ บบ เปนตารางเมตร 1.2 พืน้ ท่ขี องผนงั กออิฐ เปน ตารางเมตร 1.3 พื้นทข่ี องการมงุ กระเบอ้ื งหลงั คา เปน ตารางเมตร เปนตน ในเรอ่ื งของปรมิ าตร มีหนว ยเปน ลูกบาศกเ มตร หรือ ควิ บคิ เมตร 1.1 ปริมาตรของคอนกรตี เปน ลกู บาศกเ มตร หรอื ควิ บิคเมตร 1.2 ปริมาตรของคอนกรตี เปน ลูกบาศกเ มตร หรือ ควิ บคิ เมตร

12 1.3 ปริมาตรของไม เปน ลูกบาศกฟุต หรอื คิวบิคฟุต เปน ตน แบบกอ สรา ง แบบกอสรา งเปนแบบที่จะใชเพื่อทําการกอสราง ตามท่ีสถาปนิกและวิศวกรไดกําหนดขึ้น โดย อาศัยหลักวิชาและกฎระเบียบขอบังคับของทองถ่ินที่จะกอสราง โดยใหเปนไปตามวัตถุประสงคของ เจาของงาน แบบกอสรางถือเปนสวนหนึ่งของสัญญากอสราง มีรูปแบบเรียงลําดับตามความสําคัญของ งานกอ สรา งและมแี บบขยาย เพือ่ ใหผูรบั เหมาหรือชางกอสรางตลอดจนผูประมาณราคา เกิดความเขาใจ ในรายละเอียดสว นประกอบของอาคารและวัสดตุ างๆ แบบกอสรางประกอบดวย รูปแผนผัง แบบรูปต้ังทุกดาน แปลนพื้นชั้นตางๆ แบบรูปตัดของ สวนสาํ คญั และแบบขยายรายละเอียดตางๆ ทงั้ ในแบบงานสถาปตยกรรม แบบงานวิศวกรรมโครงสราง แบบงานวิศวกรรมไฟฟา และแบบงานวิศวกรรมเครือ่ งกล ปกตแิ บบกอ สรางเขียนอยใู นระบบเมตริก ( คือ มิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร ) ซ่ึงนิยมใชในประเทศไทย ในแบบจะระบุวาเปนรูปแบบอะไร มี มาตรตราสวนเทาไร เชน 1:20 จะหมายความวาที่เขียนลงในแบบ 1 เซนติเมตร จะเทากับท่ีจะตอง กอสรางจริง 20 เซนติเมตร เปนตน เลขหมายของแบบแตละแผน นิยมใชตัวอักษรขึ้นตนท่ีแสดงถึง แบบของแตละฝา ยท่เี กย่ี วขอ ง เชน A = งานสถาปต ยกรรม S = งานวศิ วกรรมโครงสรา ง E = งานวศิ วกรรมไฟฟา M = งานวศิ วกรรมเคร่ืองกล SN = งานวิศวกรรมสขุ าภิบาล แบบงานสถาปต ยกรรม ( แทนดว ยอักษร A) ประกอบดว ย รูปแปลน เปนรูปท่ีแสดงตําแหนงของอาคารวาตั้งหันหนาไปทางทิศใด มีขนาดของอาคาร เทาใด อยูหา งจากรว้ั หรือเขตทดี่ ินเปนระยะเทาไร แตละช้นั ของอาคารมหี องอะไรบาง และขนาดเทาได ทางเดินติดตอภายในอาคารมีอะไรบาง อยูตรงไหนบาง เชน ประตู ระเบียง บันได และมีชองแสง ชอ งลม หรือหนา ตา งอยสู วนใดของผนัง ตลอดจนระดับของแตล ะชนั้ แตล ะหอง รูปดานหรือรูปต้ัง มักแสดงท้ังสี่ดาน คือดานหนา ดานหลัง ดานขางสองดาน เพ่ือใหเห็น รูปทรงอาคาร ประตูและหนา ตา งวา เปนอยางไร อยตู รงไหน ตลอดจนความสูงของอาคาร รูปตัด มีรูปตัดตามขวางและรูปตัดตามยาว ตามแนวตัดท่ีไดแสดงไวในรูปแปลน รูปตัดแสดง ถึงความสงู และระยะของแตละชั้นในอาคาร ตลอดจนชนิดและขนาดของวัสดทุ ี่ใชเ ปนสวนประกอบของ อาคาร

13 รูปขยาย เปนรูปตัดที่เขียนขยายข้ึนเพื่อใหเห็นรายละเอียดของการใชวัสดุที่จะทําเปนสวนของ โครงสรา ง ใหเห็นชัดเจนข้นึ แบบงานวิศวกรรมโครงสราง ( แทนดวยอักษร S) ประกอบดวย รูปแปลน แสดงตําแหนงของฐานราก เสา คานคอดิน คานชนั้ สอง และโครงหลังคา รูปขยาย เพ่ือขยายรายละเอียดของฐานราก เสา คาน โครงหลังคา วามีขนาดกวางยาวเทาใด ใชช นิดและขนาดของวสั ดุอยางไร ทจี่ ะทําเปนสวนของโครงสรา ง แบบงานวศิ วกรรมไฟฟา ( แทนดวยอกั ษร E) ประกอบดว ย รปู แปลน แสดงจํานวนและตําแหนง ของดวงโคม สวิทช ปลกั๊ การเดนิ สายไฟ ฯลฯ แบบงานวิศวกรรมสขุ าภบิ าล ( แทนดว ยอกั ษร SN) ประกอบดวย รูปแปลน แสดงจํานวนและตําแหนง ท่ีตั้งของบอเกรอะ บอซึม บอนํ้าท้ิง หรือถังบําบัด บอพัก ทอระบายน้ํา ฯลฯ รปู ขยาย แสดงรายละเอยี ดของขนาด ลักษณะ และชนดิ ของวัสดทุ จ่ี ะใชท าํ ในงานสุขาภบิ าล รายละเอียดประกอบการกอสรา ง รายละเอียดประกอบการกอสราง หรือรายการกอสราง คือขอเขียนท่ีแสดงรายละเอียดเพ่ิมเติม จากท่ีไดแสดงไวในแบบกอสราง โดยขอกําหนดทางสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เกี่ยวกับขนาดแสดง คุณสมบัติของวัสดุกอสราง การเตรียมงานและหลักการดําเนินการกอสรางสําหรับงานน้ันๆ เพ่ือช้ีบงถึง ความตองการของเจาของงานและมาตรฐานของงานท่ีตองการ ซ่ึงผูรับจางจะตองถือเปนสวนหนึ่งของ สัญญาท่ีตองปฏิบัติและดําเนินการ ผูประมาณการจะตองศึกษาและทําความเขาใจในรายละเอียด ประกอบการกอสราง ท้ังนเี้ พราะงานกอสราง 2 งานท่ีใชแบบกอสรางเหมือนกัน ราคาอาจแตกตางกันได หากรายการกอ สรางทก่ี าํ หนดคุณภาพของวัสดแุ ละมาตรฐานของงานทตี่ อ งการมคี วามแตกตา งกนั รายการกอสรางมสี องแบบ คอื 1. รายการอยางละเอียด ซ่ึงเขียนไวโดยละเอียดและสมบูรณทุกขั้นตอนของงาน อาจแบงเปน รายการฝา ยสถาปต ยกรรมและฝายวิศวกรรม 2. รายการยอ ซึ่งเขียนไวโดยสั้นๆโดยยอ แจงความประสงคงายๆ ถึงคุณสมบัติของวัสดุ กอ สราง เชน การใชคอนกรีต 1 : 2 : 4 โดยปรมิ าตร เปน ตน สว นใหญม กั เขียนไวในแบบกอ สรางเลย ปกติรายการกอสรางอยางละเอียดจะเขียนตามลําดับขั้นตอนของการดําเนินการกอสราง เชน การเตรียมสถานที่ ปกผังปริเวณ การทําฐานราก ฯลฯ โดยบงถึง ขนาดและคุณสมบัติของวัสดุกอสราง การทดสอบวัสดุ การปฏิบัติงานตางๆ เชน การประกอบและติดต้ัง เปนตน รายการกอสรางอาจแยกเปน รายการท่ัวไปที่เขียนเปนบทหรือสวนทั่วๆไปของงานที่พึงประสงค รายการกอสรางทางเทคนิคท่ีแยก

14 เฉพาะงานท่ีจะทําเปนเรื่องๆไป โดยบอกวาเปนงานอะไร ใชวัสดุอะไร ใชที่ไหน และทําอยางไร ซ่ึงเปน การอธบิ ายถงึ คุณภาพของวัสดแุ ละฝม ือมาตรฐานการทํางานทตี่ องการ กอนลงมือประมาณราคา ผูประมาณการจะตองศึกษารายละเอียดประกอบการกอสรางทุก ถอยคํา วาคุณภาพของวัสดุและมาตรฐานของงานเปนอยางไร มีขอขัดแยงกับแบบกอสราง หรือมี ขอสังเกตอืน่ ใดท่จี ะตองหาขอมลู เพ่ิมเติม หรือสอบถามตอไป เพ่ือปองกันความผิดพลาดในการประมาณ การ เกี่ยวกบั คาแรงงาน วัสดุ และระยะเวลาท่ีจะดําเนนิ การปลูกสราง การจดั หมวดรายการงานกอ สรา ง ในการจัดทําบัญชีสวนประกอบของงานกอสรางหรือเอกสาร “บัญชีวัสดุกอสราง” หรือ “บัญชีรายการคากอสราง” จุดประสงคของการจําแนกรายการของงานกอสราง ก็เพ่ือจัดหมวดหมูของ งานตางๆใหเปนระเบียบ ชวยใหการประมาณราคาทําไดโดยสะดวก และที่สําคัญคือไมหลงลืมบาง รายการไป สําหรบั การจาํ แนกรายการกอสรางตามระบบ CSI ของสหรัฐอเมริกา แบงออกเปน 16 หมวด ดงั น้ี หมวดที่ 1. GENERAL REQUTREMENTS หมวดท่ี 2. SITE WORK หมวดที่ 3. CONCRETE หมวดท่ี 4. MASONRY หมวดท่ี 5. METALS หมวดท่ี 6. WOOD AND PLASTICS หมวดที่ 7. THERMAL AND MOISTURE PROTECTION หมวดท่ี 8. DOORS AND WINDOWS หมวดท่ี 9. FINISHES หมวดท่ี 10. SPECIALTIES หมวดที่ 11. EQUIPMENT หมวดที่ 12. FURNISHINGS หมวดที่ 13. SPECIAL CONSTRUCTION หมวดที่ 14. CONVEYING SYSTEMS หมวดที่ 15. MECHANICAL หมวดท่ี 16. ELECTRICAL

15 การจัดหมวดรายการงานกอสรางภายในประเทศไทย แบงหมวดหมูตางๆ ของงานโครงสราง ท่วั ไป ดงั น้ี หมวดท่ี 1. งานฐานราก - งานขดุ ดินฐานรากและกลบคนื - งานตอกเสาเขม็ (เสาเขม็ ไม, เสาเข็ม คสล., เสาเข็มคอนกรตี อัดแรง, เสาเข็มเจาะ ) - งานทดสอบการรบั นา้ํ หนักของเสาเข็ม - งานวสั ดุรองใตฐานราก - งานคอนกรตี หยาบรองใตฐ านราก หมวดท่ี 2. งานโครงสรา งคอนกรีตเสริมเหลก็ - งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กใตระดับดิน ประกอบดวยงาน คสล. (ฐานราก, ตอมอ คานยดึ ฐานราก, ตานคอดนิ ) งานไมแบบ - งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ช้ันที่ 1, 2, 3........... ประกอบดวยงาน คสล. (พ้ืน คาน, เสา, บันได ฯลฯ) งานไมแบบ - งานโครงสรางพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กระดับหลังคา ประกอบดวยงาน คสล. (พ้ืน, ดาดฟา , คาน, เสารบั โครงหลงั คา) งานไมแ บบ นา้ํ ยากันซมึ ผสมคอนกรีต หมวดที่ 3. งานหลังคา - งานโครงหลังคา (โครงหลังคาไม, โครงหลงั คาเหลก็ ) - งานมงุ หลังคา (วัสดแุ ผนมงุ หลังคาและอปุ กรณ) หมวดท่ี 4. งานฝาเพดานและเพดาน - งานฝา เพดานคอนกรตี เปลอื ย - งานฝาเพดานฉาบปูนเรยี บ - งานฝาเพดานวัสดุแผนและครา วไม หมวดที่ 5. งานผนงั และฝา - งานผนังกอดว ยวสั ดกุ อ (ผนังกอ อิฐมอญ, ผนงั กอคอนกรีตบล็อก ฯลฯ) - งานผนังคอนกรีตเปลือย - งานฝาวัสดุแผนและครา วไม หมวดท่ี 6. งานตกแตงผิว - งานตกแตงผิวผนงั (งานผนงั บวุ ัสดแุ ผน, งานผนงั ฉาบผวิ หนิ ลาง ทรายลา ง) - งานฉาบปนู ทราย (งานผนังฉาบปูนเรียบ, งานผนงั ฉาบปนู และแตง แนว) - งานตกแตงผวิ พ้ืน (งานเทปูนทรายปรบั ระดับ, งานปดู ว ยวสั ดุแผน, งานบวั เชงิ ผนงั )

16 หมวดที่ 7. งานประตู หนาตาง - ประตไู ม, ประตูเหลก็ , ประตูอลมู ิเนยี ม พรอมวงกบและอปุ กรณ - หนา ตา งไม, หนาตา งอลูมิเนียม กระจกพรอมอลูมเิ นยี ม หมวดที่ 8. งานลูกกรงและราวลกู กรง - งานลูกกรงและราวลกู กรงบันได - งานลกู กรงและราวลูกกรงท่ัวไป หมวดท่ี 9. งานระบบสุขาภบิ าลและดบั เพลงิ - งานระบบทอ ประปา (น้ําใช) - งานระบบทอระบายนา้ํ (นํ้าทง้ิ ) - งานระบบระบายอากาศและกําจดั นํ้าโสโครก (รวมสุขภณั ฑ) - งานระบบดับเพลิง หมวดท่ี 10. งานระบบไฟฟา - งานไฟฟากาํ ลงั - งานไฟฟาแสงสวา ง - งานระบบสอื่ สารติดตอ ภายใน-ภายนอก หมวดท่ี 11. งานสี - งานทาสภี ายนอกอาคาร - งานทาสีภายในอาคาร หมวดที่ 12. งานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ หมวดที่ 13. งานลิฟทแ ละทางเลื่อนตา งๆ หมวดที่ 14. งานอปุ กรณเ ครอ่ื งใชภายในอาคาร และเฟอรนิเจอร หมวดท่ี 15. งานภายนอกอาคารทั่วไป (ทางเดินเทารอบอาคาร, ถนน, ลานจอดรถ, รั้ว, ประตู ทางออก งานตกแตงสวนและบรเิ วณทว่ั ไป) สัญญาการกอ สราง สัญญาการกอสราง เปนขอตกลงระหวางบุคคลสองฝายคือ ฝายผูวาจางกับฝายผูรับจางโดยมี ความ มุงหมายใหฝายใดฝายหน่ึงปฏิบัติภารกิจอยางใดอยางหนึ่งตามขอตกลงท่ีระบุไว เชน กําหนดระยะเวลา กอ สราง กําหนดการชําระเงิน กําหนดคาเสียหาย (เบี้ยปรับ)หากฝายใดฝางหนึ่งผิดสัญญา เปนตน ปกติ สญั ญาการกอ สรางจะประกอบไปดว ยหัวขอ ตางๆดังนี้ 1. เร่อื งของสัญญา สถานท่ที าํ สัญญา 2. วนั เดือน ป ท่ที ําสัญญา

17 3. ผูทําสัญญาระหวางใครกับใคร ซ่ึงตองบง ชื่อ สกุล สัญชาติ เช้ือชาติ อายุ อาชีพ ตลอดจนทีอ่ ยอู าศัยใหละเอยี ดชดั เจน 7. กําหนดวันลงมือทําการกอสราง และวันแลวเสร็จของอาคารน้ัน พรอมทั้งรวมระยะเวลา การกอ สรา งวา เปนเวลากว่ี ัน 8. ระบกุ ารจา ยคา เสยี หายทดแทน (คาปรับ)หากมกี ารผดิ สัญญาตามขอ 7 9. ระบุการแบงงวดการจายเงินคากอสรางไวอยา งชดั เจนวา ทาํ การกอสรางไดงานแลว เสร็จถงึ อะไร ผวู าจางตอ งจา ยเงินเทาใดเปนงวดๆไป 10. บง ถึงการเลกิ สญั ญาวา จะเลิกสัญญากนั ไดเพราะเหตใุ ดบา ง และเมอ่ื ใด 11. มีชองลงลายเซ็นทายสัญญาของผูวาจางและผูรับจาง พรอมพยานอยางนอยสองคน และ ผเู ขียนสัญญาอกี หน่งึ คน ผปู ระมาณราคาจะตอ งศกึ ษาขอตกลงและสญั ญาใหล ะเอยี ดกอ นลงมอื ประมาณราคา เพราะขอ สญั ญาตา งๆตามความตองการของผูวาจา ง จะมีผลกระทบตอ ราคาคา กอสรา ง

18 สรปุ หลกั การประมาณราคาเบอ้ื งตน นั้นผูประมาณราคาตองรคู วามหมาย หลกั การและขนั้ ตอนใน การประมาณราคา การประมาณราคามีประโยชนต อ เจา ของงาน สถาปนกิ วิศวกรหรอื ผรู ับเหมา การ ประมาณราคาจะใกลเ คียงความจริงมากแคไ หนนนั้ ข้ึนอยกู บั วธิ กี ารประมาณราคาของผูป ระมาณราคา วา เปน แบบหยาบหรือแบบระเอยี ด และทส่ี ําคญั อกี อยางหนง่ึ ผูประมาณราคาตอ งอา นแบบออกและเขา ใจ รายละเอยี ดของแบบ

19 แบบฝก หัด หนวยที่ 1 การประมาณราคากอสรางเบ้อื งตน คาํ ชแี้ จง จงเลอื ก หนา คําตอบท่ีถกู ตองทส่ี ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดคือความหมายของการประมาณราคาทถ่ี ูกตองที่สุด ก. การคาดคะเน การเดา ข. การคดิ การคาํ นวณหาปรมิ าณและราคาวัสดุกอ สรา ง ค. การคดิ การคาํ นวณหาปรมิ าณและราคาวสั ดุกอสรา ง คา แรงงาน คาโสหุย คากาํ ไร คา ภาษี ตลอดจนคา ใชจ ายอนื่ ๆที่ควรจะเปน สําหรับงานกอสรางในหนว ยนนั้ ๆ ง. ถูกทกุ ขอ 2. ขอใดคือความหมายของผูประมาณราคา ก. บคุ คลทีท่ ําหนา ท่เี ขียนแบบ ข. บคุ คลท่ีทาํ หนา ที่เปน เจาของงาน ค. บคุ คลทท่ี ําหนา ทค่ี วบคมุ งานกอสราง ง. บคุ คลท่ที ําหนา ทป่ี ระมาณราคาหรอื แยกราคาวสั ดกุ อ สราง 3. ผปู ระมาณราคาควรมีคณุ สมบัติตามขอใด ก. มคี วามรูพนื้ ฐานทางดานคณิตศาสตร และเรขาคณติ ค. มคี วามรคู วามสนใจเกย่ี วกบั วัสดกุ อสรางตามทองตลาด ทั้งคณุ สมบัติและราคา ข. มีความรูค วามเขาใจในการอา นแบบ รายการกอ สราง และสญั ญากอ สรา งเปน อยา งดี ง. ถูกทุกขอ 4. วธิ ีการประมาณราคางานกอ สรา งโดยทวั่ ไปแบง ออกเปน กี่แบบ ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ 5. มาตราสว น 1:20 มคี วามหมายตรงกบั ขอใด ก. หมายความวาท่เี ขียนลงในแบบ 1 เซนตเิ มตร จะเทากบั ท่จี ะตอ งกอ สรางจรงิ 20 เซนตเิ มตร ข. หมายความวาทเ่ี ขยี นลงในแบบ 20 เซนติเมตร จะเทา กับที่จะตองกอ สรางจรงิ 1 เซนติเมตร ค. หมายความวา ทีเ่ ขยี นลงในแบบ 1:20 นนั้ จะสรา งจรงิ 1 เซนติเมตร หรอื 20 เซนติเมตร ก็ได ง. ถูกทกุ ขอ

20 6. อกั ษรใดตอ ไปนีใ้ ชแ ทนแบบดา นงานวศิ วกรรมโครงสรา ง ก. A ข. S ค. E ง. M 7. อกั ษรใดตอ ไปนใ้ี ชแทนแบบดานงานสถาปต ยกรรม ก. A ข. S ค. E ง. SN 8. อกั ษรใดตอ ไปนใ้ี ชแทนแบบดานงานสุขาภิบาล ก. A ข. S ค. E ง. SN 9. อกั ษรใดตอ ไปนใ้ี ชแทนแบบดานงานไฟฟา ก. A ข. S ค. E ง. SN 10. แบบงานสถาปต ยกรรม รปู แปลน แสดงถงึ อะไร ก. แสดงตาํ แหนง ฐานราก เสา คาน ข. แสดงตําแหนงสวิทช ปลั๊ก การเดนิ สายไฟฟา ค. แสดงตําแหนง ทอน้าํ ใช ทอนาํ้ เสยี ทอโสโครก ง. แสดงตําแหนงของอาคารวาหันหนาไปทางทิศใด มขี นาดของอาคารเทา ใด 11. แบบงานวศิ วกรรมโครงสรา ง รปู แปลน แสดงถึงอะไร ก. แสดงตําแหนงฐานราก เสา คาน ข. แสดงตาํ แหนง สวิทช ปลัก๊ การเดินสายไฟฟา ค. แสดงตาํ แหนง ของอาคารวา หันหนา ไปทางทิศใด มขี นาดของอาคารเทา ใด ง. แสดงทต่ี ัง้ ของบอ เกรอะ บอซมึ บอ นา้ํ ท้งิ หรือถังบําบัด บอ พกั ทอ ระบายนํา้

21 12. แบบงานวศิ วกรรมสขุ าภบิ าล รปู แปลน แสดงถงึ อะไร ก. แสดงตาํ แหนง ฐานราก เสา คาน ข. แสดงตาํ แหนง สวทิ ช ปลก๊ั การเดินสายไฟฟา ค. แสดงตําแหนง ของอาคารวาหันหนาไปทางทิศใด มขี นาดของอาคารเทาใด ง. แสดงท่ตี ั้งของบอ เกรอะ บอซมึ บอน้าํ ทง้ิ หรอื ถงั บาํ บัด บอพกั ทอ ระบายนํา้ 13. รปู ตดั แสดงถงึ อะไร ก. แสดงถึงรายละเอียดการใชว ัสดุ ข. แสดงถึงความสูงและระยะของแตละชนั้ ในอาคาร ค. แสดงถงึ รูปดา นหนา ดา นขางสองขา ง ดานหลัง เหน็ รปู ทรงอาคาร ประตู หนา ตา ง ง. ถูกทกุ ขอ 14. รูปดาน แสดงถึงอะไร ก. แสดงถงึ รายละเอียดการใชว สั ดุ ข. แสดงถึงความสงู และระยะของแตละชัน้ ในอาคาร ค. แสดงถงึ รูปดานหนา ดา นขางสองขา ง ดานหลงั เหน็ รูปทรงอาคาร ประตู หนาตาง ง. ถูกทุกขอ 15. รายละเอยี ดประกอบการกอสรา ง หมายถึงขอ ใด ก. ขอ เขยี นทีแ่ สดงรายละเอียดดานเทคนิคกอสรา ง ข. ขอ เขียนทแี่ สดงรายละเอยี ดการใชวสั ดกุ อสราง ค. ขอเขียนทแ่ี สดงรายละเอยี ดเก่ียวกับบรเิ วณกอสรา ง ง. ขอเขียนท่แี สดงรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ จากที่แสดงในแบบแบบกอ สรา ง 16. จดุ ประสงคของการจําแนกรายการของงานกอสรา ง คอื ขอใด ก. เพอ่ื ใหไ มห ลงลมื บางรายการ ข. เพ่อื ชว ยใหก ารประมาณราคาทําไดโดยสะดวก ค. เพือ่ จดั หมวดหมูข องงานตา งๆใหรวมเปน กลมุ เปนระเบยี บ ง. ถกู ทุกขอ 17. การจําแนกรายการงานกอสรางภายในประเทศไทยแบงออกเปน กงี่ วด ก. 10 งวด ข. 16 งวด ค. 18 งวด ง. 20 งวด

22 18. สัญญากอ สรางมีความหมายตรงกับขอใด ก. เปนสัญญาท่ีใชไ มไ ดต ามกฎหมาย ข. เปนสัญญาทไ่ี มต องทาํ เปน ลายลักษณอ กั ษร ค. เปนขอตกลงระหวางบคุ คลสองฝา ยคอื ฝายผูว าจา งและผูรบั จา ง ง. ถกู ทกุ ขอ 19. การทําสญั ญากอสรา งตองมีพยานอยา งนอยกค่ี น ก. 1 คน ข. 2 คน ค. 3 คน ง. 4 คน 20. ในการทําสญั ญากอสรา งตอ งมีก่บี ุคคล ก. ผวู าจา ง ผรู บั จา ง ข. ผูวาจา ง ผูรับจาง พยาน 1 คน ค. ผูวา จาง ผูร บั จา ง พยาน 2 คน ง. ผวู าจา ง ผรู บั จาง พยาน 2 คน ผเู ขยี นสญั ญา 1 คน

หนวยที่ 2 การหาปรมิ าณงานดินขุดและงานดนิ ถม หวั ขอเร่ือง การหาปริมาณงานดินขดุ การหาปรมิ าณงานดนิ ถม สาระสาํ คัญ การหาปริมาณงานดินขุดและงานดินถมน้ันตองพิจารณาจากระดับตามแบบท่ีกอสรางจริง และตอ งคาํ นึงถงึ ความหนาแนนของดินและลักษณะของภูมิประเทศดวย งานดินขุดและงานดินถม คิดหนว ยเปน ลกู บาศกเ มตร   จุดประสงคการเรยี นรู เมือ่ เรยี นบทที่ 2 จบแลวผูเรียนสามารถ 1. คาํ นวณหาปรมิ าณงานดนิ ขดุ ได 2. คาํ นวณหาปรมิ าณงานดนิ ถมได

24 บทนาํ งานขุดดินในมุมมองทั่วไปจะเปนลักษณะงานท่ีใชแรงงานเปนสวนใหญ ซึ่งไมจําเปนตอง ใชทักษะหรือประสบการณในการขุดก็ได แตในความเปนจริงแลวการขุดดินสามารถขุดไดท้ัง แรงงานคน และการใชเคร่ืองจักร ในงานกอสรางบางประเภทอาจถูกกําหนดไว ซึ่งตองมีการ สาํ รวจพ้ืนทที่ ี่จะทาํ การกอ สรา งเพือ่ ท่จี ะไดว างแผนการใชเ คร่อื งมอื เครือ่ งจักรหรือตลอดจนการใช แรงงานในการขุดหรอื ปรับสภาพพ้ืนท่ีใหพรอมสําหรับการกอสรางและจะทําใหงานดําเนินไปดวย ความรวดเรว็ เรียบรอ ยและมคี ณุ ภาพมากยงิ่ ขึ้น โดยทวั่ ไปแลว งานดนิ ขดุ เปนงานท่ีสรางรายไดใ หก บั กรรมกรมากพอสมควร ถาดินเปนดิน เหนียวธรรมดาคาแรงงานในการขุดลูกบาศกเมตรละ 100 บาท คน 1 คนสามารถขุดดินชนิดน้ีได 3 - 5 ลูกบาศกเมตรตอคนตอวัน ถึงแมจะเปนงานท่ีถูกมองวาเปนงานช้ันกรรมกร แตก็คุมคา เหน่ือย ดังนั้นการท่ีผูรับจางจะตัดสินใจพิจารณาวาจะใชเครื่องมือประเภทไหนในการขุดดิน ควร พิจารณาจากองคป ระกอบตอ ไปนี้ คือ 1. ลักษณะพื้นท่ี ๆจะทําการปลูกสราง วามีความสะดวกมากนอยเพียงใด ถาจะใช เครื่องจักรในการทํางานจะมีพื้นท่ีมากพอที่จะดําเนินการไดหรือไม เนื่องจาก เคร่ืองจักรจะตองใชพ้ืนท่ีทั้งในการทํางานและพ้ืนท่ีๆจะเก็บกองดินท่ีจะขุดขึ้นมามาก จําเปนตองมพี น้ื ท่ีรองรับมากพอสมควร 2. ลักษณะของดินท่ีจะขุดวาเปนดินประเภทไหน เชน ดินรวน , ดินเหนียว ,ดินแข็งปน หิน เปนตน ผูรับจางจึงตองพิจารณาใหดีวาจะใชเคร่ืองมือประเภทไหนจึงจะลด คา ใชจา ยในสว นน้ใี หไดม ากท่ีสดุ 3. ลักษณะของงานที่ทํา เชน ถาเปนงานอาคารเล็กๆธรรมดาก็สามารถใชแรงงานคนได แตถาเปนอาคารใหญหรือมีปริมาตรดินที่จะขุดจํานวนมาก ก็จําเปนตองใชเคร่ืองจักร ในการดาํ เนินการ ทั้งนี้ในการพิจารณาวาจะเลือกเครื่องมือชนิดใดก็ตามไมวาจะเปนคนหรือเคร่ืองจักร ทายท่ีสุดก็ตองใชแรงงานคนในการปรับแตง เพื่อใหไดขนาดถูกตองตามแบบแปลนที่กําหนด เน่ืองจากเคร่ืองจักรไมสามารถเกบ็ รายละเอียดการขดุ ตามแบบแปลนได การหาปรมิ าตรดินขดุ การหาปริมาตรดินขุด สามารถคํานวณไดหลายแบบแลวแตชนิดของดิน ถาเปนดินรวน หรอื ดนิ รว นปนทรายก็ตองเผื่อระยะขดุ ขางละ 0.50 เมตร เพ่อื ปอ งกันการสไลดข องดินในขณะขดุ

25 รูป 2.1 การขุดหลมุ ฐานรากแบบเผ่อื ใชในกรณีทด่ี นิ เปน ดนิ รวนหรือดนิ รว นปนทราย ที่มา : วเิ ชยี ร ปญ ญาจกั ร จากรปู ที่ 2.1 ปริมาตรดนิ ขดุ = (ความกวา ง+1 ) x (ความยาวยาว+ 1 เมตร) x ความลึก x จํานวน ฐาน โดยท่ี ขยายความกวาง 1 เมตร และขยายความยาว 1 เมตร ตัวอยา งที่ 1 จากรปู ท่ี 2.1 จงหาปรมิ าตรดนิ ขดุ ของฐานราก เมือ่ ฐานรากขนาดกวาง 1.00 เมตร ยาว 1.00 เมตร ลึก 1.50 เมตร จาํ นวน 8 ฐาน วธิ ที าํ ปรมิ าตรดินขดุ = (1.00 + 1) x (1.00 + 1) x 1.50 x 8 ฐาน = 48 ลบ.ม. ตอบ การหาปรมิ าตรดนิ ขดุ ในกรณีทเ่ี ปน ดินเหนยี ว จะขดุ ต้ังฉากพอดกี ับขนาดของฐานราก โดยใหด ินเหนยี วนน้ั เปน แบบของฐานรากโดยทไ่ี มตอ งใชไ มแ บบฐานราก

26 รูป 2.2 การขุดหลุมฐานรากแบบไมเผือ่ ใชในกรณที เ่ี ปน ดนิ เหนยี ว ทม่ี า : วเิ ชยี ร ปญญาจักร จากรปู ท่ี 2.2 ปริมาตรดินขดุ = ความกวา ง x ความยาว x ความลกึ x จํานวนฐาน โดยที่ ความกวางและความยาวของหลมุ จะพอดกี บั ฐานราก ตวั อยางท่ี 2 จากรปู ที่ 2.2 จงหาปริมาตรดนิ ขุดของฐานราก เม่อื ฐานรากขนาด กวาง 1.00 เมตร ยาว 1.00 เมตร ลึก 1.50 เมตร จาํ นวน 8 ฐาน วธิ ีทํา ตอบ ปริมาตรดนิ ขุด = 1.00 x 1.00 x 1.50 x 8 ฐาน = 12 ลบ.ม. การขดุ หลุมบอ เกรอะ – บอซมึ กต็ อ งมีการเผื่อขา งละ 0.50 เมตร เหมอื นกนั เมอ่ื เรานําทอซีเมนตว างลงไปในหลมุ เรยี บรอ ยแลว ใชบริเวณรอบทอ ซเี มนตใสอ ิฐหกั ทรายและผงถา น เพอ่ื ดูดซึมนํ้าใหร ะบายไปยงั ดนิ รอบๆทอ และระงบั กล่ินได

27 รปู ที่ 2.3 การขดุ หลมุ บอเกรอะ – บอซึม ตอบ ที่มา : วเิ ชยี ร ปญญาจกั ร จากรปู ท่ี 2.3 ปรมิ าตรดินขดุ = r2 x ลึก x จํานวนหลมุ โดยที่ ความกวางขยายออก 0.50 เมตร โดยรอบ ตัวอยา งท่ี 3 จากรูปท่ี 2.3 จงหาปริมาตรดนิ ขดุ หลุมบอ เกรอะ – บอซึม วิธที ํา ปรมิ าตรดินขดุ หลุมบอ ซมึ = r2 x ลึก x จํานวนหลมุ =  x 1.002 x 2.30 x 2 บอ = 14.45 ลบ.ม.

28 การหาปรมิ าณงานดินถม ดินถมกลับ คือ ดินที่ไดจากการขุดแลวถมกลับคืนไปยังตําแหนงเดิม การคํานวณหา ปริมาณดินถมกลับหาไดโดยเอาปริมาตรที่มาแทนดินถมกลับ เชน คอนกรีตฐานราก คอนกรีตเสา ตอมอไปลบออกจากปริมาตรดินที่ขุดจะไดปริมาณดินถมกลับหลุมมีหนวยเปนลูกบาศกเมตร สวน คา แรงคิดตามปรมิ าณดนิ ถมกลับท่คี าํ นวณได ตัวอยางที่ 4 การหาปริมาตรดินถมฐานราก (กรณีเปนดินรวน) ขนาดความกวาง 1.00 เมตร ความ ยาว 1.00 เมตร ความลกึ 1.50 เมตร จํานวน 8 ฐาน (ดังรปู ) รูป 2.4 การถมดินหลมุ ฐานรากในกรณที ่ดี นิ เปนดนิ รว นหรอื ดินรว นปนทราย ท่ีมา : วิเชยี ร ปญ ญาจกั ร

29 จากรปู ท่ี 2.4 ปริมาตรดนิ ถม = ดนิ ขุด - {(ปรมิ าตรเสาตอมอ + ปริมาตรฐานราก + ปรมิ าตร คอนกรีตหยาบ + ปรมิ าตรทรายหยาบ)} วธิ ีทาํ ปรมิ าตรดินถม = 48 - {(0.20 x 0.20 x 1.10 x 8)+(1.00 x 1.00 x 0.20 x 8) +(2.00 x 2.00 x 0.10 x 8)+ (2.00 x 2.00 x 0.10 x 8)} = 39.65 ลบ.ม. ตอบ ตวั อยา งท่ี 5 การหาปริมาตรดนิ ถมฐานราก (กรณเี ปน ดนิ เหนยี ว) ขนาดความกวาง 1.00 เมตร ความยาว 1.00 เมตร ความลกึ 1.50 เมตร จํานวน 8 ฐาน (ดังรปู ) รูป 2.5 การถมดนิ หลมุ ฐานรากในกรณที ่ดี นิ เปน ดนิ เหนียว ทม่ี า : วเิ ชยี ร ปญ ญาจกั ร

30 จากรูปที่ 2.5 ปรมิ าตรดินถม = ดนิ ขดุ - {(ปรมิ าตรเสาตอมอ+ ปริมาตรฐานราก + ปรมิ าตร คอนกรตี หยาบ + ปรมิ าตรทรายหยาบ)} วิธที าํ ปรมิ าตรดนิ ถม = 12 - {(0.20 x 0.20 x 1.10 x 8)+(1.00 x 1.00 x 0.20 x 8) +(1.00 x 1.00 x 0.10 x 8)+ (1.00 x 1.00 x 0.10 x 8)} = 8.45 ลบ.ม. ตอบ ตัวอยางท่ี 6 การหาปริมาตรทรายถมรองพน้ื GS ขนาดความกวาง 3.00 เมตร ความยาว 3.50 เมตร ความหนาของทรายรองพ้ืน 0.30 เมตร จาํ นวน 4 พื้น (ดงั รปู ) รูปที่ 2.6 แปลนผงั พื้นและรปู ตดั พ้นื ทมี่ า : วเิ ชยี ร ปญ ญาจักร จากรปู ท่ี 2.6 ปรมิ าตรทรายถมรองพน้ื = ความกวา ง x ความยาว x ความหนา x จํานวนพนื้ วิธที ํา ปริมาตรทรายถมรองพื้น GS = 3.00 x 3.50 x 0.30 x 4 พน้ื = 12.60 ลบ.ม. ตอบ

31 ตวั อยางที่ 7 การหาปรมิ าณอฐิ หกั ถมโดยรอบบอซมึ ขนาดดังรูป 2.7 รปู ที่ 2.7 รูปแปลนและรูปตดั บอ ซึม ที่มา : วเิ ชยี ร ปญญาจกั ร จากรูปท่ี 2.7 ปริมาตรอิฐหัก = ปริมาตรดนิ ขดุ - ปรมิ าตรที่มาแทนที่ = ( x 1.002 x 2.10 x 1 บอ)- ((  x 0.502 x 2.10 x 1 บอ) = 4.95 ลบ.ม. ตอบ

32 สรุป งานดิน หมายถึง การตัดดินออกหรือขุดออกและดินถมอาจปาดดินจากที่หนึ่งไปยังอีกท่ี หนึ่งซึ่งอยูในพ้ืนท่ีกอสรางเดียวกันและตองรักษาระดับผิวหนาดินไวเสมอ ดินแตละชนิดมี คุณสมบัติแตกตางกันเปนปญหาในการขุดหรือถม ตองพิจารณาความหนาแนนของดิน ความแหง ความเปยก หรือความชื้นรวมกันดวย ปกติงานดินขุดและงานดินถมในงานกอสรางประกอบดวย งานดินหลุมฐานราก งานบอเกรอะ-บอซมึ และงานดินถมในบริเวณที่กอ สรา ง

33 แบบฝกึ หัด หนวยท่ี 2 การหาปริมาณงานดนิ ขุดและงานดนิ ถม คาํ ช้แี จง จงเลือก หนาคําตอบทีถ่ กู ตองทีส่ ดุ เพยี งขอ เดียว 1. ฐานรากมขี นาดความกวา ง 1.50 เมตร ยาว 1.50 เมตร ขุดลกึ 1.50 เมตร มีจาํ นวน 10 หลุม และ เปน ดนิ รว นเผอ่ื ออกขางละ 0.50 เมตร จะไดดินขุดหลมุ ฐานรากกล่ี กู บาศกเมตร ก. 80.00 ลบ.ม. ข. 83.75 ลบ.ม. ค. 90.00 ลบ.ม. ง. 93.75 ลบ.ม. 2. ฐานรากมีขนาดความกวา ง 1.10 เมตร ยาว 1.50 เมตร ขดุ ลึก 1.50 เมตร มจี ํานวน 20 หลมุ และ เปนดนิ เหนียวจึงไมตองขดุ เผอ่ื จะไดด นิ ขุดหลมุ ฐานรากก่ลี กู บาศกเ มตร ก. 30.55 ลบ.ม. ข. 40.75 ลบ.ม. ค. 49.50 ลบ.ม. ง. 50.65 ลบ.ม. 3. ฐานรากมีขนาดความกวา ง 1.20 เมตร ยาว 1.70 เมตร ขดุ ลกึ 1.20 เมตร มีจํานวน 5 หลมุ และ เปน ดินรว นเผ่อื ออกขา งละ 0.50 เมตร จะไดด นิ ขดุ หลุมฐานรากก่ลี กู บาศกเมตร ก. 28.55 ลบ.ม. ข. 30.85 ลบ.ม. ค. 32.55 ลบ.ม. ง. 35.64 ลบ.ม. 4. จงหาปริมาตรดินขุดหลุมบอ ซมึ ขนาดเสน ผาศนู ยของทอ ซเี มนต 0.80 เมตร ขุดหลุมลกึ 2.10 เมตร จํานวณ 2 บอ ก. 8.55 ลบ.ม. ข. 9.75 ลบ.ม. ค. 10.69 ลบ.ม. ง. 11.65 ลบ.ม.

34 5. จงหาปริมาตรดินถมหลุมฐานราก ขนาดความกวา ง 1.20 เมตร ความยาว 1.20 เมตร ฐานรากหนา 0.20 เมตร ทรายหยาบหนา 0.05 เมตร คอนกรีตหยาบหนา 0.10 เมตร ตอมอขนาดความกวาง 0.20 เมตร ยาว 0.20 เมตร สูง 1.15 เมตร ขุดหลมุ ลึก 1.50 เมตร เปนดนิ เหนยี ว ก. 1.20 ลบ.ม. ข. 1.35 ลบ.ม. ค. 1.50 ลบ.ม. ง. 1.61 ลบ.ม. 6. จงหาปรมิ าตรดนิ ถมหลมุ ฐานราก ขนาดความกวาง 1.00 เมตร ความยาว 1.00 เมตร ฐานรากหนา 0.20 เมตร ทรายหยาบหนา 0.10 เมตร คอนกรตี หยาบหนา 0.10 เมตร มตี อมอ ขนาดความกวา ง 0.20 เมตร ยาว 0.20 เมตร สูง 1.10 เมตร ขุดหลมุ ลึก 1.50 เมตร เปนดนิ รว นปนทราย ก. 4.00 ลบ.ม. ข. 4.96 ลบ.ม. ค. 5.25 ลบ.ม. ง. 5.60 ลบ.ม. 7. จงหาปรมิ าตรทรายรองพ้นื GS พน้ื กวา ง 2.50 เมตร ยาว 3.00 เมตร ทรายถมรองพ้ืนหนา 0.40 เมตร มีจาํ นวน 4 พน้ื ก. 11.50 ลบ.ม. ข. 12.00 ลบ.ม. ค. 12.50 ลบ.ม. ง. 13.00 ลบ.ม. 8. จงหาปรมิ าตรทรายรองพ้นื GS พน้ื กวาง 4.00 เมตร ยาว 5.00 เมตร ทรายถมรองพืน้ หนา 0.50 เมตร มีจาํ นวน 6 พนื้ ก. 50.50 ลบ.ม. ข. 60.00 ลบ.ม. ค. 70.50 ลบ.ม. ง. 80.00 ลบ.ม. 9. จงหาปริมาตรทรายถมบรเิ วณบา นเมือ่ พนื้ ทบ่ี า นกวา ง 12.00 เมตร ยาว 18.00 เมตร ถมทรายหนา 1.50 เมตร ก. 250.00 ลบ.ม. ข. 270.00 ลบ.ม. ค. 300.00 ลบ.ม. ง. 324.00 ลบ.ม.

35 10. จงหาปริมาตรทรายถมบริเวณบานเม่อื พื้นท่บี านกวาง 12.00 เมตร ยาว 23.00 เมตร ถมทราย หนา 0.50 เมตร ก. 138.00 ลบ.ม. ข. 150.50 ลบ.ม. ค. 175.55 ลบ.ม. ง. 188.50 ลบ.ม.

36 หนว ยที่ 3 การหาปรมิ าณงานโครงสรา ง หัวขอเร่ือง การหาปรมิ าณงานโครงสรางฐานราก การหาปริมาณงานโครงสรา งเสา การหาปริมาณงานโครงสรา งคาน การหาปริมาณงานโครงสรา งพ้ืน การหาปรมิ าณงานโครงสรา งหลงั คา สาระสําคญั บานพักอาศัยโดยทั่วไปนั้นประกอบดวยสวนของโครงสรางหลักๆ ไดแก ฐานราก เสา คาน พ้ืนและหลังคาประกอบกันเปนองคอาคารของตัวบาน การหาปริมาณงานโครงสรางนั้นแยกเปน 5 สวน หลกั ๆ คือ งานคอนกรตี งานเหล็กเสริม งานลวดผูกเหลก็ งานไมแ บบ งานตะปู   จดุ ประสงคการเรียนรู เมอ่ื เรียนบทท่ี 3 จบแลว ผเู รยี นสามารถ 1. คํานวณหาปรมิ าณงานโครงสรางฐานรากได 3. คาํ นวณหาปรมิ าณงานโครงสรางเสาได 4. คาํ นวณหาปรมิ าณงานโครงสรางคานได 5. คาํ นวณหาปริมาณงานโครงสรางพ้ืนได 6. คํานวณหาปริมาณงานโครงสรา งหลงั คาได

37 บทนํา การหาปริมาณงานโครงสราง ผูประมาณตองมีความรูความเขาใจในเทคนิคการกอสรางที่ดี เขาใจข้ันตอนการกอสรางอยางทองแท เม่ือประมาณปริมาณวัสดุจะไดไมซ้ําซอนกันหรือเกิดความ ผิดพลาด เชน การถอดปริมาณคานคอนกรีต ก็ใหหักความหนาของพื้นออกดวย เพราะเวลาถอด ปริมาณคอนกรีตพ้นื จะคดิ ความหนาเต็มตลอดพนื้ ท่ี การหาปริมาณงานโครงสรางประกอบดวยงานโครงสรางฐานราก งานโครงสรางเสา งาน โครงสรา งคาน งานโครงสรางพนื้ งานโครงสรางหลังคา งานโครงสรางฐานราก ฐานราก (FOOTTING) ทําหนาท่ีรับน้ําหนักจากตัวโครงสรางทั้งหมด แลวถายลงสูดิน หรือ เสาเข็มโดยตรง คุณสมบัติของดินท่ีรองรับฐานราก ควรมีความสามารถรองรับนํ้าหนักบรรทุกไดโดยไม เกดิ การเคลื่อนตวั หรือพังทลายของดนิ ใตฐ านราก และตอ งไมเกิดการทรุดตัวลงมาก จนกอใหเกิดความ เสยี หายแกโ ครงสราง ถาจะเปรียบเทียบกับมนุษยเราฐานรากก็เปรียบเสมือนเทาท่ีจะตองแบกรับน้ําหนักท้ังหมดของ รางกายท่ีเคลื่อนไหวไปมาโดยมีแรงตานจากรอบตัวทุกวินาที ดังนั้นฐานรากจึงตองมีความแข็งแรงมาก พอที่จะทาํ ใหอ าคารทรงตัวอยูไดโดยมแี รงตานจากธรรมชาติรอบดานตลอดเวลา ปจ จัยที่มผี ลตอความม่นั คงของฐานราก ไดแ ก 1. ความแข็งแรงของตวั ฐานรากเอง ซง่ึ หมายถงึ โครงสรางสวนท่เี ปน คอนกรตี เสริมเหล็ก 2. ความสามารถในการแบกรบั นํา้ หนกั ของดนิ ใตฐ านราก (Soil-Bearing Capacity) 3. การทรุดตัว (Settlement) ของดินใตฐ านรากควรเกิดขน้ึ ไดน อ ยและใกลเคยี งกันทกุ ฐานราก ฐานราก ถกู แบงออกตามลกั ษณะได 2 ชนิด คือ ฐานรากตนื้ หรือแบบไมมเี สาเข็มรองรบั และฐาน รากลกึ หรือแบบมีเสาเขม็ รองรบั สวนประกอบของงานโครงสรา งฐานรากประกอบดวย 1. ทรายอัดแนนรองกน หลมุ ใชเ ปนตวั เชอ่ื มดินและปรบั ระดับผวิ พ้นื ที่กนหลมุ ใหเ รียบ เพ่อื ความสะดวกเรียบรอยในการทํางาน ความหนาทใ่ี ชโ ดยท่ัวไปประมาณ 0.05 เมตรหรอื 5 เซนติเมตร ( หนว ยทใี่ ชใ นการคาํ นวณหาปริมาตร เปน ลกู บาศกเ มตรหรอื ม3 ) 2. คอนกรตี หยาบหรอื คอนกรีตทีม่ ีอตั ราสว นผสม 1 : 3 : 5 ( ปูนซเี มนตปอรต แลนด 1 สวน ทรายหยาบ 3 สวน และหิน 5 สวน ) ทําหนาที่เปนตัวปองกันไมใหเหล็กโครงสรางสัมผัสกับทรายรอง กนหลุม ซึ่งอาจทําใหเหล็กเกิดสนิมไดงายข้ึนความหนาที่ใชโดยท่ัวไปประมาณ 0.05 เมตรหรือ 5 เซนติเมตรหรือข้ึนอยูกับรายการคํานวณออกแบบทางวิศวกรรม (หนวยที่ใชในการคํานวณหาปริมาตร เปน ลกู บาศกเ มตรหรือ ม3 )

38 3. เหล็กตะแกรงเสริมโครงสราง( หนว ยที่ใชในการคํานวณหาปรมิ าณ เปน กโิ ลกรมั ) ปริมาณ ทีใ่ ชขึ้นอยกู ับรายการคํานวณทางวศิ วกรรม 4. เหลก็ รดั รอบเหล็กตะแกรงฐานราก (ถา มี) เปนเหล็กท่ีใชยึดประคองปลายเหล็กตะแกรงฐาน รากไมใ หลม เอยี งไปทางใดทางหน่งึ 5. ลวดผูกเหลก็ ปรมิ าณที่ใช เหล็ก 1 กโิ ลกรัม ใชล วด 0.018 กโิ ลกรัม ( เหลก็ 1 ตัน ตอ ลวด 18 กิโลกรมั ) ( หนวยทใ่ี ชใ นการคาํ นวณหาปรมิ าณ เปนกิโลกรัม ) 6. คอนกรีตโครงสรางเปนคอนกรีตท่มี อี ัตราสวนผสม 1: 2 : 4 ( ปูนซเี มนตป อรตแลนด 1 สวน ทรายหยาบ 2 สวน และหิน 4 สวน ) มีระยะในการหอหุมเหล็กไมนอยกวาขางละ 3 เซนติเมตร โดยรอบ( หนวยท่ีใชในการคํานวณหาปริมาตร เปนลูกบาศกเมตรหรือ ม3 ) ปริมาตรที่ใชข้ึนอยูกับ รายการคํานวณทางวิศวกรรม 7. ไมแบบ ไมท ี่ใชท ําแบบโดยทัว่ ไปเปน ชนิดไมเ น้อื ออ น เนื่องจากมีความสะดวกและรวดเร็ว ในการทํางาน ไมแบบที่ใชในงานฐานรากประกอบดวย 2 ชนิด คือไมแบบและไมค้ํายัน ถาเปนไมแบบ ใชไมที่มีขนาดความหนาอยางนอย 1 น้ิว ความกวางขึ้นอยูกับลักษณะของงาน ถาเปนไมคํ้ายันใชไมท่ีมี ขนาดความหนา 1-1/2 นิ้ว ความกวาง 3 นิ้ว การแปลงหนวยไมแบบจากเมตร ไปเปน ลูกบาศกฟุตให นาํ ไปคูณกบั 0.0228 และถาแปลงหนว ยจากตารางเมตร ไปเปน ลกู บาศกฟ ตุ ใหน าํ ไปคูณกบั 0.192 8. ตะปู ใชในการประกอบไมแบบใหเขากันหรือเปนช้ินเดียวกันปริมาณไมแบบ 1ตารางเมตร ใชต ะปู 0.25 กโิ ลกรัม( หนว ยท่ใี ชใ นการคาํ นวณหาปรมิ าณ เปน กโิ ลกรมั ) ตารางที่ 3.1 วัสดมุ วลรวมของคอนกรีตหยาบสว นผสม 1: 3 : 5 ใน 1 ลบ.ม. วัสดุผสม จาํ นวน หนวย 1. ปูนซเี มนตป อรต แลนด 260 กก. 2. ทรายหยาบ 0.62 ลบ.ม. 3. หินเบอร 1”-2” 1.03 ลบ.ม. 4. นา้ํ 180 ลิตร ท่มี า : - http://www.gprocurement.th/02_price/index.php

39 ตารางที่ 3.2 วสั ดมุ วลรวมของคอนกรีตโครงสรางสวนผสม 1: 2 : 4 ใน 1 ลบ.ม. วัสดุผสม จาํ นวน หนวย 1. ปูนซเี มนตป อรต แลนด 342 กก. 2. ทรายหยาบ 0.57 ลบ.ม. 3. หินเบอร 1”-2” 1.09 ลบ.ม. 4. นํา้ 180 ลติ ร ทม่ี า : - http://www.gprocurement.th/02_price/index.php การประมาณการหาวัสดทุ ี่ใชใ นงานฐานรากประกอบดว ย 1. ทรายหยาบอดั แนน (หนว ยทใ่ี ชเปน ลกู บาศกเ มตร, ลบ.ม.) 2. คอนกรตี หยาบ (หนว ยท่ีใชเปน ลกู บาศกเ มตร, ลบ.ม. ) 3. คอนกรีตโครงสราง (หนว ยทใี่ ชเปน ลูกบาศกเมตร, ลบ.ม. ) 4. เหล็กเสริมฐานราก (หนว ยทใี่ ชเปนกิโลกรัม, กก. ) 5. เหลก็ รดั รอบฐานราก ถา มี (หนว ยทใ่ี ชเ ปนกโิ ลกรัม, กก. ) 6. ลวดผกู เหล็ก ( หนว ยทใี่ ชเ ปนกโิ ลกรมั , กก.) 7. ไมแบบ ( หนว ยท่ีใชเ ปน ลกู บาศกฟุต , ลบ.ฟ. ) 8. ตะปู ( หนว ยทใี่ ชเ ปน กโิ ลกรัม, กก. )

40 ตัวอยา งท่ี 1 จากรปู ที่ 3.1 จงหาปริมาณงานโครงสรา งฐานราก รปู ท่ี 3.1 แบบแสดงรปู ตัดฐานราก ทมี่ า : วิเชยี ร ปญญาจกั ร 1. หาปรมิ าณทรายหยาบอดั แนน วิธคี ดิ จากสตู รการหาปรมิ าตร = ความกวาง x ความยาว x ความสงู ( ความหนา ) = 1.00 x 1.00 x 0.10 ม. = 0.10 ลบ.ม. ตอบ 2. หาปริมาณคอนกรตี หยาบ วิธคี ิด จากสตู รการหาปริมาตร = ความกวา ง x ความยาว x ความสงู ( ความหนา ) = 1.00 x 1.00 x 0.10 ม. = 0.10 ลบ.ม. ตอบ การแยกปรมิ าณวสั ดทุ ใ่ี ชผ สมคอนกรีตหยาบรองใตฐ านราก (ใชขอ มลู ตารางท่ี 3.1) ได (1) ปูนซีเมนตปอรต แลนด = 0.10 x 260 = 26 กก.

41 หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.) = 26 / 50 ถุง (2) ทรายหยาบ = 0.52 (3) หนิ เบอร 1-2 (4) นํ้า = 0.10 x 0.62 = 0.062 ลบ.ม. = 0.10 x 1.03 = 0.11 ลบ.ม. = 0.10 x 180 = 18.00 ลิตร 3. หาปรมิ าณคอนกรีตโครงสรา งฐานราก วธิ คี ดิ จากสูตรการหาปริมาตร = ความกวาง x ความยาว x ความสงู ( ความหนา ) = 1.00 x 1.00 x 0.30 ม. = 0.30 ลบ.ม. ตอบ การแยกปรมิ าณวสั ดุทใี่ ชผสมคอนกรีตโครงสรา งฐานราก (ใชขอ มูลตารางท่ี 3.2) ได (1) ปนู ซีเมนตปอรตแลนด = 0.30 x 342 = 102.60 กก. หรอื เปนจาํ นวนถงุ (1 ถงุ = 50 กก.) = 102.60 / 50 = 2.05 ถุง (2) ทรายหยาบ = 0.30 x 0.57 = 0.17 ลบ.ม. (3) หนิ เบอร 1-2 = 0.30 x 1.09 = 0.33 ลบ.ม. (4) นํา้ = 0.30 x 180 = 54.00 ลิตร

42 4. หาปรมิ าณเหล็กเสริมฐานราก 4.1 เหล็กเสริมฐานราก วธิ คี ิด การหาปรมิ าณเหล็กเสริมฐาน ( DB 12 มิลลเิ มตร) = {( ความกวา งของฐาน – ระยะหมุ คอนกรีต 2 ขาง )+ [((ความหนา ของฐานราก – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขา ง+ระยะงอปลาย)x2] x จาํ นวน เหล็กเสรมิ } + {( ความยาวของฐาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขา ง )+ [(( ความหนาของฐาน – ระยะหุม คอนกรตี 2 ขา ง+ระยะงอปลาย)x2] x จํานวนเหล็กเสรมิ } = {( 1.00 – 0.10 ) + [ ( 0.30 -0.10+0.12 ) x 2 ] x 6} + {( 1.00 – 0.10 ) + [ ( 0.30 -0.10+0.12 ) x 2 ] x 6} ความยาวรวม = 18.48 ม. ทําความยาวเปน นาํ้ หนกั = 18.48 x 0.888 = 16.41 กก. ตอบ 4.2 เหลก็ รดั รอบฐานราก วธิ ีคิด การหาปริมาณเหล็กรดั รอบฐาน ( RB 9 มลิ ลเิ มตร) = {[( ความกวา งของฐาน – ระยะหมุ คอนกรตี 2 ขาง) x 2] + [( ความยาวของฐาน – ระยะหุมคอนกรตี 2 ขาง) x 2]} + ระยะงอปลาย 2 ขาง = {[( 1.00 – 0.10) x 2] +[(1.00 – 0.10 ) x 2 ]}+0.20 เหล็กรดั รอบฐานยาว = 3.80 ม. ทาํ ความยาวเปน นาํ้ หนกั = 3.80 x 0.499 กก. = 1.90 กก. ตอบ 5. หาปริมาณลวดผกู เหล็ก วิธีคิด การหาปรมิ าณลวดผูกเหล็ก (เหลก็ เสน 1 กโิ ลกรมั ใชล วด 0.018 กิโลกรมั ) = นํา้ หนกั เหล็กท้ังหมด (ขอ 4) x 0.018 (คา คงท)่ี = ( 16.41 + 1.90 ) x 0.018 กก. = 0.33 กก. ตอบ

43 6. หาปริมาณไมแ บบ วธิ คี ิด การหาปรมิ าณไมแบบ (ใชไมแ บบหนา 1 นว้ิ หรือ 0.025 เมตร) = {[( ความกวา งของฐานราก + ความหนาของไมแ บบ ) x 2]+ [( ความยาวของฐานราก + ความหนาของไมแ บบ) x 2]} x ความ สงู ของฐานราก = {[( 1.00 + 0.025 ) x2 ]+[( 1.00+0.025) x 2]} x 0.30 = 1.23 ตร.ม. ตอบ ทาํ ตร.ม. เปน ลบ.ฟ. = 1.23 x 0.912 ลบ.ฟ. = 1.12 ลบ.ฟ. ตอบ 7. หาปริมาณตะปู วิธคี ดิ การหาปริมาณตะปู (ไมแบบ 1 ตารางเมตร ใชต ะปู 0.25 กโิ ลกรัม) = ปรมิ าณไมแ บบทงั้ หมด (ขอ 6) x 0.25 (คา คงที่) = 1.23 x 0.25 กก. = 0.31 กก. ตอบ งานโครงสรางเสา เสา (Column) เปนสว นประกอบทีต่ อขึ้นมาจากฐานรากสว นใหญตั้งในแนวดง่ิ อาจมหี นาตดั กลม สเ่ี หลี่ยม หรืออ่ืน ๆ โดยวสั ดทุ ีใ่ ชท ําเสาอาจเปน คอนกรตี เหลก็ ไม หรอื ผสมกไ็ ด เชน คอนกรตี และเหลก็ รปู พรรณ โครงสรางเสาจะถายนาํ้ หนกั บรรทุกตามแนวแกนตงั้ แตช น้ั หลังคาของอาคารลงสูฐานราก โดย เสาจะเชอ่ื มตอกบั คาน ถายนาํ้ หนกั บรรทกุ จากคาน ลงสูฐานราก เสาอาจจาํ แนกตามประเภทวัสดุ ไดแก เสาไม เปนวสั ดุท่นี ยิ มใชมากในอดีต เนอ่ื งจากไมเ ปน วัสดทุ ีแ่ ขง็ แรงพอสมควร หางาย ราคาไมแ พง แตป จจบุ นั ลดความนยิ ม เพราะราคาแพงหาขนาดท่ตี อ งการ ไดย ากข้ึนโดยเฉพาะเสาซึ่งตอ งการไมขนาดลาํ ตน คอนขา งใหญ ตองเปน ไมเ นอื้ แขง็ มีตําหนินอย อยางไร ก็ตาม เสาไมม ีขอดอ ยเร่ืองความทนไฟและการพุพังหรอื เส่อื มสลาย เนือ่ งจากความชนื้ มด ปลวกหรือ แมลงอืน่ เสาเหล็กแขง็ แรงทนทานกวา เสาไมส ามารถส่งั ซื้อขนาดมาตรฐานตา ง ๆไดเ หล็กแขง็ แรงทนทาน นํา้ หนกั เบา กอ สรา งงา ย รวดเร็ว แตก ย็ งั มปี ญหาเรอื่ งสนมิ และความทนไฟ จึงอาจตองหุม ดว ยคอนกรตี หรอื ทาสีกันสนิมทับ นอกจากนน้ั เสาเหล็กจะตองออกแบบรอยตอ ใหด ี ไมว าจะตอ กับโครงสรา งชนดิ ใด ไมว า จะโดยวธิ เี ชอื่ ม หรือใชส ลักเกลยี ว มเิ ชนนน้ั โครงสราง หรืออาคารไมแ ข็งแรง จนกระทั่งวิบตั ิได เสาคอนกรตี นยิ มใชมากทส่ี ดุ ในปจ จุบนั เนื่องจากสามารถหลอขึน้ รูปตา ง ๆเชน อาจเปน เสากลม หรือเหล่ียมไดต ามที่ตองการ โดยทัว่ ไปนยิ มหลอ เสาคอนกรตี หนา ตดั สีเ่ หลย่ี มเน่อื งจากทาํ แบบหลอ งาย

44 กวา สว นหนาตดั กลมตอ งใชแ บบหลอ พเิ ศษเสาคอนกรีตจะเสริมเหล็กยนื (ทมี่ ุม หรอื รอบ ๆหนา ตดั และ ตลอดความยาวเสา) เพ่ือชว ยตา นทานน้าํ หนักหรือแรง เหลก็ ปลอกอาจเปนวงเดย่ี ว ๆ(เหล็กปลอกเดยี่ ว) หรือเหลก็ ปลอกทพ่ี นั ตอ เนอ่ื งเปน เกลียวรอบ ๆเหล็กยืน โดยเหล็กปลอกจะชว ยตานทานการวิบตั ิท่เี กดิ จากการแตกปรหิ รอื ระเบดิ ทางดา นขางของโครงสราง การประมาณการหาวัสดุที่ใชใ นงานเสาประกอบดว ย (ในกรณศี กึ ษาใชเ ปน เสาคอนกรตี )ประกอบดวย 1. คอนกรตี โครงสราง (หนว ยที่ใชเ ปน ลกู บาศกเ มตร,ลบ.ม. ) 2. เหลก็ เสริมแกนเสา (หนว ยท่ใี ชเปน กโิ ลกรมั , กก. ) 3. เหล็กปลอก (หนวยทใี่ ชเปน กิโลกรมั , กก. ) 4. ลวดผูกเหลก็ ( หนว ยทใี่ ชเ ปนกิโลกรมั , กก. ) 5. ไมแบบ ( หนว ยท่ใี ชเ ปน ลกู บาศกฟตุ , ลบ.ฟ. ) 6. ตะปู ( หนว ยทีใ่ ชเ ปน กิโลกรัม, กก. ) ตวั อยา งท่ี 2 จากรูปเสาขนาดกวาง 0.20 เมตร ยาว 0.20 เมตร สงู 5.00 เมตร ใชเหลก็ แกนเสา DB 12 มิลลิเมตร เหล็กปลอกเสา RB 6 มลิ ลิเมตร จงปรมิ าณงานโครงสรา งเสา รูปที่ 3.2 แบบแสดงรูปตดั เสา ทมี่ า : วิเชยี ร ปญ ญาจักร

45 1. หาปริมาณคอนกรตี โครงสรา งเสา ตอบ วธิ คี ดิ จากสูตรการหาปรมิ าตร = ความกวา ง x ความยาว x ความสูง(ความหนา) = 0.20 x 0.20 x 5.00 ม. = 0.20 ลบ.ม. การแยกปริมาณวสั ดทุ ใี่ ชผสมคอนกรตี โครงสรา งเสา (ใชข อ มูลตารางที่ 3.2) ได (1) ปนู ซเี มนตปอรตแลนด = 0.20 x 342 = 68.40 กก. หรอื เปน จาํ นวนถงุ (1 ถุง = 50 กก.) = 68.40/ 50 = 1.37 ถงุ (2) ทรายหยาบ = 0.20 x 0.57 = 0.11 ลบ.ม. (3) หนิ เบอร 1-2 = 0.20 x 1.09 = 0.22 ลบ.ม. (4) นาํ้ = 0.20 x 180 = 36.00 ลติ ร 2. หาปรมิ าณเหลก็ เสริม 2.1 หาปริมาณเหลก็ เสรมิ แกนเสา วิธคี ิด การหาปริมาณเหลก็ เสรมิ แกนเสา ( DB 12 มิลลเิ มตร) = ( ความสูงของเสา + ความหนาของฐานราก –ระยะหุมของ คอนกรตี + ระยะงอที่ฐาน ) x จํานวนเหลก็ เสรมิ = ( 5.00 + 0.30 – 0.05 + 0.40 ) x 6 (ระยะงอที่ฐาน= 1/3 ของฐาน) = ( 5.40 ) x 6 ม. รวมความยาว = 33.90 ม. ทําความยาวเปนนาํ้ หนกั = 33.90 x 0.888 = 30.10 กก. ตอบ

46 2.2 หาปริมาณเหลก็ ปลอกเสา วิธีคดิ การหาปริมาณเหล็กปลอกเสา ( RB 6 มลิ ลเิ มตร) หาจํานวนปลอก = (ความสูงของเสา / ระยะหางของปลอก ) + 1 = ( 5.00 / 0.15 ) +1 = ( 33.33 ) +1 = 34+1 จาํ นวนปลอกทง้ั หมด = 35 ปลอก หาความยาวตอ ปลอก = {[(ความกวางของเสา – ระยะหุม คอนกรตี 2 ขาง) x 2 ]+ [(ความกวางของเสา – ระยะหุม คอนกรตี 2 ขา ง) x 2 ]} +ระยะงอ ปลาย 2 ขาง = {[( 0.20 – 0.05 ) x 2 ] +[( 0.20 – 0.05 ) x 2 ]} + 0.16 = {[( 0.15) x 2 ] +[( 0.15 ) x 2 ]}+0.16 = {[ 0.30 ] + [ 0.30 ]}+0.16 = { 0.60 }+0.16 ความยาวตอปลอก = 0.76 ม. ดงั นนั้ ความยาวรวมของปลอก = จาํ นวนปลอก x ความยาวตอปลอก = 35 x 0.76 ม. = 26.60 ม. ทําความยาวเปนนํ้าหนกั = 26.60 x 0.222 กก. = 5.91 กก. ตอบ 3. หาปรมิ าณลวดผูกเหล็ก วธิ ีคดิ การหาปริมาณลวดผกู เหลก็ = นาํ้ หนักเหล็กท้ังหมด ( ขอ 2) x 0.018 = ( 30.10 + 5.91 ) x 0.018 = 36.17 x 0.018 = 0.648 กก. = 0.65 กก. ตอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook