Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Published by Suvalai S, 2021-11-12 05:54:59

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Keywords: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Search

Read the Text Version

91 ผลการดำเนินงานทเี่ กิดขึน้ และร่องรอย หลกั ฐานทเี่ กิดข้ึน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.5 ผู้เรียนการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจัล เกณฑ์การพิจารณา ร้อยละของผู้เรียนที่มี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม การส่ือสาร การทำงาน และการดำรงชีวติ สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ผู้เรียนที่มีความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม การสื่อสาร การทำงาน และ การดำรงชวี ิต รอ้ ยละ 85.98 ดงั นี้ ภาคเรยี นท่ี 2/2563 ภาคเรยี นที่ 1/2564 คา่ เฉลย่ี ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ ระดับ ผ้เู รียน ดี ระดบั ดี ผ้เู รียน ดีขนึ้ ไป ที่ ระดบั ทงั้ หมด ดี ข้ึนไป ทง้ั หมด ดี ดีมาก ระดับ มาก ดขี นึ้ ไป 1 ประถมศกึ ษา 97 49 29 80.41 107 51 36 81.31 80.86 2 มธั ยมศกึ ษา 639 334 228 87.95 597 298 233 88.94 88.45 ตอนต้น 3 มัธยมศึกษา 904 462 334 88.05 871 431 346 89.21 88.63 ตอนปลาย เฉลี่ย 85.47 86.49 85.98 ข้อมลู ร่องรอย หลกั ฐาน - คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนรู้ออนไลนร์ ะดบั ประถมศึกษา - คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนรอู้ อนไลน์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - คู่มอื แนวทางการจดั การเรียนร้อู อนไลนร์ ะดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - แผนการจดั การเรยี นรู้ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 และภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 - หนงั สือเรียนวิชาบังคับในรปู แบบ E-Book และ QR-Code - หอ้ งเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom และ Google Site - กลุม่ ห้องเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Facebook และ Line - แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน แบบฝกึ หัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ โดยใช้ Google Form - ช้นิ งาน รายงาน โครงงานของผู้เรียน

92 ตารางเปรยี บเทยี บผลการดำเนนิ งานที่ทำได้ตามเกณฑก์ ารพิจารณาเทียบกับเกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไ่ี ด้ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตามเกณฑ์ 3.43 คะแนน ดีเลศิ การพจิ ารณา ร้อยละ 85.98 (3.01-3.50) จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 1.5 ผู้เรียนการศึกษา ข้ันพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ได้ 3.43 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ ประเด็นการพิจารณาที่ 1.6 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีสุขภาวะทางกาย และ สุนทรยี ภาพ (คา่ น้ำหนักคะแนน 4 คะแนน) เกณฑ์การพิจารณา 1 ร้อยละของผู้เรียนได้รับการตรวจสุขภาพ หรือมีหลักฐานการตรวจ สุขภาพ กระบวนการ/วิธีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา สถานศึกษาได้จัดกระบวนการเรียนรู้ทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในรูปแบบที่หลากหลาย และได้ สอดแทรกความรู้เก่ียวกับการดูแลสุขภาพกาย และจิต รวมการป้องกันโรคต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น และ สถานศึกษาได้จัดดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้รับการตรวจสุขภาพ เบื้องต้น เพ่ือทราบสุขภาพของตนเอง สามารถดแู ลสุขภาพกาย และจิต รวมท้ังการป้องกนั โรคต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนได้ และผู้เรียนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในสถานประกอบการ ซึ่งมีการตรวจสุขภาพประจำปี อยา่ งตอ่ เน่อื งทุกปี ดงั น้ี

93 ตารางแสดงกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ที่ กจิ กรรม/โครงการ เป้าหมาย ผล ร้อยละ 60 100.00 1 โครงการคา่ ยพฒั นาคุณภาพผู้เรียน เพ่ือเสริมสรา้ ง 60 265 103.51 ศกั ยภาพแกนนำในการสง่ เสริมการเรยี นรูเ้ พศศึกษา 367 101.94 80 100.00 เอดส์ และโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ 55 110.00 15 100.00 2 โครงการพฒั นาผเู้ รียน เรียนรู้ ปอ้ งกัน รูท้ นั โรคร้าย 256 15 100.00 15 100.00 ใสใ่ จสขุ ภาพตนเองและผู้อนื่ ของนักศึกษา กศน.ตำบล 3 โครงการพฒั นาผู้เรียน เรยี นรู้ปอ้ งกนั รูท้ ันโรครา้ ย 360 ใส่ใจสุขภาพตนเองและผู้อน่ื ของนักศึกษา ศรช. 4 โครงการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น ส่งเสริมการเรยี นรเู้ พศ 80 วถิ ีศึกษาและทกั ษะชวี ติ นกั ศึกษา กศน.อำเภอสามพราน 5 โครงการพฒั นาผเู้ รยี น การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ 50 การช่วยฟืน้ คนื ชพี 6 โครงการพฒั นาผเู้ รียน สรา้ งนิสัยออกกำลงั กายและเลน่ 15 กีฬาเพื่อสุขภาพพลานามยั ที่ดี กศน.ตำบลบางกระทึก 7 โครงการพฒั นาผู้เรยี น กล้า เกง่ ดี มภี มู คิ ุม้ กัน รกั ษา 15 สขุ อนามยั ของตนเอง 8 โครงการพฒั นาผเู้ รยี น กล้า เก่ง ดี มีภมู คิ ุ้มกนั รักษา 15 สุขอนามยั ของตนเอง ตารางแสดงกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ท่ี กิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย ผล รอ้ ยละ 632 113.87 1 โครงการพฒั นาผเู้ รียนอบรมออนไลน์ เรื่อง เรยี นรู้ ทำเจ 555 635 114.41 ลลา้ งมอื แอลกอฮอล์ปอ้ งกันตัวเองจาก COVID-19 ของ นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอสามพราน 2 โครงการพัฒนาผู้เรียน อบรมออนไลน์ เร่อื ง เรียนร้ทู ำน้ำ 555 สมุนไพรต้าน COVID-19 ของนักศกึ ษา กศน.อำเภอ สามพราน

94 ผลการดำเนนิ งานท่เี กดิ ขน้ึ และร่องรอย หลักฐานที่เกิดข้ึน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1.6 ผู้เรียนการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ เกณฑ์การพิจารณา 1 ร้อยละของผู้เรียนได้รับ การตรวจสุขภาพ หรอื มหี ลกั ฐานการตรวจสุขภาพ สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า มีผู้เรียนได้รับการตรวจสุขภาพ หรอื มีหลักฐานการตรวจสขุ ภาพ รอ้ ยละ 83.79 ดงั น้ี ภาคเรยี นท่ี 2/2563 ภาคเรียนที่ 1/2564 ค่าเฉลยี่ ท่ี ระดับ จำนวน ผูเ้ รียนท่ี รอ้ ยละ จำนวน ผเู้ รยี นที่ ร้อยละ ร้อยละ ผู้เรยี น ไดร้ ับ ผู้เรียนท่ี ผูเ้ รียน ไดร้ บั ผเู้ รียนที่ ผูเ้ รยี นท่ี ท้งั หมด การ ได้รบั การ ท้งั หมด การ ได้รบั การ ได้รับ ตรวจ ตรวจ ตรวจ ตรวจ สขุ ภาพ สขุ ภาพ สขุ ภาพ สุขภาพ การ ตรวจ สขุ ภาพ 1 ประถมศึกษา 97 82 84.54 107 87 81.31 82.92 2 มัธยมศึกษาตอนต้น 639 529 82.79 597 502 84.09 83.44 3 มัธยมศกึ ษาตอน 904 771 85.29 871 738 84.73 85.01 ปลาย เฉลี่ย 84.20 83.38 83.79 เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละของผ้เู รยี นที่มีการเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ดา้ นดนตรี กฬี า ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม กระบวนการ/วิธกี ารดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้ดำเนินจัดการศึกษานอกระบบดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับชั้น และได้จัดกิจกรรม การเรียนรู้ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมสานศกึ ษาจดั กิจกรรมต่าง ๆ ดงั น้ี 1. การจัดกระบวนการเรียนรู้ในการพบกลุ่ม ในรายวิชาที่มีเนื้อหาด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น วิชา สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา ภาษาไทย การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม เป็นต้น และสอดแทรกกิจกรรมด้าน

95 ดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรอื การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในกิจกรรม การเรยี นการสอน 2. การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมีท้ังโครงการที่มีเน้ือหาด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และโครงการท่ีสอดแทรก กิจกรรมด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อมในกระบวนจดั การเรยี นรูข้ องโครงการ 3. การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.) ผู้เรียนร่วมกันจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ทุกภาคเรียน ซึ่งจะมีการสอดแทรกกิจกรรม ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเข้าไปในกิจกรรมด้วย ตารางแสดงโครงการ/กิจกรรม ทส่ี ถานศกึ ษาดำเนนิ งานใน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ท่ี กจิ กรรม/โครงการ เป้า ผล รอ้ ยละ กิจกรรมท่ีสอดแทรก หมาย 1 โครงการพฒั นาผเู้ รียนเพือ่ การเรียนรู้ 22 22 100 ศลิ ปะ จติ อาสา การอนรุ ักษ์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทรพั ยากร ธรรมชาติ และ ผลติ ภณั ฑ์สมุนไพรรอบรั้วสรา้ งอาชีพ สงิ่ แวดลอ้ ม 2 โครงการค่ายพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 100 103 103.00 ดนตรี ศิลปะ นันทนาการ จิต สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝัง อาสา การอนรุ ักษ์ ทรัพยากร จิตสำนึก ทด่ี ี ตามค่านยิ มหลักของ ธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม คนไทยและมจี ติ อาสา 3 โครงการอบรมอาสายุวกาชาดนอก 80 91 113.75 ดนตรี ศิลปะ นันทนาการ ศิลปะ โรงเรยี นอำเภอสามพราน “หลักสูตร จิตอาสา การอนรุ ักษ์ ทรัพยากร พนื้ ฐานยุวกาชาด” ธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม 4 โครงการเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของ 90 90 100.00 ดนตรี นนั ทนาการ ศิลปะ เศรษฐกจิ พอเพยี งเปลย่ี นชวี ติ ให้ จติ อาสา การอนุรักษท์ รพั ยากร ตดิ ธรรมชาติ ธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม 5 โครงการค่ายพฒั นาผเู้ รยี นสรา้ งพนื้ ฐานน้อม 80 82 102.50 ดนตรี ศิลปะ นนั ทนาการ นำพระบรมราโชบาย ด้านการศกึ ษาพระวชิร จิตอาสา การอนรุ กั ษ์ ทรัพยากร เกล้าเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี 10สูก่ ารปฏิบัติ ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม 6 โครงการพัฒนาผูเ้ รยี นคณุ ธรรมนำชีวติ สู่ 25 25 100.00 จิตอาสา การอนุรักษ์ ทรัพยากร จติ สาธารณะกศน.ตำบล บา้ นใหม่ ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม

96 ท่ี กิจกรรม/โครงการ เป้า ผล รอ้ ยละ กจิ กรรมที่สอดแทรก หมาย 7 โครงการพัฒนาผเู้ รียน คุณธรรมนำ 25 25 100.00 ศิลปะจติ อาสา การอนุรกั ษ์ ชวี ิตสู่จิตสาธารณะ ศรช.วัดสามพราน ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม 8 โครงการพฒั นาผู้เรยี น เสริมทักษะ 15 15 100.00 จติ อาสา การอนรุ กั ษ์ ทรัพยากร การดำเนนิ ชีวติ ตามหลักปรชั ญาของ ธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ พอเพียง ศรช.วดั ทา่ ข้าม 9 โครงการพัฒนาผู้เรยี น เสริมทักษะ 20 20 100.00 ศลิ ปะด้านจิตอาสาการอนุรักษ์ อาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และ พอเพียง กศน.ตำบลคลองจินดา สงิ่ แวดลอ้ ม 10 โครงการพัฒนาผเู้ รยี น ปลูกฝัง 25 25 100.00 จิตอาสา การอนรุ กั ษท์ รัพยากร คุณธรรม จริยธรรม สร้างค่านิยมท่ี ธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม พึงประสงค์ กศน.ตำบลคลองใหม่ 11 โครงการพัฒนาผู้เรยี น ปลกู ฝัง 25 25 100.00 จิตอาสา การอนุรักษท์ รัพยากร คุณธรรม จริยธรรม สร้างค่านิยมที่ ธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม พึงประสงค์ กศน.ตำบลท่าข้าม 12 โครงการพฒั นาผเู้ รียน ส่งเสริม 20 20 100.00 จิตอาสา การอนุรักษ์ทรัพยากร คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สรา้ งจิตสำนึก ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม รักษช์ มุ ชน กศน.ตำบลอ้อมใหญ่ 13 โครงการพฒั นาผู้เรียน สง่ เสริม 20 20 100.00 จติ อาสา การอนรุ กั ษท์ รัพยากร คณุ ธรรม จริยธรรม สรา้ งจติ สำนกึ ธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม รักษช์ ุมชน ศรช.วัดออ้ มใหญ่ 14 โครงการพัฒนาผู้เรยี น สร้างทักษะ 15 16 107.00 ศลิ ปะ จติ อาสาการอนรุ กั ษ์ ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของ ทรัพยากรธรรมชาติ และ เศรษฐกิจพอเพยี งกศน.ตำบลตลาดจนิ ดา สิ่งแวดลอ้ ม 15 โครงการพฒั นาผู้เรยี น สร้างทักษะ 15 15 100.00 ศิลปะ จติ อาสา การอนรุ ักษ์ ดา้ นอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ เศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.ตำบลหอมเกร็ด ส่งิ แวดลอ้ ม 16 โครงการพฒั นาผเู้ รียน สร้างทักษะ 15 15 100.00 ศลิ ปะ จิตอาสา การอนรุ ักษ์ ด้านอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของ ทรพั ยากร ธรรมชาติ และ เศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตำบลทรงคนอง สงิ่ แวดล้อม

97 ที่ กิจกรรม/โครงการ เป้า ผล ร้อยละ กจิ กรรมทีส่ อดแทรก หมาย 17 โครงการพฒั นาผู้เรียน สร้างทักษะ 15 18 120.00 ศิลปะจติ อาสาการอนรุ ักษ์ ดา้ นอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของ ทรัพยากรธรรมชาติ และ เศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.ตำบลบางช้าง สง่ิ แวดลอ้ ม 18 โครงการพฒั นาผู้เรียน รณรงคอ์ นรุ กั ษ์ 15 15 100.00 ศิลปะ จติ อาสา การอนรุ กั ษ์ ดูแลสง่ิ แวดลอ้ ม ตำบลบางเตย ทรัพยากร ธรรมชาติ และ ส่งิ แวดล้อม 19 โครงการพฒั นาผูเ้ รียน สร้างทักษะ 15 15 100.00 ศลิ ปะ จิตอาสาการอนรุ ักษ์ ดา้ นอาชีพตามหลักปรัชญาของ ทรัพยากรธรรมชาติ และ เศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตำบลสามพราน สง่ิ แวดลอ้ ม 20 โครงการพัฒนาผู้เรยี น สร้างทักษะ 15 20 133.33 ศลิ ปะ จติ อาสาการอนุรกั ษ์ ดา้ นอาชีพตามหลกั ปรัชญาของ ทรัพยากรธรรมชาติ และ เศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตำบลยายชา สิ่งแวดล้อม 21 โครงการพฒั นาผูเ้ รียน สร้างทักษะ 30 30 100.00 ศลิ ปะ จิตอาสา การอนุรกั ษ์ ดา้ นอาชพี ตามหลักปรชั ญาของ ทรพั ยากรธรรมชาติ และ เศรษฐกจิ พอเพียง สิ่งแวดลอ้ ม 22 โครงการพฒั นาผเู้ รียน สรา้ งทักษะ 20 20 100.00 ศลิ ปะ จิตอาสา การอนุรักษ์ ด้านอาชพี ตามหลักปรัชญาของ ทรพั ยากร ธรรมชาติ และ เศรษฐกิจพอเพียง ศรช.วดั ไร่ขิง สง่ิ แวดลอ้ ม 23 โครงการพัฒนาผเู้ รยี น : เพ่ือส่งเสริม 20 20 100.00 ดนตรี ศลิ ปะ นันทนาการ การเรยี นรกู้ ารปกครองส่วนท้องถนิ่ จติ อาสา การอนุรักษท์ รัพยากร ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มี ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 24 กจิ กรรม พฒั นา กศน.ตำบล 174 174 100.00 ศลิ ปะ จิตอาสา การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และ สง่ิ แวดลอ้ ม 25 กิจกรรมจติ อาสางานประจำปีหลวง 14 14 100.00 จติ อาสา การอนุรักษท์ รัพยากร พ่อวัดไรข่ งิ ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม 26 กิจกรรมปันนำ้ ใจใหผ้ สู้ งู อายุ 63 63 100.00 จิตอาสา การอนุรักษ์ทรัพยากร (บริจาคแพมเพอส) ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม

98 ท่ี กจิ กรรม/โครงการ เป้า ผล ร้อยละ กิจกรรมทีส่ อดแทรก หมาย 27 กิจกรรมจิตอาสาร่วมพฒั นาชุมชน กศน.ตำบลตลาดจนิ ดา 17 17 100.00 ศลิ ปะ จติ อาสา การอนุรักษ์ 28 กจิ กรรมเรียนรู้หลักปรัชญาของ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ เศรษฐกจิ พอเพยี งเปลย่ี นชีวติ ใหต้ ิด ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม 29 กจิ กรรมเรียนรูต้ ามรอยสมเด็จ 81 81 100.00 ศิลปะ จิตอาสา การอนุรกั ษ์ พระเทพฯกบั การส่งเสริและ พัฒนาการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ ส่ิงแวดล้อม 151 151 100.00 ดนตรี ศลิ ปะ นันทนาการ จติ อาสา การอนรุ กั ษท์ รัพยากร ธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม ตารางแสดงโครงการ/กจิ กรรม ทีส่ ถานศึกษาดำเนินงานใน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ที่ กิจกรรม/โครงการ เป้า ผล ร้อยละ กิจกรรม หมาย 1 โครงการพฒั นาผู้เรยี นอบรมออนไลน์ 555 632 113.87 ศลิ ปะ จติ อาสา การอนุรกั ษ์ เร่ือง เรียนรู้ ทำเจลล้างมือ ทรพั ยากร ธรรมชาติ และ แอลกอฮอลป์ อ้ งกันตัวเองจาก ส่ิงแวดล้อม COVID-19 ของนักศึกษา กศน. อำเภอสามพราน 2 โครงการพัฒนาผ้เู รยี น อบรม 555 631 113.69 ศิลปะ จิตอาสา ออนไลน์ เรอ่ื ง ปลูกพชื สมุนไพร สภู้ ัย การอนุรักษ์ทรัพยากร โควิด ของนกั ศึกษา กศน.อำเภอสาม ธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม พราน 3 โครงการพัฒนาผ้เู รยี น อบรม 555 635 114.41 ศิลปะ จติ อาสา ออนไลน์ เรื่อง เรยี นรู้ทำน้ำสมนุ ไพร การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ตา้ น COVID-19 ของนักศึกษา กศน. และส่ิงแวดลอ้ ม อำเภอสามพราน 4 กจิ กรรมจิตอาสา ปนั นำ้ ใจ สู้ภยั โควดิ 632 632 100.00 จติ อาสา การอนรุ กั ษ์ – 19 ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

99 ท่ี กิจกรรม/โครงการ เป้า ผล รอ้ ยละ กจิ กรรม หมาย 5 กจิ กรรมบริจาคเงนิ ให้ผปู้ ระสบภัย นำ้ ทว่ ม 2 2 100.00 จติ อาสาการอนุรักษท์ รัพยากร 6 กิจกรรม กศน.ชาเลจน์ประกวด ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การขับร้องเพลงพระราชนพิ นธ์ 6 6 100.00 ดนตรี ศิลปะ จิตอาสา 7 กจิ กรรมร่วมบญุ ซื้อที่ดินถวาย วดั หอมเกรด็ 45 45 100.00 จิตอาสาการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม 8 กจิ กรรมรณรงคป์ ้องกันและแก้ไข ปญั หายาเสพตดิ 4 4 100.00 ดนตรี ศลิ ปะ นนั ทนาการ จิตอาสา การอนุรักษท์ รัพยากร 9 กจิ กรรมจติ อาสาพัฒนาวดั ไร่ขงิ ใน ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สถานการณโ์ ควดิ - 19 13 13 100.00 จิตอาสา การอนุรักษ์ทรัพยากร 10 กจิ กรรมบริจาคชั้นวางเกียรติบัตร ธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม (รังผ้ึง) 40 40 100.00 จิตอาสา การอนรุ กั ษท์ รัพยากร 11 กิจกรรมบริจาคตอ่ เติมหลังคา ธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม กศน.ตำบลกระทมุ่ ลม้ 2 2 100.00 จิตอาสา การอนุรักษท์ รัพยากร 12 กิจกรรมพัฒนา กศน.ตำบล และ ธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม ศูนย์ฝกึ อาชีพหญิงตาบอด 183 183 100.00 ศิลปะ จิตอาสา การอนุรักษ์ 13 กิจกรรมพฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชน ทรัพยากร ธรรมชาติ และ “เฉลิมราชกมุ ารี”อำเภอสามพราน สิ่งแวดลอ้ ม 14 กจิ กรรมบริจาคโลหติ 50 50 100.00 จติ อาสา การอนุรักษท์ รัพยากร ธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม 15 กิจกรรมตดิ ผา้ ใบกนั สาด กศน.ตำบล ทรงคนอง 1 1 100.00 จติ อาสา การอนุรกั ษท์ รัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม 8 8 100.00 จิตอาสา การอนรุ กั ษท์ รัพยากร ธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม

100 ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นและร่องรอย หลักฐานท่ีเกิดข้ึน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1.6 ผู้เรียนการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการเข้า ร่วมโครงการ กิจกรรม ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม สถานศกึ ษามผี ลการดำเนินงาน ปงี บประมาณ 2564 พบว่า มผี ู้เรยี นที่มีการเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม เท่ากับ ร้อยละ 83.94 ดังน้ี ภาคเรียนที่ 2/2563 ภาคเรียนที่ 1/2564 ค่าเฉล่ยี ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ที่ ระดับ จำนวน ผู้เรียนที่มี ของ จำนวน ผเู้ รียนทีม่ ี ของ ของ ผู้เรียน การเข้าร่วม ผู้เรียนท่มี ี ผูเ้ รียน การเข้า ผู้เรยี นที่ ผ้เู รียนทม่ี ี ทัง้ หมด โครงการ การเข้า ทงั้ หมด รว่ ม มีการเขา้ การเข้า โครงการ ร่วม ร่วม ร่วม โครงการ โครงการ โครงการ 1 ประถมศกึ ษา 97 80 82.47 107 87 81.31 81.89 2 มัธยมศึกษา 639 546 85.45 597 508 85.09 85.27 ตอนตน้ 3 มธั ยมศกึ ษา 904 767 84.85 871 736 84.50 84.67 ตอนปลาย เฉลีย่ 84.26 83.63 83.94 ข้อมูล ร่อยรอย หลกั ฐาน 1. หลักฐานการตรวจสุขภาพของผูเ้ รียน 2. สรุปผลโครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นที่เกีย่ วขอ้ ง 3. รายงานผลการจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.) 3. แฟ้มสะสมงานของผู้เรยี น ชน้ิ งาน ใบงาน ผลงานของผู้เรียน โครงงาน 4. ภาพกิจกรรม โครงการตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้องและภาพกิจกรรมขนั้ พ้ืนฐานรูปแบบออนไลน์

101 ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานท่ีทำได้ตามเกณฑ์การพิจารณา ผลการดำเนนิ งานที่ทำได้ เกณฑ์การพจิ ารณา เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพิจารณา 1. รอ้ ยละของผู้เรยี นได้รับการตรวจสขุ ภาพ หรือมี 83.79 หลกั ฐานการตรวจสขุ ภาพ 2. รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มีการเขา้ รว่ มโครงการ กิจกรรม 83.94 ดา้ นดนตรี กฬี า ศิลปะ นันทนาการ จติ อาสาหรือ อนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เฉลยี่ 83.86 ตารางเปรียบเทยี บผลการดำเนนิ งานทท่ี ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาเทยี บกบั เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไี่ ด้ คะแนนทไี่ ด้ เกณฑ์ระดับคุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตามเกณฑ์ 3.35 คะแนน ดเี ลิศ การพจิ ารณา รอ้ ยละ 83.86 (3.01-3.50) จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 1.6 ผู้เรียนการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ ได้ 3.35 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยู่ใน ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ ประเดน็ การพิจารณาที่ 1.7 ผเู้ รียนการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการอ่านเขยี น (คา่ นำ้ หนกั คะแนน 4 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. โดยใช้แบบ ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ของสำนักงาน กศน. เครื่องมือประเมินระดับการรู้ หนังสือของนักศึกษา กศน. เป็นการประเมินการอ่านและการเขียนภาษาไทย ท่ีสำนักงาน กศน. พัฒนาข้ึนจาก คำ ประโยค บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง ท่ีเก่ียวข้องในชีวิตประจำวันที่เกี่ยวข้องกับ แบบเรียนวิชาในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีเกณฑ์การตัดสินผล การประเมนิ ระดบั การรหู้ นงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ต้องผา่ นเกณฑ์การประเมิน 2 ขอ้ ตอ่ ไปนี้

102 1. การอา่ นภาษาไทย ได้คะแนนรวมการอ่าน ไม่ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 60 2. การเขียนภาษาไทย ได้คะแนนรวมการเขยี น ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 นักศึกษาต้องผ่านการประเมินการอ่านและการเขียนภาษาไทย ตามเกณฑ์จึงจะถือว่าผ่าน การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ระดับน้ัน ๆ ในการประเมินระดับการรู้ หนังสือ นักศึกษาใหม่ท่ีข้ึนทะเบียนเรียนและลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้น จะต้อ งได้รับ การประเมินระดับการเรียนรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. เมื่อได้รับการประเมินแล้วจะต้องผ่าน การประเมินการอ่านภาษาไทย และการเขียนภาษาไทยตามเกณฑ์ จึงจะถือว่าผ่านการรู้หนังสือของ นักศึกษา กศน. ระดับนั้น ๆ ผู้ท่ีผ่านการประเมินแล้วไม่ต้องประเมินซ้ำอีก ครู กศน. ต้องเข้าระบบ บันทึกผลการประเมินระดับการเรียนรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ในกรณีที่ นักศกึ ษาไม่ผ่านการประเมินครู กศน. ตอ้ งดำเนินการดังนี้ 1. พัฒนาการอ่านและการเขียนภาษาไทย ให้กับผู้ที่ไม่ผ่านการประเมินระดับการรู้หนังสือ ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ในระหว่างการจัดกระบวนการการเรียนรู้ตามรายวิชาที่ นกั ศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคเรยี นนั้น ๆ 2. ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ซ้ำ ตามความ พร้อมของนักศึกษาของนักศึกษา กศน. และสถานศึกษา 3. แจ้งผลการประเมินให้กับนักศึกษาที่เขา้ รับการประเมินซ้ำ พรอ้ มท้ังบันทึกผลนักศึกษาท่ี ประเมินผ่านและไม่ผ่าน ทั้งนี้ ผู้ท่ีผา่ นการประเมนิ ระดับการร้หู นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. ในคร้ังนี้แล้ว ไม่ต้องประเมินซ้ำอีก สำหรับนักศึกษาท่ีประเมินไม่ผ่าน ครู กศน. จะต้องดำเนินการพัฒนาและ ประเมินใหมใ่ นภาคเรยี นถดั ไป ผลการดำเนนิ งานที่เกิดขน้ึ และร่องรอย หลักฐานท่ีเกดิ ข้ึน จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1.7 ผู้เรียนการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน เกณฑ์การพิจารณา ร้อยละของผู้เรียนท่ีมี ความสามารถในการอ่านการเขียนภาษาไทย เพอื่ การสื่อสารทเ่ี ป็นเกณฑใ์ นแต่ละระดบั ช้ัน สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า มีผู้เรียนที่มีความสามารถใน การอา่ น การเขยี นภาษาไทย เพ่อื การสื่อสารทเี่ ปน็ เกณฑใ์ นแตล่ ะระดบั ชั้น รอ้ ยละ 92.10 ดงั น้ี

103 ภาคเรียนท่ี 2/2562 ภาคเรยี นที่ 1/2563 ค่าเฉล่ีย รอ้ ยละของ รอ้ ยละ ผเู้ รียน ผเู้ รยี นที่ รอ้ ยละของ ผู้เรียนท่ี ท่ีผ่าน ของ เกณฑ์ ผู้เรยี นท่ี ที่ ระดับ จำนวน ผา่ น ผู้เรียน จำนวน ผา่ น การอ่าน การเขียน ผา่ น ผ้เู รยี น เกณฑ์ ท่ผี า่ นเกณฑ์ ผู้เรียน เกณฑ์ เกณฑ์ การอ่าน ท้งั หมด การอา่ น การอา่ น ท้งั หมด การอ่าน การเขยี น การเขยี น การเขยี น การเขียน 1 ประถมศึกษา 97 87 89.69 107 95 88.79 89.24 2 มัธยมศึกษา 639 594 92.96 597 557 93.30 93.13 ตอนต้น 3 มธั ยมศึกษา 904 846 93.58 821 94.26 93.92 ตอนปลาย 871 เฉลี่ย 92.08 92.11 92.10 ขอ้ มูล ร่อยรอย หลักฐาน 1. เครอื่ งมือการประเมินระดบั การเรียนรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ทกุ ระดับชนั้ 2. ผลการวดั ระดบั การรู้หนังสือของผ้เู รยี น 3. ระบบบนั ทึกผลการประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. 4. แผนการจดั การเรียนรใู้ นรายวชิ าท่ีเก่ียวข้อง 5. แบบฝกึ หดั รายงาน แฟ้มสะสมงาน ตารางเปรียบเทียบผลการดำเนนิ งานทท่ี ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาเทียบกบั เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทีไ่ ด้ คะแนนท่ีได้ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เป็นไปตามเกณฑ์ 3.68 คะแนน ยอดเยย่ี ม การพิจารณา ร้อยละ 92.10 (3.51-4.00) จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 1.7 ผู้เรียนการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานมีความสามารถในการอ่านเขียน ได้ 3.68 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยู่ใน ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม

104 ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.8 ผู้จบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ไดร้ ับไป ใชห้ รอื ประยกุ ตใ์ ช้ (ค่าน้ำหนักคะแนน 8 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย 5 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะ การเรียนรู้ สาระความรู้พื้นฐาน สาระการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดำเนินชีวิต และสาระ การพัฒนาสังคม ซึ่งแตล่ ะสาระประกอบด้วยรายวิชาบังคับ และรายวิชาเลือก ตามจำนวนหน่วยกิตที่ กำหนดไว้ โดยวัดและประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชา เพ่ือทราบสภาพและความก้าวหน้า ทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมจริยธรรม อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ สถานศึกษาในแต่ละรายวิชา ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจาก แฟ้มสะสมงาน ประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานการเรียนรู้ ประเมินการปฏิบัติจริง ทดสอบย่อย ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือ แบบฝึกหัด โดยวัดผลระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีเกณฑ์การจบหลกั สูตรในแต่ละระดับการศึกษา ดงั นี้ 1. ผ่านเกณฑ์การประเมินการเรียนรู้รายวชิ าในแต่ละระดับการศกึ ษา ตามโครงสร้างหลักสูตร คอื 1.1 ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 36 หน่วยกิต และวชิ าเลือกไม่น้อยกวา่ 12 หนว่ ยกิต 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 40 หนว่ ยกิต และวิชาเลือกไม่นอ้ ยกว่า 16 หน่วยกิต 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่น้อยกว่า 76 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 44 หน่วยกติ และวชิ าเลอื กไมน่ อ้ ยกวา่ 32 หนว่ ยกติ 2. ผา่ นเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (กพช.) ไมน่ อ้ ยกว่า 200 ชั่วโมง 3. ผ่านการประเมนิ คณุ ธรรม ในดับพอใชข้ ึน้ ไป 4. เขา้ รับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ

105 ผลการดำเนนิ งานทีเ่ กดิ ขนึ้ และรอ่ งรอย หลกั ฐานทีเ่ กิดข้ึน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา เกณฑ์การพิจารณาที่ 1.8 ผู้จบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานนำความรู้ ทักษะพ้ืนฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ เกณฑ์การพิจารณา จำนวนผู้จบ การศึกษาตามหลักสูตรสามารถนำความรู้ ทักษะพื้นฐานท่ีได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชีวติ การประกอบอาชพี หรือเพ่ือการศึกษาตอ่ ในระดับทส่ี งู ขน้ึ เปน็ ไปตามคา่ เป้าหมายทก่ี ำหนด ในปีงบประมาณ 2564 สถานศึกษาได้กำหนดค่าเป้าหมาย คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมี จำนวนผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่สามารถนำ ความรู้ ทักษะพ้ืนฐานท่ีได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ หรือเพื่อ การศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น ร้อยละ 84.60 ซ่ึงผลการดำเนินงานของสถานศึกษา พบว่า ผู้จบ การศึกษาตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่สามารถนำความรู้ ทักษะ พ้ืนฐานท่ีได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ หรือเพื่อการศึกษาต่อใน ระดับที่สูงขน้ึ เทา่ กับ รอ้ ยละ 100.00 ซง่ึ สงู กวา่ ค่าเปา้ หมายที่กำหนด ร้อยละ 15.40 ดังน้ี ภาคเรยี น2/63 ภาคเรยี นท่ี1/64 คา่ เฉลย่ี การนำไปใชป้ ระโยชน์ การนำไปใชป้ ระโยชน์ ร้อยละ ของผจู้ บ ท่ี ระดับ จำนวนผู้จบ การนำ ึศกษา ่ตอในระ ัดบ ่ีท ูสง ้ขึน ไปใช้ ยกระดับสมรรถนะ ้ดานอา ีชพ ประโยชน์ ัพฒนาตนเอง ครอบค ัรว และชุมชน รวม ้รอยละ จำนวนผู้จบ ึศกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ยกระดับสมรรถนะ ้ดานอาชีพ ัพฒนาตนเอง ครอบค ัรว และชุมชน รวม ้รอยละ 1 ระดับ 10 10 - - 10 100.00 9 9 - - 9 100.00 100.00 ประถมศึกษา 2 ระดับมัธยม 98 86 6 6 98 100.00 98 70 15 13 98 100.00 100.00 ศกึ ษาตอนต้น 3 ระดบั มัธยม 146 38 66 42 146 100.00 139 51 48 40 139 100.00 100.00 ศึกษาตอน ปลาย รวม 254 134 72 48 254 100.00 246 130 63 53 246 100.00 100.00

106 ข้อมูล รอ่ งรอย หลกั ฐาน 1. แบบรายงานผู้จบหลักสูตร จำนวน 2 ภาคเรียน ภาคเรียนที่ 2/2563 และภาคเรียนท่ี 1/2564 2. รายงานสรปุ ผลการตดิ ตามผู้จบหลกั สตู รท่ีนำความรไู้ ปใช้หรือประยุกต์ใช้ 3. แบบตดิ ตามผู้จบหลักสตู ร 4. หนงั สือขอตรวจสอบวฒุ ิ ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนินงานทีท่ ำได้ตามเกณฑ์การพิจารณาเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนท่ีได้ คะแนนท่ีได้ เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตามเกณฑ์ 6.40 คะแนน ดีเลิศ การพจิ ารณา สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 15.40 (6.01 – 7.00) จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 1.8 ผู้จบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานนำความรู้ ทักษะพ้ืนฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ ได้ 6.40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 8 คะแนน อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพของการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับบริบท และ ความต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ (คา่ นำ้ หนักคะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน มีกระบวนการ และ วิธกี ารในการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาทสี่ อดคลอ้ งกับหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และมีความสอดคล้องกับบริบทและความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ทอ้ งถิ่น ดังน้ี 1. สถานศึกษา ประชุมบุคลากรเพ่ือศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหา และสำรวจความต้องการ ของผู้เรียนในชุมชน เพ่ือใช้ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยศึกษาบริบทของอำเภอสามพราน และนำมากำหนดสาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และจัดทำหลักสูตร ท้องถ่ิน (รายวิชาเลือก) มีการจัดอบรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ

107 และการจัดการเรียนรู้ โดยมีโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตและสัญญาณ WIFI ให้ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ จัดให้มีห้องเรียนคุณภาพ (Google Classroom) ส่งเสริมให้ครูจัดทำสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา ท้ัง Google Application มีการประเมินผลการเรียนรู้ออนไลน์ ส่งเสริมให้ครูทุกคน จัดทำ KM (Knowledge Management) เพือ่ สื่อสารและอำนวยความสะดวกให้แกผ่ ู้เรียน 2. จัดทำคำสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา และบุคลากรทีเ่ กี่ยวขอ้ ง รวมทงั้ ได้จดั ทำประกาศแต่งตัง้ คณะทีป่ รกึ ษาและผรู้ ่วมพัฒนาหลกั สูตร 3. ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก โดยมีเนื้อหาสาระสอดคล้องตามหลักสูตรและ บริบทของสถานศึกษา สนองความต้องการของท้องถ่ิน ชุมชน ร่วมกับสำนักงาน กศน.จังหวัด นครปฐม 4. จัดทำหลักสูตรรายวิชาเลือก ตามกระบวนการจัดทำหลักสูตร ประกอบด้วย ผังมโนทัศน์ คำอธบิ ายรายวชิ า รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า โครงสร้างหลกั สตู ร และรายละเอยี ดของหวั เรอ่ื ง 5. การนำหลักสูตรไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน 6. ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร โดยประเมินคุณภาพเอกสาร การจัดการเรียนรู้ของ ครูผู้สอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน การนำความรู้และทักษะที่ได้ไปใช้ประโยชน์ และ ประเมินความพงึ พอใจทม่ี ีตอ่ หลักสตู ร 7. การนำผลการประเมนิ มาปรับปรุงหรือพฒั นา สถานศึกษายังไมม่ ีการพฒั นา ผลการดำเนินงานท่ีเกดิ ขึ้นและร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้น จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง 1. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่น รายวิชา หลวงพ่อวัดไร่ขิง ม่ิงมงคล คนสามพราน สค33136 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 หน่วยกิต ที่มีความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน ผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา และไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 2. หลักสูตรของสถานศึกษา มีกระบวนการ ดังน้ี 1) จัดทำคำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการ พฒั นาหลักสูตร ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา และบุคลากรที่เกีย่ วขอ้ ง 2) คดั เลอื กบุคลากร เพื่อเข้าร่วมพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก ร่วมกับสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม 3) กำหนด รายละเอียดของหลักสูตร ประกอบด้วย หลักการ จุดหมาย ผังมโนทัศน์ คำอธิบายรายวิชา รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างหลักสูตร ระยะเวลา วิธีการจัดการเรียนรู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการจบหลักสูตร 4) นำเสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา เพอ่ื ใหค้ วามเห็นชอบ และ 5) ประกาศอนุมตั ใิ ช้หลักสูตร โดยผู้อำนวยการ สถานศกึ ษา

108 3. คำส่ังแตง่ ตง้ั คณะท่ีปรกึ ษาและผรู้ ่วมพัฒนาหลักสูตร 4. คำส่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู ร 5. หลักสตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตรท้องถิ่น คูม่ ือการใช้หลักสูตร 6. แผนการลงทะเบียนเรยี นของนักศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 7. แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 8. บันทกึ หลังสอน 9. มกี ารจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การ เรยี นรู้ ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานทท่ี ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการดำเนนิ งานที่ทำได้ เกณฑ์การพิจารณา เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพิจารณา 1. มีหลักสตู รสถานศึกษาท่ีจดั ทำขึน้ โดยผ่านความ  เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา และไดร้ บั การ อนมุ ตั จิ ากผบู้ ริหารสถานศึกษา 2. หลกั สูตรสถานศกึ ษามอี งค์ประกอบสำคัญครบถว้ น ซ่ึง  อย่างน้อยตอ้ งประกอบดว้ ย หลกั การ จุดหมาย หลักสูตร กลมุ่ เปา้ หมาย โครงสร้างหลักสูตร ระยะเวลาเรียน วิธีการ จัดการเรยี นรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และการจบหลกั สูตร 3. หลักสตู รสถานศกึ ษา มเี นื้อหาทส่ี อดคลอ้ งกับหลักสตู ร  การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สอดคล้องกบั สภาพปัญหา และความต้องการของ กล่มุ เปา้ หมาย 4. มกี ารนำหลกั สูตรสถานศกึ ษาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้  ตามจดุ หมายของหลักสตู ร 5. มีการประเมินผลการนำหลักสตู รไปใช้ และนำผล  ประเมนิ มาปรับปรุง หรือพฒั นา รวม 4 1

109 ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนินงานท่ีทำไดต้ ามเกณฑก์ ารพจิ ารณาเทยี บกับเกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนท่ีได้ คะแนนทไี่ ด้ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตาม 4 คะแนน ดีเลศิ เกณฑ์การพจิ ารณาจำนวน 4 ข้อ (3.76-4.38) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 2.1 การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับบริบท และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถ่ิน คะแนนท่ีได้ 4 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 2.2 สื่อทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ (คา่ น้ำหนกั คะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน ได้มีการดำเนินงานที่ เป็นกระบวนการในการจัดหาสื่อให้กับนักศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักสตู รสถานศึกษา ดงั นี้ 1. สถานศึกษาจัดประชุมครู มอบหมายให้สำรวจรายการส่ือการเรียนรู้ ประกอบด้วย ส่ือ ส่ิงพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี ส่ือออนไลน์ และส่ืออื่น ๆ ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ใน กศน.ตำบล ศนู ย์การเรียนชุมชน เพ่ือใหท้ ราบจำนวนข้อมูลของสื่อแต่ละประเภท รวมท้ังปัญหาและความต้องการ ใช้ส่ือการเรยี นรู้ และนำมามาวางแผนการจัดหาสอื่ 2. แต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณาราคากลางคัดเลือกส่ือที่มีความเหมาะสมและมีคุณภาพ ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับรายวิชาท่ีลงทะเบียน โดยพิจารณาคุณภาพของส่ือที่ผ่าน การพิจารณาจากสำนักงาน กศน. และตัวอย่างแบบเรียนจากสำนักพิมพต์ ่าง ๆ เพื่อคัดเลือกแบบเรยี น ที่มเี นื้อหาตรงตามหลักสตู ร ภายในวงเงนิ งบประมาณทีไ่ ดร้ ับจัดสรร 3. สถานศึกษาดำเนินการจัดหาตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกระจายสื่อไปยัง กศน.ตำบล ศูนย์การเรียนชุมชน นอกจากสื่อส่ิงพิมพ์ ยังมี การใช้สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น รายการ ETV E-book และการแสวงหาความรู้จากอินเตอร์เน็ตผ่าน YouTube Google Facebook Line ตลอดจนศกึ ษาเรียนรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ และภูมปิ ัญญา 4. สถานศึกษามีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ ได้แก่ ทะเบียนคุมแบบเรียน ทำเนียบแหล่ง เรียนรู้ ทำเนยี บภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เพื่อเปน็ ข้อมูลในการจัดการเรียนรู้ 5. สถานศกึ ษาประเมินความพึงพอใจทีม่ ตี ่อการใช้ส่ือการเรยี นรู้ จากการสงั เกตสอบถามจาก ผู้เรียนและครูผู้สอนถึงความเหมาะสมของเน้ือหาตรงตามหลักสูตร และมีเพียงพอต่อความต้องการ

110 หรือไม่ ในส่วนของสื่อเทคโนโลยีและสื่ออ่ืน ๆ ประเมินจากการไปศึกษาเรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญาในเรอ่ื งใด และดูจากใบงานหรอื แบบบันทึกการเรียนรู้ท่ีครมู อบหมาย 6. ผลจากการติดตามการใช้สื่อสิ่งพิมพ์ เพ่ือนำมาใช้ปรับปรุงในการดำเนินการจัดหาในคร้ัง ต่อไป ซ่งึ การจดั หาสอ่ื ไดพ้ จิ ารณาจากบรษิ ทั ทเ่ี สนอมามากกว่า 1 แห่ง เพ่อื ใหไ้ ดส้ ื่อท่ีมีคณุ ภาพ ผลการดำเนนิ งานทเี่ กิดขึ้นและร่องรอย หลกั ฐานทีเ่ กดิ ขึ้น จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ 1. สถานศกึ ษา ได้ดำเนนิ การจดั หาสอื่ การเรยี นรู้ประเภทส่อื ส่ิงพิมพ์ ไดแ้ ก่ หนังสือเรยี น สอื่ เสริมความรู้ สมุดบนั ทึกการจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ่อเนื่อง (กรต.) แนวการสอบ N-NET เปน็ ต้น ซ่งึ สอดคล้องกับเนอื้ หาสาระตามหลกั สูตรในรายวชิ าท่ีลงทะเบยี นในแต่ละภาคเรียน 2. แบบสำรวจความต้องการส่ือหนังสือเรียน 3. ทะเบยี นคมุ แบบเรยี น ทำเนยี บแหล่งเรียนรู้ และภมู ิปัญญาท้องถนิ่ 4. บนั ทกึ การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เร่ือง การจัดหาหนงั สือเรียน 5. คลปิ VDO, YouTube, Facebook Live, Google Site ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานท่ีทำได้ตามเกณฑ์การพิจารณา ผลการดำเนินงานท่ีทำได้ เกณฑ์การพิจารณา เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพิจารณา 1. มกี ารพฒั นา หรือจดั หาสื่อการเรียนร้ทู ่ีหลากหลาย  สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รสถานศึกษา 2. มีการจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศ หรือทำเนยี บสอ่ื การเรยี นรู้  3. การใชส้ อ่ื การเรยี นรู้ท่ีหลากหลายในการจัดการเรยี นรู้  4. การประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ รียนทมี่ ตี ่อสือ่ การเรยี นรู้  5. การนำผลการประเมินความพงึ พอใจไปใชใ้ นการพัฒนา  หรือจดั หาสอื่ การเรยี นรทู้ ี่เปน็ ไปตามความตอ้ งการ รวม 4 1

111 ตารางเปรียบเทยี บจำนวนผลการดำเนนิ งานทท่ี ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาเทยี บกบั เกณฑ์ระดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนท่ีได้ คะแนนที่ได้ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 4 คะแนน ดเี ลศิ การพจิ ารณาจำนวน 4 ข้อ (3.76-4.38) ผลการประเมนิ คุณภาพของสถานศึกษาในประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 2.2 สือ่ ท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.3 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ (คา่ น้ำหนกั คะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนินงานของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน โดยผู้บริหาร สถานศึกษา มอบนโยบายให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ดงั นี้ 1. ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลจากข้อมูลประวัติการสมัคร การสัมภาษณ์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล เพ่อื จดั กลุม่ ผู้เรยี นตามแผนลงทะเบียน 2. ครูร่วมกันวิเคราะหห์ ลกั สูตรรายวิชา ตามระดับความยากง่ายของเนื้อหา ดังนี้ เนื้อหางา่ ย ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เนื้อหายาก ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และเนื้อหายากมาก นำมาจัดทำแผนสอนเสริม โดยการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ร่วมกับสำนกั งาน กศน.จงั หวดั นครปฐม 3. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ครูได้ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1) การจัดการเรียนรู้ รูปแบบออนไลน์ (On-Line) มีการจัดทำคู่มือแนวทางการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อใช้เป็นแนวทาง สำหรับครู กศน. ในการนำไปใช้จัดการเรียนการสอนให้กับนักศกึ ษา กศน. ทุกระดบั เพ่ือให้นักศึกษา ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเรียนรู้ผ่านช่องทาง อินเตอร์เน็ต Google Site Facebook Live Line ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจและ ความสะดวก 2) การจัดการเรียนรู้รูปแบบออนแอร์ (On-Air) เรียนรู้ผ่านทางสถานีวิทยุและโทรทัศน์ เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) ตามตารางการออกอากาศ และ 3) การจัดการเรียนรู้

112 รูปแบบออนแฮนด์ (On-hand) เรียนรู้โดยการจัดส่งหนังสือเรียน สื่อเสริมความรู้ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความรู้ ให้นักศึกษานำกลบั ไปทำทบ่ี ้าน และนำกลับมาสง่ ตามเวลาทค่ี รูกำหนด 4. ครูบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกครั้ง โดยเน้นการบันทึกสภาพปัญหาการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ และแนวทางการแก้ไข เสนอให้ผบู้ ริหารสถานศกึ ษารับทราบ 5. ครูนำขอ้ มลู จากบันทกึ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เป็นสภาพปัญหานำไปจัดทำวิจัยอย่าง ง่าย เพ่ือแก้ไขปญั หา 6. ครูมีการจัดระบบช่วยเหลือผู้เรียน มีการให้คำปรึกษาแนะนำ เพื่อให้ผู้เรียนประสบ ความสำเร็จในการเรียนรู้ และเรียนจบหลักสูตร ผ่านกลุ่มไลน์ตำบล เฟสบุ๊ค และประชาสัมพันธ์ กจิ กรรม การมอบหมายงาน การส่งใบงาน ใบความรู้ เป็นต้น 7. ครูจัดการประเมินระดับการรู้หนังสือ (การอ่านออกเขียนได้) ทั้ง 3 ระดับ ให้กับนักศึกษา ใหม่ท่ีขึ้นทะเบียนเรียนและลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้น และผู้เรียนท่ีเข้ารับการประเมินแล้ว แต่ ไม่ผ่าน โดยประเมินทุกภาคเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยใช้เครื่องมือประเมินระดับการรู้หนังสือนักศึกษา กศน. เพอ่ื ให้การจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมีประสิทธภิ าพ 8. ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในการประชุมบุคลากรทุกครั้ง เพื่อพัฒนาการจัด กระบวนการเรียนรู้ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) ให้มีประสทิ ธิภาพ ผลการดำเนินงานท่เี กดิ ข้นึ และร่องรอย หลักฐานที่เกิดข้ึน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง 1. สถานศึกษาพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดำเนินงานตามคู่มือแนวทางการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ รายสัปดาห์ แผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง แผนการสอนเสริม ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนและ หลังการเรยี น โดยการสื่อสาร การสง่ั งาน การส่งงาน ระหวา่ งครูและผเู้ รยี นผา่ นระบบออนไลน์ 2. โปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับนักศึกษากลุ่มทั่วไป โปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิต สำหรบั ผพู้ กิ ารทางสายตา โปรแกรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิตสำหรับเดก็ และเยาวชนในสถานพนิ จิ 3. ตารางการวเิ คราะห์เนื้อหาความยากงา่ ย 4. คู่มือแนวทางการจัดการเรยี นรอู้ อนไลน์ทั้ง 3 ระดับ 5. แผนการจัดการเรียนรูอ้ อนไลน์ 6. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ 7. วิจยั ในช้ันเรยี นอยา่ งงา่ ย 8. ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด รายงาน

113 9. แบบทดสอบก่อน และหลงั เรียน 10. รอ่ งรอยการตดิ ต่อสอ่ื สารผา่ นส่ือออนไลน์ 11. ส่อื เทคโนโลยี ไดแ้ ก่ YouTube Facebook Live Google Site ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานทท่ี ำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณา ผลการดำเนินงานท่ีทำได้ เกณฑ์การพิจารณา เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ การพิจารณา การพจิ ารณา 1. ครทู ุกคนและผู้เรยี นรว่ มกันคิดวเิ คราะห์ความ  ต้องการ การเรยี นเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 2. ครูทุกคนออกแบบการจดั การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รียน  3. ครูทุกคนมีการจัดการเรยี นรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้  4. ครทู ุกคนมบี ันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้  5. ครูทุกคนมีการทำวจิ ยั ในช้ันเรยี น เพอ่ื พฒั นาและ  แก้ไขปัญหาของผู้เรียน 6. ครทู กุ คนมีการจดั ระบบการช่วยเหลอื ผเู้ รียนให้  คำแนะนำ ปรึกษา เพอ่ื ใหป้ ระสบความสำเร็จใน การเรียนรู้ รวม 6 ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนนิ งานทท่ี ำได้ตามเกณฑ์การพิจารณาเทยี บกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนที่ได้ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 5 คะแนน ยอดเยีย่ ม การพิจารณาจำนวน 6 ข้อ (4.39-5.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 2.3 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยูใ่ นระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

114 ประเด็นการพิจารณาที่ 2.4 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ (คา่ น้ำหนกั คะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา 1. สถานศึกษา มีการดำเนินการวัดและประเมินผลตามแนวทางหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีสอดคล้องกับจุดหมาย วัตถุประสงค์ของ หลักสูตรอย่างชัดเจน ประกอบด้วย 5 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ สาระความรู้พื้นฐาน สาระการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดำเนินชีวิต และสาระการพัฒนาสังคม สถานศึกษา ได้ กำหนดเกณฑ์การวัดผลระหว่างภาคเรียน และปลายภาคเรียน 60 : 40 โดยมีการกำหนดเกณฑ์ คะแนนระหว่างภาค 60 คะแนน แบ่งเป็น การเรียนรู้ต่อเน่ือง (กรต.) 20 คะแนน โครงงาน 20 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน และคะแนนสอบปลายภาคเรียน 40 คะแนน สำหรับในรายวิชา บังคับ ผู้เรียนต้องมีคะแนนสอบปลายภาคไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 หรือ ไม่น้อยกว่า 12 คะแนน การตัดสินผลการเรยี นรายวิชา ให้นำคะแนนระหว่างภาคเรียนมาร่วมกับคะแนนปลายภาคเรียน และ จะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 50 จึงจะถือว่าผา่ นการเรยี นในรายวิชาน้ัน และนำคะแนนที่ได้ไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดเพ่ือให้ค่าระดับผลการเรียน กำหนดเป็น 8 ระดับ ซ่ึงมี เกณฑ์การจบหลักสตู รในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา ดังน้ี 1) ผ่านเกณฑ์การประเมินการเรียนรู้รายวิชาในแต่ละระดับการศึกษา ตามโครงสร้าง หลักสูตร คือ 1.1 ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 36 หน่วยกิต และวชิ าเลอื ก ไม่น้อยกวา่ 12 หนว่ ยกิต 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 40 หนว่ ยกิต และวิชาเลอื กไม่น้อยกวา่ 16 หน่วยกติ 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่น้อยกว่า 76 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 44 หน่วยกิต และวิชาเลอื กไม่น้อยกวา่ 32 หนว่ ยกติ ในการวัดและประเมินผลการเรียนรายวิชา เพ่ือให้ทราบความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรม จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของสถานศึกษา ด้วยวิธีการท่ี หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การทำโครงงาน การปฏิบัติจริง ทดสอบย่อย แบบฝึกหัด เปน็ ต้น โดยเลือกให้เหมาะสมกับรายวิชา 2) สถานศึกษามีการกำหนดเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกว่า 200 ชัว่ โมง โดยมกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการประเมิน ประกอบดว้ ย หัวหน้า

115 กลุ่มจัดการศึกษานอกระบบ เจ้าหน้าท่ีงานการศึกษาพื้นฐาน ครูที่ปรึกษา ภาคีเครือข่าย เพื่อร่วม พจิ ารณากำหนดชั่วโมงกจิ กรรม และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนมุ ตั ิ ต่อไป 3) สถานศึกษามีการประเมินคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งกำหนดเกณฑ์การประเมิน ดังน้ี พอใช้ ดี ดีมาก ผู้จบหลักสูตรต้องผ่านในระดับพอใช้ข้ึนไป โดยมีครู เป็นผู้ประเมินผู้เรียนเป็น รายบุคคลด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม หรือช้ินงานที่มอบหมาย และมีการประเมิน ทกุ ภาคเรียน 4) สถานศึกษาจัดให้ผูเ้ รียนทุกคนท่ีศกึ ษาในภาคเรยี นสดุ ท้าย ของทุกระดับการศกึ ษาได้ เข้ารับการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ (N-NET) 2. สถานศึกษามีการจัดทำเครอ่ื งมือ หรือวิธีการวัดและประเมินผลเป็นรายวิชาให้แก่ผู้เรียน ประกอบด้วย 2.1 การวัดและประเมินผลก่อนเรียนเป็นการตรวจสอบความรู้ ทักษะพื้นฐาน ได้แก่ การประเมินระดับการรหู้ นังสือของผู้เรยี นทกุ ภาคเรียน และแบบทดสอบทคี่ รูจัดทำขน้ึ 2.2 การวัดและประเมินผลระหว่างภาคเรียน โดยใช้แบบทดสอบ ทั้งแบบปรนัยและ แบบอัตนัย ซ่ึงสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแบบทดสอบระหว่างภาคเรียน มีการแต่งต้ังคณะทำงานจากสถานศึกษาในสังกัด เพ่ือใช้ ประเมินท้ังจังหวัด โดยใช้รูปแบบออนไลน์ ผ่าน Google form กลุ่ม Line ประเมินโครงงาน หรือ ช้ินงาน และบันทึกการเรียนร้ตู ่อเนอื่ ง (กรต.) 2.3 การวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน โดยรายวิชาบังคับและรายวิชาเลือกบังคับ ใช้แบบทดสอบปรนัยของสำนักงาน กศน. รายวิชาเลือกเสรี ใช้แบบทดสอบของสำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ที่จดั ทำข้ึนจากคณะทำงานจากสถานศึกษาในสังกดั 3. สถานศึกษามีการช้ีแจงรายละเอียดวิธีการวัดและประเมินผลให้แก่ผู้เรียน ในสัปดาห์แรก ของการเปิดภาคเรยี น จากการปฐมนเิ ทศออนไลน์ โดยผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครผู ู้สอน 4. สถานศึกษามีการแจ้งผลการประเมินผลให้กับผู้เรียนทุกภาคเรียน ดังนี้ ติดประกาศ สรุปผลการเรียนที่ กศน.ตำบล ครูแจ้งผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Line Facebook Website กศน.ตำบล เป็นตน้ 5. สถานศึกษามีการนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มาใช้ในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ เช่น นำผลการสอบรายวิชาหลักท่ีมีผลการสอบค่อนข้างต่ำ มาจัดโครงการพัฒนาผู้เรียนปรับ ความรูพ้ ้ืนฐานรายวิชาบังคับ ในช่วงต้นภาคเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีระดับความรู้พ้ืนฐานเพียงพอ และทันกับ ผู้เรียนคนอ่ืน โดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถตรงสาขาวิชา และจัดโครงการสอนเสริมก่อนสอบ ปลายภาค เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหารายวิชาบังคับเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชาบังคับสูงขนึ้ โดยเชิญวิทยากรทีม่ ีความรู้ความสามารถตรงสาขาวิชา

116 ผลการดำเนินงานทเี่ กิดขึ้นและร่องรอย หลักฐานทเ่ี กดิ ขึ้น จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ 1. แผนการจัดการเรยี นรู้ 2. เอกสารบนั ทึกผลการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น (กศน.4) 3. เครอื่ งมือหรอื วิธีการวดั และประเมนิ ผลท่สี อดคลอ้ งกับแผนการจัดการเรียนรู้ - แบบประเมินโครงงาน - แบบประเมนิ คุณธรรม - ใบงาน แบบฝกึ หัด - แบบทดสอบระหวา่ งภาค - แบบทดสอบปลายภาคเรยี น 4. รายงานสรุปผลการเรียนของแต่ละภาคเรยี น 5. รายงานผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ (กพช.) 6. รายงานผลการประเมนิ คุณธรรม 7. รายงานผลการทดสอบระดับชาติ 8. บันทกึ หลงั การสอน 9. ภาพกจิ กรรมผลการประเมนิ ผา่ นการสือ่ สารออนไลน์

117 ตารางแสดงผลการดำเนินงานท่ที ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการดำเนินงานที่ทำได้ เกณฑ์การพิจารณา เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพจิ ารณา 1. ครูทุกคนมีการกำหนดแนวทางการวดั และ  ประเมินผลทสี่ อดคล้องกบั จดุ หมายหรอื วตั ถุประสงค์ ของหลักสตู รไวใ้ นแผนการจัดการเรยี นรู้อย่างชัดเจน 2. ครทู กุ คนมีการจัดทำเคร่ืองมือหรือมีวธิ ีการวดั  และประเมนิ ผลที่สอดคลอ้ งกับแผนการจดั การเรยี นรู้ 3. ครูทุกคนมีการช้ีแจงรายละเอียดวธิ กี ารวดั และ  ประเมนิ ผลให้แก่ผู้เรียน 4. ครทู กุ คนมกี ารแจ้งผลการวัดและประเมนิ ผลการ  เรียนรูแ้ ก่ผ้เู รยี นได้รบั ทราบ 5. ครูทกุ คนมกี ารนำผลการวัดและประเมินผลการ  เรียนรู้ไปใช้ในการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ รวม 4 1 ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนผลการดำเนินงานทท่ี ำไดต้ ามเกณฑก์ ารพจิ ารณาเทยี บกบั เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไ่ี ด้ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนนิ ได้เป็นไปตามเกณฑ์ 4 คะแนน ดเี ลิศ การพิจารณาจำนวน 4 ขอ้ (3.76-4.38) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 2.4 การวัดและ การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ใน ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ

118 สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษา/ประเดน็ การพิจารณา นำ้ หนกั ผลการประเมินคุณภาพ (คะแนน) คะแนน ระดบั ทไี่ ด้ คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษานอกระบบ ระดบั 50 45.86 ยอดเย่ียม การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 1.1 ผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐานมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนท่ีดี 10 10 ยอดเยย่ี ม สอดคล้องกับหลกั สตู รสถานศึกษา 1.2 ผเู้ รียนการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และ 10 10 ยอดเยี่ยม คณุ ลักษณะทีด่ ตี ามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด 1.3 ผู้เรียนการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานมีความ สามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 5 4 ดเี ลศิ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ และแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ร่วมกับผู้อืน่ 1.4 ผเู้ รยี นการศึกษาขน้ั พื้นฐานมคี วาม สามารถในการสรา้ งสรรค์ 5 5 ยอดเยยี่ ม งาน ชน้ิ งาน หรอื นวตั กรรม 1.5 ผ้เู รียนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานมคี วาม สามารถในการใช้ 4 3.43 ดีเลิศ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 1.6 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ 4 3.35 ดีเลิศ 1.7 ผู้เรียนการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น 4 3.68 ยอดเย่ยี ม 1.8 ผ้จู บการศึกษาขั้นพืน้ ฐานนำความรู้ ทกั ษะพื้นฐานท่ีไดร้ ับไปใช้ 8 6.40 ดีเลิศ หรอื ประยุกตใ์ ช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา 20 17.00 ดีเลศิ ข้นั พ้ืนฐานทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาที่สอดคล้องกับบริบท และ 5 4 ดเี ลิศ ความตอ้ งการของผเู้ รียน ชุมชน ทอ้ งถิน่ 2.2 สอ่ื ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ 5 4 ดีเลศิ 2.3 ครมู คี วามรคู้ วามสามารถในการจัดการเรียนรทู้ ีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ 5 5 ยอดเย่ยี ม 2.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ 5 4 ดเี ลิศ

119 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีคะแนนรวมเท่ากับ 45.86 คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม และในมาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีคะแนนรวมเท่ากับ 17.00 คะแนน อยู่ในระดบั ดเี ลศิ ซึ่งจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน พบว่า สถานศึกษามีจุดเด่น และจุดท่ี ควรพฒั นา ดังนี้ จดุ เด่น 1. สถานศึกษาจัดให้มีโปรแกรมการเรียนท่ีหลากหลายสอดคล้องกับคุณลักษณะและ การประกอบอาชีพของผู้เรียน เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต ยกระดับการทำงาน และการประกอบอาชีพ ของตนเอง หรือต่อยอดการงานอาชีพ ไดแ้ ก่ โปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรบั นักศึกษากลุ่มท่วั ไป โปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับนักศึกษากลุ่มผู้พิการทางสายตา โปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิต สำหรับนักศกึ ษากลุ่มเด็กและเยาวชนในสถานพินิจ 2. สถานศึกษาได้จดั กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพชวี ิตทีห่ ลากหลาย โดยสอดแทรกกระบวนการเรียนรู้ให้ผเู้ รียนเกิดคุณธรรม ดา้ นความสามัคคี ความซ่ือสัตย์ ความมีน้ำใจ ความกตัญญู ขยันหม่ันเพียร มีวินัย มีความสะอาด สุภาพ ประหยัด ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ใฝ่เรียนรู้ มีจิตอาสา ภูมิใจในท้องถิ่น เหน็ คุณค่าของความเปน็ ไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์ วัฒนธรรม ประเพณีไทย รวมทง้ั ภูมิปัญญาไทย สามารถอยู่และทำงานร่วมกับผู้อ่ืนบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ อายุ เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณีได้ โดยปราศจากความขัดแย้ง เพ่ือให้ผู้เรียนอยู่ในครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ และมีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี 3. สถานศึกษามีการส่งเสริมและพัฒนาครูการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างตอเนื่อง ทำให้ครู การศึกษาข้ันพื้นฐาน มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) และความต้องการ ของผู้เรียน เน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา คิดเป็น มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด การตัดสินใจ เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั หรือนำไปประกอบอาชีพได้ จริง โดยใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ ONIE MODEL สามารถจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้แบบโครงงาน สามารถเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับผู้เรียนในยุคดิจิทัล โดยนำ นวตั กรรม ส่ือออนไลน์มาใช้ในหอ้ งเรยี นออนไลน์ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหา วิถีชวี ิต และการทำงานของผู้เรยี นแต่ละคน

120 4. สถานศึกษาได้กำหนดให้โครงงานเป็นส่วนหน่ึงของคะแนนระหว่างภาคเรียน โครงงาน เป็นกิจกรรมทที่ ำให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ ไดด้ ้วยตนเอง จากการลงมอื ปฏิบัติจริง ในลกั ษณะของการศกึ ษา สำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ปฏิบัติ คิดค้น ให้ผู้เรียนเป็นผู้คิดหัวเรื่อง จัดหาข้อมูล ทดลอง สรุปผล เขียน รายงานแสดงผลงาน และนำเสนอผลงาน โดยมคี รูเป็นผู้กระต้นุ แนะนำ และให้คำปรึกษาอยา่ งใกลช้ ิด โครงงานช่วยพัฒนาผู้เรียนด้านการคิดเป็น ทำเป็น แก้ปญั หาเป็น สถานศึกษาได้พัฒนา ครู กศน.ให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการทำโครงงาน ประกอบการจัด กระบวนการเรียนรู้ การเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงผลงานและ แลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกัน 5. สถานศึกษาได้เชิญวิทยากรตรงตามสาขาวิชามาสอนเสริมให้กับผู้เรียนในช่วงปลายภาค เรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เพอ่ื เพมิ่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการศกึ ษาของผู้เรียน 6. สถานศึกษามีการสำรวจข้อมูลพ้ืนฐานของผู้เรียนรายบุคคล เพ่ือนำมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนรายบุคคล รายกลุ่ม ในจัด กระบวนการเรียนร้ทู เ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ทำใหผ้ เู้ รยี นนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั 7. สถานศกึ ษามีการรวบรวม จัดหา หรอื จัดทาํ สื่อการศึกษาที่หลากหลาย ทั้งส่ือสิ่งพิมพ ส่ือ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ แหลงเรียนรู้ ภมู ิปัญญา เพ่อื สงเสริมสนับสนุนการเรยี นรูของผูเรียน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง สอื่ สงั คมออนไลน์ตา่ ง ๆ เชน่ Line Facebook E-book YouTube เปน็ ต้น จุดทีค่ วรพัฒนา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีค่า สงู กว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด แต่ไม่ครบทุกรายวิชา เช่น การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม คณิตศาสตร์ เป็นต้น 2. การประเมนิ ผลหลกั สตู รสถานศกึ ษายังไมไ่ ด้ดำเนินการอย่างครบวงจร 3. การพัฒนาและการประเมินความพึงพอใจสื่อการเรียนรู้ สถานศึกษาดำเนินการแต่ยังไม่ ครบวงจร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำผลการประเมนิ ไปใช้

121 ผลการประเมินคณุ ภาพการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง (เฉพาะมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียนการศกึ ษาตอ่ เนื่อง และมาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้ การศกึ ษาต่อเนือ่ ง) จากการดำเนินงานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง สามารถนำเสนอผล การดำเนินงานตามรายประเด็นการพจิ ารณา ดังนี้ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถและหรือทักษะ และหรือคณุ ธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลกั สูตร (ค่าน้ำหนกั คะแนน 10 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา สถานศึกษาดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบด้วย 1) การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิต 2) การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 3) การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4) การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ 1) กิจกรรมการศึกษาแบบชั้นเรียน วิชาชีพ (31 ชั่วโมงข้ึนไป) 2) กิจกรรมการศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะส้ัน (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) และ 3) กิจกรรมการศึกษา 1 อำเภอ 1 อาชีพ โดยสถานศึกษามีวิธีการดำเนินงานจัดการศึกษา ต่อเนอ่ื ง ดังน้ี 1. ประชุมวางแผน สำรวจกลุ่มเปา้ หมาย 1.1 สำรวจความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายระดบั ตำบล 1.2 นำขอ้ มูลตำบลมาวเิ คราะห์ สังเคราะห์เปน็ แผนจลุ ภาคระดบั ตำบล 1.3 ประชุมชีแ้ จงการดำเนนิ กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ืองตามนโยบายของสำนักงาน กศน. 1.4 จดั ทำแผนการจัดกจิ กรรมเพอื่ ขอความเห็นชอบจากสำนกั งาน กศน.จังหวัดนครปฐม 1.5 แตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนินงาน และผู้รบั ผดิ ชอบ 2. การปฏิบัติตามแผนดำเนินการจัดกิจกรรม โดยออกแบบกิจกรรมการฝึกทักษะอาชีพ การ ฝึกอบรมประชาชน ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ตลาด แรงงาน บริบทของพื้นที่ ในพ้ืนท่ี กศน. ตำบล ท้ัง 16 ตำบล โดยมีการสาธิตและฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะตามเกณฑ์หลักสูตร สามารถนำไปพัฒนาตนเอง หรือสร้างรายได้ พร้อมทั้งสอดแทรกเร่ืองการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง คุณธรรมที่ใช้ในการประกอบอาชพี เชน่ ความซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ความขยนั หม่ันเพียร ความรับผิดชอบต่อ

122 ตนเองและสังคม และการดำเนินการจัดกิจกรรมภายใต้มาตรการป้องกันควบคุมแบบบูรณาการเพื่อ ป้องกันและควบคุมแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อโคโรน่าไวรัส (COVID-19) ของจังหวัดนครปฐมอย่าง เครง่ ครัด เพอื่ ปอ้ งกันการแพร่ระบาดจากการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 3. การตรวจสอบ หรอื ประเมินผล 3.1 วัดและประเมินผล ความรู้ ความสามารถและหรือทักษะและหรือคุณธรรม ให้เป็นไป ตามวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร และเกณฑก์ ารจบหลักสูตร ผู้ทผี่ า่ นเกณฑเ์ ปน็ ผู้จบหลกั สูตร 3.2 สถานศึกษามีการนิเทศติดตามผลในระหว่างจัดกระบวนการเรียนรู้ และหลังเสร็จส้ิน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 3.3 ประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ 3.4 ติดตามการนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ของผู้จบหลักสูตร หลังเสร็จสิ้นการเรียน ภายใน ระยะเวลา 1 เดือน โดยใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ และแบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตร การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 3.5 สรุปรายงานผลการประเมิน และบันทึกข้อมูลในระบบ เพื่อการบริหารจัดการ สำนักงาน กศน. (DMIS 64) 4. การนำผลการประเมนิ มาปรับปรงุ งานตอ่ ไป ผลการดำเนินงานทเี่ กดิ ขนึ้ และร่องรอย หลกั ฐานท่ีเกดิ ข้นึ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคณุ ภาพของสถานศึกษา ประเดน็ การพิจารณาท่ี 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเน่อื งมี ความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร เกณฑ์ การพิจารณา ร้อยละของผจู้ บหลักสตู รการศึกษาต่อเนือ่ ง สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ืองมีความรู้ ความสามารถและหรือทักษะและหรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสตู ร เท่ากับ ร้อยละ 100.00 ดังน้ี

123 ท่ี กจิ กรรม จำนวน จำนวนผู้จบ รอ้ ยละ ผู้เรยี น หลักสตู ร 1 การพัฒนาอาชพี 2 การพัฒนาทกั ษะชวี ติ 836 836 100.00 3 การพัฒนาสังคมและชมุ ชน 4 การจัดการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของ 474 474 100.00 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 386 386 100.00 เฉลี่ย 438 438 100.00 2,134 2,134 100.00 ข้อมลู รอ่ งรอย และหลักฐาน 1. หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง /โครงการ 2. แผนการจดั การเรียนรู้ 3. ข้อมูลจำนวนผู้เรยี นการศึกษาตอ่ เน่ืองเป็นรายหลักสตู ร 4. ผลการวัดและประเมินผลตามหลักสตู รที่กำหนด 5. รายงานผจู้ บหลกั สตู ร 6. รายงานผลการดำเนนิ งานการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งรายหลักสูตร 7. รายงานผลการดำเนนิ งานในระบบ DMIS 8. แบบสงั เกตพฤติกรรมของผเู้ รยี น ตารางเปรียบเทยี บจำนวนผลการดำเนินงานทีท่ ำไดต้ ามเกณฑ์การพจิ ารณาเทียบกบั เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนที่ได้ คะแนนที่ได้ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้ 10 คะแนน ยอดเยยี่ ม เปน็ ไปตามเกณฑก์ ารพิจารณา (8.76 – 10.00) รอ้ ยละ 100.00 ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 1.1 ผู้เรียนการศกึ ษาต่อเน่อื งมี ความรู้ ความสามารถและหรือทักษะและหรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร ได้ 10 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน อยู่ในระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

124 ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกตใ์ ช้ บนฐานค่านิยมรว่ มของสังคม (ค่านำ้ หนักคะแนน 20 คะแนน) กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษา ได้จัดประชุมช้ีแจงแนวทางการดำเนินงานในยุคสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือ ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ให้กับ กศน.ตำบล ท้ัง 16 ตำบล กศน.อำเภอสามพราน จัดทำแผนปฏิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในการจัดกิจกรรรมการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบด้วย การศึกษาเพ่ือ พัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาขอเศรษฐกิจพอเพียง ให้กับประชาชนในพ้ืนที่ท้ัง 16 ตำบล โดย สถานศึกษาจัดกิจกรรม โครงการท่ีสอดคล้องกับความต้องการในยุคสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือ ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) และความจำเป็นของกลุ่มเป้าหมาย เป็นไปตามสภาพบริบทชุมชนสังคมที่มี การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) รวมถึงนโยบายของทางราชการ จัดกระบวนการเรียนรู้ ทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ยดึ หลักความสอดคลอ้ งกับศักยภาพ และความพรอ้ มของผ้เู รยี น ความหลากหลาย ความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย สอดแทรกหลักปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประสานภาคีเครือข่าย ภูมิปัญญาชาวบ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน ให้มามีส่วนร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ กลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงเป็นวิทยากรที่มีความรู้ มีความเช่ียวชาญ และสามารถถ่ายทอดได้เป็นอย่างดี สถานศึกษาดำเนินการวัดและประเมินผลท่ีครอบคลุมความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีสำคัญตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ประเมินความพึงพอใจ โดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายวิธี ได้แก่ ประเมิน จากการสอบถามความรู้ ความเข้าใจ การสังเกตการปฏิบัติในระหว่างการเรียนรู้ ด้านทักษะกระบวนการ มีสว่ นร่วม การให้สาธิต แสดงขนั้ ตอนวิธีการปฏิบัติ การตรวจสอบจากช้ินงาน หรือผลงาน และมีการติดตามผล การนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ของผู้จบหลักสูตร หลังเสร็จส้ินการเรียน ภายในระยะเวลา 1 เดือน โดยใช้แบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ และบันทึก ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจดั การ สำนกั งาน กศน. (DMIS 64) ผลการดำเนินงานท่ีเกิดขน้ึ และรอ่ งรอย หลักฐานท่เี กดิ ข้นึ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง ผลการดำเนินงาน สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ประกอบด้วย กิจกรรมพฒั นาอาชีพ (ไม่เกิน 30 ชัว่ โมง) กิจกรรมชั้นเรยี นวิชาชีพ (31 ช่วั โมงขึน้ ไป) กจิ กรรม 1 อำเภอ 1 อาชีพ กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และ กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องทุก

125 กิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนฐานความ อดทน ความมุ่งมั่นในการทำสง่ิ ใดสิง่ หน่ึง มีความพอเพียง มสี ่วนร่วมรับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผอู้ ่ืนได้เป็น อยา่ งดี และเปน็ ไปตามจดุ มงุ่ หมายหรอื วัตถุประสงค์ของหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง เกณฑ์การพิจารณา 1 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องด้านการพัฒนาอาชีพท่ี สามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ หรือประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชีพ หรือพฒั นาอาชพี ไดบ้ นฐานคา่ นยิ ม ร่วมของสงั คม ได้ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่องสามารถนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสังคม เกณฑ์การพิจารณา 1 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองด้านการพัฒนาอาชีพที่สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือ ประยกุ ตใ์ ช้ในการประกอบอาชีพ หรือพฒั นาอาชีพไดบ้ นฐานคา่ นิยมร่วมของสังคม ได้ สถานศึกษามีผลการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ผูจ้ บหลกั สตู รการศึกษาต่อเนื่องดา้ น การพัฒนาอาชีพที่สามารถนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพได้ บนฐานคา่ นยิ มรว่ มของสังคมได้ เทา่ กบั ร้อยละ 100.00 จำนวนผ้จู บหลกั สตู รที่สามารถนำความรทู้ ่ีได้ไป จำนวน ใช้ ผู้จบ ที่ กิจกรรม หลกั สูตร ต่อยอด เป็น นำไป พฒั นา รอ้ ยละ อาชพี อาชีพ ประกอบ ตนเอง 1 พัฒนาอาชีพ เดิม เสริม อาชพี ครอบครัว รวม (ไม่เกนิ 30 ชั่วโมง) และชุมชน 2 ชันเรยี นวชิ าชีพ (30 526 15 36 475 526 100.00 ชว่ั โมงขึน้ ไป) 232 17 23 192 232 100.00 3 1 อำเภอ 1 อาชีพ 78 7 4 67 78 100.00 เฉลยี่ 100.00

126 เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่อื งดา้ นการพัฒนาทักษะชีวิต ท่สี ามารถนำความรูท้ ไี่ ด้ไปใช้ หรือประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ บนฐานคา่ นิยมรว่ มของสังคม ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษา ต่อเน่ืองสามารถนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสังคม เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละของผู้จบหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่องดา้ นการพัฒนาทกั ษะชีวติ ที่สามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปใช้ หรือ ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ บนฐานค่านิยมรว่ มของสงั คม สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบวา่ ผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ืองดา้ น การพัฒนาทักษะชีวิตที่สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ บนฐานค่านิยม รว่ มของสงั คม เท่ากบั รอ้ ยละ 100.00 ที่ กิจกรรม จำนวนผจู้ บ จำนวนผู้จบหลักสูตรท่สี ามารถนำความรู้ท่ี ร้อยละ 1 การพฒั นาทกั ษะชีวติ หลกั สตู ร ได้ไปใช้พัฒนาตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน 100.00 474 474 100.00 เฉลยี่ เกณฑ์การพิจารณา 3 ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องด้านการพัฒนาสังคมและ ชุมชน ที่สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชน โดยยึดหลักของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสังคม เกณฑ์การพิจารณา 3 ร้อยละของผู้จบหลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ืองด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน ท่สี ามารถนำความร้ไู ปใช้ให้ เปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสงั คมและชุมชน โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการศึกษา ต่อเน่ืองด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน ที่สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม และชุมชน โดยยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เทา่ กบั รอ้ ยละ 100.00

127 ท่ี กิจกรรม จำนวนผ้จู บ จำนวนผ้จู บหลกั สูตรทสี่ ามารถนำ ร้อยละ หลกั สตู ร ความรทู้ ี่ได้ไปใช้พัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน 100.00 1 การพัฒนาสงั คมและชุมชน 386 386 100.00 2 การจดั การเรียนร้ตู ามหลัก 438 438 100.00 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เฉล่ีย ข้อมูล รอ่ งรอยและ หลักฐาน 1. หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนื่อง 2. สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิต 3. สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 4. สรปุ ผลการดำเนนิ งานกิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน 6. ขอ้ มลู หรือรายงานจำนวนผเู้ รยี น รายงานผ้สู ำเร็จการศึกษาตอ่ เน่อื งเปน็ รายหลกั สูตร และภาพรวม 7. ข้อมลู หรอื รายงานผ้เู รยี นทีจ่ บการศึกษาต่อเนื่องท่สี ามารถนำความรูท้ ี่ได้ไปใช้ หรือ ประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตได้ 8. ขอ้ มลู จากระบบฐานข้อมูลเพอ่ื การบริหารจดั การ (DMIS)

128 แสดงผลการดำเนนิ งานทท่ี ำไดต้ ามเกณฑ์การพิจารณา ผลการดำเนนิ งานท่ีทำได้ เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ เกณฑ์การพจิ ารณา การพิจารณา การพิจารณา 1. ร้อยละของผจู้ บหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ืองดา้ นการ 100.00 พัฒนาอาชีพท่สี ามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ หรอื ประยกุ ต์ใชใ้ น การประกอบอาชพี หรือพัฒนาอาชีพได้บนฐานค่านิยมรว่ ม 100.00 ของสงั คม ได้ 2. ร้อยละของผจู้ บหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่องด้านการ 100.00 พัฒนาทกั ษะชวี ิตทีส่ ามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ หรือ ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ บนฐานค่านยิ มรว่ มของสงั คม 100.00 3. รอ้ ยละของผ้จู บหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่องด้านการ พัฒนาสังคมและชมุ ชน ทสี่ ามารถนำความรู้ไปใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อการพฒั นาสังคมและชุมชน โดยยดึ หลกั ของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เฉล่ีย ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนผลการดำเนนิ งานทที่ ำไดต้ ามเกณฑ์การพิจารณาเทียบกับเกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนท่ีได้ คะแนนทีไ่ ด้ เกณฑ์ระดับคุณภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 20.00 ยอดเย่ียม การพจิ ารณา รอ้ ยละ 100.00 (17.51 - 20.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสังคม ได้ 20.00 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม

129 ประเด็นการพิจารณาที่ 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องท่ีนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็น ประจักษ์หรือตวั อย่างทด่ี ี กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษา สถานศึกษาได้จัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง เป็นการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือตอบสนอง ความต้องการ ความจำเป็นในชีวิตประจำวันของผู้เรียน ประกอบไปด้วยกิจกรรมการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมการจัด การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสถานศึกษาสามารถเลือกจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ ต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มสนใจ ชั้นเรียน หรือฝึกอบรม ได้ตามความเหมาะสมของหลักสูตร โดยใช้หลักสูตรจาก แหล่งต่าง ๆ เช่น หลักสูตรกลางที่ สำนักงาน กศน. จัดทำขึ้น หลักสูตรท่ีสถานศึกษาหรือหน่วยงานอ่ืน จัดทำข้ึน หลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทำข้ึนเอง และหลักสูตรต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาดำเนินงานการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ตามคู่มือแนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษา ต่อเน่ือง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2561) โดยสถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ยึดหลัก ความสอดคล้องกับศักยภาพ และความพร้อมของผู้เรียนความหลากกลาย ความแตกต่างของ กลุ่มเป้าหมาย สอดแทรกหลักปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษา ดำเนินการวัดผลและประเมินผลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โครงการ และใช้เครื่องมือท่ี เหมาะสม เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต เกณฑ์การให้คะแนนความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ เป็นไปตาม วตั ถุประสงค์ของหลักสตู รน้ัน ผู้ท่ีผ่านเกณฑ์เป็นผู้จบหลักสูตรตามท่ีกำหนด สถานศึกษาประเมินความพึงพอใจ และติดตามผลการนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ของผู้จบหลักสูตร หลังเสร็จสิ้นการเรียน ภายใน ระยะเวลา 1-2 เดือน โดยใช้แบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง และบันทึกข้อมูลใน ระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ สำนักงาน กศน. (DMIS 63) สถานศึกษานำข้อมูลท่ีได้ไปใช้ใน การวางแผนการดำเนินงานในคร้งั ตอ่ ไป ผลการดำเนนิ งานทเ่ี กดิ ขึ้นและร่องรอย หลักฐานทเ่ี กดิ ขึน้ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษา ตอ่ เนื่องท่นี ำความรไู้ ปใชจ้ นเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างที่ดี เกณฑ์การพิจารณา จำนวนผู้จบการศกึ ษา และ/หรือจำนวนกลุ่มผู้จบการศึกษาการศึกษาต่อเน่ืองที่มีผลการดำเนินงานท่ีเห็นเป็นประจักษ์ในพื้นท่ี หรอื เป็นตัวอย่างทีด่ ี เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนด

130 ในปีงบประมาณ 2564 สถานศึกษาได้กำหนดค่าเป้าหมาย คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีจำนวนผู้ จบการศึกษาและหรือจำนวนกลุ่มผู้จบการศึกษาต่อเน่ืองที่มีผลการดำเนินงานที่เห็นเป็นประจักษ์ในพื้นท่ี หรือเป็นตัวอย่างที่ดี ร้อยละ 2.33 ซงึ่ ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา พบว่า จำนวนผจู้ บการศกึ ษาและ หรือจำนวนกลมุ่ ผู้จบการศึกษาต่อเนื่องท่ีมีผลการดำเนินงานทเ่ี ห็นเป็นประจักษ์ในพ้ืนท่ี หรือเป็นตัวอย่าง ท่ดี ี เท่ากับ รอ้ ยละ 3.86 ซง่ึ สูงกว่าค่าเป้าหมายทกี่ ำหนด ร้อยละ 1.53 ดงั น้ี ที่ กิจกรรม เปา้ หมาย จำนวน จำนวนผจู้ บ รอ้ ยละ ผลการ ปีงบประมาณ ผ้จู บ การศึกษาท่ี เปรยี บเทยี บ เป็นตวั อยา่ ง 2564 การศกึ ษา กบั คา่ ทด่ี ี เป้าหมาย 1 การพฒั นาอาชพี 836 36 4.30 2 การพฒั นาทักษะชีวติ 474 16 3.37 สงู กวา่ 3 การพฒั นาสังคมและชมุ ชน 386 16 4.14 คา่ 4 การจดั การเรียนรู้ตามหลัก 438 16 3.65 เป้าหมาย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทก่ี ำหนด เฉลี่ย 2.33 3.86 สถานศึกษามีตัวอย่างผู้จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่องทม่ี ีผลการดำเนินงานท่ีเห็นเปน็ ประจักษ์ใน พื้นท่ี หรอื เปน็ ตัวอย่างทดี่ ี ดังนี้

131 ตวั อยา่ งผู้จบหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ืองท่ีมผี ลการดำเนินงานที่เหน็ เปน็ ประจักษใ์ นพ้ืนท่ี หรือ เป็นตัวอย่างทดี่ ี ดา้ นการพัฒนาอาชพี ที่ ชือ่ - สกลุ กศน. หลกั สตู ร/ชั่วโมง การนำความรู้ไปใชจ้ นเห็นเป็นประจักษ์ ตำบล หรือตวั อยา่ งทด่ี ี 1 นางสาวกมิ เสียง คลอง พฒั นาอาชีพ นำความร้มู าใชป้ ฏิบตั ิจรงิ ได้โดยการทำแล้วแจก จัน่ เรไร ใหม่ วชิ า การทำนำ้ ให้เพอ่ื นบ้านได้ใช้ได้กนิ สมุนไพร และ การทำแอลกอฮอล์ 2 นางอว้ น พยุง คลอง ชั้นเรียนวชิ าชีพ สามารถเพิ่มรายได้ ทำขายได้ ใหม่ วชิ าการแปรรปู ผลไม้ 3 นางจำเนยี ร คลอง 1 อำเภอ 1 อาชพี เรยี นแล้ว สามารถนำความรทู้ ่ีไดร้ ับมาถ่ายทอด ฉิมพระคุณ ใหม่ วชิ าการทำผ้ามัดย้อม เป็นวิทยากรได้ 4 นางสาวอ้อยทิพย์ หอม พฒั นาอาชีพ นำความร้ทู ่ไี ดไ้ ปประกอบอาชพี เป็นการต่อยอด แก้วสกุล เกรด็ วชิ าอาหาร-ขนม อาชีพเดิม 5 นางประไพ หอม ชน้ั เรยี นวิชาชพี นำไปประกอบอาชีพเสรมิ ให้กับตนเองและใช้ จายะพนั ธ์ุ เกรด็ วิชาการแปรรปู ผลไม้ ประโยชน์ในครอบครวั 6 นางสาวกมลวรรณ ทรง พฒั นาอาชีพ นำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปทำสเปรย์แอลกอออลใ์ ชเ้ อง บวั จีบ คนอง วชิ าการทำสเปรย์ เพอื่ ลดคา่ ใช้จา่ ยและทำแจกเพอ่ื นบา้ นใกล้เคยี ง แอลกอฮอล์ เพอ่ื ลดการตดิ เชอื้ โควิด-19 7 นางสาวระววี รรณ ทรง ชั้นเรียนวิชาชพี นำความร้ไู ปใช้ทำอาหารขนมรบั ประทานเองใน อนิ ทร์แขก คนอง วิชาการทำอาหาร ครอบครวั เปน็ การลดรายจ่ายและปลอดภยั จาก ขนม โรคโควิด-19เพื่อลดการสัมผัสโดยตรงจากร้านค้า 8 นางสาวเพ็ญภา ท่าขา้ ม พฒั นาอาชีพ เป็นการทำความรู้ที่ไดร้ ับในเร่ืองอาชพี ที่เกีย่ วกบั กจิ เจรญิ วชิ าการทำสลัดโรล การทำสลัดโรล กว๋ ยเตี๋ยวลยุ สวน นำมาพฒั นา กว๋ ยเตีย๋ วลยุ สวน ตนเองเพ่ือเพมิ่ การเรียนรู้ได้มากขึ้น 9 นางสาวมาลี ท่าขา้ ม ชั้นเรียนวิชาชีพ เปน็ การนำเอาความรู้ที่ได้รบั ในเรื่องการประดษิ ฐ์ สุดาแก้ว วชิ าการประดิษฐ์ โคมไฟครสิ ตม์ าส มาเสรมิ อาชีพและยงั ทำให้ โคมไฟคริสตม์ าส เกดิ รายไดเ้ สริมให้กบั ครอบครัวอีกด้วย

132 ที่ ชือ่ - สกุล กศน. หลกั สตู ร/ช่ัวโมง การนำความรู้ไปใชจ้ นเห็นเป็นประจกั ษ์ 10 นางธนภรณ์ ตำบล หรือตวั อยา่ งทีด่ ี ปฐมโพธิสกุล กระทุ่ม พัฒนาอาชีพ สามารถนำความรู้และทักษะทไ่ี ดร้ บั ไปปรับใช้ 11 นางสรอ้ ยทิพย์ ลม้ วชิ าผา้ ดน้ มือ ในชีวิตประจำวนั โดยการพัฒนาตนเอง ชมทอง (บ้านหรรษา) ครอบครวั ชมุ ชน สังคม เป็นการลดรายจา่ ย 12 นางนกนอ้ ง เหิมขุนทด และเพิ่มรายได้ในครอบครัว 13 นางสวุ รรณ กระทุ่ม ชน้ั เรียนวิชาชีพ ได้นำความรไู้ ปใชผ้ ลิตสินคา้ ไปขายเพอ่ื สรา้ งรายได้ หวงั ลัดดา ล้ม วิชาผ้าดน้ มอื เสริม และได้รบั รองมาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชน 14 นางวนั เพ็ญ เอ่ยี มภาษี (ศลิ ปะบนผนื ผา้ ) โดยสำนักงานอตุ สาหกรรมจงั หวัดนครปฐม 15 นางมณรี ัตน์ เปน็ การตอ่ ยอดกลมุ่ ในชุมชนใหเ้ ข้มแข็งและ ทรงวนิ ัย ขบั เคล่ือนการสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั สมาชกิ ของกลมุ่ คลอง พฒั นาอาชีพ นำความรู้ไปใช้ในการพฒั นาตนเอง ชว่ ยลด จินดา วิชาการทำนำ้ ยา รายจา่ ยในครอบครัว และ นำไปประกอบอาชีพ อเนกประสงค์ เสริมสร้างรายได้ใหแ้ ก่ครอบครัว โดยทำน้ำยา อเนกประสงคจ์ ำหน่าย คลอง ชน้ั เรยี นวิชาชพี สามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาอาชพี ของ จินดา วชิ าการทำผ้ามัด ตนเอง ชว่ ยลดรายจา่ ยในครอบครัว และ ยอ้ ม สามารถถา่ ยความรูใ้ ห้แก่คนในชุมชนได้ บาง พฒั นาอาชีพ เปน็ ผเู้ รยี นทม่ี ีความต้ังใจเรยี นและนำความรู้ท่ี เตย วชิ าการทำขนม ไดร้ บั ไปประกอบอาชีพสร้างรายได้เสรมิ เปยี กปนู บาง ช้นั เรยี นวชิ าชพี นำความรู้ที่ไดร้ บั ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน และ เตย วชิ าอาหารวา่ ง ประกอบอาชีพสรา้ งรายไดเ้ สริม (กว๋ ยเต๋ียวลยุ สวน สลดั โรล ยำวนุ้ เสน้ โบราณ ชอ่ ม่วงไส้ เคม็ กุยชา่ ย ปั้นสบิ นง่ึ ไส้ปลา)

133 ท่ี ช่อื - สกลุ กศน. หลกั สตู ร/ชว่ั โมง การนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจกั ษ์ ตำบล หรอื ตวั อย่างที่ดี 16 นางณัฐฐกฤตามณฑ์ บาง 1 อำเภอ 1 อาชีพ นำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปถา่ ยทอดต่อเพื่อสร้างองค์ เมอรล์ าเกอร์ เตย วชิ าอาหารไทย ความรู้ โดยเป็นวิทยากรอาหาร-ขนม ตอ่ ไป 17 นางสาวพรวมิ ล ท่า พฒั นาอาชีพ นำความรู้ท่ไี ด้ไปประกอบอาชพี เป็นการต่อยอด วลิ ยั วัฒน์ ตลาด วชิ าอาหารว่าง 1 อาชีพเดิม (ปาท่องโก๋กบั นำ้ เตา้ ห)ู้ 18 นางสาวอารีวรรณ ทา่ ชนั้ เรยี นวิชาชีพ นำไปประกอบอาชีพเสริมให้กับตนเองและใช้ เอกปชั ชา ตลาด วชิ าเบาะรองน่งั ประโยชนใ์ นครอบครวั ขนมปงั 19 นางสาววรรณา ทา่ 1 อำเภอ 1 อาชพี นำไปประกอบอาชีพเสริมใหก้ ับตนเองและผู้อน่ื ชะนาผล ตลาด วิชาอาหาร-ขนม ได้ (ขนมไทย) 20 นางลำเจียก บาง พัฒนาอาชีพ สามารถนำความรู้ท่ีได้รบั จากการฝึกอบรมมา แสงพทิ ักษ์ ชา้ ง วิชาการทำอาหาร พัฒนาผลงานตนเองและทำจนได้ และสามารถ เสรมิ ภมู ิค้มุ กนั เลี้ยง ครอบครัวได้ 21 นางสาวรตั นา บาง ชนั้ เรียนวชิ าชพี สามารถนำความรู้ท่ไี ดร้ ับจากการฝกึ อบรมมา ปานเจริญ ชา้ ง วชิ าผลติ ภัณฑ์จาก พฒั นาผลงานตนเอง ทำไดอ้ ย่างสวยดี คุณภาพ เส้นพลาสติก ดเี ยี่ยมยอ่ ม เปน็ ทีต่ ้องการของคนในชมุ ชน 22 นางสาวสุนิสา ยายชา พัฒนาอาชีพ นำความรู้ไปใช้ในการเย็บหนา้ กากอนามัยให้กับ เมธีกลุ วิชาหนา้ กาก สมาชิกในครอบครวั ช่วยลดรายจ่าย เปน็ จติ อนามยั อาสาร่วมกบั กลมุ่ ทีเ่ รียนวชิ าหน้ากากอนามยั รว่ มกันเย็บหนา้ กากอนามัยแจกจา่ ยให้กบั ประชาชนทว่ั ไปและโรงพยาบาลสง่ เสริม สขุ ภาพตำบลยายชา และนำความรู้ไปชว่ ยสอน ใหก้ บั ผู้ที่ต้องการเรียนรู้

134 ที่ ชอ่ื - สกุล กศน. หลกั สูตร/ช่วั โมง การนำความรู้ไปใช้จนเหน็ เป็นประจักษ์ ตำบล หรือตวั อยา่ งท่ีดี 23 นางชุติกาญจน์ ยายชา ชั้นเรียนวิชาชีพ นำความรไู้ ปใช้ โดยสามารถเรยี นรู้ไดเ้ รว็ มี จ่ันทอง วชิ าผลิตภณั ฑ์จาก ทกั ษะเรื่องงานฝมี ือ งานประดษิ ฐ์ และความคิด เชอื กปอปา่ น ริเริม่ สร้างสรรค์ โดยนำความรูท้ ีไ่ ดไ้ ปประกอบ อาชีพเสริมให้กับตนเองและครอบครวั 24 นางนิรัตน์ เกษศริ ิ สาม พฒั นาอาชีพ นำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั โดยการพฒั นา พราน วิชาการทำสเปรย์ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม เป็นการลด แอลกอฮอล์ รายจ่ายและเพ่ิมรายได้ในครอบครวั 25 นางนภิ า สาม ช้ันเรยี นวชิ าชีพ นำความรู้และทกั ษะที่ได้รับไปปรบั ใช้ใน ต้งั ธรรมากร พราน วชิ าผา้ ด้นมือ (การ ชวี ิตประจำวนั โดยการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ทำกระเปา๋ ผ้าและ ชมุ ชน สงั คม เป็นการลดรายจา่ ยและเพิ่ม หมวก bucket) รายไดใ้ นครอบครัว 26 นางสาวศริ วิ มิ ล ออ้ ม พฒั นาอาชีพ นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปพัฒนาผลงานตนเองและทำจน พิมพท์ อง ใหญ่ วชิ า การทำขนมไทย ขายเพ่ิมรายได้ใหก้ ับครอบครัวได้ 27 นางสิริกลุ อ้อม ชั้นเรียนวชิ าชพี นำความรู้ทไ่ี ด้รับจากการฝึกอบรมมาพัฒนา เอี่ยมสำอางค์ ใหญ่ วิชา การจับจบี ผ้า ผลงานตนเองเพ่ือช่วยเหลือในงานพิธีตา่ งได้ ประดบั โตะ๊ 28 นางรัตนา ออ้ ม 1 อำเภอ 1 อาชีพ นำผลติ ภณั ฑท์ ีท่ ำไปจำหนา่ ยโดยนำเงนิ สว่ น แพรธำรงคก์ ุล ใหญ่ วชิ าการทำ หน่ึงมาเปน็ เงนิ ทุนสำรองในกลมุ่ สว่ นทเ่ี หลือก็ ผลติ ภณั ฑจ์ ากเสน้ นำไปเปน็ รายไดข้ องตวั เองเพื่อพัฒนาตนเอง พลาสติก และครอบครวั ให้ดขี ึ้น 29 นางสาวนฤมล บาง พฒั นาอาชีพ นำไปใชเ้ ป็นกจิ กรรมให้กบั ผูท้ ่ีมาพักในรสี อรท์ นม่ิ อนงค์ กระทึก วิชาผ้าเชด็ หน้างาน และนำชิน้ มาต่อยอดเปน็ สินค้าของตนเอง ปกั มอื 30 นางวาสนา บาง ชัน้ เรียนวิชาชีพ นำความรทู้ ี่ได้รับไปถ่ายทอดให้กบั ชมรม บุญมา กระทึก วิชา เครื่องประดับ ผสู้ ูงอายแุ ก่นกระทกึ ของตำบลบางกระทึก เพื่อ จากผ้าขาวม้า เป็นสินค้าของกลุ่มไว้จำหน่ายอละออกงาน

135 ท่ี ชือ่ - สกุล กศน. หลกั สูตร/ช่วั โมง การนำความรู้ไปใชจ้ นเห็นเป็นประจักษ์ ตำบล หรือตัวอยา่ งทด่ี ี 31 น.ส. ศภุ วดี ตลาด พัฒนาอาชีพ นำความรไู้ ปทำหนา้ กากอนามัยเปน็ อาชีพเสริม ศรสี ำโรง จินดา วชิ าการทำหน้ากาก เพ่อื ลดรายจา่ ยเพ่ิมไดใ้ ห้กบั ตนเองและ อนามยั ครอบครวั พร้อมทำบริจาคให้กบั พระและคนใน ชมุ ชนเพือ่ นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นช่วงระบาดของ โรคโควคิ -19 32 นส.นชุ นาฎ ตลาด ชนั้ เรียนวชิ าชพี นำความรู้ท่ีไดร้ ับไปปรับใช้ในชีวติ ประจำของ ศรเี ชียง จนิ ดา วิชาขนมอบ ตนเอง และเป็นอาชีพเสริมให้กับตนเองเพื่อลด รายจ่าย เพิ่มรายไดใ้ หก้ บั ตนเองเพราะปัจจบุ ัน ประกอบอาชีพคา้ ขาย 33 นางสำเนยี ง ไร่ขงิ พัฒนาอาชีพ นำความรู้ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน ลด อนิ ไรข่ ิง วิชา เฉากว๊ ย รายจา่ ยในครัวเรือน 34 นายวิชยั แสนรกั ไร่ขงิ ชั้นเรียนวชิ าชพี นำความรูไ้ ปใช้ในการประกอบอาชีพเสริม เพ่มิ วชิ า ตัดผมชาย 2 รายได้ให้กับตนเองและครอบครวั 35 นางสาววนิ ทศั น์ บ้าน พฒั นาอาชีพ นำความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการ ลมิ้ รักษา ใหม่ วชิ า การทำเจล ปอ้ งกนั โรคโควิด 19 ได้ แอลกอฮอลล์ า้ งมือ 36 นางอาจารยี ์ บา้ น ช้นั เรยี นวิชาชพี นำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดอาชีพเดิม และ ชวรตั นอ์ นันท์ ใหม่ ช่างตัดผมชาย พฒั นาตนเองและครอบครัว

136 ตวั อย่างผจู้ บหลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่ืองท่ีมผี ลการดำเนนิ งานท่ีเหน็ เปน็ ประจักษใ์ นพ้ืนที่ หรอื เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดี ด้านการพฒั นาทกั ษะชีวติ ท่ี ชอ่ื - สกลุ กศน. หลักสตู ร/โครงการ การนำความรู้ไปใชจ้ นเหน็ เป็นประจักษ์ ตำบล หรอื ตัวอยา่ งที่ดี 1 นางรัมภา หอม โครงการส่งเสริมสขุ สามารถนำความรู้ไปปฏบิ ตั กิ ับผู้ท่เี กดิ ความ สงค์ทุ่ง เกรด็ ภาวะจิตเพ่อื ป้องกนั วติ กกังวล มคี วามเครียดโดยนำไปสอนต่อ โรคซมึ เศรา้ กบั ผ้ทู ต่ี อ้ งดแู ลผปู้ ่วยและผ้สู งู อายุ 2 นางอ้วน พยุง คลอง รรู้ ักษ์สุขภาพใส่ใจ นำความรู้ทีไ่ ดร้ ับมาปฏิบัติกับตนเองและ ใหม่ ผสู้ ูงอายุ ถา่ ยทอดใหก้ ับผู้อน่ื ได้ 3 นางปราณี ทรง โครงการส่งเสริมสุข สามารถนำความรู้ไปใช้กับตนเองและ อยู่วฒั นธรรม คนอง ภาวะท่ีดแี ละ ครอบครัวทั้งสามารถถา่ ยทอดใหผ้ ู้อน่ื ได้รับ สนุ ทรยี ภาพ ความรดู้ ว้ ยเชน่ กัน 4 นางอรุณี ทา่ ข้าม โครงการรู้รกั ษ์สุขภาพ เปน็ การนำเอาความรู้ไปประยุคใชใ้ นชวี ติ ประจำ แซ่เตยี ว ใส่ใจผู้สูงอายุ ในเรอ่ื งของการป้องกนั โรคระบาดที่เกดิ ขนึ้ 5 นางประจบ กระทุ่ม โครงการส่งเสริม นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั และ พุทธศรี ลม้ สุขภาพและสุขภาวะ ส่งเสริมสุขภาพของตนเอง ดา้ นการออกกำลัง อนามยั ตำบล กายดว้ ยการเตน้ แอโรบคิ และการเป็นจติ อาสา กระทุ่มล้ม เข้ารว่ มกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนตามความ เหมาะสมของสภาพรา่ งกายของตนเอง 6 นางชูศรี คลอง โครงการสง่ เสริมสุข นำความรู้ไปทำเจลแอลกอฮอล์ลไว้ใชใ้ น พึง่ พิทักษ์ จนิ ดา ภาวะอนามยั ผู้สงู วยั การรักษาสุขภาพอนามยั และสามารถถ่าย และการป้องกนั โรค ความรูใ้ ห้แก่คนในชุมชนได้ 7 นายธนั วา บาง โครงการส่งเสรมิ ผสู้ ูงวยั ใส่ นำความรู้ในไปใชก้ ารช่วย เหลอื สงั คม และ เช้ือวงษ์ เตย ใจสขุ ภาพตำบลบางเตย ช่วยเหลอื ผูส้ งู อายุในงานที่ตนเองรับผดิ ชอบ 8 นางบุญยงค์ ท่า โครงการส่งเสริมดูแล นำความรไู้ ปปฏิบัติกบั ผทู้ ่เี กิดความวิตก สุขสเุ มฆ ตลาด สุขภาวะและสุขอนามัย กังวล มีความเครียดโดยนำไปสอนตอ่ กับผ้ทู ่ี ของตนเอง ออกกำลังกายและผ้สู งู อายุ

137 ที่ ชื่อ - สกลุ กศน. หลกั สตู ร/โครงการ การนำความรู้ไปใช้จนเหน็ เป็นประจกั ษ์ ตำบล หรือตัวอย่างทีด่ ี 9 นายนเิ วศน์ บาง โครงการผสู้ งู อายุ นำความรู้ทีไ่ ด้รบั จากการฝึกอบรมนำความรู้ บวั เกษร ช้าง สูงวัยยงั มีคณุ ค่า ทไ่ี ดร้ บั ใช้ไปปรบั ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม 10 นางสาวนชุ จรี กศน. โครงการส่งเสรมิ สขุ นำความรู้ทไ่ี ด้นำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ แซเ่ ตียว ตำบล ภาวะผสู้ งู อายุจิต ประจำวนั และส่งเสรมิ สขุ ภาพของตนเอง ยายชา แจ่มใส ร่างกาย และดแู ลคนในครอบครวั และการเปน็ จิต แขง็ แรง อาสาเข้าร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ในชมุ ชนตาม ความเหมาะสมของสภาพร่างกายของตนเอง 11 นายร่งุ เรอื ง สาม โครงการสง่ เสรมิ นำความรู้ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและ เย็นสบาย พราน สขุ ภาพและสุขภาวะ ส่งเสริมสุขภาพของตนเอง ด้านการออกกำลัง อนามัยชุมชนตำบล กายด้วยการเตน้ แอโรบิค และการเปน็ จติ อาสา สามพราน เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนตามความ เหมาะสมของสภาพร่างกายของตนเอง 12 นายพรพงศ์ อ้อม โครงการสร้างเสริม นำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาสุขภาพอนามัยของ คุนินทกุล ใหญ่ ภูมคิ ุ้มกนั เพ่อื สังคมอยู่ ตนเองและครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ดีมีสขุ ขน้ึ 13 นางสุจรติ รา บาง จิตแจม่ ใสเปิดหัวใจ สามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั และ สระแกว้ กระทึก ผู้สูงอายุ สามารถนำไปเผยแพร่ให้กบั ผู้สงู อายใุ น ชมรมแก่นกระทึก ตำบลบางกระทึกได้อย่าง มแี บบแผนและขั้นตอนทีด่ ี 14 นางอำพร ตลาด โครงการส่งเสริมสขุ ภาพ นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ อนิ แหยม จินดา และสุขภาวะอนามยั ประจำวนั ของตนเองครอบครัวและชมุ ชนได้ ของตำบลตลาดจนิ ดา 15 นางทองสร ไร่ขงิ โครงการเสริมสรา้ ง นำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปใชใ้ นการดแู ลตนเอง ทวที รัพยน์ วกุล ศกั ยภาพผู้สงู อายุ ท้งั สขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ดแู ลคนใน ห่วงใยสขุ ภาพ ครอบครวั และยงั สามารถนำไปเผยแพร่ ให้กับเพ่ือนบา้ นใกล้เคยี งได้อีกดว้ ย

138 ที่ ช่อื - สกุล กศน. หลกั สูตร/โครงการ การนำความรู้ไปใช้จนเหน็ เป็นประจักษ์ 16 นางดารณี ตำบล หรือตัวอยา่ งทด่ี ี ปัน้ ทองคำ บา้ น โครงการผู้สูงอายุสุข นำความรู้ทีไ่ ด้ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวันเก่ียวกับ ใหม่ กายสบายชวี ี วิธกี ารดแู ลสขุ ภาพเบือ้ งต้นและดแู ลสขุ ภาพจติ โรคตดิ ต่อและโรคไม่ติดตอ่ อาหารต้านโรคและ การกินอยู่ การออกกำลงั กายของผสู้ งู อายุให้ถูกวิธี ตัวอย่างผู้จบหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนื่องท่ีมีผลการดำเนินงานทเ่ี ห็นเป็นประจักษใ์ นพื้นท่ี หรอื เป็นตัวอย่างท่ดี ี ด้านการพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ที่ ชอื่ - สกุล กศน. หลกั สตู ร/โครงการ การนำความรู้ไปใชจ้ นเหน็ เป็นประจักษ์ ตำบล หรอื ตวั อย่างที่ดี 1 นางรตั ติกร หอม โครงการอนรุ ักษ์ นำไปใชใ้ นการทำให้นำ้ ในบอ่ เลยี้ งปลาใส บุญอ่ิมยิง่ เกร็ด ส่ิงแวดลอ้ ม แมน่ ำ้ สะอาด ไม่มีกลิน่ รบกวน น้ำทิ้งในครวั เรอื น ลำคลองใสสะอาด ใสสะอาดกอ่ นทิ้งลงสูท่ ่อระบายนำ้ 2 นางมยรุ ี ขุนทรง คลอง พลังงานทดแทน สามารถผลิตแล้วนำมาใชเ้ องได้ ใหม่ ไบโอดีเซล 3 นางปราณี ทรง โครงการคลองสวย นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้ในสวนของตนเองและ เหรียญประยรู คนอง น้ำใสการปรบั สภาพ แนะนำเพอ่ื นบ้านถงึ ประโยชนข์ องการ นำ้ เสียดว้ ย EM ball บำบดั น้ำเสียด้วย EM ball เพือ่ ต.ทรงคนอง สภาพแวดลอ้ มท่ีดี 4 นางธนภร พ่ึงเสอื ท่าข้าม โครงการพลงั งาน นำความรู้ทไ่ี ด้ไปทดลองทำใช้เองทบ่ี ้าน ทดแทนไบโอดเี ซล เพื่อให้เกิดประโยน์ต่อการใชง้ านของเครื่องวิดน้ำ 5 นางสาวนฤนารท กระทุ่ม โครงการสง่ เสรมิ นำความรู้ที่ไดไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั กาญจนารกั ษ์ ล้ม คณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตร เกี่ยวกบั การทำต้อู บพลังงานแสงอาทติ ย์ เพอ่ื ชว่ ย กับส่งิ แวดล้อม ลดมลภาวะและเป็นการประหยัดค่าใชจ้ ่ายการ จดั การขยะและการคัดแยกขยะทบ่ี า้ นและนำไป พฒั นาชุมชนของตนเอง

139 ที่ ชอื่ - สกุล กศน. หลักสตู ร/โครงการ การนำความรู้ไปใช้จนเหน็ เป็นประจักษ์ 6 นายจารเุ กยี รติ ตำบล หรอื ตัวอย่างที่ดี มกรเสน คลอง โครงการพฒั นาสินคา้ นำความรกู้ ารใชเ้ ทคโนโลยีการออกแบบมา 7 นางสาวสกุณา ปโู่ ฉด จินดา และเทคโนโลยี ประยกุ ต์ ใช้ในการพัฒนาสินคา้ และ 8 นางจริ าพร การออกแบบ แกป้ ญั หาในการประกอบอาชีพของตนเองได้ ปัญญาผล อย่างเหมาะสม และสามารถถ่ายความรู้ใหแ้ ก่ 9 นายวโิ รจน์ เลย้ี งรักษา คนในชุมชนได้ 10 นางลดั ดา บาง โครงการคลองสวยน้ำ นำความรู้ท่ไี ด้รับไปปรบั ใช้สรา้ งถังดักไขมัน โสมะภรี ์ เตย ใส ใสใ่ จสงิ่ แวดล้อม ใชใ้ นบ้าน เพอ่ื ลดการปล่อยของเสยี ลงสู่ 11 นางสาวสภุ าพร วารี ตำบลบางเตย แมน่ ้ำ 12 นายเสรี ทา่ โครงการ นำไปใชใ้ นการพัฒนาคลองให้สวยสะอาด ชนุ ถนอม ตลาด คลองสวยน้ำใส ไม่มีกล่ินนรบกวน นำ้ ท้งิ ในครัวเรอื นใส สะอาดก่อนทิง้ ลงสทู่ ่อระบายนำ้ บาง โครงการคลองสวย นำความรทู้ ี่ไดร้ บั จากการฝกึ อบรมนำ ชา้ ง นำ้ ใส การปรบั สภาพ ความรทู้ ่ีไดร้ บั ใชไ้ ปปรับใช้อย่างเหมาะสม นำ้ เสยี ด้วย EM ball ยายชา โครงการประชาชนรว่ ม นำความร้จู ากการเขา้ อบรมเกีย่ วกับการดูแล ใจคดั แยกขยะใน จัดการและคัดแยกขยะภายในครัวเรือน ก่อน ครัวเรอื น นำไปทง้ิ แยกขยะทย่ี งั มีประโยชน์มาเพ่มิ มูลคา่ เพอ่ื ลดปรมิ าณขยะที่เกดิ ข้นึ ภายในชุมชน สาม โครงการคลองสวยนำ้ นำความรจู้ ากการเข้ารับการอบรมไปประยกุ ต์ ใช้ พราน ใส ใส่ใจสง่ิ แวดล้อม ในชีวติ ประจำวันเกย่ี วกับการดูแลรกั ษาแม่น้ำ ลำคลองในชมุ ชนให้สะอาดปราศจากมลพษิ และนำไปพัฒนาชมุ ชนของตนเอง อ้อม โครงการคลองสวยน้ำ นำความรทู้ ี่ได้รบั จากการฝึกอบรมมา ใหญ่ ใส การปรับสภาพน้ำ พัฒนาผลงานตนเองและทำจนสามารถ เสยี ดว้ ย EM ball นำมาใช้ประโยชนใ์ นชุมชนและครอบครวั ตำบลออ้ มใหญ่ ได้

140 ที่ ชื่อ - สกุล กศน. หลักสตู ร/โครงการ การนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ 13 นางสาวชฎา ตำบล หรอื ตวั อย่างทีด่ ี ไม้สน บาง โครงการชมุ ชนร่วมใจ นำความรทู้ ่ีไดไ้ ปใชใ้ นการนำขยะมาใช้เกดิ 14 น.ส.เดอื นเพ็ญ แจง้ เวหา กระทึก ใช้พลงั งานทดแทน ประโยชน์เพอ่ื ดูแลสง่ิ แวดล้อมและพัฒนา 15 นางสาวยนิ ดี ตอ่ ยอดให้กบั ชมุ ชนท่ีตนเองดูแล ลดควนั ห่อแปน้ จากขยะ และใช้พลงั งานจากธรรมชาติมากขึ้น 16 นายธนาวฒั น์ กจิ สกุล ตลาด โครงการเสรมิ สรา้ ง นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันเก่ียวกบั จินดา คุณภาพชวี ิต ที่เป็นมติ ร การอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและการทำตอู้ บ กับส่งิ แวดล้อม พลงั งานแสงอาทติ ย์ไปใช้ในครัวเรือนของ ตนเอง และสามารถถ่ายทอดความรูใ้ หก้ ับ ชมุ ชนได้ ไรข่ งิ โครงการส่งเสรมิ ผู้เรยี นเปน็ ผยู้ ึดม่ันในระบอบประชาธปิ ไตย ประชาธิปไตย สร้าง ดำเนินชวี ิตตามกฎ ระเบยี บของสงั คม สังคมนา่ อยู่ ชว่ ยเหลอื และส่งเสริม ประชาสมั พนั ธ์ การเลอื กตง้ั ตามระบอบประชาธิปไตย บา้ น โครงการชมุ ชนสะอาด นำความรู้จากการเขา้ อบรมเก่ียวกับความรู้ ใหม่ ด้วยการจัดการขยะ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะ และการ จัดการขยะท่ถี ูกต้อง ฝกึ ปฏบิ ัติการนำขยะ หรอื วัสดุเหลอื ใชม้ าประดษิ ฐ์เป็นชน้ิ งานได้