Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Published by Suvalai S, 2021-11-12 05:54:59

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Keywords: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Search

Read the Text Version

141 ตวั อย่างผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ืองที่มีผลการดำเนนิ งานท่เี ห็นเป็นประจักษใ์ นพนื้ ที่ หรอื เปน็ ตัวอย่างที่ดี ดา้ นการจดั การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาชองเศรษฐกจิ พอเพียง ท่ี ช่ือ - สกุล กศน. หลักสูตร/โครงการ การนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจกั ษ์ 1 นางประไพร ตำบล หรอื ตวั อยา่ งทดี่ ี จายะพันธุ์ หอม โครงการเล้ียงไก่ไข่ นำความรู้ท่ไี ด้รับไปใช้กับตนเองโดยการ 2 นางสำเรงิ เอ่ยี มสะอาด เกรด็ แบบพอเพียง เลีย้ งไก่ไขท่ ำใหป้ ระหยัดค่าใช้จา่ ยบางสว่ น 3 นางสาววารินทร์ ลงได้เหลือกนิ ในครวั เรือนสามารถขายได้ ยาวศริ ิ คลอง โครงการเรยี นรู้หลกั นำความร้ทู ไ่ี ดร้ ับมาถา่ ยกับคนใน 4 นางสาววรรณี กจิ เจรญิ ใหม่ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ครอบครัวและนำเอาพืชทีเ่ ปน็ ท่นี ิยมใน 5 นายสุชาติ พอเพยี งการปลกู พืช ขณะนี้มาปลกู ขยายพันธุแ์ ละนำมา ธรรมทวที รัพย์ เศรษฐกิจ จำหนา่ ยจ่ายแจกให้กับคนทสี่ นใจต้องการ 6 นายปณิธาน นลิ จินดา ทรง โครงการเศรษฐกิจพอเพียง นำความรูท้ ี่ไดร้ บั ไปใชก้ บั ตนเองและ คนอง เพื่อการเกษตรทีพ่ ่ึงพา ครัวเรือนเพื่อลดรายจา่ ยเพิม่ รายได้ ท่าข้าม โครงการส่งเสริม นำความรู้ท่ีได้ไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน ครอบครัวเศรษฐกจิ เพอ่ื ให้รู้จักและคำนงึ ถงึ ความพอประมาณ พอเพยี ง ความมีเหตผุ ล การสรา้ งภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัวเอง ได้อย่างดี และยังสามารถไปพฒั นาเกี่ยวกบั การลดรายจ่าย เพ่มิ รายได้ให้กับครอบครวั กระทุ่ม โครงการปลกู สมุนไพร ได้นำความรู้เก่ยี วกับการเกษตรทฤษฎใี หม่ ล้ม ตา้ นภัยโควิด 19 เกษตรธรรมชาตแิ ละเกษตรอินทรีย์การปลกู พชื สมุนไพร การทำนำ้ ขงิ น้ำกระชาย ท่เี ขา้ รวมโครงการไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน และการประกอบอาชีพของตนเอง คลอง โครงการส่งเสริมการ นำความรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ จนิ ดา เรียนรู้ส่วู ิถีชีวติ พอเพยี งไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รจู้ ัก เศรษฐกิจพอเพียง การวางแผนการใชจ้ ่ายในครอบครัว และ นำความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบ อาชพี ทำใหม้ รี ายไดเ้ พ่ิมข้นึ

142 ที่ ชื่อ - สกลุ กศน. หลักสตู ร/โครงการ การนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ 7 นายนาวนิ สุขราช ตำบล หรือตวั อยา่ งท่ีดี 8 นางกนกพร รงุ่ โรจนช์ ยั กุล บาง โครงการปลูกผักสมุนไพร นำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปปรบั ใช้การปลูกพชื 9 นางมานดิ า เตย แบบพอเพยี งตา้ นโควิด สมนุ ไพรท่มี ฤี ทธ์ติ า้ นเช้อื ไวรัส แกห้ วดั ไว้ พันธ์ณวงศ์ 19 ตำบลบางเตย บริโภคเองในบ้านและแจกจ่ายเพือ่ นบา้ น 10 นายอภิศกั ดิ์ มปี ระเสริฐ ทา่ โครงการ สง่ เสริม นำความรู้ท่ไี ด้รับไปใชก้ ับตนเองโดย 11 นางสาววนั วสิ า ตลาด ครอบครวั ด้วย การปลูกผกั สวนครวั ไว้กินเองทำให้ แสนเวยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง ประหยัดค่าใชจ้ ่ายบางส่วนลงไดเ้ หลอื กิน 12 นางสาวจิณณา อรณุ ชยั ในครัวเรือนสามารถขายได้ บาง โครงการปลกู พืช นำความร้ทู ี่ไดร้ ับจากการฝกึ อบรมนำ ช้าง สมนุ ไพรพน้ื บ้าน ความรทู้ ไี่ ด้รบั ใช้ไปปรบั ใช้อย่างเหมาะสม ต้านภัย COVID-19 ยายชา โครงการเศรษฐกจิ นำความรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือชมุ ชนกินดี พอเพยี งไปปฏิบตั ิหรอื ประยุกตใ์ ช้ใน มีสุข ชวี ิตประจำวนั โดยใช้ชวี ิตอยา่ งพอเพียงไม่ ฟุม่ เฟอื ย รจู้ ักวิธกี ารออมเงนิ โดยการจด บนั ทกึ คา่ ใช้จา่ ย มเี งินออมฝากธนาคาร และใชค้ วามรูท้ ี่ได้รบั ปลูกพชื ผกั สวนครัว ลดต้นทุนค่าใชจ้ า่ ยของอาชีพลดคา่ ใชจ้ ่าย ในครวั เรอื น สาม โครงการเกษตรอินทรยี ์ นำความรเู้ กี่ยวกบั การเกษตรทฤษฎีใหม่ พราน เพอ่ื ชวี ิตพอเพียง เกษตรธรรมชาตแิ ละเกษตรอินทรีย์ และ การผลติ ปุย๋ ไสเ้ ดือนดนิ และนำความรไู้ ป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั และการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมของตนเอง อ้อม โครงการเศรษฐกิจ นำความรู้ทไี่ ดร้ บั มาพฒั นาผลงานตนเอง ใหญ่ พอเพียงเพื่อการเกษตร และทำจนขายเพ่ิมรายได้ให้กับครอบครัว ที่พึ่งพาตนเองตำบล ได้ ออ้ มใหญ่

143 ท่ี ชื่อ - สกุล กศน. หลักสตู ร/โครงการ การนำความรู้ไปใชจ้ นเห็นเป็นประจักษ์ ตำบล หรอื ตวั อยา่ งทดี่ ี 13 นายศรญั ยู กก๊ เกยี๊ ก บาง ปลกู พืชสมนุ ไพรต้าน นำความรู้การปลูกฟ้าทลายโจร ไปเพาะต้น กระทึก โควดิ -19 อย่างต่อเนอ่ื ง และแจกใหก้ ับชุมชนเพ่ือ เปน็ การสรา้ งภมู คิ ุ้มกันทางสงั คม รวมทง้ั ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการดำรงชวี ิตของ ตนเองให้อยบู่ นพ้นื ฐานของความพอเพียง และมกี ารเชอื่ มโยงสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนร้ดู ้วยวถิ พี อเพียง 14 น.ส.ซ่อนกลิน่ ตลาด โครงการเกษตรอนิ ทรีย์ ได้นำความรเู้ กย่ี วกบั การเกษตรทฤษฎใี หม่ อรุณรตั น์ จนิ ดา เพอ่ื ชีวติ พอเพียง เกษตรธรรมชาตแิ ละเกษตรอินทรยี ก์ ารทำ ปุ๋ยหมักชวี ภาพและการทำยาฆ่าหญา้ จาก สมนุ ไพร ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน และอาชีพเกษตรกรรมของตนเองและ ครอบครัวได้ 15 นางสาวสงิ หา ศรคี ำ กศน. โครงการปลกู ผกั ปลอด นำความรไู้ ปใชใ้ นการปลูกผักและสมุนไพร ตำบล สารและสมนุ ไพร ต้าน รบั ประทานเอง ในสถานการณ์ทีท่ ุกคน ไรช่ ิง Covid ตอ้ งดแู ลตนเองใหป้ ลอดภยั จากCovid-19 16 นางศิริลกั ณษ์ ชูศริ ิ บา้ น โครงการปลูกพชื นำความรเู้ กี่ยวกับการดำเนินชวี ิตตามหลัก ใหม่ สมุนไพร สู้ภยั โควิด ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เกษตรทฤษฎี ใหม่การเกษตรธรรมชาตแิ ละการเกษตร อนิ ทรยี ์ และการปลกู พืชสมนุ ไพร ไปปรับ ใช้ในชีวิตประจำวัน

144 ข้อมูล รอ่ งรอย และหลักฐาน 1. หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง 2. สรปุ ผลการดำเนินงานกิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต 3. สรปุ ผลการดำเนนิ งานกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน 4. สรปุ ผลการดำเนินงานกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน 6. ข้อมูลจำนวนผเู้ รียนการศึกษาต่อเน่อื ง เปน็ รายหลกั สูตร 7. ข้อมูลหรือรายงานผู้จบการศกึ ษาต่อเนื่องเป็นรายหลักสูตร 8. ข้อมูล หรอื รายงานผเู้ รยี นทจ่ี บการศึกษาต่อเน่ืองที่สามารถนำความร้ทู ่ีได้ไปใช้ หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชวี ิตได้ 9. ข้อมลู จากฐานระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ DMIS ตารางเปรียบเทียบผลการดำเนินงานทที่ ำไดต้ ามเกณฑก์ ารพิจารณาเทยี บกับเกณฑร์ ะดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนที่ได้ คะแนนท่ีได้ เกณฑ์ระดบั คุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 16 คะแนน ดเี ลิศ การพจิ ารณา สงู กว่าค่าเป้าหมาย รอ้ ยละ 1.53 (15.01-17.50) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่องทน่ี ำความรู้ไปใช้จนเห็นเปน็ ประจักษ์หรือตัวอยา่ งทีด่ ี ได้ 16 คะแนน จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ

145 มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพของการจัดการเรียนรกู้ ารศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.1 หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองมีคุณภาพ (ค่าน้ำหนักคะแนน 4 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาไดม้ ีการจัดการศึกษาต่อเนื่องให้กบั ประชาชนท่ัวไปทุกกลุ่ม ทุกวยั ในยุคสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ในพื้นที่อำเภอสามพรานทุกรูปแบบ สถานศึกษาได้ พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับยุคสถานการณ์ เช่น การทำน้ำสมุนไพรต้านโควิด การปลูกสมุนไพร ต้านโควิด 19 การทำหน้ากากอนามัย และเจลแอลกอฮอล์ เพื่อให้ประชาชนในพ้ืนท่ีได้เรียนรู้ในส่ิงที่ สอดคล้องกับความต้องการ ด้านการพัฒนาอาชีพ ด้านพัฒนาทักษะชีวติ ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน รวมถึงการจัดการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีวิธีและการจัดการศึกษาต่อเนื่อง 4 รปู แบบ คือ 1) รูปแบบกลุ่มสนใจ เปน็ การจัดกิจกรรมเรยี นรู้ให้กบั ผเู้ รียนทมี่ ีการรวบรวมกลุ่มต้ังแต่ 6 คน ขึ้นไป ดังน้ี 1.1) จัดกิจกรรมตามความต้องการและความสนใจท่ีมีการรวบรวมกลุ่มของผู้เรียน โดยจัด หลักสูตรไม่เกิน 30 ชั่วโมง 1.2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามภารกิจ โดยจัดหลักสูตรไม่เกิน 6 ชั่วโมง 2) รูปแบบชัน้ เรยี นวิชาชีพ เป็นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้แกผ่ ้เู รยี นต้ังแต่ 11 คนขึ้นไป โดยจดั หลกั สูตร ตั้งแต่ 31 ช่ัวโมงข้ึนไป 3) รูปแบบกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นการอบรม การศึกษาดูงาน 4) รูปแบบ การเรียนรู้รายบุคคล เป็นการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคลใดบุคคลหนึ่งท่ีต้องการเรียนรู้ในหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่อง วิธแี ละการจัดการศึกษาต่อเนอื่ ง ทั้ง 4 รปู แบบนเี้ ปน็ การจัดการศึกษาตอ่ เนอื่ งท่ีนำไปสู่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพ้ืนที่ อย่างรอบคอบ และเต็มระบบ ตามมาตรการของ ศูนยป์ ฏบิ ัติการ ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด 19 กำหนด สถานศึกษามีกระบวนการในการจัดหา/จัดทำ/พัฒนาหลักสูตร ดังน้ี 1) ศึกษาสภาพบริบท หรือ ความต้องการ หรือความจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายในชุมชนสังคม และนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด 2) สถานศึกษาจัดหา/จัดทำ/พัฒนาหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน โดยทุกหลักสูตรมี องค์ประกอบสำคัญ ดังนี้ ความเป็นมา จุดมุ่งหมายหรอื วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา โครงสรา้ ง หลักสูตร สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล และเกณฑ์การจบหลักสูตร 3) เสนอผู้บริหาร สถานศึกษาอนุมัติหลักสูตร และเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบหลักสูตร 4) ครู กศน. ตำบลร่วมกับวิทยากร วิเคราะห์ผู้เรียนเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน และเป้าหมายท่ีผู้เรียนต้องการ ออกแบบ การจัดกระบวนการเรียนรู้ และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 5) ครู กศน.จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น

146 สำคัญ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ 6) สถานศึกษาได้มีการประเมินหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องในทุก กจิ กรรม/โครงการ โดยประเมนิ ความพึงพอใจ ด้วยการสอบถาม สัมภาษณ์ ติดตามผู้เรียนหรอื ผู้รบั บรกิ าร ด้านการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ พร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรม/โครงการ และสถานศึกษาได้ แต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงประกอบไปด้วย ผบู้ ริหาร ข้าราชการ และครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาได้ นิเทศติดตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง โดยการสังเกต ซักถาม พูดคุย สัมภาษณ์ วิทยากร ผู้เรียนหรือ ผู้เข้ารับการอบรม แล้วได้ให้ข้อนิเทศ ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน จัดทำสรุปผลการนิเทศ เพื่อเป็น ขอ้ มูลในการปรับปรงุ พัฒนาการใช้หลักสูตรให้สอดคลอ้ ง เหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ ต่อไป ผลการดำเนนิ งานท่ีเกดิ ข้ึนและรอ่ งรอย หลักฐานที่เกดิ ขึ้น จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง 1. สถานศึกษาได้รวบรวมหลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่องทุกกิจกรรมในปงี บประมาณ 2564 โดยทุก หลักสูตรมีองค์ประกอบสำคัญครบถ้วน ได้รับการอนุมัติหลกั สูตรจากผู้บรหิ ารสถานศึกษา และผ่านความ เหน็ ชอบจากเสนอคณะกรรมการสถานศกึ ษา 2. ข้อมูลสภาพบริบท หรือความต้องการ หรือความจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน สังคม และเป็นไปตามนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ในหวั ขอ้ ความเปน็ มาของหลกั สูตร 3. ข้อมูลความเห็นชอบ หรืออนุมัติ เช่น บันทึกข้อความหรือหนังสือท่ีเก่ียวข้องกับการให้ ความเหน็ ชอบคณะกรรมการสถานศึกษา 4. ร่องรอย หลักฐานท่ีแสดงให้เห็นถงึ การอนุมัติใช้หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่องของสถานศึกษาใน เล่มหลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่อื ง

147 ตารางแสดงผลการดำเนินงานที่ทำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณา การดำเนินการ คะแนน เกณฑ์การพจิ ารณา มี ไมม่ ี ทุกหลกั สูตร ไมค่ รบทกุ (1 คะแนน) หลักสตู ร (0.5 คะแนน) 1. สถานศึกษามีการศกึ ษาสภาพบริบท หรอื ความต้องการ หรือความจำเป็นของกล่มุ เปา้ หมายในชมุ ชน สงั คม และ นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลใน  -  - การจัดหา หรอื จัดทำ หรอื พัฒฒนาหลักสตู รการศึกาต่อเนื่อง ทุกหลกั สตู ร 2. สถานศกึ ษามกี ารจดั หา หรือจัดทำ หรอื พฒั นาหลกั สูตร การศึกษาต่อเนื่องทุกหลกั สูตรที่มีองค์ประกอบสำคญั ครบถ้วน ซึ่งอย่างนอ้ ยต้องประกอบดว้ ย ความเปน็ มา -  - จุดมงุ่ หมายหรอื วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา โครงสร้างหลักสูตร ส่อื การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล และเกณฑ์การจบหลกั สูตร 3. สถานศึกษาเสนอหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องทุกหลักสูตร ให้ คณะกรรมการสถานศกึ ษาพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ และอนมุ ัติใช้  -  - โดยผ้บู ริหารสถานศกึ ษากอ่ นนำไปใช้จดั กระบวนการเรียนรู้ 4. สถานศกึ ษามีการทบทวน หรอื ตรวจสอบ หรือประเมินการ ใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาต่อเน่ืองทกุ หลักสตู รหลังการนำไปใช้จัด  - -  กระบวนการเรียนรู้ 5. สถานศึกษามีการนำผลการทบทวน หรือตรวจสอบ หรือ ประเมนิ การใช้หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง ทุกหลักสตู ร มาใช้  - -  ในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร หรือกำหนดแนวทางในการ ปรบั ปรุง พฒั นาหลกั สูตร รวมคะแนน 3.00 1.00 รวมท้ังสิ้น 4.00

148 ตารางเปรียบเทยี บจำนวนผลการดำเนนิ งานทท่ี ำไดต้ ามเกณฑ์การพจิ ารณาเทียบกับเกณฑร์ ะดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไ่ี ด้ คะแนนทีไ่ ด้ เกณฑ์ระดบั คุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 3.20 คะแนน ดเี ลิศ การพิจารณา จำนวน 4 คะแนน (3.01-3.50) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 2.1 หลักสูตรการศึกษา ตอ่ เน่อื งมีคณุ ภาพ ได้ 3.20 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง มีความรู้ ความสามารถ หรือ ประสบการณ์ตรงตามหลักสตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง (ค่าน้ำหนกั คะแนน 4 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา สถานศึกษามีกระบวนการสรรหาและคัดเลือกวิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง ท่ีมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรท่ีมีการจัดการเรียนการสอนโดยตรง และได้รับการแนะนำจากภาคี เครือข่าย ผู้นำชุมชน โดยวิทยากรมีคุณสมบัติ ดังน้ี 1) เป็นผู้ท่ีมีคุณวุฒิหรือเกียรติบัตรรับรอง หรือหลักฐาน อ่ืน ๆ ที่แสดงว่าเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ ในสาขาวิชาหรือหลักสูตรน้ัน ๆ หรือเป็นผู้ที่มีความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ในสาขาวิชาหรือหลักสูตรน้ัน 2) เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ผู้เรียน โดยมีผู้อำนวยการสถานศึกษาเป็นผู้ออกคำส่ังแต่งต้ัง และสถานศึกษาจัดทำแฟ้มทะเบียน วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง ซ่ึงวิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองที่ได้รับการแต่งต้ังบางส่วนเป็นวิทยาก รของ ศนู ยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) บางส่วนเป็นภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านที่ มีความสามารถเป็นท่ียอมรับของชุมชน ครู กศน. ตำบลร่วมประชุมหารือกับวิทยากรเพ่ือจัดทำหลักสูตร ตาม นโยบายเรง่ ด่วนของกระทรวงศึกษาธิการเป็นไปตามนโยบายของหน่วยงานตน้ สังกดั และสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า (COVID-19) หลักสูตรที่จัดทำข้ึนได้รับการอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา และผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ หลักสูตรตรงกับความต้องการของผู้เรียน วิทยากรสามารถออกแบบวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้น การสาธิตฝึกทักษะ ให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติ ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และ ทักษะในวิชาหรือหลักสูตรที่เรียน สามารถนำไปใช้ประโยชนได้จริงตามความสามารถของผู้เรียน มีส่ือการ เรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สื่อเอกสาร ส่ือออนไลน์ให้เหมาะสมผู้เรียน ตัวอย่างช้ินงาน/ผลงาน เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีช่องทางการศึกษาเรียนรู้มากข้ึน รวมทั้งมีการวัดและประเมินผลการเรียนที่สอดคล้องกับ

149 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร นอกจากน้ีสถานศึกษายังมีการติดตามผู้เรียน หรือประเมินกระบวนการใน การส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง โดยการแต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2564 เพื่อชี้แนะ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือให้การดำเนินงานการจัดการเรียนรู้ประสบ ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ และ ครู กศน.ตำบล ได้ติดตามประสานงาน ระหว่างการจัดกิจกรรมเป็นระยะ ๆ เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ และทบทวน หรือติดตาม หรือ ประเมินวิทยากร โดยสังเกต สัมภาษณ์ผู้เรียน ช้ินงาน/ผลงาน ภาพถ่าย และการประเมินความพึงพอใจของ ผู้เรียนท่ีมีต่อวิทยากร โดยใช้แบบนิเทศการจัดการศึกษาต่อเนื่อง พร้อมบันทึกผลการนิเทศ และรายงานผล การนิเทศให้ผูบ้ รหิ ารไดร้ บั ทราบ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นรูต้ อ่ ไป ผลการดำเนินงานท่ีเกิดขึ้นและร่องรอย หลกั ฐานท่เี กิดขน้ึ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง วิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองทุกคน มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ เหมาะสมสอดคล้อง กับหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตร มีการจัดกระบวนการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถเลือกใช้สื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกับเน้ือหาและ เหมาะสมกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข มีการวัดและการประเมินผลเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรตรงตามความต้องของผู้เรียน สถานศึกษามีการส่งเสริม หรอื พัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองให้มีคุณภาพ โดยให้ครูอาสาสมัครการศกึ ษา นอกโรงเรียน ครู กศน.ตำบล และเจ้าหน้าท่ีงานการศึกษาต่อเน่ืองเป็นพี่ เล้ียงในการประชุมช้ีแจง กระบวนการวางแผนการจัดทำแผนการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมตามหลักสูตร การเลือกใช้ส่ือ และการวัดประเมินผลการเรียนรู้ตามแบบ และวิธีการจัดการศึกษาต่อเน่ืองของสำนักงาน กศน. นอกจากน้ีวิทยากรการศึกษาต่อเน่ืองมีกระบวนการพัฒนาองค์ความรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง มีพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้ส่ือเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการเรียนการสอน โดยการศึกษาเรียนรู้ เพม่ิ เตมิ จากแหล่งเรียนรู้ ภาคีเครือขา่ ย หนว่ ยงานต่าง ๆ หรือสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เพ่ือนำความรู้มาปรับ ใช้ในการพัฒนาหลักสูตร และการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนมี การพัฒนาความรู้ และสามารถนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริงอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

150 ข้อมูลรอ่ งรอยและหลกั ฐาน 1. ขอ้ มูลทแี่ สดงให้เหน็ ถึงการมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของวิทยากร เช่น วฒุ ิ การศึกษา ประกาศนยี บัตร วุฒิบตั ร เกียรตบิ ตั ร ประวัตกิ ารทำงาน เป็นต้น 2. คำสั่งแตง่ ตงั้ วทิ ยากรการศึกษาต่อเนอื่ ง 3. หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง 4. แผนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองของสถานศึกษา (แบบ กศ.ตน. 12 แผน การจัดการเรยี นรู้ แบบ กศ.ตน.7 (1) แบบประเมนิ ผลการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง, แบบ กศ.ตน.7 (2) กรอบ การประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง, และแบบ กศ.ตน. 10 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ) 5. สือ่ การเรยี นรู้ทีว่ ทิ ยากรใช้ในการจดั การเรียนรู้ 6. รายงานผลการวดั และการประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเนอื่ ง 7. รายงานผลการนเิ ทศการจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากร 8. ภาพถ่าย หรือ ช้นิ งาน

151 ตารางแสดงผลการดำเนินงานที่ทำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา การดำเนนิ การ คะแนน ทุกคน ไมค่ รบทุกคน เกณฑ์การพิจารณา มี ไมม่ ี (1 คะแนน) (0.5 คะแนน)  1. วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องทุกคน มีความรู้  ความสามารถ ประสบการณ์ เหมาะสมสอดคล้อง  กบั หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ือง  2. วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่ืองทกุ คน มีแผนการ   จดั การเรียนร้ทู ่สี อดคลอ้ งกบั หลักสูตร  3. วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่ืองทุกคน จดั กระบวนการ   เรียนรทู้ ่ีสอดคล้องกบั แผนการจัดการเรียนรู้ 4. วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องทุกคน เลอื กใชส้ ื่อ  การเรียนรู้ทีส่ อดคล้องกบั เนื้อหาและผูเ้ รียน 5. วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องทกุ คน มีการวัดและ 4.00 0.50 ประเมนิ ผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับจดุ มุ่งหมายหรือ 4.50 วตั ถุประสงค์ของหลักสตู ร รวมทั้งส้นิ ตารางเปรียบเทยี บจำนวนผลการดำเนนิ งานที่ทำไดต้ ามเกณฑ์การพิจารณาเทียบกบั เกณฑ์ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนที่ได้ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เป็นไปตามเกณฑ์ 3.60 คะแนน ยอดเยี่ยม การพิจารณา จำนวน 4.50 คะแนน (3.51-4.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่อง ได้ 3.60 คะแนน จากคะแนน เตม็ 4 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

152 ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2.3 ส่ือทเ่ี ออื้ ต่อการเรยี นรู้ (ค่าน้ำหนกั คะแนน 4 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2564 ประกอบด้วย การศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาเพ่ือ เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยครู กศน. ตำบลร่วมกับวิทยากรจัดทำ หรือจัดหาส่ือ ประกอบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร เช่น วัสดุฝึก ใบความรู้ แผ่ นพับ เอกสาร ประกอบการอบรม แหล่งเรียนรู้ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ท่ีมีความสอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษา ต่อเน่ืองของสถานศึกษา แต่เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ที่ระบาดอยู่ในพื้นที่อำเภอสามพราน จึงทำให้มีการเพ่ิมส่ือการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์เข้าไปด้วย เพื่อ ความสะดวกในการจัดการศึกษาต่อเน่ือง และผูเ้ รียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้หลกั จากเรยี นจบหลักสูตรแลว้ สถานศกึ ษาจัดทำข้อมลู พ้นื ฐาน หรือทำเนยี บส่ือ แหลง่ เรยี นรู้ หรอื ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน สอื่ ออนไลน์ สำหรับการนำไปใชในการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพือ่ ใช้เป็นขอ้ มูลสารสนเทศในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสม และมีการเผยแพร่ข้อมูลให้แก่วิทยากร และผู้เรียน สำหรับวิทยากรจะสามารถนำไปใช้ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีมีอยู่ในพื้นที่ มาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด สำหรับผู้เรียนจะได้มีช่องทางในการศึกษาเรียนรู้เพ่ิมเติม ทำให้วิทยากรและผู้เรียน สามารถเลอื กใชส้ อ่ื การเรียนรทู้ ีส่ อดคล้องกับกบั เน้ือหาและเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี นในแตล่ ะพืน้ ที่อีกดว้ ย สถานศึกษามีการประเมินคุณภาพของส่ือการศึกษาต่อเน่ืองในทุกกิจกรรม/โครงการ ประเมิน ความพึงพอใจ ด้วยการสอบถาม สัมภาษณ์ ติดตามผู้เรียนหรือผู้รับบริการด้านการนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ พร้อมท้ังสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรม/โครงการ และสถานศึกษาได้แต่งตั้งคณะกรรมการ นิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงประกอบไปด้วยผู้บริหาร ข้าราชการ และ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาได้นิเทศติดตามการใช้ สื่อการศึกษาต่อเน่ือง โดยการสังเกต ซักถาม พูดคุย สัมภาษณ์ วิทยากร ผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรม แล้วได้ให้ข้อนิเทศ ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน จัดทำสรุปผลการนิเทศ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาการใชส้ อ่ื ใหส้ อดคล้อง เหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย และมปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป

153 ผลการดำเนินงานท่เี กิดข้ึนและร่องรอย หลักฐานทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง 1. สถานศึกษาจัดทำทำเนียบส่ือ แหล่งเรียนรู้ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศ สำหรับใช้ในการจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 2. ข้อมูล หรือรายงานการทบทวน ตรวจสอบ หรือประเมินการใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ หรือ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ 3. หลักสตู รการศกึ ษาต่อเนอื่ ง และแผนจัดการเรียนรู้ ตารางแสดงผลการดำเนินงานทีท่ ำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณา ผลการดำเนินงานท่ีทำได้ เกณฑ์การพจิ ารณา เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ การพิจารณา การพิจารณา 1. สถานศกึ ษาจัดหา หรือจดั ทำ หรือพฒั นาส่ือ แหล่ง  เรยี นรู้ หรอื ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ทม่ี ีความสอดคล้องตาม หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งของสถานศกึ ษา 2. สถานศกึ ษาจัดทาข้อมลู พ้ืนฐาน หรอื ทำเนยี บส่อื แหลง่  เรยี นรู้ หรอื ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น 3. สถานศกึ ษามีการแนะนา ให้ข้อมลู เกย่ี วกบั การใชส้ ื่อ  เทคโนโลยสี ารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ และภมู ิปญั ญา ท้องถิ่นทมี่ ีอยู่ ให้แกว่ ทิ ยากร และผู้เรยี น 4. สถานศกึ ษาทบทวน ตรวจสอบ หรือประเมนิ คุณภาพ  ของส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหลง่ เรียนรู้ และภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถน่ิ ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้ และเปน็ ปัจจุบัน 5. สถานศกึ ษานำผลการทบทวน ตรวจสอบ หรือประเมนิ  คุณภาพไปใชใ้ นการพฒั นาสื่อ รวม 4 1

154 ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนผลการดำเนินงานทท่ี ำไดต้ ามเกณฑก์ ารพิจารณาเทียบกบั เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนที่ได้ คะแนนทไี่ ด้ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 3.20 คะแนน ดีเลศิ การพิจารณา จำนวน 4 คะแนน (3.01-3.50) จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งช้ีท่ี 2.3 สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ได้ 3.20 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ ประเด็นการพิจารณาที่ 2. 4 การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง (ค่าน้ำหนัก คะแนน 4 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีการดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้ดำเนินการนิเทศจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการจัดกิจกรรม การศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการ ความจำเป็นในชวี ิตประจำวันของผู้เรียน ประกอบไปด้วยกิจกรรม การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงสถานศึกษาสามารถเลือกจัดใน รูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มสนใจ ช้ันเรียน ฝึกอบรม โดยเลือกตามความเหมาะสมของหลักสูตร ครูและ วิทยากรร่วมกันจัดทำหลักสูตร ออกแบบการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง กำหนดวิธีการ จัดหาและพัฒนา เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของแต่ละหลักสูตรให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร โดยคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมาย และการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรน่า (COVID-19) อย่างปลอดภัย หลักสูตรจากแหลง่ ต่าง ๆ เช่น หลกั สูตร ที่สถานศึกษาจัดทำข้ึนเอง หลักสูตรกลางท่ีสำนักงาน กศน. จัดทำข้ึน หลักสูตรท่ีสถานศึกษาหรือ หนว่ ยงานอืน่ จัดทำขึน้ โดยหลักสูตรได้รบั การอนุมตั ิจากผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และไดร้ ับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเน่ืองดำเนินการตาม คู่มือแนวทาง การดำเนินงานการจัดการศึกษาต่อเน่ือง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) เม่ือเสร็จสิ้นแล้วจะมีการวัดและ ประเมินผลโดยวิธีการสังเกต ฝึกปฏิบัติ การตรวจผลงาน ชิ้นงาน ระหว่างการจัดการเรียนการสอนมี การประเมินความพึงพอใจตามแบบประเมินจากแผนกิจกรรม ประเมินช้ินงาน เพ่ือให้ทราบว่าผู้เรียนมี ความรู้ ความสามารถตรงตามจุดประสงค์ของหลักสูตรและนำผลการประเมินมาบันทึกในแบบประเมิน มีรายงานผจู้ บหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ งทุกครั้ง

155 ผลการดำเนินงานทเ่ี กิดขึน้ และรอ่ งรอย หลกั ฐานที่เกดิ ขึน้ จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ ผลการดำเนินงานจากระบวนการ วิธีการดำเนินงานของ สถานศึกษา ส่งผลให้สถานศึกษา มีการกำหนดวิธีการ เคร่ืองมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่เหมาะกับกิจกรรม มีการจัดหา จัดทำ พัฒนา เคร่ืองมือวัดและประเมินผล ให้มีรูปแบบท่ีหลากหลายและครอบคลุมความรู้ ทักษะ และ คุณลักษณะที่เกิดข้ึนกับผู้เรียน ตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โดยยึดตามแบบของสำนักงาน กศน. มีการตรวจสอบคุณภาพ เคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการใช้เคร่ืองมือวัดและ ประเมินผลท่ี พฒั นาข้ึน โดยวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียนว่ามคี วามรู้ ความสามารถ บรรลุตามวตั ถุประสงคห์ รอื ไม่ ตามเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนของสำนักงานกศน. ตามคมู่ อื การจัดการศกึ ษา ต่อเนื่อง และคูม่ อื การอบรม ประชาชน และจากกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ การจดั การศึกษาตอ่ เน่ืองหลักสูตรประเภทวิชาอาชีพ วิทยากรมีกระบวนการวัดและประเมินผล ผู้เรียน โดยวิธีการสังเกตการฝึกปฏิบัติ การซักถามในเรื่อง วัสดุอุปกรณ์ วิธีทำ และการตรวจสอบช้ินงาน เช่น หลักสูตร อาหารจานเดียว โดยกำหนดเกณฑ์การประเมิน เช่น ตรวจสอบความสวยงาม สีสันของ อาหาร รสชาด การจัดจาน ว่าเป็นอย่างไร หรือ หลักสูตรประเภทศิลปประดษิ ฐ์ เชน่ ผา้ ดน้ มอื ตรวจสอบ ชนิ้ งานจากความสวยงาม ความเรียบรอ้ ยของชน้ิ งาน การเย็บ การต่อลายผา้ ส่วนการจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบการอบรมประชาชน ใช้กระบวนการเดียวกันกับหลักสูตร วิชาชีพ แต่เพ่ิมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จากการทำแบบทดสอบก่อนการอบรม และหลัง การอบรม เพื่อเป็นการวัดและประเมินผลผู้เรียนในด้านความรู้ อีกท้ัง หลังการจัดการเรียนรู้จนจบ หลักสูตร วิทยากรมีการใช้แบบประเมินความพึงใจในการติดตามกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อ ประเมินระดับความพึงพอใจของผู้เรียน ในด้านหลักสูตร วิทยากร ส่ือ สถานที่ กระบวนการจัดการเรียน การสอน ผู้เรียนมีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด และสรุปรายงานผู้บริหารสถานศึกษาทุกคร้ังหลังจบ หลกั สตู ร เพอื่ นำไปใช้ในการพฒั นากระบวนการจดั การเรียนรู้

156 ข้อมูล ร่องรอย หลกั ฐาน 1. หลักสูตรการจัดการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 2. แผนการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 3. เคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น แบบทดสอบความรู้ แบบสอบถาม แบบสังเกตการปฏิบัตงิ าน แบบตรวจชิน้ งาน ใบงานต่าง ๆ แบบประเมินความพึงพอใจ เปน็ ต้น 4. แบบติดตามผู้เรียนหลงั จบหลกั สตู ร 5. รายงานผจู้ บหลกั สูตร 6. ข้อมลู จำนวนผูเ้ รียนการศึกษาต่อเนือ่ ง เป็นรายหลักสูตร 7. ขอ้ มูลหรือรายงานผูจ้ บการศึกษาต่อเน่ืองเป็นรายหลักสูตร 8. รายงานผลการดำเนนิ งานการจัดการศึกษาต่อเนื่อง 9. สรุปรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานของครู กศน.ตำบล และอำเภอ 10. ข้อมูลจากฐานระบบฐานข้อมูลเพือ่ การบริหารจัดการ DMIS

157 ตารางแสดงผลการดำเนินงานที่ทำได้ตามเกณฑ์การพิจารณา การ คะแนน ดำเนินการ เกณฑ์การพจิ ารณา ทกุ ไมค่ รบทุก มี ไม่มี หลักสูตร หลกั สูตร 1. มกี ารกำหนดวิธีการ หรือเครื่องมือวดั และประเมนิ ผลการ เรยี นรไู้ ดเ้ หมาะสมกบั กจิ กรรมและจุดมุ่งหมายหรือวัตถปุ ระสงค์  (1 (0.5 ของหลักสตู รทกุ หลกั สตู ร คะแนน) คะแนน) 2. มีการจดั หา หรือจดั ทำ หรอื พัฒนาเคร่ืองมือวดั และ  ประเมนิ ผลได้ตรงตามจุดหมายหรอื วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร   3. มีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวดั และประเมนิ ผลการ  เรยี นรูข้ องผูเ้ รยี น   4. มีการวดั และประเมินผล โดยใช้วิธกี ารหรอื เครื่องมือวดั และ ประเมินผลที่จดั หา หรอื จดั ทำ หรือพฒั นาขึ้น  5. มกี ารนำผลการวดั และประเมินผลผเู้ รียนไปใช้ในการพฒั นา กระบวนการจัดการเรยี นรู้  รวม  รวมทงั้ สิ้น 3.00 1.00 4.00 ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนินงานทท่ี ำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณาเทยี บกบั เกณฑร์ ะดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไี่ ด้ คะแนนทไี่ ด้ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 3.20 คะแนน ดเี ลศิ การพิจารณา จำนวน 4.00 คะแนน (3.01-3.50) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ในประเด็นการพิจารณาท่ี 2. 4 การวัดและประเมินผล ผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเน่ือง ได้ 3.20 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยใู่ นระดับคุณภาพ ดีเลิศ

158 ประเด็นการพิจารณาที่ 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเน่ืองที่มีคุณภาพ (ค่านำ้ หนักคะแนน 4 คะแนน) กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษา สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ในปีงบประมาณ 2564 ประกอบด้วย การศึกษา เพือ่ พฒั นาอาชีพ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน การจดั การเรียนรู้ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไดด้ ำเนินการจัดกระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนือ่ ง โดยมีการสำรวจ ความต้องการกลุ่มเป้าหมาย ยึดหลักความสอดคล้องกับความต้องการและความจำเป็นของกลุ่มเป้าหมาย และนโยบายของสำนักงาน กศน. ประชาสัมพันธก์ จิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง โดยผ่านผู้นำชุมชน Website Facebook Line เพื่อรวบรวมกลุ่มผู้เรียนที่มีความต้องการเรียนเร่ืองเดียวกัน จัดหาวิทยากรท่ีมีความรู้หรือมี ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ ในการดำเนินการจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ งทุกกจิ กรรม กศน.ตำบลทั้ง 16 แห่ง ปฏิบัติตาม มาตรการ แนวทางปฏิบัติ ประกาศ และคำสั่งป้องกัน และควบคุม การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า (COVID-19) อย่างเคร่งครัด เช่น รักษาระยะห่างท่ีปลอดภัยระหว่างวิทยากร กบั ผเู้ รียน และระหว่างผรู้ ่วมกิจกรรม สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีร่วมกจิ กรรม โดยเฉพาะเมื่ออยู่ใน พื้นท่ีปิดหรือเว้นระยะห่างไม่ได้ หลีกเลี่ยงพื้นท่ีปิด จัดกิจกรรมในพ้ืนท่ีเปิดโล่งและอากาศถ่ายเทสะดวก เปิดหน้าต่างเม่ืออยู่ในพ้ืนท่ีปิด ประชาสมั พันธ์ให้วิทยากรและผู้ร่วมกิจกรรมล้างมือบ่อย ๆ โดยใช้สบู่และ น้ำ หรือเจลล้างมือที่มีส่วนผสมหลักเป็นแอลกอฮอล์ มีการตรวจวัดอุณหภูมิทุกครั้งในการร่วมกิจกรรม โดยมีข้ันตอนในการดำเนนิ งาน ดงั นี้ สถานศึกษาได้สภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังนโยบาย ของสำนักงาน กศน. มาวิเคราะห์พร้อมจัดลำดับความต้องการ และความจำเป็น แล้วจัดหาหรือจัดทำ หลักสูตรที่ได้รับอนุมัติหลักสูตรจากผู้บริหารสถานศึกษา และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษา ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการศึกษาต่อเน่ืองครู กศน. และวิทยากรร่วมกันออกแบบหลักสูตร และแผนการเรยี นรู้สื่อ ใบความรู้ ใบงานให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนดำเนินการจัดการเรียน การสอนตามแผนการสอนตามวัตถุประสงค์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากรจะเป็นในลักษณะ การให้ความรู้ การสาธิต การทำชน้ิ งานและให้ผ้เู รียนปฏิบัตเิ พ่ือดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้เสร็จส้ิน ได้มีการวัด และประเมินผล โดยสถานศึกษาได้แต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงประกอบไปด้วยผู้บริหาร ข้าราชการ และครูอาสาสมัครการศึกษานอก โรงเรยี น คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาได้นิเทศติดตามการจัดการศึกษาต่อเนื่อง โดยการสังเกต ซักถาม พูดคุย สัมภาษณ์ วิทยากร ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม แล้วได้ให้ข้อนิเทศ ข้อเสนอแนะใน

159 การดำเนินงาน จัดทำสรุปผลการนิเทศ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาการการจัดการศึกษา ต่อเนื่องให้สอดคล้อง เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพต่อไป และมีติดตามผลการนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรหลังการจัดการเรียนรู้เสร็จส้ิน ภายใน 1 เดือน ตามคู่มือแนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) ในทุกกิจกรรม เพอื่ ตดิ ตามความก้าวหน้า และนำผลการประเมนิ มาพฒั นาปรบั ปรุงกระบวนการจัดการเรยี นร้ตู ่อไป ผลการดำเนนิ งานทีเ่ กิดขนึ้ และรอ่ งรอย หลกั ฐานท่เี กดิ ขนึ้ จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเนื่องที่มีคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความพึงพอใจ ตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษาตอ่ เน่ืองอยใู่ นระดบั ดขี ้นึ ไป สถานศึกษามีผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ผู้เรียนการศึกษา ต่อเน่ืองมีความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องอยู่ในระดับดีข้ึนไป เท่ากับ ร้อยละ 98.98 ดงั นี้ ท่ี กิจกรรม จำนวน จำนวนผ้เู รยี นท่มี ีความ รอ้ ยละ ผู้เรยี น พึงพอใจระดับดขี ้ึนไป 1 การพัฒนาอาชพี 2 การพฒั นาทักษะชวี ติ 836 831 99.40 3 การพฒั นาสงั คมและชุมชน 4 การจัดการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของ 474 469 98.95 เศรษฐกิจพอเพียง 386 382 98.96 เฉลี่ย 438 432 98.63 98.98

160 ข้อมูล ร่องรอย หลกั ฐาน 1. หลกั สตู รการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง 2. แผนการจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง 3. เครือ่ งมือวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น เช่น แบบทดสอบความรู้ แบบสอบถาม แบบสงั เกตการปฏิบัติงาน แบบตรวจช้ินงาน ใบงานตา่ ง ๆ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ เปน็ ต้น 4. แบบติดตามผ้เู รียนหลงั จบหลักสูตร 5. รายงานผู้จบหลกั สูตร 6. รายงานผลการดำเนินงานการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง 7. สรุปรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของครู กศน.ตำบล และอำเภอ 8. ข้อมูลจากฐานระบบฐานข้อมลู เพื่อการบรหิ ารจัดการ DMIS ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนผลการดำเนนิ งานทท่ี ำไดต้ ามเกณฑก์ ารพิจารณาเทยี บกับเกณฑร์ ะดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไี่ ด้ คะแนนท่ไี ด้ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนนิ ได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 4 คะแนน ยอดเยย่ี ม การพจิ ารณา ร้อยละ 98.98 (3.51-4.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ในประเด็นการพิจารณาที่ 2.5 การจัดกระบวนการ เรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องที่มีคุณภาพ ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

161 สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง มาตรฐานการศกึ ษา/ประเดน็ การพิจารณา น้ำหนัก ผลการประเมนิ คณุ ภาพ (คะแนน) คะแนน ระดบั มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศกึ ษาต่อเน่ือง ท่ไี ด้ คุณภาพ 1.1 ผ้เู รียนการศกึ ษาต่อเน่ืองมีความรู้ ความสามารถ และหรอื ทกั ษะ 50 46.00 ยอดเยี่ยม และหรือคุณธรรมเปน็ ไปตามเกณฑ์การจบหลกั สตู ร 10 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนอื่ งสามารถนำความรทู้ ี่ไดไ้ ปใช้ หรือ 10 ยอดเยย่ี ม ประยกุ ตใ์ ชบ้ นฐานคา่ นยิ มรว่ มของสงั คม 20 1.3 ผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งท่นี ำความรไู้ ปใชจ้ นเห็นเปน็ 20 ยอดเยย่ี ม ประจกั ษ์หรือตัวอย่างทีด่ ี 20 มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศกึ ษาต่อเนื่อง 16 ดเี ลิศ 2.1 หลกั สูตรการศึกษาต่อเน่ืองมีคุณภาพ 20 2.2 วทิ ยากรการศึกษาต่อเนื่อง มคี วามรู้ ความสามารถ หรือ 4 17.20 ดเี ลิศ ประสบการณ์ตรงตามหลักสตู รการศึกษาต่อเนอ่ื ง 4 3.20 ดีเลิศ 2.3 ส่ือท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ 3.60 ยอดเยย่ี ม 2.4 การวดั และประเมินผลผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเนือ่ ง 4 2.5 การจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศึกษาต่อเนอื่ งท่มี ีคุณภาพ 4 3.20 ดีเลศิ 4 3.20 ดเี ลศิ 4 ยอดเยย่ี ม จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง ใน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนอ่ื ง มคี ะแนนรวมเท่ากับ 46.00 คะแนน อยใู่ นระดับ ยอดเย่ียม และใน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง มีคะแนนรวมเท่ากับ 17.20 คะแนน อยู่ใน ระดบั ดีเลิศ

162 ซ่ึงจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาต่อเนื่อง พบว่า สถานศึกษามีจุดเด่น และจุดท่ีควร พฒั นา ดังน้ี จดุ เด่น 1. สถานศึกษามีการสำรวจข้อมูลพ้ืนฐานและจัดทำแผนจุลภาค Micro Planning ระดับตำบล แล้วนำมาใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาตอ่ เน่ืองท่ีหลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ และชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทำให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันในการลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ ประกอบอาชีพ หรือ พัฒนาต่อยอดอาชีพ เพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) 2. สถานศึกษามภี าคีเครือข่ายทีใ่ ห้การสนบั สนุน และประสานงานในการจดั กจิ กรรมในพืน้ ที่ 3. วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง หรือภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะการถ่ายทอด การจัดกระบวนการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน/ผู้ รับบริการอย่างมีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันและนำไปประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพได้จริง มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีมาจัด กระบวนการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ได้หลายช่องทาง รวมทั้งสร้างบรรยากาศเพ่ือ แลกเปลี่ยนเรียนรภู้ ายในกลุ่มทหี่ ลากหลาย 4. ผู้จบหลักสูตรส่วนใหญ่ สามารถนำความรู้ไปพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และบางส่วน สามารถนำความรูไ้ ปประกอบเป็นอาชพี เสริมรายไดใ้ หค้ รอบครวั 5. ผู้เรียนบางคน สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี 6. สถานศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองได้ทันกับสภาพปัญหา ในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) เช่น หลักสูตรการทำน้ำสมุนไพร ต้านโควดิ 19 หลกั สูตรการปลูกพืชสมุนไพร หลกั สตู รการทำหน้ากากอนามัย และเจลแอลกอฮอล์ เปน็ ต้น

163 จดุ ท่คี วรพฒั นา 1. ผู้เรียน/ผู้รับบริการที่จบหลักสูตรการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ นำความรู้ ทักษะทีไ่ ด้รับไปใช้ใน การเพม่ิ รายได้ หรือประกอบอาชีพ หรอื พฒั นาต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมลู ค่าของสินคา้ หรอื บรกิ ารไดน้ ้อย 2. สถานศึกษามีการติดตามผู้เรียน/ผู้รับบริการ หลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง แต่ยังไม่ อย่างตอ่ เน่ืองเทา่ ท่คี วร 3. วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง บางคนขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีในการจัดกระบวนการเรียนรู้ รูปแบบออนไลนใ์ หก้ บั ผ้เู รยี น/ผู้รบั บรกิ าร

164 ผลการประเมินคณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั (เฉพาะมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาตามอัธยาศัย และมาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัด การศึกษาตามอธั ยาศัย) จากการดำเนินงานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถนำเสนอ ผลการดำเนินงานตามรายประเด็นการพจิ ารณา ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1 ผรู้ บั บริการมคี วามรู้ หรือทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย (ค่าน้ำหนกั คะแนน 50 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษาในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้ผู้รับบริการมี ความรู้ หรือทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศยั ดำเนนิ การดังน้ี สถานศึกษา มีการจัดทำโครงสร้างในการปฏิบัติงาน มอบหมายหน้าท่ีให้ข้าราชการบรรณารักษ์ ครู กศน.ตำบล และบรรณารักษ์อัตราจ้าง ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ และ เป็นไปตามศักยภาพ โดยปฏิบัติตามขั้นตอน เพื่อทำให้งานสำเร็จถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมีการจัดทำ ระบบข้อมูลเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมมีความสัมพันธ์และเก่ียวข้อง 4 ข้ันตอน ของ กระบวนการทำงานวงจรของเดมม่ิง PDCA ดงั น้ี 1. สำรวจข้อมูลพ้ืนฐาน และความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย 2. ศึกษานโยบาย จุดเนน้ ของหน่วยงานต้นสังกดั 3. วางแผน (Plan) วางแผนการดำเนินงานโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจ นโยบาย จุดเน้นและผล การดำเนินงานที่ผ่านมาร่วมกัน การจัดทำตารางการปฏิบัติงาน การกำหนดวิธีดำเนินการ กำหนดวิธีการ ตรวจสอบ และประเมินผล 4. ขอความเห็นชอบแผนการจัดกิจกรรม โครงการและแผนการใช้เงนิ งบประมาณจากสำนักงาน กศน.จงั หวดั นครปฐม 5. ออกแบบกิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ และกลุ่มเปา้ หมาย

165 6. จัดทำคำส่งั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการและประชมุ เพื่อช้แี จงหนา้ ท่ีการดำเนนิ งาน 7. ปฏิบัตติ ามแผน (Do) เป็นการลงมือปฏบิ ัตติ ามแผนทก่ี ำหนดไว้ในตารางการปฏิบตั งิ าน 8. ตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบดูว่าเม่ือปฏิบัติงานตามแผน หรือการแก้ปัญหางานตาม แผนแล้ว ผลลัพธ์เป็นอย่างไร สภาพปัญหาได้รับการแก้ไขตรงตามเป้าหมายท่ีต้ังใจหรือไม่ ปรับปรุงแก้ไข (Action) ขั้นตอนนเี้ ป็นการนำเอาผลจากขั้นการตรวจสอบ (C) มาดำเนินการปรับและพัฒนาให้เหมาะสม ตอ่ ไป 9. สรุปรายงานผลการดำเนินงานผลการดำเนินงานท่ีเกิดข้ึนและร่องรอย หลักฐานทเี่ กิดข้ึนจาก การดำเนนิ งานตามสภาพจริง โดยในปีงบประมาณ 2564 ได้จัดทำโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2 โครงการ ดังน้ี โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดประชาชน) และ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศัย (กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน. ตำบล) โดยผู้รับบริการไดร้ ับ ความรู้ในรปู แบบกิจกรรมทหี่ ลากหลาย สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลายสอดคล้องกับ วตั ถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ทำให้ผู้รับบริการได้รับความรู้ และ/หรือประสบการณ์จาก การเข้าร่วมกิจกรรม จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทำให้ผู้รับบริการมีนิสัยรักการอ่าน อ่านได้คล่อง เข้าใจความ มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง และทันเหตุการณ์ และ สามารถนำความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงาน และชีวิตประจำวันได้ ในการดำเนินงาน การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยประสบความสำเร็จได้น้ัน ได้รับความมือจากภาคเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุน พร้อมทั้งเช่ือมโยงการจัดกิจกรรมระหว่างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอ สามพราน กศน. ตำบล บ้านหนังสือชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพ่ือขยายช่อง ทางการรับบริการให้ผู้รับบริการในพ้ืนท่ี มีการประเมินผู้รับบริการ โดยการจัดทำแบบประเมินความรู้ ความสามารถ ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม เช่น แบบประเมินความพึงพอใจ ผลงาน ใบงาน/ชิ้นงาน สอบถาม สัมภาษณ์ และสมุดบันทึกการอ่าน มีการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน ทุกกิจกรรม/โครงการ ประเมินความพึงพอใจ ด้วยการสอบถาม สัมภาษณ์ พร้อมท้ังสรุปผล การดำเนินงานกิจกรรม/โครงการ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงกิจกรรม/โครงการตอ่ ไป และสถานศึกษาได้ แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงประกอบไปด้วย ผบู้ ริหาร ข้าราชการ และครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาได้ นิเทศติดตามผลกระบวนการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย ของห้องสมุด ประชาชนฯ และ กศน. ตำบล แล้วได้ให้ข้อนิเทศ ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน จัดทำสรุปผลการนิเทศ

166 ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนาการจัดกิจกรรมให้มี ประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป พรอ้ มท้งั มกี ารรายงานผลการดำเนินงานไปยังสำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม เกณฑ์การพจิ ารณา 1 รอ้ ยละของผู้รับบริการท่ีเข้ารว่ มโครงการ หรอื กิจกรรมการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั เมื่อเทียบกับจำนวนเป้าหมายท่กี ำหนดไวใ้ นโครงการ หรือกจิ กรรม ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือ ทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เกณฑ์การพิจารณา 1 ร้อยละของผู้รับบริการท่ีเข้าร่วมโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เมื่อเทยี บกบั จำนวนเปา้ หมายท่ีกำหนดไวใ้ นโครงการ หรือกจิ กรรม สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ร้อยละของผู้รับบริการที่เข้าร่วม โครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เม่ือเทียบกับจำนวนเป้าหมายท่ีกำหนดไวใ้ นโครงการ หรือ กิจกรรม เทา่ กบั รอ้ ยละ 196.26 โดยประมาณค่าร้อยละเท่ากับ รอ้ ยละ 100.00 ตารางแสดงจำนวนเป้าหมายและผลการดำเนินงานโครงการ หรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน รอ้ ยละ (คน) (คน) 216.61 โครงการส่งเสริมการศกึ ษาตามอัธยาศัย 10,210 22,116 (กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านของหอ้ งสมดุ ประชาชน) 1. กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของหอ้ งสมุดประชาชน 4,000 4,791 119.78 1,600 1,809 113.06 1.1 ผ้รู ับบริการ 1,000 1,395 139.50 1.2 กจิ กรรมการยืม-คืน 1,600 11,166 697.88 1.3 กิจกรรมการให้บรกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ต 1.4 ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม 800 1,029 128.63 2. กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านของหอ้ งสมุดประชาชน 2.1 บ้านหนงั สือชุมชน 10 13 130.00 2.2 อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน - อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอา่ น

167 โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ร้อยละ (คน) (คน) - ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน 100 159 159.0 2.3 กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นเคลื่อนท่ี/ 600 1,127 187.83 หอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี 2.4 ห้องสมดุ เคลอื่ นท่ีสำหรบั ชาวตลาด 500 627 125.40 โครงการสง่ เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศัย 4,880 8,584 175.90 (กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านของกศน.ตำบล) 1. กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านของ กศน.ตำบล 960 1208 125.83 1.1 ผูร้ ับบริการ 480 749 156.04 1.2 กจิ กรรมการยมื -คืน 480 950 197.92 1.3 กจิ กรรมการใหบ้ รกิ ารอนิ เตอรเ์ นต็ 1,120 2,404 214.64 1.4 ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม 2. กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตำบล 800 995 124.38 2.1 บา้ นหนงั สอื ชุมชน 2.2 อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน 80 129 161.25 480 1,481 308.54 - อาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น 480 668 139.17 - ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมอาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน 2.3 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นเคลื่อนท่ี/ 15,090 30,700 392.51 หอ้ งสมดุ เคลื่อนท่ี ร้อยละเฉลีย่ 196.26 รวมทั้งส้นิ

168 เกณฑก์ ารพจิ ารณา 2 รอ้ ยละของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ที่มคี วามรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรม ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือ ทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีมีความรู้ หรอื ทกั ษะ หรอื ประสบการณเ์ ปน็ ไปตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรือกิจกรรม สถานศึกษามผี ลการดำเนินงาน ปงี บประมาณ 2564 พบวา่ ผู้ร่วมโครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษา ตามอัธยาศัย ที่มีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือกิจกรรม เท่ากับ ร้อยละ 100.00 ดังน้ี ตารางแสดงจำนวนผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ และผู้เข้ารว่ มโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย ท่ีมี ความรู้ หรือทักษะ หรอื ประสบการณ์เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือกจิ กรรม ผ้รู ับบรกิ ารทเี่ ข้าร่วมโครงการ ผ้เู ขา้ ร่วม ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู/้ ร้อยละ โครงการ ทักษะ/ประสบการณ์ 1. โครงการอัธยาศัยห้องสมุดประชาชน 22,116 22,116 100.00 2. โครงการอัธยาศยั กศน.ตำบล 8,584 8,584 100.00 รวม 30,700 30,700 100.00 รอ้ ยละเฉล่ีย 100.00 ข้อมูล ร่องรอยและหลักฐาน 1. โครงการสง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั (กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านของห้องสมุด) 2. โครงการสง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั (กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล) 3. ขอ้ มลู จำนวนผรู้ บั บรกิ ารทเี่ ข้ารวมโครงการสง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั (กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านของห้องสมุด) และโครงการส่งเสริมการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของ กศน.ตำบล) 4. นิทรรศการวันสำคัญต่าง ๆ E-book ข้อมูลผู้ตอบคำถามเกียรติบัตรออนไลน์ ระบบเช่ือมโยง แหล่งการเรียนรู้ เพจหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”อำเภอสามพราน และเพจ กศน.ตำบล 16 แห่ง 5. รายงานผลโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด) และ รายงานผลโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั (กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นของ กศน.ตำบล)

169 ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานที่ทำได้ตามเกณฑก์ ารพิจารณา ผลการดำเนนิ งานท่ีทำได้ เกณฑ์การพิจารณา เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพิจารณา 1. ร้อยละของผรู้ บั บรกิ ารท่เี ขา้ ร่วมโครงการ หรือ 100.00 กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย เม่อื เทยี บกับจำนวน เปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้ในโครงการ หรือกจิ กรรม 2. ร้อยละของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษา 100.00 ตามอัธยาศัย ท่มี คี วามรู้ หรือทกั ษะ หรือประสบการณ์ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือกิจกรรม เฉลย่ี 100.00 ตารางเปรียบเทยี บจำนวนผลการดำเนินงานทท่ี ำได้ตามเกณฑ์การพิจารณาเทยี บกบั เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไี่ ด้ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตามเกณฑ์ 50.00 ยอดเยี่ยม การพจิ ารณา ร้อยละ 100.00 (43.76-50.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศกึ ษาในประเดน็ การพจิ ารณาที่ 1.1 ผู้รบั บริการมีความรู้ หรือ ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคล้องกบั วตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยได้ 50 คะแนน จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน อย่ใู นระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

170 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ประเด็นการพิจารณาที่ 2.1 การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย (ค่านำ้ หนกั คะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ดี ำเนินงานของสถานศึกษา เกณฑ์การพิจารณา 1 สถานศึกษามีการศกึ ษาสภาพบริบท หรือความต้องการ หรอื ความจำเปน็ ของกลมุ่ เปา้ หมายในชุมชนสงั คม หรือนโยบายของหนว่ ยงานต้นสงั กดั เพ่ือการกำหนดโครงการ หรอื กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษาในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้ผู้รับบริการมี ความรู้ หรือทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศยั ดำเนนิ การดังน้ี สถานศึกษามีการจัดทำโครงสร้างในการปฏิบัติงาน มอบหมายหน้าท่ีให้ข้าราชการบรรณารักษ์ ครู กศน.ตำบล และบรรณารักษ์อัตราจ้าง ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ และ เป็นไปตามศักยภาพ โดยปฏิบัติตามข้ันตอน เพ่ือทำให้งานสำเร็จถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดทำ ระบบข้อมูลเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้อง 4 ข้ันตอน ของ กระบวนการทำงานวงจรของเดมมิ่ง PDCA ดังนี้ 1. สำรวจขอ้ มูลพนื้ ฐาน และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 2. ศกึ ษานโยบาย จุดเน้น ของหนว่ ยงานต้นสังกดั 3. วางแผน (Plan) วางแผนการดำเนินงานโดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจ นโยบาย จุดเน้นและผล การดำเนนิ งานท่ีผ่านมา ร่วมกัน การจัดทำตารางการปฏิบัติงาน การกำหนดวิธีดำเนินการ กำหนดวิธกี าร ตรวจสอบ และประเมนิ ผล 4. ขอความเห็นชอบแผนการจัดกิจกรรม โครงการและแผนการใชเ้ งินงบประมาณจากสำนกั งาน กศน.จังหวดั นครปฐม 5. ออกแบบกิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ และกลุ่มเป้าหมาย 6. จัดทำคำสัง่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการและประชมุ เพ่ือช้แี จงหนา้ ท่ีการดำเนินงาน 7. ปฏบิ ตั ติ ามแผน (Do) เปน็ การลงมือปฏบิ ัติตามแผนท่กี ำหนดไวใ้ นตารางการปฏบิ ัติงาน

171 8. ตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบดูว่าเมื่อปฏิบัติงานตามแผน หรือการแก้ปัญหางานตาม แผนแล้ว ผลลัพธ์เป็นอย่างไร สภาพปัญหาได้รบั การแก้ไขตรงตามเป้าหมายที่ตั้งใจหรือไม่ ปรับปรุงแก้ไข (Action) ข้ันตอนนีเ้ ปน็ การนำเอาผลจากขั้นการตรวจสอบ (C) มาดำเนนิ การปรับและพัฒนาให้เหมาะสม ตอ่ ไป 9. สรุปรายงานผลการดำเนินงานผลการดำเนินงานทเี่ กิดข้ึนและร่องรอย หลักฐานท่เี กิดขึ้นจาก การดำเนนิ งานตามสภาพจริง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19 เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID- 19) เป็นโรคตดิ ต่อได้ง่าย และเป็นอนั ตรายอย่างมากตอ่ ชวี ิตของผู้ที่ไดร้ บั เช้อื ประกอบกบั ในขณะนัน้ ยังไม่ มีวัคซีนป้องกันโรค ทั้งยังไม่มียารักษาโรคโดยตรง จึงมีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตจากโรคดังกล่าวเพ่ิมขึ้นเป็น จำนวนมากทั่วโลก องค์การอนามัยโลกต้องประกาศให้การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นการระบาดใหญ่และขอให้ประเทศในกลุ่มอาเซียนบังคับใช้มาตรการท่ีเข้มงวดเด็ดขาด ยิ่งขึ้น สำนักนายกรัฐมนตรีจึงได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน ได้ถือปฏิบัติตามพระราชกำหนดการบริหารราชการสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และประกาศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดนครปฐม รวมถึงแนวทางนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการ จัดการศึกษาและการเรียนรู้ กศน. ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคอย่างเคร่งครัด โดยได้มอบนโยบาย ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนใหก้ ับนกั ศกึ ษาและประชาชนให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจมาตรการปอ้ งกนั การ แพร่ระบาดโรคติดต่อ โดยให้บริการแก่นักศึกษา กศน.และประชาชน รวมถึงผู้ได้รับผลกระทบจาก ดังกล่าว ในสว่ นของสถานศึกษา ไดด้ ำเนนิ การสง่ เสรมิ ความรู้ ความเขา้ ใจแก่ผู้รบั บรกิ ารเกี่ยวกบั มาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อผ่านกิจกรรมการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อ การให้บริการนักศึกษา กศน. และประชาชน รวมถึงมาตรการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้ารับ บริการ สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลา โดยจัดจุดล้างมือหรือเจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ จัดระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างนอ้ ย 1-2 เมตร และทำความสะอาดสถานศึกษา ห้องสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน และ กศน.ตำบล ต่าง ๆ จัดทำแนวปฏบิ ัติดา้ นสาธารณสุข เพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting) แนวปฏิบัติด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม (COVID Free Environment) แนวปฏิบัติ ด้านสุขอนามัยและความปลอดภัย (Clean and Safe) แนวปฏิบัติด้านการเว้นระยะห่าง (Distancing) แนวปฏิบัติการระบายอากาศ (Ventilation) แนวปฏิบัตดิ ้านผู้ให้บริการ (COVID Free Personnel) แนว ปฏบิ ตั ิดา้ นผรู้ ับบริการ (COVID Free Customer)

172 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID- 19) เป็นการเปล่ียนวิกฤติให้เป็นโอกาสในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ทั้งการเตรียมพร้อมในการจัด การเรียนรู้รูปแบบใหม่ที่เปล่ียนแปลงไปด้วยการนำสื่อและเคร่ืองมือต่าง ๆ ที่ทันสมัยมาถ่ายทอดให้ ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจและเข้าถึงได้อย่างง่ายขึ้น ให้กระบวนการเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งเป็นการเพ่ิมโอกาสทางการเรียนรขู้ องประชาชน เปน็ นวัตกรรมการเรยี นรบู้ นฐานเทคโนโลยีซ่ึง จะครอบคลุมวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบ สถานศึกษาได้มีการปรับตัวและเตรียมพร้อมต่าง ๆ เพ่ือ รับมือกับแนวทางจัดการเรียนรู้แบบใหม่อย่างทันท่วงที พร้อมรับกับสถานการณ์ในวิกฤติและหลังพ้น สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-19) รวมท้ังความไม่แน่นอนท่ีอาจเกิดขึ้น ได้ในอนาคต เกณฑ์การพิจารณา 2 สถานศึกษามีการกำหนดโครงการท่ีตอบสนองต่อความต้องการของ กลุม่ เปา้ หมาย สถานศึกษาได้มกี ารปรับตัวและเตรยี มพรอ้ มต่าง ๆ เพื่อรับมือกับแนวทางจัดการเรียนรู้แบบใหม่ อย่างทันท่วงที พร้อมรับกับสถานการณ์ในวิกฤติและหลังพ้นสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) รวมทั้งความไม่แน่นอนท่ีอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต โดยศึกษาเรียนรู้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน และ กศน.ตำบล ได้จัด การศึกษาตามอัธยาศัยผ่านการอ่านออนไลน์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ผู้รับบริการสามารถอ่าน ออนไลน์บนมือถือทุกระบบและเรียนรู้ทุกท่ี ทุกเวลา มีบรรณารักษ์ทำหน้าที่เป็นให้บริการบนระบบ ออนไลน์ รวมท้ังจัดทำหรือจัดหาคลิปวิดีโอ ส่ือความรู้ต่าง ๆ และให้ผู้รับบริการเข้ามาเรียนรู้ผ่านสื่อที่ กำหนดไว้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เป็นการเรียนรู้ในพ้ืนที่ปลอดภัย จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อธั ยาศัยภายใต้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) นอกจากน้ียังมี การเตรียมการและการฝึกฝนทักษะของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี การสื่อสาร การถ่ายทอด และการเป็นผู้ให้คำปรึกษาท่ีดี รวมท้ังความกระตือรือร้นในการบริหารจัดการ ปจั จยั ท่เี ก่ียวขอ้ งกับการจดั การเรยี นร้แู ละประเมินผลทเ่ี หมาะสมกับสถานการณ์ให้ได้มากทส่ี ุด เพ่ือปฏิบัติ หน้าท่ีส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพให้ผู้บริการ โดยก้าวข้ามข้อจำกัดเรื่องสถานที่และ อุปสรรคต่าง ๆ ไดใ้ นที่สดุ สถานศกึ ษาได้กำหนดโครงการท่ีตอบสนองตอ่ ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย โดยมีการวางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมาย และจัดกิจกรรมโดยคำนึงถึงความตอ้ งการและความเหมาะสมของช่วงอายุ เพศ วัย อาชีพ และการศึกษาของผู้รบั บริการ ซึ่งขอ้ มูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่ได้จากการจัดกจิ กรรม และรายงานผล

173 การปฏิบัติงานประจำปี ผลการประเมินตนเอง (SAR) และแบบประเมินความพึงพอใจใน ปีที่ผ่านมา โดย นำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์เพื่อจัดทำเป็นโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยห้องสมุดประชาชน และกศน.ตำบล โดยห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน มีการจัดกิจกรรมท่ี หลากหลายรูปแบบโดยโครงการ กิจกรรมท่ีดำเนินการมุ่งเน้นการตอบสนองต่อความต้องการของ กล่มุ เป้าหมายใหม้ ากที่สุด เกณฑ์การพิจารณา 3 สถานศึกษามีการออกแบบการจัดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมายโครงการทก่ี ำหนดไว้ สถานศึกษามีกระบวนการในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย โดยมี การวางแผน กำหนดกลุม่ เป้าหมาย และจดั กจิ กรรมโดยคำนึงถงึ ความตอ้ งการและความเหมาะสมของชว่ ง อายุ เพศ วัย อาชีพ และการศึกษาของผู้รับบริการ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่ได้จากการจัดกิจกรรม และรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี ผลการประเมินตนเอง (SAR) และแบบประเมินความพึงพอใจใน ปีที่ผ่านมา โดยนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์เพื่อจัดทำเป็นโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยห้องสมุด ประชาชน และ กศน.ตำบล โดยห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน มีการจัด กิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ ดังนี้ 1) การให้บริการส่งเสริมการอ่าน 2) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ ห้องสมุดประชาชน เช่น กิจกรรมตอบคำถามจากนิทรรศการวันสำคัญต่าง ๆ กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรม ระบายสีคัลเลอร์ฟูล และกิจกรรมประดิษฐ์กระทง 3) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของบ้านหนังสือชุมชน 4) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนท่ี/ห้องสมุดเคล่ือนท่ี และ 5) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด เคล่ือนที่สำหรับชาวตลาด ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริมอ่านห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาดน้ำดอนหวาย และกิจกรรมนั่งทีไ่ หนอา่ นทีน่ น่ั นอกจากน้ี กศน.ตำบล ต่าง ๆ มีการจัดกิจกรรม ดังนี้ 1) การให้บริการส่งเสริมการอ่าน 2) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล เช่น กิจกรรมรักการอ่าน กิจกรรมเกมส์ และส่ือออนไลน์ 3) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของบ้านหนังสือชุมชน และ 4) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคล่ือนท่ี/ห้องสมุด เคล่ือนท่ี ผู้รับบริการได้รับความรู้ และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม จากการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ทำใหผ้ ู้รบั บริการมีนิสยั รกั การอ่าน อ่านได้คลอ่ ง เข้าใจ ความมที ักษะในการคิด วิเคราะห์ สามารถ รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง และทันเหตุการณ์ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงาน และชีวติ ประจำวนั ได้ ในการดำเนินงานการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ประสบความสำเร็จได้นั้น ได้รับความมอื จากภาคี เครือข่ายในการส่งเสริมสนับสนุน พร้อมทั้งเช่ือมโยงการจัดกิจกรรมระหว่างห้องสมุดประชาชน “เฉลิม

174 ราชกมุ ารี” อำเภอสามพราน กศน. ตำบล บ้านหนังสือชมุ ชน ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ และแหล่งเรียนร้ใู นชมุ ชน เพ่อื ขยายช่องทางการรับบริการใหผ้ ูร้ ับบริการในพืน้ ท่ีให้ครอบคลุมพ้ืนที่มากท่ีสดุ เกณฑ์การพิจารณา 4 สถานศึกษามีการจัดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยที่ กำหนดไว้ ส ถ า น ศึ ก ษ า ด ำ เนิ น ก า ร จั ด โค ร ง ก า ร ห รื อ กิ จ ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย ต า ม ท่ี ก ำ ห น ด ใน ปีงบประมาณ 2564 โดยแตล่ ะโครงการมกี ิจกรรมท่ีหลากหลาย ดงั น้ี 1. โครงการสง่ เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั (กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านของหอ้ งสมุดประชาชน) ประกอบด้วย 1.1 การให้บริการสง่ เสรมิ การอ่าน ประกอบด้วย จำนวนผู้เข้ารบั บรกิ าร การยืม-คืน และการให้บริการอนิ เตอร์เน็ต 1.2 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นของห้องสมุดประชาชน 1.3 กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นของบา้ นหนังสอื ชมุ ชน 1.4 กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านเคล่อื นท/ี่ ห้องสมุดเคลอื่ นที่ 1.5 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของห้องสมุดเคลอ่ื นทีส่ ำหรับชาวตลาด 1.6 กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นของอาสาสมคั รสง่ เสริมการอา่ น ประกอบด้วยอาสาสมัคร ส่งเสรมิ การอ่าน ผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมอาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน 2. โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล) ประกอบดว้ ย 2.1 การให้บรกิ ารสง่ เสรมิ การอา่ น ประกอบด้วย จำนวนผู้เขา้ รบั บริการ การยมื -คนื และการใหบ้ ริการอินเตอรเ์ น็ต 2.2 กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นของ กศน. ตำบล 2.3 กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านของบา้ นหนังสือชมุ ชน 2.4 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลอ่ื นท่/ี ห้องสมดุ เคล่อื นท่ี 2.5 กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นของอาสาสมัครส่งเสริมการอา่ น ประกอบดว้ ย อาสาสมัคร ส่งเสรมิ การอ่าน ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมอาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน

175 เกณฑ์การพิจารณา 5 สถานศึกษามีการจัดทำรายงานสรุปผลการจัดโครงการ หรือกจิ กรรม การศึกษาตามอัธยาศยั และเสนอตอ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษาเพอ่ื ทราบ สถานศึกษาดำเนินการสรุปผลโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี งบประมาณ 2564 และเสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อทราบ ขอ้ มูล รอ่ งรอยและหลกั ฐาน 1. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. คำสง่ั กศน.อำเภอสามพราน ท่ี 193/2563 เรือ่ งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการคัดเลอื กหนังสือและ ส่อื ของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี”อำเภอสามพราน และ กศน.ตำบลไร่ขงิ งบประมาณปี 2564 ไตรมาส 1-2 3. รายงานการประชุมคัดเลือกหนงั สือและสอ่ื ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”อำเภอ สามพราน และ กศน.ตำบลไร่ขงิ งบประมาณปี 2564 ไตรมาส 1-2 4. ได้รับรางวัลบคุ คลดีเด่นในวชิ าชีพบรรณารกั ษศ์ าสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 5. แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2562 – 2565 กศน.อำเภอสามพราน 6. นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 7. นโยบายการขับเคลอื่ น กศน.สู่ กศน.WOW รมช. กนกวัลย์ วิลาวลั ย์ 8. แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 2564 กศน.อำเภอสามพราน 9. โครงการสง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศยั (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของหอ้ งสมดุ ) 10. โครงการส่งเสรมิ การศกึ ษาตามอัธยาศยั (กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นของ กศน.ตำบล) 11. รายงานผลโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั (กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านของห้องสมดุ ) 12. รายงานผลโครงการสง่ เสรมิ การศกึ ษาตามอัธยาศยั (กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล) 13. หนงั สอื ราชการประสานงานการจดั กิจกรรมห้องสมดุ เคลือ่ นที่ 14. ช้ินงานหรือผลงานของผู้รับบริการ เช่น เกียรติบัตรออนไลน์ ระบายสี AR คำขวัญรักการอ่าน จากการนักศึกษา กศน. การ์ดวันแม่ การ์ดวันวาเลนไทน์ กระทง การ์ดป๊อบอัพวันพ่อ ที่ค่ันหนังสือ และ ภาพประกอบกจิ กรรม

176 ตารางแสดงผลการดำเนินงานท่ีทำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการดำเนนิ งานที่ทำได้ เกณฑ์การพจิ ารณา เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพิจารณา 1. สถานศึกษามกี ารศึกษาสภาพบรบิ ท หรือความต้องการ  หรอื ความจำเป็นของกลุ่มเปา้ หมายในชุมชน สังคม หรอื นโยบายของหน่วยงานต้นสงั กดั เพอ่ื การกำหนด โครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2. สถานศึกษามกี ารกำหนดโครงการ หรือกิจกรรม  การศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีตอบสนองต่อความต้องการ ของกลมุ่ เปา้ หมาย 3. สถานศึกษามกี ารออกแบบการจดั กิจกรรมทีส่ อดคลอ้ งกับ  วตั ถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมายของโครงการ หรือกิจกรรม การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ีกำหนดไว้ 4. สถานศึกษามีการจดั โครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษา  ตามอัธยาศยั ทก่ี ำหนดไว้ 5. สถานศกึ ษามกี ารจัดทำรายงานสรปุ ผลการจดั โครงการ  หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั และเสนอต่อผบู้ รหิ าร สถานศึกษาเพ่ือรับทราบ รวม 5 ตารางเปรยี บเทียบจำนวนผลการดำเนนิ งานท่ีทำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณาเทยี บกับเกณฑ์ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทีไ่ ด้ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 5 คะแนน ยอดเยี่ยม การพิจารณา จำนวน 5 ขอ้ (4.39-5.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 2.1 การกำหนดโครงการ หรือ กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ได้ 5 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

177 ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรม การศกึ ษาตามอธั ยาศัย (น้ำหนกั คะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีดำเนนิ งานของสถานศึกษา เกณฑ์การพิจารณา 1 ร้อยละของผจู้ ดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ีสามารถจดั กิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยไดต้ ามโครงการ กิจกรรมทก่ี ำหนด กระบวนการ วิธีการดำเนนิ งานของสถานศึกษาในการพฒั นาคณุ ภาพผู้จดั กิจกรรมใหม้ ีความรู้ ความสามารถการจัดกิจกรรมตามอัธยาศยั 1. พัฒนาความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับข้าราชการ บรรณารักษ์ บรรณารักษ์อัตราจ้าง ครู กศน.ตำบล และบุคลากรท่ีมีหน้าท่ีในการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย ผ่านการศึกษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การอบรมสมั มนา และการศกึ ษาดูงาน 2. ส่งเสรมิ ให้ผู้จัดกจิ กรรมมีการฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ 3. ประชมุ ช้ีแจง และมอบหมายงานใหบ้ ุคลากรอยา่ งชัดเจนในการจดั กจิ กรรม โครงการ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เกณฑ์การพิจารณา 1 ร้อยละของผู้จัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยทส่ี ามารถจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยได้ตามโครงการ กจิ กรรมท่ีกำหนด สถานศึกษามผี ลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบวา่ ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ทสี่ ามารถจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยได้ตามโครงการ กจิ กรรมทก่ี ำหนด เท่ากบั รอ้ ยละ 100.00 ท่ี ตำแหนง่ ผู้จดั กิจกรรม ผจู้ ัดกิจกรรมการศึกษา ร้อยละ การศกึ ษาตาม ตามอธั ยาศัยทส่ี ามารถจดั กจิ กรรม 1. ข้าราชการบรรณารักษ์ อัธยาศยั (คน) การศึกษาตามอธั ยาศยั ได้ (คน) 100.00 2. บรรณารกั ษ์ อัตราจ้าง 100.00 3. ครู กศน.ตำบล 1 1 100.00 3 3 100.00 รวม 16 16 100.00 20 20 คา่ เฉลี่ย

178 เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละของผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยได้รับการพัฒนา ศกั ยภาพ หรอื มีการพฒั นาตนเองในเร่ืองทเี่ กย่ี วข้องกบั การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั สถานศึกษาสง่ เสริม สนับสนุน ให้ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยได้รับการพฒั นาตนเองจาก ช่องทางการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น หนังสือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ศึกษาดูงาน อินเทอร์เน็ต แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา และเข้ารับการพัฒนาจากหน่วยงานท้ังภาครฐั และเอกชน ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย จัดกิจกรรมหรือโครงการการจัดกิจกรรมตามอัธยาศัย ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย กิจกรรม ให้บริการของห้องสมุดประชาชนฯ กิจกรรมการยืมคืน กิจกรรมการให้บริการอินเตอร์เน็ต กิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดประชาชน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของบ้านหนังสือชุมชน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคล่ือนท่ี/ห้องสมุดเคล่ือนที่ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดเคลื่อนที่ สำหรับชาวตลาด และในส่วนของกิจกรรมของ กศน.ตำบล ประกอบด้วย กิจกรรมให้บริการของ กศน. ตำบล กิจกรรมการยืมคืน กจิ กรรมการให้บริการอนิ เตอร์เน็ต กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของ กศน.ตำบล กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรขู้ องบา้ นหนงั สอื ชุมชน กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นเคล่อื นที่/ห้องสมุดเคล่ือนท่ี ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยได้ศึกษาความต้องการเรียนรู้ของผู้รับบริการแล้วนำมา ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการของผูร้ ับบริการ ผู้จัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยได้รับการส่งเสริมหรือพัฒนาในปีงบประมาณ 2564 ได้แก่ 1) ประชุมปฏิบัติการ จัดทำยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2) ประชุมวิชาการ TK Forum2021 และรับชม ถ่ายทอดสดออนไลน์ 3) ประชุมปฏิบัติการพัฒนาทักษะบุคลากรผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดประชาชน 4) อบรมออนไลน์ในหัวข้อ “ปลุกพลังการอ่านด้วยพระราชนิพนธ”์ และฟังเสวนาในหัวข้อ “มรกตรักอัน ลำ้ ค่าคะนึงหาไม่สิ้นสุด พระราชนิพนธ์แปลเล่มล่าสุดในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี” 5) อบรมบุคลากรครู กศน.ตำบล เจ้าหน้าท่ีหอ้ งสมุดและบรรณารักษ์ ในหลักสูตร “การสร้างเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน” ตามโครงการคลังความรู้ประชาชน (Thailand Knowledge Portal : TKP) 6) ประชุมผ่านระบบ Line Meeting เรื่อง “การดำเนินงานห้องสมุด ประชาชนกับพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2537” และ 7) อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างยุทธศาสตร์ การดำเนนิ งานการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั ในระดบั ภาคกลาง ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละของผู้จัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือมีการพัฒนาตนเองในเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับการจัด การศึกษาตามอธั ยาศัย

179 สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ผู้จัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือมีการพัฒนาตนเองในเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เทา่ กับ ร้อยละ 100.00 ที่ ตำแหน่ง ผู้จดั กจิ กรรม ผจู้ ัดกจิ กรรมการศึกษาตาม รอ้ ยละ การศกึ ษาตาม อัธยาศัยได้รบั การพฒั นาศักยภาพ 1. ขา้ ราชการบรรณารักษ์ อัธยาศัย (คน) 100.00 2. บรรณารกั ษ์ อตั ราจ้าง หรอื มีการพฒั นาตนเอง (คน) 100.00 3. ครู กศน.ตำบล 1 1 100.00 3 3 100.00 รวม 16 16 100.00 20 20 คา่ เฉล่ีย เกณฑ์การพิจารณา 3 ร้อยละของผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีการนำความรู้ท่ี ไดร้ ับจากการพัฒนาศักยภาพ หรือมีการนำความรทู้ ี่ได้จากการพฒั นาตนเองไปใช้ในการจัดการศกึ ษา ตามอธั ยาศัย สถานศึกษาตระหนักดีว่าผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัด การศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา ต้องมีการพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัด กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั สูงข้ึน สถานศึกษาสามารถทราบได้ว่าผูจ้ ัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีคุณภาพจากเอกสารท่ีได้รับจากการอบรมต่าง ๆ เช่น รางวัล แฟ้มสะสมงาน วุฒิบัตร ประกาศนียบัตร จากการนิเทศการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และรายงานผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยทุกคนสามารถนำความรู้ท่ีได้รับจาก การพัฒนาไปใช้ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผู้จัด กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมโครงการอบรมต่าง ๆ ประสบการณ์ใน การปฏิบัติงานมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ในการประชุมประจำเดือน ของสถานศกึ ษา

180 ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เกณฑ์การพิจารณา 3 ร้อยละของผู้จัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีการนำความรู้ท่ีได้รับจากการพัฒนาศักยภาพ หรือมีการนำความรู้ท่ีได้จาก การพัฒนาตนเองไปใชใ้ นการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 พบว่า ผู้จัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีการนำความรู้ท่ีได้รับจากการพัฒนาศักยภาพ หรือมีการนำความรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเองไปใช้ใน การจดั การศึกษาตามอัธยาศยั เท่ากับ ร้อยละ 100.00 ที่ ตำแหน่ง ผู้จัดกจิ กรรม ผจู้ ดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ทมี่ ีการ ร้อยละ การศกึ ษาตาม นำความรทู้ ีไ่ ด้รบั จากการพฒั นาศกั ยภาพ อัธยาศัย (คน) หรอื มีการนำความรู้ที่ไดจ้ ากการพฒั นาตนเอง ไปใช้ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย (คน) 1. ขา้ ราชการบรรณารกั ษ์ 1 1 100.00 2. บรรณารกั ษ์ อตั ราจา้ ง 3 3 100.00 3. ครู กศน.ตำบล 16 16 100.00 รวม 20 20 100.00 ค่าเฉลีย่ 100.00 ข้อมูล รอ่ งรอย หลกั ฐาน 1. ใบประกาศ เกยี รติบัตรท่ีไดร้ บั จากการเข้าร่วมโครงการ กจิ กรรมท่ีเกยี่ วข้องกบั การพัฒนา ศักยภาพผจู้ ัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา 2. หนงั สอื เชิญ แบบตอบรับการเข้ารว่ มโครงการ กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวข้องกบั การพฒั นาศกั ยภาพ ผู้จดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา 3. บนั ทกึ หรอื ร่องรอยการพัฒนาตนเอง 4. บนั ทกึ ร่องรอย การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ น 5. ชนิ้ งานการฝึกอบรม เช่น AR เกยี รตบิ ัตรออนไลน์ แบบทดสอบออนไลน์ E-Book เป็นต้น

181 แสดงผลการดำเนินงานท่ีทำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณา ผลการดำเนินงานท่ีทำได้ เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ เกณฑ์การพจิ ารณา การพจิ ารณา การพิจารณา 1. ร้อยละของผูจ้ ัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่ 100.00 สามารถจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ได้ตาม โครงการ กจิ กรรมท่กี ำหนด 100.00 2. ร้อยละของผจู้ ดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยได้รับ การพัฒนาศักยภาพ หรือมีการพัฒนาตนเองในเร่ืองท่ี 100.00 เกย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. รอ้ ยละของผูจ้ ัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทีม่ ี 100.00 การนำความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนาศักยภาพ หรือมี การนำความรทู้ ี่ได้จากการพัฒนาตนเองไปใชใ้ นการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั คา่ เฉล่ยี ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนินงานที่ทำได้ตามเกณฑ์การพิจารณาเทียบกับเกณฑ์ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทีไ่ ด้ คะแนนทไี่ ด้ เกณฑ์ระดับคุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ ได้เป็นไปตามเกณฑ์ 5 คะแนน ยอดเยย่ี ม การพิจารณา ร้อยละ 100.00 (4.39-5.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 2.2 ผู้จัดกิกจรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ใน ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

182 ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.3 สอ่ื หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ ตอ่ การจัดการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั (นำ้ หนักคะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วิธีดำเนินงานของสถานศึกษา เกณฑ์การพิจารณา 1 สถานศึกษามีการพัฒนา หรือจัดหาส่ือ หรือนวัตกรรม และ/หรือจัด สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ท่ีมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ กิจกรรม การศกึ ษาตามอธั ยาศัย กระบวนการ วิธีการดำเนินงานในการพัฒนาสื่อหรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้ 1. ประชุมวางแผนงานการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจัดให้มีสื่อหรือนวัตกรรมให้เข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดโครงการและจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัด กจิ กรรมตามอธั ยาศยั 2. จดั ทำเนยี บส่ือ แหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นให้เปน็ ปัจจบุ ัน 3. มอบหมายบรรณารักษ์ และครู กศน.ตำบล ให้คำแนะนำ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหลง่ เรียนร้แู ละภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ แก่ประชาชนหรอื ผูร้ ับบรกิ าร 4. จัดทำเว็บไซต์ข้อมูลความรู้ชุมชนของตำบลต่าง ๆ ท้ัง 16 ตำบล ของอำเภอสามพราน ตาม โครงการคลังความรู้ กศน.เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Thailand Knowledge Portal : TKP) โดย ประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ อาชีพท้องถ่ิน แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งท่องเที่ยว ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ของแต่ละตำบล 5. มีการประเมินความพึงพอใจเก่ียวกับการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่นิ เกณฑ์การพจิ ารณา 2 สถานศกึ ษามีการจดั ทำขอ้ มลู พนื้ ฐาน หรอื ทำเนียบสื่อ แหล่งเรยี นรู้ และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ที่เปน็ ปจั จุบัน สถานศึกษามีการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน หรอื ทำเนียบสื่อ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็น ปัจจุบัน สำหรับให้บริการในห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน และ กศน.ตำบล ทั้ง 16 แห่ง โดยได้จัดส่งบุคลากรครู กศน.ตำบล คือ นางอนงค์ ทั่งทอง ครู กศน.ตำบลบางกระทึก เข้า

183 รับการอบรมปฏิบัติการครูผู้สอนและที่ปรึกษาห้องเรียนออนไลน์ หลักสูตร “การสร้างเว็บข้อมูลความรู้ ชุมชน” ด้วยระบบสื่ออิเลคทรอนิกส์ จากสถาบันการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภาคกลาง ระหว่างวันท่ี 23-25 สิงหาคม 2564 และได้นำความรู้มาเป็นวิทยากรถ่ายทอดให้กับบุคลากร ครู กศน.ตำบล ครูผู้ช่วย เจ้าหน้าที่ห้องสมุด และบรรณารักษ์ ของทุกสถานศึกษาในสังกัด สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ในหลักสูตร“การสร้างเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน” ด้วยระบบออนไลน์ ตามโครงการ คลังความรู้ กศน.เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Thailand Knowledge Portal : TKP) ประจำปี งบประมาณ 2564 ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ถึง 10 กันยายน 2564 โดยสถานศึกษา สามารถจัดทำ เวบ็ ไซต์ข้อมลู ความรู้ชุมชนของตำบลต่าง ๆ ท้ัง 16 ตำบล ของอำเภอสามพราน เป็นที่เรยี บร้อย สามารถ ใช้งานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ ไดแ้ ก่ อาชีพท้องถนิ่ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา ท้องถ่ิน แหล่งท่องเที่ยว ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ของแต่ละตำบล สามารถให้บริการได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ เกณฑ์การพิจารณา 3 สถานศึกษามีการแนะนำ ให้ข้อมูลเก่ียวกับการใช้ส่ือ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหลง่ เรียนรู้ และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินแกก่ ลุ่มเป้าหมายผู้รับบรกิ าร สถานศึกษามีการแนะนำ ให้ข้อมูลเก่ียวกับการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ และ ภมู ิปัญญา แก่กลุม่ เปา้ หมายผูร้ ับบริการ โดยหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำเภอสามพราน และ กศน.ตำบล จัดมุมให้บริการให้คำแนะนำ ให้ข้อมูลการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ และ ภูมิปัญญา แก่กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ และมีการให้ข้อมูลส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ และ ภูมิปัญญา แก่กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการผ่านทาง Facebook ของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน และ Facebook กศน.ตำบล เกณฑก์ ารพิจารณา 4 สถานศกึ ษามีการประเมินความพงึ พอใจเก่ียวกับการใชส้ ่อื เทคโนโลยี สารสนเทศ แหลง่ เรยี นรู้ และภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีขนึ้ ไป สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจ โดยบรรณารักษ์ และครู กศน. ตำบลประเมินความพึงพอใจ ท่ีมีต่อการใช้สื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น จากการสอบถาม ผู้รับบริการว่ามีส่ือเพียงพอต่อความต้องการหรือไม่ คุณภาพตรงตามเน้ือหาของหลักสูตรหรือไม่ ขนาด ตัวอกั ษรท่ีใช้มีความเหมาะสม ภาพประกอบมคี วามชัดเจน สสี ันสวยงามหรือไม่ ในสว่ นของส่ือเทคโนโลยี และสื่อ อ่ืน ๆ ประเมินจากการนำผู้รับบริการไปเรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาในเร่ืองใด และ ตรวจสอบจากใบงานหรือแบบบันทกึ การเรียนรู้ที่มอบหมาย

184 เกณฑก์ ารพจิ ารณา 5 สถานศกึ ษามีการนำผลการประเมนิ ความพึงพอใจไปใชใ้ นการพฒั นา หรือจัดหาสอ่ื แหลง่ เรยี นรหู้ รอื ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ สถานศึกษานำผลการประเมินความพึงพอใจจากผู้รับบริการมาปรับปรุงในการการพัฒนา หรือจัดหาส่ือ แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการดำเนินงานครั้งต่อไป เพ่ือให้ได้ส่ือ แหล่งเรียนรู้ หรอื ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ที่มคี ณุ ภาพตอ่ ไป ดังน้ี 1. สถานศึกษามีการจัดหา ส่ือ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม ท่ีใช้ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย คือ E-Book หลวงพ่อวัดไร่ขิงม่ิงมงคลคนสามพราน กิจกรรมตอบคำถามเกียรติบัตรออนไลน์ มีการพัฒนา ปรับปรุงภูมิทัศน์ของห้องสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกุมารี \" กศน.ตำบล 5 ดีพรีเม่ียม และกศน.ตำบล 5 ดีพรีเม่ียมพลัส ให้พร้อมต่อการให้บริการและเอ้ือต่อการเรียนรู้อีกท้ังมีการจัดหาสื่อคอมพิวเตอร์ ชอ่ งทางอินเทอร์เน็ตใหม้ ีความพรอ้ มมากย่ิงข้นึ 2. สถานศกึ ษามีทำเนียบส่ือ แหล่งเรยี นรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีเปน็ ปจั จุบนั 3. สถานศึกษามีการแนะนำ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ แกผ่ ู้รับบรกิ าร 4. ผู้รับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจในการใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แหล่งเรยี นรู้ภูมปิ ญั ญาในระดบั ดี ขอ้ มูล รอ่ งรอย หลักฐาน 1. แบบประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ข้าใช้บรกิ ารห้องสมดุ ประชาชน 2. แบบสำรวจความตอ้ งการหนังสือและสื่อของหอ้ งสมุดประชาชน 3. เพจห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อำเภอสามพราน และกศน.ตำบล ระบบเชอ่ื มโยง แหล่งเรยี นรู้ของห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมาร”ี อำเภอสามพราน 4. ทำเนยี บสอ่ื แหล่งเรยี นรู้ และภูมปิ ญั ญา

185 ตารางแสดงผลการดำเนินงานทที่ ำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณา ผลการดำเนินงานท่ีทำได้ เกณฑ์การพิจารณา เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพิจารณา 1. สถานศกึ ษามีการพัฒนา หรอื จดั หาสือ่ หรือนวตั กรรม  และ/หรอื จัดสภาพแวดล้อมที่เอ้อื ต่อการเรียนรู้ทีม่ ี ความสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของการจดั โครงการ กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2. สถานศกึ ษามกี ารจดั ทำข้อมลู พ้ืนฐาน หรือทำเนียบสอ่ื  แหลง่ เรียนรู้ และภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ทีเ่ ปน็ ปัจจบุ นั 3. สถานศึกษามีการแนะนำ ให้ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การใช้สื่อ  เทคโนโลยีสารสนเทศ แหลง่ เรียนรู้ และภูมิปญั ญาท้องถิ่น แกก่ ลมุ่ เป้าหมายผ้รู บั บรกิ าร 4. สถานศึกษามีการประเมนิ ความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้  สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แหล่งเรยี นรู้ และภมู ปิ ัญญา ทอ้ งถ่นิ โดยภาพรวมอย่ใู นระดับดีข้ึนไป 5. สถานศกึ ษามีการนำผลการประเมินความพึงพอใจไปใช้  ในการพฒั นาหรือจดั หาส่ือ แหลง่ เรียนรู้หรอื ภูมิปัญญา ท้องถน่ิ สถานศึกษามีการนำผลการประเมนิ ความพึงพอใจไป ใช้ในการพัฒนาหรือจดั หาส่ือ แหลง่ เรียนร้หู รอื ภมู ปิ ญั ญา ท้องถ่ิน รวม 4 1 ตารางเปรยี บเทียบจำนวนผลการดำเนนิ งานที่ทำไดต้ ามเกณฑ์การพจิ ารณาเทยี บกับเกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไ่ี ด้ คะแนนท่ไี ด้ เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนนิ ได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 4 คะแนน ดเี ลศิ การพจิ ารณา จำนวน 4 ข้อ (3.76-4.38)

186 ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 2.3 ส่ือ หรือนวัตกรรม และ สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ใน ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ ประเด็นการพจิ ารณาท่ี 2.4 ผรู้ ับบริการมีความพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั (นำ้ หนักคะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วิธีดำเนนิ งานของสถานศึกษา กระบวนการ วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษาในการบริการให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ดำเนนิ การดงั นี้ 1. จดั ประชมุ วางแผนการปฏิบัติงานประจำปีของสถานศึกษา 2. จดั โครงการ กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามแผน 3. จดั ทำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รบั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี ีต่อกระบวนการ จัดโครงการกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยในรูปแบบแบบสอบถาม กระดาษ คิวอารโ์ ค้ดและ Google form 4. เกบ็ ข้อมลู ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการทุกกิจกรรม 5. รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจในแต่ละโครงการ กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ผลการดำเนินงานทเี่ กิดขน้ึ และรอ่ งรอย หลักฐานที่เกิดข้ึน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เกณฑ์การพิจารณา ร้อยละของจำนวนโครงการ กิจกรรมการศึกษาตาม อธั ยาศัยท่ีมคี ่าเฉล่ยี ผลการประเมินความพงึ พอใจอยใู่ นระดับดขี ้นึ ไป สถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ปงี บประมาณ 2564 พบว่า โครงการของการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 2 โครงการ คือ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด ประชาชน) และ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล) มคี า่ เฉลย่ี ผลการประเมินความพงึ พอใจอย่ใู นระดับดขี ึน้ ไป ทั้งสองโครงการ เท่ากบั ร้อยละ 100.00

187 โครงการ/กิจกรรม ผูร้ บั ค่าเฉลย่ี ระดบั ความ บริการ ความพึงพอใจ พงึ พอใจ โครงการสง่ เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั (กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมดุ ประชาชน) 1. กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านของหอ้ งสมุดประชาชน 1.1 ผรู้ ับบรกิ าร 4,791 4.15 ดี 1.2 กจิ กรรมการยมื -คืน 1,809 4.17 ดี 1.3 กิจกรรมการให้บรกิ ารอนิ เตอร์เน็ต 1,395 4.29 ดี 1.4 ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม 11,166 4.28 ดี 2. กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านของห้องสมุดประชาชน 2.1 บ้านหนงั สือชมุ ชน 1,029 4.17 ดี 2.2 อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น - อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน 13 4.23 ดี - ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน 159 4.17 ดี 2.3 กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนท/ี่ ห้องสมุดเคลือ่ นท่ี 1,127 4.17 ดี 2.4 หอ้ งสมดุ เคล่ือนที่สำหรับชาวตลาด 627 4.17 ดี คา่ เฉลย่ี 4.20 ดี โครงการสง่ เสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั (กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นของ กศน. ตำบล) 1. กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตำบล 1.1 ผูร้ บั บริการ 1,208 4.38 ดี 1.2 กิจกรรมการยืม-คืน 749 4.38 ดี 1.3 กจิ กรรมการให้บริการอนิ เตอรเ์ น็ต 950 4.41 ดี 1.4 ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม 2,404 4.39 ดี 2. กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตำบล 2.1 บา้ นหนังสือชมุ ชน 995 4.40 ดี 2.2 อาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ น - อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน 129 4.36 ดี - ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน 1,481 4.42 ดี 2.3 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคล่ือนท/ี่ ห้องสมุดเคล่อื นที่ 668 4.34 ดี ค่าเฉลี่ย 4.38 ดี

188 ขอ้ มูล รอ่ งรอย หลกั ฐาน 1. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 2. โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านของห้องสมุดประชาชน) และ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั (กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตำบล) 3. รายงานผลโครงการส่งเสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั (กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมดุ ประชาชน) และ โครงการส่งเสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล) ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนนิ งานท่ที ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาเทยี บกบั เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไี่ ด้ คะแนนทไ่ี ด้ เกณฑ์ระดับคุณภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตามเกณฑ์ 5 คะแนน ยอดเยี่ยม การพิจารณา ร้อยละ 100.00 (4.39 – 5.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั ดขี น้ึ ไป ได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

189 สรุปผลการประเมนิ คุณภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพจิ ารณา น้ำหนกั ผลการประเมินคุณภาพ (คะแนน) คะแนน ระดับ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้รบั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีได้ คณุ ภาพ 1.1 ผู้รบั บรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรือประสบการณ์ 50 50.00 ยอดเย่ียม สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษา 50 ตามอัธยาศยั 50 ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 20 2.1 การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 5 19.00 ยอดเย่ียม 2.2 ผู้จดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรม 5 5 ยอดเยีย่ ม การศึกษาตามอัธยาศัย 5 ยอดเยี่ยม 2.3 ส่ือ หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มที่เอื้อต่อการจดั 5 การศกึ ษาตามอัธยาศยั 4 ดีเลิศ 2.4 ผู้รบั บริการมีความพึงพอใจตอ่ การจดั การศึกษาตามอัธยาศัย 5 5 ยอดเยี่ยม จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย มีคะแนนรวมเท่ากับ 50 คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม และในมาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มีคะแนนรวมเท่ากับ 19.00 คะแนน อยู่ใน ระดบั ยอดเย่ียม

190 ซึ่งจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษามีจดุ เด่น และจุดที่ควร พฒั นา ดังนี้ จุดเด่น 1. ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) สถานการณ์ศึกษามี การนำนวัตกรรมรูปแบบใหม่ สื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เช่น E-book AR สื่อออนไลน์ กิจกรรมเรียนรู้ผ่านส่ือออนไลน์ เป็นต้น ทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ซ่ึงเป็นการเพิ่มโอกาส ทางการเรยี นร้ขู องประชาชน 2. สถานศึกษามีการรวบรวม จัดหา และจัดทำสื่อท่ีหลากหลาย เช่น ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ส่ือแหล่งเรยี นรู้และภูมิปัญญา เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุน การเรยี นร้ขู องประชาชน 3. สถานศึกษามีผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง และหลากหลาย ทำใหส้ ามารถนำความรู้ทไ่ี ดร้ ับมาประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั กิจกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม 4. สถานศึกษามีการกำหนดโครงการทตี่ อบสนองต่อความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย จุดที่ควรพัฒนา 1. สถานศึกษาควรจัดให้มีการทำแบบประเมินความพึงพอใจและนำผลท่ีได้จากการประเมิน ความพึงพอใจมาปรับปรุง ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ สถานท่ี การให้บริการ และพฒั นาการจัดและดำเนิน โครงการใหม้ ีประสทิ ธิภาพเพมิ่ มากข้นึ 2. สถานศึกษาไม่มีงบประมาณในการจัดซื้อส่ือ หนังสือ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และ การจดั ตกแตง่ บา้ นหนังสอื ชมุ ชน 3. สถานศึกษามงี บประมาณไมเ่ พยี งพอในการปรับปรุง พัฒนาจัดหาครุภณั ฑ์ และสื่อเทคโนโลยี ทีท่ นั สมยั ใหห้ อ้ งสมดุ และ กศน.ตำบล