Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Published by Suvalai S, 2021-11-12 05:54:59

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Keywords: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน

Search

Read the Text Version

191 ผลการประเมินคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา (มาตรฐานที่ 3 ซงึ่ เป็นมาตรฐานการศึกษา ที่สามารถใชผ้ ลการประเมินคุณภาพรว่ มกันไดท้ ้ังการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน การศกึ ษาตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย) จากการดำเนนิ งานของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาคุณภาพการบริหารจดั การ ของ สถานศึกษา สามารถนำเสนอผลการดำเนนิ งานตามรายประเด็นการพิจารณา ดังนี้ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม (ค่า น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน) กระบวนการ/วิธกี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษา สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยผู้บริหารสถานศึกษาได้ นอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ งาน โดยยึดหลัก ให้สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษาด้วยตนเองให้มากที่สุด โดยสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐมเป็นผู้กำกับ ดูแล ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานในเชิงนโยบายให้เป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ ในการบริหารงานทว่ั ไปของผ้บู รหิ ารสถานศึกษาน้ัน ยึดหลักการบริหารงานแบบมุง่ เน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน เป็นหลัก เน้นความโปร่งใส ความรับผิดชอบ ตรวจสอบได้ ตลอดจนการมีส่วนร่วมของบุคคล ชุมชน องค์กรท่ีเก่ียวข้อง มุ่งพัฒนาให้เป็นองค์กรสมัยใหม่โดยนำนวัตกรรมเทคโนโลยีมาใช้อย่างเหมาะสม สามารถเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยการติดตอ่ สือ่ สารได้อย่างรวดเร็ว โดยดำเนนิ การดงั น้ี สถานศึกษามกี ารบริหารจดั การท่ีเนน้ การมีสว่ นร่วม โดยดำเนินการดังนี้ 1) ส่งเสริมให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา โดยจัดทำคำสั่ งแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินการการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษา และแผนปฏิบัติการประจำปขี องสถานศกึ ษา 2) ส่งเสริมให้บุคลากรศึกษานโยบาย จุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัด บริบทชุมชน แผนชุมชน ความต้องการของชุมชน ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณท่ีผ่านมา และจากผลการประเมินตนเองของ ปีงบประมาณท่ีผ่านมา เพื่อใช้เปน็ ข้อมูลในการวางแผนการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา

192 3) สง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรร่วมกำหนดเป้าหมาย วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ อตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา 4) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และ แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา โดยแต่ละโครงการที่บรรจุในแผนปฏิบัติการประจำปีของ สถานศึกษาต้องมีความสอดคล้องกับนโยบายจุดเน้นการดำเนินงานของหน่วยงานต้นสังกัด บริบทชุมชน และความต้องการของชุมชน และแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณทุกโครงการ ทุกกิจกรรมผ่านความ เห็นชอบของสำนักงาน กศน. จงั หวดั นครปฐม 5) นำเสนอแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษาให้ คณะกรรมการสถานศึกษา และหนว่ ยงานต้นสงั กดั เหน็ ชอบ 6) ดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา โดยรวบรวมข้อมูล ร่องรอย หลักฐาน หรือผลการดำเนินงานท่ีเกิดขึ้นจากการดำเนินงานไว้อย่างถูกต้อง เปน็ ปจั จบุ นั สามารถตรวจสอบได้ 7) จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศ ภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดทำแผนการนิเทศเสนออนุมัติ ดำเนินการนิเทศ ตามแผน สรปุ และรายงานผลการนิเทศเสนอต่อผ้เู ก่ยี วข้อง และนำผลการนเิ ทศไปพัฒนาและปรับปรงุ งาน ใหม้ คี ณุ ภาพ 8) สถานศึกษาจัดประชุมบุคลากรประจำเดือน เพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และนำไปเป็น ขอ้ มูลในการวางแผนการดำเนนิ งานและพฒั นาการดำเนินงานอย่างต่อเน่ือง ผลการดำเนนิ งานท่ีเกิดข้นึ และร่องรอย หลกั ฐานทเ่ี กดิ ขึ้น จากการดำเนินงานตามสภาพจริง สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยให้บุคลากรของ สถานศึกษา ร้อยละ 92.31 มีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายการจัดการศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาบุคลากรของสถานศึกษา ร้อยละ 92.31 มีส่วนร่วมใน การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษา รอ้ ยละ 100.00 มีสว่ นร่วม ในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีของสถานศึกษา ดังนี้

193 โครงการ/กจิ กรรม ท่ี ประเภทบคุ ลากร จำนวน แผนพฒั นาคุณภาพ มาตรฐาน แผนปฏบิ ัติการ การศกึ ษา การศกึ ษา ประจำปี 2564 1 ผูบ้ รหิ าร 11 1 1 2 ข้าราชการ 44 4 4 3 ครูอาสาสมัคร กศน. 5 5 5 5 4 ครู กศน.ตำบล 16 16 16 16 5 ครูศนู ย์การเรยี นชุมชน 6 6 6 6 6 ครผู ูส้ อนคนพกิ าร 11 1 1 7 เจ้าหน้าทเี่ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 0 0 2 8 บรรณารักษ์อัตราจา้ ง 33 3 3 9 พนักงานบริการ 10 0 1 รวม 39 36 36 39 รอ้ ยละ 92.31 92.31 100.00 สถานศึกษามีการนำข้อมูลความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น หรือผู้เรียน ผู้รับบริการ มาใช้ใน การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา และแผนพัฒนาการจัด การศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษาได้รับคำปรกึ ษา ข้อเสนอแนะ และได้รบั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศึกษา และโครงการต่าง ๆ ท่ีปรากฏอยู่ในแผนปฏิบัติการประจำปีของ สถานศกึ ษาทุกโครงการ มีความสอดคล้องกบั นโยบายของหน่วยงานตน้ สังกดั ขอ้ มลู รอ่ งรอย หลักฐาน 1. ข้อมลู พ้นื ฐาน ความตอ้ งการของชมุ ชน ท้องถ่ิน หรอื ผู้เรียน หรอื ผู้รบั บรกิ าร 2. เปา้ หมายการจดั การศกึ ษา วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ และอตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษา 3. ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา 4. แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2563-2565 ฉบบั ปรับปรุง (ฉบบั ปรังปรุง พ.ศ. 2563) 5. แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2564

194 ตารางแสดงผลการดำเนินงานทที่ ำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณา ผลการดำเนินงานท่ีทำได้ เกณฑ์การพิจารณา เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ การพจิ ารณา การพิจารณา 1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาร่วมกับบุคลากรของสถานศกึ ษาไม่  น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 รว่ มกนั กำหนดเป้าหมายการจัด การศึกษา วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ และอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา 2. ผบู้ ริหารสถานศึกษารว่ มกับบคุ ลากรของสถานศึกษาไม่  นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ร่วมกันกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษา 3. ผู้บริหารสถานศกึ ษาร่วมกับบคุ ลากรของสถานศึกษาไม่  นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 รว่ มกนั จัดทำแผนพฒั นาการจดั การศึกษาหรอื แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา และ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีของสถานศึกษา 4. มกี ารใช้ข้อมลู ความต้องการของชมุ ชน ท้องถ่นิ หรอื  ผู้รับบรกิ าร ในการจัดทำแผนพัฒนาการจัด การศกึ ษาหรือแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีของสถานศกึ ษา 5. แผนพฒั นาการจัดการศึกษาหรือแผนพฒั นาคุณภาพ  การศึกษา ไดร้ บั คำปรกึ ษา ข้อเสนอแนะ และไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 6. แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปขี องสถานศึกษา ไดร้ ับคำปรึกษา  ขอ้ เสนอแนะ และได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษา 7. โครงการ กจิ กรรมท่ีปรากฏอย่ใู นแผนปฏิบัติการประจำปี  ของสถานศึกษา มีความสอดคลอ้ งกับนโยบายของหน่วยงาน ต้นสังกดั รวม 7

195 ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนินงานท่ที ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาเทียบกบั เกณฑ์ระดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนท่ีได้ คะแนนที่ได้ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 3 คะแนน ยอดเย่ยี ม การพจิ ารณา จำนวน 7 ขอ้ (2.63-3.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 3.1 การบริหารจัดการของ สถานศกึ ษาทีเ่ นน้ การมีสว่ นร่วม ได้ 3 คะแนน จากคะแนนเตม็ 3 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม ประเด็นการพิจารณาที่ 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (ค่าน้ำหนัก คะแนน 4 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีการดำเนินงานของสถานศกึ ษา สถานศึกษามีการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้ เรียนและผู้รับบริการ เป็นไปตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงแก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ และ กฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คณุ ภาพภายใน สำหรับสถานศึกษา ท่ีจัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 โดย สถานศึกษาดำเนนิ การ ดังนี้ 1) การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาได้แต่งต้ังคณะกรรมการ ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ซ่ึงประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรภายใน สถานศึกษาทุกคน คณะกรรมการศึกษา รายละเอียด คำอธิบาย เกณฑ์การพิจารณา และระดับคุณภาพ ของมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แต่ละประเภทของมาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด และประกาศใช้มาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และกำหนดค่าเป้าหมายของ สถานศึกษาเพ่ือใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยนำผลการประเมินตนเอง ปีงบประมาณ 2563 ของสถานศึกษา และข้อมูล ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2563 เป็นข้อมูลสารสนเทศ ในการกำหนดค่าเป้าหมาย โดยขอ ความเหน็ ชอบจากสำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม

196 2) ปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 และจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา และมุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาตามท่ีสถานศึกษากำหนด พร้อมกำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษาเพ่ือใช้ในการประเมิน คุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี และรวบรวม ขอ้ มูล รอ่ งรอย หลักฐาน หรอื ผลการดำเนนิ งานไวอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เปน็ ปจั จุบนั สามารถตรวจสอบได้ 4) จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดทำแผนการนิเทศเสนออนุมัติ ดำเนินการนิเทศ ตามแผน สรปุ และรายงานผลการนิเทศเสนอตอ่ ผ้เู กี่ยวข้อง และนำผลการนิเทศไปพฒั นาและปรับปรงุ งาน ใหม้ คี ุณภาพ 5) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดย แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบด้วยผู้บริหาร สถานศึกษา และบุคลากรภายในสถานศึกษาทุกคน คณะกรรมการดำเนินการตรวจสอบและประเมิน ตนเองตามสภาพบรบิ ทของสถานศึกษา 6) สถานศึกษาเข้ารับการประเมินภายนอก ระยะที่ 1 การประเมิน SAR ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ครั้งที่ 1/2564 จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ผลการประเมิน มาตรฐานท้ัง 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐาน การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนอ่ื ง และมาตรฐานการศึกษาตาม อธั ยาศยั อยใู่ นระดบั ดี ทั้ง 3 มาตรฐาน 7) จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปีงบประมาณ 2564 ตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา และนำข้อเสนอแนะของการประเมินประเมินภายนอก จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) มาปรับปรงุ การเขียนรายงานการประเมินตนเอง 8) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ภาคเี ครือข่าย และเผยแพรต่ ่อสาธารณชน 9) นำผลการประเมินคุณภาพภายใน และการประเมินภายนอก มาเป็นส่วนหน่ึงของ การวางแผน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยนำข้อมูล ข้อเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนา มาใช้เป็น ข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคนใน สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่าย เพ่ือให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง

197 10) จัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษา ให้มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน แล ะ สามารถตรวจสอบได้ เช่น งานการศึกษาข้ันพื้นฐานมีการบันทึกข้อมูลในโปรแกรม Itw 51 งานแผนงาน และงบประมาณบันทึกการใช้จ่ายเงินงบประมาณในระบบบริหารงานงบประมาณ (ระบบ e-budget) รายงานผลการดำเนินงานในระบบฐานข้อมลู เพื่อการบรหิ ารจดั การ สำนกั งาน กศน. (DMIS) เปน็ ตน้ 11) ยึดหลักการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคเี ครอื ขา่ ย และผู้รบั บริการ ในการดำเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ผลการดำเนินงานท่ีเกิดขึน้ และร่องรอย หลกั ฐานทเ่ี กิดขน้ึ จากการดำเนินงานตามสภาพจริง สถานศึกษาดำเนินการจัดให้มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีเป็นวงจรการพัฒนา การศึกษาที่ต่อเนอื่ ง และถอื ว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษา ท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้เรียนหรือผู้รับบริการ ว่าจะได้รับการบริการ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วม ขอ้ มลู รอ่ งรอย หลกั ฐาน 1. รายงานการประชุมประจำเดอื นของสถานศึกษา รายงานประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา 2. แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2562-2565 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) และแผนปฏิบัติ การประจำปี พ.ศ. 2564 3. ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 4. ค่าเปา้ หมายของสถานศึกษาเพ่ือใชใ้ นการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2564 5. คำสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 6. สรปุ ผลการดำเนินงาน ปงี บประมาณ 2564 7. รายงานการประเมินตนเอง ปงี บประมาณ 2564 8. รายงานการประกันคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอสามพราน จากสำนกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) 8. ระบบข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ของสถานศึกษา เช่น โปรแกรม Itw 51 ระบบบริหารงาน งบประมาณ (ระบบ e-budget) ระบบฐานขอ้ มลู เพ่ือการบริหารจดั การ สำนักงาน กศน. (DMIS) เป็นต้น

198 ตารางแสดงผลการดำเนินงานทีท่ ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการดำเนนิ งานที่ทำได้ เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ เกณฑ์การพจิ ารณา การพิจารณา การพจิ ารณา 1. มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา  2. มีการจัดทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาหรอื แผนพัฒนา  คุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 3. มีการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ตั ิการ  ประจำปี 4. มีการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา  5. มกี ารประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐาน  การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 6. มกี ารจัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี  7. มีการเสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการ  สถานศึกษา หน่วยงานตน้ สงั กัด และภาคีเครอื ขา่ ย และเผยแพร่ ต่อสาธารณชน  8. มีการนำผลการประเมนิ คุณภาพภายในมาเปน็ ส่วนหน่ึงของ การวางแผน เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยการมสี ่วนร่วมของ  คณะกรรมการสถานศึกษาและภาคเี ครือขา่ ย  9. มกี ารจัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษา 10. สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษา 91 บคุ ลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคเี ครือขา่ ย และผู้รบั บริการ รวม ตารางเปรียบเทียบจำนวนผลการดำเนินงานท่ีทำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณาเทียบกบั เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทีไ่ ด้ คะแนนทีไ่ ด้ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 4 คะแนน ยอดเยย่ี ม การพจิ ารณา จำนวน 9 ขอ้ (3.51-4.00)

199 ผลการประเมินคณุ ภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพจิ ารณาท่ี 3.2 ระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม ประเด็นการพิจารณาท่ี 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา (ค่าน้ำหนักคะแนน 3 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีการดำเนินงานของสถานศึกษา เกณฑ์การพิจารณาที่ 1 สถานศึกษามกี ารสง่ เสริม สนับสนนุ บุคลากรของสถานศกึ ษาให้ได้รับ การพัฒนา จากหน่วยงานภายใน หรอื ภายนอกสังกดั สำนกั งาน กศน. สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้บุลากรทุกคน ได้รับการพัฒนา การเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ สมรรถนะ ทักษะ ศักยภาพในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ี ตามสายงาน พร้อมการ ฝึกอบรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบ วินัย กฎหมายที่เก่ียวข้อง สอดคล้องตามภารกิจท่ีรับผิดชอบ และความเป็นมอื อาชพี ตามสายงาน โดยสถานศกึ ษาไดม้ วี ิธีการพฒั นาบุคลากร ภายในสถานศึกษา ดังน้ี 1 ) ใหค้ วามรู้ คำแนะนำ ระเบยี บปฏบิ ัติตา่ ง แนวทางการดำเนนิ งาน นโยบาย แผนงาน และ บริบทพ้ืนฐานของพื้นท่ีท่ีต้องปฏิบัติงาน และความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการทำงาน จากผู้บริหาร และหัวหน้ากลมุ่ งานตา่ ง ๆ 2 ) การปฏิบัติงานในพื้นท่ี โดยมีบุคลากรที่ทำงานในพ้ืนที่เป็นโซนในแต่ละกลุ่มตำบล เช่น ครู ตำบล ครูอาสาสมคั ร ขา้ ราชการ ติดตามให้คำแนะนำชว่ ยเหลือ เป็นทีป่ รกึ ษา เปน็ ระดับ 3 ) การศึกษาเรียนรู้งานไปพร้อมกับการปฏิบัติงาน โดยมีหัวหน้างานเป็นพ่ีเลี้ยงคอยให้ คำแนะนำ 4 ) สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรของสถานศึกษาให้ได้รับการพัฒนา จาก หน่วยงานภายใน หรอื ภายนอกสงั กัดสำนักงาน กศน. ตามความถนดั และความต้องการ 5 ) เมื่อบุคลากรท่ีไปเข้ารับการอบรม และเมือ่ ผ่านการอบรมเรียบรอ้ ย ให้มาถา่ ยทอด และถอด องคค์ วามรู้ ทกั ษะและ เปน็ พี่เลีย้ งใหก้ บั บุคลากรท่ีไม่ได้รบั การอบรม เพ่อื นำไปปฏิบตั งิ านได้อยา่ งถูกต้อง 6 ) เม่ือมีหน่วยงานท่ีเชิญเข้ารับการอบรม สถานศึกษาก็ส่งเสริมสนับสนุนให้ได้รับการพัฒนา จากหนว่ ยงานภายใน หรือภายนอกสังกดั สำนักงาน กศน.

200 ตารางการอบรมบุคลากร กศน.อำเภอสามพราน ในปงี บประมาณ 2564 ท่ี โครงการ/กิจกรรม หลกั สตู ร ระยะ สถานท่ี กลุ่ม จำนวนผู้ (ชั่วโมง) เวลา เป้าหมาย เขา้ อบรม (คน) 1 อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารครู 36 2, 21-25 หอ้ งประชมุ ข้าราชการ 6 กศน.ในการจดั การเรียนรู้ ธ.ค.63 สำนักงานกศน. ครูอาสาฯ ออนไลน์ ภาคเรยี นท่ี 2 จังหวดั ครู กศน.ตำบล ปกี ารศกึ ษา 2563 นครปฐม ครศู รช. 2 การพฒั นาศกั ยภาพ 18 15-17 ธ.ค. ยนู แิ ลนด์ ขา้ ราชการ 14 บุคลากรดา้ นการจัดทำ 63 กอล์ฟ แอนด์ ครูอาสาฯ แผนพฒั นาคุณภาพ คันทรี คลบั ครู กศน.ตำบล การศกึ ษา และแผนปฏบิ ัติ นครปฐม ครูศรช. การประจำปงี บประมาณ ครผู ู้สอน พ.ศ.2564 คนพกิ าร 3 การประชมุ เชิงปฏิบัติการ 18 21-23 ธ.ค. โรงแรมอมารี ครูอาสาฯ 1 วิทยากรแกนนำยุวกาชาด 63 ดอนเมือง แอร์ และภาคเี ครือข่ายเพื่อต่อ พอรต์ ยอดขยายผลการอบรม กรุงเทพฯ วทิ ยากรยวุ กาชาด 4 การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ 12 15-16 โรงแรม ณ เวลา ข้าราชการ 1 สร้างยุทธศาสตรก์ าร ก.พ. 64 อ.เมอื ง ดำเนนิ งานการจัดการศึกษา จ.ราชบรุ ี ตามอธั ยาศัยในระดบั ภาค กลาง 5 เร่ือง โครงการ 99 สู่ 100 12 16-17 มี.ค. โรงแรมแคนทารี ครอู าสาฯ 1 ปี ต่อยอดการอบรม 64 304 วทิ ยากรยุวกาชาด ร่นุ ท่ี อ. ศรมี หาโพธิ 165/ปจ.2 จ.ปราจีนบุรี

201 ที่ โครงการ/กิจกรรม หลกั สตู ร ระยะ สถานท่ี กลุม่ จำนวนผู้ (ช่วั โมง) เวลา เป้าหมาย เข้าอบรม (คน) 6 อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารครู 36 28 เม.ย., ห้องประชุม ข้าราชการ 6 กศน.ในการจัดการเรยี นรู้ 5-7 พ.ค. สำนกั งานกศน. ครอู าสาฯ ออนไลน์ ภาคเรียนที่ 1 ปี 64 จังหวดั ครู กศน.ตำบล การศึกษา 2564 นครปฐม ครศู รช. 7 โครงการสนบั สนนุ การพัฒนา 40 23,26 ณ หอ้ งประชุม ครอู าสาฯ 2 บุคลากร กศน.แบบ Online เม.ย.,6,14 สำนักงาน ครู กศน.ตำบล “หลกั สตู รการจดั กจิ กรรมกศน. ,31 พ.ค., กศน.จังหวดั ป้องกันภาวะซึมเศรา้ คง 17, ม.ิ ย. นครปฐม สมรรถนะทางกาย จิตและสมอง และ 21-22 ของผูส้ งู อาย”ุ ส.ค. 64 8 อบรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 12 7-8 ม.ิ ย. อบรม online ครู กศน.ตำบล 16 การปลูกพืชสมุนไพร ล้าน 64 เมล็ดพันธุ์สู้ภยั โควิด 10 อบรมหลักสตู รครูกบั การ 3 10 มิ.ย. 64 อบรม online ครู กศน.ตำบล 1 จัดการเรยี นรู้เพศวถิ ศี ึกษา “การสอนเพศวิถีศกึ ษา:การ พัฒนาการเรียนรแู้ บบ E- Learning 11 อบรมการศึกษาออนไลน์และ 3 10 ม.ิ ย. 64 อบรม online ครู กศน.ตำบล 1 ทดสอบความรู้ เรื่องส่ิงแวดล้อม และการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อม 12 โครงการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ 12 1-2 ก.ค. ห้องประชมุ ขา้ ราชการ 9 การจัดทำแบบทดสอบระหวา่ ง 64 สำนกั งาน ครอู าสาฯ ภาคเรียนหลักสตู รการศกึ ษา กศน.จังหวัด ครูศรช. นอกระบบระดบั การศึกษา ขัน้ นครปฐม เจ้าหน้าที่ พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช2551 เทคโนโลยี

202 ท่ี โครงการ/กิจกรรม หลกั สตู ร ระยะ สถานท่ี กลมุ่ จำนวนผู้ (ช่ัวโมง) เวลา เป้าหมาย เข้าอบรม (คน) 13 อบรมพฒั นาครูผ้สู อนคน 12 16-17 ก.ย. ครผู ูส้ อน 1 พิการเกย่ี วกบั วิธกี ารใชแ้ บบ 64 คนพกิ าร คัดกรองคนพกิ ารทาง การศกึ ษา ร่นุ ท่ี 2 14 การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารสรา้ ง 12 28-29 ก.ย. โรงแรม ณเวลา ขา้ ราชการ 1 ยุทธศาสตรก์ ารดำเนินงานการ 64 อ.เมือง จ. จดั การศึกษาตามอัธยาศยั ใน ราชบรุ ี ระดบั ภาคกลาง 15 การประชมุ โครงการพัฒนา 6 27 ต.ค 64 ห้องประชมุ ครผู สู้ อนคน 1 ชดุ สทิ ธปิ ระโยชนเ์ พือ่ การ กมลทิพย์1 พิการ ดแู ลเด็กและเยาวชนดอ้ ย โรงแรมสุโกศล โอกาสในกรณที ม่ี ปี ัญหา กทม. ความซำ้ ซ้อน 16 อบรมการสรา้ งเว็บข้อมลู 30 30 ส.ค. – อบรม online ขา้ ราชการ 20 ความร้ชู มุ ชน TKP 22 ก.ย. 64 ครู กศน.ตำบล บรรณารักษ์ 17 โครงการเชิงปฏบิ ตั ิการ 6 25 มนี าคม หอประชุม ขา้ ราชการ 23 โครงการศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน 2564 สำนกั งาน ครูอาสาสมัคร หลกั สูตร การใชง้ าน กศน.จงั หวดั ครูกศน.ตำบล โปรแกรมสำนักงานเพ่ือ นครปฐม สร้างโอกาสการมงี านทำ สำนักงานกศน.จงั หวัดนครปฐม 18 อบรมการเรียนรู้การใชแ้ อฟ 6 23 ก.ย. 64 ห้องประชมุ ครอู าสาฯ 27 พลิเคชั่นในการจดั การเรียน กศน.อำเภอ ครู กศน. การสอน Line Meeting สามพราน ตำบล Google Meet ครูศรช.

203 ที่ โครงการ/กจิ กรรม หลักสูตร ระยะ สถานที่ กลมุ่ จำนวนผู้ (ชัว่ โมง) เวลา เป้าหมาย เข้าอบรม หอประชมุ 19 อบรมหลักสูตร “โครงการ 12 7-8 สำนักงาน (คน) หลักสตู รจติ อาสา” ของ มิถนุ ายน กศน.จังหวดั ข้าราชการ 23 สำนักงาน กศน 2564 นครปฐม ครูอาสาสมัคร ครูกศน.ตำบล เกณฑ์การพิจารณา 2 ร้อยละ 80 ของจำนวนบุคลากรของสถานศึกษา ได้รับการพัฒนาใน เร่อื งทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การจดั กระบวนการเรยี นรหู้ รอื การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ สถานศึกษาได้ส่งเสริมสนับสนุนบุคลากร เข้ารับการพัฒนาในการจัดกระบวนการเรียนรู้ หรือ การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ มีบุคลากร ทั้งหมด 40 คน ได้รับการพัฒนาในเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับ การจัดกระบวนการเรยี นรู้หรือการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหน้าท่ี จำนวน 37 คน คดิ เป็นร้อยละ 92.50 ที่ ประเภทบุคลากร จำนวน จำนวนเข้ารับการอบรม คดิ เปน็ ร้อยละ 1 ผู้บริหาร 2 ข้าราชการ 11 100.00 3 ลกู จา้ งประจำ 4 ครูอาสาสมัคร 44 100.00 5 ครู กศน.ตำบล 6 ครูศูนย์การเรียนชุมชน 10 0.00 7 ครผู ู้สอนคนพกิ าร 8 เจา้ หนา้ ท่ีเทคโนโลยสี ารสนเทศ 55 100.00 9 บรรณารกั ษ์อัตราจ้าง 10 พนกั งานบริการ 16 16 100.00 รวม 66 100.00 11 100.00 21 50.00 33 100.00 10 0.00 40 37 92.50

204 เกณฑ์การพิจารณา 3 ร้อยละ 80 ของจำนวนบุคลากรของสถานศึกษา ที่ได้รับการพัฒนา แล้วมีการนำความรู้ที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้หรือการปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าท่ี สถานศึกษาได้ส่งเสริมสนับสนุนบุคลากร เข้ารับการพัฒนาแล้วมีการนำความรู้ท่ีได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ หรือการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ี มีบุคลากร ทั้งหมด 40 คน ได้รับการพัฒนาแล้วมีการนำความรู้ท่ีได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้หรือ การปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ท่ี จำนวน 38 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 95.00 ที่ ประเภทบุคลากร จำนวน จำนวน การจดั การปฏิบัตงิ าน คิดเปน็ เขา้ รบั การ กระบวนการ ตามบทบาท รอ้ ยละ อบรม เรยี นรู้ หนา้ ที่ 1 ผู้บรหิ าร 11 - 1 100.00 2 ขา้ ราชการ 44 - 4 100.00 3 ลกู จ้างประจำ 11 - 0 0.00 4 ครอู าสาสมัคร 55 5 - 100.00 5 ครู กศน.ตำบล 16 16 16 - 100.00 6 ครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน 66 6 - 100.00 7 ครูผูส้ อนคนพิการ 11 1 - 100.00 8 เจา้ หนา้ ท่ีเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 1 - 1 50.00 9 บรรณารกั ษ์อตั ราจา้ ง 33 - 3 100.00 10 พนักงานบริการ 10 - 0 0.00 รวม 40 38 28 10 95.00

205 เกณฑ์การพิจารณา 4 ร้อยละ 80 ของบุคลากรของสถานศึกษามีความรู้ ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ หรือการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีได้อย่าง เหมาะสม สถานศึกษาได้พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการจัดกระบวน การเรยี นรู้ หรือการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าทีไ่ ด้อย่างเหมาะสม สถานศึกษามีบุคลากรทั้งหมด 40 คน บุคลากรมีความรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรู้ หรือการปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าท่ีไดอ้ ย่างเหมาะสม จำนวน 40 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คิดเปน็ รอ้ ยละ ที่ ประเภทบุคลากร จำนวน การจัดกระบวน การปฏบิ ัตงิ านตาม 100.00 1 ผ้บู ริหาร การเรียนรู้ บทบาทหน้าที่ 100.00 2 ข้าราชการ 100.00 3 ลูกจา้ งประจำ 1- 1 100.00 4 ครอู าสาสมัคร 100.00 5 ครู กศน.ตำบล 44 4 100.00 6 ครูศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน 100.00 7 ครผู สู้ อนคนพิการ 1- 1 100.00 8 เจ้าหน้าท่เี ทคโนโลยสี ารสนเทศ 100.00 9 บรรณารักษ์อัตราจ้าง 55 5 100.00 10 พนักงานบริการ 100.00 16 16 16 รวม 66 6 11 1 2- 2 33 3 1- 1 40 35 40

206 เกณฑ์การพิจารณา 5 บุคลากรทุกคน ได้รับคำปรึกษา และข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัด กระบวนการเรยี นรูห้ รอื การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าทจ่ี ากผู้บงั คับบญั ชา สถานศึกษามีเป้าหมายการจดั การศึกษา วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ และอตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา จัดทำ โครงสร้างในการบริหารงาน แบ่งเป็น 5 กลุ่มงาน ดังนี้ 1) กลุ่มอำนวยการ 2) กลุ่มแผนงาน 3) กลุ่มจัดการศึกษานอกระบบ 4) กลุ่มงานการศึกษาตามอัธยาศัย 5) กลุ่มภาคีและเครือข่าย โดยมี หัวหน้ากลุ่มงานแต่ละกลุ่มงาน มีสายบังคับบัญชาเป็นช้ัน ๆ ลดหลั่นกันลงมา มีคำส่ังมอบหมายงานใน การปฏิบัติงาน และมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคน บุคลากรได้รับมอบหมายงานให้ ทำงานตามความรู้ ความสามารถและความถนัดของแต่ละบุคคล มีจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติตามบทบาท หน้าที่เพ่ือให้บุคลากรได้ยึดถือเป็นแนวทางในการทำงาน โดยมีผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชา มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารบุคลากร ให้ความเอาใจใส่ ดูแลบุคลากรเหมือนคนในครอบครัว มีการบริหารงานแบบมืออาชีพ ให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้หรือ การปฏบิ ัติงานของบุคลากรทุกคน หลกั ฐานร่อยรอยหลักฐานท่เี กิดขน้ึ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง 1. บนั ทกึ ข้อความ คำสง่ั บนั ทึกรายงานการประชุม 2. โครงการสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา 3. ใบประกาศ เกยี รติบัตร หลกั ฐานการขา้ ร่วมโครงการ 4. หนงั สอื ราชการ บนั ทึกข้อความ 5. หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนำความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนาไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการ ปฏบิ ตั งิ าน เชน่ ช้ินงาน ผลงาน

207 ตารางแสดงผลการดำเนินงานท่ที ำได้ตามเกณฑก์ ารพิจารณา ผลการดำเนนิ งานที่ทำได้ เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ เกณฑ์การพิจารณา การพจิ ารณา การพิจารณา 1. สถานศึกษามกี ารสง่ เสริม สนับสนนุ บุคลากรของ  สถานศึกษาใหไ้ ด้รบั การพัฒนา จากหน่วยงานภายในหรอื ภายนอกสงั กัดสำนักงาน กศน.  2. ร้อยละ 80 ของจำนวน บุคลากรของสถานศึกษา ไดร้ ับ การพัฒนาในเร่อื งทเ่ี กี่ยวข้องกับการจดั กระบวนการเรยี นรู้  หรือการปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่ 3. รอ้ ยละ 80 ของจำนวน บคุ ลากรของสถานศึกษาทไ่ี ด้รับ  การพฒั นา แล้วมีการนำความรู้ท่ีไดร้ ับไปใช้หรอื ประยุกต์ใช้ใน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ หรือการปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่  4. รอ้ ยละ 80 ของบคุ ลากรของสถานศกึ ษา มคี วามรู้ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 5 หรือการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหน้าทไ่ี ด้อย่างเหมาะสม 5. บุคลากรทุกคน ได้รบั คำปรึกษา และข้อเสนอแนะเก่ียวกับ การจัดกระบวนการเรียนรู้ หรือการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ จากผู้บังคบั บัญชา รวม ตารางเปรยี บเทียบจำนวนผลการดำเนินงานท่ที ำไดต้ ามเกณฑก์ ารพิจารณาเทียบกับเกณฑร์ ะดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนที่ได้ คะแนนทไี่ ด้ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตามเกณฑ์ 3 คะแนน ยอดเยย่ี ม การพิจารณาจำนวน 5 ขอ้ (2.63 - 3.00) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ในประเด็นการพิจารณาที่ 3.3 การพัฒนาครู และ บุคลากรของสถานศกึ ษา ได้ 3 คะแนน จากคะแนนเต็ม 3 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม

208 ประเด็นการพิจารณาที่ 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ (คา่ น้ำหนกั คะแนน 3 คะแนน) กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศกึ ษา สถานศึกษาเป็นหน่วยงานทางการศึกษาที่เห็นความสำคัญของการนำเทคโนโลยีม าใช้ใน การบริหารจัดการสถานศึกษา ในด้านต่าง ๆ ดังน้ี การบริหารงานด้านวิชาการ การบริหารงานด้าน งบประมาณ การบริหารงานด้านบุคคล การบริหารงานด้านบริหารงานทั่วไป เพ่ือให้การบริหารของ สถานศึกษา มีความสะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพ การส่ือสารและการประสานงานเป็นไปอย่างคล่องตัว มีการนำเทคโนโลยีไปใช้ในการจัดทำหรือจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แท็บเลต โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ และส่ือออนไลน์ การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน การทำงาน ทำให้เกิดประโยชน์ในด้านข้อมูลสารสนเทศ เอกสาร การส่ือสาร การประสานงาน การรับส่ง ขอ้ มูล การปฏิบตั ิงานและการทำบนแพลตฟอรม์ ต่าง ๆ การทำงานรว่ มกับผู้อนื่ เป็นต้น โดยสถานศึกษามี วิธกี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษาดงั นี้ 1. สถานศึกษามีโครงสร้างในการบริหารงาน แบ่งเป็น 5 กลุ่มงาน ดังนี้ 1) กลุ่มอำนวยการ 2) กลมุ่ แผนงาน 3) กลุม่ จดั การศึกษานอกระบบ 4) กลุม่ งานการศึกษาตามอัธยาศยั 5) กลุม่ ภาคแี ละเครือขา่ ย 2. สถานศกึ ษามีคำสง่ั มอบหมายงานในแตล่ ะกลุ่มงาน 3. สถานศึกษามีการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ โน๊ตบุ๊ค และโปรแกรม สำเรจ็ รูปตา่ ง ๆ มาใช้บริหารจัดการ 4. สถานศึกษานำระบบสารสนเทศ ของหน่วยงานต้นสังกดั และหนว่ ยงานภายนอก มาใชใ้ น การบริหารจัดการ 5. สถานศึกษานำระบบสารสนเทศมาใช้เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ การบริการให้กับ กล่มุ เป้าหมาย ดงั น้ี - การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารงานด้านวิชาการ คือ ระบบฐานข้อมูลเพ่ือ การบริหารจัดการ สำนักงาน กศน.(DMIS) เพ่ือใช้รวบรวมข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน เช่น ข้อมูลพ้ืนฐาน บุคลากรข้อมูลพ้ืนฐานหน่วยงาน สถานศึกษาในสังกัด เป็นต้น โปรแกรมทะเบียนนักศึกษาสายสามัญ (ITw) ระบบเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ เป็นระบบบริหารจัดการงานการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย (ห้องสมุด) E-book การทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้สื่อสังคมออนไลน์ และสื่อออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอนและเป็นส่ือในการเรียนรู้ เช่น Line Meeting Google

209 Classroom Google Meet Facebook Live YouTube E-book เป็นต้น และการใช้สื่อดิจิทัลใน การสอบกลางภาค รปู แบบ Google Form - การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารงานด้านงบประมาณ คือระบบการจัดการ งบประมาณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E- budget) - การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารงานด้านบุคคล และมีการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ในการติดต่อส่ือสารและส่ังการ ติดตามการปฏิบัติงานบุคลากรในสถานศึกษา การประชุม ประจำเดือนหรอื การประชมุ ติดตามงาน คอื Line Facebook Line Meeting Zoom - การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารงานด้านบริหารงานท่ัวไป คือ ระบบ สารสนเทศเพ่ือการจัดการ (e-office) นำมาใช้เพื่อความสะดวกสบายในรับ-ส่งหนังสือ การเวียนหนังสือ และการเก็บหนังสือราชการต่าง ๆ ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e-GP) จัดทำเพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนสามารถเข้าถึง แหล่งขอ้ มลู การจดั ซอื้ จัดจ้าง และพสั ดุภาค รฐั ไดอ้ ย่างรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น - การนำโปรแกรมสำเร็จรูป มาใช้เพือ่ การบริหารจัดการสถานศกึ ษา คอื ระบบการจัดเกบ็ งาน ดา้ นพัสดุที่จัดเก็บเป็นหมวดหมู่ เช่น Microsoft word Excel การเผยแพร่ประชาสัมพันธก์ ิจกรรมของ กศน. Microsoft PowerPoint Website ของ กศน.อำเภอสามพราน เพจ Facebook ของ กศน. อำเภอสามพราน กศน. ตำบล ตลอดจนการใช้ Line ติดต่อประสานงาน ทำให้การทำงานของสถานศึกษามีความเป็นระบบ เกิด ความความคล่องตัวในการทำงาน การใช้ระบบปฏิบัติการของ Google และเเอพพลิเคชั่นท่ี Google สร้างข้ึน เช่น Google Docs Google Sheet และ Google Slide สำหรับใช้งานควบค่กู บั Google Drive ระบบเชอื่ มโยง หอ้ งสมุดชุมชน 6. สถานศึกษาส่งบุคลากร เข้ารับการอบรมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในหน่วยงานภายใน และ ภายนอก เพอื่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ และมที กั ษะในการทำงาน ผลการดำเนนิ งานท่ีเกดิ ขนึ้ และร่องรอย หลักฐานทเ่ี กิดข้นึ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง สถานศึกษานำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา ในการเก็บข้อมูลพ้ืนฐาน ต่าง ๆ และจัดเก็บขอ้ มูลไวเ้ ป็นฐานข้อมูลของหน่วยงาน ช่วยในการประมวลผลข้อมูลและนำฐานข้อมูลท่ี เป็นสารสนเทศมาใช้ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและครบถ้วน ทำให้การทำงานของสถานศึกษามีความเป็น ระบบ เกิดความความคล่องตัวในการทำงาน เข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ของภาครัฐ ภาคเอกชน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย งานเอกสารต่าง ๆ ทำให้มี ความคล่องตัวในการทำงาน นำมาพัฒนาในการทำงานต่อไป

210 ข้อมลู ร่องรอย หลักฐาน 1. เอกสารทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ ไฟลง์ าน การรับสง่ งานทาง E-mail 2. ข้อมูลสารสนเทศด้านการบริการวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารบุคคล และ การบริหารทั่วไป 3. ระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการ 4. โปรแกรมสำเร็จรปู ทางคอมพิวเตอร์ ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานทีท่ ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการดำเนนิ งานท่ีทำได้ เกณฑ์การพจิ ารณา เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ การพิจารณา การพจิ ารณา 1. มกี ารนำเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้ในการบริหารงานด้าน  วชิ าการ 2. มกี ารนำเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใชใ้ นการบรหิ ารงานด้าน  งบประมาณ 3. มกี ารนำเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ในการบรหิ ารงานด้าน  บุคคล 4. มกี ารนำเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใชใ้ นการบรหิ ารงานด้าน  บริหารงานทว่ั ไป 5. มกี ารใช้สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การสถานศึกษา  รวม 5 ตารางเปรียบเทยี บจำนวนผลการดำเนินงานทีท่ ำได้ตามเกณฑ์การพจิ ารณาเทียบกบั เกณฑร์ ะดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทีไ่ ด้ คะแนนทีไ่ ด้ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ สถานศึกษาสามารถดำเนนิ ได้เป็นไปตามเกณฑ์ 3 คะแนน ยอดเย่ียม การพิจารณาจำนวน 5 ขอ้ (2.63 - 3.00)

211 ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ในประเด็นการพิจารณาท่ี 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการ ได้ 3 คะแนน จากคะแนนเตม็ 3 คะแนน อยใู่ นระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม ประเด็นการพิจารณาท่ี 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของ สถานศกึ ษา (คา่ น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน) กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษา สถานศึกษามกี ารกำกบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา โดยดำเนนิ การ ดังนี้ 1. การวางแผนการนิเทศ สถานศึกษาจัดทำโครงการนิเทศติดตามผลการจัดการศกึ ษา บรรจุใน แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีดำเนินการ งบประมาณ และการประเมินผล เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา โดยมีงานนิเทศภายใน ติดตามและประเมินผลเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบ 2. การเตรียมการนิเทศ สถานศึกษาจัดทำคำส่ังคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหาร ข้าราชการ และครูอาสาสมัคร กศน. จัด ประชุมคณะกรรมการเพ่ือร่วมกันกำหนดเนื้อหาในการนิเทศ จัดเตรียมเคร่ืองมือนิเทศ วิธีการนิเทศ วิธกี ารติดตามผล การรายงานผลการนิเทศ และกำหนดแผนการนเิ ทศ พรอ้ มแจง้ ให้ผู้รบั การนเิ ทศทราบ 3. การปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ คณะกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษาปฏบิ ัตกิ ารนิเทศภายในตามแผน ท่ีกำหนด เพอื่ การพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย โดยชว่ ยแก้ปัญหา ให้คำปรกึ ษา คำแนะนำ นอกจากนส้ี ถานศึกษายังได้จดั ประชมุ ประจำเดือน เพ่ือติดตามผลการดำเนินการ ตามแผนปฏิบัติการ และซักซ้อมความเข้าใจ ให้คำปรึกษา แนะนำ เพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติงานการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของบุคลากรในสถานศึกษา เม่ือปฏิบัติการนิเทศเสร็จส้ิน แต่ละคร้ัง คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาจัดทำรายงานนิเทศเสนอผู้บริหารรับทราบ ซึ่งเป็น การตดิ ตามผลการนเิ ทศ 4. การประเมินผลและปรับปรุงการนิเทศ สถานศึกษาให้คณะกรรมการนิเทศภายใน สถานศึกษาร่วมกันประเมินผลการนิเทศว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ มีปัญหาหรือไม่ ต้องปรับปรุง อย่างไร 5. รายงานผลการนิเทศ เมื่อสิ้นสุดผลการนิเทศ งานนิเทศภายในติดตามและประเมินผลจัดทำ รายงานผลการนิเทศ เสนอผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และสำนักงาน กศน.จังหวัด

212 นครปฐม เม่ือสิ้นปีงบประมาณจัดทำรายงานผลโครงการนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษา ซึ่งในแต่ละ รายงานผลการนิเทศแต่ละประเด็น ประกอบด้วย สภาพท่ีพบ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาท่ีสถานศึกษานำไปใช้ในการพัฒนาการดำเนินงานการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในปีงบประมาณต่อไป 6. นำผลการนิเทศไปปรบั ปรุงและพฒั นาการดำเนนิ งานของสถานศึกษาต่อไป ผลการดำเนนิ งานทเี่ กดิ ขึ้นและรอ่ งรอย หลกั ฐานท่เี กิดข้ึน จากการดำเนินงานตามสภาพจริง สถานศึกษาดำเนินการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา ช่วยส่งเสริมให้การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยพัฒนาคุณภาพบุคลากร ของสถานศึกษา พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างขวัญและ กำลังใจ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม โดยคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ผู้ปฏิบัติงาน และผู้เรียน ผู้รับบริการ ได้แลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ความคิดซ่ึงกันและกัน และทำให้สถานศึกษาได้มีข้อมูลในการ กำหนดนโยบายในการส่งเสริม พัฒนา ปรับปรุง การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป ข้อมลู รอ่ งรอย หลกั ฐาน 1. โครงการนเิ ทศติดตามผลการจัดการศึกษา 2. คำสง่ั คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 3. แผนการนิเทศของสถานศกึ ษา 4. เคร่อื งมอื การนเิ ทศ 5. รายงานผลการนิเทศ 6. สรปุ ผลโครงการนิเทศตดิ ตามผลการจดั การศกึ ษา

213 ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานท่ที ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการดำเนินงานท่ีทำได้ เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ เกณฑ์การพจิ ารณา การพิจารณา การพจิ ารณา 1. มีการจัดทำแผนการกำกับ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล  การดำเนนิ งานของสถานศึกษาที่เน้นการมีสว่ นรว่ มของ บุคลากรในสถานศึกษา และมอบหมายผ้รู บั ผิดชอบไว้อย่าง  ชัดเจน  2. มีการกำกับ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการดำเนินงาน  ของสถานศึกษา ตามแผนทก่ี ำหนดไว้ 3. มีการสรปุ ขอ้ มลู หรือจัดทำรายงานผลการกำกบั นิเทศ  ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา 4. มีการรายงานผลการกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล 41 การดำเนนิ งานของสถานศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา เพอื่ ให้ข้อเสนอแนะ 5. มีการนำผลการกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล การดำเนินงานของสถานศึกษาไปใช้ในการพฒั นาการ ดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา รวม ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนผลการดำเนินงานทท่ี ำไดต้ ามเกณฑ์การพจิ ารณาเทียบกับเกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การให้คะแนนทไ่ี ด้ คะแนนที่ได้ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 2.40 คะแนน ดีเลศิ การพิจารณาจำนวน 4 ขอ้ (2.26 – 2.62) ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ได้ 2.40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 3 คะแนน อยู่ในระดับ คณุ ภาพ ดเี ลิศ

214 ประเด็นการพิจารณาที่ 3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตาม บทบาทท่ีกำหนด (ค่านำ้ หนักคะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วิธีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา สถานศึกษามีกระบวนการการสรรหาและคัดเลือกกรรมการและประธานกรรมการสถานศึกษา ตามคู่มือการสรรหาและแต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 1) จัดทำประกาศรับสมัครการสรรหาและการคัดเลือกคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ 8 ด้าน ดังนี้ ด้านการศึกษา ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ด้านพัฒนาสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ด้านการเมือง การปกครอง ด้านความมั่นคง ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ิน และด้านสาธารณสุข ปิดประกาศประชาสัมพันธ์ท่ี กศน. อำเภอ สามพราน และหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน เป็นเวลา 3 วนั ทำการ 2) ประชุมช้ีแจงบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความสำคัญ และ บทบาทหน้าท่ีของ คณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือให้บุคลากรไปประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณใ์ นแตล่ ะดา้ นในพื้นที่ได้อย่างทวั่ ถึง และครอบคลมุ ทกุ ดา้ น 3) สถานศกึ ษาแต่งต้ังเจา้ หน้าท่รี ับสมัคร และตรวจสอบคุณสมบตั ิผ้สู มัครใหถ้ กู ต้องตามประกาศ แลว้ ประกาศรายชื่อผู้มิสิทธิเข้ารบั การคัดเลือกเป็นกรรมการสถานศึกษา ซึ่งเป็นผทู้ รงคุณวฒุ ิในแต่ละด้าน จำนวน 8 คน 4) สถานศึกษาเชิญประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อเลือกประธานคณะกรรมการ สถานศึกษา โดยที่ประชุมมีมติให้ พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) เป็นประธานคณะกรรมการ สถานศกึ ษา 5) สถานศึกษาเสนอรายช่ือคณะกรรมการสถานศึกษาต่อผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม พิจารณาแต่งตั้งประธานกรรมการและ กรรมการสถานศึกษา ตามคำสัง่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัด นครปฐม ที่ 108/2562 ลงวนั ที่ 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 6) สถานศึกษาได้เชิญคณะกรรมการสถานศึกษาประชุม เพื่อชี้แจงให้ทราบถึงภารกิจของ สถานศึกษา บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษา วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ 1 คร้งั สถานศึกษาได้ช้ีแจงบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษา และในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนา

215 การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษา ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง การจัดหาหนังสือเรียน ส่งเสริมการให้มี การระดมทุนทางสังคม และทรัพยากรจากชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรอื่นท้ังภาครัฐและ เอกชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และข้อหารือต่าง ๆ เพื่อ ขอความเห็นชอบ ขอคำปรึกษา ข้อเสนอแนะ โดยมีการพูดคุย ซักถามในประเด็นท่ีเก่ียวข้องจนเป็นที่ เข้าใจ คณะกรรมการสถานศึกษาจึงให้ข้อเสนอแนะ เพื่อนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพต่อไป 7) สถานศึกษาได้เชิญคณะกรรมการสถานศึกษาเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษา เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการ ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงานของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ผลการดำเนินงานท่เี กิดข้ึนและร่องรอย หลกั ฐานที่เกดิ ขึน้ จากการดำเนินงานตามสภาพจรงิ สถานศึกษาดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยให้คณะกรรมการ สถานศึกษามีส่วนร่วม ให้คำปรึกษา ให้ข้อเสนอแนะ และให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการประเมินตนเอง หลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมให้มีการระดมทุนทาง สังคม และทรัพยากรจากชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรอ่ืนทั้งภาครัฐและเอกชน ให้มีมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และมีส่วนร่วมในการติดตาม และ เสนอแนะผลการดำเนนิ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอ้ มูล ร่องรอย หลักฐาน 1. ประกาศ คำสัง่ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการสรรหาและแต่งตงั้ คณะกรรมการสถานศึกษา 2. คำสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการสถานศกึ ษา 3. รายงานประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 4. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการประเมินตนเองท่ีได้รับ การเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา 5. หลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ท่ีได้รับการเห็นชอบ จาก คณะกรรมการสถานศกึ ษา

216 ตารางแสดงผลการดำเนินงานทที่ ำได้ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการดำเนินงานที่ทำได้ เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เปน็ ไปตาม เกณฑ์การพจิ ารณา การพจิ ารณา เกณฑก์ ารพิจารณา 1. คณะกรรมการสถานศึกษามกี ารให้คำปรึกษา และ  พจิ ารณาให้ข้อเสนอแนะ และใหค้ วามเห็นชอบแผนพัฒนา การจัดการศกึ ษาหรือแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา  2. คณะกรรมการสถานศึกษามกี ารให้คำปรกึ ษา และ พิจารณาให้ข้อเสนอแนะ และให้ความเหน็ ชอบแผนปฏบิ ตั ิ  การประจำปีของสถานศึกษา  3. คณะกรรมการสถานศึกษามีการให้ความเห็นชอบหลกั สูตร สถานศกึ ษา  4. คณะกรรมการสถานศึกษามีการส่งเสริมให้มีการระดมทุน ทางสังคม และทรัพยากรจากชุมชน องคก์ รปกครองส่วน ท้องถิน่ องค์กรอื่นทง้ั ภาครฐั และเอกชน ใหม้ สี ว่ นรว่ มใน การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการติดตาม และ เสนอแนะผลการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยของสถานศกึ ษา ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนผลการดำเนนิ งานทีท่ ำได้ตามเกณฑ์การพิจารณาเทยี บกบั เกณฑ์ระดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนที่ได้ คะแนนทีไ่ ด้ เกณฑ์ระดับคุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้เปน็ ไปตามเกณฑ์ 3 คะแนน ยอดเยี่ยม การพิจารณาจำนวน 5 ขอ้ (2.63 – 3.00)

217 ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 3.6 การปฏิบัติหน้าท่ีของ คณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเป็นไปตามบทบาทที่กำหนด ได้ 3 คะแนน จากคะแนนเตม็ 3 คะแนน อยู่ใน ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม ประเด็นการพิจารณาที่ 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษา (ค่านำ้ หนักคะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจัด หรือร่วมจัดการศึกษาของภาคี เครือข่ายทำงาน โดยการประสานงานกับภาคีเครือข่ายเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการบริหาร จดั การและพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพื่อจัดการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ชุมชน ภาคีเครือข่ายของสถานศึกษาเป็นเครือข่ายทาง สังคมที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล องค์กร วัด โรงเรียน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่น องค์กรเอกชน สถาบันศาสนา หน่วยงานราชการทีเ่ กยี่ วข้องในทกุ ระดบั มีเป้าหมายในการทำงาน ร่วมกัน คือ การส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง ประกอบด้วย การศึกษา พัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตาม อัธยาศัย ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนต้องอาศัย ความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการทำงาน สถานศึกษามีการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายใน การจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างต่อเนื่อง ในทุกระดับของ หน่วยงาน สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษาของภาคี เครือข่าย โดยสถานศึกษาจัดทำทำเนียบเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีจัด หรือร่วมจัดการศึกษา มีการประสานงานทั้งทเี่ ปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ ได้แก่ การประชุม การพูดคยุ หารือ การทำหนงั สือ ราชการ เพื่อให้เครือข่ายเข้าใจพันธกิจ และบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา รวมท้ังหลักการ และ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาแต่ละประเภท ให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล ร่วมติดตามผล ให้ข้อเสนอแนะ สถานศึกษาทำหนังสือขอบคุณภาคีเครือข่ายที่จัด หรือ รว่ มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคีเครือข่าย ภายหลังเสร็จส้ินกจิ กรรม และ สถานศึกษาได้จัดลงนามความร่วมมือ (MOU) กบั เครอื ข่ายบางหน่วยงาน เช่น เทศบาลตำบลบางกระทึก องค์การบริหารส่วนตำบลยายชา องค์การบริหารส่วนตำบลตลาดจินดา และเทศบาลเมืองกระทุ่มล้ม

218 นอกจากนี้สถานศึกษายังให้ความร่วมกับภาคเี ครือข่ายในการร่วมจัดกิจกรรมของภาคีเครือขา่ ย เพื่อทำให้ เกิดความสัมพันธท์ ดี่ รี ะหวา่ งหนว่ ยงาน สถานศึกษาให้ความสำคัญกับการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม การบริหารจัดการ สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อใหเ้ กิดการมีส่วนรว่ มในการบริหารจัดการ โดยให้ภาคเี ครือข่ายที่เขา้ มา สง่ เสริม สนับสนุนสถานศึกษาในด้านส่ือ หรือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ด้านการจัดการศึกษา หรือพัฒนา วิชาการและบุคลากร ด้านขวัญกำลังใจแก่ผู้ที่จัดการศึกษา หรือผู้เรียน หรือผู้รับบริการ และด้าน การส่งเสริม สนับสนุนเพ่ือสรา้ ง หรือพัฒนาแหลง่ การเรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย ผลการดำเนินงานทเ่ี กิดข้นึ และรอ่ งรอย หลกั ฐานที่เกดิ ข้ึน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายท่ีเข้ามาส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาในด้านสื่อ หรือเทคโนโลยีเพ่ือ การศึกษา ด้านการจัดการศึกษา หรือพัฒนาวิชาการและบุคลากร ด้านขวัญกำลังใจแก่ผู้ท่ีจัดการศึกษา หรือผู้เรียน หรือผู้รับบริการ และด้านการส่งเสริม สนับสนุนเพื่อสร้าง หรือพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย ดังน้ี ภาคีเครือข่าย ดา้ นท่สี ่งเสริม สนับสนนุ สถานศกึ ษา บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกดั (มหาชน) สอ่ื หรอื เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (CAT Telecom Public Company Limited) สถานวี ทิ ยุโทรทศั นเ์ พอ่ื การศึกษา (ETV) ส่อื หรอื เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา สำนักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย สอ่ื หรือเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา การจัดการศกึ ษา หรอื พัฒนาวิชาการและบุคลากร ขวัญกำลังใจแก่ผู้ท่ีจัดการศกึ ษา หรือผ้เู รยี น หรือผรู้ บั บริการ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย สื่อ หรือเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา วิทยาลยั สงฆพ์ ทุ ธปัญญาศรที วารวดี การจัดการศึกษา หรอื พัฒนาวิชาการและบุคลากร บรษิ ทั เทพผดงุ พรมะพรา้ ว จำกัด สอื่ หรอื เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา การจดั การศึกษา หรือพฒั นาวชิ าการและบุคลากร ขวญั กำลงั ใจแกผ่ ทู้ ่จี ัดการศึกษา หรือผู้เรียน หรอื ผู้รบั บรกิ าร การส่งเสริม สนบั สนนุ เพือ่ สร้าง หรือพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้ สมาคมห้องสมดุ แหง่ ประเทศไทย สอ่ื หรอื เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา การจดั การศกึ ษา หรือพัฒนาวิชาการและบุคลากร

219 ภาคเี ครือขา่ ย ด้านท่สี ง่ เสริม สนับสนนุ สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการเลือกตั้ง ส่ือ หรอื เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา การจดั การศกึ ษา หรอื พัฒนาวิชาการและบคุ ลากร การส่งเสริม สนับสนุนเพอื่ สร้าง หรือพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ สำนักงานคุ้มครองผ้บู ริโภค ส่อื หรือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร การจดั การศึกษา หรอื พฒั นาวิชาการและบุคลากร ทางการศกึ ษา สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครปฐม สอื่ หรอื เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา การจัดการศกึ ษา หรือพัฒนาวชิ าการและบคุ ลากร ขวัญกำลงั ใจแกผ่ ูท้ ่จี ัดการศกึ ษา หรอื ผู้เรยี น หรอื ผู้รับบรกิ าร สํานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั นครปฐม สื่อ หรือเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา การจัดการศกึ ษา หรอื พฒั นาวชิ าการและบุคลากร สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสามพราน การจัดการศกึ ษา หรือพฒั นาวิชาการและบคุ ลากร สาธารณสขุ อำเภอสามพราน ส่อื หรอื เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา การจดั การศึกษา หรือพัฒนาวิชาการและบุคลากร สำนกั งานเกษตรอำเภอสามพราน ส่อื หรอื เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การจดั การศึกษา หรือพฒั นาวชิ าการและบุคลากร ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ เขตการศกึ ษา 1 ส่อื หรือเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา จังหวดั นครปฐม การจัดการศกึ ษา หรอื พัฒนาวิชาการและบคุ ลากร ขวญั กำลงั ใจแก่ผูท้ ่จี ัดการศึกษา หรอื ผ้เู รยี น หรือผ้รู ับบริการ วดั ไรข่ ิง พระอารามหลวง สอ่ื หรือเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา การจดั การศกึ ษา หรือพัฒนาวิชาการและบุคลากร ขวญั กำลงั ใจแกผ่ ูท้ ่จี ัดการศกึ ษา หรอื ผเู้ รียน หรอื ผ้รู บั บริการ การส่งเสริม สนับสนนุ เพ่อื สร้าง หรอื พฒั นาแหล่งการเรียนรู้ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลทุก สอ่ื หรอื เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา ตำบล การจดั การศึกษา หรือพฒั นาวิชาการและบคุ ลากร ศนู ยฝ์ กึ และอบรมเด็กและเยาวชนหญงิ การจดั การศกึ ษา หรือพฒั นาวชิ าการและบุคลากร บ้านปรานี

220 ภาคเี ครือข่าย ดา้ นท่ีส่งเสรมิ สนับสนุนสถานศกึ ษา ศูนยฝ์ กึ อาชีพหญงิ ตาบอดสามพราน ส่อื หรือเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา การจดั การศกึ ษา หรอื พัฒนาวชิ าการและบุคลากร โรงเรยี นวดั ไรข่ งิ (สุนทรอุทศิ ) การจัดการศึกษา หรือพัฒนาวิชาการและบุคลากร โรงเรยี นวดั ไร่ขงิ วิทยา การจดั การศึกษา หรือพัฒนาวิชาการและบุคลากร โรงเรียนวัดทา่ พูด การจดั การศกึ ษา หรอื พัฒนาวชิ าการและบุคลากร องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน การจดั การศกึ ษา หรอื พฒั นาวิชาการและบุคลากร ขวัญกำลังใจแกผ่ ู้ท่ีจัดการศกึ ษา หรอื ผเู้ รยี น หรือผูร้ ับบริการ วดั ในแตล่ ะตำบล การส่งเสริม สนับสนุนเพอ่ื สร้าง หรอื พฒั นาแหล่งการเรียนรู้ การจัดการศึกษา หรือพฒั นาวชิ าการและบุคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแตล่ ะตำบล การส่งเสริม สนบั สนนุ เพื่อสร้าง หรือพฒั นาแหลง่ การเรยี นรู้ การจดั การศกึ ษา หรอื พัฒนาวชิ าการและบคุ ลากร ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ในอำเภอสามพราน การสง่ เสรมิ สนับสนนุ เพ่ือสร้าง หรือพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ การจัดการศกึ ษา หรอื พฒั นาวิชาการและบคุ ลากร แหลง่ เรยี นรู้ในอำเภอสามพราน การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ เพื่อสร้าง หรือพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ การจัดการศึกษา หรอื พฒั นาวิชาการและบคุ ลากร การส่งเสรมิ สนับสนนุ เพอื่ สร้าง หรอื พฒั นาแหลง่ การเรยี นรู้ ข้อมูล รอ่ งรอย หลกั ฐาน 1. บนั ทึกลงนามความร่วมมือ (MOU) 2. บนั ทกึ ขอ้ ความ หนังสอื ราชการในการประสานงาน ขอความอนุเคราะห์ ขอขอบคณุ 3. ทำเนียบภาคเี ครือขา่ ย 4. แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 5. สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 6. ภาพถา่ ยทเ่ี ก่ยี วข้อง

221 ตารางแสดงผลการดำเนินงานท่ีทำได้ตามเกณฑก์ ารพิจารณา ผลการดำเนนิ งานท่ีทำได้ เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ เกณฑ์การพจิ ารณา การพจิ ารณา การพจิ ารณา 1. มกี ารช้ีแจง สร้างความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พนั ธกจิ และบทบาท  หนา้ ที่ของสถานศึกษา ให้แก่ภาคเี ครอื ขา่ ยได้รบั ทราบ 2. มภี าคเี ครอื ข่ายทเี่ ขา้ มาร่วมส่งเสรมิ สนบั สนุนสถานศกึ ษา  ในดา้ นสือ่ หรอื เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา 3. มีภาคเี ครอื ข่ายทเ่ี ขา้ มารว่ มส่งเสริม สนับสนนุ สถานศึกษา  ในดา้ นการจัดการศึกษา หรอื พัฒนาวชิ าการ และบุคลากร 4. มีภาคีเครือข่ายทเี่ ข้ามาร่วมส่งเสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษา  ในดา้ นขวญั กาลังใจแก่ผู้ท่ีจดั การศกึ ษา หรอื ผเู้ รียน หรอื ผู้รับบริการ  5. มีภาคีเครือข่ายทเ่ี ข้ามารว่ มกบั สถานศกึ ษาในการสง่ เสรมิ สนบั สนุนเพือ่ สร้าง หรอื พัฒนาแหลง่ การเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย 5 รวม ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนผลการดำเนินงานที่ทำได้ตามเกณฑ์การพิจารณาเทียบกบั เกณฑ์ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนท่ไี ด้ คะแนนท่ีได้ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนินได้เป็นไปตามเกณฑ์ 3 คะแนน ยอดเยยี่ ม การพิจารณาจำนวน 5 ข้อ (2.63 – 3.00) ผลการประเมินคณุ ภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาที่ 3.7 กาส่งเสริม สนบั สนุนภาคี เครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ได้ 3 คะแนน จากคะแนนเต็ม 3 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยีย่ ม

222 ประเด็นการพิจารณาท่ี 3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (คา่ น้ำหนัก คะแนน 5 คะแนน) เกณฑ์การพิจารณา 1 มีการวางแผน โครงการ กิจกรรม หรือข้ันตอนการดำเนินงานใน การส่งเสรมิ สนับสนุนการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้มีการประชุม หารือ และมีการวางแผนการปฏิบัติงานตามแนวทางการขับเคล่ือน การดำเนินงาน ในอันท่ีจะเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ การศึกษาอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงาน กศน. โดยมีการประชุมบุคลากรประจำเดือนของสถานศึกษา ซ่ึงได้พิจารณา เห็นวา่ สังคมไทยในอนาคตจะเปน็ สังคมฐานความรู้ โดยมกี ารจัดการความรู้และนวัตกรรมเป็นปัจจยั สำคัญ ในการพัฒนา จึงเห็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อให้ประชาชน ในเขตพ้ืนท่ีบริการ และประชาชนทั่วไปทุกคนมีสิทธิและความเสมอภาคในการเรียนร้อู ย่างต่อเนอ่ื งตลอด ชีวติ เป็นการเรียนรู้ทเี่ กิดขน้ึ ไดใ้ นทกุ เวลา ทุกสถานที่ของคนทกุ คนในทุกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม โดยมี เป้าหมายให้คนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยได้มีการจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2564 ในแผนปฏิบัติงานดังกล่าว ครอบคลุมการจดั กิจกรรมทั้งด้านการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมุ่งหวังให้เป็นสังคมแห่ง การเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมในศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”อำเภอสามพราน กศน.ตำบลทุกแห่ง และทุกศูนย์การเรียนชุมชน โดยจัดกิจกรรมในรูปแบบทหี่ ลากหลายเพ่อื ส่งเสริมใหเ้ กิดสังคมแห่งการเรียนร้แู ละการศึกษาตลอดชีวติ นอกจากน้ีในด้านแหล่งการเรียนรู้ สถานศึกษาได้มีการดำเนินงานสืบเนื่องจากปีงบประมาณ 2563 ท่ผี ่านมา ในด้านการพัฒนาสถานศึกษาส่กู ารเป็น กศน.WOW ซงึ่ ได้นำนโยบายส่กู ารปฏบิ ัติ โดยมี การวางแผนการพัฒนาการขับเคลื่อนการพัฒนา กศน.ตำบล ท้ัง 16 แห่ง ให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม มีคุณภาพได้มาตรฐานระดับอำเภอ และพัฒนาให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม มีคุณภาพได้ มาตรฐานระดับจังหวัด อยา่ งน้อย 2 แห่ง และพัฒนาให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม พลสั มคี ุณภาพได้ มาตรฐานระดบั จังหวัด 1 แหง่ ภายในเดือนกมุ ภาพันธ์ 2564

223 ผลการดำเนนิ งานท่เี กิดขนึ้ สถานศึกษาได้มีการจัดและดำเนินโครงการต่าง ๆ ท้ังด้านการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน โครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านต่าง ๆ รวมถึงการศึกษาต่อเน่ืองประเภทต่าง ๆ ทั้งโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการพัฒนาทักษะชีวิต โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน และการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงทุก โครงการล้วนแล้วแต่เป็นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซ่ึงสถานศึกษาได้มีการปรับรูปแบบและกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ เชน่ การเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ เป็นต้น การสนับสนุน ส่งเสริมการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในลักษณะแหล่งการเรียนรู้ สถานศึกษาได้ดำเนินโครงการพัฒนา กศน.ตำบล ท้ัง 16 แห่ง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบล 5 ดี พรี เม่ียม และ กศน.ตำบล 5 ดี พรีเม่ียม พลัส ซึ่งมีการพัฒนา 5 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาครูให้มีสมรรถนะใน การจัดการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ (Good Teacher) มีการพัฒนา กศน.ตำบล ให้มีบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ (Good Place Best Check in) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี ทันสมัย มีประสิทธิภาพ (Good Activities) มีภาคีเครือข่ายที่สามารถส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียน การสอนได้อย่างมีคุณภาพ (Good Partnership) และมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรมเข้ามาบูรณา การปรับปรุง พัฒนาประยุกต์ใช้ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย (Good Innovation) โดยมี คณะกรรมการพิจารณาประเมินและคัดเลือก กศน.ตำบล ที่จะยกระดับให้เป็น กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม ระดบั จังหวัด ซ่ึงผลการพจิ ารณาสถานศึกษาได้รับการคัดเลอื ก จำนวน 2 แห่ง ไดแ้ ก่ กศน.ตำบล ไรข่ ิง และ กศน.ตำบลบางกระทึก และการพิจารณา กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมีย่ ม พลัส ระดับจงั หวดั ผลการ พิจารณาสถานศึกษาได้รับการพิจารณาให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม พลัส ระดับจังหวัด จำนวน 1 แห่ง คือ กศน.ตำบลกระทุ่มล้ม เกณฑ์การพิจารณา 2 มีการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม หรือข้ันตอนการดำเนินงาน ในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี โดยมีการแต่งต้ังคณะกรรมการ รับผิดชอบการดำเนินงานแต่ละโครงการ มีการนิเทศ กำกับติดตามผลการดำเนินงานและเสนอต่อ ผู้บริหารสถานศึกษาทุกครง้ั โครงการ/กจิ กรรมทไ่ี ด้ดำเนนิ การในการส่งเสรมิ และสนบั สนุนการสร้างสังคม

224 แห่งการเรียนรู้ ซึ่งได้ดำเนินการทั้ง 16 ตำบล ท้ังด้านการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านต่าง ๆ รวมถึงการศึกษาตอ่ เน่ืองประเภทต่าง ๆ ท้ังโครงการ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน โครงการพัฒนาทักษะชีวิต โครงการพัฒนาสังคมและชมุ ชน และการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตลอดจนการศึกษาตามอัธยาศยั นอกจากนี้ สถานศกึ ษาได้มกี ารแต่งตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณา กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรีเมีย่ ม เพ่ือเป็นการสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบต่าง ๆ ท้ัง 5 ด้าน คือ ครูดี (Good Teacher) สภาพแวดล้อมดี (Good Place Best Check in) กิจกรรมการเรียนรู้ดี (Good Activities) ภาคีเครือข่ายดี (Good Partnership) และมีนวัตกรรมดี (Good Innovation) นอกจากน้ี ได้ พิจารณาองค์ประกอบอ่ืน ๆ ได้แก่ มีแหล่งเรียนรู้อย่างเพียงพอ หลากหลาย ทั่วถึง มีระบบข้อมูล สารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ทุกประเภท มีการจัดระบบเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ มีการพัฒนา ทรัพยากรการเรียนรู้ท่ีมีอยู่ในชุมชนให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ มีระบบการจัดหาและรวบรวมความรู้ มีการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดเก็บและค้นคว้าองค์ความร้ไู ด้อย่างรวดเร็ว มีการสร้างสรรค์องค์ความรูใ้ หม่ ๆ ท่ีสอดคล้องกบั กระแสการเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลกและบริบทของสังคมไทย มีการสรา้ งองค์ความร้หู รือ เนื้อหาการเรียนรูท้ ี่สอดคล้องเหมาะสมกบั ศักยภาพและความตอ้ งการการเรียนรู้ของบุคคลกลุ่มหรือชุมชน พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย พัฒนาบุคคล องค์กร มีการบูรณาการใช้ความรู้เป็นฐานใน การแกป้ ัญหาและการพฒั นาที่เหมาะสมกับสภาพของชมุ ชน ผลการดำเนนิ งานท่ีเกดิ ขนึ้ สถานศึกษาได้ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้กับประชาชนใน ดา้ นการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ - โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน - โครงการจดั การศกึ ษานออกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานสำหรับคนพิการ - โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น - โครงการจัดหาหนังสือเรียน - โครงการประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา การส่งเสรมิ และสนับสนุนการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ใหก้ ับประชาชนในด้านการศึกษาต่อเน่ือง ได้แก่ - โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน - โครงการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต - โครงการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน

225 - โครงการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - โครงการภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสารดา้ นอาชพี - โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ัล - โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางการย จิต และ สมองของผู้สูงอายุ รวมถึงได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้กับประชาชนในด้าน การศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ ห้องสมุดประชาชน และกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นของ กศน.ตำบล นอกจากน้ี สถานศกึ ษาไดม้ ีการสง่ เสริม และสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ในรูปแบบของ กศน.ตำบล 5 ดี พรีเม่ียม จำนวน 16 แห่ง และมี กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ในระดบั จงั หวัด จำนวน 2 แหง่ คือ กศน.ตำบลไรข่ ิง และ กศน. ตำบลบางกระทกึ และ กศน.ตำบล ตน้ แบบ 5 ดี พรีเมยี่ ม พลัส ในระดับจังหวดั จำนวน 1 แห่ง คอื กศน. ตำบลกระท่มุ ลม้ โดยมีผลการดำเนินงานทเ่ี ป็นประจกั ษ์ เป็นตน้ แบบท่ดี ี เกณฑก์ ารพิจารณา 3 มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ หรอื การนำองค์ความร้ทู ี่มีอยู่แล้วในพ้ืนท่ี ไปใช้ในการถ่ายทอดความรแู้ ละแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ก่กล่มุ เป้าหมาย กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศึกษา สถานศึกษา ได้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือนำองค์ความรู้ที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ไปใช้ใน การถ่ายทอดความรู้และแลกเปล่ียนเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย โดยผ่านการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ ในรูปแบบต่าง ๆ ณ กศน.ตำบลแต่ละแห่งในพื้นท่ี ท้ัง 16 แห่ง ท้ังด้านการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน โครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านต่าง ๆ รวมถึงการศึกษาต่อเน่ือง ประเภทต่าง ๆ ท้ังโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการพัฒนาทักษะชีวิต โครงการพัฒนาสังคมและ ชุมชน และการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการศึกษาตาม อัธยาศัย มีการนำภูมิปัญญาในแต่ละพ้ืนที่มาเป็นผู้ร่วมถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบวิทยากรให้ความรู้ใน หลักสูตรต่าง ๆ เช่นพระภิกษุ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้รู้ในแขนงต่าง ๆ ท่ีเป็นเครือข่ายร่วมจัดการศึกษา ทงั้ ด้านสาธารณสุข การปกครอง เป็นต้น ทำให้เกิดการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ในพื้นท่ีแต่ละแห่ง แต่ละตำบล เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียน หรือผู้รับบริการได้รับความรู้ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างกว้างขวางและท่วั ถงึ

226 อย่างไรก็ตามในช่วงประมาณต้นปี พ.ศ.2564 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา (COVID-19) มีการแพร่ระบาดรุนแรงในพื้นที่อำเภอสามพราน ส่งผลให้เป็นอุปสรรคในการจัด กระบวนการเรียนรู้ การรวมกลุ่มการจัดกิจกรรมไม่สามารถกระทำได้ จึงทำให้สถานศึกษาต้องปรับ รปู แบบการเรยี นรู้ใหม้ ีความเหมาะสม ปลอดภยั แก่กลมุ่ เปา้ หมาย ลดการแพร่ระบาดของโรค ตลอดจนให้ เป็นไปตามมติและประกาศของคณะกรรมการควบคุมโรคจังหวัดนครปฐม สถานศึกษาจึงปรับใช้วิธีการ จัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ โดยให้เป็นไปตามตามเหมาะสม ความพร้อมของแต่ละสถานท่ี และ ความพร้อมของแตล่ ะบุคคล ซ่ึงมคี วามแตกตา่ งกันออกไป

227 ผลการดำเนินงานท่ีเกดิ ขึ้น สถานศึกษามีผลการดำเนินงานการถ่ายทอดองค์ความร้ขู อง กศน.ตำบล ท้ัง 16 แห่ง มีดังน้ี การถ่ายทอดองค์ความรู้ ลำดบั กศน.ตำบล กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ กิจกรรม กจิ กรรม การจดั การศึกษา 1 กระทุ่มล้ม ผ้เู รียนการศึกษานอกระบบ การจัดการศกึ ษา 2 คลองใหม่ ตามอธั ยาศยั 3 คลองจนิ ดา ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ตอ่ เนื่อง 2,050 4 ตลาดจินดา 455 5 บางช้าง 75 150 370 6 บา้ นใหม่ 464 7 อ้อมใหญ่ 86 175 496 8 ไรข่ งิ 377 9 ท่าตลาด 89 170 467 10 หอมเกรด็ 430 11 บางกระทึก 103 131 305 12 ทรงคนอง 355 13 ท่าขา้ ม 82 148 527 14 สามพราน 467 15 ยายชา 90 137 455 16 บางเตย 367 82 110 367 รวม 451 554 173 8,596 72 185 82 112 51 124 79 140 86 170 75 95 90 117 76 158 1,772 2,295

228 เกณฑ์การพิจารณา 4 มแี หล่งเรยี นรู้ทีส่ ามารถเขา้ ถึงได้งา่ ย และใช้ประโยชน์ต่อการเรียนรูไ้ ด้ กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ทุกตำบลดำเนินการสำรวจแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ใน พื้นท่ี ทั้งท่ีเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เป็นศาสนสถาน หรือแหล่งเรียนรู้ที่อยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจน แหล่ง เรียนรู้ที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสถานศึกษา ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ท่ีอยู่ในสถานท่ีต้ังสถานศึกษา ประกอบด้วยห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำเภอสามพราน และหอ้ งสมุดวิทยาสงฆ์พุทธปัญญา ศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย นอกจากน้ียังมีแหล่งเรียนรู้ในความดูแลของ สถานศึกษาท่ีตั้งอยู่ใน กศน.ตำบลต่าง ๆ คือ ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎีใหม่ประจำตำบลทุกตำบล ศนู ย์ส่งเสรมิ และพฒั นาประชาธิปไตยประจำตำบลทุกตำบล ศูนย์ดจิ ิทัล ชุมชนทุกตำบล เป็นต้น ซึ่งแหล่งเรียนรู้ทุกแห่งประชาชน ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงได้ง่าย สามารถใช้ ประโยชน์ต่อการเรยี นรไู้ ด้เปน็ อย่างดี

229 ผลการดำเนนิ งานท่เี กิดขึ้น สถานศกึ ษาไดจ้ ดั ทำทำเนยี บแหล่งการเรยี นรู้ ในพ้นื ที่ตา่ ง ๆ ทั้ง 16 ตำบล ดงั น้ี กศน. ตำบล ท่ีตัง้ ผูร้ บั ผดิ ชอบ กศน.ตำบลคลองใหม่ 153 ม.3 (อบต.คลองใหม่) ต.คลองใหม่ นายภรี ะ มายืนยง กศน.ตำบลบางช้าง อบต.บางช้าง ต.บางชา้ ง นางบุษกร พรมเพยี งชา้ ง กศน.ตำบลตลาดจินดา อบต. ตลาดจนิ ดา ม.2 ต.ตลาดจนิ ดา นางสาวอญั ชลีย์ วอ่ งไว กศน.ตำบลบา้ นใหม่ ทที่ ำการ อบต.บ้านใหมเ่ ดิม ม.2 ต.บ้านใหม่ นางอารรี ตั น์ พุทธรักษา กศน.ตำบลไรข่ ิง 51/4 ม.2 ต.ไร่ขิง นางอารีย์ ศรีทิพย์ กศน.ตำบลท่าตลาด ศูนย์หัตถกรรมดินขาว ม.6 ต.ทา่ ตลาด นางสาวนาฎยา พรมพันธุ์ กศน.ตำบลสามพราน 99 ม.9 ต. สามพราน นางวรพจน์ ศรีเพ็ชรธาราพนั ธ์ุ กศน.ตำบลบางกระทึก 6 ม.5 ต.บางกระทกึ นางอนงค์ ทั่งทอง กศน.ตำบลกระท่มุ ลม้ อาคารปรยิ ตั ิธรรม วดั นครช่ืนชุม ม.7 นางสาวชญานชุ ช้ินจนิ้ กศน.ตำบลบางเตย อาคารโรงผลิตน้ำดืม่ ชุมชน ต.บางเตย นางสาวทัตตยิ า นอ้ ยพิทักษ์ กศน.ตำบลอ้อมใหญ่ 26 ม. 7 ต.อ้อมใหญ่ นางวนั เพ็ญ ปน่ิ ทอง กศน.ตำบลทา่ ข้าม อาคารร้านคา้ สวัสดิการ ร.ร. นกั บญุ เปโตร นางสาวจุฑารัตน์ บุญปลูก กศน.ตำบลคลองจินดา รพสต.คลองจินดา (หลังเก่า) ต.คลองจนิ ดา นางสาวญาณิศา หมน่ื จง กศน.ตำบลหอมเกร็ด ศนู ย์การเรียนรตู้ ำบลหอมเกร็ด ม.4 นางสาวจติ รา เซย่ี งเทศ กศน.ตำบลยายชา หอฉันท์ วัดเดชานสุ รณ์ หมู่ 6 ต. ยายชา นายเมธา ประชมุ พันธุ์ กศน.ตำบลทรงคนอง หอสมุดวดั ทรงคนอง ม.5 ต.ทรงคนอง นางสาวจนิ ตนา โพธิ์ศรีทอง

230 แหล่งเรียนรูอ้ นื่ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ทีต่ ัง้ วัดไรข่ งิ พระอารามหลวง ศาสนสถาน ตำบลไร่ขิง วดั สามพราน (พุทโธภาวนา) ศาสนสถาน ตำบลสามพราน วดั ดงเกตุ ศาสนสถาน ตำบลสามพราน วดั หอมเกรด็ ศาสนสถาน ตำบลหอมเกร็ด วดั ปรดี าราม ศาสนสถาน ตำบลคลองจินดา วดั นักบญุ เปโตร ศาสนสถาน ตำบลท่าขา้ ม วดั ทา่ ข้าม ศาสนสถาน ตำบลท่าข้าม วดั นครชืน่ ชุม่ ศาสนสถาน ตำบลกระทุ่มล้ม วดั บางช้างใต้ ศาสนสถาน ตำบลบางชา้ ง วดั ธรรมปัญญารามบางมว่ ง ศาสนสถาน ตำบลบางชา้ ง วดั เชิงเลน ศาสนสถาน ตำบลบางชา้ ง วัดทา่ พดู ศาสนสถาน ตำบลไร่ขิง วัดทรงคนอง ศาสนสถาน ตำบลทรงคนอง วัดบางช้างเหนือ ศาสนสถาน ตำบลคลองใหม่ วดั เดชานุสรณ์ ศาสนสถาน ตำบลยายชา วดั สรรเพชญ ศาสนสถาน ตำบลยายชา วดั ญาณเวศกวัน ศาสนสถาน ตำบลบางกระทึก วดั ดอนหวาย ศาสนสถาน ตำบลบางกระทกึ วดั เทียนดดั ศาสนสถาน ตำบลออ้ มใหญ่ สภาวัฒนธรรมตำบลคลองจินดา กิจกรรมทางสังคม 115 หมู่ 6 ตำบลคลองจนิ ดา ตลาดนำ้ ดอนหวาย กิจกรรมทางสังคม หมู่ 5 ตำบลบางกระทึก แหล่งเรยี นรู้ศลิ ปะบ้านไพลิน กิจกรรมทางสังคม 128-129 หมู่ 8 ตำบลอ้อมใหญ่ กลุ่มพัฒนาและแปรรูปสมุนไพร กิจกรรมทางสังคม 14/137 หมู่ 4 ตำบลอ้อมใหญ่ กลุ่มผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพร (หมอเอี้ยง) กจิ กรรมทางสังคม 9/103 หมู่ 4 ตำบลท่าตลาด กลุ่มหัตถกรรมปั้นดินขาวนครปฐม กิจกรรมทางสังคม 69/49 หมู่ 2 ตำบลทา่ ตลาด ศนู ย์เรียนรู้การปลกู พืชระบบอินทรยี ์ กจิ กรรมทางสังคม หมู่ 3 ตำบลไรข่ ิง ศนู ย์เรียนรเู้ กษตรอนิ ทรยี ์ กจิ กรรมทางสังคม 4/2 หมู่ 3 ตำบลบ้านใหม่

231 แหล่งเรยี นรอู้ ่ืน ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ทต่ี ้ัง หมู่ 7 ตำบลบางเตย กล่มุ สตรีบางเตย กจิ กรรมทางสงั คม หมู่ 1 ตำบลบางเตย 73/1 หมู่ท่ี 5 ตำบลบางชา้ ง วทิ ยาลัยผู้สงู อายุตำบลบางเตย กจิ กรรมทางสังคม 43/4 หมู่ 4 ตำบลยายชา 18 หมู่ 1 ตำบลบา้ นใหม่ ศูนยก์ ารเรียนรู้ชุมชนบา้ นหวั อ่าว กจิ กรรมทางสงั คม หมู่ 2 ตำบลคลองใหม่ หมู่ 5 ตำบลคลองใหม่ บ้านนายลำจวน โสมะภรี ์ บคุ คล 70 หมู่ท่ี 4 ตำบลหอมเกรด็ หมู่ 5 ตำบลบางกระทึก บา้ นนางสนุ ีย์ อินทร์ประดับ บุคคล บา้ นนายบุญสืบ สุขขัง บุคคล วุน้ มะพร้าวโชคยืนยง บคุ คล วังมัจฉา สิง่ ที่มนษุ ย์สร้างขึน้ เรอื ศรีสวัสดยิ์ ้อนยุค ตลาดดอนหวาย สงิ่ ที่มนษุ ย์สรา้ งขนึ้ นอกจากนใ้ี นการพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ที่อยใู่ นสถานท่ีตั้งสถานศึกษา คอื ห้องสมุดประชาชน “เฉลิม ราชกมุ ารี” อำเภอสามพราน ได้มีการวางแผนการพัฒนาให้มีความทันสมยั เข้าถึงได้งา่ ยเกิดประโยชน์ต่อ การเรยี นรู้ โดยการพัฒนาบคุ ลากรบรรณารักษ์ ให้มคี วามรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีทีท่ ันสมัยใน การส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย มีการพัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน ให้เป็น Digital Library มีการใช้ E-Book เพื่อการส่งเสริมการอ่าน การใช้ QR Code เพ่ือการเข้าถึง ขอ้ มูลด้วย Smart phone ทำให้การศึกษาค้นคว้า หรือการหาความรู้ในห้องสมุดเพ่ือการศึกษา หรือเพื่อ ความบันเทิง เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว เข้าถึงได้ง่าย และในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน ไม่สามารถเปิดให้ ประชาชนเขา้ มาใชบ้ รกิ ารยมื คืนหนงั สอื หรอื ค้นคว้าในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ได้ บรรณารักษจ์ งึ ได้เน้นการให้บรกิ าร ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ต และ Facebook เป็นหลัก มีการส่งเสริมการอ่านใน วนั สำคัญตา่ ง ๆ ทงั้ วันสำคัญทางศาสนา และวันสำคญั ทางสถาบันกษัตริย์ เพือ่ ปลูกฝงั ให้ประชาชนมีความ รกั และเคารพในสถาบนั หลักของชาติ ในส่วนของแหล่งเรียนรู้ที่อยู่นอกสถานศึกษา คือ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง สถานศึกษาได้มี การจัดทำหลักสูตรท้องถ่ิน หมวดวชิ าสังคมศึกษา (สค.33136) รายวิชาหลวงพอ่ วดั ไร่ขงิ มง่ิ มงคล คนสาม พราน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อให้นักศึกษา กศน. ได้ลงทะเบียนเรียน มีการจัดทำสื่อประกอบ คือแผ่นพับ เพื่อให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้เรียนรู้คุณค่า ประวัติความเป็นมาของวัดไร่ขิง พระ อารามหลวง ซึง่ เป็นแหล่งเรยี นรู้ท่ีสำคัญของชาวจงั หวดั นครปฐม

232 เกณฑ์การพิจารณา 5 มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการ กจิ กรรม หรือข้ันตอน การดำเนินงานในการส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ หรือติดตาม ประเมินผล การดำเนนิ งานของแหล่งเรียนรู้ กระบวนการ/วธิ กี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ กิจกรรม การดำเนินงานของแหล่ง เรียนรู้ กศน.ตำบล โดยการจัดทำคำสั่งคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร ข้าราชการ และครูอาสาสมัคร โดยมีปฏิทินการนิเทศการดำเนินงานตลอดปีงบประมาณ นอกจากน้ีใน การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในแหล่งเรียนรู้ ได้มีการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานภายนอกสถานศึกษา โดยบุคลากรในพ้ืนที่ด้วย เช่น คณะกรรมการ กศน.ตำบล หรือผู้นำท้องท่ี ท้องถ่ินในแต่ละตำบล เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในแต่ละแห่ง โดยมีการบันทึกผลการนิเทศทุก ครั้งท่ีมีการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบล ทั้งนี้ทำให้เกิดความมั่นใจแก่ ผู้รับบริการได้ว่าการจัดกิจกรรมการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ ถูกต้อง โปร่งใส คุ้มค่ากับงบประมาณที่ส่วนราชการได้จัดสรรลงไป อน่ึงเม่ือเสร็จสิ้นการจัดกิจกรรมได้ดำเนินการ ประเมินผลการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบล โดยทำการ ประเมนิ ความพงึ พอใจในทกุ กจิ กรรมดว้ ยเชน่ กนั นอกจากนี้ได้มีการดำเนินการประเมินผลหลักสูตรท้องถ่ิน หมวดวิชาสังคมศึกษา (สค.33136) รายวิชาหลวงพ่อวัดไร่ขิง ม่ิงมงคล คนสามพราน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือหาประสิทธิภาพของ การนำไปใชด้ ว้ ยเช่นกนั ผลการดำเนนิ งานทีเ่ กดิ ขึน้ สถานศึกษาได้จัดทำคำสั่ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสามพราน ท่ี 204/2563 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2563 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปี งบประมาณ 2564 นอกจากนี้ได้จัดทำแผนการนิเทศกิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานทุกภาคเรียน มีการรายงานผลการนิเทศติดตามผลแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ตามประเดน็ ตา่ ง ๆ ไปยังตน้ สังกดั ไดแ้ ก่ นโยบายเร่งด่วน ด้านท่ี 2 Good Place-Best Check In สถานที่ดี “กศน.งามตา ประชาชื่นใจ เร่ืองท่ี 2 เร่งยะระดับ กศน.ตำบล เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเม่ียม เร่ืองท่ี 4 พัฒนาห้องสมุดประชาชน

233 “เฉลิมราชกุมารี” เป็น Digital Library ด้านท่ี 3 Good Activities เรื่องที่ 6 พัฒนาการจัดการศึกษา ออนไลน์ กศน. เรื่องที่ 8 เร่งปรับปรุงหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. ด้านท่ี 4 Good Partnerships เรื่องท่ี 9 เสรมิ สรา้ งความร่วมมือกับภาคเี ครอื ข่าย ด้านท่ี 5 Good Innovation เร่อื งท่ี 10 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย “หน่ึงชุมชน หน่ึง นวตั กรรม การพัฒนาชุมชนถน่ิ ไทยงาม” หนึง่ ตำบล หนึ่งนวัตกรรม ภารกจิ ต่อเน่ือง (งานปกติ) งานที่ 1 การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เรอ่ื งท่ี 1 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน (On site On-Air Online) งานท่ี 2 การศึกษาต่อเนื่อง เรื่องที่ 1 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สนับสนุนอาชีพเพ่ือการมีงานทำ “Re-Skill / Up-Skill” เร่ืองท่ี 2 โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน (Digital Literacy) เร่ืองท่ี 3 โครงการภาษาต่างประเทศ เพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ เร่ืองที่ 4 การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตร ทฤษฏีใหม่เพ่ือความกินดี อยู่ดี มีงานทำ (โคก หนอง นา โมเดล) เรื่องที่ 5 การจัดกิจกรรมป้องกันภาวะ โรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุ เรื่องท่ี 6 กิจกรรมทักษะชีวิต (ยาเสพติด โรคอุบัติใหม่ คุณแม่วัยใส) เรื่องท่ี 7 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เร่ืองท่ี 8 โครงการชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนิยมยั่งยืน ของ สำนักงาน กศน. งานท่ี 3 การศึกษาตามอัธยาศัย เร่ืองที่ 5 ห้องสมุดประชาชน เรื่องท่ี 6 บ้านหนังสือ ชุมชน เร่ืองที่ 7 ห้องสมุดเคลื่อนที่ชาวตลาด เร่ืองท่ี 8 ห้องสมุดประชาชนเคล่ือนที่ งานที่ 4 เรื่องอ่ืน ๆ เร่ืองท่ี 9 การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เรื่องท่ี 10 การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษา เร่อื งที่ 11 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 อน่ึงในการรายงานผลการนิเทศติดตามผลดังกล่าว ประกอบด้วยการรายงานในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ สภาพท่ีพบ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาทั้งต่อ สถานศึกษา และต่อต้นสังกัด เป็นต้น ซ่ึงพบว่ามีผลการดำเนินงานในภาพรวมทุกกิจกรรมเป็นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพ เกณฑ์การพิจารณาที่ 6 มีการนำผลการติดตาม ประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาโครงการ กิจกรรม หรือแหล่งเรยี นรู้ กระบวนการ/วิธกี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษา สถานศึกษาได้มีการนำผลการติดตาม และประเมินผลไปใชใ้ นการพัฒนาโครงการ กิจกรรม หรือ แหล่งเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการแหลง่ เรียนรู้ที่มีอยู่ในชุมชน โดยการนำประเด็นที่พบ ตลอดจน ข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นต่าง ๆ จากคณะกรรมการนิเทศภายในที่ได้รับการแต่งตั้งจากสถานศึกษา

234 ตลอดจนข้อคิดเห็นจากผู้นิเทศกิจกรรมการเรียนการสอน ซ่ึงเป็นบุคคลภายนอกสถานศึกษา ในแต่ละ ตำบล มาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมบุคลากรประจำเดือนของสถานศึกษา และนำผลมาปรับปรุง การดำเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบลในทันที เช่น การศึกษาเพ่ือ พัฒนาอาชีพในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังชั้นเรียนวิชาชีพ หรือกลุ่มสนใจหลักสูตรต่าง ๆ ท้ังประเด็นสภาพท่ีพบ ปจั จยั ท่สี ง่ ผลต่อความสำเร็จ ปัญหา อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนาตา่ ง ๆ เป็นต้น นอกจากนี้สถานศึกษาได้ดำเนินโครงการพฒั นาบุคลากรเพ่ือพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ กศน.ตำบล เพื่อ พัฒนาให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม โดยได้ศึกษาดูงาน กศน.ตำบลดีเด่น ได้แก่ กศน.ตำบลบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และโครงการพัฒนาบุคลากรบรรณารักษ์ เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน ให้เป็นห้องสมุดดิจิทัล (Digital Library) โดยได้ศึกษา ดูงาน (Digital Library) ณ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ซึ่งผลจากการศึกษาดูงานท้ัง 2 แห่ง บุคลากรทั้งครู กศน.ตำบล และบรรณารักษ์ ได้รับความรู้ ความเข้าใจเพิ่มข้ึนอย่างมาก และสามารถนำความรู้ท่ีได้รับจากการศึกษาดูงานมาปรับปรุง พัฒนา กศน. ตำบล และหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อำเภอสามพราน อยา่ งเป็นรูปธรรม และในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) สถานศึกษาได้เห็นถึง ความสำคัญของการปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ จึงได้ส่งบุคลากร เข้ารับการอบรมการจัดการเรียนรู้ การจัดทำแผนการเรียนรู้ออนไลน์ ซ่ึงจัดโดยสำนักงาน กศน.จังหวัด นครปฐม นอกจากนี้ ได้จัดส่งบุคลากรครู กศน.ตำบล คือนางอนงค์ ทั่งทอง ครู กศน.ตำบลบางกระทึก เป็นตัวแทนสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม เข้ารบั การอบรมปฏิบัติการครูผู้สอนและที่ปรึกษาห้องเรยี น ออนไลน์ หลกั สตู ร “การสร้างเว็บขอ้ มลู ความรู้ชุมชน” ด้วยระบบสื่ออิเลคทรอนิกส์ จากสถาบนั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคกลาง ระหว่างวันท่ี 23-25 สิงหาคม 2564 และได้นำความรู้มา เป็นวิทยากรถ่ายทอดให้กับบุคลากร ครู กศน.ตำบล ครูผู้ช่วย เจ้าหน้าท่ีห้องสมุด และบรรณารักษ์ ของ ทุกสถานศึกษาในสังกัด สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ในหลักสูตร“การสรา้ งเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน” ด้วยระบบออนไลน์ ตามโครงการคลังความรู้ กศน.เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Thailand Knowledge Portal : TKP) ประจำปงี บประมาณ 2564 ระหวา่ งวนั ท่ี 30 สิงหาคม ถึง 10 กันยายน 2564 ผลการดำเนนิ งานที่เกดิ ข้ึน สถานศึกษาได้นำผลจากการศึกษาดูงานสถานศึกษาต้นแบบในด้านต่าง ๆ และจากการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ไปใช้ในการพัฒนากิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตัวอย่างได้แก่ นำความรู้ด้าน เทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับปรงุ กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดจนการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ใน กศน.

235 ตำบล เช่น การใช้ E-Book การใช้เทคโนโลยี AR การใช้ QR Code เพ่ือการเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ การจดั สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ท้ังด้านกายภาพ และด้านเทคโนโลยที างการศกึ ษา ผลท่เี กิดขึ้นคือ กศน.ตำบลไร่ขิง และ กศน.ตำบลบางกระทึก สามารถพัฒนาและปรบั ปรงุ ให้เป็น แหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม ในระดับจังหวัดนครปฐม และ กศน.ตำบลกระทุ่มล้ม ได้เป็น กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม พลัส ในระดับจังหวัดนครปฐม นอกจากนี้ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำเภอสามพราน กไ็ ด้นำความรู้ด้าน (Digital Library) มาพฒั นาและส่งเสรมิ การเรียนรู้ ตามอัธยาศัย ในห้องสมุดของสถานศึกษา และบรรณารักษ์ของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน ได้เป็นวิทยากรนำความรู้ดังกล่าวไปให้ความรู้ เผยแพร่แก่บรรณารักษ์ของ กศน.อำเภอ ต่าง ๆ ในโครงการพัฒนาบุคลากรด้านบรรณารักษ์ ของสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม และครู กศน. ตำบล ซึ่งเป็นวิทยากรแกนนำ ได้เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้าน“การสร้างเว็บข้อมูลความรู้ชุมชน” ด้วยระบบออนไลน์ ตามโครงการคลังความรู้ กศน.เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้แก่บุคลากรของจังหวัด นครปฐม ดว้ ย ในสว่ นของสถานศึกษา สามารถจัดทำเว็บไซต์ข้อมลู ความรู้ชุมชนของตำบลตา่ ง ๆ ท้งั 16 ตำบล ของอำเภอสามพราน เป็นทเี่ รียบร้อย สามารถใช้งานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยประกอบดว้ ยข้อมูล ตา่ ง ๆ ได้แก่ อาชีพทอ้ งถนิ่ แหล่งเรียนรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ แหลง่ ท่องเที่ยว ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ของแต่ละตำบล ขอ้ มูล รอ่ งรอย หลกั ฐาน 1. แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ 2564 2. สรปุ ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 3. รายงานการประชุมประจำเดือนของสถานศึกษา 4. ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ 5. สมดุ เย่ียมแหล่งเรียนรู้ 6. เกียรตบิ ตั ร รางวัล

236 ตารางแสดงผลการดำเนนิ งานท่ีทำไดต้ ามเกณฑ์การพจิ ารณา ผลการดำเนินงานที่ทำได้ เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตาม เกณฑ์การพจิ ารณา การพจิ ารณา เกณฑก์ ารพิจารณา 1. มีการวางแผน โครงการ กจิ กรรม หรือขัน้ ตอนการดำเนินงานใน  การส่งเสริม สนับสนุนการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้  2. มีการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม หรือข้ันตอน การดำเนนิ งานในการส่งเสรมิ สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้  3. มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือการนำองค์ความร้ทู ี่มีอยแู่ ล้วใน พืน้ ท่ี ไปใช้ในการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลยี่ นเรียนรู้แก่  กลุ่มเป้าหมาย 4. มีแหล่งเรียนรูท้ สี่ ามารถเข้าถงึ ไดง้ ่าย และใช้ประโยชน์ต่อ  การเรียนรู้ได้ 5. มีการติดตามประเมินผลการดำเนนิ งานโครงการ กิจกรรม หรือ  ข้ันตอนการดำเนินงานในการสง่ เสริม สนับสนนุ การสรา้ งสงั คมแหง่ 6 ขอ้ การเรียนรู้ หรือติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของแหล่งเรียนรู้ 6. มกี ารนำผลการติดตาม ประเมินผลไปใช้ในการพฒั นาโครงการ กจิ กรรม หรือแหลง่ เรียนรู้ รวม ตารางเปรยี บเทียบจำนวนผลการดำเนินงานท่ีทำได้ตามเกณฑ์การพิจารณาเทียบกบั เกณฑ์ระดับคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนท่ีได้ คะแนนที่ได้ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ การได้ 5 คะแนน ยอดเยี่ยม เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา (4.39-5.00) จำนวน 6 ขอ้ ผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาในประเด็นการพิจารณาท่ี 3.8 การส่งเสริม สนับสนุน การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยใู่ นระดับคุณภาพ ยอดเยย่ี ม

237 ประเด็นการพิจารณาท่ี 3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา (ค่าน้ำหนัก คะแนน 5 คะแนน) กระบวนการ/วธิ ีการดำเนินงานของสถานศกึ ษา เกณฑ์การพิจารณาที่ 1 มีการกำหนดประเด็นการวิจัยท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหา หรือความตอ้ งการของสถานศึกษา กระบวนการ/วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้มีการประชุมบุคลากร เป็นประจำทุกเดือน โดยได้มุ่งเน้นให้ครู กศน.ทุกคน ทำการวิจัย ในชั้นเรียน เพ่ือใช้กระบวนการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหาในชั้นเรียน โดยการพัฒนาการเรียนรู้ ด้วยการศึกษา วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ วางแผนแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ เก็บรวบรวมข้อมูล และ วเิ คราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ ท้ังน้ีมีเป้าหมายให้ผู้สอนสามารถทำวิจัยและพัฒนานวตั กรรมการศึกษาที่ นำไปสู่คุณภาพการเรียนรู้ โดยกำหนดให้ครู กศน.ทกุ คนทำการวิจัยในช้ันเรียน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 เร่ือง อย่างไรก็ตาม ในการทำการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนน้ัน การกำหนดประเด็นการวิจัย ได้ให้ครู พิจารณาจากแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละภาคเรียน ซึ่งครูผู้สอนต้องจัดทำและรายงานสภาพปัญหา อปุ สรรค และมหี วั หน้ากลุ่มจัดการศึกษา เปน็ ผู้ให้ขอ้ เสนอแนะในทา้ ยแผนการจัดการเรียนร้แู ตล่ ะรายวิชา อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ส่งผลใหส้ ถานศึกษาไม่สามารถจัดส่งครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเข้ารบั การอบรมพฒั นาบุคลากรในดา้ น การวิจัยในชั้นเรียนได้ ดังนั้นเพ่ือให้การทำการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนเป็นไปอย่างถูกต้องตามแบบ แผน และเกิดประโยชน์สูงสุด สถานศึกษาจึงได้กำหนดให้บุคลากรทบทวนความรู้ด้านการทำการวิจัยใน ชั้นเรียน ซ่ึงได้รับการอบรมพัฒนามาแล้วมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการจัดการเรียน การสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ ซึ่งสถานศึกษาได้นำมาใช้เป็นวิธีการหลักในช่วง สถานการณ์ท่ีเปน็ ปญั หาในขณะน้ี ผลการดำเนินงานทเ่ี กดิ ขึน้ สถานศึกษามีงานวิจัยที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหา และความต้องการในแต่ละช้ันเรียน และของสถานศึกษา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) บุคลากรผู้สอน สามารถนำการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา สามารถนำหลักปรัชญา “คิดเป็น” มาใช้

238 พัฒนาผู้เรียนในรายวิชาต่าง ๆ เช่นรายวิชาทักษะการเรียนรู้ และวิชาอื่น ๆ ของหลักสูตร นอกจากน้ียัง ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยวิธีการทำ “โครงงาน” ในการจัดกระบวนการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ โดยการทำโครงงานนั้นต้องมีการใช้หลักการของการวิจัยมาดำเนินการ ตั้งแต่การสำรวจสภาพปัญหา การค้นควา้ วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง การใช้สถติ ิ การคำนวณ การสรปุ การรายงานผล โดยจัดทำในรูปแบบ การเขยี นรายงานโครงงาน ซ่ึงจะเห็นได้ว่าได้ใชห้ ลกั การทำวจิ ยั ทัง้ สนิ้ เกณฑก์ ารพจิ ารณาท่ี 2 มกี ารกำหนดแผนหรือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของสถานศึกษา กระบวนการ/วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้กำหนดให้ครูผู้สอนทุกคนจัดทำแผนการสอนในทุกต้นภาคเรียน โดยร่วมกัน วิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์ผู้เรียน โดยจัดทำแผนการสอนรายวิชา หรือแผนการสอน แบบบูรณาการ หรือแผนการสอนออนไลน์ แล้วแต่ความเหมาะสม ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามแผนการลงทะเบียนในแต่ละภาคเรียน จากน้ันกำหนดให้ ครูผู้สอนนำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ร่วมกันจัดทำได้นำไปใช้ และบันทึกผลหลังแผนในแต่ละวิชา จากนั้น กำหนดให้ครูผู้สอนนำประเด็น ปัญหาท่ีพบในการจัดการเรียนการสอน นำไปจัดทำการวิจัยในชั้นเรียน เพอื่ แกป้ ญั หาในช้นั เรยี นให้มปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป ผลการดำเนินงานทเ่ี กิดขนึ้ ครูผู้สอนทราบปัญหา อุปสรรค ในการจัดการเรียนการสอน ด้วยการจัดทำแผนการสอน และมี แผนการจัดทำวิจัยในชั้นเรียนให้มีความสอดคล้องกับปัญหา ในด้านต่าง ๆ ท้ังด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้านพฤติกรรมของผู้เรียน หรือด้านกายภาพแวดล้อมอื่น ๆ ท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ หรือผลสัมฤทธ์ิของ ผ้เู รียน และสามารถจัดทำการวิจัยในชนั้ เรยี นได้ตามแผนหรอื แนวทางการดำเนินงานวิจัยของสถานศกึ ษา เกณฑ์การพจิ ารณาท่ี 3 มกี ารดำเนนิ การวิจยั อยา่ งงา่ ย กระบวนการ/วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้กำหนดให้ครูผู้สอนจัดทำวิจัยในช้ันเรียน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 เร่ือง โดยดำเนินการใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 และจัดส่งให้แก่ผู้บริหาร

239 สถานศึกษาทุกส้ินภาคเรียน โดยในปีงบประมาณ 2564 สถานศึกษามีการดำเนินการวิจัยอย่างง่าย หรือ การวจิ ยั ในชั้นเรยี น รวมจำนวนท้งั ส้นิ 58 เร่อื ง ผลการดำเนินงานท่ีเกิดขน้ึ สถานศึกษาได้ดำเนินงานวจิ ยั อยา่ งงา่ ย หรือการวิจยั ในชน้ั เรยี น ในปงี บประมาณ 2564 ดังน้ี ตารางการดำเนนิ การวิจัยอย่างง่ายหรือการวจิ ัยในชั้นเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 ท่ี ชอ่ื ผ้วู ิจัย ตำแหน่ง ชอ่ื เรื่อง 1 นายสมมาตร คงช่นื สิน ผอู้ ำนวยการ สภาพและปัญหาการดำเนนิ การประกันคณุ ภาพ ภายในสถานศกึ ษา กศน.อำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม 2 นางสาวสาวิตรี มุมสนิ ครอู าสาสมัคร ฯ เรอื่ ง การศกึ ษาพฤตกิ รรมการแตง่ กายของ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลกระทุ่มล้ม อำเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 3 นางประคองศรี โพธเ์ิ พชร์ ครอู าสาสมัคร ฯ การศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ท่ีมีตอ่ การ เรียนคณติ ศาสตรเ์ รื่องสถิติ โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ของ ศรช.วดั ดงเกตุ 4 นางสาวมาลา กณั ฑโ์ ย ครอู าสาสมัคร ฯ การศกึ ษาพฤติกรรมของนกั ศึกษาในการเรยี น ออนไลน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 5 นางสาวศศิยาพชั ญ์ ครอู าสาสมัคร ฯ ผลของการพัฒนาเเละเสรมิ สรา้ งทักษะการคูณ อนิ ทรก์ รงุ เก่า เลข ไมเ่ กิน 2 หลัก กับเลขหลักเดยี ว 6 นางสาวอมรรตั น์ ครูอาสาสมัคร ฯ การศกึ ษาความพึงพอใจของนักศึกษา กศน. ใน ธนธนานนท์ การจัดการเรยี นการสอนออนไลนใ์ นสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชอ้ื โควิด-19 7 นางสาวจุฑารัตน์ บญุ ปลูก ครู กศน.ตำบล ความพร้อมในการจดั การเรยี นการสอน และความ ท่าข้าม คาดหวังประสทิ ธิผลการศึกษาในระบบการเรยี นการ สอน ออนไลน์ ประจำภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ในทรรศนะของนักศึกษา กศน.ตำบลทา่ ข้าม

240 ท่ี ชอื่ ผวู้ ิจัย ตำแหนง่ ช่ือเร่อื ง 8 นางสาวจิตรา เซ่ียงเทศ ครู กศน.ตำบล การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นโดยใช้ 9 นางสาวจินตนา หอมเกรด็ วธิ กี ารเรียนการสอนแบบเพ่ือนช่วยเพื่อน ครู กศน.ตำบล การวเิ คราะห์การแกโ้ จทยป์ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ โพธศิ์ รีทอง ทรงคนอง ของนักศึกษา กศน.ตำบลทรงคนอง ระดับ 10 นางสาวชญานุช ชน้ิ จิ้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ครู กศน.ตำบล การส่งเสริมทักษะการคน้ คว้าความร้วู ิทยาศาสตร์ 11 นางสาวญาณิศา หมื่นจง กระทุ่มลม้ ของนักศึกษาระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้นของ 12 นางสาวทัตติยา กศน.ตำบลกระทุ่มล้ม โดยใช้วิธีเรียนแบบสบื คน้ ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบลกระทุม่ ล้ม อำเภอสามพราน จังหวัด น้อยพิทกั ษ์ คลองจนิ ดา นครปฐม ครู กศน.ตำบล การพฒั นาทักษะการหาเศษส่วนของนกั ศึกษา 13 นางบุษกร พรมเพยี งชา้ ง บางเตย ระดบั ประถมศึกษ การพฒั นาความสามารถดา้ นการอา่ นจับใจ ความสำคญั 14 นายภรี ะ มายนื ยง ครู กศน.ตำบล ของนายวันพชิ ติ เพชรทอง นักศกึ ษา กศน.ระดับ บางชา้ ง มธั ยมศึกษาตอนต้น ตำบลบางเตย อำเภอสามพราน 15 นายเมธา ประชมุ พนั ธ์ุ จงั หวดั นครปฐม ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ครู กศน.ตำบล โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจับใจความสำคญั คลองใหม่ การพฒั นาความสามารถในการแก้โจทยป์ ญั หา คณติ ศาสตร์เร่ืองการคูณ ของนักศกึ ษาระดับ ครู กศน.ตำบล ประถมศกึ ษา ยายชา ปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบของการเรยี นออนไลน์ ของ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลคลองใหม่ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 สภาพปญั หาการจดั การเรียนรแู้ บบออนไลน์ใน สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโร นา 2019 (COVID-19) ของนักศึกษาของ กศน.ตำบล ยายชา กศน.อำเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม