Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2562-2565 (ฉบับปรับปรุง 2563)

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2562-2565 (ฉบับปรับปรุง 2563)

Published by Suvalai S, 2020-11-17 12:31:18

Description: แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2562-2565 (ฉบับปรับปรุง 2563) กศน. อำเภอสามพราน

Keywords: แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2562-2565 (ฉบับปรับปรุง 2563) กศน. อำเภอสามพราน

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562 – 2565 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสามพราน สานกั งาน กศน.จังหวัดนครปฐม สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ





ค สารบญั หนา้ ก การอนมุ ตั ิแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2562-2565 (ฉบับปรังปรงุ พ.ศ. 2563) ข คานา ค สารบญั 1 บทท่ี 1 ข้อมูลสถานศกึ ษา............................................................................................................ 1 1 1 ความเป็นมา................................................................................................................ 2 1.1 ข้อมูลพื้นฐาน ประวัติ ที่ตงั้ ................................................................................. 5 1.2 สภาพชมุ ชน........................................................................................................ 6 1.3 ปรัชญาของสถานศกึ ษา……………………………………………………………………………. 6 7 2 สภาพปัจจุบัน.............................................................................................................. 8 2.1 บทบาทหน้าท่ีของสถานศึกษา............................................................................ 8 2.2 โครงสรา้ งการบริหาร........................................................................................... 11 2.3 ทาเนยี บผู้บริหาร................................................................................................. 12 2.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษา............................................................................. 12 2.5 หลกั สตู รการเรยี นการสอน.................................................................................. 32 35 บทท่ี 2 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม............................................................................................ 36 1. ผลการดาเนนิ งานยอ้ นหลัง………………………………………………………………………….. 36 2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม………………………………………………………………………… 42 3. เปา้ หมายหลักของการบริหารและการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา…………………. 44 บทท่ี 3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา.................................................. 50 1. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579.......................................................... 52 2. แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –2564)... 53 3. สาระสาคัญแผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 53 (พ.ศ. 2560 - 2579)……………………………………………………………………………………. 53 4. มาตรฐานและตัวบ่งชี้ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา กศน…………………………. 53 5. ทักษะท่ีสาคญั ของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21……………………………………………………… 54 6. วิสยั ทัศน์……………………………………………………………………………………………………. 54 7. อตั ลักษณ์…………………………………………………………………………………………………… 56 8. เอกลักษณ์…………………………………………………………………………………………………. 72 9. พันธกจิ ……………………………………………………………………………………………………… 74 10. เปา้ ประสงค์……………………………………………………………………………………………… 11. กลยทุ ธ์……………………………………………………………………………………………………. บทท่ี 4 บัญชแี ผนกลยุทธ์............................................................................................................. บทที่ 5 การวางแผนการกากับ ตรวจสอบ รายงาน.................................................................... คณะผู้จดั ทา............................................................................................................................. .......

1 บทท่ี 1 ข้อมูลสถานศึกษา 1. ความเปน็ มา 1.1 ข้อมูลพ้ืนฐาน ท่ตี ั้ง ประวัติ ชอ่ื สถานศกึ ษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน Sam Phran District Non-Formal and Informal Education Centre ที่ตั้ง/การตดิ ตอ่ เลขท่ี 51 หม่ทู ่ี 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม รหัสไปรษณีย์ 73210 โทรศัพท์ 034-225195-6 โทรสาร 034-225195 Email : [email protected] Facebook : https://www.facebook.com/groups/225749084124860/ Website : http://nkp.nfe.go.th/7306/ สงั กัด สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั นครปฐม สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร ประวัติสถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพรานจัดต้ังตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ณ วันท่ี 27 สิงหาคม 2536 ใช้ช่ือ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอสาม พราน โดยมสี านักงานชัว่ คราวอยู่ ณ ทวี่ ่าการอาเภอสามพราน วนั ที่ 14 กันยายน 2537 ยา้ ยสานกั งานชวั่ คราว จากที่ว่าการอาเภอสามพราน มาใช้อาคารโรงครัว ช้ัน 2 ของวดั ไร่ขงิ วันท่ี 25 ธันวาคม2550 ย้ายสานักงานจากอาคารโรงครัว ช้ัน 2 ของวัดไร่ขิง มาต้ังอยู่บนชั้น 3 หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม วันที่ 4 มีนาคม 2551 เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอสามพราน

2 1.2 สภาพชุมชน 1.2.1 อาณาเขต อาเภอสามพรานตั้งอยู่ทางทิศใต้สุดของจังหวัดนครปฐม มีพ้ืนท่ีประมาณ 249.347 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปร้อนชื้น มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครอง ขา้ งเคยี งเรยี งตามเขม็ นาฬกิ า ดังน้ี ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กบั อาเภอนครชยั ศรีและอาเภอพุทธมณฑล ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อาเภอพุทธมณฑล เขตทววี ัฒนา และเขตหนองแขม (กรงุ เทพมหานคร) ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอกระทุ่มแบนและอาเภอบา้ นแพว้ (จังหวดั สมทุ รสาคร) ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับอาเภอบางแพ (จังหวัดราชบุรี) และอาเภอเมืองนครปฐม 1.2.2 สภาพชุมชน ในด้านการปกครอง อาเภอสามพรานแบ่งการปกครองเป็น 16 ตาบล 137 หมบู่ า้ น ดงั นี้

3 ตารางท่ี 1 จานวนหมู่บ้าน ประชากร และจานวนบ้านในแต่ละตาบลของอาเภอสามพราน ท่ี ตาบล จานวน จานวน จานวนประชากร (คน) จานวนครัวเรอื นในพ้นื ท่ี หมู่บ้าน ครวั เรือน ชาย หญิง รวม เขต อบต. เขตเทศบาล 1 กระทุ่มลม้ 9 17,749 12,539 14,541 27,080 17,749 2 คลองจนิ ดา 14 3,496 5,400 6,006 11,406 3,496 3 คลองใหม่ 7 3,867 4,495 4,667 9,162 3,867 4 ตลาดจนิ ดา 11 2,642 3,865 4,125 7,990 2,642 5 ทรงคนอง 6 4,702 3,162 3,476 6,638 4,702 6 ทา่ ข้าม 6 4,731 5,022 5,509 10,531 4,731 7 ทา่ ตลาด 10 7,061 5,285 5,850 11,135 7,061 8 บางกระทกึ 8 8,117 5,859 6,760 12,619 8,117 9 บางช้าง 11 3,003 3,843 4,191 8,034 3,003 10 บางเตย 7 4,552 3,105 3,567 6,672 4,552 11 บ้านใหม่ 5 1,799 2,119 2,244 4,363 1,799 12 ยายชา 6 4,990 3,751 4,274 8,025 4,990 13 ไรข่ งิ 14 23,333 15,063 17,031 32,094 23,333 14 สามพราน 9 10,601 11,691 11,483 23,174 2,070 8,531 15 หอมเกรด็ 6 4,148 3,930 4,382 8,312 4,148 16 ออ้ มใหญ่ 8 21,097 11,450 12,538 23,988 21,097 รวม 137 125,888 100,579 110,644 211,223 47,061 78,827 ข้อมูล ณ เดือน ธนั วาคม 2561 ระบบสถิตทิ างการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวง มหาดไทย

4 อาเภอสามพรานประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น 17 แห่ง ได้แก่ 1) เทศบาลเมืองสามพราน ครอบคลุมพ้ืนท่ีบางส่วนของตาบลสามพราน ตาบลท่าตลาด ตาบลคลองใหม่ และตาบลยายชา 2) เทศบาลเมอื งไรข่ งิ ครอบคลมุ พื้นท่ตี าบลไร่ขงิ ท้ังตาบล 3) เทศบาลเมอื งกระทมุ่ ลม้ ครอบคลุมพ้นื ทต่ี าบลกระทุ่มล้มทง้ั ตาบล 4) เทศบาลตาบลอ้อมใหญค่ รอบคลุมพืน้ ทตี่ าบลอ้อมใหญ่ทง้ั ตาบลและบางส่วนของตาบล บ้านใหม่ 5) เทศบาลตาบลบางกระทึก ครอบคลมุ พืน้ ท่ตี าบลบางกระทกึ ทง้ั ตาบล 6) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลท่าขา้ ม ครอบคลุมพน้ื ทต่ี าบลท่าขา้ มทั้งตาบล 7) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลทรงคนอง ครอบคลุมพืน้ ทตี่ าบลทรงคนองท้งั ตาบล 8) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหอมเกร็ด ครอบคลุมพื้นทต่ี าบลหอมเกร็ดท้งั ตาบล 9) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบางเตย ครอบคลุมพน้ื ทต่ี าบลบางเตยทัง้ ตาบล 10) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสามพราน ครอบคลมุ พ้ืนทตี่ าบลสามพราน (นอกเขตเทศบาล เมืองสามพราน) 11) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบางชา้ ง ครอบคลุมพ้ืนที่ตาบลบางช้างทัง้ ตาบล 12) องค์การบริหารส่วนตาบลทา่ ตลาด ครอบคลมุ พื้นทีต่ าบลท่าตลาด (นอกเขตเทศบาล เมืองสามพราน) 13) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลคลองใหม่ ครอบคลุมพน้ื ทต่ี าบลคลองใหม่ (นอกเขตเทศบาล เมอื งสามพราน) 14) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลตลาดจินดา ครอบคลุมพ้นื ท่ีตาบลตลาดจินดาทั้งตาบล 15) องค์การบริหารส่วนตาบลคลองจินดา ครอบคลุมพืน้ ที่ตาบลคลองจนิ ดาทง้ั ตาบล 16) องค์การบริหารส่วนตาบลยายชา ครอบคลุมพ้ืนที่ตาบลยายชา (นอกเขตเทศบาลเมือง สามพราน) 17) องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านใหม่ ครอบคลุมพ้ืนท่ีตาบลบ้านใหม่ (นอกเขตเทศบาล ตาบลออ้ มใหญ)่ ทรัพยากรธรรมชาติท่สี าคัญของอาเภอ คอื แมน่ ้านครชัยศรี (ทา่ จนี ) บงึ บางชา้ ง อาชีพหลักของประชากร ได้แก่ อาชีพเกษตรกรรม สวนผลไม้ สวนผัก กล้วยไม้ รับจ้างในโรงงาน อุตสาหกรรมและค้าขาย อาชีพเสริม คือ การผลิตสินค้า หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และเปิดร้านอาหาร โดยมีผลผลติ การเกษตรทส่ี าคญั คือ สม้ โอ ชมพทู่ ับทมิ จนั ทร์ มะพรา้ วน้าหอม ฝร่ัง สถานที่สาคัญของอาเภอสามพราน ได้แก่ โรงเรียนนายร้อยตารวจ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ บ้านผู้ หว่าน สถานท่ีท่องเท่ียวท่ีสาคัญ ได้แก่ สวนสามพราน ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้ สามพราน ตลาดรมิ น้าดอนหวาย

5 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ มีธนาคาร 8 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย จากัด ธนาคารกรุงไทยจากัด ธนาคารนครหลวงไทยจากัด ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจากัด ธนาคารกรุงเทพจากัด ธนาคารทหารไทยจากดั ธนาคารกรงุ เทพพานชิ ยการจากัด ธนาคารออมสนิ จากัด ธนาคารเพอ่ื การเกษตร และสหกรณ์การเกษตร มีห้างสรรพสินค้า 4 แห่ง และโรงงานอุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่ โรงงาน มาลี โรงงานโอตานิ บริษัทผลิตภัณฑ์อาหารไทย (ไวไว) บริษัทแฟช่ันฟู้ด บริษัทแฮคส์แสงอุดม โรงงาน แสงโสม บรษิ ัทเสน้ หมชี่ อเฮง บริษัทเทพผดุงพรมะพรา้ ว ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่เป็นท่ีราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้าไหลผ่าน คือ แม่น้านครชัยศรี(แม่น้าท่าจีน) ไหลผ่าน 12 ตาบล ในเขตท้องท่ีของอาเภอ มีบึงขนาดใหญ่ 1 บึง คือ บึง บางช้าง ซ่ึงปัจจุบันขึ้นทะเบียนเป็นที่สาธารณะ อยู่ในความดูแลของกระทรวงมหาดไทย มีเน้ือท่ี 173 ไร่ 3 งาน 22 ตารางวา นอกจากนั้นยังมีคูคลองท่ีใช้เป็นเส้นทางในการเดินทาง และใช้ประโยชน์ในทาง เกษตรกรรมเปน็ จานวนมากถึง 150 คลอง สภาพอากาศโดยท่ัวไปของอาเภอสามพราน มีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบ มรสมุ โดยมี 3 ฤดู ดงั นี้ ฤดรู ้อน เรม่ิ ตง้ั แต่ เดอื นกุมภาพนั ธ์ – พฤษภาคม ฤดฝู น เริ่มตง้ั แต่ เดือนมถิ นุ ายน – กันยายน ฤดหู นาว เรม่ิ ตงั้ แต่ เดอื นตุลาคม – มกราคม โดยฤดูหนาวไม่หนาวจัด ส่วนฤดูร้อนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างร้อน อุณหภูมิเฉล่ีย 30 องศาเซลเซียส ด้านการศึกษา อาเภอสามพรานมีสถานศึกษาทุกระดับที่จะให้บริการทาง การศึกษาตงั้ แตร่ ะดับกอ่ นประถมศึกษาจนถึงระดับอดุ มศกึ ษา โดยแยกตามระดบั การศึกษา ดงั นี้ อนบุ าลระดบั เดยี ว 2 แหง่ อนุบาล – ประถมศกึ ษา 32 แหง่ อนุบาล – ม.ตน้ 11 แห่ง อนุบาล – ม.ปลาย 2 แห่ง ประถมศกึ ษา – ม.ปลาย 1 แห่ง ม.ตน้ – ม.ปลาย 4 แห่ง ปวช. – ปวส. 2 แหง่ อุดมศึกษา 2 แห่ง อดุ มศึกษา(มหาวิทยาลยั เอกชน) 1 แหง่ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 1 แห่ง โรงเรียนท่ีเปิดสอนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 8 แห่ง คือ โรงเรียนปรีดา รามวิทยาคม โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา โรงเรียนสาม พรานวิทยา โรงเรียนนาคประสทิ ธิ์ โรงเรยี นมารยี อ์ ุปถมั ภ์ โรงเรยี นยอแซฟอปุ ถมั ภ์ โรงเรยี นสุคนธรี วิทย์ 1.3 ปรัชญา เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต คดิ เปน็ เน้นพอเพยี ง

6 2. สภาพปจั จบุ ัน 2.1 บทบาทหนา้ ที่ของสถานศกึ ษา 1) จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคเี ครือขา่ ย เพอื่ การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั 3) ดาเนนิ การตามนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานเสริมสรา้ งความมั่นคงของชาติ 4) จัด ส่งเสรมิ สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอนั เนื่องมาจาก พระราชดาริในพน้ื ท่ี 5) จัด สง่ เสรมิ สนับสนนุ พัฒนาแหล่งเรยี นร้แู ละภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ 6) วจิ ัยและพัฒนาคณุ ภาพหลกั สูตร ส่อื กระบวนการเรยี นรู้ และมาตรฐานการศกึ ษานอก ระบบ 7) ดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น การเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ 8) กากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดาเนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 9) พฒั นาครู และบคุ ลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 10) ระดมทรัพยากรเพือ่ ใช้ในการจดั และพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 11) ดาเนินการประกันคณุ ภาพภายในใหส้ อดคลอ้ งกับระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ กาหนด 12) ปฏิบัตงิ านอ่นื ๆ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย

2.2. โครงสรา้ งการบรหิ าร 7 ผอู้ านวยการ คณะกรรมการ สถานศกึ ษา กลุม่ อานวยการ กลมุ่ แผนงาน กล่มุ จดั การศึกษา กล่มุ จัดการศกึ ษา กล่มุ ส่งเสริมภาคี นอกระบบ ตามอธั ยาศัย  งานธรุ การ และ และมาตรฐาน เครอื ข่ายและ สารบรรณ งานส่งเสริมการรู้หนังสอื งานการศึกษาตาม งานงบประมาณ งานการศึกษาพื้นฐาน กจิ การพเิ ศษ  งานการเงนิ และ และระดม อัธยาศัย บัญชี ทรัพยากร นอกระบบ งานจดั พฒั นา  งานกิจการพิเศษ งานการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง  งานโครงการ  งานพัสดุ งานแผนงานและ แหล่งเรียนรแู้ ละ อันเนอ่ื งมาจาก  งานบุคลากร โครงการ  งานการศกึ ษา ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน พระราชดาริ  งานอาคาร งานจดั และพัฒนา  งานปอ้ งกันแก้ไข งานขอ้ มูล เพ่ือพัฒนาอาชีพ ปญั หายาเสพติด/ สถานทีแ่ ละ สารสนเทศ  งานการศกึ ษา กศน.ตาบล/ โรคเอดส์ ยานพาหนะ และการรายงาน ศูนย์การเรยี น  งานส่งเสริม  งานประชาสัมพันธ์ เพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรม  งานสวัสดิการ งานควบคุม  งานการศกึ ษา ชมุ ชน ประชาธปิ ไตย  งานนโยบาย ภายใน งานหอ้ งสมุด  งานสนบั สนุน การกากับดแู ล เพ่ือพฒั นาสงั คมและ ส่งเสรมิ นโยบาย/ องค์กรท่ีดี งานนเิ ทศภายใน ประชาชน จงั หวัด ตดิ ตามและ ชมุ ชน งานการศกึ ษา ประเมนิ ผล  งานจัดกระบวนการ  งานกจิ การลูกเสอื เคลอื่ นที่ และยวุ กาชาดนอก งานเลขานกุ าร เรียนรู้ตามหลัก งานการศึกษาทาง โรงเรยี น คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ปรัชญาของเศรษฐกจิ สอื่ สารมวลชน  งานกองทุนก้ยู มื เงนิ เพ่อื การศกึ ษา งานประกนั พอเพยี ง คุณภาพภายใน งานพัฒนาหลักสูตร สื่อ สถานศกึ ษา นวัตกรรม และ เทคโนโลยี ทางการศกึ ษา งานทะเบียนและวดั ผล งานศูนยบ์ ริการ ให้คาปรกึ ษา แนะนา งานกจิ การนกั ศึกษา

8 2.3 ทาเนียบผบู้ รหิ าร ท่ี ช่ือ-สกลุ ระยะเวลาทีด่ ารงตาแหน่ง 1 นางจุฑารตั น์ ฉิมวงษ์ วนั ที่ 23 พฤษภาคม 2537 ถึง วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2548 2 นางวริ ิตา พูลสุข วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2548 ถงึ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2553 3 นางจฑุ ารตั น์ จนี ประชา วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2553 ถงึ วันที่ 30 กันยายน 2558 4 นายสมมาตร คงช่ืนสนิ วนั ท่ี 25 พฤศจิกายน 2558 จนถึงปัจจบุ นั 2.4 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ประเภท ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ วุฒกิ ารศกึ ษา สาขา 1) ผบู้ ริหาร ผอู้ านวยการ นิเทศศาสตร นิเทศศาสตร 1) นายสมมาตร มหาบัณฑิต พัฒนาการ คงช่นื สิน ครู ชานาญการ ครศุ าสตร์ การบริหารการศึกษา พเิ ศษ มหาบัณฑติ 2) ครู 1) นางสวุ ลัย ครู ชานาญการ วทิ ยาศาสตร การวจิ ยั พฤติกรรม แจ่มจนั ทรเ์ กษม พิเศษ มหาบัณฑิต ศาสตร์ประยกุ ต์ 3) บุคลากร 2) นางสาวผณนิ ทร ครู ชานาญการ ครุศาสตรบัณฑติ บรรณารักษ์ศาสตร์ ทางการศึกษา มายืนยง 4) ลกู จ้าง 3) นางอรวรรณ ครศุ าสตรบณั ฑติ การประถมศึกษา ประจา มหายศนันท์ 5) พนกั งาน 1) นางสาววรภทั ร บรรณารกั ษ์ การศกึ ษา การศกึ ษาผูใ้ หญ่ ราชการ บุณยพรหม ชานาญการ มหาบณั ฑิต การจัดการทั่วไป 1) นายววิ ัฒน์ พนักงานธรุ การ กลดั สาเนียง ส3 บริหารธรุ กิจ บัณฑติ 1) นางสาวสาวิตรี ครอู าสาสมัคร มุมสิน กศน. บริหารธุรกิจ บริหารงานบุคคล บณั ฑิต 2) นางสาวอมรรตั น์ ครอู าสาสมัคร ธนธนานนท์ กศน. คหกรรมศาสตร คหกรรมศาสตร์ บณั ฑิต 3) นางประคองศรี ครูอาสาสมัคร โพธิ์เพชร์ กศน. ศิลปศาสตรบณั ฑิต การพฒั นาชมุ ชน 4) นางสาวศศิยาพชั ญ์ ครอู าสาสมัคร อินทรก์ รุงเก่า กศน. ศลิ ปศาสตรบัณฑติ บรหิ ารทรพั ยากร มนษุ ย์ 5) นางสาวมาลา ครอู าสาสมัคร กัณฑ์โย กศน. ศลิ ปศาสตร ยุทธศาสตร์ มหาบณั ฑติ การพฒั นา

9 ประเภท ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง วฒุ ิการศึกษา สาขา 6) นายภีระ มายนื ยง ครู กศน. ตาบล คลองใหม่ ครุศาสตรบณั ฑติ พลศกึ ษา 7) นางบษุ กร ครู กศน. ตาบล พรมเพียงชา้ ง บางชา้ ง ศิลปศาสตรบัณฑติ การพัฒนาชมุ ชน 8) นางสาวอญั ชลีย์ ครู กศน. ตาบล วอ่ งไว ตลาดจินดา ครุศาสตรบัณฑิต สุขศึกษา 9) นางอารรี ัตน์ ครู กศน. ตาบล พทุ ธรกั ษา บ้านใหม่ บริหารธุรกจิ บณั ฑติ บรหิ ารทรพั ยากร 10) นางสาวชญานุช ครู กศน. ตาบล มนษุ ย์ ชนิ้ จน้ิ กระทุ่มล้ม ครศุ าสตรบัณฑติ เทคโนโลยีและ 11) นางสาวทัตติยา ครู กศน. ตาบล นวตั กรรมทาง น้อยพิทักษ์ บางเตย การศึกษา วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ บริหารธรุ กจิ เกษตร 12) นางวนั เพ็ญ ปน่ิ ทอง ครู กศน. ตาบล ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ ภาษาไทย ออ้ มใหญ่ 13) นางสาวจฑุ ารัตน์ ครู กศน. ตาบล บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ การตลาด บุญปลูก ทา่ ขา้ ม 14) นางสาวนาฏยา ครู กศน. ตาบล บรหิ ารธุรกิจบณั ฑิต การจดั การทวั่ ไป พรมพนั ธ์ุ ท่าตลาด 15) นายวรพจน์ ครู กศน. ตาบล วทิ ยาศาสตรบัณฑิต วทิ ยาการ ศรีเพ็ชร์ธาราพนั ธ์ สามพราน คอมพวิ เตอร์ 16) นางอารีย์ ศรีทิพย์ ครู กศน. ตาบลไร่ บริหารธรุ กิจบณั ฑติ การเงนิ และ ขิง การธนาคาร 17) นางสาวจิตรา ครู กศน. ตาบล ศลิ ปศาสตรบัณฑิต การพัฒนาชุมชน เซย่ี งเทศ หอมเกร็ด 18) นางสาวจนิ ตนา ครู กศน. ตาบล ครศุ าสตรบัณฑิต การประถมศึกษา โพธ์ิศรีทอง ทรงคนอง 19) นางสาวญาณิศา ครู กศน. ตาบล วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยี หมนื่ จง คลองจินดา การเกษตร 20) นางอนงค์ ทั่งทอง ครู กศน. ตาบล ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ รัฐประศาสน บางกระทกึ ศาสตร์

10 ประเภท ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ วฒุ กิ ารศกึ ษา สาขา 7) พนักงานจ้าง 1) นางสาววราลี ครูศูนยก์ ารเรยี น วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ วิทยาศาสตรแ์ ละ เหมาบริการ จิรวัฒน์ชยั นนั ท์ ชมุ ชน เทคโนโลยกี ารอาหาร 2) นายมานพ ครศู ูนย์การเรยี น รฐั ประศาสนศาสตร รฐั ศาสตรการปกครอง ปราชญ์อภญิ ญา ชุมชน มหาบญั ฑติ 3) นายธนานาจ ครูศนู ยก์ ารเรียน ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ การจดั การทว่ั ไป พวงสุข ชุมชน 4) นายชเู กียรติ ครศู นู ยก์ ารเรยี น ศิลปศาสตรบณั ฑติ การพัฒนาชุมชน คล้ายสุบรรณ ชุมชน 5) นางสาวจนิ ตนา ครศู ูนย์การเรยี น บริหารธรุ กิจบัณฑิต การจดั การท่วั ไป คล้ายสบุ รรณ ชุมชน 7) นางสาววินดิ า ครผู ้สู อน ครศุ าสตรบัณฑิต พลศกึ ษาและ เบาะโท คนพกิ าร การส่งเสรมิ สขุ ภาพ 8) นายกษิดเิ์ ดช เจ้าหนา้ ท่เี ทคโนโลยี วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (คณติ ศาสตร์ประยุกต)์ เอีย่ มกระสนิ ธ์ุ สารสนเทศ 9) นางสาวลาวัลย์ เจา้ หน้าทเ่ี ทคโนโลยี บริหารธรุ กจิ บณั ฑติ การจัดการ สารสนเทศ โพธิศ์ รที อง บรรณารักษ์ ศลิ ปศาสตรบ์ ณั ฑิต บรรณารกั ษ์ศาสตร์ 10) นางเออ้ื มเดอื น และสารนิเทศศาสตร์ เปล่ยี นจัด 11) นางสาวชนันท์ภทั ร์ บรรณารกั ษ์ ศิลปศาสตรบ์ ณั ฑติ บรรณารักษ์ศาสตร์ พนั ธข์ นุ ทด และสารนเิ ทศศาสตร์ 12) นางสาวโรสติ า บรรณารกั ษ์ ศลิ ปศาสตร์บัณฑติ บรรณารกั ษ์ศาสตร์ ลาภอาภารัตน์ และสารนเิ ทศศาสตร์ 12) นางสาวเสาวลกั ษณ์ พนกั งานบริการ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 คานพลู 7) ครปู ระจา 1) นางสาวจนั ทรส์ ุดา ครูประจากลุ่ม วิทยาศาสตรบ์ ัณฑติ วิทยาศาสตร์การกีฬา กล่มุ จาแนกมิตร 2) นางสาวขวญั จิตร ครูประจากลุ่ม ครศุ าสตรบณั ฑิต ธุรกจิ ศึกษา เพชรเขาทอง 3) นางสาวสุทศิ า สทุ ธิ ครูประจากลุ่ม วทิ ยาศาสตรบ์ ัณฑิต คหกรรมศาสตรท์ ั่วไป เชนทร์ ครศุ าสตรบัณฑติ สงั คมศึกษา 4) นางสาวเนตรชนก ครปู ระจากลุ่ม มฤคานนท์

11 2.5 หลักสตู รการเรยี นการสอน งาน/กิจกรรม แผนงาน:พน้ื ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน ผลผลิตที่ 4 : ผ้รู บั บริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน 1. กิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สือ 2. กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ 3. กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน 4. กจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อเรียนรู้หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง แผนงาน : ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาการศึกษาเพ่อื ความยั่งยนื โครงการขับเคลื่อนการพฒั นาการศึกษาท่ยี งั่ ยนื กิจกรรมสง่ เสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจา่ ยอ่ืน คา่ ใชจ้ า่ ยโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน 1. กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชพี 2. กิจกรรมพฒั นาอาชีพระยะส้ัน (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง) 3. กิจกรรมชัน้ เรียนวชิ าชีพ (31 ช่วั โมงขึน้ ไป) แผนงาน : บรู ณาการยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ใหม้ ีคุณภาพเท่าเทยี มและทวั่ ถึง โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ กิจกรรมภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ด้านอาชีพ งบรายจา่ ยอ่ืน โครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ แผนงาน : บรู ณาการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมดิจทิ ัล โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทลั สชู่ ุมชนในระดับตาบล งบรายจ่ายอนื่ โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล แผนงาน : บูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร โครงการ Smart ONIE เพอ่ื สร้าง Smart Famer กจิ กรรม Smart ONIE เพ่ือสร้าง Smart Famer รายจ่ายอื่น โครงการ Smart ONIE เพอ่ื สรา้ ง Smart Famer

12 บทท่ี 2 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม 1. ผลการดาเนนิ งานย้อนหลัง สถานศึกษาได้ดาเนินการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานย้อยหลัง เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการจัดทา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2563 ดงั น้ี ตารางท่ี 1 แผน / ผลการดาเนินการจัดการศกึ ษาทุกหลักสูตร (ยอ้ นหลัง 4 ปี ต่อเนอ่ื ง) ปี งปม. กจิ กรรม แผน ผล รอ้ ยละ สภาพ 2559 การศึกษาพ้นื ฐาน 3,750 4,233 >12.88 บรรลุ การศกึ ษาต่อเนือ่ ง 2,213 3,050 >37.82 บรรลุ 2560 การศกึ ษาตามอัธยาศยั 67,600 79,858 >18.13 บรรลุ การศกึ ษาพื้นฐาน 3,980 4,067 >2.18 บรรลุ 2561 การศึกษาต่อเน่ือง 1,856 2,907 >56.63 บรรลุ การศึกษาตามอธั ยาศยั 67,100 101,873 >51.82 บรรลุ 2562 การศกึ ษาพื้นฐาน 3,780 3,837 >1.51 บรรลุ การศึกษาต่อเนื่อง 1,600 2,536 >58.50 บรรลุ การศึกษาตามอธั ยาศยั 10,275 17,369 >69.09 บรรลุ การศกึ ษาพนื้ ฐาน 3,586 3,728 >3.96 บรรลุ การศึกษาต่อเนอ่ื ง 2,901 4,644 >60.08 บรรลุ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 20,400 28,130 >37.89 บรรลุ จากตารางท่ี 1 แผน / ผลการดาเนินการจัดการศึกษาทุกหลักสูตรของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ปีงบประมาณ 2559 มีการดาเนินงานจัด การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย บรรลุ ตามแผนท่ีกาหนดไว้ ปีงบประมาณ 2560 มีการดาเนินงานจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตาม อัธยาศัย บรรลุ ตามแผนที่กาหนดไว้ ปีงบประมาณ 2561 มีการดาเนินงานจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย บรรลุ ตามแผนท่ีกาหนดไว้ สาหรับ ปีงบประมาณ 2562 มีการดาเนินงานจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย บรรลุ ตามแผน ท่กี าหนดไว้

13 ตารางที่ 2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นปลายภาค รายวิชา ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาค ภาค ค่า ภาค ภาค คา่ ภาค ภาค คา่ เรยี นท่ี 1 เรียนที่ 2 เฉลีย่ เรยี นท่ี 1 เรียนท่ี 2 เฉล่ยี เรียนท่ี 1 เรยี นที่ 2 เฉลย่ี ทักษะการเรียนรู้ 18.02 22.37 20.20 20.95 24.40 22.68 23.27 29.21 26.24 ภาษาไทย 15.41 20.03 17.72 23.11 25.00 24.06 23.48 23.93 23.71 ภาษาองั กฤษ 18.46 21.05 19.76 14.27 13.17 13.72 14.39 21.59 17.99 คณิตศาสตร์ 19.09 15.80 17.45 17.51 18.78 18.15 17.65 18.31 17.98 วิทยาศาสตร์ 14.68 20.68 17.68 17.17 14.74 15.96 17.10 17.25 17.18 ช่องทางอาชพี 25.65 23.80 24.73 21.77 23.63 22.70 20.27 22.94 21.61 ทักษะอาชพี 22.74 19.12 20.93 17.11 14.77 15.94 19.74 22.95 21.35 พัฒนาอาชีพ 16.64 20.68 18.66 18.25 18.52 18.39 18.25 18.15 18.20 เศรษฐกิจพอเพยี ง 21.55 29.02 25.29 19.04 24.77 21.91 19.97 26.14 23.06 สุขศึกษา พลศึกษา 20.18 23.33 21.76 20.06 23.44 21.75 17.54 23.57 20.56 ศิลปศกึ ษา 14.31 21.40 17.86 14.03 17.93 15.98 17.28 19.02 18.15 สงั คมศึกษา 20.25 20.26 20.26 18.41 17.68 18.05 18.76 19.20 18.98 ศาสนาและหนา้ ที่ 20.75 21.51 21.13 20.48 18.55 19.52 22.30 25.54 23.92 พลเมือง การพฒั นาตนเอง 22.65 17.63 20.14 21.42 22.13 21.78 24.18 22.20 23.19 ชุมชนสงั คม จากตารางท่ี 2 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นปลายภาค หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ระดับประถมศึกษา สถานมีผลสัมฤทธิ์รายวิชาบังคับ ระหว่าง 17.72-25.29 โดยรายวิชา เศรษฐกจิ พอเพยี งมีคะแนนเฉลย่ี สูงสุด และวิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยต่าสุด ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น สถานมีผลสัมฤทธิ์รายวิชาบังคับ ระหว่าง 13.72-24.06 โดยรายวิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉล่ียสูงสุด และ วิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเฉลย่ี ต่าสุด และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สถานมีผลสัมฤทธิ์รายวชิ าบงั คับ ระหว่าง 17.18-26.24 โดยรายวิชาทักษะการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด และวิชาวิทยาศาสตร์มีคะแนน เฉล่ยี ตา่ สุด จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีการดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้แก่ โครงการปรับพ้ืนฐาน การเรียนรู้ เชิญวิทยากรท่ีมีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชาน้ัน ๆ โดยตรง มาสอนปรับพื้นฐาน ผเู้ รียนในชว่ งต้นภาคเรียน เพอื่ พฒั นาให้ผู้เรียนมีพน้ื ฐานความรู้เพยี งพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และ โครงการสอนเสริม เชิญวิทยากรท่ีมีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชาน้ัน ๆ โดยตรงมาสอนให้ ผเู้ รียนในชว่ งปลายภาคเรียน เพือ่ เพิม่ ผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษาของผู้เรียน

14 ทั้งน้ี เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ขิ องรายวชิ าตา่ ง ๆ ใหส้ งู ขึน้ โดยจดั กิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้แก่ โครงการปรับพื้นฐานการเรียนรู้ โครงการสอนเสริม โครงการค่ายพัฒนา วิชาการ เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนมีพ้ืนฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากข้ึนในรายวิชาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือ วิชาอื่น ๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. ซ่ึงวิทยากรหรือผู้สอนควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือ ประสบการณ์ในการสอนวิชานั้น ๆ โดยตรง ให้ครูสอนทบทวนเพิ่มเติมเป็นรายบุคคล ให้ผู้เรียนศึกษาจาก สื่อ ETV สถานศึกษาคัดเลือกสื่อเสริม เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม โดยเฉพาะรายวิชาที่มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนปลายภาคมีค่าเฉล่ียต่า ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิชา วิทยาศาสตร์ โดยใหค้ รผู สู้ อนสอนเสริม ให้เพ่ือนช่วยเพ่อื น โดยให้เพ่ือนที่เก่งช่วยเพื่อนที่เรียนออ่ นกว่า ในการน้ี เพื่อให้การดาเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพ ผลสัมฤทธสิ์ ูงสุดของรายวชิ าตา่ ง ๆ มีรายละเอยี ดดังน้ี รายวชิ า ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เปา้ หมายคุณภาพ เปา้ หมายคุณภาพ เป้าหมายคณุ ภาพ ทักษะการเรียนรู้ ผลสมั ฤทธิ์สูงสดุ ผลสมั ฤทธส์ิ ูงสดุ ผลสมั ฤทธ์สิ งู สุด ภาษาไทย 46.00 ภาษาองั กฤษ 36.00 39.00 39.00 คณิตศาสตร์ 23.00 40.00 23.00 วทิ ยาศาสตร์ 20.00 23.00 28.00 ช่องทางอาชีพ 21.00 28.00 29.00 ทักษะอาชพี 24.00 25.00 25.00 พัฒนาอาชีพ 28.00 25.00 32.00 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 37.00 28.00 21.00 สุขศกึ ษา พลศึกษา 20.00 21.00 30.00 ศิลปศกึ ษา 32.00 28.00 27.00 สังคมศึกษา 26.00 27.00 22.00 ศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง 24.00 21.00 22.00 การพฒั นาตนเองชมุ ชน 23.00 22.00 26.00 สงั คม 23.00 24.00 27.00 25.00 25.00

15 รายการมีความร้พู นื้ ฐาน ขอ้ มูลฐาน คา่ เป้าหมาย ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ผู้จบการศึกษาข้ันพืน้ ฐานนาความรู้ รอ้ ยละ 83.60 84.60 85.60 ทักษะพ้ืนฐานที่ได้รับไปใช้ หรือ 82.60 ประยุกต์ใช้ คา่ เป้าหมายสูงสุด จานวนผู้จบการศึกษาขัน้ พื้นฐานนาความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ รอ้ ยละ 86.60 คณุ ลกั ษณะของผู้จบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานนาความรู้ ทักษะพ้ืนฐานท่ีได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ ผู้จบการศกึ ษาตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานสามารถนาความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานทไี่ ด้รบั ไปใช้ หรอื ประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวติ การประกอบอาชพี หรือเพอื่ การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึน้ ตาราง A รายวชิ า ประถมศึกษา เป้าหมายคณุ ภาพผลสัมฤทธิ์ ทักษะการเรยี นรู้ 2563 2564 2565 ภาษาไทย 20.50 21.00 ภาษาองั กฤษ 18.00 18.50 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 20.00 ชอ่ งทางอาชีพ 17.50 ทกั ษะอาชีพ 18.00 18.50 พัฒนาอาชีพ 25.00 เศรษฐกิจพอเพยี ง 21.00 สุขศึกษา พลศึกษา 19.00 ศิลปศึกษา 25.50 26.00 สงั คมศึกษา 22.00 22.50 ศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง 18.00 18.50 การพัฒนาตนเองชมุ ชนสงั คม 20.50 21.50 20.50

รายวชิ า 16 ทักษะการเรยี นรู้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภาษาไทย เปา้ หมายคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ภาษาองั กฤษ 2563 2564 2565 คณติ ศาสตร์ 23.00 23.50 วทิ ยาศาสตร์ 24.50 25.00 ชอ่ งทางอาชีพ ทักษะอาชีพ 14.00 พัฒนาอาชีพ 18.50 เศรษฐกจิ พอเพียง 16.00 16.50 สขุ ศึกษา พลศึกษา 23.00 ศิลปศึกษา 16.00 สังคมศึกษา 18.50 ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง 21.50 22.00 การพัฒนาตนเองชมุ ชนสังคม 22.00 22.50 16.00 16.50 18.50 20.00 22.00

รายวชิ า 17 ทกั ษะการเรียนรู้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาษาไทย เปา้ หมายคณุ ภาพผลสัมฤทธิ์ ภาษาอังกฤษ 2563 2564 2565 คณติ ศาสตร์ 26.50 27.00 วิทยาศาสตร์ 24.00 24.50 ชอ่ งทางอาชพี ทักษะอาชีพ 18.00 พฒั นาอาชีพ 18.00 เศรษฐกิจพอเพยี ง 17.50 18.00 สขุ ศึกษา พลศึกษา 22.00 ศิลปศกึ ษา 21.50 สงั คมศึกษา 18.50 ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง 23.50 24.00 การพฒั นาตนเองชุมชนสงั คม 21.00 21.50 18.50 19.00 19.00 24.00 23.50

18 ตารางท่ี 3 ผลการประเมินคุณธรรมผเู้ รียน ภาคเรียนท่ี 2/2561 ภาคเรียนท่ี 1/2562 ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ ที่ ระดับ จานวน แบบ ร้อยละ จานวน แบบ รอ้ ยละ แบบ ผเู้ รียน อยา่ ง แบบ ผู้เรียน อย่าง แบบ อย่าง ท้ังหมด ทด่ี ี อยา่ ง ทัง้ หมด ท่ีดี อยา่ ง (คน) (คน) ท่ดี ี ที่ดี 69 5 7.25 (คน) (คน) ทีด่ ี 817 31 3.79 7.00 945 47 4.97 4.03 1 ประถมศกึ ษา 88 6 6.82 5.07 เฉลยี่ 5.34 5.38 2 ม.ตน้ 822 35 4.26 3 ม.ปลาย 987 51 5.17 เฉล่ยี 5.41 จากตารางท่ี 3 ผลการประเมินคุณธรรมผู้เรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เหน็ ว่า ปีงบประมาณ 2562 มีร้อยละเฉล่ยี ของผู้เรียนการศึกษาข้นั พ้ืนฐานท่ีไดร้ ับการยกย่องเชิด ชเู กียรติ หรอื เปน็ แบบอย่างที่ดใี นด้านท่เี กีย่ วข้องกับการมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม หรือคุณลักษณ์ท่ีดี เท่ากับ 5.38 โดย ภาคเรียน 2/2561 มีร้อยละเฉลี่ยของผู้เรียนที่ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ หรือเป็น แบบอย่างที่ดีในด้านท่ีเกี่ยวข้องกับการมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม หรือคุณลักษณ์ท่ีดี เท่ากับ 5.41 ภาคเรียน 2/2561 มีร้อยละเฉลี่ยของผู้เรียนท่ีไดร้ ับการยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติ หรือเป็นแบบอยา่ งท่ีดใี นดา้ น ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การมีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม หรือคุณลกั ษณ์ที่ดี เท่ากบั 5.34 สรุปขอ้ มูลฐานเพือ่ นาไปใช้ในการกาหนดค่าเป้าหมาย เท่ากบั 5.38 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี การดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาคุณธรรมให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัดกระบวนการเรียนรู้ โดย สอดแทรกเนื้อหาต่าง ๆ เพื่อให้พัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรม/โครงการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.) เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ มีคณุ ธรรมตามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษาตั้งไว้ ท้ังนี้ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการพัฒนาคุณธรรมให้แก่ผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับคุณธรรมผู้เรียนให้สูงข้ึน โดยจัด กระบวนการเรียนรู้ โดยสอดแทรกกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือให้พัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง จัด กิจกรรม/โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณธรรมตามเป้าหมายที่สถานศึกษาตั้งไว้ อย่างต่อเนื่อง สถานศกึ ษาขบั เคล่ือนกจิ กรรมจิตอาสาผ่านชมรมอาสายวุ กาชาด กศน. อาเภอสามพราน ทง้ั ระดับอาเภอ และระดับตาบล ในการน้ี เพื่อให้มีเปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนินการยกระดับคุณธรรมผูเ้ รียนให้สงู ข้นึ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพใน การ ดาเนินการยกระดบั คุณธรรมผเู้ รยี นให้สงู ข้นึ ดงั นี้

19 คา่ เป้าหมายสงู สุด ร้อยละของผู้เรยี นท่ีไดร้ บั การยกย่องเชิดชูเกียรติ หรือเปน็ แบบอย่างทด่ี ใี นด้านทเ่ี กยี่ วข้องกับการมี คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม หรอื คุณลักษณ์ทดี่ ี 6.10 คณุ ลกั ษณะของผูเ้ รียนทไ่ี ด้รับการยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ หรือเป็นแบบอยา่ งทดี่ ใี นดา้ นที่เก่ยี วข้องกบั การมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม หรือคุณลักษณท์ ่ีดี มพี ฤตกิ รรมท่สี ะทอ้ นถึงการมีคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะทดี่ เี ป็นไปตามท่ี หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดได้ 9 ประการ (สะอาด สุภาพ กตัญญู ขยนั ประหยดั ซ่ือสตั ย์ สามัคคี มีน้าใจ มวี นิ ยั ) มีจติ อาสา เคารพในกฎ กติกาบนหลักประชาธิปไตย ภูมใิ จในทอ้ งถิ่น เหน็ คณุ คา่ ของความเป็นไทย มสี ว่ นร่วมใน การอนุรกั ษ์ วัฒนธรรม ประเพณีไทย รวมทั้งภูมปิ ัญญาไทย สามารถอยู่ และทางานรว่ มกับผอู้ ื่น บนพนื้ ฐานความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลในดา้ นเพศ อายุ เชือ้ ชาติ ศาสนา ภาษา วฒั นธรรม ประเพณีได้ โดยปราศจากความขัดแย้ง ตาราง A รายการประเมิน ขอ้ มูลฐาน ปี 2563 ค่าเป้าหมาย ปี 2565 คุณธรรมผู้เรยี น รอ้ ยละ 5.38 5.50 ปี 2564 6.10 5.80 ร้อยละผู้เรียนทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลีย่ น ความคดิ เห็นร่วมกับผู้อน่ื ภาคเรยี นที่ 2/2561 ภาคเรียนที่ 1/2562 ค่าเฉลีย่ ระดับ จานวน พอใช้ ดี ดี ร้อยละ พอใช้ ดี ดี ร้อยละ ร้อยละ มาก ระดับ จานวน มาก ระดบั ระดบั ประถม ดีมาก ดีมาก ดีมาก ม.ต้น ม.ปลาย 88 38 31 19 21.59 69 29 25 15 21.74 21.67 822 181 452 189 22.99 817 178 446 193 23.62 23.31 987 213 530 244 24.72 945 181 529 235 24.87 24.79 เฉลยี่ 23.10 เฉลย่ี 23.41 23.26

20 จากตารางที่ 5 ผลการประเมินความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ แลกเปลยี่ นความคิดเห็นรว่ มกบั ผู้อ่ืนของผู้เรียน หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้ เห็นว่า ผู้เรียน ปีงบประมาณ 2562 มีร้อยละเฉลี่ยระดับ ดีมาก ของการประเมินความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นรว่ มกบั ผู้อ่นื เท่ากับ 23.26 โดยผู้เรียน ภาค เรียนท่ี 2/2561 มรี อ้ ยละเฉลย่ี ระดบั ดีมาก ของการประเมินความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอยา่ งมี วิจารณญาณ และแลกเปล่ียนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นเท่ากับ 23.10 ผ้เู รยี น ภาคเรยี นท่ี 1/2562 มรี อ้ ยละ เฉล่ียระดับ ดีมาก ของการประเมินความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นร่วมกบั ผู้อืน่ เท่ากบั 23.41 สรปุ ข้อมลู ฐานเพอื่ นาไปใช้ในการกาหนดคา่ เป้าหมาย เท่ากบั 23.26 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี การดาเนินการจดั กิจกรรมสนับสนนุ การพัฒนาความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดข้ึนอย่างเป็นระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อ่ืน จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง หลากหลาย ทงั้ นี้ เพือ่ การพัฒนาคุณภาพการพฒั นาความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และแลกเปล่ียนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นให้แก่ผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ และแลกเปล่ียนความคิดเห็นร่วมกับผู้อ่ืนให้สงู ขึ้น โดยจัดกระบวนการเรยี นรู้ ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซ่ึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดข้ึนอย่างเป็นระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่ง พัฒนาให้ผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง หลากหลาย อยา่ งตอ่ เน่ือง ในการน้ี เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนนิ การยกระดับความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นให้สูงข้ึน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นให้ สูงข้ึนดังนี้

21 ค่าเปา้ หมายสูงสดุ ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และแลกเปลยี่ น ความคดิ เห็นร่วมกับผู้อ่นื 26.26 คุณลกั ษณะของผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และ แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นรว่ มกบั ผ้อู น่ื มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ไตรต่ รองอยา่ งรอบคอบ โดยใชข้ ้อมูลและเหตุผลประกอบ การตดั สินใจ แก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างถกู ต้อง สมเหตสุ มผล และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้ ตาราง A รายการประเมนิ ขอ้ มูลฐาน คา่ เป้าหมาย ทักษะการแสวงหาความรู้ 23.26 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 24.26 25.26 26.26 ร้อยละผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และ แลกเปล่ยี นความคิดเห็นร่วมกับผู้อน่ื ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ ความสามารถสร้างสรรคง์ าน ชิน้ งาน หรอื นวตั กรรม ภาคเรียนที่ 2/2561 ภาคเรียนท่ี 1/2562 ท่ี ระดับ จานวน ผเู้ รยี นที่ ร้อยละ จานวน ผูเ้ รยี นที่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ผเู้ รียน สามารถ ผเู้ รียน สามารถ ร้อยละผเู้ รียน ท้งั หมด สร้างสรรค์ ผู้เรยี นท่ี ท้ังหมด สรา้ งสรรค์ ผเู้ รยี นท่ี ทสี่ ามารถ (คน) งานและ สามารถ (คน) งานและ สามารถ สร้างสรรค์งาน นาไปใชไ้ ด้ สร้างสรรค์ นาไปใชไ้ ด้ สร้างสรรค์ และนาไปใช้ได้ งานและ งานและ จริง นาไปใชไ้ ด้ จริง นาไปใช้ได้ จรงิ จริง จรงิ 1 ประถมศกึ ษา 88 0.00 69 0.00 0.00 2 ม.ตน้ 822 58 7.06 817 54 6.61 6.83 3 ม.ปลาย 987 81 8.21 945 78 8.25 8.23 เฉล่ยี 5.09 เฉลย่ี 4.95 5.02 จากตารางท่ี 5 ผลการประเมินความสามารถสร้างโครงงาน ช้ินงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ของผู้เรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอ สามพราน แสดงให้เห็นว่า ปีงบประมาณ 2562 มีร้อยละเฉล่ียของผู้เรียนที่ความสามารถสร้างโครงงาน

22 ช้ินงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง เท่ากับ 5.02 โดย ภาคเรียนท่ี 2/2561 มีร้อยละเฉล่ียของความสามารถสร้างโครงงาน ช้ินงาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง เท่ากับ 5.09 และภาคเรียนท่ี 1/2562 มีร้อยละเฉลี่ย ของผู้เรียนท่ีความสามารถสร้างโครงงาน ช้ินงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งใหม่ ๆ ท่ีสามารถ นาไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ เท่ากบั 4.95 สรุปข้อมลู ฐานเพ่ือนาไปใช้ในการกาหนดคา่ เปา้ หมาย เทา่ กับ 5.02 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มี การดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาความสามารถสร้างโครงงาน ช้ินงาน ส่ิงประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริงให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ใช้การจัดกระบวนการ เรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซ่ึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่จัดขึ้นอย่างเป็นระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” การจัดการเรียนรู้ด้วยการทาโครงงาน โดย กาหนดใหโ้ ครงงานเป็นสว่ นหนึ่งของคะแนนระหว่างภาค และจดั ใหม้ ีการประกวดโครงงานนกั ศึกษา เพ่ือ เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดแ้ สดงผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งน้ี เพื่อการพัฒนาคุณภาพการพัฒนาความสามารถสร้างโครงงาน ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ ให้แก่ผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับความสามารถสร้างโครงงาน ช้ินงาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริงให้สูงข้ึน โดย จัด กระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ใช้ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ กศน. หรอื ONIE MODEL ซง่ึ เป็นกระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีจัดขึ้นอย่างเป็น ระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” การจัดการเรียนรู้ด้วยการทา โครงงาน โดยกาหนดให้โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของคะแนนระหว่างภาค และจัดใหม้ ีการประกวดโครงงาน นกั ศึกษา เพื่อเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนไดแ้ สดงผลงาน แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ อยา่ งตอ่ เนื่อง ในการน้ี เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับความสามารถสร้างโครงงาน ช้ินงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ให้สูงข้ึน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพใน การดาเนินการยกระดับความสามารถสรา้ งโครงงาน ช้ินงาน สิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื สงิ่ ใหม่ ๆ ท่ี สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริงให้สูงขนึ้ ดังนี้

23 ค่าเปา้ หมายสงู สดุ รอ้ ยละของผู้เรียนที่สามารถสรา้ งโครงงาน ช้ินงาน สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื สิ่งใหม่ ๆ ที่ สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ 5.50 คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนท่ีสามารถสรา้ งโครงงาน ช้นิ งาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรือสิง่ ใหม่ ๆ ทส่ี ามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จริง ผเู้ รียนทม่ี คี วามสามารถในการรวบรวมความร้ทู ี่ไดจ้ ากการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐานของสถานศกึ ษา และสามารถเชือ่ มโยงความรู้ ประสบการณท์ ี่ได้รับกับท่ีมีอยู่เดมิ แล้ว นาไปใชใ้ นการจัดทาโครงงาน ชิ้นงาน สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื สิง่ ใหม่ ๆ ใหเ้ กิดข้ึนและใช้ ประโยชนไ์ ดจ้ ริง ตาราง A รายการประเมิน ข้อมูลฐาน ค่าเป้าหมาย ปี 2565 ความสามารถสร้างโครงงาน ชิ้นงาน 5.02 ปี 2563 ปี 2564 5.50 ส่งิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรือ 5.10 5.30 สิ่งใหม่ ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ได้จรงิ ร้อยละผ้เู รียนทส่ี ามารถสรา้ งโครงงาน ชนิ้ งาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื ส่ิงใหม่ ๆ ท่ีสามารถนาไปใช้ ประโยชนไ์ ด้จรงิ ตารางที่ 6 ผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ผูจ้ บหลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่องทน่ี าความรูไ้ ปใช้จนเหน็ เปน็ ประจักษ์หรือตัวอยา่ งท่ดี ี ปงี บประมาณ 2562 ที่ กจิ กรรม จานวน จานวนผจู้ บการศึกษา ร้อยละ ผู้จบการศึกษา ทีเ่ ปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ี 1 การพัฒนาอาชีพ 1508 18 1.19 2 การพัฒนาทักษะชวี ิต 3 การพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 839 16 1.91 4 การจัดการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของ 540 16 2.96 เศรษฐกจิ พอเพยี ง เฉลี่ย 2.02 หมายเหตุ ปงี บประมาณ 2562 การพฒั นาทกั ษะชวี ติ จดั โครงการละ 3 ช่ัวโมง

24 จากตารางท่ี 6 ผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผู้จบการศกึ ษาต่อเน่ือง ปงี บประมาณ 2562 มีร้อยละของผู้จบ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่มีผลการดาเนินงานท่ีเห็นเป็นประจักษ์ในพ้ืนที่ หรือเป็นตัวอย่างที่ดี เท่ากับ 2.02 สรปุ ข้อมูลฐานเพอื่ นาไปใช้ในการกาหนดค่าเปา้ หมาย เท่ากบั 2.02 ทั้งน้ี จากผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นาความรู้ไปใช้จนเห็น เปน็ ประจกั ษห์ รือตัวอยา่ งท่ีดี ของ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง ปีงบประมาณ 2562 มีร้อยละเฉลี่ยของของผู้จบหลักสูตร การศกึ ษาต่อเน่อื งทมี่ ีผลการดาเนนิ งานท่เี ห็นเป็นประจกั ษใ์ นพื้นท่ี หรือเปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ี เทา่ กบั 2.02 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีแนวทางในการยกระดับการนาความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างท่ีดีให้สูงข้ึน โดยการจัด การศึกษาต่อเน่ือง ท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และความพร้อมของผู้เรียน โดยสามารถ บูรณาการวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษา ตอ่ เนื่อง พิจารณาจากการออกแบบ และการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ที่มงุ่ เนน้ จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพและความพร้อมของผู้เรียน ความหลากหลาย ตามความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาไปใช้ ในการชีวติ ประจาวัน ประกอบอาชีพ พัฒนาอาชพี เพือ่ ใหส้ ามารถอยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสขุ ในการนี้ เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรู้ไปใช้จนเห็นเป็น ประจักษ์หรือตัวอย่างท่ีดีให้สูงข้ึน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือ ตวั อยา่ งท่ีดีใหส้ งู ขึ้นดงั น้ี ค่าเป้าหมายสูงสดุ รอ้ ยละผจู้ บหลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ืองทมี่ ผี ลการดาเนินงานทเี่ ห็นเปน็ ประจกั ษ์ในพ้นื ท่ี หรือเปน็ ตัวอยา่ งท่ีดี 2.43 คณุ ลกั ษณะของจบหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเน่อื งที่มีผลการดาเนนิ งานท่เี ห็นเป็นประจกั ษ์ในพ้นื ท่ี หรือ เป็นตวั อย่างท่ีดี ผ้จู บหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื งท่ีมีการนาความรูจ้ ากการเข้ารับการศึกษาตอ่ เนอ่ื งของสถานศกึ ษา ไปใชส้ าหรบั ตนเอง ครอบครวั หรอื ชุมชน จนกระทัง่ มผี ลการดาเนนิ งานปรากฏใหเ้ ห็นเปน็ ประจกั ษ์ ในพน้ื ท่ี หรอื มีผลการดาเนนิ งานอย่างต่อเนื่องแสดงให้เห็นถึงแนวโนม้ ความยั่งยนื ทัง้ ทเี่ ปน็ รายบคุ คลหรอื เปน็ รายกลุ่ม ตาราง A

25 รายการประเมนิ ขอ้ มูลฐาน คา่ เป้าหมาย การจดั การศึกษาต่อเนอื่ ง 2.02 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 2.13 2.33 2.43 ร้อยละผู้จบหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนื่องท่มี ี ผลการดาเนินงานที่เห็นเป็นประจกั ษใ์ น พืน้ ที่ หรือเปน็ ตัวอย่างท่ดี ี ตารางที่ 7 ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ผลการประเมนิ 2553 2556 2558 2559 2560 2561 2562 สภาพ ตนเอง 92.13 92.13 92.49 82.50 85.00 สงู ๆ ต่า ๆ ตน้ สังกดั 4.11 ดี ภายนอก 88.37 ดี จากตารางท่ี 7 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน แสดงให้เห็นว่า ผลการประเมินตนเองมีผลการประเมิน สูง ๆ ต่า ๆ ทั้งนี้ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยต้นสังกัด มีผลการประเมินระดับดี และผลการประเมินคุณภาพ ภายนอก มีผลการประเมินอยทู่ ่ีระดับ ดี ตารางที่ 82 ผลการวิเคราะห์ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา แนวทาง ตนเอง ตน้ สงั กดั ภายนอก แนวทางการพฒั นา การพัฒนา ระยะต่อไป 1. ควรส่งเสริม 1. สถานศกึ ษาควร 1. ดา้ นการประกนั ด้านการ สนบั สนุน ให้ครไู ดร้ บั ชแ้ี จงทาความ คณุ ภาพภายใน 1. ควรส่งเสรมิ บรหิ าร การพฒั นาความรู้ เขา้ ใจใหแ้ ก่ (ตบช. 8.1) สนบั สนนุ ใหค้ รไู ด้รบั สถานศกึ ษา ความสามารถในการ บุคลากรในการ สถานศึกษาควร การพฒั นาความรู้ ออกแบบการจัด ดาเนินงานระบบ ทบทวนตรวจสอบ ความสามารถในการ กระบวนการเรียนรู้ที่ ประกนั คุณภาพ และให้ความสาคัญ ออกแบบการจดั เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ภายในอยา่ งครบ ดา้ นเกณฑ์เชงิ กระบวนการเรียนรู้ท่ี เพ่อื ให้สามารถ วงจร มกี ารกากับ ปรมิ าณ ตาม เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ จดั การเรียนการสอน ตรวจสอบ ควบคุม มาตรฐาน เพอ่ื ให้สามารถจดั การ ในรายวชิ าหลกั ได้ คณุ ภาพของงาน การศึกษาของ เรยี นการสอนใน 2. ส่งเสรมิ ใหม้ ีการ โครงการ กจิ กรรม สถานศกึ ษา รายวิชาหลกั ได้อย่าง ประชาสัมพันธ์ การ นิเทศ กากับ ร่วมกบั ต่อเนือ่ ง จดั กจิ กรรมการศึกษา ตดิ ตามผล การ คณะกรรมการ 2. เผยแพรข่ อ้ มูล ตามอธั ยาศยั อย่าง ดาเนนิ งาน สถานศกึ ษาชุมชน ความร้ผู า่ นช่องทาง หลากหลายรปู แบบ โครงการ/กิจกรรม ภาคเี ครือข่ายให้ ส่อื ประเภทตา่ ง ๆ และทวั่ ถึงในทุกพ้ืนท่ี ต่าง ๆ ตาม การสง่ เสรมิ 3. ควรพฒั นาวทิ ยากร การศึกษาต่อเน่ือง ให้

26 แนวทาง ตนเอง ตน้ สงั กัด ภายนอก แนวทางการพัฒนา การพฒั นา ระยะต่อไป 3. ควรพฒั นาให้มี แผนปฏิบัตกิ าร สนับสนุนอย่าง การเผยแพร่องค์ ประจาปี ตอ่ เน่ือง มีความรคู้ วามชานาญ ความรู้ หลักสตู ร งบประมาณ ให้ 2. ดา้ นการจัดการ ในการออกแบบการ รายวชิ า สค33136 ความรดู้ า้ นการ เรยี นการสอนท่ี จดั กระบวนการเรียนรู้ หลวงพอ่ วดั ไรข่ ิง ม่ิง ประเมนิ ผล และ เนน้ ผู้เรยี นเป็น การจดั กระบวนการ มงคล คนสามพราน การประเมนิ สาคัญ (ตบช. 6) เรยี นรู้ และการวดั ผล แก่ชมุ ชนอาเภอสาม คณุ ภาพของ สถานศึกษาควร และประเมินผล ให้ พราน ในรปู แบบท่ี หลักสูตร เพ่อื ส่งเสรมิ สนับสนุน สามารถจดั การศึกษา หลากหลายและ พฒั นาปรบั ปรงุ ครู เขา้ รับการ ตอ่ เนือ่ ง ได้อย่างมี เขา้ ถึงได้งา่ ย หลักสูตร และ อบรมเพือ่ รับการ คณุ ภาพ 4. ควรพัฒนา โครงการ/กจิ กรรม พัฒนาใหส้ ามารถ 4. สถานศกึ ษาควรจัด วิทยากรการศึกษา อย่างเปน็ ระบบ จดั การเรียนการ ประชุม สัมมนาภาคี ตอ่ เนื่อง ใหม้ คี วามรู้ และตอ่ เน่ือง โดย สอนวชิ าหลกั อยา่ ง เครอื ข่ายทีจ่ ดั หรือ ในด้านจติ วิทยา ใช้เครอ่ื งมือการ ตอ่ เนือ่ ง ไดแ้ ก่ วชิ า ร่วมจดั การศึกษา เพ่ือ การศึกษาผูใ้ หญ่ การ ประเมนิ ผลที่ วทิ ยาศาสตร์ ทบทวนกระบวนการ จดั ทาหลักสตู ร การ เหมาะสม คณติ ศาสตร์ สร้างความรู้ ความ จัดกระบวนการ สอดคล้องกบั ภาษาไทย และ เขา้ ใจ และมอบใบ เรยี นรู้ การออกแบบ เป้าหมายของ ภาษาองั กฤษ ประกาศเกยี รติคณุ การเรียนรู้ และการ หลักสูตร สง่ เสริมให้ครผู ้สู อน เพอื่ ยกยอ่ งเชดิ ชู วัดผลและประเมนิ ผล โครงการ/กจิ กรรม และวทิ ยากรทกุ เกยี รติ ให้สามารถจดั 2. ครู กศน.ตาบล ประเภทไดร้ บั การ 5. สถานศกึ ษาควรมี การศึกษาต่อเน่อื ง ได้ ควรสารวจ พัฒนาใหม้ ีความรู้ การทบทวน อยา่ งมีคณุ ภาพ วเิ คราะห์ ข้อมูล ความชานาญใน กระบวนการสร้าง 5. ควรจดั ให้มีระบบ บรบิ ท สภาพ การออกแบบ ความรู้ ความเขา้ ใจ การนิเทศ ติดตาม ปัญหาความ กระบวนการเรียนรู้ เกี่ยวกับบทบาท และประเมนิ ผลอยา่ ง ต้องการของชุมชน และจดั กิจกรรม หนา้ ทีต่ ามระเบียบท่ี สมา่ เสมอนาผลการ ภูมปิ ัญญา และ เรียนรูต้ ลอดชีวติ กาหนด แก่ นิเทศเป็นข้อมูลใน แหลง่ เรียนรู้ เพือ่ การสร้างสังคม คณะกรรมการ การพัฒนา รวมท้งั ภาคี แห่งการเรยี นรู้ใน สถานศึกษา กระบวนการเรยี น เครือข่าย ในพนื้ ท่ี ชมุ ชนควบคู่กบั 6. สถานศกึ ษาควรมี การสอนอย่าง รับผิดชอบ เพือ่ การสง่ เสรมิ การ การประชุมทบทวน ตอ่ เนือ่ ง ประโยชน์ในการ อ่านใหเ้ หมาะสม การจดั ทาแผนจุลภาค 6. สถานศึกษาควร กาหนดแผนงาน/ ใหม้ คี วาม ให้ครู กศน.ตาบล จัดประชมุ สมั มนา โครงการ ออกแบบ สอดคลอ้ งกบั ความ เพื่อใหส้ ามารถจัดทา ภาคเี ครอื ข่ายท่จี ัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ ต้องการเรยี นรขู้ อง แผนการจดั การศึกษา หรือรว่ มจัดการศึกษา รูปแบบการ กล่มุ เป้าหมายใน นอกระบบและ การศกึ ษาตาม

27 แนวทาง ตนเอง ตน้ สงั กัด ภายนอก แนวทางการพฒั นา การพัฒนา ระยะต่อไป และมอบใบประกาศ ใหบ้ ริการ วางแผน แต่ละชมุ ชนอย่าง ดา้ นการจัด เกยี รตคิ ณุ เพ่ือยกย่อง จดั กจิ กรรมการ ท่ัวถงึ ทกุ พน้ื ที่ มี อัธยาศยั สอดคล้องกบั การศึกษา เชิดชเู กยี รติ เรียนรู้ ขยายการ การจดั บริบท สภาพปัญหา 7. สถานศึกษาควรมี ดาเนินงานร่วมกับ กระบวนการ ความต้องการของ การประชุมคณะ ภาคเี ครอื ขา่ ย และ ตดิ ตามและ ชมุ ชน กรรมสถานศึกษา พฒั นางาน ประเมินผลอย่าง 7. สถานศกึ ษาควรจัด เพ่อื ทบทวน การศึกษา นอก ตอ่ เน่ืองเพ่ือ ให้มกี ารประชมุ ชแ้ี จง กระบวนการสร้าง ระบบและ กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียน การดาเนินงานระบบ ความรู้ ความเข้าใจ การศึกษาตาม และผู้รบั บรกิ าร ประกนั คุณภาพ เกยี่ วกบั บทบาท อธั ยาศยั ในพน้ื ทีใ่ ห้ เหน็ ความสาคัญ ภายในอย่างครบวงจร หน้าทตี่ ามระเบียบท่ี สอดคลอ้ งกบั วถิ ี ของการเรยี นรู้ จัดใหม้ รี ะบบการ กาหนด ชีวิตของคนใน ตลอดชวี ิต นิเทศ ตดิ ตาม และ 8. สถานศึกษาควร ชมุ ชนและหลกั สถานศึกษามคี วาม ประเมินผลทุก จัดให้มกี ารประชมุ ปรัชญาของ ชานาญในการ กิจกรรม และนาผล ทบทวน ประเมิน เศรษฐกจิ พอเพยี ง ออกแบบ การนิเทศเปน็ ขอ้ มูล ระบบประกนั กระบวนการเรยี นรู้ ในการพฒั นาการ คณุ ภาพภายในอยา่ ง 1. สถานศึกษาควร ดาเนินงานอย่าง ต่อเนอ่ื ง ชี้แจงทาความ 1. ด้านผลการจดั ตอ่ เนือ่ ง 1. ควรสง่ เสริม เขา้ ใจใหแ้ ก่ การศกึ ษา สนบั สนุน ให้ครูไดร้ บั บคุ ลากรในการ สถานศึกษาควรมี 1. ควรส่งเสริม การพัฒนาความรู้ ดาเนินงานระบบ การพฒั นา สนับสนนุ ใหค้ รไู ดร้ บั ความสามารถในการ ประกนั คุณภาพ ผลสัมฤทธิข์ อง การพัฒนาความรู้ ออกแบบการจดั ภายในอยา่ งครบ ผู้เรยี น (ตบช. 5.1 ความสามารถในการ กระบวนการเรยี นรู้ท่ี วงจร มกี ารกากับ ) ตามเกณฑ์ ออกแบบการจัด เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ตรวจสอบ ควบคุม พจิ ารณาในตวั บ่งช้ี กระบวนการเรียนรู้ท่ี เพือ่ ให้สามารถ คุณภาพของงาน ย่อย ได้แกส่ าระ เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั จดั การเรยี นการสอน โครงการ กิจกรรม การพฒั นาสังคม เพือ่ ให้สามารถจดั การ ในรายวชิ าหลักได้ นิเทศ กากบั อย่ใู นระดบั ตอ้ ง เรียนการสอนใน 2. ควรส่งเสรมิ ตดิ ตามผล การ ปรับปรุงเรง่ ดว่ น รายวิชาหลกั ได้อยา่ ง สนับสนุน ให้ครนู า ดาเนนิ งาน สว่ นสาระ การ ตอ่ เน่ือง สื่อ เทคโนโลยี ที่ โครงการ/กจิ กรรม เรียนรทู้ ักษะการ 2. ควรส่งเสริม หลากหลายไปใช้ใน ตา่ ง ๆ ตาม เรียนรอู้ ืน่ ๆ ระดับ สนบั สนนุ ให้ครนู า การจัดการเรยี นร้ใู ห้ แผนปฏิบตั กิ าร คณุ ภาพพอใช้ ใน ส่ือ เทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับผู้เรียน ประจาปี การพฒั นาเรื่อง หลากหลายไปใช้ใน และเอ้ือต่อการ ดงั กล่าวสถานศึกษา การจัดการเรยี นรู้ ให้ เรยี นรู้ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียน เหมาะสมกับผู้เรยี น และเอื้อต่อการเรียนรู้

28 แนวทาง ตนเอง ตน้ สังกัด ภายนอก แนวทางการพัฒนา การพฒั นา ระยะต่อไป นาความร้ไู ปใชใ้ นการ ดารงชวี ิต การทางาน งบประมาณ ให้ อาจเร่ิมจาก การ เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นนา หรือการประกอบ ความรู้ไปใชใ้ นการ อาชพี ได้ และ ความรดู้ า้ นการ จดั ทาโครงการเพื่อ ดารงชีวติ การทางาน ยกระดับคณุ ภาพชีวติ หรอื การประกอบ ของตนเอง ประเมนิ ผล และ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ อาชีพได้ และ 3. ควรพฒั นา ยกระดับคณุ ภาพชีวติ กิจกรรมการศกึ ษา การประเมนิ ในทุกกลมุ่ สาระ ของตนเอง เพอื่ พฒั นาอาชีพ 3. สถานศึกษาควรจัด เพ่อื สง่ เสริมสนบั สนุน คุณภาพของ การเรียนร้หู รอื กจิ กรรม/โครงการ ต่อยอดใหผ้ เู้ รียน ที่ พฒั นาผ้เู รียนเพื่อ จบหลักสูตร หลักสูตร เพื่อ อาจจะปรับเปล่ยี น พฒั นาผลสัมฤทธ์ิ การศึกษาเพือ่ พฒั นา ทางการเรยี นในทกุ อาชีพ มีทักษะในการ พฒั นาปรับปรุง วิธกี ารเรียน การ สาระการเรียนเรียน ประกอบอาชีพ และจัดการเรียนการ สามารถสรา้ งรายได้ หลักสูตร และ สอนตามวธิ กี ารที่ สอนรายวิชา เพื่อให้ ใหแ้ กค่ รอบครัว มี ครูจัดการเรยี นการ คณุ ธรรมในการ โครงการ/กิจกรรม เหมาะสมของ สอนตามมาตรฐาน ประกอบอาชีพ และตัวชว้ี ดั ของ 4. ควรพัฒนา อยา่ งเปน็ ระบบ สถานศึกษา หลกั สตู รแต่ละ หลกั สตู รการศึกษา รายวชิ า ต่อเนอ่ื งจากภมู ิ และตอ่ เนื่อง โดย 2. ดา้ นการจัดการ 4. ควรพฒั นา ปญั ญาท้องถนิ่ กิจกรรมการศกึ ษา เพอื่ ใหส้ ถานศึกษา ใชเ้ ครอื่ งมือการ เรียนการสอนที่ เพ่ือพัฒนาอาชพี เพ่ือ นาไปจดั กระบวนการ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตอ่ เรียนรู้ใหแ้ ก่ผูเ้ รียน/ ประเมินผลท่ี เนน้ ผู้เรยี นเปน็ ยอดใหผ้ ู้เรยี น ท่จี บ ผูร้ บั บรกิ าร ได้อย่าง หลกั สูตร การศึกษา มคี ุณภาพและ เหมาะสม สาคญั (ตบช. 6) เพือ่ พฒั นาอาชพี มี ประสิทธิภาพ ทกั ษะในการประกอบ สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ สอดคลอ้ งกบั สถานศึกษาควร อาชีพ สามารถสร้าง ครูผู้สอนนาสอ่ื รายไดใ้ ห้แก่ครอบครวั เทคโนโลยีท่ี เป้าหมายของ สง่ เสริม สนบั สนุน มคี ุณธรรมในการ หลากหลาย มาใชใ้ น ประกอบอาชีพ การจัดการเรียนรใู้ ห้ หลักสตู ร ครู เขา้ รับการ 5. สถานศึกษาควร เหมาะสมกับผ้เู รยี น/ พัฒนาหลกั สูตร โครงการ/กิจกรรม อบรมเพ่ือรบั การ การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้น 2. สถานศึกษาควร พฒั นาใหส้ ามารถ พฒั นากิจกรรม จดั การเรียนการ ของห้องสมุด สอนวิชาหลกั อย่าง ประชาชน “เฉลมิ ตอ่ เนอื่ ง ไดแ้ ก่ วิชา ราชกมุ ารี” อาเภอ วทิ ยาศาสตร์ สามพราน ใหเ้ ปน็ คณิตศาสตร์ กจิ กรรมเชิงรุก เช่น ภาษาไทย และ ขยายพ้ืนทีส่ ง่ เสริม ภาษาองั กฤษ การอ่านออกสู่ ส่งเสริมให้ครูผู้สอน ภายนอก อาคาร และวทิ ยากรทกุ จดั กิจกรรมท่ีมสี สี ัน ประเภทไดร้ ับการ ชกั ชวนให้ประชาชน พัฒนาให้มีความรู้ เขา้ ใช้บริการ ความชานาญใน ภายในอาคารอยา่ ง การออกแบบ ทั่วถึง ทุกห้อง ทุก กระบวนการเรียนรู้ สว่ นของอาคาร และจดั กจิ กรรม ดาเนินการประเมิน เรยี นรตู้ ลอดชีวิต ความพงึ พอใจ เพือ่ การสรา้ งสังคม

29 แนวทาง ตนเอง ต้นสังกดั ภายนอก แนวทางการพฒั นา การพัฒนา ผ้รู บั บรกิ าร และเอ้ือ ระยะต่อไป ต่อการเรยี นรู้ ผูร้ บั บริการ แห่งการเรียนร้ใู น ด้นการ การศึกษาตาม ชุมชนควบคู่กับ พืน้ ฐาน การศึกษา ควบคุม 2. ควรจัดใหม้ ีระบบ อัธยาศยั โดยใช้ การสง่ เสรมิ การ ตอ่ เนอื่ ง เพื่อให้ การนิเทศ ติดตาม เคร่อื งมือท่ี อ่านใหเ้ หมาะสม สถานศกึ ษานาไปจดั และประเมนิ ผลอยา่ ง เหมาะสม ให้มีความ กระบวนการเรยี นรู้ สม่าเสมอนาผลการ สอดคลอ้ งกับแตล่ ะ สอดคล้องกับความ ให้แก่ผู้เรยี น/ นเิ ทศเปน็ ข้อมลู ใน กิจกรรมที่กาหนด ตอ้ งการเรยี นรู้ของ ผู้รบั บริการ ไดอ้ ย่างมี การพฒั นา พร้อมทง้ั สรปุ กลุ่มเปา้ หมายใน คุณภาพและ กระบวนการเรียน รายงานผลการ แตล่ ะชุมชนอย่าง ประสิทธภิ าพ การสอนอยา่ ง ประเมนิ เพื่อ ท่วั ถงึ ทกุ พ้นื ท่ี มี 6. สถานศึกษาควร ต่อเน่ือง นาไปใช้ในการ การจัด พัฒนากิจกรรมของ พัฒนากจิ กรรม กระบวนการ หอ้ งสมุดประชาชน การศกึ ษาตาม ติดตามและ “เฉลมิ ราชกุมารี” อัธยาศยั ต่อไป ประเมนิ ผลอยา่ ง อาเภอสามพราน ให้ ต่อเนอื่ งเพื่อ เปน็ กจิ กรรมเชิงรุก ที่ 1. สถานศกึ ษาควร กระตนุ้ ให้ผู้เรียน หลากหลาย เพื่อเชิญ ชีแ้ จงทาความ และผู้รับบริการ ชวนใหป้ ระชาชนเขา้ เข้าใจให้แก่ เหน็ ความสาคญั ใช้บรกิ ารภายใน บุคลากรในการ ของการเรยี นรู้ อาคารอย่างทวั่ ถงึ ทุก ดาเนนิ งานระบบ ตลอดชวี ติ ห้อง ทุกสว่ นของ ประกนั คุณภาพ สถานศึกษามคี วาม อาคาร มีการ ภายในอยา่ งครบ ชานาญในการ ประเมนิ ผล และ วงจร มกี ารกากับ ออกแบบ สรุปผลการเมินการ ตรวจสอบ ควบคุม กระบวนการเรยี นรู้ จัดกิจกรรม เพ่อื คุณภาพของงาน นาไปใช้ในการ 1. ดา้ นการประกัน พัฒนาการจัดกจิ กรรม คณุ ภาพภายใน ให้มีประสิทธิภาพ (ตบช. 8.1) สถานศึกษาควร 1. สถานศกึ ษาควรจัด ทบทวนตรวจสอบ ให้มกี ารประชมุ และให้ความสาคัญ ทบทวนการ ด้านเกณฑเ์ ชิง ดาเนินงานระบบ ปริมาณ ตาม ประกันคุณภาพ มาตรฐาน ภายในอย่างครบวงจร การศึกษาของ และต่อเน่ือง 2. จดั ให้มีระบบการ นิเทศ ตดิ ตาม และ ประเมนิ ผลทุก

30 แนวทาง ตนเอง ต้นสงั กดั ภายนอก แนวทางการพฒั นา การพฒั นา ระยะต่อไป 4. ควรจดั ให้มรี ะบบ โครงการ กิจกรรม สถานศึกษา การนิเทศ ตดิ ตาม นเิ ทศ กากบั ร่วมกับ กจิ กรรม และนาผล และประเมนิ ผลอยา่ ง ตดิ ตามผล การ คณะกรรมการ การนเิ ทศเป็นขอ้ มูล ต่อเน่อื ง เพื่อให้ ดาเนิน งาน สถานศึกษาชุมชน ในการพฒั นาการ วทิ ยากรการศึกษา โครงการ/กิจกรรม ภาคเี ครอื ข่ายให้ ดาเนินงานอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ดาเนินการ ต่าง ๆ ตาม การสง่ เสริม ต่อเนื่อง จดั การเรยี นรู้ได้อยา่ ง แผนปฏบิ ัตกิ าร สนับสนุนอยา่ ง มีประสทิ ธิภาพและ ประจาปี ต่อเนื่อง เกิดประสทิ ธิผลมาก งบประมาณ ให้ ขน้ึ ความรู้ด้านการ 5. สถานศึกษาควร ประเมนิ ผล และ จดั ให้มีการประชมุ การประเมิน ทบทวน ประเมิน คณุ ภาพของ ระบบประกนั หลักสูตร เพ่ือ คุณภาพภายในอย่าง พัฒนาปรับปรงุ ต่อเนือ่ ง หลักสตู ร และ โครงการ/กจิ กรรม อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง โดย ใชเ้ ครอื่ งมือการ ประเมินผลที่ เหมาะสม สอดคล้องกับ เปา้ หมายของ หลกั สตู ร โครงการ/กิจกรรม

31 จากการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ได้วิเคราะห์ข้อมูลและกาหนดแนว ทางการพฒั นาระยะตอ่ ไป มปี ระเดน็ แนวคิดและแนวทางในการพฒั นางานระยะต่อไป ดงั นี้ ดา้ นการบริหารสถานศกึ ษา 1. ควรส่งเสริมสนับสนุน ใหค้ รไู ดร้ ับการพฒั นาความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั เพ่ือให้สามารถจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าหลกั ได้อย่าง ตอ่ เนื่อง 2. เผยแพร่ขอ้ มูลความรู้ผา่ นชอ่ งทางสื่อประเภทต่าง ๆ 3. ควรพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเน่อื ง ให้มคี วามรคู้ วามชานาญในการออกแบบการจัด กระบวนการเรียนรู้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ และการวดั ผลและประเมินผล ใหส้ ามารถจัดการศึกษา ต่อเนอ่ื ง ได้อย่างมีคณุ ภาพ 4. สถานศึกษาควรจดั ประชุม สัมมนาภาคเี ครือข่ายท่จี ดั หรอื ร่วมจดั การศึกษา เพ่ือทบทวน กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และมอบใบประกาศเกยี รติคุณเพ่ือยกย่องเชิดชูเกียรติ 5. สถานศกึ ษาควรมีการทบทวนกระบวนการสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหนา้ ที่ ตามระเบียบท่กี าหนด แก่คณะกรรมการสถานศกึ ษา 6. สถานศกึ ษาควรมกี ารประชมุ ทบทวนการจัดทาแผนจลุ ภาคให้ครู กศน.ตาบลเพื่อให้สามารถ จัดทาแผนการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สอดคล้องกบั บริบท สภาพปญั หา ความต้องการของชุมชน 7. สถานศึกษาควรจดั ให้มกี ารประชุมชแ้ี จงการดาเนินงานระบบประกนั คุณภาพภายในอยา่ ง ครบวงจร จัดให้มรี ะบบการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลทุกกจิ กรรม และนาผลการนิเทศเป็นข้อมูลใน การพัฒนาการดาเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ือง ด้านการจดั การศึกษา 1. ควรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รูได้รบั การพัฒนาความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจัด กระบวนการเรียนรู้ทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ เพ่ือให้สามารถจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าหลกั ได้อย่าง ต่อเนอ่ื ง 2. ควรส่งเสริมสนับสนุน ใหค้ รนู า สื่อ เทคโนโลยที ่หี ลากหลายไปใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ ให้ เหมาะสมกับผเู้ รียน และเอ้อื ต่อการเรยี นรู้ เพ่ือให้ผเู้ รยี นนาความรูไ้ ปใช้ในการดารงชวี ิต การทางาน หรอื การประกอบอาชพี ได้ และยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของตนเอง 3. สถานศึกษาควรจดั กจิ กรรม/โครงการพฒั นาผูเ้ รียนเพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในทุก สาระการเรยี นเรยี น และจัดการเรยี นการสอนรายวชิ า เพ่ือให้ครูจดั การเรยี นการสอนตามมาตรฐาน และ ตัวช้ีวัดของหลกั สตู รแต่ละรายวิชา 4. ควรพฒั นากจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี เพื่อส่งเสริมสนับสนุนตอ่ ยอดใหผ้ ู้เรียน ทีจ่ บ หลกั สูตร การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชพี มีทกั ษะในการประกอบอาชพี สามารถสร้างรายได้ใหแ้ ก่ครอบครัว มีคุณธรรมในการประกอบอาชพี 5. สถานศกึ ษาควรพัฒนาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน การศกึ ษา ต่อเนอ่ื ง เพื่อให้สถานศกึ ษานาไปจดั กระบวนการเรียนรู้ให้แกผ่ ้เู รียน/ผ้รู ับบรกิ าร ได้อย่างมคี ุณภาพและ ประสิทธภิ าพ

32 6. สถานศกึ ษาควรพัฒนากิจกรรมของห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน ให้เป็นกจิ กรรมเชิงรุก ท่ีหลากหลาย เพื่อเชิญชวนให้ประชาชนเข้าใชบ้ ริการภายในอาคารอย่างท่ัวถึง ทุก หอ้ ง ทุกสว่ นของอาคาร มีการประเมินผล และสรปุ ผลการเมนิ การจดั กจิ กรรม เพอื่ นาไปใชใ้ นการ พฒั นาการจดั กิจกรรมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดา้ นการควบคมุ 1. สถานศึกษาควรจัดใหม้ ีการประชุมทบทวนการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในอยา่ ง ครบวงจร และตอ่ เน่ือง 2. จัดให้มีระบบการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลทุกกิจกรรม และนาผลการนเิ ทศเป็นขอ้ มลู ในการพัฒนาการดาเนินงานอย่างตอ่ เน่ือง 2. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม สถานศึกษาได้ประชุมบุคลากรเพ่ือร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยใช้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจาก สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนาผลไปใช้ในการกาหนดทิศทางการดาเนินงาน ของสถานศึกษา ซึง่ ไดผ้ ลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษา ดงั นี้ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน จดุ แขง็ ดา้ นหลักสตู ร 1. มหี ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ทม่ี ี โครงสร้างยดื หยดุ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรยี นรู้ และมีการปรับปรุง 2. มหี ลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ืองที่ได้รับการรบั รองจากสานักงาน กศน.และจาก หนว่ ยงานอน่ื ๆ เชน่ สานกั งานทดสอบฝีมือแรงงาน วิทยาลัยในวงั เปน็ ตน้ 3. ครูสว่ นใหญส่ ามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยมุ่งเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั 4. พน้ื ทอี่ าเภอสามพรานมีวทิ ยากร การศกึ ษาตอ่ เน่ืองอย่างเพียงพอตอ่ การจดั กจิ กรรม 5. วทิ ยากรการศึกษาต่อเนอ่ื งมคี วามรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรแู้ ละทักษะ ใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมายเป็นอยา่ งดี 6. ผูเ้ รียนเม่อื จบการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ได้นาวฒุ กิ ารศึกษาไปพฒั นาตนเอง เชน่ เรยี น ตอ่ ในระดับท่ีสงู ขึ้น หรอื มที างเลอื กในการประกอบอาชีพมากขึ้น 7. ผูเ้ รียนการศึกษาต่อเน่ือง เมอ่ื เรียนจบหลักสูตรสามารถนาความรูไ้ ปประกอบอาชพี พฒั นาอาชีพ และดารงชีวิตได้

33 ดา้ นครู / บคุ ลากร 8. ผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษามีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ในการปฏิบตั งิ าน 9. บคุ ลากรมีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่มคี วามสามัคคี ทางานเปน็ ทมี และมีจติ สาธารณะ 10. บุคลากรได้รบั การอบรมและพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง และนามาใชใ้ นการพัฒนางาน 11. บคุ ลากรมีทักษะในการประสานงานและทางานร่วมกบั ภาคีเครอื ขา่ ย 12. บคุ ลากรปฏบิ ตั ิหนา้ ท่โี ดยยดึ หลกั ธรรมภบิ าลและดาเนินชีวิตตาม หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 13. บุคลากรมีการแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละถ่ายทอดความรู้ ประสบการณร์ ว่ มกนั อย่าง ตอ่ เนือ่ ง ดา้ นงบประมาณ 14 ไดร้ ับงบประมาณในการจัดกจิ กรรมอย่างเพียงพอ 15. ภาคีเครือข่ายสนบั สนุนค่าสาธารณปู โภค ด้านบริหาร 16. มีโครงสร้างการบรหิ ารงานทช่ี ัดเจน และมอบหมายงานตามโครงสร้าง 17. มีภาคเี ครือข่ายคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการ กศน. ตาบล ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั การศึกษา 18. มีแผนการปฏบิ ตั งิ านที่ชัดเจน สามารถปฏบิ ตั งิ านได้ตามแผนอยา่ งมีประสิทธิภาพ 19. กศน.อาเภอสามพราน และ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน ต้ังอย่ใู นแหลง่ ชมุ ชน การคมนาคมสะดวก 20. หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอสามพรานเปน็ แหลง่ รวบรวมองค์ ความรู้ท่หี ลากหลายเออ้ื ต่อการจดั กจิ กรรมและใหบ้ ริการแก่กลุ่มเป้าหมาย 21. มี กศน.ตาบล ครบทกุ ตาบลสามารถจดั การศกึ ษาให้ประชาชนไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ 22. มีวัสดุ อุปกรณส์ ื่อการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายและเพยี งพอต่อการจัดกิจกรรม 23. มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตามผลในทุกกิจกรรม จดุ ออ่ น ดา้ นหลักสูตร 1. การประเมินหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และหลักสตู รการศึกษาต่อเนอ่ื งยงั ไมเ่ ป็นระบบ ด้านบคุ ลากร 2. ครบู างคนมคี วามสามารถในการออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียน เป็นสาคญั ในรายวชิ าหลักค่อนข้างน้อย 3. ผูเ้ รยี นมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นปลายภาค รายวชิ าหลกั ไดแ้ ก่ วชิ าภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์คอ่ นข้างต่า 4. บุคลากรบางสว่ นยงั ขาดความรแู้ ละทักษะการใช้เทคโนโลยีท่ีทนั สมยั ในการจัดการ เรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับผ้เู รียน

34 5. ครบู างคนไม่ไดน้ าสื่อที่เป็นรปู แบบนวัตนกรรมใหม่ ๆ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งผล ใหผ้ ้เู รยี นไมส่ นใจเทา่ ทค่ี วร 6. สถานศึกษายังขาดการอบรมวิทยากรการศกึ ษาต่อเนื่อง ดา้ นงบประมาณ 7. ไม่ได้รบั การจดั สรรเงินงบประมาณในการจัดหาครุภัณฑส์ านักงานการจัดการเรียน การสอนและการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 8. สานกั งาน กศน. จดั สรรงบประมาณ การศึกษาตามอธั ยาศยั มาแบบไม่ตรงกบั ความ ต้องการ รับรสู้ ื่อของผู้รบั บริการยคุ ใหม่ เชน่ คา่ วารสารหนังสือพิมพ์ห้องสมดุ ด้านบรหิ ารงาน 9. กศน.อาเภอสามพราน และ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลริ าชกุมารี” อาเภอสามพราน มสี ถานท่ีไมเ่ ป็นเอกเทศ คือ ใชร้ ่วมกบั หน่วยงานอ่นื ทาให้ไม่สามารถบรหิ ารจัดการได้อย่างคลอ่ งตวั 10. กศน. ตาบลบางแห่งไม่เป็นเอกเทศทาใหไ้ ม่สามารถจัดกจิ กรรมตามภารกิจบาง กิจกรรมได้อยา่ งคล่องตัว 11. สถานศึกษายงั ไมไ่ ดน้ าผลการนิเทศตดิ ตามมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการจดั กจิ กรรมอยา่ งเปน็ ระบบ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส 1. บางพืน้ ทขี่ องอาเภอสามพรานเปน็ ลักษณะของชุมชนที่เข็มแข็ง 2. ภาคเี ครือขา่ ยและผูน้ าชมุ ชนส่วนใหญใ่ หค้ วามร่วมมอื เป็นอย่างดี และให้การ สนับสนุนด้านตา่ ง ๆ เชน่ สถานที่ บุคลากร วัสดุอปุ กรณ์ และ การประชาสัมพันธ์กจิ กรรม กศน. 3. ประชาชนสว่ นใหญ่ยังไมม่ ีการนาเทคโนโลยีมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ ่อการดารงชีวติ และการประกอบอาชีพ 4. พน้ื ท่ีอาเภอสามพราน มแี หล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินทห่ี ลากหลายทง้ั ด้าน การเกษตร ศิลปวัฒนธรรม สาธารณสุข ดา้ นการศึกษาตลอดด้านการปกครอง และอ่นื ๆ 5. พื้นท่อี าเภอสามพรานบางพนื้ มปี ระเพณี วัฒนธรรมทอ้ งถิ่น 6. มเี ครอื ขา่ ยใหบ้ ริการอนิ เตอรเ์ นต็ ครอบคลุมทกุ พืน้ ที่ทาให้ประชาชนเข้าถงึ ขอ้ มลู ได้ ง่ายและเกิดสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 6. พืน้ ทข่ี องอาเภอสามพราน เปน็ พ้ืนที่เกษตรกรรมมผี ลผลติ มาก ทาให้ราคาสนิ ค้า เกษตรตกต่า 7. อาเภอสามพราน บางพื้นทเ่ี ป็นเขตอตุ สากรรมทาให้มีประชากรแฝงค่อนข้างมาก และส่วนใหญ่ตอ้ งการวุฒกิ ารศกึ ษา เพ่อื นาไปใช้ในการประกอบอาชพี 8. ลักษณะพืน้ ท่ใี นบางพ้ืนท่ีเป็นการอยูร่ ่วมกนั เป็นชมุ ชน 9. พน้ื ท่ีอาเภอสามพรานเข้าสูส่ ังคมผู้สงู อายุ

35 อุปสรรค 1. พน้ื ที่อาเภอสามพรานเปน็ ลกั ษณะกึง่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ทาให้การรวมตวั ของคนในชมุ ชนบางชุมชน ในการจดั กิจกรรม กศน. ทาได้ยาก 2. ประชาชนทเ่ี ป็นแรงงานในภาคอตุ สาหกรรมย้ายถนิ่ ฐานบ่อย 3. ครู กศน.ตาบลไดร้ บั มอบหมายภารกจิ จากต้นสงั กดั หลายด้าน และภารกจิ จาก หน่วยงานอืน่ ท่ที า MOU ร่วมกันทาให้มีปริมาณของงานมาก แต่คุณภาพของงานไมส่ มบูรณ์เทา่ ท่ีควร 4. ผนู้ าชุมชน/ทอ้ งถิ่น บางพื้นท่ี ไมส่ นบั สนนุ การจัดกจิ กรรมของ กศน. 5. หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มี รายวชิ าเลือกจานวนมาก เปน็ อปุ สรรคในการบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรียนรู้ 6. ลกั ษณะพ้ืนทีใ่ นบางพ้นื ทเี่ ปน็ ลกั ษณะกระจาย 7. ประชาชนสว่ นใหญม่ อี าชีพหลัก 8. สถานประกอบการบางแห่งไม่สนับสนนุ แรงงานในสถานประกอบการศึกษาตอ่ หรือ ไมใ่ หผ้ เู้ รยี นเขา้ กจิ กรรม 3. เปา้ หมายหลัก (เปา้ ประสงค)์ ของการบริหารและจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 1. พฒั นาศกั ยภาพครูใหส้ ามารถออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ และจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ย่าง มศี ักยภาพ 2. หลักสตู รการจดั การศึกษามีคณุ ภาพสอดคล้องกบั ความตอ้ งการและการเปลยี่ นแปลงของ สงั คม

36 บทท่ี 3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา สถานศกึ ษาได้ดาเนนิ การศกึ ษานโยบาย และข้อกฎหมายทางการศกึ ษาที่เกยี่ วขอ้ ง และ นามาวิเคราะห์ เพ่ือใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) ดังน้ี 1. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 วิสยั ทศั น์ “คนไทยทุกคนได้รบั การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างมีคุณภาพ ดารงชวี ติ อย่างเปน็ สขุ สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปล่ยี นแปลงของ โลกศตวรรษที่ 21” เป้าหมายของการจดั การศกึ ษา แผนการศึกษาแห่งชาติ ไดก้ าหนดเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาในระยะ 20 ปี ไว้ 5 ด้าน ประกอบดว้ ย 1. ประชากรทุกคนเข้าถึงการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานอย่างท่ัวถึง (Access) - เดก็ ปฐมวัยมีพฒั นาการสมวัย - ประชากรทุกคนมีโอกาสได้รบั บรกิ ารทางการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยถึงมัธยมศึกษา ตอนปลาย หรือเทียบเท่าท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐาน - ประชากรท่ีอยู่ในกาลังแรงงานได้รบั การพัฒนาทกั ษะ ความรู้ความสามารถ และ สมรรถนะทต่ี อบสนองความต้องการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ - ประชากรสงู วัยได้เรียนรู้ ฝึกฝนเพ่ือพัฒนาความร้คู วามสามารถ และทักษะเพ่ือ การทางานหรือการมชี ีวติ หลังวัยทางานอยา่ งมคี ุณค่าและเป็นสขุ 2. ผเู้ รียนทุกกลมุ่ เป้าหมายได้รับบรกิ ารทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเทา่ เทียม (Equity) ผ้เู รียนทุกกลุม่ เป้าหมาย ทั้งกลมุ่ ปกติ ผู้มคี วามสามารถพิเศษ ผ้มู ีความบกพร่องดา้ น ต่าง ๆ ผ้พู กิ าร ผ้ดู ้อยโอกาส และผู้มีภมู หิ ลังทางสงั คมหรือฐานะทางเศรษฐกิจท่ีแตกต่างกนั ไดร้ ับโอกาส และการบริการทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม 3. ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผเู้ รยี นให้บรรลขุ ีดความสามารถและ เตม็ ตามศักยภาพ (Quality) ประชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รับการศกึ ษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เพอื่ พฒั นา คุณลกั ษณะ ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของแต่ละบคุ คลให้ไปไดไ้ กลที่สุดเทา่ ท่ศี ักยภาพ และความสามารถของแตล่ ะบุคคลพงึ มี ภายใต้ระบบเศรษฐกิจสงั คมฐานความรู้ สังคมแห่งปญั ญา และ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อือ้ ต่อการเรียนรู้ ทป่ี ระชาชนสามารถเรียนร้ไู ด้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต มี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และสามารถดารงชีวิตได้อยา่ งเปน็ สุขตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาที่มปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือการพฒั นาผูเ้ รียนอยา่ งทัว่ ถึง และมีคุณภาพ และการลงทนุ ทางการศึกษาทค่ี ุ้มค่าและบรรลุเปา้ หมาย (Efficiency) หน่วยงาน สถานศกึ ษาและสถาบนั การศึกษาทกุ แห่งสามารถบริหารและจดั การศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ด้วยคณุ ภาพและมาตรฐานระดับสากล จดั ใหม้ รี ะบบการจัดสรรและใช้

37 ทรพั ยากรทางการศึกษาที่ก่อประโยชนส์ งู สดุ ในการพัฒนาผู้เรยี นแตล่ ะคนใหบ้ รรลุศักยภาพและขีด ความสามารถของตน และส่งเสรมิ สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสงั คมท่ีมีศักยภาพและความพร้อมเข้ามามี สว่ นร่วมในการระดมทนุ และร่วมรบั ภาระคา่ ใช้จ่ายเพือ่ การศึกษา โดยเฉพาะ สถานประกอบการ สถาบัน และองคก์ รต่าง ๆ ในสังคม และผูเ้ รียน ผา่ นมาตรการทางการเงนิ และการคลังที่เหมาะสม 5. ระบบการศึกษาท่สี นองตอบและกา้ วทันการเปล่ียนแปลงของโลกทเี่ ปน็ พลวัตและ บริบทที่เปลีย่ นแปลง (Relevancy) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทนั การเปลย่ี นแปลง ของ โลกศตวรรษท่ี 21 สามารถพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการทางานของกาลังคนใน ประเทศให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดงาน สงั คม และประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี และยุทธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 ท่จี ะนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางสู่ การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแลว้ ดว้ ยการศึกษาที่สรา้ งความมั่นคงในชวี ิตของประชาชน สงั คม และ ประเทศชาติ และการสรา้ งเสรมิ การเตบิ โตท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ท่ีสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์และเปา้ หมายตาม ยุทธศาสตร)์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพอ่ื ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ มี เปา้ หมาย ดงั น้ี 1.1 คนทกุ ช่วงวยั มีความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมั่นการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ มตี ัวช้ีวดั ท่สี าคัญ เช่น การจดั กิจกรรมของ สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทส่ี ง่ เสริมการเรยี นรทู้ ีส่ ะท้อนความรักและการธารงรักษาสถาบันหลกั ของชาติ และการยึดมน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข การจัดการเรียน การสอน/กิจกรรม เพ่ือเสรมิ สรา้ งความเป็นพลเมอื ง (Civic Education) และส่งเสริมการอยู่รว่ มกนั ใน สงั คมพหุวฒั นธรรม เป็นตน้ 1.2 คนทุกชว่ งวัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตแ้ ละ พน้ื ท่ีพเิ ศษไดร้ บั การศึกษาและเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ มีตัวช้ีวัดทีส่ าคัญ เช่น นกั เรยี นในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพื้นท่ีพิเศษมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) แตล่ ะวิชาผ่านเกณฑค์ ะแนนรอ้ ยละ 50 ขึน้ ไปเพิ่มขน้ึ สถานศึกษาจดั การศึกษาสาหรบั กลุ่มชนต่างเชือ้ ชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างดา้ วเพ่ิมขึ้น และ สถานศกึ ษาในพ้นื ที่พเิ ศษทจี่ ดั อยใู่ นมาตรการจูงใจ มรี ะบบเงนิ เดอื น ค่าตอบแทนทส่ี งู กว่าระบบปกติ เพิม่ ข้ึน เปน็ ต้น 1.3 คนทกุ ชว่ งวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคกุ คามในชีวติ รปู แบบใหม่ มีตวั ชี้วดั ทสี่ าคัญ เช่น สถานศกึ ษาทจ่ี ดั กระบวนการเรียนรูแ้ ละปลกู ฝงั แนวทางการจัดการ ความขัดแย้งโดยแนวทางสันติวิธเี พ่ิมขน้ึ มกี ารจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจทถี่ ูกต้องเก่ยี วกับภยั คุกคามในรปู แบบใหม่เพ่ิมข้ึน มรี ะบบ กลไก และมาตรการท่เี ข้มแข็งใน การป้องกนั และแก้ไขปัญหาภัยคกุ คามในรปู แบบใหม่ และผ้เู รียนในสถานศกึ ษาท่ีมีคดีทะเลาะวิวาทลดลง เป็นตน้ โดยไดก้ าหนดแนวทางการพัฒนา คือ พฒั นาการจดั การศึกษาเพอื่ เสริมสรา้ งความ ม่นั คงของสถาบนั หลกั ของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็น ประมขุ ยกระดบั คุณภาพและส่งเสรมิ โอกาสในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั

38 ชายแดนภาคใต้และพ้ืนท่ีพเิ ศษ ทง้ั ท่ีเป็นพืน้ ทีส่ ูง พ้นื ท่ตี ามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพน้ื ท่เี กาะแก่ง ชายฝัง่ ทะเล ท้งั กลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว พฒั นาการจัดการศึกษาเพ่ือการจดั ระบบการดูแลและป้องกันภยั คุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรปู แบบต่าง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ ภยั จากโรคอุบตั ิใหม่ ภัย จากไซเบอร์ เปน็ ตน้ และมีแผนงานและโครงการสาคญั เชน่ โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขต พัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพนื้ ท่ีพเิ ศษ เปน็ ตน้ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การผลติ และพฒั นากาลงั คน การวิจยั และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ มเี ป้าหมาย ดังน้ี 2.1 กาลังคนมที ักษะที่สาคัญจาเป็นและมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ มีตัวช้ีวัดที่สาคญั เช่น มีฐานขอ้ มลู ความ ตอ้ งการกาลังคน (Demand) จาแนกตามกลมุ่ อุตสาหกรรมอยา่ งครบถ้วน สัดสว่ นผเู้ รียน อาชวี ศกึ ษา สงู ขน้ึ เมอื่ เทียบกบั ผู้เรยี นสามัญศึกษา และสดั ส่วนผู้เรยี นวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีสงู ขน้ึ เมื่อเทยี บกบั ผ้เู รยี นสงั คมศาสตร์ กาลงั แรงงานในสาขาอาชพี ตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้รับการยกระดับ คุณวฒุ ิวิชาชพี เพ่มิ ข้นึ เปน็ ต้น 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จดั การศึกษาผลติ บัณฑิตที่มคี วาม เช่ยี วชาญและเป็นเลิศเฉพาะดา้ น มีตัวช้วี ดั ทส่ี าคญั เช่น สดั สว่ นการผลติ กาลงั คนระดบั กลางและระดบั สงู จาแนกตามระดบั /ประเภทการศึกษา ในสาขาวิชาที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดงานและการ พัฒนาประเทศเพ่มิ ขนึ้ รอ้ ยละของสถาบันการศึกษาจดั การศกึ ษารปู แบบ ทวภิ าคี/สหกิจศึกษา/หลักสูตร โรงเรียนในโรงงานตามมาตรฐานทีก่ าหนดเพ่มิ ขึ้น จานวนหลักสตู ร ของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการศึกษาทวิวฒุ ิ (Dual Degree) เพ่ิมขึ้น จานวนสถาบันอาชีวศึกษาและอดุ มศกึ ษาทจ่ี ัดหลักสตู รสาหรับผู้มคี วามสามารถ พเิ ศษเพมิ่ ขึ้น และมภี าคีเครือข่ายความร่วมมือ ระหวา่ งรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวชิ าชีพ และหนว่ ยงานท่ีจัดการศึกษาเพม่ิ ข้นึ เปน็ ตน้ 2.3 การวจิ ยั และพัฒนาเพื่อสรา้ งองค์ความรู้ และนวตั กรรมท่สี ร้างผลผลติ และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ มตี ัวชวี้ ัดท่ีสาคัญ เช่น สัดสว่ นเงินลงทุนวจิ ัยและพัฒนาของภาคเอกชน เมื่อ เทยี บกับภาครฐั เพมิ่ ขึน้ สัดส่วนค่าใชจ้ า่ ยการลงทุนเพื่อการวจิ ัยและพัฒนาเม่ือเทยี บกบั ผลติ ภณั ฑม์ วล รวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเพิ่มขึน้ โครงการ/งานวิจัยเพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้/นวัตกรรมที่ นาไปใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาประเทศเพ่ิมขึน้ บคุ ลากรดา้ นการวจิ ยั และ พฒั นาต่อประชากร 10,000 คน เพมิ่ ขึ้น นวตั กรรม/ส่งิ ประดิษฐ์ ทไ่ี ด้จดสิทธบิ ัตรและทรัพย์สิน ทางปญั ญาเพิม่ ขึ้น และผลงานวจิ ยั ที่ ไดร้ ับการตีพมิ พ์ในระดับนานาชาตเิ พ่มิ ขน้ึ เปน็ ต้น โดยได้กาหนดแนวทางการพัฒนา คอื ผลติ และพฒั นากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขา ท่ี ตรงตามความตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ สง่ เสริมการผลิตและ พฒั นากาลังคนที่มีความเชีย่ วชาญและเป็นเลิศเฉพาะดา้ น ส่งเสริมการวจิ ัยและพฒั นา เพือ่ สรา้ งองค์ ความรู้ และนวตั กรรมที่สร้างผลผลติ และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ และมีแผนงานและ โครงการสาคญั เชน่ โครงการจดั ทาแผนผลิตและพัฒนากาลงั คนใหต้ รงกับความตอ้ งการของตลาดงานในกลุ่มอตุ สาหกรรม เปา้ หมาย เปน็ ต้น ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ มี เป้าหมาย ดงั นี้

39 3.1 ผู้เรียนมีทกั ษะและคุณลักษณะพืน้ ฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ คณุ ลักษณะทจี่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มตี วั ชี้วดั ทสี่ าคญั เชน่ ผู้เรียนท่ีมคี ุณลักษณะและทักษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษที่ 21 เพ่ิมข้นึ ผเู้ รยี นทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความมวี นิ ยั และมีจิต สาธารณะเพ่ิมขนึ้ สถานศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หรือเทยี บเท่าขน้ึ ไปท่ีจัดกิจกรรมสะทอ้ นการ สรา้ งวนิ ัย จิตสาธารณะ และคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์เพ่ิมขึ้น เป็นต้น 3.2 คนทุกชว่ งวัยมีทกั ษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษาและมาตรฐานวชิ าชพี และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้ตามศักยภาพ มีตัวช้วี ดั ที่สาคัญ เชน่ เด็กแรก เกิด – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยเพม่ิ ขนึ้ นักเรียนมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) แตล่ ะวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนรอ้ ยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขน้ึ ผู้สูงวัยทไี่ ดร้ ับบริการการศึกษา เพ่อื พัฒนาทักษะอาชีพและทักษะชวี ติ เพิ่มขึ้น และมสี าขาและวิชาชพี ท่เี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้สูงวัยไดร้ บั การ สง่ เสริมให้ทางานและถา่ ยทอดความรู้/ประสบการณ์เพมิ่ ขึ้น เปน็ ต้น 3.3 สถานศกึ ษาทุกระดบั การศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รอยา่ งมคี ุณภาพและมาตรฐาน มตี ัวชวี้ ดั ท่สี าคัญ เช่น ศูนย์เด็กเล็ก/สถานศกึ ษาระดับกอ่ น ประถมศกึ ษาท่ีจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ไู ด้คุณภาพและมาตรฐานเพิม่ ขึ้น สถานศึกษา/สถานพัฒนา เด็ก ปฐมวัยจดั กจิ กรรมที่สอดคล้องกับหลักสตู รปฐมวยั และสมรรถนะของเด็กที่เชื่อมโยงกบั มาตรฐาน คุณภาพเด็กปฐมวยั ของอาเซียนเพมิ่ ขึ้น สถานศกึ ษาในระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานท่จี ดั การศึกษาตาม หลักสูตรท่มี ่งุ พัฒนาผเู้ รียนให้มคี ณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 เพิม่ ขึ้น และ สถาบันการศึกษาในระดบั อาชีวศกึ ษาและอุดมศึกษาที่จัดการศกึ ษาตามหลักสตู รท่มี ุ่งพัฒนาผู้เรียนใหม้ ี สมรรถนะท่สี อดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 เพิ่มขึ้น เป็นตน้ 3.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรยี น นวัตกรรม และสื่อการเรยี นรมู้ คี ุณภาพและ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไม่จากัดเวลาและสถานท่ี มีตัวชี้วดั ทสี่ าคญั เช่น แหลง่ เรยี นรู้ท่ีไดร้ ับการพัฒนาให้สามารถจดั การศึกษา/จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตที่มีคณุ ภาพเพ่มิ ขน้ึ สอ่ื สารมวลชนท่ีเผยแพรห่ รอื จดั รายการเพื่อการศึกษาเพม่ิ ขน้ึ สื่อตาราเรยี น และสื่อการเรยี นรู้ ทผ่ี ่าน การรบั รองมาตรฐานคุณภาพจากหนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ และไดร้ บั การพฒั นา โดยการมีสว่ นรว่ มจาก ภาครฐั และเอกชนเพิม่ ขึน้ เป็นต้น 3.5 ระบบและกลไกการวัด การตดิ ตาม และประเมนิ ผลมีประสทิ ธภิ าพ มี ตัวช้วี ดั ทสี่ าคญั เช่น มีระบบและกลไกการทดสอบ การวดั และประเมนิ ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของ ผ้เู รยี นทุกระดบั การศึกษา และทุกกล่มุ เปา้ หมายทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ มรี ะบบตดิ ตามประชากรวยั เรียนท่ีขาด โอกาสหรอื ไมไ่ ด้รับการศกึ ษา และผู้เรยี นทีม่ แี นวโน้มจะออกกลางคัน เป็นต้น 3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้มาตรฐานระดบั สากล มีตวั ชี้วัดท่สี าคญั เช่น มีฐานขอ้ มลู ความต้องการใช้ครู แผนการผลติ ครู อาจารย์ และ บุคลากร ทางการศกึ ษาในระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560 – 2569) จาแนกตามสาขาวิชา ขนาด สถานศึกษา และจังหวดั สดั สว่ นของการบรรจุครูทม่ี าจากการผลติ ครใู นระบบปดิ เพมิ่ ข้นึ มหี ลักเกณฑแ์ ละเง่ือนไขที่เอ้ือใหผ้ สู้ าเร็จ การศึกษาจากสาขาวิชาอ่นื และพัฒนาเพิ่มเติมเพอ่ื เข้าสู่ วิชาชพี ครู เปน็ ต้น 3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตาม มาตรฐาน มตี ัวชี้วัดทส่ี าคญั เช่น ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกระดับและประเภท การศกึ ษาได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวชิ าชพี และสามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง ได้รบั การพัฒนาใหส้ อดคล้องกับความต้องการและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเพิม่ ขึ้น และระดบั ความพึง

40 พอใจของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มีตอ่ การพฒั นาและการใช้ ประโยชน์จากการพฒั นา เพิม่ ข้นึ เปน็ ตน้ โดยได้กาหนดแนวทางการพัฒนา คอื ส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ ส่ือตาราเรยี น และสอ่ื การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ใหม้ ีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหล่งเรยี นรู้ได้ โดยไม่ จากดั เวลาและสถานที่ สรา้ งเสริมและปรบั เปล่ยี นค่านิยมของคนไทยให้มวี ินยั จติ สาธารณะ และ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ และพัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัด และประเมนิ ผลผ้เู รยี น ใหม้ ี ประสิทธิภาพ และมีแผนงานและโครงการทสี่ าคญั เชน่ โครงการผลิตครเู พ่ือพฒั นาท้องถิน่ เปน็ ตน้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา มี เป้าหมายดงั นี้ 4.1 ผู้เรียนทกุ คนได้รบั โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาที่มี คุณภาพ มตี ัวช้วี ัดท่สี าคัญ เชน่ ดัชนคี วามเสมอภาคของอัตราการเขา้ เรยี นระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตาม ฐานะทางเศรษฐกิจและพื้นท่ีลดลง ความแตกตา่ งระหว่างคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนระหวา่ งพนื้ ท่/ี ภาคการศึกษาในวิชาคณติ ศาสตร์และ ภาษาองั กฤษลดลง เป็นต้น 4.2 การเพิม่ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอื่ การศกึ ษาสาหรับ คนทุกชว่ งวยั มตี ัวชี้วัดที่สาคัญ เช่น มรี ะบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการศกึ ษาที่ทันสมัย สนองตอบ ความตอ้ งการของผ้เู รียนและผู้ใช้บริการอย่างทัว่ ถึงและมปี ระสิทธภิ าพ และสถานศึกษาทกุ แห่งมี อนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วสูงและมีคณุ ภาพ เปน็ ตน้ 4.3 ระบบข้อมูลรายบคุ คลและสารสนเทศทางการศกึ ษาท่ีครอบคลุม ถกู ต้อง เป็นปัจจบุ นั เพ่ือการวางแผนการบริหารจดั การศึกษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล มีตัวชวี้ ดั ที่ สาคัญ เช่น มรี ะบบฐานข้อมูลรายบุคคลที่อา้ งองิ จากเลขทบี่ ัตรประจาตวั ประชาชน 13 หลัก ทสี่ ามารถ เช่ือมโยงและแลกเปลย่ี นฐานขอ้ มูล รวมท้ังใช้ประโยชน์รว่ มกันระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและ หน่วยงานอืน่ ดา้ นสาธารณสุข สังคม ภมู ิสารสนเทศ แรงงาน และการศกึ ษา และมรี ะบบสารสนเทศดา้ น การศึกษาและด้านอืน่ ทเ่ี กี่ยวข้อง ทเี่ ปน็ ระบบเดยี วกันทัง้ ประเทศ ครอบคลมุ ถกู ต้อง และเป็นปัจจบุ นั สามารถอ้างองิ ได้ เปน็ ต้น โดยได้กาหนดแนวทางการพัฒนา คือ เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ชว่ งวยั พัฒนาฐานข้อมลู ดา้ นการศึกษาที่มมี าตรฐาน เชือ่ มโยงและเข้าถงึ ได้ และมีแผนงานและโครงการสาคญั เช่น โครงการ จัดทาฐานข้อมูลรายบคุ คลทุกช่วงวยั ทง้ั ดา้ นสาธารณสขุ สังคม ภูมสิ ารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา เป็นต้น ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพือ่ สรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม มีเปา้ หมาย ดังน้ี 5.1 คนทุกชว่ งวัย มจี ติ สานึกรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มีคุณธรรม จริยธรรม และนา แนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิ มตี วั ชวี้ ดั ทีส่ าคัญ เชน่ คร/ู บุคลากรทางการ ศกึ ษา ไดร้ ับการอบรมพัฒนาในเร่อื งการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มเพ่ิมขนึ้ ผเู้ รียน ทกุ ระดับการศึกษามพี ฤติกรรมที่แสดงออกถึงความตระหนักในความสาคญั ของการดารงชวี ติ ที่เป็นมิตร กับส่ิงแวดลอ้ ม ความมคี ุณธรรม จริยธรรม และการประยุกตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ ดาเนนิ ชีวิตเพิม่ ขึน้ และสถาบันอุดมศึกษาที่ติดอันดบั มหาวิทยาลยั สเี ขยี วของโลกเพม่ิ ข้นึ เปน็ ตน้

41 5.2 หลักสูตร แหล่งเรยี นรู้ และส่ือการเรียนรู้ทสี่ ่งเสริมคุณภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตร กบั สง่ิ แวดลอ้ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่ การปฏิบตั ิ มตี วั ชี้วัดทสี่ าคัญ เช่น สถานศึกษา/สถาบนั การศึกษาจัดการเรียนการสินและกิจกรรมเพื่อ ปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิเพิม่ ขนึ้ และส่ือสารมวลชนที่เผยแพรห่ รือให้ความรู้เก่ียวกบั การสร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม เพมิ่ ขนึ้ เปน็ ต้น 5.3 การวจิ ยั เพ่อื พัฒนาองค์ความรู้และนวตั กรรมด้านการสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพ ชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม มีตวั ชว้ี ดั ท่ีสาคญั เชน่ มฐี านขอ้ มูลด้านการศึกษาทเ่ี กีย่ วข้องกบั การ เปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศในสาขาตา่ ง ๆ เพิ่มขน้ึ เป็นตน้ โดยไดก้ าหนดแนวทางการพัฒนา คอื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสรา้ งจติ สานึกรกั ษ์ สง่ิ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ใิ น การดาเนนิ ชวี ิต สง่ เสริมและพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และส่อื การเรียนรตู้ ่าง ๆ และพัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรมดา้ นการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม และมีแผนงานและโครงการสาคญั เช่น โครงการน้อมนาศาสตรพ์ ระราช สกู่ ารพฒั นาและเพิ่มศักยภาพ คนทุกชว่ งวัย โครงการโรงเรยี นคุณธรรม โครงการโรงเรยี นสเี ขยี ว เป็นต้น ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา มเี ป้าหมาย ดังน้ี 6.1 โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบริหารจดั การการศึกษามีความ คลอ่ งตวั ชดั เจน และสามารถตรวจสอบได้ มีตัวชว้ี ดั ท่สี าคัญ เชน่ มีการปรบั ปรงุ โครงสร้างและระบบ บรหิ ารราชการสว่ นกลาง ส่วนภูมภิ าค และสถานศึกษาให้มเี อกภาพ สอดคลอ้ งกบั บริบทของพน้ื ที่ และ การบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล เป็นตน้ 6.2 ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลส่งผลตอ่ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา มีตวั ชี้วดั ท่สี าคัญ เช่น สถานศกึ ษาขนาดเล็ก/สถานศึกษาทตี่ ้องการ ความชว่ ยเหลือและพัฒนาเป็นพเิ ศษอย่างเร่งดว่ น ที่ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ภายนอกลดลง คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐานของผู้เรยี นท่ีเรยี นในกลมุ่ สถานศึกษาท่ีเขา้ สู่ระบบการบรหิ ารจดั การแนวใหม่สงู ข้นึ เปน็ ตน้ 6.3 ทุกภาคส่วนของสงั คมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนและพื้นที่ มีตวั ชว้ี ดั ทสี่ าคัญ เชน่ จานวนองคก์ ร สมาคม มลู นธิ ิ หรอื หน่วยงานอื่นที่ เข้ามาจดั การศึกษาหรือรว่ มมือกบั สถานศึกษา ทงั้ ของรฐั เอกชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น เพมิ่ ขึ้น และสัดส่วนการมสี ว่ นรว่ มสนับสนุนการศึกษาของภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคเี ครือขา่ ยเม่ือเทียบ กับรัฐ จาแนกตามระดับการศึกษาสูงขนึ้ เป็นต้น 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจดั การทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรบั ลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ของผเู้ รียน สถานศึกษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ มตี วั ชี้วดั ที่ สาคญั เชน่ มี กฎหมาย กฎ ระเบยี บ และระบบการจัดสรรเงินเพือ่ การศึกษาที่เอื้อและ สนองตอบ คุณลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันของผเู้ รียน ความต้องการกาลงั แรงงานและสภาพปญั หาทแี่ ท้จริงของประเทศ มี รปู แบบ/แนวทางกลไกการจัดสรรงบประมาณผ่านด้านอุปสงค์และอปุ ทาน ในสัดสว่ นทเี่ หมาะสมเป็นต้น 6.5 ระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษามี ความเป็นธรรม สรา้ งขวัญกาลังใจ และสง่ เสริมใหป้ ฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างเตม็ ตามศักยภาพ มีตวั ชว้ี ัดท่สี าคัญ

42 เช่น สถานศกึ ษาทีม่ ีครูเพยี งพอตอ่ การจัดการเรยี นการสอนเพิม่ ขึน้ ครู/ผูท้ รงคุณวฒุ ิจาก ภาคเอกชน/ ผู้ประกอบการที่ปฏบิ ตั ิงานสนับสนนุ การเรยี นการสอนเพิม่ ข้ึนและสถานศึกษามบี คุ ลากรทางการศึกษา ทาหนา้ ทปี่ ฏิบัติงานสนับสนุนการเรียนการสอนเพ่ิมข้นึ เป็นตน้ 2. แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (2560-2564) วสิ ยั ทัศน์ “มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้คคู่ ณุ ธรรม มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี มคี วามสขุ ในสังคม” “ผเู้ รียน” หมายถึง เด็ก เยาวชน นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชน ท่ีได้รับบรกิ าร จาก กระทรวงศึกษาธิการ “มคี วามรู้คู่คุณธรรม” หมายถึง รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ซ่อื สตั ย์สจุ ริต ขยนั อดทน สตปิ ญั ญา แบ่งปนั ซึง่ เป็น 2 เง่อื นไขตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “มคี ุณภาพชวี ติ ที่ดี” หมายถึง มอี าชพี มีความมัน่ คง ม่ังค่ัง และยง่ั ยืน ในการ ดารงชวี ิต “มคี วามสุข” หมายถึง ความอยู่ดมี สี ขุ สามารถอยรู่ ่วมกันอย่างเอื้ออาทร มคี วาม สามคั คี ปรองดอง “สังคม” หมายถงึ สังคมไทย ภมู ภิ าคอาเซยี น และสงั คมโลก เป้าหมายหลกั 1. คุณภาพการศกึ ษาของไทยดขี ้ึน คนไทยมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม มีภมู คิ ุ้มกันต่อการ เปล่ียนแปลงละการพฒั นาประเทศในอนาคต 2. กาลังคนได้รับการผลิตและพัฒนา เพื่อเสริมสร้างศกั ยภาพการแข่งขันของประเทศ 3. มอี งค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพฒั นาประเทศอย่างยั่งยืน 4. คนไทยไดร้ ับโอกาสในเรียนรอู้ ย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ 5. ระบบบรหิ ารจัดการการศึกษามีประสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล โดยการมีสว่ น ร่วม จากทกุ ภาคส่วน พนั ธกิจ 1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ/ประเภทสสู่ ากล 2. เสรมิ สร้างโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาของประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง เทา่ เทยี ม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าล ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และ ประเมนิ ผล กลยทุ ธ์ 1. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนทมี่ ีคณุ ภาพ และจัดกิจกรรมเสริมทักษะ พัฒนา ผเู้ รียนในรปู แบบที่หลากหลาย สอดคล้องกับทกั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ 2. พฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สูตร การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาทกุ ระดับ/ ประเภท การศึกษาให้ทนั สมยั สอดคลอ้ งกับความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคม โลก

43 3. สง่ เสริมการพัฒนาเนื้อหาสาระท่ีทันสมยั ในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพ่ือการผลิต สอื่ การเรยี นการสอน ตาราเรียนท่ีมีคณุ ภาพ รวมทงั้ ตาราเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ 4. ปรับปรงุ ระบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติใหส้ อดคล้องกับหลักสตู รและ กระบวนการ จัดการเรียนการสอน 5. สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองและพลโลก ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระบบการศึกษาอยา่ งเข้มข้น ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ผลติ พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ์ 1. วางแผนการผลติ และพฒั นาครู คณาจารย์ อยา่ งเป็นระบบให้สอดคล้องกับ ความตอ้ งการในการจัดการศึกษาทุกระดับ /ประเภทการศึกษา 2. ปรับระบบการผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ี ประสิทธภิ าพ 3. เร่งรดั พฒั นาผูบ้ ริหารสถานศึกษา รวมท้ังครปู ระจาการทสี่ อนไมต่ รงวฒุ ิ ครู ทส่ี อนคละช้ันและครูในสาขาวิชาที่ขาดแคลน 4. สร้างขวญั กาลังใจ สรา้ งแรงจูงใจใหก้ ับครู คณาจารย์และบคุ ลากรทาง การศึกษา 5. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้ มปี ระสิทธภิ าพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยทุ ธศาสตร์ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมทงั้ งานวิจัยที่สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของการพฒั นาประเทศ กลยุทธ์ 1. เร่งผลิตและพฒั นากาลงั คนสาขาท่จี าเปน็ ต่อการพฒั นาประเทศ อาทิ ดา้ น วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แพทย์ และพยาบาล 2. เรง่ ผลติ และพฒั นาสมรรถนะกาลงั คนด้านอาชีวศกึ ษาใหท้ ันกับความ เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และรองรบั พ้ืนท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ 3. สง่ เสรมิ ภาพลกั ษณ์การอาชวี ศึกษา เรง่ ปรับค่านยิ ม และวางรากฐานทักษะ อาชพี ให้แกผ่ ู้เรียนตั้งแตว่ ัยการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาผ้มู คี วามสามารถพเิ ศษอยา่ งตอ่ เนื่องทุกระดับ 5. เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของกระบวนการผลิตและพัฒนากาลังคน โดยสร้าง เครอื ข่ายความรว่ มมือตามรูปแบบประชารัฐ ทงั้ ระหว่างองคก์ รภายในและตา่ งประเทศ 6. สง่ เสรมิ งานวจิ ัยและนวัตกรรมทส่ี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยทุ ธศาสตร์ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษา และ การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง ตลอดชีวติ กลยทุ ธ์ 1. ประกนั โอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ให้แกผ่ เู้ รียนในทุกพ้ืนท่ี ครอบคลุมถึงคนพิการ ผดู้ อ้ ยโอกาส และผมู้ คี วามต้องการพเิ ศษ 2. ส่งเสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบ และการเขา้ ถึงแหล่งเรยี นรูท้ ่ีสอดคล้อง กบั ความสนใจ และวถิ ชี ีวิตของผ้เู รยี นทุกกล่มุ เปา้ หมาย

44 3. เร่งสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ให้ เกิดผลเปน็ รูปธรรมอย่างกว้างขวาง 4. จัดหาทนุ และแหล่งทุนทางการศึกษา 5. เร่งพัฒนาแหลง่ เรยี นรูท้ ีเ่ อ้ือตอ่ การศึกษาและการเรียนรูต้ ลอดชีวติ อยา่ งมี คณุ ภาพ มีความหลากหลาย และสามารถใหบ้ รกิ ารไดอ้ ย่างทั่วถงึ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 ยทุ ธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่อื การศึกษา กลยุทธ์ 1. พฒั นาระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่ือการศึกษาและการบริหาร จัดการท่ที ันสมัย และไมซ่ ้าซ้อน ให้ผ้รู บั บริการสามารถเขา้ ถึงไดอ้ ย่างท่วั ถงึ และมีประสทิ ธิภาพ 2. พฒั นากระบวนการจัดทาระบบฐานข้อมูลกลางทางการศกึ ษาของประเทศ ระบบ การรายงานผลของฐานข้อมูลโดยเชอ่ื มโยงขอ้ มลู การศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา ให้เปน็ เอกภาพ เปน็ ปัจจบุ ัน และมีมาตรฐานเดยี วกัน 3. ผลิตและพฒั นาโปรแกรมประยกุ ต์หรือส่อื การเรียนร้อู เิ ล็กทรอนิกส์ให้ ผู้เรยี น สถานศกึ ษา และหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา นามาใช้เพิ่มคณุ ภาพ การเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ 4. จดั หาอปุ กรณ์ /ทรัพยากรพ้นื ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผเู้ รียน อยา่ งเพียงพอ ทั่วถงึ และเหมาะสมกับการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 ยทุ ธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการและสง่ เสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมี สว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา กลยทุ ธ์ 1. ปรบั ปรงุ กลไกการบริหารจดั การการศึกษาใหเ้ ป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล โดยเน้น ด้านคณุ ธรรม ความโปรง่ ใส ทงั้ ในระดับสว่ นกลาง และในพ้นื ทร่ี ะดับภาค/จังหวัด 2. พฒั นาระบบบริหารงานงบประมาณ/การเงินให้มีประสิทธิภาพ 3. ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาตอบสนองการสร้างอาชีพและเพ่ิมคณุ ภาพชวี ติ ลดความเหล่อื มลา้ สร้างความสมานฉนั ท์ และเสรมิ สร้างความมนั่ คงในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 4. เรง่ สง่ เสริมให้ทกุ ภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัดการศกึ ษา รวมท้งั สนับสนนุ ทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา 5. เสริมสร้างภาพลกั ษณห์ น่วยงานใหเ้ กิดความรว่ มมอื และสร้างเครือข่าย/ ความเป็นภาคหี นุ้ ส่วนกับองค์กรทงั้ ภายในและต่างประเทศ 6. สง่ เสริมและขยายผลใหส้ ถานศึกษาระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานท่ีมี ความพร้อม พัฒนา เปน็ สถานศึกษานิติบุคคลในกากับ 3. สาระสาคญั ของแผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (พ.ศ. 2560-2579) วิสยั ทัศน์ “คนไทยไดร้ บั โอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ิตอย่างมคี ุณภาพ สามารถ ดารงชวี ิตท่ี เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกั ษะที่จาเปนใน โลกศตวรรษที่ 21” เป้าหมายหลกั

45 1) คนไทยสามารถเขาถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั การเรียนรูตลอดชวี ิตที่มคี ณุ ภาพ และมาตรฐานอย่างทว่ั ถงึ 2) คนไทยมีสมรรถนะและทักษะในการดารงชีวิตท่เี หมาะสมกบั ชวงวยั สอดคลองกับ หลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง และพรอมรบั การเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 3) หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบเทคโนโลยีทที่ นั สมยั และมปี ระสิทธภิ าพเพือ่ ให บริการ การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตใหกบั ประชาชนอย่างทว่ั ถึงและมปี ระสิทธิภาพ 4) หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบบรหิ ารจัดการทมี่ ีประสิทธภิ าพ ภายใตการบริหาร จดั การ ตามหลักธรรมาภบิ าล 5) ทุกภาคสวนมีบทบาทและมสี วนรว่ มในการสงเสริม สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและ การเรยี นรูตลอดชวี ติ เป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 เพ่ิมและกระจายโอกาสในการเขาถงึ บริการการศึกษาและการเรยี นรูท่ี มคี ณุ ภาพ เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) คนไทยไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถงึ การศึกษาและการ เรียนรูตลอดชีวิต ทีม่ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน 2) แหล่งเรยี นรู สือ่ และนวัตกรรมการเรยี นรูมีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนสามารถเขาถึงได้ โดยไม่จากดั เวลาและสถานท่ี 3) คนไทยทกุ ชวงวัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจชายแดนใต และพนื้ ทีพ่ ิเศษ ไดร้ บั การศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ แนวทางการพฒั นา การศกึ ษานอกระบบ 1) ประกนั โอกาสการเขารบั บริการทางการศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ใหแกผูเรยี น ในทุกพ้ืนที่ ครอบคลุมผู้ทมี่ ีความตองการจาเป็นพเิ ศษ 2) สงเสริมใหมีการบรู ณาการ การศกึ ษานอกระบบเพื่อใหผู้เรียนสามารถ เขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ สอดคลองกบั วัย สภาพร่างกายและสุขภาพ ความจาเปน็ ความ ตองการและความสนใจ และสามารถนาผลท่ีได้จากการศึกษาและการเรยี นรูไปเทียบระดับ เทยี บโอน เช่อื มโยงสง่ ต่อระหวา่ งการศึกษาทกุ รปู แบบทุกระดบั ได้ 3) สงเสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบทส่ี อดคลองกับความสนใจและวิถชี วี ติ ของผู้เรียนทุก กลุ่มเป้าหมาย 4) สงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษานอกระบบของคนทุกชวงวัยในพืน้ ท่ี พิเศษ และเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกับภมู สิ ังคม อัตลกั ษณ์ และความ ต้องการของชมุ ชนและ พื้นที่ 5) จัดทา SMART CARD ทางการศึกษาสาหรบั ทุกกล่มุ เปา้ หมาย โดยเฉพาะ กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ เพื่อขอรับบริการทางการศึกษา 6) พฒั นาระบบ E-exam และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนิกส์ใหมมี าตรฐาน และยกระดบั สถานศึกษาทกุ แหงใหเปน็ ศูนย์ทดสอบด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกสเ์ พอื่ เพม่ิ โอกาสทาง การศึกษาข้นั พืน้ ฐานท่ีมี คุณภาพใหแกประชาชน

46 7) พฒั นาระบบการเทยี บโอนและการเทยี บระดบั การศึกษา ใหมมี าตรฐาน และสามารถเชื่อมโยง การศกึ ษาและการเรียนรูทุกระดบั ทุกรูปแบบ การศึกษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหลง่ เรยี นรูในชมุ ชนใหมีมาตรฐานตามประเภทแหล่งการเรยี นรู และสอดคลองกบั ความสนใจและวิถชี วี ิตของผู้รบั บริการแต่ละกลุม่ เป้าหมาย รวมทง้ั สามารถใหบริการได้ อยา่ งทวั่ ถึง 2) พฒั นาหองสมดุ พิพธิ ภัณฑ์ และจดั แหลง่ เรยี นรูที่หลากหลาย กระจายอยู่ ทกุ พนื้ ทีใ่ หเป็นกลไก ในการแสวงหาความรูของประชาชน 3) เพ่ิมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาตามอัธยาศยั ของคนทกุ ชวงวยั ในพืน้ ท่ี พิเศษ และเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกบั ภูมสิ ังคม อตั ลักษณ์ และความต องการของชมุ ชนและพน้ื ท่ี 4) พฒั นานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู ส่ือเพ่อื การเรียนรู และการใหบริการ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกุ รูปแบบ ตลอดจนขยายเครือขา่ ยอินเทอรเนต็ ความเร็วสงู ในสถานศึกษาทุกแหง ครอบคลุมทกุ พืน้ ท่ีและเพียงพอกับผูเ้ รยี น เพื่อเอื้อตอการเรยี นรูด้วยตนเอง และการเรยี นรูแบบมีส่วน ร่วม ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนทุกชวงวัยใหมีสมรรถนะ และทักษะ เหมาะสม มีคุณภาพชวี ติ ที่ดี เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) คนทุกชวงวัยมที ักษะ ความรู ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา และ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ไดต้ ามศักยภาพ 2) คนไทยไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะและทักษะในการดารงชีวิตที่เหมาะสม กบั ชวงวัย และพรอม รับการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 รวมพ้ืนท่ชี ายแดนใตและพนื้ ที่พิเศษ 3) ระบบการวัดผลและประเมนิ ผลและการเทยี บโอนการศึกษาที่มี ประสทิ ธภิ าพ 4) คนไทยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยดึ ม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ 5) สถานศกึ ษาสามารถจัดกจิ กรรม กระบวนการเรยี นรูตามหลักสตู รไดอ้ ยา่ งมี คุณภาพ มาตรฐาน 6) ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะอยา่ งตอ่ เนื่อง 7) กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส กลุ่มผู้พลาดโอกาส และกลุม่ ผขู้ าดโอกาส ได้รับโอกาสใน การพฒั นา สมรรถนะและทักษะในการดารงชวี ิตเพื่อการมีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี 8) ผ้เู รียน ผู้รบั บรกิ าร ไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขารับการศกึ ษา นอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมีคณุ ภาพ แนวทางการพัฒนา การศึกษานอกระบบ 1) ปฏิรูปหลักสตู ร ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนรูใหทันต่อ ความเปลยี่ นแปลง เหมาะสมและสอดคลองกับสภาพของกลุ่มเป้าหมาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook