แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี / MAI รายงานประจำปี 2564 (แบบ 56-1 One Report) บริษัท ไซแมท เทคโนโลยี จำกดั (มหาชน) 1
สารบัญั 1 1 ส่ว่ นที่�่ 1 การประกอบธุุรกิิจและผลการดำ�ำ เนินิ งาน 20 23 1. โครงสร้้างและการดำำ�เนินิ งานของกลุ่ม่� บริิษััท 40 2. การบริิหารจัดั การความเสี่ย่� ง 60 3. การขัับเคลื่อ่� นธุรุ กิจิ เพื่่�อความยั่่ง� ยืืน 62 4. การวิิเคราะห์์และคำ�ำ อธิิบายของฝ่า่ ยจัดั การ 62 (Management Discussion and Analysis: MD&A) 69 5. ข้้อมูลู ทั่่ว� ไปและข้อ้ มููลสำำ�คัญั อื่่น� 80 86 ส่ว่ นที่�่ 2 การกำ�ำ กัับดููแลกิิจการ 100 195 6. นโยบายการกำ�ำ กัับดูแู ลกิจิ การ 196 7. โครงสร้า้ งการกำำ�กับั ดูแู ลกิจิ การ และข้อ้ มูลู สำ�ำ คัญั เกี่ย่� วกับั คณะกรรมการ 207 208 คณะกรรมการชุุดย่่อย ผู้�้บริหิ าร พนัักงานและอื่่น� ๆ 209 210 8. รายงานผลการดำ�ำ เนิินงานสำ�ำ คัญั ด้้านการกำ�ำ กับั ดูแู ลกิจิ การ 241 9. การควบคุุมภายในและรายการระหว่่างกััน ส่ว่ นที่่� 3 งบการเงินิ เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 รายละเอีียดเกี่ย่� วกัับกรรมการ ผู้้�บริิหาร ผู้้�มีีอำ�ำ นาจควบคุุม ผู้้�ที่่ไ� ด้ร้ ับั มอบหมายให้้รัับผิิดชอบสููงสุุดในสายงานบััญชีีและการเงิิน ผู้้�ที่่�ได้้ รัับมอบหมายให้้รัับผิิดชอบโดยตรงในการควบคุุมดููแลการทำ�ำ บััญชีี เลขานุุการบริิษััทและตััวแทนติิดต่่อประสานงานกรณีีเป็็ นบริิษััท ต่่างประเทศ เอกสารแนบ 2 รายละเอีียดเกี่ย่� วกับั กรรมการของบริษิ ััทย่่อย เอกสารแนบ 3 รายละเอีียดเกี่ย่� วกับั หัวั หน้า้ งานตรวจสอบภายใน และหัวั หน้า้ งานกำ�ำ กับั ดููแลการปฏิิบััติงิ านของบริษิ ััท (compliance) เอกสารแนบ 4 ทรััพย์์สิินที่่�ใช้้ในการประกอบธุุรกิิจและรายละเอีียดเกี่่�ยวกัับรายการ ประเมินิ ราคาทรัพั ย์ส์ ิิน เอกสารแนบ 5 นโยบายและแนวปฏิิบััติิการกำ�ำ กัับดููแลกิิจการ ฉบัับเต็็ม และ จรรยาบรรณธุุรกิิจฉบับั เต็็มที่บ่� ริิษัทั ได้จ้ ัดั ทำำ� เอกสารแนบ 6 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
ส่วนท่ี 1 MAI การประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนนิ งาน 2542 ใหบ ริการภายใตสัญญา บริษัทสนับสนนุ แผนการ 2550 โครงการจัดใหม บี รกิ าร ออกและเสนอขายหุน สามญั 2551 อินเทอรเ น็ตความเร็วสูง ทอ่ี อกใหมข อง HST และ 2556 ในพนื้ ท่ีหา งไกล การนำหุนเขา ไปจดทะเบียน 2561 กบั กสทช. ในตลาดหลักทรพั ย เอ็ม เอ ไอ (mai) 2562 ภายในป 2565 เพอ่ื รองรับแผน 2564 ขยายธุรกจิ และบกุ ตลาดตางประเทศ ในอนาคต ตลาดหลกั ทรัพย MAI ซอ้ื กจิ การ ธรุ กิจ Silk Screen Printing ภายใต บ.ฮินซึซึ (ประเทศไทย) เริม่ ธุรกิจใหบ ริการ อนิ เทอรเนต็ ความเร็วสงู ภายใตแ บรนด MAI เริ่มธุรกิจผลติ และจำหนา ย ผลิตภณั ฑ เลเบล กอ ต้งั บรษิ ัท ภายใต บ.ไซแมทเลเบล (บรษิ ทั ยอ ย) เร่ิมทำธุรกจิ IT จดทะเบียน ในตลาดหลักทรพั ย ตลาดหลกั ทรัพย MAI 1. โครงสร้า้ งและการดำ�ำ เนินิ งานของกลุ่่ม� บริษิ ััท ภาพรวมที่�่มาและลัักษณะการประกอบธุรุ กิจิ ของกลุ่่ม� บริิษััท 2542 2551 2562 ได้้มีีการจััดตั้้�งบริิษััทโดยคุุณทองคำำ� มานะ บริิษััทได้้ขยายธุุรกิิจไปยัังประเทศเวีียดนาม บริิษััทได้้เริ่�มให้้บริิการอิินเทอร์์เน็็ตความ ศิิลปพัันธ์์ ภายใต้้ชื่�่อ บริิษััทไซแมท โมบาย ด้้วยการเข้้าไปลงทุุนในบริิษััท ซิิโน เทรดดิ้้�ง เร็็วสููง ภายใต้้สััญญาโครงการจััดให้้มีีบริิการ คอมพิิวเตอร์์(ชื่�่อเดิิม) ซึ่�่งดำ�ำ เนิินธุุรกิิจจััด แอนด์์เซอร์์วิิส คอร์์เปอเรชั่�น (“บริิษััทร่่วม”) อิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงในพื้้�นที่่�ห่่างไกลใน จำ�ำ หน่่ายอุุปกรณ์์คอมพิิวเตอร์์เคลื่�่อนที่่� (ถือื หุ้�นร้อ้ ยละ 40 โดยบริษิ ัทั ไซแมท เทคโนโลยีี พื้้�นที่่�ตะวัันออกเฉีียงเหนืือ กัับสำ�ำ นัักงาน (Mobile Computer) และมีีการพััฒนาและ มหาชน จำ�ำ กััด) เพื่่�อขยายตลาดไปยัังประเทศ กสทช. ขยายธุุรกิิจเพื่่�อให้้บริิการเกี่�ยวกัับเทคโนโลยีี เวียี ดนาม สารสนเทศอย่่างเต็็มรููปแบบในเวลาต่่อมา ภายใต้้ชื่�่อ บริิษััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำ�ำ กััด 2556 2564 บริิษััทสนัับสนุุนแผนการออกและเสนอขาย (มหาชน) บริิษััทได้้ขยายธุุรกิิจไปยัังธุุรกิิจบรอดแบนด์์ หุ้�นสามััญที่่�ออกใหม่่ของ HST และการนำ�ำ โดยให้้บริิการอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงผ่่าน หุ้�นเข้้าไปจดทะเบีียนในตลาดหลัักทรััพย์์ 2550 โครงข่่ายใยแก้้วนำ�ำ แสง (FTTx) ภายใต้้ เอ็็ม เอ ไอ ( MAI ) เพื่�่อรองรับั แผนขยายธุรุ กิจิ บริษิ ัทั ได้น้ ำ�ำหุ้้�นเข้า้ จดทะเบียี นในตลาดหลักั ทรัพั ย์์ แบรนด์์ “Sinet” และบุกุ ตลาดต่า่ งประเทศในอนาคต MAI 2561 2551 บริิษััทได้้ขยายธุุรกิิจไปยัังธุุรกิิจ ซิิลค์์สกรีีน บริิษััทได้้มีีการจััดตั้�้งบริิษััท ไซแมท เลเบล พริ้้�นติ้�ง โดยได้้ลงทุุนซื้�อหุ้�นของบริิษััท (“บริิษััทย่่อย”) ประกอบธุุรกิิจผลิิตและ ฮิินซิิซึึ (ประเทศไทย) จำำ�กััด จำ�ำ นวนร้้อยละ จำ�ำ หน่่ายผลิติ ภัณั ฑ์์ เลเบล 70 ของหุ้�นสามััญทั้้ง� หมด 1
1.1 นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรุ กิจิ 1.1.1 วิิสัยั ทัศั น์์ วััตถุุประสงค์์ เป้า้ หมาย และกลยุทุ ธ์์ บริษิ ััทฯได้้กำ�ำ หนดเป้้าหมายที่่จ� ะมีีการเติบิ โตและพัฒั นากิจิ การให้ย้ั่�งยืืนภายใน 5 ปีขี ้า้ งหน้้า ดัังนี้้� มุ่่�งเน้้นการขยายธุุรกิิจในโครงการรััฐบาล ในส่่วนที่่�มีีเกี่�ยวข้้องกัับการให้้บริิการอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงและเทคโนโลยีี สารสนเทศ ปรับั ลดขนาดของธุรุ กิิจให้้บริิการอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ความเร็็วสููงในตลาดผู้้�บริิโภค ให้เ้ หมาะสมกับั สภาพตลาดและการแข่่งขััน และ ขยายงานไปสู่่�ตลาดลูกู ค้้าองค์ก์ ร ซึ่่ง� เป็น็ ฐานลููกค้้าที่่�มีีกำำ�ไรดีี และมีรี ายได้ต้ ่อ่ เนื่�อ่ ง พัฒั นาธุรุ กิจิ ผลิิตภัณั ฑ์เ์ ลเบล และซิลิ ค์ส์ กรีนี ไปสู่�ผลิิตภััณฑ์์ที่่ม� ีีคุุณภาพสููงและมีีคุณุ สมบััติิเฉพาะตามความต้้องการสำ�ำ หรับั ลููกค้า้ ในกลุ่่�มเครื่่�องใช้ไ้ ฟฟ้้าและอิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์์ ดำำ�เนิินการควบรวมกิิจการเพื่่�อขยายธุรุ กิิจไปยัังธุรุ กิจิ ที่่�เกี่�ยวเนื่อ�่ ง การนำำ�บริษิ ัทั ฮินิ ซิิซึึ (ประเทศไทย) จำำ�กัดั (มหาชน) (HST) ซึ่่�งเป็น็ บริิษัทั ย่อ่ ยของบริิษััทฯ เข้้าจดทะเบีียนในตลาดหลัักทรัพั ย์์ เอ็็ม เอ ไอ ( MAI ) ซึ่�่งการ Spin-off จะช่่วยเสริิมสร้้างความแข็็งแกร่่งทางการเงิิน เนื่่�องจากสามารถระดมทุุนในตลาด หลัักทรัพั ย์์ฯ ได้้ด้ว้ ยตนเอง เพื่�่อรองรัับการขยายธุรุ กิจิ ของ HST และบริษิ ััทย่อ่ ยของ HST ในอนาคต ช่ว่ ยลดภาระการพึ่่�งพิิง แหล่ง่ เงิินทุนุ จากบริษิ ัทั ซึ่ง่� จะเป็น็ ประโยชน์์กัับบริษิ ััท HST และผู้�ถืือหุ้�นของบริิษััทในระยะยาว บริษิ ัทั ฯ ได้ก้ ำ�ำ หนดกลยุทุ ธ์ใ์ นการดำ�ำ เนินิ ธุรุ กิจิ โดยเน้น้ กลยุทุ ธ์ใ์ นการสร้า้ งความแตกต่า่ ง (Differentiation Strategy) ทั้้ง� นี้้เ� พื่อ�่ ให้้ ธุรุ กิิจของบริษิ ััทฯ มีีแก่น่ ความสามารถหลักั (Core Competency) และความได้เ้ ปรีียบในการแข่ง่ ขัันเหนืือคู่�แข่่ง ด้ว้ ยการวางตำ�ำ แหน่ง่ ทางการตลาดโดยไม่ไ่ ด้เ้ น้้นราคาต่ำ��ำ แต่เ่ น้น้ การให้บ้ ริิการที่่�ดีีและสินิ ค้า้ มีคี ุุณภาพสููง 1.1.2 การเปลี่่ย� นแปลงและพัฒั นาการที่�่สำ�ำ คัญั อำำ�นาจในการควบคุุมบริิษัทั ในปีที ี่่ผ� ่่านมา ในปีที ี่่ผ� ่า่ นมา ไม่ม่ ีบี ุคุ คลหรืือนิติ ิบิ ุคุ คลที่่ม� ีอี ำ�ำ นาจควบคุุมกิจิ การ กล่า่ วคืือ ไม่ม่ ีผีู้�ถือื หุ้�นที่่ม� ีสี ิทิ ธิอิ อกเสียี งในบริษิ ัทั เกินิ กว่า่ ร้อ้ ยละ 50 ของ จำำ�นวนสิิทธิิออกเสีียงทั้้ง� หมด จึึงไม่ส่ ามารถควบคุมุ คะแนนเสีียงส่ว่ นใหญ่ใ่ นที่่ป� ระชุุมผู้้�ถืือหุ้�นได้้ ไม่ว่ ่า่ โดยตรงหรืือโดยอ้อ้ ม ลัักษณะในการประกอบธุุรกิิจในปีที ี่่ผ� ่่านมา ในปีีที่่ผ� ่า่ นมา กลุ่่�มบริษิ ััทประกอบธุุรกิิจด้า้ นต่า่ ง ๆ ดังั นี้้� 1. ธุุรกิิจซิลิ ค์ส์ กรีีน พริ้้�นติ้�ง 2. ธุรุ กิิจโครงการภาครัฐั 3. ธุุรกิิจผลิติ และจำ�ำ หน่่ายผลิิตภััณฑ์เ์ ลเบล 4. ธุุรกิิจให้บ้ ิริ การบรอดแบนด์์ อินิ เทอร์์เน็็ต 5. ธุุรกิิจไอทีี การเปลี่�ยนแปลงโครงสร้า้ งการถือื หุ้�น การจัดั การ หรืือการประกอบธุรุ กิิจ หรืือเหตุุการณ์์สำ�ำ คััญอื่่น� ในปีีที่่�ผ่า่ นมา บริิษััทมีีการจำำ�หน่่ายหุ้�นสามััญของบริิษัทั ฮินิ ซิิซึึ (ประเทศไทย) จำ�ำ กัดั (มหาชน) ให้ก้ ัับ บริษิ ััท วัันทูวู ันั คอนแทคส์์ จำำ�กััด (มหาชน) จำำ�นวนร้อ้ ยละ 10 ทำ�ำ ให้้สััดส่่วนการถืือหุ้�นในบริิษััท ฮินิ ซิซิ ึึ (ประเทศไทย) จำ�ำ กัดั (มหาชน) เปลี่ย� นแปลงจากร้อ้ ยละ 70 เหลืือ ร้อ้ ยละ 60 ซึ่�ง่ ไม่่มีผี ลกระทบต่่ออำำ�นาจควบคุมุ โดยบริษิ ััทได้เ้ ปิิดเผยข้้อมูลู ดัังกล่่าว ผลกระทบต่่อฐานะการเงินิ และผลการดำำ�เนินิ งาน ในรายงานบทวิเิ คราะห์์และคำำ�อธิิบายของฝ่า่ ยจัดั การแล้ว้ 2
1.1.3 การใช้เ้ งินิ จากการระดมทุุน รายละเอีียดการใช้้เงินิ ที่่�ได้จ้ ากการเพิ่่ม� ทุุน ในระหว่า่ งปีี 2564 เป็น็ ไปตามวัตั ถุปุ ระสงค์์ ดัังนี้้� เงินิ จากการออกใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิทิี่่จ� ะซื้อ� หุ้�นสามัญั ของบริษิ ัทั ฯ ซึ่ง�่ จัดั สรรให้แ้ ก่ก่ รรมการและพนักั งานของบริษิ ัทั ฯ ครั้้ง� ที่่� 2 (ESOP-W2) โดยใช้ส้ ิิทธิิ 2 ครั้้ง� ในวัันที่่� 25 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2564 และ ระหว่า่ งวัันที่่� 17-21 พฤษภาคม 2564 จำำ�นวน 0.7 และ 0.3 ล้า้ นหุ้�น ราคาใช้้สิิทธิิ 2.98 และ 2.8016 บาท ตามลำ�ำ ดับั ได้ร้ ัับเงินิ จากการเพิ่่�มทุนุ ทั้้�งสิ้น� ประมาณ 3.1 ล้า้ นบาท ไปใช้้ ตามวััตถุุประสงค์ท์ ี่่ร� ะบุุ คืือชำำ�ระค่า่ สิินค้า้ เงินิ กู้้�ยืืม และนำ�ำ ไปใช้้เป็็นเงิินทุนุ หมุุนเวีียน โดยได้ร้ ายงานการใช้้เงินิ เพิ่่ม� ทุุน และ เผยแพร่่ในเว็็บไซต์์ของตลาดหลััก ทรัพั ย์ฯ์ ครบถ้้วนแล้้ว เงินิ ที่่�ได้้จากการเสนอขายหุ้�นสามัญั เพิ่่ม� ทุนุ แก่ผู่้�ถืือหุ้�นเดิมิ ของบริิษััทฯตามสัดั ส่ว่ นการถืือหุ้�น (Right offering) ระหว่่างวันั ที่่� 24 - 31 พฤษภาคม 2564 จานวน 75 ล้า้ นหุ้�น ในราคาเสนอขายหุ้�นละ 3 บาท ได้ร้ ัับเงินิ จากการเพิ่่ม� ทุุน ประมาณ 222.8 ล้้านบาท ไปใช้ต้ ามวััตถุปุ ระสงค์ท์ ี่่�ระบุุ คืือชำ�ำ ระค่่าสิินค้า้ เงิินกู้้�ยืืม และนำ�ำ ไปใช้เ้ ป็็นเงิินทุนุ หมุุนเวีียน โดยได้้รายงานการใช้้ เงินิ เพิ่่ม� ทุุน และเผยแพร่ใ่ นเว็็บไซต์์ของตลาดหลักั ทรัพั ย์ฯ์ ครบถ้ว้ นแล้้ว บริษิ ัทั ฯ ได้อ้ อกใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิทิ ี่่จ� ะซื้อ� หุ้�นสามัญั ของบริษิ ัทั ฯ ครั้้ง� ที่่� 4 (SIMAT-W4) โดยใช้ส้ ิทิ ธิใิ นวันั ที่่� 8 กรกฎาคม 2564 จำ�ำ นวน 45,238,962 หุ้�น ราคาใช้ส้ ิทิ ธิิ 1 บาท และได้ร้ ับั เงินิ จากการเพิ่่ม� ทุนุ ทั้้ง� สิ้น� ประมาณ 45 ล้า้ นบาท ไปใช้ต้ ามวัตั ถุปุ ระสงค์์ ที่่�ระบุุ คืือชำ�ำ ระคืืนเงิินกู้� โดยได้ร้ ายงานการใช้้เงิินเพิ่่�มทุุน ละเผยแพร่่ในเว็บ็ ไซต์์ของตลาดหลักั ทรัพั ย์ฯ์ ครบถ้ว้ นแล้้ว 1.1.4 ข้้อผูกู พันั ที่�่บริษิ ััทให้ค้ ำำ�มั่่น� ไว้ใ้ นแบบแสดงรายการข้อ้ มููลการเสนอขายหลัักทรัพั ย์์ - ไม่่มีี – 1.1.5 ชื่่�อ สถานที่�ต่ ั้้�งสำำ�นัักงานใหญ่่ ประเภทธุุรกิจิ เลขทะเบีียนบริษิ ัทั โทรศััพท์์ โทรสาร เว็็บไซต์์บริษิ ััท จำำ�นวนและชนิิด ของหุ้้�นที่่�จำ�ำ หน่่ายได้้แล้ว้ ทั้้�งหมดของบริิษัทั ชื่่�อบริษิ ัทั บริิษัทั ไซแมท เทคโนโลยีี จำำ�กัดั (มหาชน) ประเภทธุุรกิิจ 1. ให้้บริกิ ารเทคโนโลยีสี ารสนเทศแบบครบวงจร 2. ให้้บริกิ ารบรอดแบนด์์อิินเตอร์์เน็ต็ สถานที่ต�่ั้ง� สำ�ำ นักั งานใหญ เลขที่่� 123 ซอยฉลองกรุุง 31 นิิคมอุุตสาหกรรมลาดกระบััง ถนนฉลองกรุุง แขวงลำ�ำ ปลาทิิว เขตลาดกระบััง กรุงุ เทพ 10520 โทรศัพั ท์์ : (66) 0 2326 0999 โทรสาร : (66) 0 2326 1666 วัันที่่�จดทะเบีียน จดทะเบียี นเป็็นบริษิ ััทมหาชน เมื่่�อวันั ที่่� 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ทะเบีียนเลขที่่� 0107549000122 ขึ้้น� ทะเบียี นในตลาดหลักั ทรัพั ย์์ MAI เมื่่�อวัันที่่� 12 ธัันวาคม พ.ศ. 2550 เว็บ็ ไซต์์บริษิ ัทั www.simat.co.th ทุุนชำำ�ระแล้ว้ 648,564,609.00 บาท (หุ้�นสามัญั จำ�ำ นวน 648,564,609 หุ้�น ที่่�ราคาพาร์์หุ้�นละ 1 บาท) ทุนุ จดทะเบีียน หุ้้�นสามััญจำำ�นวน 860,870,005 หุ้�น 3
1.2 ลักั ษณะการประกอบธุุรกิจิ 1.2.1 โครงสร้า้ งรายได้้แยกตามกลุ่�มธุรุ กิิจตามงบการเงินิ รวม 2564 2563 2562 กลุ่ม�่ ธุรุ กิิจ ดำ�ำ เนินิ การโดย ล้้านบาท ร้้อยละ ล้า้ นบาท ร้้อยละ ล้า้ นบาท ร้อ้ ยละ ธุรุ กิจิ ให้บ้ ริกิ ารเทคโนโลยีสี ารสนเทศ บมจ. ไซแมท เทคโนโลยีี 28 3 12 1 76 6 ธุุรกิิจจำำ�หน่่ายผลิิตภััณฑ์เ์ ลเบล บจ. ไซแมท เลเบล 178 18 226 22 249 19 ธุุรกิิจซิิลค์ส์ กรีนี พริ้้น� ติ้�ง บมจ. ฮินิ ซิิซึึ (ประเทศไทย) 418 43 357 35 332 25 บจ.ฮิินซิิตซุุ พรีีซิชิั่น� 200000 ธุุรกิิจบรอดแบนด์์อินิ เทอร์์เน็ต็ บมจ. ไซแมท เทคโนโลยีี 65 7 93 9 154 12 ธุุรกิิจโครงการภาครััฐ บมจ. ไซแมท เทคโนโลยีี 266 27 332 33 492 38 ธุุรกิิจอื่่�น ๆ บมจ. ไซแมท เทคโนโลยีี 15 2 0 0 0 0 รวมรายได้้ 972 100 1,020 100 1,303 100 จากตารางโครงสร้้างรายได้แ้ ยกตามกลุ่่�มธุุรกิิจ จะเห็น็ ว่่าธุรุ กิิจซิิลค์ส์ กรีีน พริ้้น� ติ้�ง เป็็นธุรุ กิจิ ที่่ท� ำ�ำ รายได้ส้ ูงู สุุดตามงบการเงินิ รวม อยู่�ที่� ร้้อยละ 43 ในปีี 2564 มีลี ักั ษณะเป็น็ รายได้้ต่อ่ เนื่่อ� ง (Repetitive Order) เนื่�่องจากผลิิตภััณฑ์ถ์ ือื เป็็นส่ว่ นหนึ่�่งของเครื่่อ� งใช้้ไฟฟ้้าและ ชิ้น� ส่ว่ นอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ ซึ่ง�่ เครื่อ่� งใช้ไ้ ฟฟ้า้ และชิ้น� ส่ว่ นอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์ม์ ีคี วามต้อ้ งการเพิ่่ม� ขึ้้น� เรื่อ่� ยๆ ทั้้ง� ที่่ท� ดแทนของเก่า่ ที่่เ� สื่อ�่ มสภาพ และ การพััฒนารููปแบบใหม่ๆ่ ธุรุ กิจิ โครงการภาครัฐั เป็น็ ธุรุ กิจิ ที่่ท� ำ�ำ รายได้ร้ องลงมา อยู่�ที่ร� ้อ้ ยละ 27 ในปีี 2564 เป็น็ รายได้จ้ ากสัญั ญาโครงการจัดั ให้ม้ ีบี ริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ความเร็ว็ สูงู ในพื้้�นที่่ห� ่า่ งไกล (Zone C) กลุ่่�มที่่� 4 ภาคตะวันั ออกเฉียี งเหนืือ 2 กัับสำำ�นักั งานกิจิ การคณะกรรมการกิิจการกระจายเสีียง กิจิ การโทรทััศน์์ และกิิจการโทรคมนาคมแห่ง่ ชาติิ (กสทช) โดยการรับั รู้�รายได้้ในปีี 2564 เป็น็ การรับั รู้�รายได้้ในระยะที่่� 2 เป็็นรายได้ต้ ่อ่ เนื่่อ� งสำ�ำ หรับั การให้บ้ ริิการอินิ เทอร์เ์ น็็ตและบำำ�รุงุ รัักษาเป็็นระยะเวลา 5 ปีีหลังั จากการส่ง่ มอบงานในระยะที่่� 1 เสร็จ็ สมบูรู ณ์์ ธุุรกิิจผลิิตและจำำ�หน่า่ ยผลิติ ภัณั ฑ์์เลเบล ทำำ�รายได้้ร้้อยละ 18 ในปีี 2564 มีลี ัักษณะเป็น็ รายได้้ต่่อเนื่�อ่ ง (Repetitive Order) เนื่อ่� งจาก ผลิติ ภัณั ฑ์เ์ ป็น็ สิ่ง� พิมิ พ์ม์ ีกี าวสำ�ำ หรับั ติดิ ในชิ้น� งานของเครื่อ่� งใช้ไ้ ฟฟ้า้ และชิ้น� ส่ว่ นอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ ซึ่ง�่ เครื่อ่� งใช้ไ้ ฟฟ้า้ และชิ้น� ส่ว่ นอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ มีีความต้้องการเพิ่่�มขึ้้�นเรื่่�อยๆ ทั้้�งที่่�ทดแทนของเก่่าที่่�เสื่่�อมสภาพ และการพััฒนารููปแบบใหม่่ๆ กำ�ำ ไรจากธุุรกิิจนี้้�ค่่อนข้้างสููง เนื่�่องจาก กลุ่่�มบริิษััทผลิิตให้้มีีคุุณสมบััติิเฉพาะ ตามความต้้องการของลููกค้้า เช่่น ทนความร้้อน ยืืดหยุ่�น หรืือมีีค่่าความผิิดพลาดที่่�ยอมรัับได้้ (tolerance) ต�่ำ เป็น็ ต้น้ ส่ว่ นธุรุ กิจิ ที่่ส� ร้า้ งรายได้ไ้ ม่เ่ กินิ ่ร่ ้อ้ ยละ 10 ของรายได้ร้ วมตามงบการเงินิ ได้แ้ ก่่ ธุรุ กิจิ บรอดแบนด์อ์ ินิ เทอร์เ์ น็ต็ รายได้ม้ ีลี ักั ษณะเป็น็ รายได้้ ประจำำ� (เก็็บค่า่ บริกิ ารรายเดืือน), ธุุรกิจิ ให้บ้ ริิการเทคโนโลยีีสารสนเทศ และธุุรกิิจอื่่�น ๆ มีที ั้้�งส่่วนที่่เ� ป็น็ รายได้ป้ ระจำ�ำ จากสัญั ญาบริิการ บำ�ำ รุงุ รัักษา และรายได้้จากโครงการ โดยมีลี ูกู ค้า้ ทั้้�งหน่่วยงานราชการและเอกชน 4
1.2.2 ข้้อมูลู เกี่่ย� วกัับผลิติ ภััณฑ์์ 1) ลักั ษณะผลิิตภัณั ฑ์แ์ ละบริิการ และการพัฒั นานวัตั กรรม ธุุรกิิจให้้บริิการเทคโนโลยีสี ารสนเทศแบบครบวงจร กลุ่่�มบริิษัทั ให้้บริิการเทคโนโลยีสี ารสนเทศแบบครบวงจร โดยมีีการจัดั จำ�ำ หน่่ายอุุปกรณ์์คอมพิวิ เตอร์ฮ์ าร์์ดแวร์์ ร่่วมกัับการ พััฒนาโปรแกรมการใช้ง้ านคอมพิิวเตอร์์ และการให้บ้ ริิการบำ�ำ รุงุ รัักษาทั่่ว� ประเทศ กลุ่่�มลููกค้้าเป้้าหมายคืือกลุ่่�มธุุรกิจิ ค้า้ ปลีีก ขนาดใหญ่่ คลังั สินิ ค้า้ ธุุรกิจิ ขนส่ง่ ธุรุ กิิจการผลิติ และกิิจการของภาครััฐที่่�ต้อ้ งการระบบการจัดั เก็็บข้้อมูลู ที่่ม� ีีประสิิทธิิภาพ 1. กลุ่่�มผลิิตภััณฑ์์ฮาร์์ดแวร์์ หมายถึึงผลิิตภััณฑ์์ฮาร์์ดแวร์์รวมกัับซอฟท์์แวร์์ที่่�ขายพร้้อมกัับฮาร์์ดแวร์์ดัังกล่่าว ดำำ�เนิินการ ภายใต้บ้ ริษิ ัทั ไซแมทเทคโนโลยีีจำ�ำ กัดั (มหาชน)มุ่�งเน้น้ การจัดั จำำ�หน่า่ ยคอมพิวิ เตอร์ม์ ืือถือื อุปุ กรณ์ท์ี่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั การจัดั เก็บ็ ข้อ้ มูลู โดย ใช้เ้ ทคโนโลยีบี าร์โ์ ค้ด้ และเทคโนโลยีี RFID และจัดั จำำ�หน่า่ ยอุปุ กรณ์ค์ อมพิวิ เตอร์ต์ ่า่ งๆตามความต้อ้ งการของลูกู ค้า้ ทั้้ง� นี้้ข� อง อุปุ กรณ์ฮ์ าร์ด์ แวร์ข์ องบริษิ ัทั มีรี ะบบปฏิบิ ัตั ิกิ ารเป็น็ แบบเครื่อ�่ งเดี่ย� ว ไม่ส่ ามารถเชื่อ่� มต่อ่ กับั ระบบฐานข้อ้ มูลู ได้้ ดังั นั้้น� บริษิ ัทั จึึง ได้พ้ ัฒั นาโปรแกรมซอฟท์แ์ วร์ท์ี่่ท� ำำ�ให้ฮ้ าร์ด์ แวร์ท์ี่่จ� ัดั จำ�ำ หน่า่ ยสามารถเชื่อ�่ มต่อ่ ระยะไกลเข้า้ กับั ระบบฐานข้อ้ มูลู ของลูกู ค้า้ โดยเรียี ก ว่่าโปรแกรม Mobile Net ซึ่ง�่ ลููกค้า้ มักั จะซื้อ� โปรแกรมนี้้พ� ร้้อมกับั ผลิิตภััณฑ์ฮ์ าร์์ดแวร์ข์ องบริิษัทั ด้้วย 2. กลุ่่�มผลิิตภััณฑ์์ซอฟต์์แวร์์ มุ่�งเน้้นการพััฒนาโปรแกรมซอฟต์์แวร์์ โดยการวิิเคราะห์์และออกแบบโปรแกรมที่่�สอดคล้้อง ตามลัักษณะความต้อ้ งการใช้้งานของลููกค้า้ แต่ล่ ะราย (Solution Provider) รวมทั้้�งพัฒั นาซอฟต์์แวร์์ประยุกุ ต์ท์ ี่่�เกี่ย� วข้้องกัับ เทคโนโลยีสี ารสนเทศ ที่่ช� ่ว่ ยให้ก้ ารจัดั เก็บ็ ข้อ้ มูลู ในองค์ก์ รเป็น็ ปัจั จุบุ ันั (Real time) และแม่น่ ยำำ�มากขึ้น� โดยเฉพาะข้อ้ มูลู ที่่เ� กี่ย� ว กับั สินิ ค้า้ คงคลังั หรือทรัพั ยากรต่า่ งๆที่่ม� ีจี ำ�ำ นวนมาก และยากต่อ่ การตรวจสอบ ทำ�ำ ให้ก้ ารดำ�ำ เนินิ งานขององค์ก์ รมีปี ระสิทิ ธิภิ าพมากขึ้น� 3. ธุรุ กิจิ การให้บ้ ริกิ ารบำ�ำ รุงุ รักั ษา บริษิ ัทั มีกี ารให้บ้ ริกิ ารบำำ�รุงุ รักั ษา (Maintenance Service) สำำ�หรับั อุปุ กรณ์ฮ์ าร์ด์ แวร์์ และ โปรแกรมซอฟต์์แวร์์ที่่�บริิษััทเป็็นผู้�จััดจำำ�หน่่าย รวมถึึงอุุปกรณ์์และระบบต่่างๆของลููกค้้าที่่�ใช้้ร่่วมกัับผลิิตภััณฑ์์ที่่�บริิษััท จััดจำำ�หน่่าย ธุุรกิจิ ผลิิตและจำำ�หน่า่ ยผลิิตภััณฑ์เ์ ลเบล ธุรุ กิจิ เลเบล ดำ�ำ เนินิ ธุรุ กิจิ โดยบริษิ ัทั ไซแมท เลเบล (บริษิ ัทั ย่อ่ ย) ให้บ้ ริกิ ารออกแบบ พัฒั นา และแปรรูปู สิ่ง� พิมิ พ์ม์ ีกี าว สำำ�หรับั ลูกู ค้า้ อุตุ สาหกรรมเครื่อ่� งใช้ไ้ ฟฟ้า้ และอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ด้ว้ ยการจัดั หาและพัฒั นาวัตั ถุดุ ิบิ และออกแบบกระบวนการผลิติ ให้ผ้ ลิติ ภัณั ฑ์์ มีีคุุณสมบััติิเฉพาะตรงตามความต้้องการของลููกค้้า รายได้้มีีลัักษณะเป็็นรายได้้ต่่อเนื่่�อง (Repetitive order) เนื่�่องจาก ผลิิตภััณฑ์์ถืือเป็็นสิ่�งพิิมพ์์มีีกาวที่่�ใช้้สำำ�หรัับติิดในชิ้�นงานของเครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าและชิ้�นส่่วนอิิเล็็กทรอนิิกส์์ ซึ่�่งต้้องมีีการสั่�งซื้�อ เรื่อ่� ย ๆตามจำำ�นวนยอดขายของสินิ ค้า้ กำำ�ไรที่่เ� กิดิ ขึ้้น� จะสูงู กว่า่ ธุรุ กิจิ ที่่จ� ำ�ำ น่า่ ยผลิติ ภัณั ฑ์เ์ ลเบลเกรดต่ำ��ำ หรืือเลเบลราคาถูกู เนื่อ�่ งจาก ผลิติ ภัณั ฑ์์ของบริษิ ัทั ต้้องมีีคุณุ สมบััติเิ ฉพาะตามความต้อ้ งการของลูกู ค้้า เช่น่ ทนความร้้อน ยืืดหยุ่�น หรืือมีคี ่า่ tolerance ต่ำำ�� เป็็นต้้น กลุ่่�มลูกู ค้า้ ได้้แก่่ กลุ่่�มธุุรกิจิ เครื่่�องใช้้ไฟฟ้า้ อุุปกรณ์อ์ ิิเล็ก็ ทรอนิิกส์์ และสมาร์์ทโฟน ธุรุ กิิจซิิลค์์สกรีีน พริ้้น� ติ้�ง ธุรุ กิจิ ซิลิ ค์ส์ กรีนี พริ้้น� ติ้ง� ดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ โดยบริษิ ัทั ฮินิ ซิซิ ึึ(ประเทศไทย)จำำ�กัดั (บริษิ ัทั ย่อ่ ย)และบริษิ ัทั ฮินิ ชิติ ซุุพรีซี ิชิั่น� (ประเทศไทย) จำ�ำ กัดั (บริษิ ัทั ย่อ่ ย) ให้บ้ ริกิ ารออกแบบ พัฒั นา และและรับั ผลิติ ชิ้้น� งาน ซิลิ ค์ส์ กรีนี และสติ๊ก� เกอร์ล์ าเบลที่ใ� ช้ใ้ นวงการเครื่อ�่ งใช้ไ้ ฟฟ้า้ อุปุ กรณ์อ์ ิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ และอุปุ กรณ์ส์ ื่อ่� สารต่า่ งๆ สำำ�หรับั ลูกู ค้า้ อุตุ สาหกรรมเครื่อ�่ งใช้ไ้ ฟฟ้า้ และอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ ด้ว้ ยการจัดั หาและ พัฒั นาวัตั ถุดุ ิบิ และออกแบบกระบวนการผลิติ ให้ผ้ ลิติ ภัณั ฑ์ม์ ีคี ุณุ สมบัตั ิเิ ฉพาะตรงตามความต้อ้ งการของลูกู ค้า้ รายได้ม้ ีลี ักั ษณะ เป็็นรายได้้ต่่อเนื่�่อง (Repetitive order) เนื่่�องจากผลิิตภััณฑ์์ถืือเป็็นส่่วนหนึ่่�งของเครื่�่องใช้้ไฟฟ้้าและชิ้�นส่่วนอิิเล็็กทรอนิิกส์์ ซึ่ง่� ต้อ้ งมีกี ารสั่ง� ซื้อ� เรื่อ่� ยๆตามจำ�ำ นวนยอดขายของสินิ ค้า้ กลุ่่�มลูกู ค้า้ ได้แ้ ก่่ กลุ่่�มธุรุ กิจิ เครื่อ่� งใช้ไ้ ฟฟ้า้ และอุปุ กรณ์อ์ ิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ 5
ธุรุ กิจิ ให้บ้ ริกิ ารบรอดแบนด์์อินิ เทอร์์เน็ต็ ธุุรกิิจบรอดแบนด์์ บริิษััทฯให้้บริิการอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงผ่่านโครงข่่ายใยแก้้วนำำ�แสง (FTTx) ให้้แก่่พื้้�นที่่�เมืืองจัังหวััด นครราชสีมี า เชียี งใหม่่ ขอนแก่น่ และกรุงุ เทพฯและปริมิ ณฑล ภายใต้แ้ บรนด์์ “Sinet” กลุ่่�มลูกู ค้า้ ได้แ้ ก่่ ผู้�บริโิ ภคในครัวั เรืือน (Home-use) / ธุรุ กิิจขนาดกลางและเล็็ก (SME) ธุรุ กิิจให้บ้ ริิการโครงการภาครัฐั บริิษััทฯ ได้้ลงนามในสััญญาโครงการจััดให้้มีีบริิการอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงในพื้้�นที่่�ห่่างไกล (Zone C) กลุ่่�มที่่� 4 ภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ 2 กัับสำ�ำ นัักงานคณะกรรมการกิิจการกระจายเสีียง กิิจการโทรทััศน์์ และกิิจการโทรคมนาคม แห่่งชาติิ (“กสทช.”) มูลู ค่า่ โครงการ 2,248 ล้้านบาท โดยโครงการดังั กล่่าวมีรี ายละเอีียดโดยสังั เขปดัังนี้้� ชื่่อ� โครงการ โครงการจััดให้้มีบี ริกิ ารอินิ เทอร์์เน็็ตความเร็ว็ สููงในพื้้�นที่่�ห่า่ งไกล (Zone C) กลุ่่�มที่่� 4 ภาคตะวันั ออกเฉียี งเหนืือ 2 พื้้น� ที่่�เป้า้ หมาย ประกอบด้้วยจัังหวัดั กาฬสินิ ธุ์� มหาสารคาม ยโสธร ร้้อยเอ็ด็ ศรีีสะเกษ อำำ�นาจเจริญิ และอุุบลราชธานีี มููลค่่าโครงการ 2,248 ล้า้ นบาท ขอบเขตงาน แบ่ง่ เป็็น 5 ประเภทบริกิ าร ดัังนี้้� 1) การจััดให้้มีบี ริิการอิินเทอร์์เน็ต็ ความเร็ว็ สููงสาธารณะ (Wi-Fi) ในหมู่่�บ้า้ นเป้า้ หมาย 2) การจััดให้้มีีอาคารศููนย์์บริกิ ารอินิ เทอร์์เน็็ตความเร็ว็ สูงู สาธารณะ (USO Net) 3) การจััดให้ม้ ีหี ้้องบริกิ ารอิินเทอร์เ์ น็ต็ ความเร็ว็ สูงู สาธารณะ (USO Wrap) 4) การจััดให้ม้ ีีบริิการสััญญาณอินิ เทอร์์เน็ต็ ความเร็ว็ สููงสาธารณะสำ�ำ หรับั โรงเรีียน 5) การจััดให้้มีบี ริกิ ารสััญญาณอิินเทอร์์เน็ต็ ความเร็็วสููงสาธารณะ สำำ�หรับั โรงพยาบาลส่ง่ เสริมิ สุุขภาพ ประจำ�ำ ตำ�ำ บล ระยะเวลาการดำำ�เนิินงาน แบ่่งเป็น็ 3 ระยะดังั นี้้� 1) ระยะที่� 1 การจัดั หาอุปุ กรณ์บ์ ริกิ าร การติดิ ตั้ง� การทดสอบความพร้อ้ มก่อ่ นการให้บ้ ริกิ าร (300 วันั ) 2) ระยะที่่� 2 การบริิหารจัดั การและบำำ�รุุงรัักษาต่อ่ เนื่อ�่ ง 5 ปีี (60 เดืือน) 3) ระยะที่่� 3 การส่ง่ มอบอุปุ กรณ์ห์ ลัังจากสิ้น� สุดุ ระยะที่่� 2 (ภายใน 60 วันั ) การรับั รู้�รายได เริ่ม� รัับรู้�รายได้ใ้ นไตรมาสที่่� 1 ปีี 2562 เป็็นต้้นไป 6
2) การตลาดและการแข่ง่ ขััน ต ลาดเทคโนโลยีีสารสนเทศในประเทศไทย ตลาดเทคโนโลยีสี ารสนเทศ (ไอที)ี ในประเทศไทย ประกอบด้้วย 3 กลุ่่�มหลักั คืือ 1) ตลาดฮาร์ด์ แวร์์ (Computer Hardware) ซึ่ง่� ประกอบด้ว้ ยอุปุ กรณ์ค์ อมพิวิ เตอร์ท์ ุกุ ประเภท เช่น่ คอมพิวิ เตอร์ต์ ั้ง�้ โต๊ะ๊ โน้ต้ บุ๊๊�ค เครื่อ�่ งพิิมพ์์ แสกนเนอร์์ จอภาพ เป็็นต้น้ 2) ตลาดซอฟต์แ์ วร์์ (Computer Software) หมายถึึงตลาดโปรแกรมคอมพิวิ เตอร์์ ทั้้ง� ในรูปู ของโปรแกรมสำำ�เร็จ็ รูปู (Packaged software) และโปรแกรมที่่ส� ร้้างขึ้น� เพื่่�อใช้ง้ านแบบเฉพาะเจาะจง (Outsourced software) 3) ตลาดบริกิ ารด้า้ นคอมพิวิ เตอร์์ (Computer Services) ได้แ้ ก่ก่ ารให้บ้ ริกิ ารเช่า่ คอมพิวิ เตอร์์ การให้ค้ ำำ�ปรึึกษาด้า้ นฮาร์ด์ แวร์์ การให้้บริิการด้้านการประมวลผลข้้อมููล การใช้้บริิการกิิจกรรมที่่�เกี่�ยวกัับฐานข้้อมููล และกิิจกรรมอื่�่นๆที่่�เกี่�ยวข้้อง กับั คอมพิิวเตอร์์ ธุรุ กิิจผู้้�ให้บ้ ริกิ ารคอมพิวิ เตอร์์ (Computer Services) โดยปีี 2564 ความต้้องการใช้้บริกิ ารคอมพิิวเตอร์จ์ ะสามารถเติิบโต ได้้ โดยได้้รับั แรงหนุนุ จากการทรานฟอร์์มธุรุ กิจิ ไปสู่่�ดิิจิทิ ัลั ประเด็น็ ที่่�ต้อ้ งติิดตาม ได้้แก่่ ความยืืดเยื้อ� ของปัญั หาโรคระบาดโควิิด-19 หากไม่ค่ ลี่่ค� ลาย จะทำ�ำ ให้้บริษิ ัทั ต่่างๆ ชะลอแผน การลงทุุนต่่างๆ ออกไป โดยเฉพาะด้้าน IT ปััจจัยั สนับั สนุุน การสนับั สนุนุ จากภาครัฐั ตามนโยบาย Thailand 4.0 ส่ง่ ผลทำำ�ให้เ้ กิดิ การปฏิริ ูปู เทคโนโลยีสี ารสนเทศครั้้ง� ใหญ่ข่ องประเทศ เพื่อ่� รองรับั เศรษฐกิิจดิจิ ิติ อล การพัฒั นาเทคโนโลยีี 5G ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ การเติบิ โตในธุรุ กิจิ IT เพื่อ่� การพาณิชิ ย์เ์ พิ่่ม� ขึ้้น� อาทิิ ทางการแพทย์์ ยานยนต์์ ฯลฯ และเกิดิ ความต้้องการ Smart Device มากขึ้�น ความต้อ้ งการ IT เพิ่่�มขึ้้น� ตามการทำ�ำ งานที่่บ� ้า้ นจากการระบาดของโรค COVID-19 ปััจจัยั เสี่�ยง เศรษฐกิจิ โลกชะลอตััว การระบาดของโรค COVID-19 ส่ง่ ผลต่่อ Global Supply Chain ทำำ�ให้้ส่ง่ ออกชิ้น� ส่่วนอิิเล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ ICT ชะลอตััว ไทยยัังพึ่่ง� พิิงเทคโนโลยีีจากต่่างประเทศ บุุคคลากรที่่เ� ป็็นแรงงานด้า้ น IT ในประเทศไทยมีนี ้้อย ตลาดผู้้�ให้้บริิการด้้านคอมพิิวเตอร์์มีีแนวโน้้มเติิบโตได้้ แต่่ปััจจััยเสี่�ยงทำ�ำ ให้้ธุุรกิิจรอการลงทุุนด้้านเทคโนโลยีีใน 6-12 เดืือน ข้า้ งหน้้า ธุุรกิิจผู้้�ให้้บริิการคอมพิิวเตอร์์ (Computer Service) ประกอบด้้วย ผู้�ให้้บริิการที่่�ปรึึกษาซอฟแวร์์, จััดทำ�ำ เว็็บไซด์์, Data Center, Cloud Computer, Digital Content และบริิการอื่น่� ๆ ที่่�เกี่�ยวกับั คอมพิิวเตอร์์ ธุรุ กิจิผู้้�ให้บ้ ริกิ ารคอมพิวิ เตอร์ใ์ นทยมีคี วามสำำ�คัญั อย่า่ งยิ่ง� ในอุตุ สาหกรรมICTเนื่อ่� งจากเป็น็ กุญุ แจสำำ�คัญั ในการพัฒั นาประเทศไทย ไปสู่� Thailand 4.0 และเป็็นศููนย์ก์ ลาง digital ของภูมู ิิภาคอาเซีียนได้้บรรลุเุ ป้า้ หมายที่่�ภาครัฐั วางไว้้ 7
การพััฒนาเทคโนโลยีี ICT ไปสู่่�ยุุค 5G และการสนับั สนุุนนโยบายส่ง่ เสริิมเขตส่ง่ เสริิมอุตุ สาหกรรมและนวััตกรรมดิิจิติ อล (EECd)ภายในพื้้น� ที่่�EECเพื่อ�่ เป้า้ หมายเป็น็ “สถานที่่บ� ่ม่ เพาะ”การเรียี นรู้�พัฒั นาและสะสมเทคโนโลยีชีั้น� นำำ�ของประเทศไทย จะทำำ�ให้้ “ธุรุ กิจิ ผู้้�ให้บ้ ริกิ ารคอมพิวิ เตอร์”์ เติบิ โต เนื่อ�่ งจากเทคโนโลยีี 5G จำำ�ทำำ�ให้ค้ วามต้อ้ งการบริกิ ารที่่ป� รึึกษาซอฟแวร์์ , จัดั ทำำ�เว็บ็ ไซด์์, Data Center, Cloud Computer และบริกิ ารอื่่�นๆ ที่่�เกี่ย� วกับั คอมพิิวเตอร์์เติิบโตขึ้้น� แนวโน้ม้ ตลาดผู้�ให้บ้ ริกิ ารคอมพิวิ เตอร์์ปีี 2564-65 หลังั จากสถานการณ์โ์ รคระบาดโควิดิ -19 และเศรษฐกิจิ ดีขีึ้น� ความต้อ้ งการบริกิ ารคอมพิวิ เตอร์์ อาทิิ ที่่ป� รึึกษาซอฟแวร์,์ Data Center, Cloud Computer และบริกิ ารอื่น�่ ๆ ที่่เ� กี่ย� วกับั คอมพิวิ เตอร์จ์ ะเติบิ โตอย่า่ งก้า้ วกระโดด เนื่อ�่ งจากมีปี ัจั จัยั เร่ง่ จากการ ทรานฟอร์์มธุุรกิิจไปสู่่�ดิิจิิทััลอย่่างเต็็มรููปแบบ โดยได้้รัับการสนัับสนุุนจากเทคโนโลยีี 5G และแรงผลัักดัันจากการ เปลี่�ยนแปลงพฤติิกรรมผู้้�บริโิ ภคที่่เ� ริ่ม� คุ้้�นเคยการใช้้อิินเทอร์์เน็ต็ และการซื้อ� ขายออนไลน์ม์ ากขึ้�น โดยจะเห็็นได้้จากยอด การซื้อ� ขายผ่า่ น E-Commerce ที่่ม� ีมี ูลู ค่า่ ถึึง 4.02 ล้า้ นล้้านบาทในปีี 2564 ปีี 2564-65 คาดว่่าธุรุ กิิจผู้้�ให้้บริกิ ารคอมพิวิ เตอร์์ขยายตัวั 3-5% ต่่อปีี โดยได้ร้ ัับปััจจัยั สนัับสนุุน ดังั นี้้� 1. การทรานฟอร์์มไปสู่่�ยุคุ ดิิจิทิ ัลั ทั้้�งภาครััฐและเอกชน 2. การปรัับตััวของภาคธุุรกิิจในการนำ�ำ เทคโนโลยีี Cloud, Big data, AI, lOT มาใช้้ 3. การเติบิ โตของ Smart Devices 4. ผู้้�ประกอบการต้้องการนำำ�เทคโนโลยีมี าใช้้ ทำ�ำ ให้้เกิิดความต้้องการใช้ซ้ อฟแวร์์สำ�ำ หรัับภาคธุุรกิิจมากขึ้น� 5. สนัับสนุุนนโยบาย Thailand 4.0 ของภาครััฐ พิจิ ารณาด้า้ นดีมี านด์จ์ ะพบว่า่ แนวโน้ม้ ความต้อ้ งการมีคี วามสดใสแต่ถ่ ้า้ พิจิ ารณาด้า้ นอุปุ ทานจะพบว่า่ การแข่ง่ ขันั ระหว่า่ งผู้�ให้้ บริกิ ารคอมพิวิ เตอร์ป์ ระเภทต่า่ งๆจะสูงู ขึ้น� ตามไปด้ว้ ยดังั นั้้น� ผู้�ประกอบการจะสามารถแข่ง่ ขันั กันั ได้้จะต้อ้ งเป็น็ บริกิ ารที่่ต� อบโจทย์์ ลููกค้้าเฉพาะราย และมีกี ารบริกิ ารหลัังการขายที่่ด� ีี ในปีี 2563 บริษิ ััทจึึงมีีการปรัับโครงสร้า้ งธุุรกิจิ โดยจัดั ตั้ง�้ บริิษััทย่อ่ ยขึ้�นใหม่โ่ ดยการร่ว่ มทุุนกับั บริิษััท Radiant Globaltech Berhad (ประเทศมาเลเซีีย) เป็็นผู้�เชี่�ยวชาญในธุรุ กิจิ เทคโนโลยีีสารสนเทศ โดยเฉพาะระบบ Point of Sale ในธุุรกิจิ ค้้าปลีีก ซึ่ง�่ มีอี ุปุ กรณ์ฮ์ าร์ด์ แวร์แ์ ละซอฟท์แ์ วร์ท์ี่่พ� ัฒั นาขึ้น� เอง และมีกี ารดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ ในหลายประเทศในภูมู ิภิ าคเอเชียี ตะวันั ออกเฉียี งใต้้ ได้แ้ ก่่ มาเลเซีีย เวียี ดนาม และกััมพูชู า การร่่วมทุนุ กัับ Radiant Globaltech จะช่ว่ ยขยายธุุรกิิจไอทีีและขยายฐานลูกู ค้้า ให้้กับั กลุ่่�มบริิษััทฯ ตลาดบริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็็ตในประเทศไทย ตลาดค้า้ ปลีีกบริิการอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ประจำำ�ที่�่ 8
ภาพรวมธุรุ กิจิ ให้บ้ ริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็ต็ บรอดแบนด์ข์ องบริษิ ัทั ฯ ในปีี 2564 มียี อดขายที่่ล� ดลง เนื่อ�่ งจากภาพรวมตลาดผู้้�บริโิ ภค Fixed Broadband มีกี ารแข่ง่ ขันั สูงู และอุปุ สงค์ใ์ นตลาดลดลง รวมทั้้ง� มีคี วามเสี่ย� งในการเปลี่ย� นแปลงทางเทคโนโลยีี นอกจากนี้้� ยัังมีแี นวโน้้มรายได้ต้ ่่อเดืือนลดลงและค่า่ บริกิ ารเฉลี่่ย� ต่อ่ เดืือนลดลง สอดคล้อ้ งกัับแผนธุรุ กิจิ ของบริิษัทั ฯที่่�ต้้องการลดขนาด ธุรุ กิจิ บรอดแบนด์ใ์ นตลาดผู้้�บริโิ ภค และได้ห้ ยุดุ การลงทุนุ ในธุรุ กิจิ นี้้ต� ั้ง้� แต่ป่ ีี 2562 เป็น็ ต้น้ ไป โดยจะทยอยลดจำ�ำ นวนพนักั งาน โดยคงไว้เ้ พื่อ่� ดูแู ลฐานลูกู ค้า้ เดิมิ เท่า่ นั้้น� พนักั งานบางส่ว่ นจะถูกู โอนย้า้ ยไปยังั ธุรุ กิจิ ใหม่ข่ องบริษิ ัทั ฯ คืือธุรุ กิจิ โครงการภาครัฐั อย่่างไรก็็ตาม บริิษััทฯจะหยุุดการลงทุุนและลดขนาดธุุรกิิจบรอดแบนด์์เฉพาะในตลาดผู้้�บริิโภคเท่่านั้้�น โดยจะยัังคงขยาย ธุุรกิิจในตลาดธุรุ กิิจต่่อไปเนื่่อ� งจากเป็็นการให้้บริิการลูกู ค้า้ องค์ก์ รในลักั ษณะสัญั ญาระยะยาวและมีรี ายได้้ต่่อเนื่�อ่ งแน่น่ อน ในปีี 2565 บริษิ ััทฯมีกี ลยุุทธ์ใ์ นการดำ�ำ เนินิ ธุรุ กิิจอินิ เทอร์เ์ น็ต็ บรอดแบนด์ด์ ังั นี้้� 1. บริษิ ัทั ฯมุ่�งเน้น้ ในการปรับั ปรุงุ และรักั ษาคุณุ ภาพของสัญั ญาณอินิ เทอร์เ์ น็ต็ และการให้บ้ ริกิ ารติดิ ตั้ง้� และบริกิ ารหลังั การขาย ซึ่�่งถืือเป็็นหัวั ใจหลักั ของธุุรกิจิ 2. บริษิ ัทั ฯวางตำ�ำ แหน่ง่ ทางการตลาดโดยไม่ไ่ ด้มุ้่�งเน้น้ การทำำ�การตลาดโดยการให้บ้ ริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ในราคาถูกู แต่ต่ ้อ้ งการ เน้้นคุุณภาพของสัญั ญาณอิินเทอร์์เน็็ตที่่�ดีี ในราคาที่่ไ� ม่่สููงเกินิ ไป 3. ลดขนาดธุรุ กิจิ บรอดแบนด์ใ์ นตลาดผู้้�บริโิ ภค โดยจะทยอยลดจำ�ำ นวนพนักั งานโดยคงไว้เ้ พื่อ�่ ดูแู ลฐานลูกู ค้า้ เดิมิ และมุ่�งเน้น้ ขยายธุุรกิิจในตลาดธุุรกิิจต่่อไปเนื่�่องจากเป็็นการให้้บริิการลููกค้้าองค์์กรในลัักษณะสััญญาระยะยาวและมีีรายได้้ต่่อเนื่่�อง แน่่นอน 4. ขยายตลาด B2C ไปยัังพื้้�นที่่�โครงการให้้บริกิ ารอิินเทอร์์เน็็ตความเร็ว็ สูงู ในพื้้�นที่่ห� ่า่ งไกลในพื้้น� ที่่�ภาคตะวัันออกเฉียี งเหนืือ ในเขต 7 จัังหวััดที่่�บริิษััทฯได้้ดำำ�เนิินการติิดตั้้�งอุุปกรณ์์เสร็็จแล้้ว ซึ่่�งเป้้นพื้้�นที่่�ที่่�มีีคู่�แข่่งน้้อยและตลาดไม่่มีีการแข่่งขัันสููง โดยจะเริ่�มเปิดิ ให้้บริิการในเดืือนพฤษภาคม 2564 ตลาดผลิิตภัณั ฑ์เ์ ลเบลและซิลิ ค์ส์ กรีีน สำำ�หรับั อุตุ สาหกรรมอิิเล็็กทรอนิิกส์แ์ ละเครื่่อ� งใช้้ไฟฟ้้า ภาพรวมธุรุ กิจิ ซิลิ ค์ส์ กรีนี พริ้้น� ติ้ง� ยังั คงเติบิ โตได้ด้ ีแี ละมีผี ลประกอบการที่่ด� ีี แม้ว้ ่า่ จะได้ร้ ับั ผลกระทบจากสงครามทางการค้า้ ระหว่่างสหรัฐั กับั จีนี ส่ว่ นธุุรกิิจเลเบลของบริิษััทฯมีกี ารเติบิ โตสููงอย่่างต่อ่ เนื่�อ่ งตลอดสามปีที ี่่�ผ่่านมา โดยเฉพาะในช่่วงหลังั ที่่� บริษิ ัทั ฯมุ่�งเน้น้ การผลิติ เลเบลที่่ใ� ช้ใ้ นกลุ่่�มอุปุ กรณ์ส์ มาร์ท์ โฟน โดยกลุ่่�มนี้้ค� ิดิ เป็น็ ร้อ้ ยละ 50 ของรายได้ท้ั้้ง� หมดของธุรุ กิจิ เลเบล จากการคาดการณ์์ พบว่า่ ตลาดของอุปุ กรณ์ส์ มาร์์ทโฟนมีีการเติิบโตต่่อเนื่�่องทุกุ ปีี และคาดว่่าจะเติิบโตในระดัับสูงู ต่่อไป 3) การจััดหาผลิติ ภััณฑ์แ์ ละบริิการ ผลิติ ภััณฑ์ฮ์ าร์ด์ แวร์์หรืืออุปุ กรณ์์คอมพิวิ เตอร์์ ผลิิตภััณฑ์์ฮาร์์ดแวร์์หลัักของบริิษััทคืือคอมพิิวเตอร์์มืือถืือ เป็็นสิินค้้านำ�ำ เข้้าทั้้�งหมดซึ่�่งส่่วนใหญ่่สั่�งซื้�อจากผู้�ผลิิตที่่�บริิษััท ได้้รัับแต่่งตั้้�งให้้เป็็นตััวแทนจำำ�หน่่าย คืือบริิษััท Motorola Technology Inc. ซึ่�่งเป็็นผู้�ผลิิตคอมพิิวเตอร์์เคลื่่�อนที่่�รายใหญ่่ ในประเทศสหรัฐั อเมริกิ าปัจั จุบุ ันั บริษิ ัทั ในเครืือและเป็น็ หนึ่ง่� ในสามธุรุ กิจิ หลักั ของ Motorola, Inc. มีสี าขากระจายอยู่�ทั่ว� โลก ทั้้�งในยุุโรป ตะวัันออกกลาง และเอเชีียแปซิิฟิิก และมีีผลิิตภััณฑ์์ที่่�เกี่�ยวกัับ Mobile Technology ซึ่่�งได้้รัับสิิทธิิบััตรกว่่า 900 รายการ บริษิ ัทั ได้ร้ ับั การแต่ง่ ตั้ง�้ จาก Motorola ให้เ้ ป็น็ ผู้�จัดั จำ�ำ หน่า่ ยชั้น� ดีี (Premier Business Partner) รายแรกในประเทศไทย ทำ�ำ ให้้ ได้้รับั เงื่อ� นไขด้า้ นราคาที่่ด� ีี อย่่างไรก็ต็ ามบริิษัทั มีกี ารกระจายการสั่ง� ซื้อ� คอมพิวิ เตอร์ม์ ืือถืือผ่า่ นบริิษัทั อื่่�นๆ เพื่�อ่ ลดความเสี่�ยง จากการพึ่�่งพิิงผู้�จััดจำำ�หน่่ายเพีียงรายเดีียว และมีีแผนจะเพิ่่ม� การจััดจำ�ำ หน่่ายคอมพิิวเตอร์์มืือถืือของผู้�ผลิิตรายอื่่�นที่่�มีีความ 9
เหมาะสมกัับธุุรกิิจโรงงานอุุตสาหกรรมซึ่่�งเป็็นตลาดเป้้าหมายในอนาคตของบริิษััท สำำ�หรัับอุุปกรณ์์อื่�่นๆเช่่น เครื่่�องพิิมพ์์ บาร์์โค้้ด อุปุ กรณ์เ์ ชื่อ่� มต่อ่ ไร้้สาย บริษิ ัทั สั่�งซื้อ� จากผู้�ผลิิตหลายรายทั้้�งในประเทศและต่า่ งประเทศ เช่่น Zebra, Dell, HHP และ Cisco เป็น็ ต้้น อุปุ กรณ์์ฮาร์์ดแวร์์ที่่�บริิษััทจััดจำำ�หน่า่ ย เป็น็ สินิ ค้้าที่่ม� ีกี ารเปลี่�ยนแปลงทางด้า้ นเทคโนโลยีอี ย่า่ งรวดเร็็ว ดังั นั้้น� สิินค้า้ ส่ว่ นใหญ่่ จะสั่�งซื้�อเมื่่�อได้ร้ ัับคำ�ำ สั่่ง� ซื้�อจากลูกู ค้า้ และสั่ง� ซื้อ� เพื่�อ่ เป็็นอุปุ กรณ์์สำำ�รองสำำ�หรัับรุ่�นที่่�ลููกค้้าใช้เ้ ท่่านั้้น� ซึ่�ง่ ช่่วยลดปัญั หาสิินค้้า ล้า้ สมัยั ได้้เป็็นอย่า่ งดีี สััญญาที่�่สำำ�คััญในการจัดั หาผลิติ ภััณฑ์์ สััญญาการจัดั จำ�ำ หน่่ายผลิิตภััณฑ์ ์ Motorola คู่่�สัญั ญา Motorola Technology Inc. วัันเริ่�มต้้นสัญั ญา 19 ตุุลาคม 2548 อายุุสััญญา 1 ปีี และต่่ออายุุอััตโนมััติิทุุกๆ 1 ปีี จนกว่่าจะมีีการแจ้้งยกเลิิก จากคู่่�สัญั ญาฝ่่ายใดฝ่า่ ยหนึ่่�ง ค่่าตอบแทน ไม่ม่ ีี สาระสำ�ำ คััญสััญญาแต่ง่ ตั้้ง� บริษิ ััทเป็็นผู้�แทนจำ�ำ หน่่ายสิินค้้าแบบไม่เ่ ฉพาะเจาะจง (Non-exclusive basis) ในระดับั Premier Business Partner โดยให้ส้ ่ว่ นลดในการสั่�งซื้อ� สินิ ค้า้ และให้้ความช่่วยเหลืือในด้า้ นการอบรมเทคโนโลยีีต่่างๆ ที่่จ� ำ�ำ เป็็น ผลิติ ภัณั ฑ์ซ์ อฟต์์แวร์ห์ รืือโปรแกรมคอมพิิวเตอร์์ ผลิติ ภััณฑ์ซ์ อฟต์์แวร์โ์ ปรแกรมประยุุกต์์ SFA และ RT-WMS ได้้จากการพััฒนาขึ้�นมาโดยบุคุ ลากรผู้�เชี่�ยวชาญของบริิษัทั เอง ส่่วนระบบ Mobile Net ในอดีตี บริษิ ัทั เคยสั่ง� ซื้อ� จากต่า่ งประเทศ แต่ใ่ นปัจั จุบุ ันั สามารถพัฒั นาได้โ้ ดยบุคุ ลากรของบริษิ ัทั ซึ่ง่� สามารถนำ�ำ ไปประยุกุ ต์์ และขายให้้กัับลูกู ค้า้ ได้โ้ ดยตรง ผลิติ ภััณฑ์เ์ ลเบลและสติ๊�กเกอร์์ ผลิติ ภัณั ฑ์เ์ ลเบลและสติ๊ก� เกอร์์ ทำำ�การผลิติ และจัดั จำ�ำ หน่า่ ยโดยบริษิ ัทั ไซแมท เลเบล จำ�ำ กัดั ซึ่ง�่ วัตั ถุดุ ิบิ หลักั คืือกระดาษสำำ�หรับั ใช้ท้ ำำ�เลเบล รวมถึึงนำ�ำ เทคโนโลยีีเพื่่�อสร้้างความแตกต่่างและความมีปี ระสิิทธิิภาพของสติ๊�กเกอร์์เพื่่�อความได้้เปรีียบของสิินค้้า และกำ�ำ หนดกลยุุทธ์์ ทางธุุรกิิจเพื่่อ� เพิ่่ม� ส่ว่ นแบ่่งการตลาดและลดต้น้ ทุนุ การผลิติ โดยเพิ่่ม� ทักั ษะด้้านวิศิ วกรรมเข้า้ สู่�กระบวนการผลิิต กระบวนการผลิติ หรืือ จััดจำำ�หน่า่ ยผลิติ ภัณั ฑ์ข์ องบริิษััทไม่่ได้ก้ ่อ่ ให้เ้ กิิดผลกระทบต่่อสิ่ง� แวดล้้อมแต่่อย่า่ งใด 10
4) ทรััพย์ส์ ินิ ที่่�ใช้ใ้ นการประกอบธุุรกิิจ ทรัพยส์ ินถาวรหลักของบรษิ ัท และบรษิ ัทย่อย ทรััพย์์สิินถาวรหลัักที่่�บริษิ ััทใช้้ในการประกอบธุุรกิิจ ณ วัันที่่� 31 ธัันวาคม 2564 ประกอบด้ว้ ย ประเภทสิินทรััพย์์ ลัักษณะ กรรมสิิทธิ์์� สิินทรัพั ย์์ (ล้า้ นบาท) ภาระผูกู พััน 1. ที่ด�่ ิินและส่ว่ นปรัับปรุุงที่�่ดิิน บริิษัทั เป็น็ เจ้า้ ของ 44.62 ไม่ม่ ีีภาระผููกพััน 2 อุุปกรณ์ส์ ำำ�นักั งาน บริิษัทั เป็็นเจ้้าของ 3.08 ไม่ม่ ีภี าระผููกพััน 3. เครื่่�องมืือและอุปุ กรณ์์ บริษิ ัทั เป็็นเจ้้าของ 13.64 ไม่่มีภี าระผููกพััน 4. เครื่่�องตกแต่่งและ ติดิ ตั้้�ง บริิษัทั เป็น็ เจ้า้ ของ 2.76 ไม่ม่ ีีภาระผูกู พันั 93.59 ใช้เ้ ป็น็ หลักั ประกันั เงินิ กู้� 5. เครื่�่องจักั ร บริิษัทั เป็็นเจ้า้ ของ 10.52 5.74 44.51 ล้้านบาท 6. ยานพาหนะ บริษิ ัทั เป็็นเจ้้าของ 4.00 ไม่่มีภี าระผูกู พันั 4.28 ไม่ม่ ีภี าระผูกู พััน 7. ส่ว่ นปรับั ปรุงุ อาคารเช่่า บริษิ ัทั เป็น็ เจ้า้ ของ ไม่่มีีภาระผููกพััน 821.71 ไม่ม่ ีีภาระผููกพััน 8. เครื่�่องจัักรรอการติิดตั้้�ง บริิษัทั เป็น็ เจ้้าของ 9. ต้้นทุุนพััฒนาโปรแกรมคอมพิิวเตอร์์ที่�่มีี บริิษัทั เป็็นเจ้า้ ของ ไม่ม่ ีีภาระผูกู พััน ไว้้เพื่่�อจำำ�หน่่าย 10. อุปุ กรณ์โ์ ครงข่า่ ยใแก้ว้ นำำ�แสง ก่อ่ นหักั บริิษัทั เป็น็ เจ้้าของ ค่า่ เผื่่�อการด้อ้ ยค่่า 11. สิทิ ธิิการใช้ส้ ินิ ทรัพั ย์์ ภายใต้ส้ ััญญาเช่า่ 48.49 ไม่ม่ ีีภาระผููกพันั 11
พื้นทเี่ ช่าเพื่อประกอบธรุ กจิ บริษิ ัทั และบริิษััทย่อ่ ย ได้ม้ ีกี ารเช่่าพื้้น� ที่่ส� ำำ�นัักงานเพื่่�อใช้้ในการประกอบธุุรกิิจ รายละเอียี ดสรุปุ ได้้ดังั นี้้� พื้นทส่ี ำ�นกั งาน รายละเอยี ดของสัญญา บริิษัทั ไซแมท เทคโนโลยีี จำ�ำ กััด (มหาชน) คู่่�สัญั ญา : บริิษััท กุุลธร จำำ�กัดั อาคารสำำ�นัักงานใหญ่่ ชั้น� 3 ขนาด 922.5 ตารางเมตร เลขที่่� ระยะเวลา : 1 พฤศจิิกายน 2562 – 31 ตุลุ าคม 2565 123 ซ.ฉลองกรุงุ 31 นิิคมอุตุ สาหกรรมลาดกระบััง ถนนฉลอง ค่่าเช่า่ : 159,610.95 บาทต่่อเดืือน กรุงุ แขวงลำำ�ปลาทิวิ เขตลาดกระบังั กรุุงเทพฯ บริิษััทย่อ่ ย คู่่�สัญั ญา : บริษิ ััท กุุลธร จำำ�กัดั อาคารสำำ�นักั งานใหญ่่ ชั้�น 1-2 ขนาด 1,949.50 ตารางเมตร ระยะเวลา : 1 พฤษภาคม 2562 – 30 ตุุลาคม 2565 เลขที่่� 123 ซ.ฉลองกรุุง 31 นิคิ มอุุตสาหกรรมลาดกระบังั ถนน ค่่าเช่า่ : 371,028.84 บาทต่อ่ เดืือน ฉลองกรุุง แขวงลำำ�ปลาทิวิ เขตลาดกระบังั กรุงุ เทพฯ บริิษััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำ�ำ กััด (มหาชน) คู่่�สัญั ญา : นายกฤษณ์์ เลิศิ ยิ่่�งยศ สาขาที่่� 1 อาคารพาณิชิ ย์์ 2 คูหู า เลขที่่� 179/69-70 ซ.มิติ รภาพ ระยะเวลา : 1 มกราคม 2563 – 31 ธัันวาคม 2565 4 ต.ในเมืือง อ.เมืืองนครราชสีมี า จ.นครราชสีีมา ค่่าเช่า่ : 46,316 บาทต่่อเดืือน บริษิ ััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำ�ำ กััด (มหาชน) คู่่�สัญั ญา : หจก.จิริ า พร็อ็ พเพอร์์ตี้� สาขาที่่� 2 โครงการ MODE OFFICE เลขที่่� 68 หมู่� 4 ต.หนอง ระยะเวลา : 1 พฤษภาคม 2564 – 30 เมษายน 2565 หอย อ.เมืือง จ.เชียี งใหม่่ ค่่าเช่่า : 93,600 บาทต่่อเดืือน บริษิ ััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำ�ำ กััด (มหาชน) คู่่�สััญญา : นางรััชนีี มโนสุุดประสิทิ ธิ์� สาขาที่่� 3 อาคารพาณิชิ ย์์ 2 คูหู า เลขที่่� 251/7-8 ถนนเทพารักั ษ์์ ระยะเวลา : 1 พฤศจิิกายน 2564 – 31 ตุุลาคม 2565 ต.ในเมืือง อ.เมืืองขอนแก่่น จ.ขอนแก่่น ค่า่ เช่่า : 27,789.48 บาทต่่อเดืือน บริิษััทย่อ่ ย คู่่�สัญั ญา : บริิษัทั ซิินฟง จำำ�กัดั เลขที่่� 20/2 หมู่� 4 ถนนเทพารักั ษ์์ ตำำ�บลบางพลีีใหญ่่ อำำ�เภอ ระยะเวลา : 1 มกราคม 2565 – 31 ธัันวาคม 2567 บางพลีี สมุทุ รปราการ 10540 ค่า่ เช่่า : 406,400 บาทต่่อเดืือน ค่า่ บริิการ : 141,600 บาทต่่อเดืือน 5) งานที่ย�่ ังั ไม่่ได้ส้ ่ง่ มอบ -ไม่ม่ ีี- 12
1.3 โครงสร้้างการถือื หุ้้�นของกลุ่่�มบริิษััท 1.3.1 โครงสร้้างการถืือหุ้้�นของกลุ่�มบริิษััท นโยบายการแบ่่งการดำำ�เนิินงานของบริษิ ัทั ธุุรกิจิ ให้้บริกิ าร ธุรุ กิิจให้้บริิการ ธุรุ กิิจซิิลค์์สกรีนี ธุรุ กิิจผลิิต ธุุรกิิจบริกิ าร บรอดแบนด์์ และจำำ�หน่่าย เทคโนโลยีี อินิ เทอร์เ์ น็็ต โครงการภาครัฐั พริ้้�นติ้้�ง ผลิติ ภััณฑ์์ สารสนเทศ เลเบล ไซแมท เทคโนโลยีี ฮิินซิซิ ึึ ไซแมท เลเบล อาร์์จีีเทค ไซแมท (ประเทศไทย) บ. ใหญ่่ บ. ย่่อย บ. ย่่อย บ. ร่่วม (ถือื หุ้้�น 60%) (ถืือหุ้้�นโดยฮินิ ซิิซึึ (ถือื หุ้้�น 49%) 100%) แผนภาพโครงสร้า้ งการถืือหุ้้�นของกลุ่่�มบริษิ ััท 13
ชื่่อ� ที่ต�่ ั้้ง� สำำ�นักั งานใหญ่่ ประเภทธุรุ กิจิ โทรศััพท์์ โทรสาร จำ�ำ นวนและชนิดิ ของหุ้้�นที่จ�่ ำ�ำ หน่่าย ได้แ้ ล้้วทั้้ง� หมดของนิิติิบุคุ คลที่�่บริษิ ััทถือื หุ้้�นตั้้ง� แต่่ 10% ขึ้น�้ ไป บริิษัทั ย่อ่ ย ชื่อ�่ บริษิ ัทั บริษิ ััท ฮิินซิซิ ึึ (ประเทศไทย) จำำ�กัดั (มหาชน) ประเภทธุุรกิจิ ประกอบกิจิ การผลิติ สติกิ เกอร์์/ฉลาก(Sticker/Label)และการพิมิ พ์ส์ กรีนี (Silkscreen)ที่่ใ� ช้ก้ ันั ทั่่ว� ไป ในอุตุ สาหกรรมเครื่อ่� งใช้ไ้ ฟฟ้้า อุปุ กรณ์์อิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์์ และอุตุ สาหกรรมต่า่ งๆ ที่่อ� ยู่่�สำ�ำ นักั งาน เลขที่่� 20/2 (A5) หมู่� 4 ถนนเทพารักั ษ์์ ตำ�ำ บลบางพลีใี หญ่่ อำำ�เภอบางพลีี สมุทุ รปราการ 10540 โทรศัพั ท์์ : (66) 0 2759 4344 โทรสาร : (66) 0 2759 4354 วันั ที่่�จดทะเบียี น จดทะเบีียนเป็น็ บริิษััทมหาชน เมื่่อ� วัันที่่� 25 กุมุ ภาพัันธ์์ พ.ศ. 2564 ทะเบียี นเลขที่่� 0107564000057 ทุนุ ชำ�ำ ระแล้้ว 100,000,000 บาท (หุ้�นสามััญจำ�ำ นวน 200,000,000 หุ้�น ที่่ร� าคาพาร์ห์ุ้�นละ 0.50บาท) ทุุนจดทะเบีียน จำ�ำ นวน 252,000,000 หุ้�น สััดส่่วนการลงทุุนโดยบริษิ ััทใหญ่ ่ ร้้อยละ 60 ชื่อ่� บริิษัทั บริษิ ััท ไซแมท เลเบล จำ�ำ กััด ประเภทธุุรกิิจ ประกอบกิิจการผลิิตและจำ�ำ หน่่ายผลิิตภััณฑ์์ที่่�เกี่�ยวข้้องกัับ สติ๊�กเกอร์์ เลเบล กระดาษบาร์์โค้้ด และวััสดุุอุุปกรณ์์ที่่�เกี่ย� วข้อ้ ง ที่่�อยู่่�สำำ�นัักงาน เลขที่่� 123 ซ. ฉลองกรุุง 31 นิิคมอุุตสาหกรรมลาดกระบััง ถนนฉลองกรุุง แขวงลำำ�ปลาทิิว เขตลาดกระบังั กรุุงเทพ 10520 โทรศััพท์์ : (66) 0 2326 0999 โทรสาร : (66) 0 2326 1014 วันั ที่่จ� ดทะเบีียน จดทะเบีียนเป็็นบริษิ ััทจำ�ำ กััด เมื่อ่� วัันที่่� 9 เมษายน พ.ศ. 2551 ทะเบียี นเลขที่่� 0105551041025 ทุุนชำ�ำ ระแล้้ว 34,000,000 บาท (หุ้�นสามััญจำ�ำ นวน 3,400,000 หุ้�น ที่่ร� าคาพาร์ห์ุ้�นละ 10 บาท) ทุุนจดทะเบีียน จำ�ำ นวน 3,400,000 หุ้�น สัดั ส่ว่ นการลงทุนุ โดยบริษิ ััทใหญ่ ่ ร้อ้ ยละ 60 โดยถืือหุ้�นทางอ้อ้ มผ่่านบริษิ ััท ฮินิ ชิซิ ึึ (ประเทศไทย) จำำ�กััด ซึ่�ง่ บริษิ ััท ฮินิ ชิซิ ึึ ถือื หุ้�นอยู่� ร้้อยละ 100 14
ชื่่�อบริษิ ัทั บริษิ ััท ฮินิ ซิิตซุุ พรีีซิิชั่่�น (ประเทศไทย) จำำ�กัดั ประเภทธุุรกิจิ ประกอบกิจิ การผลิติ สติ๊ก� เกอร์์ ซื้อ� มาขายไปสติ๊�กเกอร์์ ลาเบล เนมเพลท และวััตถุุดิบิ สำ�ำ หรับั การ ทำำ�สติ๊ก� เกอร์์ ที่่�อยู่่�สำ�ำ นัักงาน เลขที่่� 20/2 (A12) หมู่� 4 ถนนเทพารักั ษ์์ ตำ�ำ บลบางพลีีใหญ่่ อำ�ำ เภอบางพลีี สมุุทรปราการ 10540 โทรศััพท์์ : (66) 0 2759 4344 โทรสาร : (66) 0 2759 4354 วันั ที่่จ� ดทะเบีียน จดทะเบีียนเป็็นบริิษัทั จำ�ำ กััด เมื่อ�่ วัันที่่� 8 เมษายน พ.ศ. 2559 ทะเบียี นเลขที่่� 0115559007594 ทุุนชำำ�ระแล้ว้ 23,000,000 บาท (หุ้�นสามัญั จำ�ำ นวน 230,000 หุ้�น ที่่�ราคาพาร์ห์ุ้�นละ 100 บาท) ทุนุ จดทะเบียี น จำำ�นวน 400,000 หุ้�น สัดั ส่ว่ นการลงทุุนโดยบริิษััทใหญ่ ่ ร้อ้ ยละ 47 โดยถืือหุ้�นทางอ้อ้ มผ่่านบริษิ ััท ฮิินชิซิ ึึ (ประเทศไทย) จำ�ำ กัดั ซึ่�ง่ บริิษัทั ฮินิ ชิิซึึ ถือื หุ้�นอยู่� ร้้อยละ 78.3 ชื่อ่� บริิษัทั บริิษััท ไซแมท เทเลคอม จำำ�กัดั ประเภทธุุรกิจิ ประกอบกิจิ การให้บ้ ริิการบำำ�รุุงรัักษาระบบโครงข่า่ ยใยแก้ว้ นำ�ำ แสง ที่่อ� ยู่่�สำ�ำ นักั งาน เลขที่่� 123 ซ. ฉลองกรุุง 31 นิิคมอุุตสาหกรรมลาดกระบััง ถนนฉลองกรุุง แขวงลำำ�ปลาทิิว เขตลาดกระบััง กรุุงเทพ 10520 โทรศััพท์์ : (66) 0 2326 0999 โทรสาร : (66) 0 2326 1014 วัันที่่�จดทะเบีียน จดทะเบียี นเป็็นบริิษััทจำ�ำ กััด เมื่อ�่ วันั ที่่� 13 มีนี าคม พ.ศ. 2552 ทะเบีียนเลขที่่� 0105552026640 ทุนุ ชำำ�ระแล้ว้ 5,000,000 บาท (หุ้�นสามัญั จำ�ำ นวน 500,000 หุ้�น ที่่�ราคาพาร์ห์ุ้�นละ 10 บาท) ทุุนจดทะเบีียน จำำ�นวน 500,000 หุ้�น สัดั ส่ว่ นการลงทุนุ โดยบริษิ ััทใหญ่ ่ บริษิ ััทถือื หุ้�นร้อ้ ยละ 100 บริิษัทั ร่ว่ ม ชื่่�อบริษิ ัทั บริิษััท ซิิโน เทรดดิ้้�ง แอนด์์ เซอร์ว์ ิสิ คอร์์เปอเรชั่่น� ประเภทธุรุ กิจิ 1. ให้้บริิการจััดหาอุุปกรณ์์ฮาร์์ดแวร์์ ซอฟท์์แวร์์และการให้้บริิการบำ�ำ รุุงรัักษาแบบครบวงจร สำำ�หรัับระบบการจัดั เก็บ็ ข้อ้ มููลในองค์ก์ ร 2. นายหน้้ารับั ฝากขายสินิ ค้า้ ทุกุ ชนิดิ ที่่�อยู่่�สำ�ำ นัักงาน No. 27, Dang Tat street, Tan Dinh Ward, District 1, Ho Chi Minh City, Vietnam โทรศััพท์์ : +84-8-38482619 โทรสาร : +84-8-38437064 ทะเบียี นเลขที่่� จดทะเบียี น เมื่�่อวัันที่่� 25 ธัันวาคม พ.ศ. 2551 ทะเบีียนเลขที่่� 4103012126 ทุนุ ชำ�ำ ระแล้ว้ 6,300,000,000 เวีียดนามดอง (หุ้�นสามััญจำ�ำ นวน 630,000 หุ้�น ที่่�ราคาพาร์์หุ้�นละ 10,000 เวีียดนามดอง) สััดส่่วนการลงทุนุ โดยบริษิ ััทใหญ่ ่ ร้อ้ ยละ 40 15
ชื่่อ� บริิษัทั บริษิ ัทั ร่่วมทุุน วิินสันั เทคโนโลยีี แอนด์์ อิินเวสเม้น้ ท์์ ประเภทธุรุ กิิจ 1. ให้้บริิการจััดหาอุุปกรณ์์ฮาร์์ดแวร์์ ซอฟท์์แวร์์และการให้้บริิการบำำ�รุุงรัักษาแบบครบวงจร สำำ�หรับั ระบบการจัดั เก็็บข้้อมููลในองค์ก์ ร 2. นายหน้้ารับั ฝากขายสิินค้้าทุกุ ชนิดิ ที่่อ� ยู่่�สำ�ำ นักั งาน No.26, Le Thanh Nghi Street, Dong Tam Ward, Hai Ba Trung District, Hanoi, Vietnam ทะเบีียนเลขที่่ � จดทะเบีียน เมื่อ่� วัันที่่� 30 พฤศจิกิ ายน พ.ศ. 2550 ทะเบียี นเลขที่่� 0102552472 ทุุนชำำ�ระแล้้ว 40,000,000 เวีียดนามดอง (หุ้�นสามััญจำำ�นวน 4,000 หุ้�น ที่่�ราคาพาร์์หุ้�นละ 10,000 เวีียดนามดอง) สััดส่่วนการลงทุนุ โดยบริิษััทใหญ่ ่ ร้้อยละ 20 โดยถือื หุ้�นทางอ้อ้ มผ่่านบริิษััท ซิิโน เทรดดิ้้ง� แอนด์์ เซอร์ว์ ิิส คอร์์เปอเรชั่�น ซึ่่ง� บริิษัทั ซิิโน เทรดดิ้้ง� แอนด์์ เซอร์์วิิส คอร์์เปอเรชั่น� ถือื หุ้�นอยู่�ร้อยละ 50 ชื่่�อบริิษัทั บริษิ ัทั อาร์จ์ ีีเทค ไซแมท จำ�ำ กััด ประเภทธุรุ กิจิ ให้้บริิการเทคโนโลยีีสารสนเทศแบบครบวงจรทั้้�งการจำำ�หน่่ายอุุปกรณ์์ฮาร์์ดแวร์์ การพััฒนา ซอฟท์์แวร์์ และการให้บ้ ริิการบำ�ำ รุุงรักั ษา ที่่อ� ยู่่�สำำ�นัักงาน เลขที่่� 123/128 ซอยฉลองกรุุง 31 นิคิ มอุตุ สาหกรรมลาดกระบังั ถนนฉลองกรุงุ แขวงลำำ�ปลาทิิว เขตลาดกระบังั กรุงุ เทพ 10520 ทะเบีียนเลขที่่� จดทะเบีียนเป็น็ บริษิ ััทจำ�ำ กััด เมื่่อ� วันั ที่่� 7 มกราคม พ.ศ. 2563 ทะเบีียนเลขที่่� 0105563002283 ทุุนชำ�ำ ระแล้ว้ 2,500,000 บาท (หุ้�นสามัญั จำ�ำ นวน 1,000,000 หุ้�น ที่่�ราคาพาร์ห์ุ้�นละ 10 บาท) ทุนุ จดทะเบีียน จำำ�นวน 1,000,000 หุ้�น สััดส่่วนการลงทุุนโดยบริษิ ััทใหญ่ ่ ร้อ้ ยละ 49 1.3.2 บุคุ คลที่อ่� าจมีีความขัดั แย้ง้ ถืือหุ้้�นในบริษิ ัทั ย่อ่ ยหรืือบริษิ ัทั ร่ว่ มรวมกันั เกินิ กว่า่ ร้อ้ ยละ10ของจำำ�นวนหุ้้�นที่ม่� ีีสิทิ ธิอิ อกเสีียง ของบริษิ ััทดัังกล่่าว บริิษััท วัันทููวััน คอนแทคส์์ จำ�ำ กััด (มหาชน) ถืือหุ้�นในบริิษััท ฮิินซิิซึึ จำ�ำ กััด (มหาชน) ซึ่�่งเป็็นบริิษััทย่่อยของบริิษััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำ�ำ กัดั (มหาชน) อยู่�ร้อยละ 10 และถือื หุ้�นในบริษิ ััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำ�ำ กัดั (มหาชน) ณ วันั ที่่� 31 ธันั วาคม 2564 อยู่�ร้อยละ 2.46 ถือื เป็็นนิิติบิ ุุคคลที่่อ� าจมีคี วามขััดแย้ง้ ถือื หุ้�นในบริิษััทย่อ่ ยทั้้�งทางตรงและทางอ้อ้ ม รวมร้อ้ ยละ 11.5 ของจำ�ำ นวนหุ้�นที่่ม� ีสี ิิทธิอิ อกเสีียงของบริิษััท ฮิินซิิซึึ จำ�ำ กััด (มหาชน) 1.3.3 ความสัมั พัันธ์์กับั กลุ่�มธุรุ กิิจของผู้้�ถืือหุ้้�นใหญ่่ - ไม่่มีี – 16
1.3.4 ผู้้�ถืือหุ้้�น รายชื่�อ่ ผู้้�ถืือหุ้้�นใหญ่่ กลุ่่�มผู้้�ถือื หุ้�นสููงสุุด 10 รายแรก จำ�ำ นวนและสัดั ส่ว่ นการถือื หุ้�น โดยนับั รวมการถือื หุ้�นของผู้�ที่�เกี่�ยวข้้องเป็น็ กลุ่่�มเดีียวกััน ณ วันั ปิดิ สมุดุ ทะเบียี น เมื่อ�่ วัันที่่� 31 ธัันวาคม 2564 ลำ�ำ ดัับที่่� ผู้้�ถืือหุ้้�น จำ�ำ นวนหุ้้�นที่ถ�่ ืือ สัดั ส่ว่ น % 1 นายณัฐั พงศ์์ ศีีตวรรััตน์์ 56,457,142 8.70% 2 กลุ่ม�่ นายทองคำ�ำ มานะศิิลปะพันั ธ์์ 36,890,288 5.69% 3 กลุ่ม�่ น.ส. ปััณฑารีีย์์ มโนมัยั พันั ธุ์� 17,627,200 2.72% 4 บริษิ ัทั วัันทููวััน คอนแทคส์์ จำำ�กัดั (มหาชน) 15,924,000 2.46% 5 นายบุุญเอื้อ้� จิิตรถนอม 11,984,600 1.85% 6 นาย ตฤณวรรธน์์ ธนิิตนิิธิพิ ัันธ์์ 11,100,000 1.71% 7 นาย ณัฐั พััฒน์์ รัังสรรค์์ 11,000,000 1.70% 8 นาย สุุระ คณิติ ทวีีกุุล 10,568,600 1.63% 9 นาย ธนวััฒน์์ เลิศิ วััฒนารัักษ์์ 10,072,328 1.55% 10 นาย อภิิสิิทธิ์� หงส์์ลาวััณย์์ 9,101,700 1.40% ผู้�้ถืือหุ้้�นอื่ �นๆ 457,838,751 70.59% รวมทั้้�งสิ้้น� 648,564,609 100.00% 1.4 จำำ�นวนทุุนจดทะเบีียนและทุนุ ชำำ�ระแล้ว้ 1.4.1 หุ้้�นสามััญ บริิษััทมีีทุุนจดทะเบีียน 860,870,005 บาท และมีีทุุนชำำ�ระแล้้วจำ�ำ นวน 648,564,609 หุ้�น แบ่่งเป็็นหุ้�นสามััญ 648,564,609 หุ้�น มูลู ค่า่ ที่่ต� ราไว้หุ้้�นละ 1 บาท คิิดเป็น็ มูลู ค่่า 648,564,609 บาท ซึ่�ง่ ขึ้�นทะเบียี นในตลาดหลัักทรัพั ย์์ MAI 1.4.2 หุ้้�นประเภทอื่�่นที่่�มีีสิทิ ธิิหรืือเงื่อ่� นไขแตกต่า่ งจากหุ้้�นสามัญั - ไม่่มี-ี 1.4.3 หุ้้�นหรืือหลัักทรััพย์์แปลงสภาพของบริิษััทเป็็นหลัักทรััพย์์อ้้างอิิงในการออกหน่่วยลงทุุนของกองทุุนรวมเพื่�่อผู้�ลงทุุน ซึ่่�งเป็น็ คนต่่างด้า้ ว - ไม่ม่ ี-ี 17
1.5 การออกหลัักทรัพั ย์อ์ ื่่�น 1.5.1 หลัักทรััพย์์แปลงสภาพ 1) ใบสำ�ำ คัญั แสดงสิิทธิิที่่�จะซื้�อหุ้�นสามัญั ของบริิษััทฯ ครั้้ง� ที่่� 3 (SIMAT-W3) บริิษััทออกและเสนอขายใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิที่่�จะซื้�อหุ้�นสามััญของ บริิษััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำำ�กััด (มหาชน) ครั้้ง� ที่่� 3 (SIMAT-W3) จำ�ำ นวน 37,813,712 หน่ว่ ย โดยจัดั สรรให้้แก่ผู่้�ถืือหุ้�นสามัญั เดิมิ ของบริิษัทั ที่่ม� ีีรายชื่่อ� ปรากฏ อยู่�ในสมุุดทะเบีียนผู้�ถืือหุ้�น ณ วัันที่่� 13 พฤษภาคม 2558 โดยไม่่คิิดมููลค่่า ในอััตราส่่วน 10 หุ้�นสามััญที่่�จองซื้�อ ต่่อ 1 หน่ว่ ยใบสำำ�คััญแสดงสิทิ ธิิ โดยมีรี ายละเอีียดของใบสำ�ำ คัญั แสดงสิิทธิิดัังต่่อไปนี้้� ประเภทใบสำำ�คััญแสดงสิทิ ธิ ิ : ใบสำำ�คัญั แสดงสิทิ ธิทิี่่จ� ะซื้อ� หุ้�นสามัญั ของบริษิ ัทั ไซแมทเทคโนโลยีี จำ�ำ กัดั (มหาชน) ครั้้�งที่่� 3 (SIMAT-W3) ชนิิดใบสำำ�คััญแสดงสิิทธิิ : ใบสำำ�คัญั แสดงสิทิ ธิทิี่่จ� ะซื้อ� หุ้�นสามัญั ของบริษิ ัทั ชนิดิ ระบุชุื่อ�่ ผู้�ถือื และโอนเปลี่�ยนมืือได้้ วันั ที่่อ� อกใบสำำ�คััญแสดงสิทิ ธิิ : วัันที่่� 19 พฤษภาคม 2558 อายุุของใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ : 10 ปีี นับั ตั้ง�้ แต่ว่ ันั ที่่อ� อกใบสำ�ำ คัญั แสดงสิิทธิิ จำำ�นวนใบสำำ�คัญั แสดงสิทิ ธิิที่่�เสนอขาย : 37,813,712 หน่ว่ ย จำำ�นวนใบสำำ�คัญั แสดงสิิทธิิที่่�ยัังไม่่ใช้้สิิทธิิ : 37,811,271 หน่ว่ ย อััตราการใช้ส้ ิิทธิิต่่อหน่่วย : ใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ 1 หน่่วยต่่อหุ้�นสามััญ 1 หุ้�น (โดยอััตรา การใช้้สิิทธิิอาจเปลี่�ยนแปลงในภายหลัังตามเงื่�อนไข การปรับั สิทิ ธิ)ิ ราคาการใช้้สิิทธิ ิ : ราคาการใช้้สิิทธิิของใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ ณ วัันเสนอขาย เท่่ากัับ 30 บาท ต่่อหุ้�น (โดยราคาการใช้้สิิทธิิมีีการ เปลี่ย� นแปลงในภายหลััง ตามเงื่�อนไขการปรับั สิทิ ธิิ) ระยะเวลาการใช้้สิทิ ธิ ิ : ผู้้�ถืือใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิสามารถใช้้สิิทธิิตามใบสำำ�คััญแสดง สิิทธิิได้้ทุุกวัันทำำ�การสุุดท้้ายของเดืือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลุ าคม ภายหลังั จากวันั ที่่อ� อกใบสำ�ำ คัญั แสดง สิทิ ธิิ จนครบอายุขุ องใบสำำ�คัญั แสดงสิิทธิิ (“วันั กำ�ำ หนดการ ใช้้สิิทธิิ”) โดยวัันกำำ�หนดการใช้้สิิทธิิครั้้�งแรกจะตรงกับั วันั ที่่� 29 กรกฎาคม 2558 (เนื่่�องจากวัันที่่� 30-31 กรกฎาคม 2558 เป็็นวัันหยุุดจึึงเลื่่�อนเป็็นวัันทำำ�การก่่อนหน้้า) และ วันั กำ�ำ หนดการใช้ส้ ิทิ ธิคิ รั้้ง� สุดุ ท้า้ ย คืือ วันั ที่่ใ� บสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิิ มีอี ายุคุ รบ 10 ปีนี ับั จากวันั ที่่อ� อกใบสำำ�คัญั แสดงสิทิ ธิิ ซึ่ง่� ตรง กัับวัันที่่� 19 พฤษภาคม 2568 โดยหากวัันกำำ�หนดการใช้้ สิทิ ธิคิ รั้้ง� สุดุ ท้า้ ยไม่ต่ รงกับั วันั ทำำ�การ ให้เ้ ลื่อ�่ นวันั กำ�ำ หนดการ ใช้ส้ ิทิ ธิคิ รั้้ง� สุดุ ท้า้ ยดังั กล่า่ วเป็น็ วันั ทำ�ำ การสุดุ ท้า้ ยก่อ่ นหน้า้ แทน 2) ใบสำำ�คััญแสดงสิทิ ธิิที่่�จะซื้�อหุ้�นสามััญของบริษิ ัทั ฯ ครั้้�งที่่� 5 (SIMAT-W5) บริิษััทออกและจััดสรรใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ SIMAT-W5 ใหม่่เพื่�่อจััดสรรให้้แก่่ผู้�ถืือหุ้�นเดิิมของบริิษััทตามสััดส่่วน การถืือหุ้�น (Right Offering) ในจำำ�นวนไม่่เกิิน 160,000,000 หน่่วย (โดยไม่่คิิดมููลค่่า) โดยกำำ�หนดอััตราส่่วนการ 18
จััดสรรที่่�หุ้�นสามััญเดิิม 4.07 หุ้�น ต่อ่ 1 หน่ว่ ยใบสำำ�คััญแสดงสิทิ ธิิ SIMAT-W5 ทั้้ง� นี้้� ใบสำำ�คััญแสดงสิิทธิิ SIMAT-W5 มีอี ายุุ 3 ปีี นับั จากวันั ที่่อ� อกใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิิ SIMAT-W5 อัตั ราการใช้้สิทิ ธิขิ องใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิิ SIMAT-W5 คืือ ใบสำำ�คัญั แสดงสิิทธิิ SIMAT-W5 1 หน่่วย มีสี ิทิ ธิิซื้�อหุ้�นสามััญของบริษิ ััทได้้ 1 หุ้�น และราคาใช้้สิิทธิิคืือ 2 บาท ต่่อหุ้�น ประเภทใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ : ใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิทิี่่จ� ะซื้อ� หุ้�นสามัญั ของบริษิ ัทั ไซแมทเทคโนโลยีี จำ�ำ กัดั (มหาชน) ครั้้ง� ที่่� 5 (SIMAT-W5) ชนิิดใบสำ�ำ คััญแสดงสิทิ ธิิ : ระบุุชื่�อ่ ผู้�ถือื และสามารถโอนเปลี่ย� นมืือได้้ วัันที่่อ� อกใบสำำ�คัญั แสดงสิิทธิิ : 3 กัันยายน 2564 อายุุของใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ : 3 ปีี นับั แต่ว่ ันั ที่่อ� อกใบสำำ�คััญแสดงสิิทธิิ SIMAT-W5 (วัันหมดอายุุ : 2 กันั ยายน 2567) จำำ�นวนใบสำำ�คัญั แสดงสิิทธิิที่่เ� สนอขาย : ไม่เ่ กิิน 160,000,000 หน่ว่ ย จำำ�นวนใบสำ�ำ คัญั แสดงสิิทธิิที่่�ยังั ไม่่ใช้ส้ ิิทธิิ : 159,347,695 หน่่วย อััตราการใช้้สิทิ ธิิต่อ่ หน่่วย : บริษิ ัทั จะดำ�ำ เนินิ การจัดั สรรใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิิ SIMAT-W5 ให้้แก่่ผู้�ถืือหุ้�นของบริิษััทในอััตราส่่วนการจััดสรรที่่� หุ้้�นสามััญเดิิม 4.07 หุ้�น ต่่อ 1 หน่่วยใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ SIMAT-W5 ราคาการใช้้สิิทธิ ิ : 2 บาทต่่อหุ้�น เว้้นแต่่กรณีีมีีการปรัับราคาการใช้้สิิทธิิ ตามเงื่อ� นไข ระยะเวลาการใช้ส้ ิิทธิิ : ผู้้�ถืือใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ SIMAT-W5 สามารถใช้้สิิทธิิ ตามใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิไิ ด้ค้ รั้้ง� เดียี ว ณ วันั ที่่ค� รบกำ�ำ หนดอายุุ ของใบสำำ�คััญแสดงสิิทธิิ ซึ่�่งได้้แก่่วัันที่่�เป็็นวัันครบกำ�ำ หนด 3 ปีี นับั แต่ว่ ันั ที่่อ� อกใบสำ�ำ คัญั แสดงสิทิ ธิิ ทั้้ง� นี้้� หากวันั ใช้ส้ ิทิ ธิิ ตรงกับั วันั หยุุดทำ�ำ การของบริษิ ัทั ให้เ้ ลื่อ�่ นวันั ใช้้สิทิ ธิดิ ังั กล่า่ ว เป็น็ วัันทำ�ำ การก่อ่ นหน้้าวัันใช้ส้ ิทิ ธิิดัังกล่่าว 1.5.2 หลักั ทรััพย์ท์ ี่เ่� ป็น็ ตราสารหนี้้� - ไม่ม่ ีี - 1.6 นโยบายการจ่่ายเงิินปัันผล บริษิ ัทั ไซแมท เทคโนโลยีี จำำ�กัดั (มหาชน) มีนี โยบายจ่า่ ยเงินิ ปันั ผลให้แ้ ก่ผู่้�ถือื หุ้�นในอัตั ราไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ร้อ้ ยละ 50 ของกำ�ำ ไรสุทุ ธิหิ ลังั หัักภาษีีเงิินได้้นิิติิบุุคคล และสำ�ำ รองตามกฎหมาย อย่่างไรก็็ตาม บริิษััทอาจกำ�ำ หนดให้้การจ่่ายเงิินปัันผลมีีอััตราน้้อยกว่่าอััตราที่่� กำ�ำ หนดข้า้ งต้น้ ได้้ หากบริษิ ัทั มีคี วามจำ�ำ เป็น็ ที่่จ� ะต้อ้ งนำ�ำ เงินิ กำ�ำ ไรสุทุ ธิจิ ำ�ำ นวนดังั กล่า่ วมาใช้เ้ พื่อ�่ ขยายการดำ�ำ เนินิ งานของบริษิ ัทั ต่อ่ ไป เตรียี มเสนอที่่�ประชุมุ สามััญผู้�ถืือหุ้�นประจำ�ำ ปีี 2565 ในวันั ที่่� 29 เมษายน 2565 เพื่�่อพิจิ ารณาอนุมุ ัตั ิิงดจ่า่ ยเงิินปันั ผลสำ�ำ หรัับผล การดำ�ำ เนิินงานประจำำ�ปีี 2564 เนื่�่องจากบริิษััทฯ ต้อ้ งการรักั ษาสภาพคล่่องเพื่่�อเพื่อ�่ ใช้้ในการดำ�ำ เนินิ งานของบริษิ ััท สำำ�หรับั บริิษััท ฮิินซิิซึึ (ประเทศไทย) จำ�ำ กัดั (มหาชน) (“ฮิินซิิซึึ”) ซึ่�่งเป็น็ บริิษััทย่่อยของบริษิ ััทฯ มีนี โยบายจ่า่ ยเงิินปัันผลให้้แก่ผู่้� ถืือหุ้�นไม่่น้อ้ ยกว่า่ ร้อ้ ยละ 40 ของกำำ�ไรสุทุ ธิิตามนโยบายการจ่า่ ยเงินิ ปัันผลของฮินิ ซิซิ ึึ 19
2. การบริหิ ารจัดั การความเสี่�่ยง 2.1 นโยบายและแผนการบริหิ ารความเสี่�่ยง กลุ่่�มบริษิ ัทั ฯ ได้ต้ ระหนักั ถึึงความสำ�ำ คัญั ของการบริหิ ารความเสี่ย� งภายใต้ก้ ารเปลี่ย� นแปลงจากปัจั จัยั ทั้้ง� ภายในและภายนอก ที่่อ� าจจะส่ง่ ผลกระทบต่อ่ การดำ�ำ เนินิ ธุุรกิิจได้้ จึึงได้้มีีการบริหิ ารและควมคุมุ ความเสี่ย� งอย่่างต่่อเนื่่�อง ทั้้ง� ในระดัับบริหิ ารและฝ่่ายปฏิบิ ััติกิ ารเพื่่�อให้้ พนัักงานทุุกฝ่่ายมีคี วามตระหนักั ถึึงการจััดการและการเตรียี มความพร้้อมเพื่อ�่ รับั ความเสี่ย� งอย่า่ งต่่อเนื่อ�่ ง 2.2 ปััจจัยั ความเสี่�่ยงต่่อการดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ ของบริษิ ััท 2.2.1 ความเสี่่ย� งต่อ่ การดำำ�เนิินธุรุ กิิจของบริษิ ััทหรืือกลุ่�มบริษิ ัทั ธุรุ กิิจให้บ้ ริิการเทคโนโลยีีสารสนเทศแบบครบวงจร ความเสี่ย� งจากสภาพเศรษฐกิิจชะลอตััวและความต้อ้ งการของตลาดที่่เ� ปลี่ย� นไป ลักั ษณะความเสี่�ยง สาเหตุุ ผลกระทบ แนวโน้้ม และมาตรการรองรับั จากสภาพเศรษฐกิิจชะลอตััว มีีผลกระทบต่่อธุุรกิิจให้้บริิการเทคโนโลยีีสารสนเทศแบบครบวงจร เนื่�่องจากยอด คำำ�สั่่ง� ซื้�อที่่�ลดลง รวมถึึงแนวโน้้มของราคาอุปุ กรณ์ท์ ี่่�ลดลง ทำ�ำ ให้ล้ ูกู ค้้าไม่่สนใจทำ�ำ สััญญาบริิการบำำ�รุงุ รักั ษา ความเสี่�ยงดัังกล่่าวอาจทำำ�ให้ร้ ายได้แ้ ละกำำ�ไรของบริษิ ััทลดลง ในปีี 2564 และ 2563 บริิษัทั ฯได้้ลดสัดั ส่ว่ นของธุรุ กิิจนี้้ล� ง ให้้เหมาะสมกัับสภาพตลาด และคงเหลืือลููกค้้าในบาง กลุ่่�มที่่�ยัังสามารถทำำ�กำำ�ไรได้ด้ ีี ความเสี่�ยงเนื่�่องมาจากผลกระทบของโรคติิดเชื้อ� ไวรัสั โควิิด-19 (COVID-19) ลักั ษณะความเสี่ย� ง สาเหตุุ ผลกระทบ แนวโน้้ม และมาตรการรองรับั จากสถานการณ์ก์ ารแพร่ร่ ะบาดของไวรัสั โควิดิ -19 ที่่ม� ีกี ารแพร่ร่ ะบาดไปทั่่ว� ไม่ใ่ ช่แ่ ค่ใ่ นประเทศไทยแต่ม่ ีกี ารแพร่ร่ ะบาด ไปทั่่ว� โลก ส่ง่ ผลกระทบเป็น็ วงกว้า้ งต่อ่ ทุกุ ธุรุ กิจิ ทั่่ว� โลก รวมถึึงกลุ่่�มลูกู ค้า้ หลักั ของบริษิ ัทั ฯ ทำ�ำ ให้ก้ ระทบต่อ่ การวางแผน การเปิิดสาขาของลูกู ค้้าที่่ไ� ม่่เป็็นเป็น็ ไปตามแผนที่่�วางไว้้ เนื่อ�่ งจะต้้องลดสาขาเดิมิ ลงและชะลอการเปิิดสาขาใหม่่ ความเสี่�ยงดัังกล่่าวอาจทำำ�ให้ร้ ายได้้และกำำ�ไรของบริิษัทั ลดลง ในปัจั จุบุ ันั บริษิ ัทั ได้พ้ ยายามหาบริกิ ารอื่น่� มานำ�ำ เสนอให้ก้ ับั ลูกู ค้า้ เพิ่่ม� มากขึ้น� เพื่อ่� เป็น็ การทดแทนรายได้ท้ ี่่ส� ูญู เสียี ไป ในส่่วนนี้้� ธุุรกิจิ เลเบล ความเสี่ย� งจากการพึ่�่งพิิงลููกค้า้ รายใดรายหนึ่ง่� มากเกินิ ไป ลักั ษณะความเสี่ย� ง สาเหตุุ ผลกระทบ แนวโน้้ม และมาตรการรองรับั บริิษััทฯการผลิิตสิินค้้าให้้แก่่ลููกค้้าบางรายในกลุ่่�มธุุรกิิจผลิิตชิ้้�นส่่วนอิิเล็็กทรอนิิกส์์สำ�ำ หรัับอุุปกรณ์์สมาร์์ทโฟน ซึ่่�งอาจ คิิดเป็น็ รายได้ป้ ระมาณร้้อยละ 50 ของรายได้ท้ ั้้ง� หมด ความเสี่�ยงดัังกล่่าวมีีผลต่อ่ รายได้้และกำ�ำ ไร หากลููกค้า้ ในกลุ่่�มดัังกล่่าวยกเลิิกคำ�ำ สั่่�งซื้อ� ในปีี 2564 และ 2563 บริิษััทฯได้้ดำ�ำ เนิินการขายและการตลาดไปยัังกลุ่่�มลููกค้้าในธุุรกิิจอื่่�นให้้มากขึ้�น ได้้แก่่ธุุรกิิจ เครื่�่องใช้้ไฟฟ้้า เป็็นต้้น ทั้้�งนี้้�บริิษััทฯตั้�้งเป้้าหมายในการเพิ่่�มสััดส่่วนรายได้้จากลููกค้้าในกลุ่่�มธุุรกิิจอื่�่นนอกจากกลุ่่�ม สมาร์์ทโฟนให้้มีสี ััดส่ว่ นมากกว่า่ ร้อ้ ยละ 50 ของรายได้้ทั้้�งหมด 20
ธุรุ กิิจผลิติ และจำ�ำ หน่่ายผลิติ ภัณั ฑ์์ ซิิลค์์สกรีีน พริ้้น� ติ้้�ง ความเสี่ย� งจากการใช้แ้ รงงานต่่างด้้าวและการพึ่่�งพาแรงงานคนเป็็นหลัักในการผลิิตสินิ ค้้า ลัักษณะความเสี่�ยง สาเหตุุ ผลกระทบ แนวโน้้ม และมาตรการรองรับั ในส่ว่ นของธุรุ กิจิ ผลิติ และจำำ�หน่า่ ยผลิติ ภัณั ฑ์์ ซิลิ ค์ส์ กรีนี พริ้้น� ติ้ง� บริษิ ัทั ฯ มีกี ารจ้า้ งแรงงานต่า่ งด้า้ วและพึ่ง�่ พาแรงงานคน เป็็นหลัักในการผลิิตสิินค้้าและควบคุุมเครื่�่องจัักร ซึ่�่งมีีความเสี่�ยงหากอััตราค่่าแรงขั้�นต่ำ��ำ มีีการปรัับเปลี่�ยนเพิ่่�มสููงขึ้�นจะ กระทบต่อ่ ต้้นทุุนของบริิษััทฯ โดยตรง ความเสี่�ยงดัังกล่า่ วมีีผลต่่อต้น้ ทุุนของบริิษัทั ฯ โดยตรง ปััจจุุบันั ทางบริษิ ััทฯ มีีการวางแผนที่่�จะซื้อ� เครื่่�องจัักรใหม่ซ่ ึ่�ง่ เป็็นเครื่อ�่ งจักั รที่่�ใช้้เทคโนโลยีีที่่�ดีีขึ้�นกว่า่ เดิิม ในส่่วนนี้้�จะลด การใช้้แรงงานคนในการทำ�ำ งานและควบคุุมเครื่่�องจักั รได้้ ธุรุ กิิจบรอดแบนด์์อินิ เทอร์์เน็ต็ ความเสี่ย� งจากการแข่ง่ ขันั ลัักษณะความเสี่ย� ง สาเหตุุ ผลกระทบ แนวโน้ม้ และมาตรการรองรับั ธุรุ กิจิ การให้บ้ ริกิ ารบรอดแบนด์อ์ ินิ เทอร์เ์ น็ต็ ผ่า่ นโครงข่า่ ยใยแก้ว้ นำำ�แสง ปัจั จุบุ ันั มีกี ารแข่ง่ ขันั สูงู ขึ้น� เนื่อ�่ งจากคู่�แข่ง่ มีกี าร ลงทุนุ โครงข่า่ ยใยแก้ว้ นำ�ำ แสงเพิ่่ม� ขึ้้น� มากในหลายพื้้น� ที่่� โดยเฉพาะบริษิ ัทั โทรคมนาคมขนาดใหญ่ท่ี่่ใ� ห้บ้ ริกิ ารทั้้ง� อินิ เทอร์เ์ น็ต็ แบบเคลื่�่อนที่่� (Mobile broadband) และอิินเทอร์์เน็็ตแบบประจำำ�ที่่� (Fixed broadband) ซึ่่�งมีีการทำ�ำ การตลาด ในรููปแบบของการลดราคาโดยพ่ว่ งอิินเทอร์์เน็ต็ แบบเคลื่่�อนที่่�และแบบประจำำ�ที่่�เข้า้ ด้ว้ ยกััน ผลกระทบอาจทำ�ำ ให้้จำำ�นวนลูกู ค้้าของบริิษัทั ฯลดลง และราคาขายลดลง ซึ่ง�่ จะมีผี ลต่่อรายได้้และกำำ�ไรของบริษิ ััทฯ ในปีี 2564 และ 2563 บริษิ ัทั ฯได้มุ้่�งเน้้นในการปรับั ปรุุงและรักั ษาคุุณภาพของสััญญาณอินิ เทอร์เ์ น็ต็ และการให้บ้ ริิการ ติิดตั้�้งและบริิการหลัังการขาย ซึ่�่งถืือเป็็นหััวใจหลัักของธุุรกิิจ และวางตำำ�แหน่่งทางการตลาดโดยไม่่ได้้มุ่�งเน้้นการทำ�ำ การตลาดโดยการให้้บริิการอิินเทอร์์เน็็ตในราคาถููก แต่่ต้้องการเน้้นคุุณภาพของสััญญาณอิินเทอร์์เน็็ตที่่�ดีี ในราคา ที่่ไ� ม่่สููงเกินิ ไป และลดขนาดและหยุุดการขยายของธุุรกิิจในตลาดผู้้�บริโิ ภค และมุ่�งเน้้นทำำ�ตลาดธุุรกิจิ แทน ความเสี่ย� งด้้านสภาพคล่อ่ งและการจััดหาเงิินทุุน ลัักษณะความเสี่�ยง สาเหตุุ ผลกระทบ แนวโน้้ม และมาตรการรองรัับ เนื่อ�่ งจากธุรุ กิจิ ให้บ้ ริกิ ารบรอดแบนด์อ์ ินิ เทอร์เ์ น็ต็ ผ่า่ นโครงข่า่ ยใยแก้ว้ นำำ�แสง เป็น็ ธุรุ กิจิ ที่่ต� ้อ้ งใช้เ้ งินิ ลงทุนุ สูงู ทั้้ง� การขยาย โครงข่า่ ยและการลงทุนุ ติดิ ตั้�ง้ อุุปกรณ์ใ์ ห้้กัับลูกู ค้้ารายใหม่ท่ ุุกราย ซึ่่ง� ระยะเวลาคืืนทุุนของลููกค้้าแต่่ละรายเฉลี่่ย� ประมาณ 12 – 14 เดืือน หากในแต่่ละเดืือนมีียอดลููกค้้าติิดตั้�้งเข้้ามาเป็็นจำำ�นวนมาก อาจทำำ�ให้้บริิษััทฯประสบปััญหา ด้า้ นสภาพคล่่อง ในปีี 2564 และ 2563 บริิษัทั ฯมีีแผนการกู้้�ยืืมจากสถาบันั การเงินิ ใน 2 รูปู แบบ 1. กู้้�ยืืมผ่่านทางบริิษััทลีีสซิ่�ง สำ�ำ หรัับการลงทุุนในอุุปกรณ์์ที่่�ต้้องติิดตั้้�งตามบ้้านลููกค้้า ได้้แก่่ อุุปกรณ์์รัับสััญญาณ ปลายทาง (Optical Network Unit) และอุปุ กรณ์์เร้้าท์์เตอร์์ (Router) 2. กู้้�ยืืมผ่่านสถาบันั การเงิิน สำ�ำ หรัับการลงทุุนในส่ว่ นของการลากสายไฟเบอร์เ์ ข้า้ บ้า้ นลูกู ค้้าทั้้ง� ค่่าอุุปกรณ์์และค่า่ แรง 21
ธุุรกิจิ โครงการภาครััฐ ความเสี่�ยงจากการพึ่�ง่ พิงิ ลููกค้้าภาคราชการและระยะเวลาในการเก็็บหนี้้น� าน โดยปกติิแล้้ว ลููกค้้าภาคราชการจะมีขีั้�นตอนการตรวจรัับงานและการชำำ�ระเงิินค่่อนข้้างนาน ส่่งผลให้้บริิษััทมีีระยะเวลาในการ เก็็บหนี้้�นาน คืือ ประมาณ 120 – 160 วันั ซึ่�่งอาจทำำ�ให้้เกิิดการขาดแคลนเงินิ ทุนุ หมุุนเวียี น ส่ง่ ผลกระทบต่่อสภาพคล่อ่ งและมีี ภาระดอกเบี้้�ยจ่่ายที่่�สูงู ขึ้�นได้้ อย่่างไรก็็ตาม บริิษััทมีีการประเมิินสถานการณ์์เพื่่�อรัักษาสภาพคล่่องอยู่่�ตลอดเวลา มีีการจััดหาเงิินทุุนหมุุนเวีียนจากสถาบััน การเงิินต่่าง ๆ ไว้้รองรับั 2.2.2 ความเสี่่�ยงต่อ่ การลงทุุนของผู้้�ถืือหลัักทรััพย์์ ความเสี่ย� งจากความไม่แ่ น่่นอนของผลตอบแทน ราคาหุ้�นของบริิษััท อาจะมีีการเปลี่�ยนแปลงเพิ่่�มขึ้้�นหรืือลดลงโดยขึ้�นอยู่่�กัับปััจจััยต่่างๆ ซึ่่�งหลายปััจจััยเป็็นปััจจััยที่่�ทาง บริษิ ััทไม่่สามารถควบคุุมได้้ เช่่น ภาวะเศรษฐกิิจ ภาวะวิิกฤติิ สถานการณ์ท์ ี่่�ไม่่ปกติิ เช่น่ โรคระบาด โควิดิ -19 , ภาวะสงครามรัสั เซีีย - ยููเครน เป็็นต้้น การเปลี่ย� นแปลงนโยบาย กฏ ข้อ้ บัังคัับหรืือเงื่อ� นไขต่่างๆ ที่่�มีีผลต่อ่ อุตุ สาหกรรม ปััจจััยดัังกล่่าว อาจทำ�ำ ให้้ราคาหุ้�นลดลงต่ำ��ำ กว่่าราคาที่่�นัักลงทุุนคาดหวััง หรืือสููงกว่่าที่่�นัักลงทุุนคาดหวัังทำำ�ให้้เกิิดความ ไม่่แน่น่ อนของผลตอบแทนของนักั ลงทุุนได้้ 22
3. การขัับเคลื่่�อนธุุรกิจิ เพื่่�อความยั่่�งยืนื 3.1 นโยบายและเป้้าหมายการจััดการด้า้ นความยั่่�งยืนื บริิษััทฯ มุ่�งมั่�นในการดำำ�เนิินธุุรกิิจบนหลัักการของการกำำ�กัับดููแลกิิจการที่่�ดีี โดยมีีเป้้าหมายสำ�ำ คััญคืือความยั่่�งยืืนขององค์์กรซึ่่�ง ก่่อให้เ้ กิดิ การพัฒั นาคุณุ ค่่าด้า้ นเศรษฐกิิจ สัังคม และสิ่�งแวดล้้อม ดัังนั้้น� บริษิ ัทั ฯ จึึงได้้กำำ�หนดนโยบายการดำ�ำ เนิินธุรุ กิจิ ด้ว้ ยความยั่่�งยืืน เพื่อ่� ยึึดถือื เป็็นแนวทางสำำ�หรัับการบริหิ ารจััดการธุุรกิจิ ของกลุ่่�มบริษิ ััท โดยมีีแนวทางสำ�ำ หรับั ดำ�ำ เนินิ การ ดัังนี้้� 1. ดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ อย่า่ งซื่�่อสัตั ย์์ มีคี ุุณธรรม ยึึดมั่่�นการปฏิบิ ััติติ ามกฎหมาย และข้อ้ กำำ�หนดทางการค้า้ สร้า้ งเสริิมความโปร่ง่ ใสใน การบริหิ ารจัดั การองค์ก์ รตามแนวทางการกำ�ำ กับั ดูแู ลกิจิ การที่่ด� ีี รวมทั้้ง� สนับั สนุนุ การต่อ่ ต้า้ นการทุจุ ริติ คอร์ร์ ัปั ชั่น� การป้อ้ งกันั การแสวงหาผลประโยชน์์ และการใช้้อำำ�นาจในทางมิชิ อบ เพื่่�อสร้้างประโยชน์ส์ ูงู สุุดต่่อผู้�มีสี ่่วนได้้เสีีย 2. ส่ง่ เสริมิ การปฏิบิ ััติิตามหลักั สิทิ ธิมิ นุษุ ยชน โดยคำ�ำ นึึงถึึงศักั ดิ์ศ� รีีความเป็น็ มนุษุ ย์์ สิทิ ธิิ เสรีภี าพ และความเสมอภาคของบุคุ คล ที่่ไ� ด้้รับั การคุ้้�มครองตามรัฐั ธรรมนููญแห่ง่ ราชอาณาจักั รไทย และกฎหมายระหว่า่ งประเทศที่่�เกี่�ยวข้้อง 3. มุ่่�งเน้น้ การปรับั ปรุงุ พัฒั นา กระบวนการทำ�ำ งานและการให้บ้ ริกิ ารอย่า่ งต่อ่ เนื่อ่� ง ตลอดห่ว่ งโซ่ค่ ุณุ ค่า่ ตามหลักั การบริหิ ารงาน คุณุ ภาพทั่่ว� ทั้้ง� องค์ก์ ร เพื่อ�่ สร้า้ งทัศั นคติดิ ้า้ นคุณุ ภาพแก่บ่ ุคุ ลากรในองค์ก์ ร ส่ง่ ผลต่อ่ การสร้า้ งคุณุ ค่า่ เพิ่่ม� ให้แ้ ก่ล่ ูกู ค้า้ และสร้า้ ง การเจริญิ เติบิ โตในระยะยาวให้ก้ ับั องค์ก์ ร 4. สนับั สนุนุ ให้เ้ กิดิ การใช้ท้ รัพั ยากรอย่า่ งคุ้้�มค่า่ และมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ รวมถึึงการเลืือกใช้ว้ ัตั ถุดุ ิบิ ที่่เ� ป็น็ มิติ รต่อ่ สิ่ง� แวดล้อ้ มและสังั คม และการใช้พ้ ลัังงานอย่่างมีีประสิิทธิภิ าพ 5. ให้้ความสำำ�คัญั ต่่อความปลอดภัยั อาชีีวอนามัยั และสภาพแวดล้้อมในการทำำ�งานของพนัักงาน คู่่�ค้้าผู้้�มาติดิ ต่่อ เพื่อ่� ป้้องกััน การสููญเสียี ชีวี ิิต และทรััพย์์สิิน ตลอดจนการบาดเจ็็บหรืือเจ็บ็ ป่่วยจากการทำ�ำ งาน 6. บริิหารจััดการบุุคลากรด้ว้ ยความเป็็นธรรม ให้ค้ วามสำำ�คัญั ในการพัฒั นาความสามารถด้า้ นแรงงาน และส่่งเสริมิ ให้้เกิดิ ความ สุุขในการทำำ�งาน ซึ่่�งจะนำ�ำ ไปสู่�การขับั เคลื่อ่� นองค์์กรได้้อย่่างมีปี ระสิิทธิภิ าพ 7. ส่ง่ เสริิมการสร้้างสรรค์น์ วัตั กรรมด้้วยความรับั ผิิดชอบต่่อสัังคม และสิ่ง� แวดล้อ้ ม เพื่่�อเพิ่่ม� ประสิิทธิภิ าพและประสิิทธิิผล รวม ถึึงการสร้้างคุุณค่า่ ให้แ้ ก่่องค์ก์ รและผู้�มีสี ่่วนได้้เสีีย 8. สร้า้ งประโยชน์ท์ ี่่ย�ั่ง� ยืืนให้แ้ ก่ช่ ุมุ ชนและสังั คม พร้อ้ มทั้้ง� การให้ค้ วามสนับั สนุนุ และมีสี ่ว่ นร่ว่ มในกิจิ กรรมที่่เ� ป็น็ ไปเพื่อ่� สาธารณะ ประโยชน์์ และส่่งเสริมิ ให้้พนัักงานมีีจิติ สำำ�นึึกที่่�ดีตี ่อ่ ส่ว่ นรวม และการทำำ�ดีตี ่อ่ สังั คม 9. มุ่่�งมั่�นในการบริหิ ารจััดการความเสี่ย� งอย่า่ งรอบด้้าน เพื่่อ� เพิ่่ม� โอกาสในความสำ�ำ เร็็จ และลดโอกาสความล้้มเหลวหรืือสููญเสียี ให้้น้อ้ ยที่่�สุุด 23
3.2 การจััดการผลกระทบต่่อผู้้�มีีส่่วนได้เ้ สีียในห่่วงโซ่่คุุณค่่าของธุุรกิิจ 3.2.1 ห่ว่ งโซ่ค่ ุณุ ค่่าของธุรุ กิจิ กลุ่่�มบริิษััทให้้ความสำ�ำ คััญกัับการบริิหารจััดการตลอดห่่วงโซ่่คุุณค่่าของธุุรกิิจ (value chain) ตั้�้งแต่่กระบวนการต้้นน้ำำ�� จนถึึงปลายน้ำำ�� เพื่อ่� สร้า้ งคุณุ ค่า่ ให้ก้ ับั สินิ ค้า้ และบริกิ าร รวมทั้้ง� ตอบสนองความคาดหวังั ของผู้�มีสี ่ว่ นได้เ้ สียี ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งตลอด ห่่วงโซ่ค่ ุณุ ค่า่ ปจั จยั สำหรบั การผลติ กระบวนการผลติ สินคา้ การส่งมอบ โครงขา ยสญั ญาณ การตลาด การบรกิ ารหลังการขาย เทคโนโลยี จัดหาสนิ คา และสำรวจความพึงพอใจ และแรงงาน การใหบ รกิ าร ของลูกคา การทดสอบคุณภาพ ทั้้ง� นี้้ � ห่่วงโซ่่คุุณค่่าของบริษิ ััทฯ ประกอบด้ว้ ยกิิจกรรม ดัังนี้้� การบริิหารปััจจััยการ การปฎิิบััติิการ การพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ บริกิ ารหลัังการขาย กิิจกรรมสนัับสนุุ ผลิติ และบริิการ การขาย นอื่่�นๆ และช่่องทางการจััด จำำ�หน่่าย ก า ร จัั ด ห า อุุ ป ก ร ณ์์ (1) จำำ�หน่่ายอุุปกรณ์์ ก า ร ร่่ ว มมืื อ กัั บ คู่่�ค้้ า การให้้บริิการลููกค้้า การบริิหารทรััพยากร คอมพิิวเตอร์์ โปรแกรม ค อ มพิิ ว เ ต อ ร์์ เ ช่่ น ใ น ห ล า ก ห ล า ย ธุุ ร กิิ จ หลัังการขายเพื่่�อสร้้าง บุุคคลที่่�มีีความเป็็นธรรม คอมพิวิ เตอร์์ และอุปุ กรณ์์ คอมพิิวเตอร์์ ตั้�้งโต๊๊ะ อุุตสาหกรรม เพื่่�อพััฒนา ความพึึงพอใจ โดยมีีช่่อง แ ล ะ มุ่ � ง ส่่ ง เ ส ริิ ม พัั ฒ น า เครืือข่า่ ย การพัฒั นาระบบ โน้้ตบุ้้�ค พริ้้�นเตอร์์ และ สิินค้้าบริิการที่่�ตอบโจทย์์ ทางที่่�หลากหลาย เช่่น ศัักยภาพพนัักงาน เพื่�่อ งานเทคโนโลยีสี ารสนเทศ อุุปกรณ์์อื่่�นๆ ในลัักษณะ การใช้้ชีีวิิตและการทำำ� คอลเซ็็นเตอร์์และโซเชีีย สนัับสนุุนวิิสััยทััศน์์ในการ ท า ง ด้้ า น ค อ มพิิ ว เ ต อ ร์์ ขายเป็็นโครงการใหญ่่ ธุุรกิิจในยุคุ ดิจิ ิทิ ัลั ลมีเี ดีียต่า่ งๆ เติิบโตธุุรกิิจ มีีระบบค่่า (ธุุรกิิจไอที)ี ให้้แก่่หน่่วยงานรััฐบาล ตอบแทนและสวััสดิิการ และบริิษััทเอกชนขนาด ก า ร ส ร ร ห า พื้้� น ที่่� ตั้้� ง การรัักษามาตรฐาน ที่่�เหมาะสม สร้้างความ การจัดั หาอุปุ กรณ์โ์ ครง ใหญ่่ให้้บริิการเทคโนโลยีี สถานีีฐาน โดยประเมิิน แ ล ะ ค ว บ คุุ มค ว า ม ปลอดภััยและสุุขอนามััย ข่า่ ยและอุปุ กรณ์์สื่�่อสาร สารสนเทศแบบครบวงจร ผลกระทบต่่อชุุมชนและ ปลอดภััยในงานติิดตั้�้ง ที่่ด� ีใี นการทำำ�งาน เพื่อใหบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ทั้้�งการจำ�ำ หน่่ายอุุปกรณ์์ สิ่�งแวดล้้อม พร้้อมสร้้าง บ ริิ ก า ร อิิ น เ ท อ ร์์ เ น็็ ต ความเรว็ สูง ฮาร์์ดแวร์์ การพััฒนา สถานีีฐาน และโครงข่่าย ความเร็็วสููงของผู้้�รัับเหมา การกำำ�กัับดููแลกิิจการ ซอฟท์์แวร์์ และการให้้ ที่่�ทนทานต่่อภััยธรรมชาติิ ช่่วง ที่่�ดีีตามหลัักธรรมภิิบาล การขอรัับใบอนุุญาต บริิการบำ�ำ รุุงรัักษาทั่่�ว และการเปลี่ �ยนแปลงของ แ ล ะ จริิ ย ธ ร ร ม ใ น ก า ร ประกอบกิจิ การโทรคมนาคม ประเทศ สภาพภูมู ิอิ ากาศจากภาวะ ดำำ�เนิินธุุรกิจิ จากภาครััฐ(กสทช.) โลกร้้อน เช่่น ภััยน้ำำ��ท่่วม และพายุุ เพื่�่อให้้บริิการ ลูกู ค้า้ ได้้อย่่างต่อ่ เนื่่�อง 24
การบริหิ ารปััจจัยั การ การปฎิบิ ัตั ิิการ การพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ บริกิ ารหลัังการขาย กิิจกรรมสนัับสนุุ ผลิติ และบริกิ าร การขาย นอื่่�นๆ และช่่องทางการจัดั จำ�ำ หน่่าย (2) ในการให้้บริิการด้้าน เทคโนโลยีีสารสนเทศ และการให้้บริิการติิดตั้้�ง อิินเทอร์์เน็็ต บริิษััทฯ จ ะ ใ ห้้ พนัั ก ง า น ข อ ง บริษิ ััทฯ และว่่าจ้า้ งบุุคคล ภายนอก เป็น็ ผู้้�ดำ�เนินิ การ แ ต่่ สำำ� ห รัั บ ก า ร ว่่ า จ้้ า ง บุุคคลภายนอกนั้้�นมีีเป็็น ส่่วนน้้อย การให้บ้ ริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ความเร็็วสููงผ่่านระบบ โครงข่่ายใยแก้้วนำำ�แสง (Fiber optic) ในพื้้�นที่่� จัั ง ห วัั ด น ค ร ร า ชสีี ม า ขอนแก่่น เชีียงใหม่่ และ กรุุงเทพมหานคร ภายใต้้ แบรนด์์ “SINET” สำ�ำ หรับั กรุงุ เทพมหานครส่ว่ นใหญ่่ บริิษััทฯ จะให้้บริิการใน ตึึกเหมาและอาคารสููง เช่่น อพาร์์ทเม้้นท์์ และ หอพััก เป็น็ ต้น้ โครงการภาครัฐั บริษิ ัทั ฯ ส า ม า ร ถ ป ร ะ มูู ล ง า น โครงการจััดให้้มีีบริิการ อิินเตอร์์เน็็ตความเร็็วสููง ในพื้้น� ห่่างไกล (Zone C) กลุ่่�มที่่� 4 ภาคตะวัันออก เฉียี งเหนืือ ของสำำ�นัักงาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กิิ จ ก า ร ก ร ะ จ า ย เ สีี ย ง กิิ จ ก า ร โ ท ร ทัั ศน์์ แ ล ะ กิิ จ ก า ร โ ท ร คม น า คม แ ห่่ ง ช า ติิ มีี ก า ร ทำ�ำ สัั ญ ญ า เ ป็็ น ลายลัักษณ์์อัักษร 25
3.2.2 การวิเิ คราะห์ผ์ ู้้�มีีส่ว่ นได้้เสีียในห่่วงโซ่่คุุณค่่าของธุุรกิจิ บริษิ ัทั ฯให้ค้ วามสำำ�คัญั กับั ผู้�มีสี ่ว่ นได้เ้ สียี ที่่ส� ำำ�คัญั ทั้้ง� ภายในและภายนอกองค์ก์ รโดยพร้อ้ มรับั ฟังั ข้อ้ เสนอแนะและความคิดิ เห็น็ เพื่�่อนำ�ำ มาปรัับปรุุงและประยุุกต์์ใช้้ในการดำำ�เนิินธุุรกิิจทั้้�งนี้้� บริิษััทฯ เชื่�่อว่่าการตอบสนองต่่อความคาดหวััง ของผู้�มีสี ่่วนได้เ้ สียี อย่่างเหมาะสมจะมีสี ่ว่ นช่่วยในการส่ง่ เสริิมความยั่่ง� ยืืนในการดำ�ำ เนินิ ธุุรกิจิ ของกลุ่่�มบริิษัทั ผู้้�มีีส่่วนได้้ ช่่องทางสื่่�อสาร ความคาดหวััง การดำำ�เนิินการ เสีีย พนักั งาน - การประชุุมกัับผู้�บริหิ าร - การได้้รัับค่่าตอบแทนและ - การบริิหารจััดการค่่าตอบแทนและสวััสดิิการที่่� - บอร์์ดประชาสัมั พันั ธ์์ สวัสั ดิิการที่่�ดีแี ละเหมาะสม เหมาะสมและเป็็นธรรม ผู้้�ถืือหุ้้�น - เว็็ปไซต์์ / อีเี มล์์ / ไลน์์กลุ่่�ม - ความก้า้ วหน้า้ ในอาชีพี การ - ส่่งเสริิมให้้มีีโอกาสเติิบโตก้้าวหน้้าในสายงานที่่� - กล่่องรับั ฟังั ความคิิดเห็็น งาน สอดคล้อ้ งกัับความรู้้�ความสามารถ ลูกู ค้้า - การจัดั อบรมสััมมนา - การพััฒนาความรู้้� ทัักษะ - จััดอบรมและส่่งเสริิมการพััฒนาความรู้้�และ - การสำำ�รวจความพึึงพอใจ ความสามารถ ศักั ยภาพของพนักั งานอย่า่ งสม่ำ�ำ�เสมอ - คุุ ณ ภ า พชีี วิิ ตที่่� ดีี ใ น ที่่� - จัดั ให้ม้ ีีการฉีีดวัคั ซีีนป้อ้ งกัันโควิดิ 19 ทำำ�งาน - การปฏิบิ ัตั ิติ ่อ่ พนักั งานทุกุ คนด้ว้ ยความเท่า่ เทียี ม - การปฏิิบััติิอย่่างเท่่าเทีียม และเคารพสิิทธิิมนุษุ ยชนขั้น� พื้้�นฐาน ไม่่แบ่่งแยกเชื้อ� ชาติิ/สัญั ชาติิ - การประชุุมสามััญประจำ�ำ ปีี - การเติิบโตอย่่างมั่�นคงของ - บริิษััทฯ มีีนโยบายในการจ่า่ ยเงิินปันั ผลไม่น่ ้อ้ ย - รายงานประจำ�ำ ปีี (one rep- ผลการดำ�ำ เนินิ งาน กว่า่ ร้้อยละ 40 ของกำำ�ไรสุทุ ธิิ port) - การดำำ�เนิินธุุรกิิจตาม - ผลการดำ�ำ เนินิ งานของบริษิ ัทั ฯ ในช่ว่ ง 3 ปีที ี่่ผ� ่า่ น - แจ้ง้ ข่า่ วสารสนเทศผ่า่ นช่อ่ ง แนวทางการกำำ�กัับดููแล มามีีการเติบิ โตอย่่างต่อ่ เนื่่อ� ง ทางตลาดหลักั ทรััพย์์ กิิจการที่่�ดีี และพััฒนาธุุรกิิจ - บริษิ ัทั ฯ ยึึดมั่่น� การดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ ตามหลักั การการ - เว็็บไซต์์บริษิ ัทั เพื่อ�่ ความยั่่ง� ยืืน กำำ�กัับดููแลกิิจการที่่�ดีี รวมทั้้�งการเคารพสิิทธิิของ - ฝ่่ายนักั ลงทุนุ สััมพันั ธ์์ - การเปิิดเผยข้อ้ มููลที่่ถ� ูกู ต้้อง ผู้�ถืือหุ้�นที่่�จะได้้รัับข้้อมููลที่่�ถููกต้้อง ครบถ้้วน ตาม - กิิจกรรม Opp day ครบถ้้วน เพีียงพอต่่อการ หลักั เกณฑ์์ของตลาดหลักั ทรััพย์์ ตัดั สินิ ใจ และทัันเหตุุการณ์์ - จัดั กิจิ กรรมร่่วมกับั ลููกค้า้ - การส่่งมอบผลิิตภััณฑ์์และ - บริิษััทฯ ให้้ความสำ�ำ คััญกัับการพััฒนาคุุณภาพ - การประชุุมรัับทราบความ บริิการที่่�มีีคุุณภาพ และส่่ง สิินค้้าและบริิการอย่่างต่่อเนื่�่อง เพื่�่อตอบสนอง ต้้องการของลููกค้า้ มอบตามกำำ�หนดเวลาใน ความต้้องการของลููกค้้าที่่�หลายหลาย รวมทั้้�งยึึด - การสำำ�รวจความพึึงพอใจ ราคาที่่�เหมาะสม มั่�นในจรรยาบรรณการทำ�ำ ธุุรกิิจ โดยเก็็บรัักษา ของลููกค้้า - การรัักษาความลัับของ ความลัับทางธุรุ กิิจของลููกค้า้ - การให้้บริิการหลังั การขาย ลูกู ค้า้ - ใส่่ใจในการให้้บริิการ และสร้้างความร่่วมมืือ - การรับั ฟังั ความคิดิ เห็น็ และ - การติดิ ต่อ่ ติดิ ตามดูแู ล และ ในการพััฒนาระหว่่างกััน เพื่่�อสร้้างความสััมพัันธ์์ ข้้อร้้องเรีียนต่า่ งๆ การบริกิ ารหลังั การขายที่่ด� ีี ระยะยาว - มีีการสำ�ำ รวจความพึึงพอใจของลููกค้้าอย่่าง สม่ำ��ำ เสมอ รวมทั้้�งการตอบสนองจััดการแก้้ไขข้้อ ร้้องเรีียนอย่่างเร่่งด่่วน 26
ผู้้�มีีส่่วนได้้ ช่่องทางสื่่�อสาร ความคาดหวััง การดำำ�เนินิ การ เสีีย - การประเมิินผลงาน และ - การคัดั เลืือกและการปฏิบิ ัตั ิิ - ปฏิบิ ััติติ ่อ่ คู่่�ค้้าด้้วยความเท่่าเทีียมและเป็็นธรรม คู่่�ค้า้ การรัับฟัังความคิิดเห็็น รวม ที่่�เป็น็ ธรรม โปร่่งใส คำำ�นึึงถึึงผลประโยชน์ร์ ะยะยาวร่ว่ มกันั ทั้้�งเสนอแนะแนวทางการ - การปฏิิบัตั ิิตามเงื่อ� นไขการ - ดำ�ำ เนินิ การคัดั เลืือกคู่่�ค้า้ อย่า่ งซื่อ�่ สัตั ย์์ โปร่ง่ ใส ไม่่ ปรับั ปรุุง ค้า้ เรีียกร้อ้ งผลประโยชน์ท์ ี่่�มิคิ วรได้้ - การชำ�ำ ระเงินิ ตามกำ�ำ หนด - ยึึดมั่่�นและรัักษาความสััมพัันธ์์และการเป็็น - การเป็็นพันั ธมิิตรระยะยาว พันั ธมิติ รทางธุรุ กิจิ ระยะยาวโดยปฏิบิ ัตั ิติ ามกฎหมาย และเงื่อ� นไขการค้า้ ที่่�ตกลงกันั - จััดสััมมนาแลกเปลี่�ยนความรู้้� ความเข้้าใจ ระหว่า่ งกันั ชุมุ ชน - สำ�ำ รวจและรัับฟัังความ - การช่ว่ ยสนับั สนุนุ กิิจกรรม - สนับั สนุนุ การจ้า้ งงานภายในชุมุ ชน รวมทั้้ง� การ คิิดเห็็นและข้้อเสนอแนะ ในชุมุ ชน เช่่น ด้้านการศึึกษา จ้้างงานคนพิิการ - การเข้้าร่่วมกิิจกรรมเพื่�่อ และสิ่�งแวดล้อ้ ม - ให้้ความสำ�ำ คััญกัับการจััดการแก้้ไขข้้อร้้องเรีียน สัังคม - การจ้้างงาน อย่่างเร่ง่ ด่่วน (ถ้้ามี)ี - ไลน์ก์ ลุ่่�ม - ไม่่สร้้างผลกระทบทางลบ - ปฏิิบััติิตามนโยบายความรัับผิิดชอบต่่อสัังคม ต่อ่ ชุมุ ชน และการจััดการข้้อ ด้้วยการดููแลเอาใจใส่่ต่่อผู้�มีีส่่วนได้้เสีียทุุกกลุ่่�ม ร้อ้ งเรียี น และยึึดหลักั การบริิหารที่่ม� ีคี วามโปร่่งใส - มีีความโปร่่งใสในการ ดำ�ำ เนิินงาน 3.3 การจัดั การความยั่่�งยืืนในมิิติสิ ิ่่�งแวดล้อ้ ม 3.3.1 นโยบายและแนวปฏิิบััติิด้า้ นสิ่่�งแวดล้อ้ ม กลุ่่�มบริษิ ัทั ย่อ่ ยของบริษิ ัทั ได้แ้ ก่่ บริษิ ัทั ฮินิ ซิซิ ึึ (ประเทศไทย) จำ�ำ กัดั (มหาชน) ประกอบธุรุ กิจิ ผลิติ ชิ้้น� งานซิลิ ค์ส์ กรีนี เลเบล สติ๊ก� เกอร์ป์ ั๊๊ม� ตัดั ปั๊๊ม� ขึ้้น� รูปู ซึ่ง่� ส่ว่ นใหญ่ใ่ ช้เ้ ป็น็ ส่ว่ นประกอบของเครื่อ�่ งใช้ไ้ ฟฟ้า้ และชิ้น� ส่ว่ นอิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ โดยกลุ่่�ม บริิษััทเน้้นผลิิตสิินค้้าที่่�มีีคุุณภาพคำำ�นึึงถึึงความสำ�ำ คััญของการใช้้ทรััพยากรธรรมชาติิ ตลอดจนผลกระทบต่่อสิ่�งแวดล้้อม และสัังคม เพื่่�อการเจริิญเติิบโตอย่่างยั่�งยืืนกลุ่่�มบริิษััทมุ่�งเน้้นการพััฒนาและการบริิหารจััดการด้้านสิ่�งแวดล้้อมอย่่างมีี ประสิิทธิิภาพตามมาตรฐาน ISO 14001:2015 และมุ่�งมั่�นในการพััฒนาและปรัับปรุุงด้้านผลกระทบต่่อสิ่�งแวดล้้อม อย่่างต่อ่ เนื่�อ่ ง จนผ่า่ นเกณฑ์์กำำ�หนดอุตุ สาหกรรมสีเี ขีียวระดัับที่่� 3 (Green System) จากกระทรวงอุตุ สาหกรรม นอกจากนี้้� การได้้รัับคััดเลืือกให้้อยู่�ในบััญชีีคู่่�ค้้า (Approved Supplier List) ของกลุ่่�มลููกค้้าบริิษััทข้้ามชาติิชั้�นนำำ� ระดัับโลก กลุ่่�มบริิษััทจึึงต้้องปฏิิบััติิให้้สอดคล้้องกัับมาตรฐานทางด้้านสิ่�งแวดล้้อมที่่�ลููกค้้ากำ�ำ หนด โดยกลุ่่�มบริิษััทได้้รัับ การยอมรับั จากกลุ่่�มลูกู ค้า้ บริษิ ัทั ข้า้ มชาติชิั้น� นำำ� สำำ�หรับั ความร่ว่ มมืือในการเข้า้ ร่ว่ มกิจิ กรรมด้า้ นการประเมินิ และปรับั ปรุงุ คุณุ ภาพสิ่่ง� แวดล้้อม ซึ่�่งกลุ่่�มบริิษััทได้ป้ ฏิบิ ัตั ิติ ามข้้อกำ�ำ หนดด้า้ นสิ่�งแวดล้อ้ มของลูกู ค้า้ อย่่างต่อ่ เนื่�อ่ ง 27
บริิษััทฯ และบริิษััทย่่อยในฐานะเป็็นส่่วนหนึ่่�งของสัังคมไทยได้้ให้้ความสำ�ำ คััญต่่อความรัับผิิดชอบต่่อสัังคมในการดููแล รัักษาสิ่ง� แวดล้อ้ ม โดยดำำ�เนิินการและควบคุุมให้้การดำ�ำ เนินิ งานของกลุ่่�มบริิษััท มีีการปฏิบิ ััติิตามกฎหมายที่่�เกี่�ยวข้อ้ งกัับ การดูแู ลรักั ษาสิ่ง� แวดล้อ้ มอย่า่ งเคร่ง่ ครัดั โดยมีวี ัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่อ�่ การดูแู ลรักั ษา และหลีกี เลี่ย� งการทำำ�ลายสิ่ง� แวดล้อ้ ม จัดั หา ระบบป้้องกัันรัักษาสิ่�งแวดล้้อมโดยกำ�ำ หนดเป็็นแนวทางปฏิิบััติิ นอกจากนี้้� บริิษััทฯ ได้้รัับการรัับรองมาตรฐานเกี่ �ยวกัับ สิ่่ง� แวดล้้อมจากสถานบันั ซึ่่ง� เป็็นที่่�ยอมรัับระดับั ประเทศและในระดัับสากล อาทิิ - การรับั รองระบบการบริหิ ารจััดการด้้านสิ่ง� แวดล้อ้ ม ISO 14001 : 2015 - การรัับรองอุตุ สาหกรรมสีีเขียี วระดัับ 3 (Green System) จากกระทรวงอุตุ สาหกรรม - การรับั รองระบบการจัดั การด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ ม และการจัดั การสารเคมีอี ัันตราย จากบริิษัทั ลูกู ค้้า - บริิษัทั ได้ร้ ับั รางวัลั Best Improvement Level จากการเข้้าร่ว่ มกิิจกรรม Green Excellent Activity Y 2018 ของลูกู ค้้า และมีีการติดิ ตามผลการดำ�ำ เนินิ งานทุกุ ปีี เพื่อ่� เป็็นการรักั ษาระบบการจัดั การด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ มและสารเคมีี ให้้ยั่�งยืืนสืืบไป แนวปฏิบิ ัตั ิดิ ้้านสิ่ง� แวดล้อ้ มของกลุ่่�มบริิษััทมีดี ังั นี้้� 1) สนัับสนุุน ส่่งเสริิม ให้้ความรู้้�กัับผู้�ปฏิิบััติิงานและผู้�มีีส่่วนได้้เสีียเกี่�ยวกัับผลกระทบต่่อสิ่�งแวดล้้อม การใช้้ทรััพยากร ที่่ม� ีจี ำำ�กัดั ให้เ้ กิิดประโยชน์์สููงสุดุ การใช้พ้ ลังั งานสะอาดหรืือพลัังงานทดแทน รวมทั้้�งการลดการเกิิดขยะหรืือของเสีีย และให้้ความร่ว่ มมืือในการกำำ�จััดขยะหรืือของเสีียด้้วยวิธิ ีกี ารที่่ถ� ูกู ต้อ้ ง 2) ปฏิบิ ัตั ิติ ามกฎหมายรวมทั้้ง� ข้อ้ กำำ�หนดของผู้�มีสี ่ว่ นได้เ้ สียี ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งด้า้ นการบริหิ ารจัดั การสิ่ง� แวดล้อ้ ม อย่า่ งเคร่ง่ ครัดั 3) การประเมินิ ความเสี่ย� งและผลกระทบด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ ม สุขุ ภาพและความปลอดภัยั ก่อ่ นจะลงทุนุ หรืือร่ว่ มทุนุ ในกิจิ การอื่น�่ โดยบริษิ ััทฯ ได้ย้ ึึดหลัักการดำำ�เนินิ กิิจการด้ว้ ยความใส่ใ่ จและรัักษาสิ่�งแวดล้อ้ ม 4) กำ�ำ หนดแนวทางในการใช้้ทรัพั ยากรธรรมชาติิ วััสดุุ หรืือ อุุปกรณ์์ต่า่ งๆ อย่า่ งมีปี ระสิิทธิภิ าพและประสิทิ ธิผิ ล รวมทั้้ง� ดำำ�เนิินโครงการหรืือกิิจกรรมลดการเกิิดขยะหรืือของเสีียในกระบวนการผลิิต และบริิเวณสำำ�นัักงาน และให้้ความ ร่่วมมืือในการแยกขยะ กำ�ำ จััดขยะหรืือของเสีียด้้วยวิธิ ีกี ารที่่�ถููกต้อ้ ง 5) มีีระบบจััดการขยะ 3 ประเภท ได้้แก่่ ขยะทั่่�วไป ขยะรีีไซเคิิล และขยะอัันตราย ให้้เป็็นไปตามที่่�กฎหมายกำำ�หนด รวมทั้้ง� มีกี ารปฏิบิ ัตั ิิตามข้้อกำ�ำ หนดของหน่่วยงานราชการ ดัังนี้้� 1.1 ขอเลขประจำำ�ตััว 13 หลักั สำำ�หรัับผู้้�ก่อ่ กำ�ำ เนิดิ ของเสีียอันั ตราย 1.2 ขออนุญุ าต สก.2 เพื่�อ่ นำำ�สิ่่�งปฏิิกููลหรืือวััสดุทุ ี่่ไ� ม่่ใช้้แล้ว้ ออกนอกบริเิ วณโรงงาน 1.3 ขออนุญุ าต สก.1 เพื่่อ� ขยายระยะเวลาในการเก็็บกัักสิ่�งปฏิิกูลู หรืือวััสดุทุ ี่่�ไม่ใ่ ช้แ้ ล้้วในบริิเวณโรงงาน 1.4 การแจ้ง้ สก.3 เกี่�ยวกัับการแจ้้งรายละเอีียดสิ่่�งปฏิิกูลู หรืือวััสดุทุ ี่่�ไม่ใ่ ช้้แล้้ว 1.5 ขออนุุญาต อภ.2 ใบอนุญุ าตประกอบกิิจการที่่เ� ป็น็ อันั ตรายต่่อสุขุ ภาพ 1.6 มีีการจัดั จ้้างผู้�เก็บ็ ขนขยะทั่่�วไป ที่่ไ� ด้ร้ ับั อนุญุ าตตามกฎหมาย 6) จััดให้้มีีการตรวจสอบสภาพแวดล้้อมในการทำ�ำ งานปีีละ 2 ครั้้�ง เช่่น การตรวจวััดค่่าความเข้้มข้้นของสารเคมีี แสง เสียี ง ปล่อ่ งระบายอากาศ และน้ำ�ำ�ทิ้้�ง 7) ดำ�ำ เนินิ การบำำ�บัดั น้ำำ�� ก่่อนปล่่อยลงสู่่�ท่่อระบายน้ำ�ำ�ส่่วนกลาง 8) กำ�ำ หนดจุดุ ทิ้้ง� ขยะให้พ้ นัักงาน โดยการแบ่ง่ แยกเป็็นสััดส่่วนชัดั เจน เช่่น ขยะทั่่ว� ไป ขยะอัันตราย และ ขยะ Recycle และจัดั ให้้มีถี าดรองตะแกรงเพื่่�อป้อ้ งการหกรั่ว� ไหล 28
\" 9) จััดให้้มีีการประเมิินค่่าปริิมาณของสารเคมีีในวััตถุุดิิบ หมึึกพิิมพ์์ และอื่�่นๆ และดำำ�เนิินการให้้ถููกต้้องตามที่่� กฎหมายกำำ�หนด ก่อ่ นนำ�ำ สู่่�กระบวนการผลิติ เพื่อ่� เป็น็ การยืืนยันั ไม่ม่ ีสี ารเคมีอี ันั ตรายปนเปื้อ้� นเกินิ กำำ�หนดในผลิติ ภัณั ฑ์์ ที่่�ส่่งไปยัังลููกค้า้ ผู้�ใช้้งาน 10) สนัับสนุุนการใช้้ทรััพยากรธรรมชาติิอย่่างอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เช่่น การประหยััดไฟฟ้้า ลดการใช้้กระดาษ ประหยััดน้ำำ�� เป็็นต้้น 3.3.2 ผลการดำำ�เนิินงานด้้านสิ่่ง� แวดล้้อม กลุ่่�มบริิษััทตระหนัักถึึงการดำำ�เนิินงานควบคู่่�กัับการบริิหารจััดการทรััพยากร และสิ่�งแวดล้้อมอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ โดยจััดตั้�้งคณะทำ�ำ งานเพื่�่อรณรงค์์ ประชาสััมพัันธ์์การตระหนัักรู้�เกี่�ยวกัับคุุณค่่าของทรััพยากรและสิ่�งแวดล้้อม รวมถึึง กำำ�หนดกิิจกรรมที่่�เกี่�ยวข้อ้ ง ทั้้ง� ภายในและภายนอกองค์ก์ ร กิจิ กรรมการลดการใช้้กระดาษ บริษิ ัทั ฯ ได้ก้ ำ�ำ หนดกิจิ กรรมการลดการใช้ก้ ระดาษภายในองค์ก์ ร เพื่อ่� ส่ง่ เสริมิ ให้พ้ นักั งานใช้ก้ ระดาษอย่า่ งคุ้้�มค่า่ ใช้ก้ ระดาษ สองด้้าน และสร้้างจิิตสำ�ำ นึึกการลดการทำ�ำ ลายป่่าไม้้ รวมทั้้�งลดค่่าใช้้จ่่ายขององค์์กร โดยได้้จััดกิิจกรรมการแต่่งคำ�ำ ขวััญ ประกวด และแข่ง่ ขันั การลดการใช้้กระดาษของแต่่ละหน่่วยงาน ทั้้�งนี้้� พนักั งานที่่ช� นะเลิิศการประกวดคำ�ำ ขวัญั เป็็นพนักั งานจากแผนกควบคุมุ คุุณภาพ ซึ่่ง� มีเี นื้้อ� หาว่า่ ป่า่ ไม้ม้ ีีคุุณ เกื้้อ� หนุุนสรรพชีวี ิติ บริิโภคอย่่างรู้�้ คิดิ ปลููกจิติ ที่่�สำำ�นึกึ \" ผลการดำำ�เนินิ การกิจิ กรรมลดการใช้ก้ ระดาษ ผลการดำ�ำ เนิินการกิิจกรรมลดการใช้ก้ ระดาษ จากจำำ�นวน 2 จุุดวางเครื่�่องพิิมพ์์ของบริิษััท และเครื่�่องพิิมพ์์ขนาดเล็็กที่่�ใช้้ตามห้้องทำำ�งาน ที่่�เข้้าร่่วมกิิจกรรมสามารถ ช่ว่ ยลดปริมิ าณการใช้ก้ ระดาษได้้ และโดยภาพรวมจากการจัดั กิจิ กรรมช่ว่ งไตรมาสที่่� 4 ปีี 2564 บริษิ ัทั ฯ สามารถประหยัดั ค่่าใช้้จ่า่ ยเกี่ย� วกับั กระดาษได้้ 1,880 บาท 29
การลดการใช้ไ้ ฟฟ้้า บริิษััท ไซแมท เทคโนโลยีี จำำ�กััด (มหาชน) โดยสำ�ำ นัักงานใหญ่่ ดำำ�เนิินการลดการใช้้ไฟฟ้้าอย่่างต่่อเนื่�่องผ่่านกิิจวััตร การทำ�ำ งาน อาทิิ การปิิดเครื่�่องปรัับอากาศก่่อนพัักกลางวัันและก่่อนเลิิกงาน 15 นาทีี การปิิดไฟฟ้้าช่่วงพัักกลางวััน รวมทั้้�งการปิิดไฟฟ้้า เครื่�่องคอมพิิวเตอร์์ เครื่่�องปรัับอากาศทุุกครั้้�งที่่�ไม่่ได้้ใช้้งาน ซึ่�่งจากข้้อมููลค่่าไฟฟ้้าของบริิษััทฯ ในปีี 2563 เท่า่ กัับ 868,761.77 บาท และปีี 2564 เท่่ากับั 713,194.54 บาท สามารถลดค่่าไฟฟ้้าได้้เป็น็ จำ�ำ นวนเงิิน 155,567.23 บาท การจััดการเพื่่�อลดปัญั หาก๊า๊ ซเรืือนกระจก บริิษััทให้้ความสำ�ำ คััญกัับการจััดการเพื่่�อลดปััญหาก๊๊าซเรืือนกระจก โดยที่่�กลุ่่�มบริิษััทมีีกิิจกรรมที่่�อาจมีีส่่วนช่่วยลด ผลกระทบต่่อปริิมาณการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก เช่่น การลดการใช้้ไฟฟ้้า การลดการใช้้กระดาษ เป็น็ ต้้น อย่า่ งไรก็ต็ าม บริิษััทอยู่�ระหว่่างเริ่ม� ต้น้ การพิิจารณาศึึกษาข้้อมููล เก็็บข้อ้ มูลู เพื่่�อกำ�ำ หนดเป้า้ หมาย แนวทางและกลยุทุ ธ์เ์ พื่่�อมีสี ่่วนช่่วย ในการลดปััญหาก๊๊าซเรืือนกระจก และจะดำ�ำ เนิินการให้้มีีการประเมิินผลการลดปริิมาณก๊๊าซเรืือนกระจกและเปิิดเผย ต่่อผู้�ลงทุนุ ให้ท้ ราบต่่อไป ทั้้ง� นี้้� จากการลดใช้ก้ ระดาษในการจัดั ประชุุมวิสิ ามัญั ผู้�ถืือหุ้�น 2 ครั้้�ง ในปีี 2564 สามารถแสดงให้เ้ ห็็นว่า่ นอกจากจะเป็น็ การประหยัดั ทรััพยากรกระดาษซึ่�่งเป็น็ ค่่าใช้จ้ ่่ายของบริิษัทั ฯ แล้้ว ยัังเป็็นการลดปริมิ าณคาร์์บอนไดออกไซด์ซ์ ึ่�่งเป็็นหนึ่ง่� ในก๊า๊ ซเรืือนกระจก “GHG” อันั เป็น็ สาเหตุขุ องปัญั หาภาวะเรืือนกระจก (Greenhouse Effect) อีกี ด้ว้ ย ดังั ข้อ้ มูลู ต่อ่ ไปนี้้� การคำ�ำ นวณกระดาษที่่�ใช้้สำำ�หรัับหนัังสืือเชิิญประชุุม แบบที่่� 1 : พิมิ พ์์เอกสาร ครั้้�งที่�จ่ ัดั ประชุุม กระดาษที่่ใ� ช้ต้ ่อ่ ชุุด จำ�ำ นวนผู้้�ถืือหุ้้�น รวมแผ่น่ คิดิ เป็็น (รีีม) ครั้้�งที่่� 1/2564 (แผ่น่ ) (ราย) 162,715 (1 รีีม = 500 แผ่่น) ครั้้ง� ที่่� 2/2564 35 4,649 227,955 325.43 35 6,513 รวม 455.91 781.34 30
การคำำ�นวณกระดาษที่่�ใช้ส้ ำ�ำ หรับั หนัังสืือเชิิญประชุมุ แบบที่่� 2 : Sealer ครั้้ง� ที่�่จัดั ประชุุม กระดาษที่่ใ� ช้ต้ ่อ่ ชุุด จำำ�นวนผู้้�ถืือหุ้้�น รวมแผ่่น คิดิ เป็็น (รีีม) ครั้้�งที่่� 1/2564 (แผ่่น) (ราย) 9,298 (1 รีีม = 500 แผ่น่ ) ครั้้�งที่่� 2/2564 2 4,649 13,026 รวม 18.60 2 6,513 26.05 44.65 ดัังนั้้�น การเลืือกส่่งหนัังสืือเชิิญประชุุมวิิสามััญผู้�ถืือหุ้�น ประจำำ�ปีี 2564 สามารถช่่วยประหยััดกระดาษได้้ เท่่ากัับ 781.34 – 44.65 = 736.69 รีีม กระดาษ 1 ตััน ใช้ต้ ้น้ ไม้้ 17 ต้้น *ข้อ้ มููลจากกรมส่ง่ เสริมิ คุุณภาพสิ่่ง� แวดล้้อม กระดาษ A4 1 รีีม = 2.5 kg กระดาษ A4 1 รีีม ใช้้ต้้นไม้้ = 0.04 ต้้น จากวิิธีกี ารส่่งหนังั สืือเชิญิ ประชุมุ แบบ Sealer ลดกระดาษ A4 = 736.69 รีีม ลดการตััดต้้นไม้้ = 29.47 ต้น้ ต้น้ ไม้้ 1 ต้้นดููดซัับคาร์์บอนไดออกไซด์์ \"CO2\" = 15 kg ต่อ่ ปีี ลดกระดาษ A4 ได้้ 736.69 รีีม = ลดการตัดั ต้น้ ไม้้ 29.47 ต้น้ = 442.01 kg ต่อ่ ปีี จึงึ ลด CO2 3.4 การจัดั การความยั่่�งยืนื ในมิติ ิิสัังคม 3.4.1 นโยบายและแนวปฏิิบัตั ิิด้้านสัังคม บริิษััทฯ ได้้มีีการกำำ�หนดนโยบายและแนวทางปฏิิบััติิด้้านสัังคม เช่่น นโยบายความรัับผิิดชอบต่่อสัังคม การประกอบ กิิจการด้้วยความเป็็นธรรม การเคารพสิิทธิิมนุุษยชน การปฏิิบััติิต่่อแรงงานอย่่างเป็็นธรรม ความรัับผิิดชอบต่่อลููกค้้า การดูแู ลรัักษาสิ่�งแวดล้้อม การร่ว่ มพััฒนาชุุมชนหรืือสังั คม จรรยาบรรณและจริิยธรรมในการดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ นโยบายการ ต่อ่ ต้า้ นทุจุ ริติ คอร์ร์ ัปั ชั่น� นโยบายการกำ�ำ กับั ดูแู ลกิจิ การที่่ด� ีี และนโยบายการสรรหารวมถึึงการฝึกึ อบรมและพัฒั นาพนักั งาน เป็น็ ต้น้ นอกจากนี้้� กลุ่่�มบริษิ ัทั ยังั ได้ย้ ึึดหลักั การปฏิบิ ัตั ิติ ามกฎหมายที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั การจัดั การด้า้ นสังั คมในการดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ รวมทั้้ง� นโยบายและแนวปฏิบิ ััติดิ ้า้ นสิิทธิมิ นุษุ ยชน และการปฏิิบััติติ ่่อแรงงานอย่่างเป็็นธรรม การประกอบกิิจการด้ว้ ยความเป็น็ ธรรม บริษิ ัทั ฯ และบริษิ ัทั ย่อ่ ยมุ่�งเน้น้ ที่่จ� ะประกอบธุรุ กิจิ ด้ว้ ยความซื่อ�่ สัตั ย์ส์ ุจุ ริติ เป็น็ ธรรม มีจี รรยาบรรณ และตั้ง�้ มั่น� ที่่จ� ะแข่ง่ ขันั ทางการค้้าตามหลัักจริิยธรรมในการประกอบการค้้า กฎหมายและหลัักการการแข่่งขัันทางการค้้าอย่่างเสมอภาคกััน รวมถึึงปฏิเิ สธพฤติิกรรมใดๆ ก็็ตามที่่ข� ัดั ขวางการแข่่งขัันอย่่างเป็็นธรรม เช่น่ การแสวงหาข้อ้ มูลู ที่่�เป็็นความลับั ของคู่�แข่ง่ ทางการค้้า การเรีียก รัับ และไม่่ให้้ผลประโยชน์์ใดๆ ที่่�ไม่่สุุจริิตทางการค้้า เป็็นต้้น นอกจากนี้้� บริิษััทฯ ยัังได้้เคารพ ต่อ่ สิิทธิใิ นทรััพย์์สินิ ทางปััญญาของผู้�อื่น� โดยมีีนโยบายให้บ้ ุุคลากรปฏิบิ ัตั ิติ ามกฎหมายหรืือข้อ้ กำ�ำ หนดเกี่ย� วกัับสิทิ ธิใิ น 31
ทรัพั ย์์สินิ ทางปััญญา อาทิิ การใช้โ้ ปรแกรมคอมพิวิ เตอร์ท์ ี่่ม� ีลี ิิขสิทิ ธิ์ถ� ููกต้อ้ งตามกฎหมาย เป็็นต้้น อีีกทั้้�งมีีโครงการรณรงค์์ การส่่งเสริมิ และปลููกจิติ ใต้ส้ ำำ�นึึกให้้แก่่บุุคลากรในทุกุ ระดัับชั้�นให้้เกิิดความรัับผิดิ ชอบต่่อสัังคมด้้วย นโยบายและแนวปฏิิบัตั ิดิ ้า้ นสิิทธิมิ นุษุ ยชน บริิษััทฯ และบริิษััทย่่อยมีีนโยบายสนัับสนุุนและเคารพการปกป้้องสิิทธิิมนุุษยชน โดยการปฏิิบััติิต่่อผู้�ที่�มีีส่่วนเกี่�ยวข้้อง ไม่่ว่า่ จะเป็น็ พนักั งาน ชุมุ ชน และสัังคมรอบข้้างด้ว้ ยความเคารพในคุุณค่่าของความเป็น็ มนุษุ ย์์ คำำ�นึึงถึึงความเสมอภาค และเสรีีภาพที่่เ� ท่า่ เทีียมกััน ไม่่ละเมิิดสิิทธิิขั้น� พื้้�นฐาน และไม่เ่ ลืือกปฏิิบััติิไม่่ว่า่ จะเป็น็ ในเรื่อ�่ งของเชื้�อชาติิ สััญชาติิ ศาสนา ภาษา สีีผิิว เพศ อายุุ การศึึกษา สภาวะทางร่า่ งกาย หรืือสถานะทางสัังคม รวมถึึงจัดั ให้ม้ ีีการดููแลไม่ใ่ ห้้ธุุรกิิจของบริษิ ััทฯ บริิษััทย่่อย และ/หรืือบริิษััทร่่วมเข้้าไปมีีส่่วนเกี่�ยวข้้องกัับการละเมิิดสิิทธิิมนุุษยชน เช่่น การใช้้แรงงานเด็็ก และการคุกุ คามทางเพศ เป็น็ ต้น้ นอกจากนี้้� บริษิ ัทั ฯ ได้ส้ ่ง่ เสริมิ ให้ม้ ีกี ารเฝ้า้ ระวังั การปฏิบิ ัตั ิติ ามข้อ้ กำำ�หนดด้า้ นสิทิ ธิมิ นุษุ ยชน โดยจััดให้้มีีการมีีส่่วนร่่วมในการแสดงความคิิดเห็็น และช่่องทางในการร้้องเรีียนสำำ�หรัับผู้�ที่�ได้้รัับความเสีียหายจากการ ถูกู ละเมิิดสิิทธิิอันั เกิดิ จากการดำ�ำ เนินิ ธุุรกิิจของบริิษัทั ฯ และดำำ�เนินิ การเยีียวยาตามสมควร คณะกรรมการ ผู้�บริิหารและพนัักงาน ตระหนัักถึึงความสำำ�คััญและเคารพต่่อสิิทธิิมนุุษยชนขั้�นพื้้�นฐานในทุุกด้้าน และ ปฏิิบััติติ ามกฎหมายที่่เ� กี่ย� วข้อ้ ง ซึ่ง่� รวมถึึง 1) การเคารพสิทิ ธิิ เสรีภี าพ ที่่จ� ำำ�เป็น็ ขั้น� พื้้น� ฐานที่่ท� ุกุ คนพึึงได้ร้ ับั อย่า่ งเสมอภาค เท่า่ เทียี ม และเป็น็ ธรรม โดยไม่แ่ บ่ง่ แยก ความแตกต่่างด้้านเชื้�อชาติิ ชาติิกำำ�เนิิด ศาสนา วััฒนธรรม สีีผิิว ภาษา วิิถีีชีีวิิต เพศ อาชีีพ รููปลัักษณ์์ภายนอก ถิ่่น� ที่่�อยู่� ความสมบููรณ์ข์ องร่า่ งกาย ความแตกต่่างของฐานะทางเศรษฐกิจิ การเมืืองและสังั คม 2) ไม่เ่ ลืือกปฏิบิ ัตั ิแิ ละมีอี คติิตามปัจั จัยั ด้า้ นความแตกต่่างของแต่ล่ ะบุคุ คล เช่่น เชื้�อชาติิ สัญั ชาติิ ศาสนา ความคิิดเห็็น ทางการเมืือง เป็น็ ต้น้ ทั้้ง� ในด้า้ นการจ้า้ งงาน การจ่า่ ยค่า่ ตอบแทน การเลื่อ�่ นตำำ�แหน่ง่ การฝึกึ อบรมและพัฒั นาพนักั งาน 3) ส่ง่ เสริมิ สนับั สนุนุ และให้โ้ อกาสการจ้า้ งงานผู้้�พิกิ าร ผู้้�สูงู อายุุ ผู้้�พ้น้ โทษที่่ม� ีคี วามสามารถ เพื่อ่� สร้า้ งอาชีพี และรายได้ท้ ี่่� มั่่�นคง 4) ให้้โอกาสความเท่่าเทีียมกัับแรงงานทุุกชาติิทุุกภาษาในทุุกด้้าน เช่่น สวััสดิิการและการจ่่ายค่่าตอบแทน การเข้้าถึึง ข้อ้ มููลและการจััดทำำ�เอกสารเผยแพร่่ในภาษาที่่ส� ามารถทำ�ำ ความเข้้าใจได้้ 5) การปฏิบิ ัตั ิิหน้้าที่่�ด้ว้ ยความระมัดั ระวััง เพื่อ�่ ป้้องกัันการละเมิิดสิิทธิิมนุษุ ยชนที่่�อาจเกิิดขึ้้�น 6) ไม่ส่ นัับสนุนุ การใช้แ้ รงงานที่่�ผิิดกฎหมาย หรืือการใช้แ้ รงงานเด็ก็ 7) สื่�อ่ สาร เผยแพร่่ ให้้ความรู้้� ทำำ�ความเข้้าใจ และสนัับสนุุนผู้�ที่�เกี่ย� วข้้องในห่่วงโซ่่คุุณค่่า ในการมีีส่ว่ นร่่วมการดำ�ำ เนิิน ธุรุ กิิจอย่่างมีีคุุณธรรม เคารพต่่อสิทิ ธิิมนุษุ ยชน และปฏิบิ ััติติ ามหลัักสิิทธิมิ นุุษยชน 8) ให้้ความเป็น็ ธรรมและคุ้้�มครองบุุคคลที่่แ� จ้ง้ เรื่อ่� งการละเมิิดสิทิ ธิิมนุุษยชนที่่�เกี่�ยวข้้องในองค์์กร แนวปฏิบิ ััติิต่อ่ แรงงานอย่า่ งเป็็นธรรม บริิษััทเชื่�่อมั่ �นว่่าพนัักงานเป็็นทรััพยากรที่่�มีีค่่าสููงสุุดของบริิษััท จึึงได้้ส่่งเสริิมให้้พนัักงานพััฒนาตนเองอย่่างต่่อเนื่�่องเพื่่�อ เพิ่่ม� ความรู้้�และทัักษะในการทำำ�งาน บริษิ ัทั ยัังให้ผ้ ลตอบแทนที่่�เหมาะสมและเป็็นธรรมแก่่พนัักงานโดยเปรีียบเทีียบกัับ การจ่า่ ยผลตอบแทนของบริษิ ัทั อื่น่� ที่่ม� ีขี นาดและลักั ษณะธุรุ กิจิ ใกล้เ้ คียี งกันั นอกจากนี้้บ� ริษิ ัทั ยังั ได้จ้ ัดั สรรสวัสั ดิกิ ารต่า่ งๆ ที่่เ� พียี งพอ และสอดคล้อ้ งกัับสถานการณ์์ที่่เ� ป็็นจริงิ ในปีี 2563 บริษิ ััทได้ด้ ำ�ำ เนิินการเรื่�อ่ งที่่�สำำ�คัญั ที่่�เกี่�ยวข้อ้ งกับั พนัักงาน ดัังนี้้� 32
1. นอกจากบริิษััทได้้จ่่ายเงิินเดืือนและโบนััสใกล้้เคีียงกัับบริิษััทอื่�่น ที่่�มีีขนาดและลัักษณะธุุรกิิจใกล้้เคีียงกัันแล้้ว ยัังได้้ จัดั ให้ม้ ีกี องทุนุ สำ�ำ รองเลี้ย� งชีพี แก่พ่ นักั งานทุกุ คน และมีกี ารประกันั อุบุ ัตั ิเิ หตุแุ ละประกันั ชีวี ิติ แบบกลุ่่�ม ให้ก้ ับั พนักั งาน ที่่�ต้อ้ งออกไปให้บ้ ริิการลููกค้้า 2. จัดั ให้้พนัักงานได้ร้ ัับการอบรมในหลักั สููตรต่่างๆ ทั้้�งในและต่า่ งประเทศเพื่�่อเพิ่่�มความรู้้� และทัักษะในการปฏิบิ ัตั ิงิ าน ส่ง่ ผลให้บ้ ริษิ ัทั มีศี ักั ยภาพในการแข่ง่ ขันั เพิ่่ม� สูงู ขึ้น� โดยมีพี นักั งานที่่ไ� ด้เ้ ข้า้ อบรมทั้้ง� หมดรวมมากกว่า่ ครึ่ง่� หนึ่ง่� ของจำำ�นวน พนัักงานทั้้ง� หมด 3. ได้้จััดอบรมแนะนำ�ำ บริิษััทสำำ�หรัับพนัักงานใหม่่ทุุกคน เพื่�่อให้้ทราบถึึงนโยบาย วััฒนธรรมองค์์กร และแนวทาง การปฏิิบััติงิ าน ความรัับผิดิ ชอบต่่อลููกค้้า บริษิ ัทั ตระหนักั ถึึงความสำำ�คัญั ของลูกู ค้า้ ที่่ม� ีตี ่อ่ ความสำ�ำ เร็จ็ ทางธุรุ กิจิ ของบริษิ ัทั บริษิ ัทั จึึงได้จ้ ัดั หาอุปุ กรณ์ฮ์ าร์ด์ แวร์ต์ ่า่ งๆ ที่่ห� ลากหลาย เช่น่ คอมพิวิ เตอร์ม์ ืือถือื อุปุ กรณ์บ์ าร์โ์ ค้ด้ และอุปุ กรณ์อ์ ื่น�่ ๆ ซึ่ง่� เกี่ย� วข้อ้ งกับั ระบบจัดั เก็บ็ และจัดั การข้อ้ มูลู ในองค์ก์ ร ที่่�มีีคุุณภาพสููงเพื่�อ่ ให้้ลูกู ค้า้ สามารถเลืือกใช้ไ้ ด้ต้ ามความต้อ้ งการและเหมาะสมกัับระบบงานของลูกู ค้า้ บริิษัทั ยัังได้จ้ ัดั ให้้มีบี ริกิ ารในรูปู แบบต่่าง ๆ เช่่น การให้เ้ ช่า่ อุุปกรณ์์ และการทำ�ำ สััญญาบำำ�รุงุ รัักษาเป็็นรายปีี เป็็นต้้น เพื่�่อให้้ ลูกู ค้า้ ได้ร้ ับั ประโยชน์จ์ ากบริษิ ัทั มากที่่ส� ุดุ นอกจากนี้้ย� ังั ได้อ้ อกแบบและพัฒั นาซอฟท์แ์ วร์ท์ ี่่ใ� ช้ก้ ับั เครื่อ�่ งคอมพิวิ เตอร์ม์ ืือถือื และอุปุ กรณ์อ์ ื่น่� ๆที่่เ� กี่ย� วข้อ้ ง ให้ส้ ะดวกในการใช้้ และเหมาะสมกับั การปฏิบิ ัตั ิงิ านของลูกู ค้า้ และสามารถเชื่อ�่ มต่อ่ กับั ระบบ สารสนเทศของลููกค้้าได้้ ทั้้ง� นี้้�เพื่อ่� สร้า้ งและเพิ่่�มความพึึงพอใจให้้แก่่ลูกู ค้า้ อย่า่ งสููงสุุด นโยบายและความรัับผิิดชอบต่อ่ สังั คมและส่ว่ นรวม บริษิ ัทั มีคี วามเชื่อ�่ มั่น� ว่า่ ธุรุ กิจิ ของเราจะมีคี วามเจริญิ ก้า้ วหน้า้ ได้อ้ ย่า่ งต่อ่ เนื่อ่� งและมั่น� คง เมื่อ่� สังั คมโดยรวมมีคี วามสงบสุขุ และสิ่ง� แวดล้อ้ มมีคี วามยั่่ง� ยืืน บริษิ ัทั จึึงตระหนักั ถึึงความจำ�ำ เป็น็ ที่่ต� ้อ้ งเป็น็ สมาชิกิ ที่่ด� ีขี องสังั คม ตลอดจนมีคี วามรับั ผิดิ ชอบ ต่อ่ สังั คมและสิ่ง� แวดล้อ้ มในรูปู แบบต่า่ ง ๆ ที่่เ� หมาะสมกับั กำำ�ลังั ความสามารถของบริษิ ัทั บริษิ ัทั เชื่อ่� ว่า่ การให้ค้ วามเกื้อ� หนุนุ โครงการด้า้ นสังั คมนั้้น� ไม่จ่ ำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งใช้เ้ งินิ ครั้้ง� ละมาก ๆ แต่ค่ วรกระทำำ�อย่า่ งต่อ่ เนื่อ�่ งและทำำ�ตามความสามารถของบริษิ ัทั รวมทั้้ง� ควรให้ท้ ุกุ คนในบริษิ ัทั มีสี ่ว่ นร่ว่ ม บริษิ ัทั เชื่อ่� ว่า่ โครงการเกื้อ� หนุนุ สังั คมที่่ด� ีคี วรมีปี ฏิสิ ัมั พันั ธ์ก์ ันั ระหว่า่ งผู้�ให้แ้ ละผู้�รับ เพื่อ่� ให้้โครงการสามารถดำำ�เนิินไปได้้อย่า่ งราบรื่่น� และต่อ่ เนื่�อ่ ง บริิษััทจึึงได้้ให้้การเกื้�อหนุุนแก่่ชุุมชนที่่อ� ยู่�รอบ ๆ บริิษัทั รวมถึึงชุุมชนที่่�อยู่่�ห่่างไกลออกไป บริิษััทจะพิิจารณาให้้การเกื้�อหนุุนตามความจำำ�เป็็นและเหมาะสม เช่่น การบริิจาค อุุปกรณ์์คอมพิิวเตอร์์ ให้โ้ รงเรียี นและวัดั เป็น็ ต้น้ 3.4.2 ผลการดำำ�เนิินงานด้า้ นสัังคม พนักั งาน กลุ่่�มบริิษััทปฏิิบััติิต่่อพนัักงานและแรงงานด้้วยความเป็็นธรรม ตั้�้งแต่่การจ้้างงาน การจ่่ายค่่าตอบแทน สวััสดิิการ การฝึกึ อบรมและพััฒนาพนัักงาน การจััดการด้า้ นความปลอดภััย อาชีีวอนามัยั และสภาพแวดล้อ้ มในการทำ�ำ งาน เพื่�อ่ ให้้ พนัักงานและบุุคลากรทุุกคนเกิิดความรู้้�สึึกผููกพัันเป็็นครอบครััวเดีียวกััน โดยในปีี 2564 บริิษััทฯ มีีการดำำ�เนิินการ ด้้านพนัักงาน ดัังนี้้� 33
การจ้า้ งงาน ณ สิ้น�้ ปีี 2564 ประเภทพนักั งาน หญิงิ จำ�ำ นวนพนักั งาน (คน) LGBT ชาย พนักั งานประจำำ� (ไม่่รวมพนักั งานผู้้�พิิการ) 151 3 พนัักงานผู้้�พิกิ าร 1 215 1 152 0 4 รวมจำ�ำ นวนพนัักงาน 215 เพื่อ�่ ให้ค้ นพิกิ ารได้ม้ ีโี อกาสใช้ค้ วามสามารถมีรี ายได้้ พึ่ง�่ พาตนเองได้้ และลดภาระของครอบครัวั บริษิ ัทั ฯ จึึงมีกี ารจ้า้ งงาน คนพิกิ ารตามพระราชบััญญััติิส่่งเสริมิ และพัฒั นาคุุณภาพชีวี ิติ คนพิิการ ณ สิ้น� ปีี 2564 บริษิ ัทั ฯ มีพี นักั งานที่่ข�ึ้น� ทะเบีียน เป็น็ ผู้้�พิิการ โดยจ้้างงานตามมาตรา 33 จำำ�นวน 3 คน ตามที่่�กฎหมายกำำ�หนด อัตั ราส่่วน 1 : 100 คน นอกจากนี้้� บริษิ ัทั ฯ ได้จ้ ัดั กิจิ กรรมเพื่อ�่ สร้า้ งความสัมั พันั ธ์แ์ ละช่ว่ ยส่ง่ เสริมิ และพัฒั นาความผูกู พันั กับั พนักั งาน เช่น่ กิจิ กรรม งานเลี้ย� งปีีใหม่่ งานทำำ�บุญุ บริิษัทั เป็็นต้้น อัตั ราการลาออกของพนัักงาน อัตั ราการลาออกของพนัักงาน ปีี 2562 ปีี 2563 ปีี 2564 4.15% 1.27% 2.60% การฝึกึ อบรมของพนักั งาน ปีี พนักั งานทั้้ง� หมด (คน) จำำ�นวนพนักั งานอบรม (คน) จำ�ำ นวนชั่่�วโมงการฝึึก ชั่่�วโมงอบรมรวม อบรมเฉลี่�่ยต่่อคน 2562 243 36 216 2563 396 171 6 1,026 2564 371 127 6 762 6 34
สถิิติการเกิิดอุบุ ัตั ิิเหตุใุ นการทำำ�งานของพนักั งาน สถิติ ิิการเกิิดอุบุ ััติิเหตุรุ ะหว่่างการทำ�ำ งาน (คน) ปีี 2562 ปีี 2563 ปีี 2564 0 0 0 การฉีดี วัคั ซีนี ป้อ้ งกันั การติิดเชื้อ้� และการเสียี ชีวี ิิตจากโควิิด 19 จำ�ำ นวนพนัักงาน 1 st Dose การฉีีดวัคั ซีีน 3 rd Dose ไม่่ได้ฉ้ ีดี วัคั ซีีน (คน) 6 2 nd Dose 63 ชาย 5 46 4 หญิงิ 11 142 109 5 รวม 96 9 238 ลููกค้้า บริษิ ัทั ฯ ดำำ�เนินิ การพัฒั นาสินิ ค้า้ และบริกิ ารที่่ด� ีอี ย่า่ งต่อ่ เนื่อ�่ ง เพื่อ่� ตอบสนองความต้อ้ งการของลูกู ค้า้ และความสัมั พันั ธ์ท์ ี่่ด� ีี ระยะยาว ซึ่ง่� ความพึึงพอใจของลูกู ค้า้ ถือื เป็น็ หนึ่ง่� ในเป้า้ หมายสำ�ำ คัญั ของบริษิ ัทั ฯ ดังั นั้้น� บริษิ ัทั ฯ จึึงทำำ�การสำ�ำ รวจความพึึง พอใจของลูกู ค้า้ เป็น็ ประจำำ�ทุกุ ปีี โดยการส่ง่ แบบสำ�ำ รวจคะแนนความพึึงพอใจ 4 ด้า้ น ได้แ้ ก่่ ประเมินิ /สอบถามความ เรียี บร้อ้ ย ในงานติดิ ตั้ง�้ ประเมินิ /สอบถามเรื่อ�่ งคุณุ ภาพและสัญั ญาณอินิ เตอร์เ์ น็ต็ ประเมินิ /การประสานงานก่อ่ นทำำ�การติดิ ตั้ง�้ และ ประเมินิ /เวลาเข้้าดำ�ำ เนิินการ บริษิ ัทั ฯ ดำ�ำ เนินิ การสำ�ำ รวจความพึึงพอใจของลูกู ค้า้ ที่่ต� ิดิ ตั้ง�้ อินิ เทอร์เ์ น็ต็ ในเขตกรุงุ เทพมหานคร และปริมิ ณฑล ในปีี 2564 จำ�ำ นวน 461 ราย โดยมีผี ู้้�ตอบแบบสอบถามจำ�ำ นวน 254 ราย ปรากฏว่่าได้้คะแนนความพึึงพอใจเฉลี่่�ยในระดัับดีีมาก ร้้อยละ 98.45 โดยมีรี ายละเอีียดดังั นี้้� 35
หััวข้้อการประเมินิ ดีีมาก ดีี ระดบั ความพงึ พอใจ คะแนน คะแนนที่่� รอ้ ยละ พอใช้้ ปรับั ปรุุง ไม่มีการให้ขอ้ มลู เต็็ม ได้้ ประเมิิน/สอบถามความ 231 23 - - 4 3.91 97.74% เรียี บร้อ้ ยในงานติิดตั้�ง้ ประเมิิน/สอบถามเรื่่�องคุุณภาพ 250 - - 4 4 3.94 98.43% และสััญญาณอิินเตอร์์เน็็ต 4 3.91 97.64% 207 ประเมิิน/การประสานงานก่่อน ทำำ�การติิดตั้้�ง 230 24 - - ประเมินิ /เวลาเข้า้ ดำ�ำ เนินิ การ 254 - - - 4 4.00 100.00% 98.45% ชุุมชนและสัังคม คณะกรรมการบริิษััทมีีนโยบายให้้การดำ�ำ เนิินธุุรกิิจของบริิษััทและบริิษััทย่่อยเป็็นไปด้้วยความรัับผิิดชอบต่่อสัังคม เกี่�ยวกัับการมีีนวััตกรรมและเผยแพร่่นวััตกรรมซึ่่�งได้้จากการดำ�ำ เนิินงานที่่�มีีความรัับผิิดชอบต่่อสัังคม สิ่�งแวดล้้อม และกลุ่่�มผู้้�มีสี ่่วนได้เ้ สีีย ตามหลัักการความรัับผิิดชอบต่อ่ สัังคมที่่จ� ััดทำ�ำ โดยตลาดหลักั ทรัพั ย์์แห่ง่ ประเทศไทย ดัังนี้้� นโยบายภาพรวม คณะกรรมการได้้ตระหนัักถึึงภารกิิจสำ�ำ คััญที่่�นอกเหนืือไปจากการทำ�ำ ธุุรกิิจ โดยมิิได้้มุ่�งหวัังเพีียงการสร้้างความสำำ�เร็็จ ให้้กัับองค์์กรในด้้านรายได้้เท่่านั้้�น แต่่ยัังมุ่�งสร้้างพัันธกิิจระหว่่างองค์์กรและสัังคม ให้้สามารถเจริิญเติิบโตไปพร้้อมกััน ได้อ้ ย่า่ งแข็ง็ แกร่ง่ และมั่น� คงจึึงนำ�ำ มาซึ่ง�่ การดำำ�เนินิ โครงการให้บ้ ริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ในพื้้น� ที่่ห� ่า่ งไกลในภาคตะวันั ออกเฉียี งเหนืือ คลอบคลุุมพื้้�นที่่� 7 จัังหวััดได้้แก่่ กาฬสิินธุ์� มหาสารคาม ยโสธร อำำ�นาจเจริิญ ร้้อยเอ็็ด ศรีีษะเกศ และอุุบลราชธานีี ภายใต้้สััญญาบริิการระยะเวลา 5 ปีี กัับสำำ�นัักงานคณะกรรมการกิิจการกระจายเสีียง กิิจการโทรทััศน์์ และกิิจการ โทรคมนาคมแห่ง่ ชาติิ วััตถุปุ ระสงค์์ของโครงการ 1) เพื่�่อจััดให้ม้ ีบี ริิการอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ความเร็ว็ สูงู (Broadband Internet Service) ในหมู่่�บ้า้ นพื้้�นที่่�ห่่างไกล 2) สนัับสนุุนนโยบายดิิจิิทััลเศรษฐกิิจและสัังคม ยกระดัับโครงสร้้างพื้้�นฐานโทรคมนาคมเพื่�่อขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิิจ ของประเทศ ขับั เคลื่อ่� นภารกิจิ การจัดั ให้ม้ ีบี ริกิ ารโทรคมนาคมพื้้น� ฐานโดยทั่่ว� ถึึงและบริกิ ารเพื่อ�่ สังั คมของคณะกรรมการ กิิจการกระจายเสียี ง กิจิ การโทรทัศั น์์ และกิจิ การโทรคมนาคมแห่่งชาติิ 3) เพื่่�อให้้ หน่่วยงานภาครััฐ และเอกชน ที่่�ตั้้�งอยู่�ในพื้้�นที่่�ที่่�ไม่่มีีบริิการ หรืือ พื้้�นที่่�ที่่�มีีบริิการแต่่ไม่่เพีียงพอ มีีโอกาส ในการเข้้าถึึงบริิการโทรคมนาคมที่่�มีีประสิิทธิิภาพ และสามารถนำ�ำ มาใช้้เป็็นเครื่่�องมืือสำำ�หรัับการยกระดัับคุุณภาพ การให้้บริิการประชาชนผ่่านเครืือข่า่ ยโทรคมนาคมและสารสนเทศ 36
โดยมีีรายละเอีียดโครงการซึ่่ง� แบ่ง่ งานเป็็น 5 ประเภทดัังนี้้� 1) การจััดให้้มีีบริิการอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงสาธารณะ (Wi-Fi) หมู่่�บ้้าน ประกอบด้้วย การจััดหาชุุดอุุปกรณ์์ กระจายสัญั ญาณ (แบบไร้ส้ าย) และสัญั ญาณอินิ เทอร์์เน็ต็ ความเร็ว็ สูงู ตามสถานที่่� จํํานวน 2,102 จุดุ 2) การจััดให้้มีีศููนย์์บริิการอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงสาธารณะ USO Net ประกอบด้้วย การจััดให้้มีีสถานที่่�บริิการ โดยทํําการสร้า้ งอาคารบริกิ ารภายในบริเิ วณโรงเรียี นตามแบบรูปู รายการที่่ก� ํําหนด พร้อ้ มจัดั ให้ม้ ีเี ครื่อ�่ งคอมพิวิ เตอร์์ อุปุ กรณ์์ อินิ เทอร์เ์ น็็ตความเร็ว็ สููง (Wi-Fi) และสิ่ง� อํํานวย ความสะดวกอื่�น่ ๆ ตามสถานที่่� จํํานวน 18 แห่ง่ 37
3) การจััดให้้มีีห้้องบริิการอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงสาธารณะ USO Wrap ประกอบด้้วย การจััดให้้มีีสถานที่่�บริิการ โดยทํําการปรัับปรุุงภายในห้้องเรีียนของโรงเรีียนตามแบบรููปรายการ ที่่�กํําหนด พร้้อมจััดให้้มีีเครื่�่องคอมพิิวเตอร์์ อุปุ กรณ์์ และสิ่ง� อํํานวยความสะดวกอื่น�่ ๆ ตามโรงเรียี น จํํานวน 171 แห่ง่ 4) การจััดให้้มีีบริิการสััญญาณอิินเทอร์์เน็็ตความเร็็วสููงสาธารณะ สํําหรัับโรงเรีียน (Last mile to School) ประกอบด้ว้ ย การจัดั ให้ม้ ีชี ุดุ อุปุ กรณ์ก์ ระจายสัญั ญาณ (แบบไร้้ สายและแบบมีสี าย) สัญั ญาณอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ความเร็ว็ สูงู เครื่�่องคอมพิิวเตอร์์พร้้อมอุุปกรณ์์และอื่น่� ๆ ตามโรงเรีียน จํํานวน 398 แห่ง่ 38
5) การจัดั ให้ม้ ีบี ริกิ ารสัญั ญาณอินิ เทอร์เ์ น็ต็ ความเร็ว็ สูงู สาธารณะสํําหรับั โรงพยาบาลส่ง่ เสริมิ สุขุ ภาพประจํําตํําบล (รพ.สต.) (Last mile to Sub-district Health Promoting Hospital) ประกอบด้้วย การจััดให้้มีชี ุุดอุุปกรณ์์กระจายสััญญาณ (แบบไร้ส้ ายและแบบสาย) สัญั ญาณ อินิ เทอร์เ์ น็ต็ ความเร็ว็ สูงู และอื่น่� ๆ ภายใน รพ.สต. ตามโรงพยาบาล จํํานวน 2 แห่ง่ การจัดั ให้ม้ ีบี ริกิ ารศูนู ย์อ์ ินิ เทอร์เ์ น็ต็ โรงเรียี นและศูนู ย์อ์ ินิ เทอร์เ์ น็ต็ ชุมุ ชนในพื้้น� ที่่ห� ่า่ งไกลและขาดแคลนบริกิ ารโทรคมนาคม พื้้น� ฐานดังั กล่่าว เพื่�อ่ ส่่งเสริิมการเข้า้ ถึึงและใช้้บริิการอินิ เทอร์์เน็ต็ ซึ่ง�่ ปััจจุบุ ัันอิินเทอร์์เน็ต็ นัับได้้ว่า่ เข้้ามามีบี ทบาทใน การพััฒนาความรู้้� ส่่งเสริิมการเรีียนรู้�ของนัักเรีียนในชนบท และพััฒนาการประกอบอาชีีพให้้กัับประชาชนในชุุมชน และเป็็นส่ว่ นหนึ่่ง� ในการสร้า้ งความเข้ม้ แข็็งให้้กับั ชุมุ ชนอย่า่ งยั่ง� ยืืนต่่อไป การเข้า้ มามีสี ่ว่ นร่ว่ มในโครงการดังั กล่า่ ว เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ ให้ค้ นในชุมุ ชนสามารถเข้า้ มาใช้บ้ ริกิ ารคอมพิวิ เตอร์์ อินิ เตอร์เ์ น็ต็ พิมิ พ์ง์ าน ปริ้น� ท์ง์ าน และอื่น�่ ๆ รวมถึึงเป็น็ ศูนู ย์เ์ รียี นรู้�ให้แ้ ก่เ่ ยาวชน บุคุ คลทั่่ว� ไปสามารถเข้า้ มาเรียี นรู้� การใช้เ้ ทคโนโลยีี ขั้้�นพื้้น� ฐานเพื่่อ� นำ�ำ ไปใช้้ในชีวี ิิตประจำ�ำ วันั ซึ่�่งอาจมีปี ระโยชน์ใ์ นการนำ�ำ ไปใช้้ในอนาคตได้้ 39
4. การวิิเคราะห์แ์ ละคำำ�อธิิบายของฝ่่ายจััดการ (Management Discussion and Analysis : MD&A) 4.1 การวิิเคราะห์์ผลการดำ�ำ เนิินงานของบริิษััท และบริิษััทย่่อย สำำ�หรัับผล การดำำ�เนินิ งานงวดปีี 2564 ผลการดำ�ำ เนิินงาน การวิเิ คราะห์์และคำำ�อธิิบายของฝ่่ายจัดั การ (Management Discussion and Analysis : MD&A) กำำ�ไร (ขาดทุนุ ) สุทุ ธิิรวมของบริษิ ัทั (ส่ว่ นที่่�เป็็นของบริิษััทใหญ่่) สำำ�หรัับงวดปีี 2564 และปีี 2563 เกิิดขึ้้น� เป็็นจำำ�นวน 76 ล้า้ นบาทและ 41 ล้้านบาทตามลำำ�ดัับ โดยในปีี 2564 นี้้�มีียอดกำ�ำ ไรเพิ่่�มขึ้้�นจากปีี 2563 เป็น็ จำ�ำ นวน 35 ล้้านบาท ทั้้�งนี้้�บริิษััทขอชี้แ� จงผลการดำำ�เนิินงานของบริิษััทและบริิษัทั ย่่อยที่่�เปลี่ย� นแปลงอย่า่ งมีสี าระสำำ�คัญั ดังั นี้้� 40
รายได้้จากการขายและการให้บ้ ริิการ รายได้้จากการขายและการให้้บริิการโดยรวมของบริิษััทและบริิษััทย่่อยสำ�ำ หรัับปีี 2564 ลดลงจากปีี 2563 ประมาณ 49 ล้้านบาทหรืือประมาณร้้อยละ 5 รายได้ท้ ี่่�ลดลงส่่วนใหญ่่เกิิดจากรายได้้ในส่่วนของโครงการภาครััฐ ที่่�ลดลงจากช่่วงเดีียวกัันของปีีที่่�แล้้วประมาณ 66 ล้้านบาท เนื่�่องมาจากการรัับรู้�รายได้้ของงานระยะที่่� 1 ได้้รัับรู้� ไปแล้้วในปีี 2563 ทั้้�งนี้้�รายได้จ้ ากโครงการภาครัฐั ที่่ร� ับั รู้�ในปีี 2564 จะเป็น็ การรับั รู้�รายได้้ของงานระยะที่่� 2 (งานให้้ บริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็ต็ และบำ�ำ รุงุ รักั ษา) เท่า่ นั้้น� ซึ่ง�่ จะเป็น็ การรับั รู้�รายได้ต้ ามสัญั ญา และรายได้ข้ องกลุ่่�มธุรุ กิจิ บรอดแบนด์์ ลดลงประมาณ 29 ล้า้ นบาทเนื่่อ� งมาจากจำ�ำ นวนลูกู ค้า้ ที่่ล� ดลง ในส่่วนของบริิษััทย่่อยของกลุ่่�มบริิษััท มีีรายได้้ในส่่วนของงานซิิลค์์สกรีีนพริ้้�นติ้�งเพิ่่�มขึ้้�นประมาณ 63ล้้านบาท โดยรายได้้ที่่�เพิ่่ม� ขึ้้น� เกิิดขึ้้�นจากการขายสินิ ค้้าเพิ่่�มให้้กับั ลูกู ค้า้ รายเก่่าและขยายฐานลูกู ค้า้ ใหม่่ เนื่่�องจากสถานการณ์์ โควิิดที่่�ทำำ�ให้้เกิิดการทำำ�งานแบบ work from home จึึงทำำ�ให้้กลุ่่�มเครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าขยายตััวจากการใช้้งานที่่�มากขึ้�น และการลดลงจากยอดขายของกลุ่่�มเลเบลประมาณ 49 ล้้านบาท จากยอดขายของงานสแตนเลสลดลงเนื่�่องจาก ลูกู ค้า้ รายใหญ่่ลดการสั่ง� ซื้อ� สาเหตุุมาจากต้น้ ทุุนสิินค้้ามีรี าคาสูงู และคู่�แข่ง่ มีีการลดราคา ในส่่วนรายได้้ของกลุ่่�มธุุรกิิจไอทีีและกลุ่่�มอื่�่น ๆ เพิ่่ม� ขึ้้�น เนื่�่องจากทางบริิษััทมีีโครงการใหม่่ ๆ เข้้ามา ทำำ�ให้้รายได้้ โดยรวมเพิ่่ม� ขึ้้น� กำ�ำ ไรขั้น� ต้น้ กำำ�ไรขั้น� ต้น้ ในในปีี 2564 มีียอดเพิ่่�มขึ้้น� จากปีีก่่อนประมาณ 54 ล้้านบาทหรืือคิดิ เป็็นเพิ่่ม� ขึ้้น� ร้้อยละ 18 แต่่ถ้า้ เทีียบ จากสััดส่่วนกำ�ำ ไรขั้�นต้้นต่่อยอดขาย (common size) แล้้ว ปีี 2564 จะมีีอััตรากำ�ำ ไรขั้�นต้้นเพิ่่�มขึ้้�นร้้อยละ 7 จากปีี 2563 และหากพิิจารณาแยกเป็็นรายธุุรกิิจจะพบว่่าอััตรากำ�ำ ไรขั้�นต้้นของธุุรกิิจโครงการภาครััฐเพิ่่�มขึ้้�นจาก ร้้อยละ 16 ในปีี 2563 เป็็นร้้อยละ 34 ในปีี 2564 เนื่�่องมาจากในปีี 2564 รายได้้ของธุุรกิิจโครงการภาครััฐ จะเป็น็ รายได้ใ้ นส่ว่ นของงานระยะที่่� 2 ซึ่ง�่ เป็น็ งานให้บ้ ริกิ ารอินิ เทอร์เ์ น็ต็ และบำ�ำ รุงุ รักั ษา เป็น็ งานที่่ม� ีอี ัตั รากำ�ำ ไรขั้น� ต้น้ ที่่ส� ูงู กว่า่ งานระยะที่่� 1 ซึ่ง�่ เป็น็ งานก่อ่ สร้า้ งและติดิ ตั้ง้� อุปุ กรณ์์ รวมทั้้ง� ปัจั จุบุ ันั บริษิ ัทั ได้ม้ ีกี ารบริหิ ารต้น้ ทุนุ ของโครงการ และลดต้น้ ทุุนลงทำำ�ให้อ้ ััตรากำ�ำ ไรขั้น� ต้้นของโครงการเพิ่่ม� สููงขึ้น� อีีกด้ว้ ย ในขณะที่่�กลุ่่�มธุุรกิิจซิิลค์์สกรีีนพริ้้�นติ้�งมีกี ำ�ำ ไรขั้�นต้้นเพิ่่�มขึ้้�นจากปีี 2563 ประมาณ 24 ล้้านบาทแต่่อััตรากำำ�ไรขั้�นต้้น กลับั ลดลงจากปีี 2563 เล็ก็ น้้อย โดยเป็น็ ผลมาจากในช่่วงไตรมาส 3 มาจากสถานการณ์์ Covid19 ที่่�ระบาดหนััก ในช่่วงไตรมาส 3 ที่่�ผ่่านมาทำำ�ให้้บริิษััทไม่่สามารถผลิิตได้้เต็็มกำ�ำ ลัังการผลิิต ประกอบกัับลููกค้้าได้้รัับผลกระทบ 41
จากสถานการณ์์ Covid19 เช่น่ กันั ทำ�ำ ให้ป้ ริมิ าณคำำ�สั่่ง� ซื้อ� ลดลง อย่า่ งไรก็ต็ าม ปัจั จุบุ ันั สถานการณ์ก์ ำำ�ลังั ฟื้น้� ตัวั สู่�สภาวะ ปกติกิ ่อ่ นการระบาดจึึงทำ�ำ ให้อ้ ัตั รากำำ�ไรขั้น� ต้น้ ไม่ไ่ ด้เ้ ปลี่ย� นแปลงมากนักั และบริษิ ัทั เชื่อ�่ ว่า่ ไม่ม่ ีผี ลกระทบกับั การเติบิ โต ของบริิษััทในระยะยาว กลุ่่�มธุรุ กิจิ บรอดแบนด์ม์ ีีกำ�ำ ไรขั้น� ต้้นลดลงจากปีี 2563 ประมาณ 21 ล้า้ นบาท โดยอัตั รากำ�ำ ไรขั้�นต้น้ ลดลงร้อ้ ยละ 19 เนื่�่องมาจากจากฐานลููกค้้าที่่�ลดลงเนื่�่องจากผู้�ให้้บริิการอิินเตอร์์เน็็ตรายใหญ่่มีีการส่่งเสริิมการขายทำ�ำ ให้้ลููกค้้าไปใช้้ บริิการของผู้�ประกอบการรายใหญ่เ่ พิ่่�มมากขึ้น� อย่่างไรก็็ตามในระหว่่างไตรมาส 2 ของปีี 2564 บริิษัทั มีีการร่ว่ มมืือ กัับ บริิษััท เอฟโอทีี เอ็็มเอสโอ จำำ�กััด ที่่�ประกอบธุุรกิิจเคเบิิลทีีวีี ซึ่่�งบริิษััทเชื่�่อว่่าจะสามารถเพิ่่�มความสามารถ ในการแข่่งขัันให้้สููงขึ้น� ในอนาคต ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยในการขายและบริิหาร ค่า่ ใช้้จ่า่ ยในการขายและบริิหารมียี อดเปลี่�ยนแปลงเพิ่่ม� ขึ้้น� จากปีีก่อ่ นประมาณ 14 ล้า้ นบาท ส่ว่ นใหญ่่เนื่�่องมาจาก การตั้ง้� ค่า่ เผื่่�อการด้้อยค่า่ ของเครื่อ่� งจัักรของงานสแตนเลสในกลุ่่�มธุรุ กิจิ เลเบลในระหว่่างไตรมาส 3 ต้้นทุุนทางการเงิิน ต้้นทุุนทางการเงิินมีียอดเปลี่�ยนแปลงลดลงจากปีีก่่อนประมาณ 7 ล้้านบาท จากการกู้้�ยืืมเงิินเพื่�่อนำ�ำ มาหมุุนเวีียน และใช้้ในการทำ�ำ งานระยะที่่� 1 ของโครงการภาครััฐโดยมีีการทยอยเบิิกรัับเงิินกู้้�ยืืมมาตลอดปีี 2563 และทยอย คืืนเงิินกู้้�ยืืมดัังกล่่าวในปีี 2564 และคาดว่่าจะลดลงอีีกในปีี 2565 เนื่่�องจากทางบริิษััทจะได้้รัับชำำ�ระเงิิน ค่า่ บริิการงานระยะที่่� 2 ซึ่่�งจะนำำ�เงินิ มาจ่่ายชำำ�ระคืืนเงินิ กู้�เพื่่อ� ลดต้น้ ทุนุ ทางการเงิินลง 42
ฐานะทางการเงิิน ภาพรวมฐานะทางการเงิินของบริิษััทและบริิษััทย่่อย ณ วัันที่่� 31 ธัันวาคม 2564 เปรีียบเทีียบกัับฐานะการเงิิน ณ วันั ที่่� 31 ธัันวาคม 2563 โดยมีีสาระสำ�ำ คัญั ดัังนี้้� 43
สินิ ทรัพั ย์์ ในส่ว่ นของสิินทรััพย์ข์ องบริษิ ััทที่่�มีีการเปลี่�ยนแปลงอย่า่ งมีสี าระสำ�ำ คััญ มีดี ังั นี้้� เงิินสดและรายการเทีียบเท่่าเงิินสดมีียอดลดลงจากปีี 2563 ประมาณ 81 ล้้านบาท เนื่่�องมาจากสิ้�นปีี 2563 มีียอดเงิินที่่บ� ริิษัทั เพิ่่�งได้ร้ ัับชำำ�ระจากโครงการภาครััฐของงานระยะที่่� 1 งวดที่่� 3 เป็น็ จำำ�นวนเงิิน 136 ล้้านบาท และ ในช่่วงต้้นปีี 2564 บริิษััทได้้มีีการนำ�ำ เงิินดัังกล่่าวมาจ่่ายชำำ�ระเงิินกู้้�ยืืมจากธนาคารและเจ้้าหนี้้�การค้้าในโครงการ ที่่�ค้้างอยู่� ถึึงแม้้ว่่าระหว่่างปีี ทางบริิษััทได้้รัับเงิินจากการขายเงิินลงทุุนในบริิษััทย่่อยและได้้รัับเงิินจากการเพิ่่�มทุุน เข้้ามา แต่่อย่่างไรก็็ตามเงิินที่่�ได้้รัับดัังกล่่าว ทางบริิษััทนำำ�ไปจ่่ายชำ�ำ ระเจ้้าหนี้้� และนำำ�มาใช้้หมุุนเวีียนในบริิษััททำำ�ให้้ ยอดเงิินโดยรวมลดลง สินิ ทรััพย์ท์ ี่่เ� กิิดจากสััญญามียี อดเพิ่่�มขึ้้�นจากสิ้�นปีี 2563 ประมาณ 232 ล้้านบาท โดยเพิ่่ม� ขึ้้�นจากการตั้้�งสินิ ทรััพย์์ที่่� เกิดิ จากสัญั ญาคู่่�กับั การรับั รู้�รายได้ข้ องงานระยะที่่� 2 โดยเป็น็ การตั้ง้� ตามสัญั ญาบริกิ ารของโครงการภาครัฐั ในส่ว่ นของ รายได้ท้ ี่่�เกิดิ ขึ้้น� ในไตรมาส 1 ถึึง ไตรมาสที่่� 4 ของปีี 2564 ต้้นทุุนโครงการภาครััฐ มีียอดลดลงจากสิ้�นปีี 2563 เนื่�่องจากได้้มีีการจััดประเภทต้้นทุุนของโครงการภาครััฐ ที่่ค� งเหลืืออยู่�ไปอยู่�ในส่ว่ นของสิินค้้าคงเหลืือเนื่่�องจากสิ้น� สุดุ โครงการภาครััฐในส่ว่ นของงานระยะที่่� 1 สิินค้้าคงเหลืือ มีียอดเพิ่่�มขึ้้�นจากสิ้�นปีี 2563 ประมาณ 27 ล้้านบาท หรืือคิิดเป็็นร้้อยละ 35 เนื่�่องมาจากสิินค้้า คงเหลืือทั้้�งในส่่วนของ วััตถุุดิิบ งานระหว่่างทำ�ำ และสิินค้้าสำำ�เร็็จรููปของกลุ่่�มฮิินชิิซึึที่่�เพิ่่�มขึ้้�นตามยอดขาย ประมาณ 25 ล้า้ นบาท และเพิ่่�มในส่ว่ นของต้น้ ทุนุ โครงการภาครััฐที่่�ถููกจััดประเภทมาอยู่�ในส่่วนของสินิ ค้า้ คงเหลืือด้ว้ ย อุุปกรณ์์โครงข่่ายใยแก้้วนำำ�แสงมีียอดลดลงจากปีี 2563 ประมาณ 58 ล้้านบาทส่่วนใหญ่่เนื่�่องมาจากการคิิด ค่่าเสื่อ่� มราคาในระหว่่างปีี 2564 อุุปกรณ์์โครงข่่ายเส้้นใยแก้้วนำำ�แสงระหว่่างก่่อสร้้าง มีียอดลดลงจากสิ้�นปีี 2563 ประมาณ 12 ล้้านบาทเนื่่�องจาก มีีการโอนอุุปกรณ์์โครงข่่ายเส้้นใยแก้้วนำำ�แสงระหว่่างก่่อสร้้าง ไปเป็็นโครงข่่ายเส้้นใยแก้้วนำำ�แสงเนื่�่องจากสิินทรััพย์์ ดังั กล่่าวได้้สร้้างเสร็็จและพร้้อมใช้้งานแล้้ว หนี้้�สิิน ในส่ว่ นของหนี้้�สินิ รวมของบริษิ ัทั และบริษิ ัทั ย่อ่ ย ลดลงประมาณ 449 ล้า้ น หรืือคิิดเป็น็ ประมาณร้อ้ ยละ 42 ส่ว่ นใหญ่่ เนื่่อ� งมาจากบริิษััทได้ร้ ัับชำ�ำ ระเงิินจากโครงการภาครััฐของงานระยะที่่� 1 งวดที่่� 3 และได้้รัับเงิินจากการเพิ่่�มทุนุ และ เงิินจากการขายหุ้�นของบริิษััทย่่อยบางส่่วน จึึงนำ�ำ มาชำำ�ระคืืนเงิินกู้้�ยืืมจากธนาคารและเจ้้าหนี้้�ต่่างๆ รวมทั้้�ง กลุ่่�มฮินิ ชิซิ ึึก็ม็ ีกี ารจ่า่ ยชำ�ำ ระคืืนเงิินกู้้�ยืืมตามระยะเวลาด้้วยเช่น่ กััน 44
ส่ว่ นของผู้�ถือื หุ้�น ส่่วนของผู้�ถือื หุ้�นของบริษิ ััทและบริิษัทั ย่่อย มีียอดเพิ่่�มขึ้้น� จากสิ้น� ปีี 2563 ประมาณ 494 ล้า้ น หรืือคิดิ เป็น็ ประมาณ ร้้อยละ 75 เนื่อ�่ งมาจากในระหว่า่ งไตรมาส 2 บริิษััทมีกี ารออกหุ้�นเพิ่่ม� ทุุน (RO) ประมาณ 223 ล้้านบาท จากการ ใช้้สิิทธิิของใบสำำ�คััญแสดงสิิทธิิ (ESOP-W2) ประมาณ 3 ล้้านบาท รวมทั้้�งจากการใช้้สิิทธิิของใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ SIMAT-W4 ประมาณ 44 ล้า้ นบาท รวมทั้้ง� เพิ่่�มขึ้้�นจากกำำ�ไรระหว่่างงวดในส่ว่ นของบริิษััทใหญ่่ และส่่วนของผู้�ถือื หุ้�น ส่่วนน้้อย ประมาณ 101 ล้้านบาท เพิ่่�มขึ้้�นจากส่่วนเปลี่�ยนแปลงสััดส่่วนความเป็็นเจ้้าของในบริิษััทย่่อยประมาณ 141 ล้้านบาท และลดลงจากการจ่่ายเงิินปัันผลของบริิษััทย่่อยในส่่วนของส่่วนได้้เสีียที่่�ไม่่มีีอำำ�นาจควบคุุมประมาณ 18 ล้า้ นบาท กระแสเงิินสด กระแสเงิินสดของบริิษััทและบริิษััทย่่อย สำ�ำ หรัับงวดปีี 2564 มีีเงิินสดลดลงจากสิ้�นปีี 2563 ประมาณ 81 ล้้านบาท เทียี บกับั ปีี 2563 มีีเงิินสดเพิ่่ม� ขึ้้น� จากสิ้�นปีี 2562 ประมาณ 133 ล้า้ นบาท กระแสเงิินสดสุุทธิิจากการดำ�ำ เนิินงานของ ปีี 2564 เป็็นกระแสเงิินสดสุุทธิิใช้้ไปจำำ�นวน 138 ล้้านบาท โดยส่่วนใหญ่่ เกิิดจากยอดรายได้้ของกิิจการที่่�ยัังไม่่ได้้รัับเงิินเนื่่�องจากเป็็นการรัับรู้�รายได้้ตามสััญญา และเกิิดจากยอดเจ้้าหนี้้�การค้้า ที่่�ลดลงจากการจ่่ายชำ�ำ ระยอดเจ้้าหนี้้�ของโครงการภาครััฐที่่�ค้้างมาตั้�้งแต่่ปีี 2563 ไปในระหว่่างงวด รวมทั้้�งยอดสิินค้้า คงเหลืือที่่�เพิ่่�มมากขึ้น� ของกลุ่่�มฮิินชิซิ ึึ กระแสเงิินสดจากการลงทุุนของ ปีี 2564 เป็็นกระแสเงิินสดสุุทธิิได้้มาประมาณ 124 ล้้านบาท เกิิดจากมีีเงิินสดรัับ จากการจำ�ำ หน่า่ ยเงินิ ลงทุนุ ในบริษิ ัทั ย่อ่ ย 166 ล้า้ นบาท เงินิ ฝากที่่ม� ีหี ลักั ประกันั ลดลงประมาณ 6 ล้า้ นบาท และมียี อดเงินิ สดใช้ไ้ ปในกิจิ การลงทุุนจากการลงทุนุ ในเครื่่อ� งจักั รของบริษิ ัทั ย่อ่ ยและซื้อ� สินิ ทรัพั ย์์อื่น่� ๆประมาณ 51 ล้า้ นบาท กระแสเงิินสดจากกิจิ กรรมจัดั หาเงินิ ของ ปีี 2564 เป็็นกระแสเงิินสดสุุทธิิใช้ไ้ ปประมาณ 67 ล้้านบาท เกิิดจากที่่บ� ริษิ ัทั มีีการเพิ่่�มทุุนหุ้�นสามััญ (RO) ของกิิจการ และจากการใช้้สิิทธิิของใบสำ�ำ คััญแสดงสิิทธิิ ESOP-W2 และ SIMAT-W4 ยอดรวมประมาณ 270 ล้้านบาท และชำ�ำ ระหนี้้�เงิินกู้้�ยืืมธนาคารของโครงการภาครััฐ จ่่ายชำ�ำ ระเงิินกู้้�ยืืมจากบุุคคลอื่�่น การจ่่ายชำ�ำ ระหนี้้�เงินิ กู้้�ตามระยะเวลาของบริิษัทั ย่อ่ ย และจ่่ายเงิินปัันผลให้้กัับส่่วนได้้เสีียที่่�ไม่่มีอี ำ�ำ นาจควบคุมุ 45
4.2 ปัจั จัยั หรือื เหตุกุ ารณ์ท์ ี่อ�่ าจมีีผลต่่อฐานะการเงินิ หรือื การดำ�ำ เนินิ งานอย่่างมีีนัยั สำำ�คัญั ในอนาคต (forward looking) คำ�ำ พิิพากษาศาลปกครองสููงสุุด บริิษััทอยู่�ระหว่่างรอผลการพิิจารณาของศาลปกครองสููงสุุด ซึ่�่งอาจมีีผลต่่อฐานะการเงิินของบริิษััท คดีีสามารถสรุุปโดยย่่อ ได้้ดังั นี้้� เมื่อ�่ วันั ที่่� 29 กรกฏาคม 2554 บริิษััทได้ร้ ัับการอนุุมััติจิ ากที่่ป� ระชุุมวิสิ ามััญผู้�ถืือหุ้�นครั้้ง� ที่่� 1/2554 ให้เ้ ข้า้ ทำ�ำ สัญั ญาให้เ้ ช่่าอุปุ กรณ์์ ระบบโครงข่่ายใยแก้้วนำำ�แสง ในพื้้น� ที่่�จัังหวััดนครราชสีมี าและจัังหวัดั เชียี งใหม่่ กับั บริิษัทั โทรคมนาคมแห่่งชาติิ จำำ�กัดั (มหาชน) โดยมีีมูลู ค่า่ การลงทุุนทั้้�งหมดไม่่เกิิน 520 ล้า้ นบาท สััญญาดัังกล่่าวมีีระยะเวลา 60 เดืือน บริิษััทได้้ลงนามทำ�ำ สััญญาเช่่าใช้้โครงข่่ายใยแก้้วนำ�ำ แสงพร้้อมอุุปกรณ์์ในพื้้�นที่่�จัังหวััดนครราชสีีมาและพื้้�นที่่�จัังหวััดเชีียงใหม่่ สััญญาลงวัันที่่� 10 มิิถุุนายน 2554 และวัันที่่� 13 มิิถุุนายน 2554 ตามลำ�ำ ดัับ ซึ่่�งทางบริิษััทได้้ดำ�ำ เนิินการจััดซื้้�ออุุปกรณ์์ และติิดตั้�้งโครงข่่ายใยแก้้วนำำ�แสงจนเสร็็จสิ้้�น และได้้ดำำ�เนิินการส่่งมอบอุุปกรณ์์ทั้้�งระบบ ต่่อบริิษััท โทรคมนาคมแห่่งชาติิ จำำ�กััด (มหาชน) (\"คู่�กรณี\"ี ) (เดิมิ ชื่่�อ บมจ.กสทโทรคมนาคม (\"กสท\") แล้้ว สำำ�หรับั โครงข่า่ ยในพื้้�นที่่จ� ัังหวััดนครราชสีมี าและพื้้�นที่่� จังั หวััดเชียี งใหม่่ เมื่�อ่ วันั ที่่� 21 พฤษภาคม 2555 และ วัันที่่� 11 กรกฎาคม 2555 ตามลำ�ำ ดัับ แต่คู่่�กรณีีกลัับเพิิกเฉย ผิดิ สัญั ญา ไม่ด่ ำ�ำ เนินิ การตรวจรับั และไม่ป่ ฏิบิ ัตั ิติ ามเงื่อ� นไขในสัญั ญาดังั กล่า่ ว และบริษิ ัทั ได้ม้ ีกี ารทวงถามเป็น็ หนังั สืือไปยังั คู่�กรณีหี ลายครั้้ง� แล้ว้ แต่่คู่�กรณีีก็็ไม่่ดำำ�เนิินการและไม่่มีีการปฏิิบััติิใดๆ ให้้เป็็นไปตามสััญญา บริิษััทจึึงได้้ใช้้สิิทธิิบอกเลิิกสััญญาต่่อคู่�กรณีี เมื่�่อวัันที่่� 22 กุมุ ภาพัันธ์์ 2556 เมื่อ่� วันั ที่่� 26 ธันั วาคม 2556 บริษิ ัทั ได้ด้ ำ�ำ เนินิ การยื่น่� ฟ้อ้ งต่อ่ ศาลปกครอง เพื่อ่� เรียี กค่า่ เสียี หายจำำ�นวนทุนุ ทรัพั ย์์ 665.62 ล้า้ นบาท ในกรณีทีี่่� ซึ่ง่� ศาลปกครองรับั ไว้เ้ ป็น็ คดีดี ำ�ำ หมายเลข 2518/2556 และศาลได้ม้ ีคี ำ�ำ สั่่ง� รับั คำ�ำ ฟ้อ้ งไว้พ้ ิจิ ารณาแล้ว้ เมื่อ่� วันั ที่่� 6 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2557 เมื่�่อวัันที่่� 20 ธัันวาคม 2561 ศาลปกครองชั้�นต้้นได้้มีีคำำ�พิิพากษา คดีีหมายเลขแดงที่่� 247/2561 โดยศาลปกครองชั้�นต้้น ได้้พิพิ ากษาให้้คู่�กรณีีชดใช้ค้ ่่าเสีียหายดัังนี้้� 1) ค่่าเสีียหายจากการที่่�บริิษััทได้้ส่่งมอบอุุปกรณ์์ที่่�ใช้้สำ�ำ หรัับควบคุุมและตรวจสอบระบบโครงข่่าย โดยให้้คู่�กรณีีชดใช้้เงิิน จำำ�นวน 53.23 ล้า้ นบาท พร้้อมดอกเบี้้ย� ร้้อยละ 7.5 ต่อ่ ปีี 2) ให้้คู่�กรณีีคืืนหนัังสืือค้ำ��ำ ประกัันธนาคารกัับให้้ชดใช้้ค่่าธรรมเนีียมของหนัังสืือค้ำ�ำ�ประกัันธนาคารปีีละ 0.14 ล้้านบาท นัับถััด จากวัันฟ้้องร้้องเป็น็ ต้น้ ไปจนกว่า่ คู่�กรณีีจะคืืนหนังั สืือค้ำ��ำ ประกันั ให้แ้ ก่่บริษิ ัทั 3) ค่่าขาดโอกาสที่่�บริิษััทจะได้้รัับผลกำำ�ไรจากการประกอบธุุรกิิจ ศาลเห็็นว่่าความเสีียหายที่่�เป็็นค่่าขาดโอกาสเป็็นเพีียง การคาดการณ์์ มิใิ ช่ค่ วามเสีียหายที่่�แท้จ้ ริิง และไม่ส่ ััมพันั ธ์์ใกล้ช้ ิิดกัับความเสีียหายที่่�เกิิดขึ้้�น ศาลจึึงไม่อ่ าจกำำ�หนดค่า่ เสีียหาย ในกรณีีนี้้ไ� ด้้ 46
จากคำำ�พิพิ ากษาของศาลปกครองชั้น� ต้น้ ฝ่า่ ยบริหิ ารของบริษิ ัทั พิจิ ารณาแล้ว้ เห็น็ ว่า่ ค่า่ เสียี หายที่่บ� ริษิ ัทั ได้ฟ้ ้อ้ งร้อ้ งในส่ว่ นของ ค่่าเสีียหายหลัักยัังมีีความไม่่ชััดเจนและไม่่สััมพัันธ์์ใกล้้ชิิดกัับความเสีียหายที่่�เกิิดขึ้้�นจริิง เมื่�่อวัันที่่� 18 มกราคม 2562 บริิษััทจึึงได้้ดำำ�เนิินการยื่่�นอุุทธรณ์์คดีีต่่อศาลปกครองสููงสุุด เพื่�่อชี้�แจ้้งข้้อเท็็จจริิงเพิ่่�มเติิมเกี่�ยวกัับจำำ�นวนเงิินที่่�ทางบริิษััทฯ ได้้จ่่ายเพื่�่อลงทุุนซื้�ออุุปกรณ์์ ค่่าแรงติิดตั้้�ง และต้้นทุุนทางการเงิินที่่�เกิิดขึ้้�นระหว่่างก่่อสร้้างโครงข่่ายรวมมููลค่่า 434.24 ล้า้ นบาท บริษิ ัทั ได้ย้ ื่น�่ อุทุ ธรณ์ค์ ำ�ำ พิพิ ากษาของศาลปกครองไปแล้ว้ ทุนุ ทรัพั ย์์ 448.45 ล้า้ นบาท และในการยื่น่� อุทุ ธรณ์์ ได้้วางเงิินค่่าธรรมเนีียมในชั้�นอุุทธรณ์์ไปแล้้วเป็็นเงิิน 0.59 ล้้านบาท ปััจจุุบัันคดีียัังอยู่�ระหว่่างการพิิจารณาของ ศาลปกครองสููงสุุด การร่่วมมืือกับั กับั บริษิ ััท เอฟโอทีี เอ็ม็ เอสโอ จำ�ำ กัดั ในระหว่่างไตรมาส 2 ของปีี 2564 บริิษััทมีีการร่่วมมืือกัับ บริิษััท เอฟโอทีี เอ็็มเอสโอ จำำ�กััด ที่่�ประกอบธุุรกิิจเคเบิิลทีีวีี เพื่�่อแก้้ปััญหากลุ่่�มธุรุ กิจิ บรอดแบนด์์ ที่่�ในปีี 2564 มีีกำำ�ไรขั้�นต้น้ ลดลงจากปีี 2563 ประมาณ 21 ล้้านบาท คิดิ เป็็นอััตรากำ�ำ ไร ขั้้น� ต้้นลดลงร้้อยละ 19 เนื่่อ� งมาจากจากฐานลููกค้า้ ที่่�ลดลง เนื่่อ� งจากผู้�ให้้บริิการอิินเตอร์เ์ น็ต็ รายใหญ่่มีีการส่่งเสริมิ การขาย ทำำ�ให้้ลููกค้า้ ไปใช้้บริกิ ารของผู้�ประกอบการรายใหญ่เ่ พิ่่�มมากขึ้�น บริิษััทเชื่่�อว่่าการร่่วมมืือกััน จะเป็็นการช่่วยส่่งเสริิมธุุรกิิจของทั้้�งสองบริิษััท เนื่่�องจากสามารถทำำ�การตลาดไปด้้วยกัันได้้ ทำำ�ให้้บริิษััทกลัับมาเพิ่่�มฐานลููกค้้าได้้มากขึ้�น มีีกำำ�ไรจากธุุรกิิจนี้้�ได้้มากขึ้�น จากการประหยััดในต้้นทุุนบริิการ การขาย และบริหิ าร ดัังนั้้�น การร่่วมมืือกัันนี้้จ� ึึงอาจส่่งผลดีีต่่อการดำ�ำ เนิินงานอย่า่ งมีนี ัยั สำำ�คััญในอนาคต 47
4.3 ข้้อมูลู สำำ�คัญั ทางการเงิิน 4.3.1 งบแสดงฐานะการเงิิน 48
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244