Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรในป่าอีสาน

สมุนไพรในป่าอีสาน

Description: พืชสมุนไพร

Search

Read the Text Version

25 ปี มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี สมนุ ไพรในปา่ อสี าน 25 ีป มหา ิวทยา ัลยอุบลราชธา ีน ส ุมนไพรใน ่ปาอีสาน

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำ ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สมนุ ไพร ในปา่ อสี าน สนองพระราชด�ำ ริ โดย มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี

สมนุ ไพรในป่าอสี าน พื้นท่ีป่าในภาคอีสาน เป็นพ้ืนที่ท่ีอุดมไปด้วยพันธุ์ไม้หลากหลาย ชนิด โดยเฉพาะพืชสมุนไพรท่ีมีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรค ซึ่งปรากฏใน ต�ำรายาพื้นบ้านอีสานจ�ำนวนมาก พืชสมุนไพรเหล่าน้ีจึงควรค่าแก่การ อนรุ กั ษแ์ ละเผยแพร่ เพือ่ ใหส้ ามารถใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งย่งั ยนื มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี จงึ ไดด้ ำ� เนนิ งานผา่ นโครงการทำ� นุบำ� รงุ ศิลปวฒั นธรรมโดยการสนบั สนุนให้ ผศ.ดร.สุดารตั น์ หอมหวล อาจารย์ ประจำ� คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี จดั เกบ็ ขอ้ มลู สมนุ ไพร พื้นบ้านอีสานในพื้นท่ีป่าอนุรักษ์ภายในมหาวิทยาลัยและพรรณไม้ในป่า ดั้งเดิมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซ่ึงมีความหลากหลาย ทางชีวภาพสูง เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาชาวบ้าน พร้อมทั้ง ได้จัดท�ำฐานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของพืชสมุนไพรพื้นบ้านอีสาน อันประกอบด้วย ประโยชน์ทางยา ภาพตัวอย่างของสมุนไพรท้ังแบบสด และแหง้ ขอ้ มูลด้านการวจิ ัย แหลง่ อ้างองิ เปน็ ตน้ เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้า ขอ้ มลู ของนกั เรยี น นกั ศกึ ษาและผทู้ สี่ นใจ ใหส้ ามารถใชข้ อ้ มลู ในการอา้ งองิ พรรณไม้เพ่ือการวิจัยและต่อยอดงานวิจัย ตลอดจนส่งผลให้เกิดการน�ำ สมนุ ไพรไปใช้อยา่ งคุ้มคา่ เกิดประโยชน์สูงสุดและไมส่ ูญหายไป ฐานข้อมูลสมนุ ไพรคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี (www.phargarden.com) ฐานข้อมลู เคร่ืองยาไทย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี (www.thaicrudedrug.com) ฐานขอ้ มูลพรรณไม้แหง้ อา้ งอิง มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี (www.thaiherbarium.com)

2

สารบัญ กระโดน 3 โดไ่ มร่ ู้ล้ม 33 กระทือ 4 ตอ่ ไส้ 34 กระบก 5 ตะขบปา่ 35 กลอย 6 ตานกกด 36 กอกกัน 7 ตว้ิ เกล้ยี ง 37 กระดังใบ 8 ต้วิ ขาว 38 กันเกรา 9 นมวัว 39 ก�ำ แพงเกา้ ช้นั 10 นางจุม่ 40 ก�ำ แพงเจ็ดชัน้ 11 นำ้�ใจใคร 41 ก�ำ ลงั เสอื โครง่ 12 นุ่น 42 กมุ่ น�้ำ 13 บกุ คางคก 43 กมุ่ บก 14 ปลาไหลเผอื กน้อย 44 ข่อย 15 ปลาไหลเผือกใหญ่ 45 ขันทองพยาบาท 16 พนมสวรรค์ 46 ข้าวสารปา่ 17 พริกนายพราน 47 ขี้เจยี ก 18 พลองเหมอื ด 48 คดสัง 19 พลู่มะลี 49 คนทีสอ 20 พวงพี 50 คัดเคา้ เครอื 21 พะยอม 51 คำ�มอกหลวง 22 พษิ นาศน์ 52 คยุ 23 พพี วนนอ้ ย 53 เครือหมาน้อย 24 พดุ ท่งุ 54 เจตพังคี 25 พดุ ผา 55 เฉยี งพร้านางแอ 26 แฟบนำ�้ 56 ชะมวง 27 มะกลำ่�ตน้ 57 ชะลูดชอ่ สัน้ 28 มะกอก 58 ชะเอมไทย 29 มะกอกเล่ือม 59 ชา้ งนา้ ว 30 มะคังขาว 60 ชงิ ชี่ 31 มะคังแดง 61 ซองแมว 32 มะเด่อื ปล้อง 62

สารบญั (ตอ่ ) มะเด่ือหอม 63 รักสามสิบ 83 มะตมู 64 ราชดัด 84 มะแตกต้น 65 โลดทะนง 85 มะนาวผี 66 ว่านพระฉิม 86 มะเม่า 67 สนทราย 87 มะยมปา่ 68 สม้ กงุ้ 88 มะสงั 69 สม้ ป่อย 89 มะหากาหนงั 70 ส้มลม 90 เมก็ 71 สมอไทย 91 เมอ่ื ยขาว 72 สมดั นอ้ ย 92 เมื่อยดกู 73 สมัดใหญ่ 93 โมกเครือ 74 สะบา้ มอญ 94 โมกมัน 75 สารภปี ่า 95 โมกหลวง 76 หางกวาง 96 ยอป่า 77 หนอนตายหยาก 97 ยางนอ่ งเครอื 78 หมี่ 98 ย่านาง 79 หว้านา 99 ย่านางแดง 80 หางหมาจอก 100 รสสคุ นธ์ 81 หนุ ไห้ 101 รักใหญ่ 82 เหมอื ดโลด 102

กระโดน ชอ่ื พืช กระโดน ชือ่ อื่น กระโดนโคก กระโดนบก ชื่อวทิ ยาศาสตร ์ Careya sphaerica Roxb. ช่ือวงศ ์ Lecythidaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมย้ นื ต้น ขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ใบเดย่ี ว เรียงสลับเวยี น เป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง รูปไข่กลับ กว้าง 15-25 เซนติเมตร ยาว 30-35 เซนติเมตร เน้ือใบหนา ค่อนข้างน่ิม ดอกขนาดใหญ่ ช่อแบบกระจะสั้น กลบี ดอก 4 กลบี ขอบกลบี สเี ขียวอ่อน โคนกลบี สชี มพู ดอกบานกลางคืน และ มักร่วงตอนเช้า เกสรเพศผู้มีจำ�นวนมาก เกสรเพศเมียมีรังไข่ใต้วงกลีบ ผลรูปกลม หรอื รูปไข่ มเี นอ้ื ผลสดมีสีเขยี วพอสกุ เปลี่ยนเป็นสีนำ้ �ตาล พบข้นึ ทั่วไปตามปา่ เบญจพรรณ และปา่ เตง็ รงั สรรพคณุ ยาพนื้ บา้ นอีสาน ใชเ้ ปลอื กต้น แกน้ ้ำ�กัดเท้า แก้โรคกระเพาะอาหาร สมานแผลภายใน ตำ�รายาไทย ใช้เปลือกต้น รสฝาดเมา แชน่ ำ้ �ดืม่ แก้ปวดทอ้ ง ทอ้ งเสีย แก้อักเสบจากงูกัด ใช้เป็นยาสมานแผล ใบ รสฝาด ใช้รักษาแผลสด โดยนงึ่ ใหส้ กุ ใชป้ ดิ แผล หรอื ปรงุ เปน็ นำ้ �มนั สมานแผล ดอก รสสขุ มุ บำ�รงุ รา่ งกาย หลังคลอดบุตร แกห้ วัด แกไ้ อ ทำ�ให้ชมุ่ คอ ผล รสจืดเยน็ ช่วยยอ่ ยอาหาร บำ�รงุ หลังคลอด ใบอ่อน และยอดออ่ น รับประทานสดเป็นผกั จ้ิม มรี สฝาด ช่วงที่ออกดอก มกราคม ถึง เมษายน ชว่ งทีอ่ อกผล กุมภาพันธ์ ถึง มิถุนายน 3ก

กระทอื ชือ่ พืช กระทือ ชอื่ อ่นื - ชอื่ วิทยาศาสตร ์ Zingiber zerumbet (L.) Sm. ชอ่ื วงศ ์ Zingiberaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลำ�ต้นเทียมสูงได้ถึง 1 เมตร มีเหง้าใต้ดิน ใบเด่ียว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปใบหอก กว้าง 3-10 เซนติเมตร ยาว 14-40 เซนติเมตร ดอกช่อเชิงลด ตั้งตรง แทงออกมาจากเหง้าใต้ดิน ดอกทรงกระบอก ใบประดับสีเขยี วแลว้ เปลย่ี นเปน็ สแี ดงเขม้ มี 10-25 ใบ เรียง ซ้อนกันแน่นเป็นระเบียบ ดอกบานสีขาวอมเหลืองโผล่ออกมาจากซอกใบประดับ เกสรเพศผู้ 1 อนั อับเรณขู นาดใหญ่ โค้ง มรี ยางค์ที่ปลาย เกสรเพศผูเ้ ปน็ หมนั อันกลาง สเี หลอื งออ่ น ตรงโคนมแี ตม้ สเี หลอื งเข้ม ผลแบบผลแห้งแตก เมลด็ คอ่ น ข้างกลม มเี ยือ่ หมุ้ เมลด็ เป็นร้วิ สีขาว เมลด็ สดี ำ�เป็นมนั ชอบขนึ้ บรเิ วณปา่ ดบิ แล้ง ป่าเบญจพรรณ หรอื ท่ีชน้ื ริมลำ�ธาร หรือดนิ ทร่ี ว่ นซยุ สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใช้เหง้า รสขมขน่ื ปร่า แช่น้ำ�ดืม่ แกร้ ้อนใน บำ�รงุ นำ้ �นม บำ�รงุ ธาตุ แกท้ อ้ งอืดเฟ้อ ขบั ปัสสาวะ แกป้ วดท้อง แกป้ วดเบง่ แน่นท้องปวดบวม ขับเสมหะ แก้เบื่ออาหาร เหง้ากระทือนำ�มาหมกไฟฝนกับน้ำ�ปูนใสรับประทาน แก้บดิ ปวดเบง่ แกเ้ สมหะเป็นพิษ แกแ้ นน่ หนา้ อก ขบั นำ้ �ย่อย ราก แก้ไขต้ ัวเยน็ ใบ ขับลม ขับเลือดเสยี ในมดลูก ขับนำ้ �คาวปลา ดอก รสขมข่นื แก้ผอมเหลือง แก้ไข้เรอื้ รงั ไขต้ วั เยน็ ไข้จับสั่น เกสร แกล้ ม บำ�รุงธาตุ ต้น ทำ�ใหเ้ จรญิ อาหาร แก้ไข้ หนอ่ ออ่ น เน้อื ออ่ นในลำ�ต้น ช่อดอกออ่ น รับประทานเป็นผกั สดได้ ชว่ งทีอ่ อกดอก สิงหาคม ถงึ กนั ยายน ชว่ งท่ีออกผล ตลุ าคม ถึง พฤศจิกายน ก4

กระบก ชอ่ื พชื กระบก ช่ืออนื่ มะมนื่ มะล่นื ช่ือวทิ ยาศาสตร ์ Irvingia malayana Oliv. ex. A. W. Benn. ชอ่ื วงศ ์ Irvingiaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 35 เมตร ผลัดใบช่วงส้ันๆ ใบเดย่ี ว เรยี งเวยี น รปู รี รปู รแี กมรปู ขอบขนาน รปู ไข่ หรอื รปู ไขแ่ กมรปู ขอบขนาน กวา้ ง 2.5-9 เซนตเิ มตร. ยาว 8-20 เซนติเมตร แผน่ ใบหนาคล้ายแผน่ หนงั ดอกช่อแยก แขนง ออกตามซอกใบ หรือปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว หรอื สเี หลืองอ่อน กลบี เลี้ยงและกลบี ดอก มอี ย่างละ 5 กลบี เกสรเพศผตู้ ิดกบั ขอบนอกของหมอนรองดอก รังไข่อยู่ เหนือวงกลีบ ผล เป็นผลสด แบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไข่หรือรูปรี กวา้ ง 3-4 เซนตเิ มตร ยาว 4-5 เซนติเมตร มนี วลเลก็ น้อย ผลมสี ีเขียว เมือ่ ผลสกุ สีเหลือง เมล็ด 1 เมล็ด แข็ง เนื้อในเมล็ดสีขาว และมีน้ำ�มัน พบตามป่าเต็งรัง ปา่ ชายหาด ป่าเบญจพรรณ ป่าดบิ แลง้ ปา่ ดบิ ช้ืน สรรพคุณ ยาพ้ืนบ้านอีสาน ใช้แก่น แก้ผ่ืนคัน แก้ไอ ผสมแกน่ พนั จำ� และแกน่ มะปว่ น หรอื ผสมแก่นมะเด่อื ปล้อง แกน่ พนั จำ� แก่นปีบ และแก่นมะพอก ต้มน้ำ�หรอื แช่น้ำ�ด่ืม แกไ้ อ ผสมลำ�ต้นต่อไส้ และแก่นกันแสง แช่น้ำ�อาบ แก้ผ่ืนคัน แก่นผสมกับแก่นมะพอก ตม้ น้ำ�ด่ืมแกฟ้ กชำ้ � ลำ�ต้น ต้มน้ำ�ดื่ม รกั ษาโรคปอดพิการ แกไ้ อเปน็ เลือด ผสมเหงา้ ขมน้ิ ออ้ ย รากทองแมว เมลด็ งา ครัง่ มดแดง และเกลือ ตม้ น้ำ�ดม่ื แก้เคล็ดยอก เปลอื กตน้ ผสมลำ�ตน้ เหมอื ดโลด ใบหวดหม่อน ลำ�ต้นเม่าหลวง และเปลือกตน้ มะรุม ตำ�พอกแก้ปวด ตำ�รายาไทย เนอ้ื ในเมลด็ มีรสมนั รอ้ น บำ�รงุ เสน้ เอ็น บำ�รงุ ไขข้อ แก้ขอ้ ขดั บำ�รุงไต ฆ่าพยาธิในท้อง ชว่ งท่อี อกดอก มกราคม ถงึ มีนาคม ชว่ งทอ่ี อกผล กมุ ภาพนั ธ์ ถึง สงิ หาคม 5ก

กลอย ช่ือพชื กลอย ช่อื อน่ื - ช่อื วทิ ยาศาสตร ์ Dioscorea hispida Dennst. ชอ่ื วงศ์ Dioscoreaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถาลม้ ลกุ มหี วั ใตด้ นิ มรี ากเลก็ ๆ กระจายทวั่ ทงั้ หวั ลำ�ตน้ มหี นาม เล็ก ๆ กระจายท่ัวไป ใบประกอบ เรียงตัวแบบเกลียว ผิวใบสากมือ มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางแผน่ ใบรปู รีแกมขอบขนาน กว้าง 6-15 เซนตเิ มตร ยาว 8-25 เซนติเมตร ใบย่อย 2 ใบ แผ่นใบรปู ไข่ รปู ไขก่ ลับ ขนาดสน้ั กว่า ใบกลางแตก่ ว้างกวา่ ดอกชอ่ แบบแยกแขนง แยกเพศอยู่คนละตน้ ดอกยอ่ ยมี ขนาดเล็ก จำ�นวน 30-50 ดอก สีเขยี ว ออกตามซอกใบ หอ้ ยลง ดอกเพศ ผู้ออกเป็นชอ่ แยกแขนง 2-3 ชนั้ ดอกต้ังขึ้น ดอกเพศเมยี ออกเปน็ ช่อชนั้ เดียว ดอกช้ีลงดนิ ผลแกแ่ ตกได้ มคี รบี 3 ครบี แตล่ ะครีบมี 1 เมล็ด เมลด็ กลมแบน มีปกี บางใสรอบเมลด็ พบตามทีล่ มุ่ ต่ำ�ที่รกรา้ ง ปา่ เตง็ รัง ป่าผสม และปา่ ดงดบิ สรรพคณุ ตำ�รายาพืน้ บ้านอสี าน ใช้หัวใต้ดิน หน่ั เปน็ แผ่นบาง ๆ ปดิ บริเวณ ท่ีมีอาการบวมอักเสบ ตำ�รายาไทย ใช้หัวใต้ดนิ แกเ้ ถาดาน (อาการแข็งเป็นลำ�ในทอ้ ง) หุง เป็นน้ำ�มนั ใสแ่ ผล กดั ฝ้า กดั หนอง หัว ตากแหง้ ปรงุ เป็นยาแก้น้ำ�เหลืองเสีย ขบั ปสั สาวะ แกป้ วดตามขอ้ ฝมี ะมว่ ง โรคซฟิ ลิ สิ ราก บดผสมกบั นำ้ �มนั มะพรา้ ว ใบยาสบู ใบลำ�โพงหรอื พริก ใช้ทาหรอื พอกฆ่าหนอนในแผลสตั ว์เลี้ยง ช่วงทีอ่ อกดอกและติดผล กุมภาพนั ธ์ ถงึ เมษายน ก6

กอกกนั ชื่อพชื กอกกนั ช่ืออืน่ ก๊กุ ชือ่ วิทยาศาสตร ์ Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. ชอ่ื วงศ ์ Anacardiaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมย้ นื ตน้ ขนาดกลาง ผลัดใบ สูงถงึ 17 เมตร ใบประกอบแบบขนนก ปลายค่ี เรียงเวียน ใบย่อยเรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปไข่ กว้าง 3-4 เซนติเมตร ยาว 6-12 เซนติเมตร มีขนสั้นนุ่มรูปดาวท้ังสองด้าน ช่อดอก แบบช่อเชิงลด ห้อยลง ดอกขนาด 0.3 เซนติเมตร สีเหลืองอ่อนหรือเขียวอมเหลือง ช่อยาว 12-30 เซนตเิ มตร ดอกตัวผแู้ ละดอกตวั เมยี อย่แู ยกต้น ตน้ เพศผูม้ ีช่อดอกแบบชอ่ แยกแขนง เกสรเพศผู้มี 8-10 อนั อยใู่ นดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ล้อมรอบหมอน รองดอกรูปวงแหวน ในดอกเพศเมีย รงั ไข่สีแดงสด ผลสดแบบผลผนงั ชนั้ ในแข็ง รูปเมลด็ ถวั่ มกี ลีบเล้ียงตดิ ทน เมล็ดเดียวแขง็ ผลมีสีชมพเู มือ่ สกุ สแี ดง พบตาม ป่าผลดั ใบ ปา่ เตง็ รัง สรรพคุณ ตำ�รายาพื้นบ้านอีสาน รากหรือเปลือกต้น ต้มน้ำ�ด่ืม แก้ท้องเสีย ยางท่ีปูดจากลำ�ต้น ผสมยางที่ปูดจากลำ�ต้นมะกอก ฝนน้ำ�ดื่ม แก้ไอเป็นเลือด ใบ ผสมใบไพล ใบหวดหม่อน บดเปน็ ผงกนิ กบั นำ้ � แกไ้ อเปน็ เลือด ตำ�รายาไทย เปลือกต้น มีรสขม ใช้สมานแผล และห้ามเลือด แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้ปวดท้อง เป็นยาธาตุ หรือช่วยเจรญิ อาหาร ใช้แก้ปวด ใชร้ ักษา บาดแผล แก้รอยฟกชำ้ � แผลพุพอง ตาอักเสบรุนแรง โรคเกาต์ แผลเป่ือย ในกระเพาะอาหาร แกป้ วดฟัน อาการแพลง และท้องรว่ ง ใบ ใชร้ ักษาโรคเทา้ ชา้ ง อาการอกั เสบ อาการปวดประสาท อาการแพลง และรอยฟกช้ำ� แก่น มรี สหวาน ชุ่มคอ แกก้ ระหายน้ำ� ใชป้ รุงแต่งรสยาใหม้ ีรสหวาน ช่วงท่อี อกดอกและตดิ ผล กรกฎาคม ถงึ มีนาคม 7ก

กะตังใบ ช่ือพืช กะตังใบ ชื่ออน่ื ตา้ งไก่ ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Lee indica (Burm.f.) Merr. ช่อื วงศ ์ Leeaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่มหรือไมต้ น้ ขนาดเล็ก สูงประมาณ 1-3 เมตร ใบเป็นใบประกอบ แบบขนนก 1-3 ชั้น เรียงแบบสลับ ใบย่อยออกเป็นคู่ตรงข้าม ขอบใบจักแบบ ฟนั เลื่อย หรอื แบบซ่ฟี นั ต้นื ๆ ดอกออกเปน็ ชอ่ ต้งั ขึ้น ตามซอกใบ ดอกย่อยสีเขียว ออ่ น มีจำ�นวนมาก ดอกตูมรูปทรงกลมสีแดงเขม้ พอบานมีสขี าว กลบี ดอก 5 กลบี เช่ือมตดิ กันท่ีโคน เกสรเพศผู้มี 5 อัน ตดิ อยูก่ ับหลอดเกสรเพศผู้ ปลายอบั เรณจู ะ โผล่พ้นหลอดออกไปเป็นแฉกมน ๆ ปลายแฉกเว้า เกสรเพศเมียมี 6 ช่อง แตล่ ะชอ่ งมไี ข่ 1 เมล็ด ก้านเกสรสัน้ ปลายมน ผล กลม แป้น ผิวบาง มีเนอ้ื นมุ่ ผลอ่อนมสี ีเขยี วพอแกจ่ ดั มีสีแดงเขม้ จนถึงสมี ่วงดำ� มี 6 เมลด็ พบตามป่าเต็งรัง สรรพคุณ ตำ�รายาพื้นบ้านอีสานใช้ ราก ฝนกับเหล้าทา รักษาแผล ไฟไหม้ นำ้ �รอ้ นลวก ตำ�รายาไทยใช้ ราก รสเย็นเมาเบือ่ ตม้ นำ้ �กนิ เป็นยาแกป้ วดทอ้ ง ทอ้ งเสยี แกบ้ ดิ ขบั เหง่อื และเป็นยาเยน็ แก้อาการกระหายนำ้ � แกไ้ ข้ แกไ้ ขร้ ากสาด แก้ปวด เม่อื ยตามรา่ งกาย แกค้ รัน่ เน้ือครัน่ ตวั ดบั รอ้ น นำ�รากผสมกับสมุนไพรอน่ื ต้มน้ำ�ดมื่ วันละ 3 คร้ัง จนยาหมดรสฝาด แก้ตกขาว มะเร็งลำ�ไส้ มะเรง็ มดลูก ใบ ย่างไฟ ใหเ้ กรียม ใชพ้ อกศีรษะ แกว้ งิ เวยี น มนึ งง ตำ�เป็นยาพอกแกป้ วดเมอ่ื ยกลา้ มเนอ้ื และแก้ผืน่ คันตามผวิ หนัง นำ้ �ยาง จากใบอ่อนกินเป็นยาชว่ ยยอ่ ย ท้งั ตน้ ผสมกับ สมนุ ไพรอนื่ ตม้ น้ำ�ดมื่ รักษามะเรง็ เต้านม ชว่ งทอี่ อกดอก มิถุนายน ถงึ กนั ยายน ช่วงท่อี อกผล ตุลาคม ถงึ พฤศจิกายน ก8

กนั เกรา ชอ่ื พชื กันเกรา ชื่ออ่นื มนั ปลา ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Fagraea fragrans Roxb. ชื่อวงศ ์ Loganiaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ต้นสูงประมาณ 15-20 เมตร ใบเดี่ยวเรยี งตรงข้าม ใบรูปวงรี กวา้ ง 4-6 เซนติเมตร ยาว 8-12 เซนตเิ มตร เนอื้ ใบค่อนขา้ งเหนียว ดอกออกเปน็ ชอ่ แบบช่อกระจกุ มกี ลิน่ หอม กลบี ดอก สีขาวและเหลืองอ่อนจำ�นวน 5 กลีบ ดอกเริ่มบานมีสีขาวเมื่อบานเต็มที่มี สีเหลืองอมส้ม มกี ้านเกสรยาวออกมา เกสรตัวผยู้ าวและตดิ กับกลีบดอกมี 5 อนั ยื่นพ้นเลยปากหลอดกลีบดอก อับเรณูรูปรีหรือขอบขนาน ผลอ่อนทรงกลม สเี ขียว สุกสเี หลือง ส้ม หรือแดง เป็นแบบผลสดมีหลายเมลด็ ผิวเรยี บเปน็ มัน ฉ่ำ�นำ้ � มตี ิง่ แหลมสนั้ ติดอยูท่ ป่ี ลาย เมลด็ มขี นาดเล็กสีน้ำ�ตาลไหม้ มหี ลายเมล็ด พบตามป่าเบญจพรรณ ปา่ ดิบแล้ง ปา่ เต็งรงั สรรพคุณ ตำ�รายาไทย ใบ แกไ้ ขม้ าลาเรยี แก้หอบหืด บำ�รุงธาตุ และรกั ษา โรคผิวหนงั พุพอง แกน่ รสมันฝาดขม บำ�รงุ ร่างกาย บำ�รงุ ธาตุ บำ�รุงไขมนั เป็นยาอายุวฒั นะ แกไ้ ขจ้ บั สนั่ หดื ไอ แกร้ ิดสีดวง แก้ทอ้ งมาน แกท้ ้องเดนิ มกู เลอื ด แกพ้ ษิ ฝกี าฬ แก้แน่นหนา้ อก บำ�รุงมา้ ม บำ�รงุ โลหติ ขบั ลม แกโ้ ลหติ พิการ แก้ปวดแสบปวดร้อน ตามผิวหนังและร่างกาย ยอดอ่อนและใบอ่อน ใชก้ ินเป็นผักสดได้ ช่วงท่ีออกดอก พฤษภาคม ถงึ มถิ ุนายน ชว่ งท่ีออกผล กรกฎาคม ถึง สงิ หาคม 9ก

กำ�แพงเกา้ ชนั้ ชอ่ื พืช กำ�แพงเก้าช้ัน ชื่ออื่น ตากวง ชอื่ วิทยาศาสตร ์ Salacia verrucosa Wight. ช่ือวงศ์ Celastraceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่มรอเลอ้ื ยหรือไมเ้ ถาขนาดใหญ่ เน้อื ไมส้ ีแดงอ่อน มีวงปีสแี ดงเขม้ ซอ้ นกนั ถี่ ๆ ใบเด่ยี ว เรียงสลบั เรียงตรงขา้ ม หรอื เกือบตรงขา้ ม รปู ใบหอก กว้าง 2-5 เซนตเิ มตร ยาว 10-20 เซนตเิ มตร ดอกเดีย่ วออกรวมกนั เปน็ กลมุ่ แตล่ ะกล่มุ มดี อก 30-40 ดอก ดอกสเี ขียวอมเหลือง อย่ตู รงข้ามกนั สองกลุ่ม ตามข้อของใบ ก้านดอกสเี ขยี วอ่อนจำ�นวนมาก กลบี ดอกรปู ร่างกลม มี 5 กลีบ สีเหลืองปนเขยี ว จานฐานดอกนนู ขึน้ เป็นรูปทรงกลมแบน เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนขอบจานฐานดอก เรียงแยกกันเป็นวง ผลสดรูปทรงกลม ผลอ่อนสเี ขยี ว เม่ือสกุ มีสสี ้มแดง มเี มล็ดแข็ง 3-4 เมลด็ เน้อื ผลสกุ สีน้ำ�ตาลอ่อนใส รสหวาน รบั ประทานได้ พบตามป่าดบิ ปา่ เต็งรัง และปา่ โปรง่ ทว่ั ไป สรรพคุณ ตำ�รายาไทย นยิ มใชเ้ ป็นยารว่ มกบั ตาไก้ หรอื ใช้แทนกันได้ เนอ้ื ไม้ รสฝาดเมา เป็นยาถ่ายของเสียออกจากร่างกาย ระบายลมร้าย แก้ท้องอืด ท้องเฟอ้ ขบั ลม เปน็ ยาระบาย บำ�รุงเอ็น บำ�รงุ เสน้ บำ�รุงตบั ไต บำ�รงุ กำ�ลงั บำ�รุงร่างกาย บำ�รุงโลหิต แก้โลหิตจาง แก้โลหิต และน้ำ�เหลืองพิการ แก้ระดขู าว แกก้ ระษยั ไตพิการ แกป้ วดเม่ือย แก้ปวดหลงั ปวดเอว ราก ผสมกบั ต้นตาไก้ รากคอ้ นตหี มา รากอลี ่ำ� (กำ�ลงั ทรพี) ตม้ รบั ประทาน แก้ไขส้ ูง ช่วงทอ่ี อกดอก กุมภาพนั ธ์ ถงึ มีนาคม ชว่ งทีอ่ อกผล สิงหาคม ถึง กนั ยายน ก 10

กำ�แพงเจ็ดชน้ั ชื่อพืช กำ�แพงเจด็ ช้นั ชื่ออนื่ ตาไก้ ชื่อวิทยาศาสตร ์ Salacia chinensis L. ชื่อวงศ ์ Celastraceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถาเนอื้ แข็ง หรอื ไม้พุ่มรอเลือ้ ย เน้อื ไมม้ ีวงปีสนี ำ้ �ตาลแดงเขม้ เรียงซอ้ นกัน เป็นชน้ั ใบเด่ียว เรยี งตรงข้าม สลับตั้งฉาก แผน่ ใบคอ่ นขา้ งหนา แผน่ ใบรูปวงรี รูปวงรกี วา้ ง รปู ไข่ รูปวงรีแกมใบหอก หรอื รปู ไขก่ ลับ กวา้ ง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนตเิ มตร ดอกเล็ก สีเขียวอมเหลืองหรือเหลือง ออกเป็นช่อ แบบกระจุกหรือช่อแยกแขนงสั้น ๆ มี 3-6 ดอกในแต่ละช่อ กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลืองปนเขียว แกนดอกนูนเป็นวงกลม เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนขอบจานฐานดอก ปลายเกสรชนกันเป็นยอดแหลม ผลสด รปู ร่างคอ่ นขา้ งกลม ผลออ่ นสเี ขยี ว ผลสกุ สแี ดงหรือสแี ดงอมส้ม ภายในมีเมลด็ กลมขนาด ใกลเ้ คียงกับผล 1 เมล็ด พบตามปา่ ชายทะเล ปา่ เบญจพรรณทวั่ ไป สรรพคณุ ยาสมนุ ไพรพ้นื บา้ นอีสาน ใชเ้ นือ้ ไม้ ต้มน้ำ�ดมื่ แก้โรคไต แก้ทอ้ งผูก แกล้ มตีข้นึ ลำ�ต้น แกป้ วดเม่ือย เป็นยาระบาย แกร้ ดิ สีดวงทวาร บำ�รงุ โลหติ ฟอกโลหติ แก้โลหติ จาง แกผ้ อมแหง้ แรงนอ้ ย ทำ�ให้อยากอาหาร ขับระดขู าว แก้ปวดตามข้อ ขบั ผายลม ฟอกและ ขับโลหติ ระดู รกั ษาโรคตับอักเสบ (ผสมกับเปลือกตน้ มะดกู ) แก้หืด (ผสมกบั สมนุ ไพรอน่ื ) แกเ้ บาหวาน (ผสมกับรากทองพนั ชง่ั หัวข้าวเยน็ เหนอื หวั ขา้ วเย็นใต้ หวั ร้อยรู แกน่ สกั และ หญ้าชนั กาดทงั้ ตน้ ) ราก ตม้ หรอื ดองสรุ าดื่ม ขบั โลหติ ระดู บำ�รงุ โลหิต ดบั พษิ ร้อนของโลหิต แกล้ มอัมพฤกษ์ รักษาโรคตา บำ�รุงนำ้ �เหลือง ใบ แก้มตุ กิด ขบั ระดู ดอก แกบ้ ดิ มกู เลอื ด แก่นและราก ต้มนำ้ �ดื่มเป็นยาระบายแก้เส้นเอ็นอักเสบ ชว่ งทอ่ี อกดอก มกราคม ถงึ มนี าคม ชว่ งทีอ่ อกผล กมุ ภาพันธ์ ถงึ มนี าคม 11 ก

กำ�ลังเสอื โคร่ง ชื่อพืช กำ�ลงั เสือโคร่ง ช่ืออนื่ ขวากไก่ ช่ือวทิ ยาศาสตร ์ Strychnos axillaris Colebr. ชื่อวงศ ์ Strychnaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ รอเลอื้ ย หรือไม้เถาขนาดใหญ่ ใบเดยี่ ว ออกตรงข้าม แผ่นใบรปู สเ่ี หลย่ี มขา้ วหลามตดั ถงึ คอ่ นขา้ งกลม รปู ใบหอก ถงึ รปู ไข่ กวา้ ง 1-5.8 เซนตเิ มตร ยาว 1.5-11 เซนติเมตร ดอก ออกเป็นช่อกระจุกแยกแขนง ตามง่ามใบหรือ ปลายกิง่ ก้านช่อดอกส้ันมาก มีดอกจำ�นวนมาก กลบี ดอกสีเขยี วถงึ ขาว มี 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อนั ติดอยู่ใกลป้ ากหลอดดอก ยืน่ ยาวออกมาพน้ ปากหลอด รังไข่ อยู่เหนอื วงกลบี มี 2 ชอ่ ง แต่ละช่องมีไขอ่ ่อนจำ�นวนมาก ยอดเกสรเพศเมยี เป็นตุ่ม ผลทรงกลม หรือทรงรปู ไข่ มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 0.5-1.5 เซนตเิ มตร สีเขียว สุกสีส้มหรือแดง เปลือกบาง เรียบ มี 1-2 เมล็ด พบข้ึนได้ใน ป่าดงดบิ แล้ง ป่าละเมาะ และปา่ โปร่งท่ัวไป สรรพคณุ ยาสมนุ ไพรพน้ื บา้ นอสี าน ใชแ้ กน่ ตม้ น้ำ�ดมื่ ชว่ ยบำ�รงุ กำ�ลงั แกป้ วดเมอ่ื ย ตำ�รายาไทย ใชร้ าก ตำ�พอกแก้ฝี แกร้ ดิ สีดวงลำ�ไส้ ลำ�ตน้ แก้ติดเชือ้ ท่ีปากมดลูกหลังคลอด แก้ปอดพิการ แก้ไอ ดับพิษในข้อในกระดูก เส้นเอ็น แก้พษิ ตานซาง ขบั พยาธใิ นทอ้ ง แกก้ ามโรค แกเ้ ถาดานในท้อง แก่น บำ�รงุ โลหิต ดบั พิษไข้ แก้กระษยั ไตพิการ ปสั สาวะพิการ ใบ แกโ้ รคผวิ หนัง ใชอ้ าบลูกดอก และแก้อัมพาต เปลอื กต้น แก่น และใบ ตม้ ดมื่ แก้ปวดเมือ่ ยตามรา่ งกาย แกเ้ ส้น เอน็ พิการ แก้กระษยั แกเ้ หนบ็ ชา แกเ้ ขา้ ข้อ ช่วงที่ออกดอก กุมภาพันธ์ ถงึ มีนาคม ช่วงทีอ่ อกผล เมษายน ถงึ พฤษภาคม ก 12

กุ่มน้ำ� ชอ่ื พืช กมุ่ น้ำ� ชอ่ื อ่ืน - ช่อื วทิ ยาศาสตร ์ Crateva religiosa Ham. ช่อื วงศ ์ Capparaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมย้ นื ตน้ ใบประกอบแบบนวิ้ มอื ใบยอ่ ย 3 ใบ รปู วงรหี รอื รปู ไข่ ออก เรียงสลบั กว้าง 2.5-7 เซนตเิ มตร ยาว 5.5-16 เซนติเมตร ดอกช่อ ออกที่ ปลายกง่ิ และซอกใบ ตดิ ดอก 20-60 ดอก กลีบดอกเมื่อแรกบานสีขาวแล้ว เปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน กลีบรองดอกรูปไข่ปลายแหลม กลีบดอกกลม ยาว 2-3 เซนตเิ มตร สีขาว มี 4 กลีบ กลีบลา่ งและกลีบบนอย่างละ 2 กลีบ แต่กลีบบนจะใหญ่กว่าเกสรตัวผู้มีก้านสีม่วงหรือสีชมพู ยาวย่ืน 13-25 อัน ผลสด รูปร่างค่อนข้างกลมรี เปลอื กหนา ผลออ่ นผิวมีสะเก็ดสเี หลอื งอมเทา เมื่อสุกสีเทา ผลแก่ผิวเรียบ มีหลายเมล็ด พบตามข้างลำ�ธาร ริมแม่นำ้ � ทีช่ ืน้ แฉะ ในป่าเบญจพรรณ สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใช้ใบ รสขมหอม ขับเหงอื่ แกไ้ ข้ เจริญอาหาร ระบาย บำ�รงุ ธาตุ ขบั พยาธิ แกป้ วดเส้น แก้อมั พาต แก้โรคไขขอ้ อกั เสบ แก้สะอึก ขบั ผายลม แกล้ มขึ้นเบื้องสงู ดอก รสเยน็ แกเ้ จบ็ ในตา แกไ้ ข้ครน่ั เน้ือคร่ันตวั แก้เจ็บคอ ผล รสขม แก้ไข้ เปลือกต้น รสขมหอม แก้สะอึก ขับผายลม ขับเหงื่อ แก้ในกองลม แก้กระษัย แก้ริดสีดวงผอมแห้ง ระงับพิษท่ีผิวหนัง แก้ไข้ ขับนำ้ �เหลืองเสีย เป็นยาบำ�รุง ขับนำ้ �ดี ขับนิ่วในทางเดินปัสสาวะ แก้อาเจียน แกล้ มทำ�ให้เรอ ผสมรวมกบั เปลือกก่มุ บก เปลือกทองหลางใบมน ต้มนำ้ �ด่ืม เป็นยาขับลม แก้สะอึก กระพ้ี รสร้อน แก้ริดสีดวงทวาร แก่น รสรอ้ น แกน้ ่ิว ราก แช่น้ำ�กนิ บำ�รุงธาตุ ช่วงทอี่ อกดอกและติดผล ตุลาคม ถงึ ธนั วาคม 13 ก

กุม่ บก ชอ่ื พืช กุ่มบก ช่อื อืน่ - ชื่อวิทยาศาสตร ์ Creteva adansonii DC. subsp. trifoliata (Roxb.) Jacobs ชอ่ื วงศ ์ Capparaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนตน้ ใบเป็นใบประกอบแบบนวิ้ มือ มีใบย่อย 3 ใบ ออกเรยี งสลบั ใบรูปไข่ กว้าง 2-6 เซนตเิ มตร ยาว 2-10 เซนติเมตร ดอก ออกเป็นชอ่ กระจุก ตามซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกสีขาวเม่ือแรกบาน แลว้ เปลย่ี นเป็นสีเหลอื งหรือ สชี มพู กลบี ดอกมี 4 กลบี รปู รี ปลายมน โคนสอบเรยี ว เห็นเส้นบนกลีบชัดเจน คลา้ ยเสน้ ใบ เกสรตวั ผู้มจี ำ�นวนมาก กา้ นเปน็ เสน้ สีมว่ ง เกสรเพศเมียค่อนข้าง ยาว 1 อัน มรี ังไขเ่ หนอื วงกลบี ผลสด รปู ทรงกลม ผวิ มจี ุดสีนำ้ �ตาลอมแดง เปลอื กแข็ง ผลอ่อนมสี เี ขียว พอสกุ มีสีน้ำ�ตาลแดง เมลด็ รูปเกอื กมา้ หรอื รปู ไต มหี ลายเมล็ด ผิวเรยี บ พบตามป่าผสมผลดั ใบ ป่าเต็งรัง ไรน่ า ป่าเบญจพรรณ เขาหนิ ปูนและป่าไผ่ สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใบ รสร้อน ใชต้ ้มนำ้ �ดม่ื บำ�รุงหัวใจและขับลม ใบสดตำ� ทาแกก้ ลากเกลอื้ น แก้ตานขโมย ใบและเปลอื กราก ใชท้ าถนู วดให้เลือดมาเล้ยี ง บรเิ วณนนั้ เปลือกตน้ รสรอ้ น แกป้ วดทอ้ ง แก้ลงท้อง ขับผายลม แกบ้ วม บำ�รุงธาตุ คุมธาตุ กระตุ้นลำ�ไส้ให้ย่อยอาหาร ขับปัสสาวะ แก้ไข้ ขับน้ำ�เหลืองเสีย รักษาน่วิ บำ�รุงหัวใจ ทาแก้โรคผวิ หนงั เปน็ ยาระงบั ประสาท เปลอื กต้นนำ�มาน่ึง ให้รอ้ นใชป้ ระคบแกป้ วด เปลอื กตน้ ผสมกบั เปลือกกุ่มน้ำ� เปลอื กทองหลางใบมน ตม้ น้ำ�ดม่ื เปน็ ยาขบั ลม แกน่ รสรอ้ น แกร้ ดิ สดี วงทวาร และอาการผอมเหลอื ง กระพ้ี รสร้อน ช่วยทำ�ให้ขหี้ ูแห้งออกมา ราก รสร้อน บำ�รุงธาตุ ดอก เป็นยา เจริญอาหาร ผล แกท้ ้องผกู ชว่ งท่ีออกดอกและตดิ ผล ตุลาคม ถึง ธนั วาคม ก 14

ขอ่ ย ช่ือพชื ขอ่ ย ชอื่ อนื่ - ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Streblus asper Lour. ชอ่ื วงศ์ Moraceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่มหรอื ไมต้ น้ ขนาดกลาง ใบเดีย่ ว เรยี งสลบั แผ่นใบรูปรหี รอื รปู ไขก่ ลบั กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-8 เซนตเิ มตร ดอกสีเขียวอ่อน มกี ล่ินหอม ออกเป็น ชอ่ ตามซอกใบ ดอกย่อยมีขนาดเลก็ มาก ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมยี อยู่ ต่างต้นกนั ช่อดอกเพศผเู้ ป็นกระจุกกลม มี 5-15 ดอก เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางยาว 6-10 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้สีขาว ดอกเพศเมียออกเดี่ยว มีก้านยาว กลีบดอกสีเขียวปน เหลือง ผลสด รูปกลม หรือรูปไข่ ขนาดประมาณ 0.8 เซนติเมตร มีเมล็ดเดียว ผลแก่สเี หลือง ฉำ่ �น้ำ� มกี ลีบเลย้ี งสีเขยี วหมุ้ ปลายผลมีกา้ นเกสรตวั เมยี คล้ายเส้นด้าย ติดอยู่ เมล็ดกลม สขี าวแกมเทา พบตามท่ลี ุม่ ป่าเบญจพรรณทว่ั ไป และป่าละเมาะ สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใช้ก่ิงสด ทุบใช้สีฟัน ทำ�ให้เหงือกและฟันทน เปลือกต้น นำ�มาตม้ ใสเ่ กลอื ใหเ้ คม็ ใชร้ กั ษาโรครำ�มะนาด แกโ้ รคฟนั รกั ษาฟนั ใหแ้ ขง็ แรง แกป้ วดฟนั ปรุงเปน็ ยาแก้ท้องรว่ ง ใช้มวนสูบรกั ษาริดสดี วงจมูก ต้มกบั น้ำ�ใช้ชะลา้ งบาดแผล ราก รักษาแผลเร้ือรัง แกโ้ รคคอตีบ เปน็ ส่วนผสมในยารักษากระดูก ปวดเสน้ ประสาทและ ปวดเอว ฆ่าพยาธิ เปลือกราก บำ�รงุ หวั ใจ ใบ น้ำ�ต้มแก้โรคบิด แก้ปวดประจำ�เดอื น ขับน้ำ�นม แก้บิด ขับผายลม แก้ทอ้ งอืดเฟอ้ ผล บำ�รุงธาตุ แกล้ ม แกก้ ระษัย ขับลม จุกเสียด เป็นยาอายุวัฒนะ เมล็ด รสเมามันร้อน เป็นยาอายุวัฒนะ บำ�รุงธาตุ เจริญอาหาร แกท้ อ้ งอดื เฟอ้ ขับลมในลำ�ไส้ ชว่ งท่อี อกดอก ธนั วาคม ถึง มนี าคม ช่วงท่อี อกผล เมษายน ถึง พฤษภาคม 15 ข

ขนั ทองพยาบาท ช่อื พชื ขันทองพยาบาท ชอื่ อนื่ ดูกหนิ ดูกใส ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Suregada multiflorum (A.Juss) Baill. ชื่อวงศ์ Euphorbiaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมย้ นื ตน้ ขนาดกลางใบเดย่ี ว เรยี งสลบั รปู ขอบขนานแกมรปู หอก กวา้ ง 3-8 เซนตเิ มตร ยาว 9-22 เซนติเมตร เน้อื ใบหนาทึบ เหนยี ว ดอกสเี ขยี วอม เหลอื งออ่ น ออกเป็นช่อสัน้ ๆ ตรงซอกใบ กลนิ่ หอม ช่อละ 5-10 ดอก ดอกแยกเพศ แยกต้น ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ 35-60 อัน ดอกเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ กลีบรองดอกมี 5 กลีบ หนา ผลเกือบกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 เซนติเมตร ผลออ่ นสีเขยี วเมอ่ื สกุ มีสเี หลืองอมแสด แตกตามพู มี 3 พู เมล็ดค่อนข้างกลม หน่ึงผลมี 3 เมลด็ ขนาด 7-8 มิลลิเมตร สนี ำ้ �ตาลเขม้ มเี นอื้ บาง ๆ สขี าว (aril) หมุ้ เมล็ด พบตามปา่ เต็งรงั ป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใชร้ าก รสเมาเบอื่ รอ้ น แกล้ ม แกป้ ระดง แกพ้ ษิ ในกระดกู แก้โรคผิวหนัง รกั ษานำ้ �เหลอื งเสยี เปลอื กตน้ แกโ้ รคตบั พกิ าร แก้ปอดพิการ แกล้ มเปน็ พษิ แกโ้ รคผวิ หนงั แกก้ ลากเกลอ้ื น รกั ษามะเรง็ เปน็ ยาถา่ ย ยาระบาย บำ�รุงเหงือก แก้เหงอื กอักเสบ ทำ�ให้ฟนั ทน แก้ประดง ถ่ายนำ้ �เหลือง แก้พิษใน กระดูก ฆ่าพยาธิ แก้โรคเร้ือน แก้กามโรค เนื้อไม้ รสเมาเบ่ือ แก้กามโรค แก้น้ำ�เหลืองเสีย แก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง แก้มะเร็งคุดทะราด แก้กลากเกลื้อน แกล้ มพษิ แกป้ ระดงผน่ื คนั แกพ้ ษิ ในกระดกู ฆา่ พยาธิ แกโ้ รคเรอ้ื น แกล้ มและโลหติ เป็นพิษ เนอื้ ไม้ มพี ิษทำ�ใหเ้ มา ใชเ้ ป็นยาเบ่อื ลำ�ต้น ตม้ อาบสำ�หรบั หญิงอยไู่ ฟ ชว่ งที่ออกดอก มีนาคม ถึง พฤษภาคม ช่วงที่ออกผล เมษายน ถึง มิถนุ ายน ข 16

ข้าวสารปา่ ชอื่ พืช ขา้ วสารปา่ ชื่ออื่น เขม็ แพะ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Pavetta tomentosa Roxb. ex Smith. ชื่อวงศ ์ Rubiaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่มหรอื ไม้ตน้ ขนาดเลก็ ใบเด่ยี ว เรียงตรงขา้ มสลับต้ังฉาก รูปรี แกมรูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-10 เซนติเมตร ยาว 8-15 เซนติเมตร แผ่นใบบางคลา้ ยกระดาษ ช่อดอกแบบช่อกระจกุ แยก แขนง คล้ายชอ่ เชิงหลน่ั สขี าว มีกล่ินหอม ออกทซ่ี อกใบใกล้ปลายกิ่ง ช่อยาว ได้ถึง 15 เซนติเมตร ช่อดอกกลม หลวม ๆ ดอกย่อยจำ�นวนมาก กลบี ดอกสีขาว โคนเชื่อมกันเป็นรูปแตร หลอดแคบ แยกเปน็ กลีบ 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อนั ตดิ ทีป่ ลายหลอดกลีบดอก สลับกบั แฉกกลีบดอก รงั ไขอ่ ยใู่ ตว้ งกลีบ ผลผนังชั้น ในแข็ง กลม มี 2 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 มิลลิเมตร สีเขียวเป็นมัน เมือ่ แกเ่ ป็นสดี ำ� เนื้อผลบาง ภายในมี 2 เมลด็ สนี ้ำ�ตาล พบทัว่ ไปในปา่ เตง็ รัง ปา่ ดิบเขา และป่าเบญจพรรณ สรรพคณุ ยาพื้นบ้านอีสาน ใช้รากหรือลำ�ต้น ผสมสมุนไพรอื่นหลายชนิด ตม้ นำ้ �ดม่ื แกม้ ะเร็ง รากต้มนำ้ �ดม่ื ชว่ ยเพิม่ น้ำ�นม ตำ�รายาไทย ใบ รสเมาเบ่อื ใช้รักษาโรคในจมกู ฆ่าพยาธิ ใชน้ ำ้ �ต้ม แก้อาการไข้ ใบและราก ใช้พอกฝี รักษาริดสีดวงทวาร แก้หิด เปลือกต้น มีรสเมาเบอื่ ตำ�คนั้ เอาน้ำ�หยอดหูฆ่าแมลงคาในหู ผล รสเมาเบ่ือ แกร้ ิดสีดวง งอกในจมูก ดอก มีรสฝาดเยน็ แก้ตาแดงตาแฉะ ราก มีรสเฝอื่ น แกเ้ สมหะ ในทอ้ งและในทรวงอก ตม้ น้ำ�กนิ แกบ้ ิด ชว่ งที่ออกดอกและติดผล เมษายน ถึง สงิ หาคม 17 ข

ขเี้ จียก ชอื่ พืช ขีเ้ จยี ก ชื่ออ่ืน เครอื พูทอง ตำ�แยดนิ ชื่อวทิ ยาศาสตร ์ Argyreia thorelii Gagnep. ช่ือวงศ ์ Convolvulaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถาเลอื้ ยลม้ ลกุ มหี วั ใตด้ นิ มขี นยาวสนี ำ้ �ตาลทองประปรายตามกงิ่ ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั รปู แถบแกมรปู ใบหอก กวา้ ง 1.2-2.5 เซนตเิ มตร ยาว 8-14 เซนตเิ มตร ดอกช่อ แบบช่อกระจกุ ออกสั้น ๆ ท่ซี อกใบ ดอกย่อย 3-7 ดอก ในแตล่ ะชอ่ กลีบดอกรปู ดอกเข็ม ปลายแหลม แยกเปน็ 5 แฉก หลอดกลบี ดอกยาว 4-5 เซนติเมตร เกสรเพศผู้ยื่นพ้นเลยปากกลีบดอก ยาว 3.8-4 เซนติเมตร เกสรเพศเมยี ยาวเทา่ ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรหยกั 2 พู ผลสดเมื่อ แหง้ แตก ทรงกลม มหี ลายเมลด็ พบตามปา่ เตง็ รงั และปา่ ดบิ แลง้ ทเ่ี ปน็ หนิ ทราย สรรพคุณ ยาพ้นื บา้ นอสี าน ใช้ราก ตม้ นำ้ �ดืม่ แกไ้ อ รบั ประทานสด เปน็ ยา ระบาย ช่วงที่ออกดอกและติดผล สงิ หาคม ถึง กันยายน ข 18

คดสัง ชื่อพชื คดสงั ชื่ออนื่ เบนน้ำ� ชื่อวิทยาศาสตร ์ Combretum trifoliatum Vent. ช่อื วงศ ์ Combretaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถาหรอื ไมพ้ ุม่ รอเล้อื ย ใบเปน็ ใบเดย่ี ว ออกที่ข้อเดียวกัน 3-5 ใบ รูปรีหรอื รูปใบหอก กวา้ ง 3-5.5 เซนตเิ มตร ยาว 8-16 เซนตเิ มตร ดอกสขี าว หรือสขี าวอมเหลือง มีกลน่ิ หอม ออกเปน็ ชอ่ กระจายทป่ี ลายยอดหรอื ตามงา่ ม ใบ ช่อดอกยาว 8-20 เซนติเมตร กลีบดอกมี 5 กลีบ มีขนนุ่มหนาแน่น เกสรตวั ผมู้ ี 10 อนั กา้ นเกสรตวั ผยู้ าว 4-5 มลิ ลเิ มตร อบั เรณยู าว 0.5 มลิ ลเิ มตร ส่วนทอ่ เกสรตวั เมยี ยาวประมาณ 5 มิลลเิ มตร ผลไม่มีก้าน รปู รแี คบ กว้าง 1-1.5 เซนติเมตร ยาว 3-3.5 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง สีน้ำ�ตาลดำ� เปน็ มัน มีครีบปีกแขง็ 5 ปีก (อาจพบแบบมี 4 หรือ 6 ปีก) ปีกกว้างประมาณ 3-4 มิลลเิ มตร ชอบขน้ึ บรเิ วณทีช่ มุ่ ช้ืน สรรพคณุ ยาสมนุ ไพรพ้ืนบ้านอีสาน ใช้ ราก ฝนทา แก้ฝีหนอง ลำ�ตน้ เขา้ ยา กับแก่นมะขาม เพกา เบนนำ้ � และจำ�ปาขาว ตม้ นำ้ �ดมื่ แกน้ ่วิ ในไต ตำ�รายาไทย ใช้ ราก ปรงุ เปน็ ยาชงแกต้ กขาว ใช้ชำ�ระลา้ งอวยั วะ สบื พันธุ์สตรี เปลอื กและราก ฝนกับน้ำ�ซาวขา้ ว กนิ เปน็ ยาสมานลำ�ไส้ แก้บดิ แกท้ อ้ งร่วง หรอื ดองเหลา้ กินแกป้ วดทอ้ ง แก้จกุ เสียด ผล ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ ไสเ้ ดอื น ตม้ น้ำ�อมแกเ้ หงอื กบวม และปากเปอื่ ย นำ�ผลมาผสมกบั เมลด็ ขา้ วโพด แลว้ ทำ�ใหส้ กุ นำ�มาปน้ั เปน็ ยาลกู กลอน เอามาเคยี้ วเปน็ ยาบำ�รงุ และรกั ษาเหงอื ก ทั้งต้น รกั ษาโรคบิด ขับพยาธิ ช่วงทอี่ อกดอก มกราคม ถึง กุมภาพนั ธ์ ชว่ งท่อี อกผล มนี าคม ถึง เมษายน 19 ค

คนทีสอ ช่อื พืช คนทสี อ ชือ่ อืน่ ดินสอ ผเี สือ้ น้อย ช่ือวทิ ยาศาสตร ์ Vitex trifolia Linn. ชอ่ื วงศ์ Verbenaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พมุ่ ขนาดกลาง ทัง้ ตน้ มีกลน่ิ หอม ใบประกอบแบบนวิ้ มือ ออกตรงกันข้าม ใบย่อยรปู ไข่ปลายแหลม 3 ใบ กว้าง 2.5-3 เซนตเิ มตร ยาว 4-6 เซนตเิ มตร ขอบใบเรียบ ปลายแหลม โคนใบสอบ ท้องใบและหลังใบเรียบ หลังใบสีเขียว ท้องใบเป็นสีนวลขาว มีขน ก้านใบยาว 1-3 เซนติเมตร ก้านใบย่อยส้ันมาก ดอกช่อแยกแขนง ดอกมีขนาดเลก็ สีฟ้าอมมว่ งเปน็ ชอ่ ยาว ออกท่ยี อดหรอื ตามซอก ใบใกลป้ ลายก่ิง โคนกลีบดอกเชอื่ มตดิ กันเป็นหลอด ยาว 5-8 มิลลเิ มตร ปลายแยก รูปปากเปิด มขี น มี 5 กลีบ กลีบดอกมีขนาดไมเ่ ทา่ กนั แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น ส่วนล่างมี 2 กลีบ ส่วนบนมี 3 กลบี มเี กสรตวั ผู้ 4 อนั รงั ไข่อยู่เหนอื วงกลบี ผลสด รปู ทรงกลม มเี มลด็ เดียว สีเขียวนวล เป็นพวงชอ่ เมล็ดเด่ียวกลม สีนำ้ �ตาล เมอื่ สุกมีสคี ล้ำ�หรือดำ� เกดิ ตามป่าดงดบิ เขา ป่าเบญจพรรณ สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใบ รสร้อนสขุ ุม หอม บำ�รุงนำ้ �ดี ขบั เสมหะ บำ�รงุ ธาตุ รักษา โรคตับ ขับลม แก้ไอ แก้หืด ฆ่าพยาธิ แก้ริดสีดวงจมูก แก้ลำ�ไส้พิการ ขับเหง่ือ แก้พิษฝีใหญ่ แชน่ ้ำ�อาบแก้ผ่ืนคนั โรคผิวหนัง โรคปวดขอ้ ปวดกลา้ มเนอื้ และเป็นยา ไล่แมลง ดอก แก้ไข้ แกห้ ดื ไอ ฆ่าพยาธิ บำ�รุงครรภม์ ารดา บำ�รุงน้ำ�นม ผล รสร้อน สขุ ุม แกค้ ลื่นเหยี นอาเจียน แกล้ ม ฆ่าพยาธิ แก้หืดไอ แก้ไข้ แก้รดิ สีดวงจมูก แกป้ วด ตามเนอ้ื ตามขอ้ แกท้ ้องมาน ขบั เหงือ่ เมล็ด รสร้อนสขุ ุม ระงบั ปวด เจรญิ อาหาร ราก รสรอ้ นสขุ มุ แกไ้ ข้ แกโ้ รคตับ โรคตา ถา่ ยนำ้ �เหลือง ขบั เหงอ่ื ขบั ปัสสาวะ รากและ ใบ ตม้ กินแกไ้ ข้ ใหห้ ญงิ หลังคลอดบตุ รใหม่ ๆ รบั ประทานเป็นยาขับปสั สาวะและขับเหง่ือ ชว่ งทอ่ี อกดอกและติดผล เมษายน ถึง พฤษภาคม ค 20

คดั เค้าเครือ ชื่อพชื คดั เค้าเครอื ชอ่ื อื่น - ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Oxyceros horridus Lour. ช่อื วงศ์ Rubiaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมร้ อเลอ้ื ยเนอ้ื แขง็ หรอื ไมพ้ ุ่มขนาดกลาง มีหนามแหลม สั้น ปลาย โคง้ แขง็ เป็นคตู่ ามข้อและโคนใบ ใบ เป็นใบเดยี่ ว ออกตรงข้าม เน้ือใบหนาแข็ง เหนยี ว ใบรูปรี แกมขอบขนาน กวา้ ง 4-5 เซนติเมตร ยาว 6-12 เซนติเมตร ดอกออกเปน็ ช่อกระจุกตามซอกใบและปลายก่งิ มลี ักษณะคล้ายดอกเข็ม เมื่อ แรกบานสีขาวแล้วเปล่ียนเป็นสีแกมเหลือง กล่ินหอมแรงในตอนกลางคืน กลบี ดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อนั ยาวและย่นื พ้นกลีบดอก ผลสดแบบ ผลกลุ่ม รูปกลมรี สีเขียวเข้ม เม่ือแก่สีดำ� ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร ส่วนก้นนูนเป็นวง เมล็ดขนาดเล็กมีจำ�นวนมาก พบตาม ปา่ ดบิ แลง้ ป่าเบญจพรรณ และตามป่าละเมาะ สรรพคุณ ตำ�รายาไทย ท้ังตน้ แกเ้ สมหะ บำ�รงุ โลหิต แกไ้ ข้ ใบแชน่ ำ้ �ดื่มแก้ไข้ ดอก รสขมหอม แก้เลอื ดออกตามไรฟัน ผล รสเฝ่อื นปร่า ปรงุ เป็นยาตม้ ฟอก โลหติ ระดู เป็นยาขบั ประจำ�เดอื น บำ�รงุ โลหติ ผลมีสารจำ�พวกไตรเทอรป์ นี ซา โปนนิ มฤี ทธิ์เบอ่ื ปลา ราก ช่วยขบั เลือด แก้ไข้ แก้เลือดออกตามไรฟนั ขบั ลม รากและผล ขับระดู บำ�รุงโลหิต ขับฟอกโลหิต แก้ท้องเสีย รากหรือแก่น ฝนนำ้ �กินแก้ไข้ หนาม แก้พิษฝีต่างๆ ลดไข้ ลดความร้อน แก่น ฝนนำ้ � รับประทานแกไ้ ข้ ช่วงท่อี อกดอก ธนั วาคม ถงึ มกราคม ชว่ งทอ่ี อกผล กมุ ภาพันธ์ ถึง เมษายน 21 ค

ค�ำ มอกหลวง ชอื่ พชื คำ�มอกหลวง ชอื่ อืน่ - ชื่อวิทยาศาสตร์ Gardenia sootepensis Hutch. ช่ือวงศ์ Rubiaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้น เป็นใบเด่ียว เรียงตรงข้าม สลับต้งั ฉาก รูปวงรี รปู ขอบ ขนานแกมไข่กลับ หรือรูปไข่กลับ กว้าง 12-18 เซนติเมตร ยาว 22-30 เซนติเมตร ใบแก่เขียวเข้มเป็นมัน ก้านใบร่วงหล่นง่ายท้ิงรอยแผลกลม ๆ ตุ่มตารูปกรวยกว้าง ยอดอ่อนมีน้ำ�ยางคล้ายข้ีผ้ึงสีเหลืองหุ้มไว้ ดอกเด่ียว ออกที่ซอกใบ หรือตามปลายยอด ขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลาง 5-7 เซนตเิ มตร มีกลบี ดอก 5 กลบี กลีบดอกสีขาวนวลเมือ่ แรกบาน แล้วเปลี่ยนเป็นสเี หลืองสด กลน่ิ หอม เกสรตวั ผู้มี 5 อนั รงั ไข่อยู่ใต้วงกลีบ ผลสด มีเนอื้ สเี ขียวเข้ม เม่อื แกเ่ ปล่ยี นเป็นสีดำ� รปู กระสวยแกมไขก่ ลับ หรือรปู ขอบขนาน มีเนอื้ และ เมลด็ ขนาดเล็กหลายเมลด็ พบตามป่าเตง็ รัง และป่าเบญจพรรณ สรรพคุณ ยาสมนุ ไพรพน้ื บา้ นอสี าน ใชเ้ นอ้ื ไมเ้ ขา้ ยากบั โมกเตยี้ และสามพนั เตยี้ ต้มนำ้ �ด่ืม แก้บดิ ถ่ายเปน็ มูกเลือด ยาพ้นื บา้ น ใช้เมล็ด ต้มนำ้ �ผสมเปน็ ยาสระผม ฆ่าเหา แกน่ ผสมกบั แก่นมะพอก ตม้ รวมกันใหห้ ญิงอยไู่ ฟอาบและใชส้ ระผม ช่วงที่ออกดอก มกราคม ถงึ เมษายน ชว่ งทีอ่ อกผล พฤษภาคม ถงึ สงิ หาคม ค 22

คุย ชือ่ พืช คยุ ชื่ออ่ืน ยาง ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ Willughbeia edulis Roxb. ชอ่ื วงศ์ Apocynaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถาเน้ือแขง็ รอเล้ือยขนาดใหญ่ ทกุ สว่ นของตน้ มนี ้ำ�ยางสีขาวขุน่ ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขา้ ม รปู รี รปู ไขก่ ลบั หรอื รปู ขอบขนาน กวา้ ง 5-7 เซนตเิ มตร ยาว 10-14 เซนตเิ มตร เนื้อใบหนา ผวิ ใบดา้ นบนเกล้ยี งเป็นมัน ดอกช่อแบบ ชอ่ กระจกุ มดี อกยอ่ ย 5-6 ดอก กลบี ดอกเชอ่ื มตดิ กนั เปน็ หลอด ปลายแยกเปน็ 5 แฉก สีขาวปนสเี หลือง เรียงบดิ เวยี นแบบขวาทบั ซ้าย เกสรเพศผมู้ ี 5 อัน เกสรเพศเมีย รงั ไขก่ ง่ึ ใต้วงกลีบ ผลเด่ียวแบบผลสดมเี น้อื หลายเมลด็ ทรงกลม หรือรปู ไข่ เปลือกผลคอ่ นข้างหนา สเี ขียว เมอ่ื สกุ สีเหลืองถึงส้ม เนือ้ ผลล่ืนติด กับเมล็ด เปลือกหุ้มผลมีน้ำ�ยางสีขาวข้น พบตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบช้ืน ปา่ เบญจพรรณ สรรพคณุ ยาพ้นื บา้ นอสี าน ใช้ลำ�ตน้ ผสมลำ�ตน้ มา้ กระทบื โรง ต้มนำ้ �ดื่ม บำ�รงุ กำ�ลงั เป็นยาอายุวัฒนะ เปลอื ก รกั ษาอาการปวดศรี ษะ ราก ตม้ กนิ รกั ษา โรคบดิ นำ้ �ยางใชท้ ำ�กาวดกั จบั แมลงได้ ผลสุก มีรสเปร้ียวอมหวาน รบั ประทานได้ หล่อล่นื ลำ�ไส้ ช่วยใหข้ ับถ่ายสะดวก ตำ�รายาไทย เถา แกล้ มขัดในขอ้ ในกระดกู แก้มือเท้าอ่อนเพลยี ตม้ ด่มื แก้บิด แกต้ บั พกิ าร แกค้ ุดทะราด ราก แก้มือเท้าอ่อนเพลยี ตม้ ดม่ื แก้ โรคบดิ แก้เจบ็ คอ เจบ็ หนา้ อก เปลือกต้น ต้มดื่มแก้ปวดศรี ษะ ยาง รสฝาด ร้อน ทาแผล แก้คดุ ทะราด ผลดิบ รสเปรย้ี วฝาด ผลแห้งย่างไฟ บดทาแผล ชว่ งทอ่ี อกดอก กมุ ภาพันธ์ ถงึ มีนาคม ช่วงทอี่ อกผล กรกฎาคม ถงึ กนั ยายน 23 ค

เครือหมานอ้ ย ชอ่ื พืช เครอื หมานอ้ ย ช่อื อ่ืน กรงุ เขมา ชื่อวิทยาศาสตร ์ Cissampelos pareira L. var. hirsuta (Buch. ex DC.) Forman. ชอ่ื วงศ ์ Menispermaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถาเลือ้ ย เน้ือไมแ้ ขง็ มขี นนุ่มส้ันปกคลุมหนาแนน่ ตามเถา กงิ่ ช่อ ดอก และใบ ใบเป็นใบเด่ียว ออกแบบสลบั มหี ลายรูป เช่น รปู หัวใจ รูปกลม ก้นใบปดิ กว้าง 4.5-12 เซนติเมตร ยาว 4.5-11 เซนตเิ มตร ดอกออกเป็นชอ่ กระจุกสีขาว ขนาดเลก็ ดอกแยกเพศ และอยู่ตา่ งตน้ กัน เรยี งแบบชอ่ เชิงหลนั่ ดอกเพศผู้ สเี ขยี วหรอื สีเหลือง เกสรเพศผเู้ ชอ่ื มตดิ กัน ช่อดอกเพศเมีย เปน็ ช่อคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง ผลสด มีก้านอวบใหญ่ ขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร สีส้ม ผลทรงกลมรอี ยตู่ รงปลาย เม่อื สุกสนี ้ำ�ตาลแดง เมล็ดโคง้ งอ รูปพระจนั ทร์ครงึ่ ซีก พบในปา่ ดิบ ปา่ ผลัดใบ และปา่ ไผ่ ตามรมิ แมน่ ำ้ �ลำ�ธาร สรรพคุณ ตำ�รายาไทย ส่วนเหนอื ดนิ เปน็ ยาแกร้ ้อนใน แกโ้ รคตบั ราก ใชแ้ ก้ไข้ แกด้ ีซา่ น เปน็ ยาขบั ปัสสาวะ ยาถ่าย แก้ไขม้ าลาเรีย ใช้เปน็ ยาเจริญอาหาร ยาอายวุ ฒั นะ ยาชว่ ยยอ่ ย แกท้ อ้ งรว่ ง บวมน้ำ� แกไ้ อ ขดั เบา กระเพาะปสั สาวะ อกั เสบ โรคหนองใน ใชเ้ คีย้ ว แกป้ วดทอ้ ง และโรคบิด ระบายน่วิ เป็นยาขับ เหง่ือ ยาขับระดู ยาบำ�รุง ยาสงบประสาท ยาขับนำ้ �เหลืองเสีย ยาสมาน รากและใบ พอกเป็นยาเฉพาะท่ี แกโ้ รคผวิ หนงั หิด ลำ�ตน้ ดับพษิ ไขท้ ุกชนดิ บำ�รงุ โลหติ สตรี เปน็ ยาพอกแกต้ าอกั เสบ เนอื้ ไม้ แกโ้ รคปอด และโรคโลหติ จาง ใบ แก้ร้อนใน พอกแผล ฝี แก้แผลมะเร็ง แก้หืด ใช้ทาภายนอกแก้หิด ใบคัน้ เอานำ้ �เมอ่ื ผสมกบั เครื่องปรุงอาหาร จะมีลกั ษณะเป็นวุ้น ชว่ งท่ีออกดอก ตลุ าคม ถึง พฤศจกิ ายน ช่วงท่ีออกผล ธนั วาคม ถึง กุมภาพันธ์ ค 24

เจตพังคี ชือ่ พืช เจตพังคี ช่ืออน่ื ใบหลงั ขาว ชื่อวทิ ยาศาสตร ์ Cladogynos orientalis Zipp.ex Span. ชอ่ื วงศ ์ Euphorbiaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุม่ กิ่งก้านมขี นรปู ดาวสขี าว รากมเี ปลือกหุม้ เปน็ เยอื่ บางสเี หลอื ง หรือสีเหลืองเข้ม ใบ เป็นใบเด่ียว ออกเรียงสลับ รูปไข่หรือรูปวงรี กว้าง 3-8 เซนติเมตร ยาว 6-15 เซนติเมตร แผน่ ใบหนา ดา้ นบนเกลี้ยง สีเขยี วเข้ม แผ่นใบด้านล่างมีขนสีขาวจำ�นวนมาก ทำ�ให้มองเห็นแผ่นใบสีขาวหรือสีเงิน ดอกแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน แต่ละช่อมีดอกเพศเมีย 1 ดอก ดอกเพศผู้ 1-2 ดอก เกสรเพศผู้สีเหลือง เป็นเส้นยาวย่ืน 4 เส้น รังไข่กึ่งทรงกลม ผลรปู ทรงกลม ผลแห้งไมแ่ ตก ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 8 มิลลเิ มตร แบง่ เป็น 3 พู ผิวเป็นลายเส้นสีขาวทั้งผล และมีขนนุ่มสีขาว พบตามป่าดิบ ป่าไม่ ผลดั ใบ ป่าเขาหินปูน สรรพคุณ ตำ�รายาไทย ราก รสเผ็ดขน่ื เฝอื่ นเลก็ น้อย และมีกลิ่นหอม ช่วยขับลม แกท้ อ้ งขนึ้ ปวดแนน่ ทอ้ ง หรอื นำ�มาฝนกบั น้ำ�ปนู ใสทาทอ้ งเดก็ ออ่ น ทำ�ใหผ้ ายลม แก้ทอ้ งอืดเฟอ้ แกโ้ รคในกระเพาะและลำ�ไส้ ทำ�ให้เจริญอาหาร หรือใชร้ ว่ มกบั มหาหงิ คุห์ รือการบูรก็ได้ หรือนำ�รากมาผสมกบั รากกำ�ยาน ต้มน้ำ�ดม่ื บำ�รงุ ธาตุ บำ�รงุ หัวใจ หรือผสมกบั ไพล กะทอื บ้าน กะทอื ป่า กระเทียม ขงิ พรกิ ไทย ดีปลี เจตมูลเพลิงแดง บดเป็นผงละลายน้ำ�ตาลทรายพอหวาน ด่ืมเป็นยา รักษาธาตุ เจริญอาหาร ขับลมในกระเพาะและลำ�ไส้ ท้ังต้น ต้มน้ำ�หรือ ทำ�เปน็ ผง หรือดองเหลา้ กินแก้ลมจกุ เสยี ด ท้องขึน้ ท้องเฟ้อ และทอ้ งรว่ ง ช่วงท่อี อกดอก และตดิ ผล มีนาคม ถึง พฤศจิกายน 25 จ

เฉยี งพร้านางแอ ชื่อพชื เฉียงพร้านางแอ ชอื่ อ่นื - ช่อื วทิ ยาศาสตร ์ Carallia brachiata (Lour.) Merr. ชือ่ วงศ ์ Rhizophoraceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ อาจพบลักษณะรากค้ำ�จุนแบบ prop root เป็นเสน้ ยาว หรอื ออกเปน็ กระจกุ ตามลำ�ตน้ หรือโคนต้น ใบเดี่ยว เรยี งตรงขา้ มสลับตงั้ ฉาก รปู วงรแี กมรูปขอบขนาน กว้าง 4-7 เซนติเมตร ยาว 7-10 เซนตเิ มตร หลังใบสเี ขียวเขม้ เปน็ มนั หนา ดอกชอ่ แยกแขนง มกั เรียง ตวั แนน่ เป็นชอ่ กลม ไมม่ ีก้านดอกยอ่ ย กลบี ดอก 5 กลบี กลีบดอกขนาดเลก็ รูปรา่ งเปน็ แผ่นกลม สีเขียวอมเหลอื ง เกสรเพศผู้มี 10-16 อัน ผลสดแบบมี เน้อื รูปทรงกลม ขนาดเล็ก ออกเปน็ กระจุก มีกลีบเล้ียงดา้ นบน คล้ายมงกุฎ ผวิ ผลเปน็ มนั มเี นอ้ื บางสเี ขยี วหอ่ หมุ้ ผลแกส่ สี ม้ ปนแดง เมลด็ รปู ไตสนี ำ้ �ตาลเขม้ หรอื ดำ� มเี ย่ือหนาสีสม้ รับประทานได้ พบตามปา่ เต็งรัง ป่าดบิ แล้ง สรรพคณุ ยาพื้นบ้านอีสานใช้ ลำ�ต้น ฝนนำ้ �กินแก้ไข้ ต้มนำ้ �ด่ืมบำ�รุงร่างกาย เปน็ ยาเจรญิ อาหารสำ�หรบั สตรหี ลงั คลอด ผสมลำ�ตน้ แคด เปลอื กตน้ ตบั เตา่ ตน้ ต้มน้ำ�ด่ืม แก้ผิดสำ�แดง (กินอาหารแสลงไข้ ทำ�ให้โรคกำ�เริบ อาจมีอาการ ท้องเสีย) เปลือกต้น ต้มน้ำ�อาบรักษาไข้ตัวร้อน แก่น ช่วยขับลม ระบาย ความรอ้ น ตำ�รายาไทย ใช้ เปลอื กตน้ รสฝาดเยน็ แกไ้ ข้ แก้รอ้ นในกระหายน้ำ� ขับเสมหะ และโลหติ ปิดธาตุ สมานแผล แก้บิด แกพ้ ิษผิดสำ�แดง ต้น แกไ้ ข้ บำ�รุงร่างกาย และช่วยเจรญิ อาหาร ช่วงท่อี อกดอกและติดผล เมษายน ถึง สิงหาคม ฉ 26

ชะมวง ชื่อพชื ชะมวง ชื่ออ่นื สม้ โมง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Garcinia cowa Roxb. ชื่อวงศ ์ Clusiaceae (Guttiferae) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ ถงึ กลาง มนี ำ้ �ยางสเี หลือง ใบเดี่ยวเรยี งตรงขา้ ม สลับต้ังฉาก รูปวงรีแกมใบหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 2-3.5 เซนติเมตร ยาว 7-15 เซนติเมตร เนอ้ื ใบหนาและแขง็ เปราะ ดอกแยกเพศ อยู่คนละต้น ดอกตวั ผอู้ อกตามกง่ิ เปน็ กระจกุ เกสรตวั ผมู้ จี ำ�นวนมากเรยี งกนั เปน็ รปู สเี่ หลยี่ ม กลบี ดอกสเี หลอื ง 4 กลบี รปู รี แขง็ หนา ดอกตวั เมยี เปน็ ดอกเดยี่ ว ดอกมขี นาด ใหญก่ ว่าเล็กนอ้ ย มปี ลายเกสรเป็น 4-8 เหลยี่ ม ผลสด รปู กลมแป้น ผิวเรยี บ ขนาด 2.5-6 เซนตเิ มตร เมือ่ สุกสีเหลอื งแกมสม้ หมน่ มีร่องตนื้ ๆ 5-8 รอ่ ง ด้านบนปลายบุ๋ม และมีช้ันกลีบเล้ียงติดอยู่ มีรสฝาด มีเมล็ดขนาดใหญ่ 4-6 เมล็ด รปู รี หนา เรยี งตวั กนั เปน็ วงรอบผล พบทวั่ ไปในป่าชน้ื ระดบั ต่ำ� สรรพคุณ ยาพื้นบ้านอีสาน ใช้ ราก ผสมรากปอด่อน รากตูมกาขาว และ รากกำ�แพงเจด็ ชั้น ต้มนำ้ �ดม่ื เปน็ ยาระบาย แก่น ฝนหรือแช่นำ้ �ด่มื แกอ้ าการ เหนบ็ ชา ใบออ่ นและผลอ่อน มีรสเปร้ยี วรับประทานได้ ตำ�รายาไทย ใช้ ใบหรือผล รสเปรย้ี ว เปน็ ยาระบาย แกไ้ ข้ กระหายนำ้ � กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุพิการ ราก มีรสเปร้ียว แก้ไข้ตัวร้อน แก้บิด แกเ้ สมหะ ใบ มีรสเปร้ยี ว ปรงุ เป็นยากดั ฟอกเสมหะ และโลหติ แก้ไอ ผสม กับยาชนดิ อน่ื ๆปรุงเป็นยาขับเลือดเสยี ใบและดอก เป็นยาระบายท้อง แก้ไข้ กัดฟอกเสมหะ รกั ษาธาตุพกิ าร ผล หน่ั เปน็ แว่นตากแหง้ ใช้กินเปน็ ยาแกบ้ ดิ ชว่ งท่อี อกดอก กุมภาพันธ์ ถึง เมษายน ชว่ งทอี่ อกผล พฤษภาคม ถึง มิถุนายน 27 ช

ชะลชู ่อสนั้ ชือ่ พชื ชะลดู ช่อส้ัน ชื่ออนื่ ตังตุน่ ชอื่ วิทยาศาสตร์ Alyxia schlechteri H. Lev. ชือ่ วงศ ์ Apocynaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ รอเลอ้ื ยหรือไม้เถาเน้ือแขง็ ขนาดเลก็ มีน้ำ�ยางขาว เปลือกต้น และกง่ิ กา้ นสีเทา มรี ูอากาศมาก ใบเด่ยี ว เรยี งเป็นวงรอบขอ้ ขอ้ ละ 3-4 ใบ ใบหนาแนน่ ชว่ งบนของกง่ิ รปู วงรแี กมขอบขนาน รปู ใบหอกกลบั หรอื รปู ใบหอก กว้าง 1-4 เซนติเมตร ยาว 5-10 เซนติเมตร เน้ือใบค่อนข้างหนาเหนียว ดอกช่อกระจกุ ออกทซ่ี อกใบ ขนาด 0.5-1 เซนติเมตร ดอกย่อยหลายดอก ขนาดเล็ก กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกสีขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว โคนหลอดสเี หลอื งแกมส้ม มีกลิ่นหอม ผลสด รูปขอบขนาน คอดเปน็ ขอ้ ๆ ตามเมล็ด 2-3 ขอ้ แตล่ ะขอ้ ยาว 7.5 มลิ ลิเมตร ผลออ่ นสเี ขยี ว เมอ่ื สุกเปล่ียน เปน็ สีมว่ งดำ� มี 1-3 เมล็ด พบตามป่าเต็งรัง ป่าโปร่ง ป่าละเมาะ สรรพคณุ ยาพ้นื บา้ นอีสาน ใช้ ลำ�ตน้ ตม้ นำ้ �ดืม่ แกเ้ หน็บชา แก้ตกขาว เข้ายา แกก้ ระษยั เสน้ แกป้ วดเมอื่ ยจากการทำ�งานหนกั เถา ตม้ น้ำ�ดม่ื ชว่ ยบำ�รงุ หวั ใจ เปลอื กต้น มกี ลิน่ หอม ใช้ทำ�ธปู ตำ�รายาไทย เปลอื กเถา รสหอมเย็น ขบั ผายลม แกป้ วดในท้อง ต้ม เอาน้ำ�ปรุงบุหรใ่ี ห้มีกล่ินหอมชวนสูบ และทำ�เป็นผง ปรงุ เป็นเครอ่ื งหอมอื่น ๆ เช่น ธูปหอม นำ้ �อบ น้ำ�ปรุง เป็นตน้ ใบและผล แก้ไข้รอ้ นใน กระสับกระสา่ ย แกส้ ะอกึ แกด้ พี กิ าร แกค้ ดุ ทะราด ดอก แกพ้ ษิ ไขเ้ พอ้ คลงั่ แกส้ ะอกึ แกด้ พี กิ าร แก้ลม ราก แก้ลม แก้พิษเสมหะ แก้พิษไข้ เนื้อต้น แก้ลม บำ�รุงหัวใจ ขับผายลม แก้ปวดมวนทอ้ ง และไซท้ ้อง ชว่ งทอ่ี อกดอกและตดิ ผล มีนาคม ถึง กรกฎาคม ช 28

ชะเอมไทย ชอื่ พืช ชะเอมไทย ช่อื อืน่ ชะเอมป่า ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Albizia myriophylla Benth. ชอื่ วงศ ์ Leguminosae- Mimosaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถายนื ตน้ ขนาดกลาง มหี นามตามลำ�ตน้ และกง่ิ กา้ น ใบเลก็ ละเอยี ด เป็นฝอย เปน็ ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงสลับ ใบยอ่ ยเรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปขอบขนาน มีขนที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อท่ีปลายก่ิง ช่อดอกแบบ ช่อแยกแขนง ลักษณะเป็นพู่ กลีบดอกสีขาว มีกล่ินหอม ก้านช่อดอกยาว 1.3-2.3 เซนติเมตร ดอกรวมเป็นกระจุกที่ปลายก้าน เกสรตัวผู้ยาว สีขาว 10 อัน ผลเป็นฝักแบน ปลายแหลม กว้าง 2.3-2.5 เซนติเมตร ยาว 7.2-15.2 เซนตเิ มตร โคนและปลายแหลม มเี มลด็ นนู เหน็ ไดช้ ดั ประมาณ 3-10 เมลด็ ตอ่ ฝกั ผลออ่ นสเี ขยี ว ผลแกส่ เี หลอื งถงึ นำ้ �ตาล ตรงบรเิ วณทมี่ เี มลด็ จะมรี อยนูนเห็นชัด พบตามป่าดบิ แล้ง ป่าดงดิบเขา และป่าโปรง่ ท่ัวไป สรรพคณุ ตำ�รายาไทย ใช้ เนือ้ ไม้ มรี สหวาน แก้โรคในลำ�คอ แก้ลม แก้เลอื ด ออกตามไรฟัน บำ�รุงธาตุและบำ�รุงกำ�ลัง บำ�รุงกล้ามเน้ือให้เจริญ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้น้ำ�ลายเหนียว ต้น รสหวานเอียน ถ่ายลม แก้โรคในคอ ทำ�ผวิ หนงั ใหส้ ดชนื่ แกโ้ รคตา ราก มรี สหวาน ทำ�ใหช้ มุ่ คอ แกก้ ระหายนำ้ � และ เป็นยาระบาย มีสรรพคุณแก้ไอ ขับเสมหะ แก้เจ็บคอ ใบ รสร้อนเฝ่ือน ขบั โลหติ ระดู ดอก รสขมร้อน ช่วยยอ่ ยอาหาร ทำ�เสมหะใหง้ วด แกด้ ี และ โลหิต ผล ขบั เสมหะ ชว่ งทอ่ี อกดอก เมษายน ถงึ พฤษภาคม ชว่ งทีอ่ อกผล กมุ ภาพนั ธ์ ถึง สงิ หาคม 29 ช

ชา้ งนา้ ว ชือ่ พชื ชา้ งนา้ ว ช่อื อ่ืน กำ�ลงั ช้างสาร ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Ochna integerrima (Lour.) Merr. ช่ือวงศ์ Ochnaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ลำ�ต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องลึก ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั ใบรปู ขอบขนานแกมรปู ไขก่ ลบั หรอื รปู ใบหอกแกมรปู ไขก่ ลบั กวา้ ง 2.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 12-17 เซนตเิ มตร ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แยก แขนง กลีบดอกสีเหลอื งสด เวลาบานมักมสี เี หลืองท้ังต้น กลีบดอก 5-8 กลีบ สเี หลอื งสด เกสรเพศผจู้ ำ�นวน 32-50 อนั ฐานรองดอกพองนนู รูปครึ่งวงกลม ขยายขนาดและมีสีแดงเมอื่ เป็นผล รังไข่อยูเ่ หนือวงกลบี ผลสด แบบผลผนัง ชน้ั ในแขง็ ค่อนข้างกลม มีสเี ขียว เมื่อแก่เปลีย่ นเปน็ สดี ำ� มกี ลบี เล้ยี งสแี ดงสด เจรญิ ตามมารองรบั มเี มลด็ 1 เมล็ด ชั้นหมุ้ เมลด็ แขง็ ขนาดใหญ่ มีเนอ้ื บาง ๆ หุ้ม พบทว่ั ไปตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรงั ปา่ ดิบแลง้ ป่าสน ปา่ ชายหาด สรรพคุณ ยาพนื้ บา้ นอีสาน ใช้ ลำ�ต้น ต้มนำ้ �ดืม่ แกป้ วดเมอ่ื ย แก้ปวดหลงั ปวดเอว แก้ประดง บำ�รุงรา่ งกาย ตำ�รายาไทย ต้น ต้มน้ำ�ดื่มบำ�รุงร่างกาย บำ�รุงกำ�ลัง แก้กระษัย แกป้ วดเม่อื ย หรอื ต้นชา้ งนา้ ว ผสมกบั ต้นนมสาว รากลกครก รากนำ้ �เต้าแล้ง เถาตาไก้ อย่างละเท่ากัน ตม้ กินเป็นยาบำ�รงุ กำ�ลัง บำ�รุงนำ้ �นม ราก ขับพยาธิ แก้โรคน้ำ�เหลืองเสีย บำ�รุงกำ�ลงั ตม้ นำ้ �ด่ืมแก้ผิดสำ�แดง แกป้ วดหลัง แก้เบา หวาน ผล รสมันสขุ มุ เป็นยาบำ�รุงรา่ งกาย เปลือกต้น รสขม เปน็ ยาแก้ไข้ ขับผายลม บำ�รุงหัวใจ เปลือกนอก บดเป็นผงมีสีเหลืองสด ทาแก้สิวฝ้า เน้ือไม้ รสจดื เยน็ แก้กระษัย ดบั พิษร้อน แก้โลหิตพิการ ช่วงที่ออกดอกและติดผล มกราคม ถงึ มิถนุ ายน ช 30

ชิงช่ี ชอื่ พชื ชิงช่ี ชอ่ื อ่นื - ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Capparis micracantha DC. ชือ่ วงศ ์ Capparidaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ หรอื กง่ึ เลอ้ื ย มหี นามยาว 2-4 มลิ ลเิ มตร ใบเปน็ ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั รูปขอบขนาน รปู รี หรือรูปไข่ กว้าง 3-15 เซนตเิ มตร ยาว 9.5-24 เซนติเมตร เน้อื ใบค่อนข้างหนา ดอกเดี่ยว ออกเรียงเปน็ แถว 1-7 ดอก กลบี รองกลีบดอก ลักษณะเว้าเป็นรูปเรือแกมรูปไข่ กลีบดอกรูปขอบขนาน หรือรูปหอก สีขาว หลดุ ร่วงงา่ ย มี 2 กลีบดา้ นนอก สขี าวแต้มเหลืองและจะเปลี่ยนเปน็ แต้มสมี ว่ ง ปนนำ้ �ตาล เกสรเพศผู้เป็นเส้นเล็กฝอยๆสีขาว ผลสด ค่อนข้างกลมหรือรี ผิวผลเรยี บ แขง็ เป็นมนั กวา้ ง 3-6.5 เซนตเิ มตร สเี ขยี วนำ้ �ตาล เมือ่ สุกสีเหลือง หรือแดง หรือดำ� เน้ือรสหวานรับประทานได้ เมล็ดรูปไต สีแดงหรือดำ� เป็นมัน อัดกันแน่น ข้นึ ตามสภาพดินแห้ง หนิ ปูน ปา่ ละเมาะ ทุ่งหญา้ สรรพคุณ ตำ�รายาไทย ราก แกโ้ รคทเี่ กดิ ในทอ้ ง ขบั ลมภายใน แกไ้ ขร้ อ้ นทกุ ชนดิ ไข้พิษ แกโ้ รคตา โรคกระเพาะ รกั ษามะเรง็ ชว่ ยใหม้ ดลกู เขา้ อู่ และเปน็ ยาบำ�รงุ หลงั คลอดบตุ ร แกไ้ อเนอ่ื งจากหลอดลมอกั เสบ แกห้ ดื รากชงิ ชใี่ ชใ้ น “พกิ ดั เบญจ โลกวิเชียร” มีสรรพคุณ แก้ไข้ต่างๆ กระทุ้งพิษหรือถอนพิษต่างๆ ท้ังต้น รสข่ืนปร่า ตำ�พอกแก้ฟกช้ำ� บวม แก้ไข้ ขับน้ำ�เหลืองเสีย ใบ เข้ายาอาบ แก้โรคผวิ หนงั รกั ษาประดง ใบต้มดืม่ แก้โรคผวิ หนงั แก้สนั นิบาต ไขฝ้ กี าฬ แก้ตะครวิ ใบเผาเอาควันสูดแกห้ ลอดลมอักเสบ ไข้พิษ ฝกี าฬ ไขส้ นั นิบาต ดอก รสข่ืนเมา แกม้ ะเร็ง ผลดบิ รสขื่นปรา่ แก้โรคในลำ�คอ เจบ็ คอ ลำ�คออักเสบ ชว่ งทอ่ี อกดอก กมุ ภาพันธ์ ถึง เมษายน ชว่ งทอ่ี อกผล กุมภาพนั ธ์ ถงึ พฤษภาคม 31 ช

ซองแมว ชอื่ พืช ซองแมว ชื่ออ่ืน ทองแมว ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Gmelina elliptica Sm. ช่ือวงศ ์ Labiatae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุม่ หรอื ไมต้ ้นขนาดเลก็ มีหนามแข็ง ใบเดีย่ ว เรยี งตรงข้ามสลบั ต้ังฉาก รูปไข่หรือรูปรี หรือรูปวงรีแกมส่ีเหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 3-5 เซนตเิ มตร ยาว 3-10 เซนติเมตร ชอ่ ดอกแบบชอ่ แยกแขนงขนาดเลก็ ดอกสี เหลือง สมมาตรดา้ นขา้ ง ปลายแยกเป็น 4 แฉก หลอดกลีบรูปทรงกระบอก ปลายหลอดกลบี บานเป็นปากแตร ปลายแฉกกลบี เล็ก 3 กลบี รูปไข่ และกลบี ใหญ่ 1 กลีบ รูปไข่ เกสรเพศผู้ 4 อนั แบง่ เป็น 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน รังไข่อยู่ เหนอื วงกลบี ผลสดมีเนอื้ แบบผลผนงั ชน้ั ในแขง็ รปู กระสวยแกมรูปไขก่ ลบั ผลออ่ นเขียว เม่ือสกุ สเี หลอื ง ฉ่ำ�น้ำ� มีกลบี เลย้ี งติดคงทน สีเขียว มีหน่ึงเมล็ด เมลด็ รปู ขอบขนานหรือไขก่ ลบั เกลี้ยง พบกระจายท่ัวไปในปา่ เตง็ รัง สรรพคุณ ตำ�รายาพน้ื บา้ นอีสาน ใช้ ราก ผสมรากกา้ นเหลอื ง รากต่อไส้ และ รากกระเจียน ต้มน้ำ�ด่ืม แกป้ วดเมอื่ ย บำ�รงุ เลอื ด ขบั นำ้ �คาวปลาหลังคลอด ดอก ผสมใบแจง สารส้ม ใช้นำ้ �เข้ยี วบึง้ เป็นกระสาย เอานำ้ �หยอดแก้ตาฟาง ต้อกระจก ตำ�รายาไทย (ไมร่ ะบสุ ว่ นทใี่ ช)้ เปน็ ยาระบาย ยาลา้ งตา รกั ษาอาการ ปวดหู ปวดศีรษะ ปวดฟนั แกบ้ วม รักษาบาดแผล ช่วงท่อี อกดอกและติดผล เมษายน ถึง สงิ หาคม ซ 32

โด่ไม่รูล้ ้ม ชื่อพืช โดไ่ ม่ร้ลู ้ม ชื่ออนื่ - ชื่อวิทยาศาสตร ์ Elephantopus scaber var. scaber Linn. ชอ่ื วงศ ์ Asteraceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชล้มลุก ลำ�ต้นส้ัน สูง 10-30 เซนตเิ มตร ตามผวิ ลำ�ต้น และใบมี ขนสขี าวตรงละเอยี ด สาก ใบเดย่ี ว อยบู่ รเิ วณเหนอื เหงา้ เรยี งสลบั ชดิ กนั คลา้ ย แบบกระจุกกุหลาบซ้อนท่ีโคนต้น ใบรูปหอกกลับ หรือรูปไข่แกมใบหอกกลับ แผ่นใบยาว 8-20 เซนตเิ มตร กว้าง 3-5 เซนตเิ มตร ดอกชอ่ แทงออกจากกลางต้น ช่อดอกรูปขอบขนาน ดอกย่อยขนาดเล็ก ดอกรูปหลอดสีม่วง เกสรเพศผู้สี เหลอื ง บรเิ วณโคนกระจกุ ดอกมีใบประดับแขง็ รูปสามเหลย่ี ม แพปพสั สีขาว เปน็ เส้นตรงแขง็ มี 5 เสน้ ผลเปน็ ผลแหง้ ไมแ่ ตก เลก็ เรียว รูปกรวยแคบ พบข้นึ ตามป่าโปร่งท่ีดินค่อนขา้ งเป็นทรายท่ัว ๆ ไปในปา่ เต็งรงั ป่าดบิ และปา่ สน เขาทกุ ภาคของประเทศไทย และประเทศเขตร้อนท่วั โลก สรรพคณุ ยาพื้นบ้านอีสาน ใช้ ราก ต้มนำ้ �ดื่ม แก้ไอ บำ�รุงกำ�ลัง บำ�รุง สมรรถภาพทางเพศ รอ้ นใน กระหายนำ้ � แก้ไข้ รากต้มนำ้ �ดืม่ หรอื ดองเหล้าดม่ื เขา้ กับยากำ�ลงั เสอื โคร่ง มา้ กระทืบโรง บำ�รงุ รา่ งกาย แก้ปวดเมอ่ื ย ราก ลำ�ต้น ใบ และผล ตม้ น้ำ�ดม่ื แกโ้ รคกระเพาะอาหาร แก้ไอ ตำ�รายาไทย ใช้ ทง้ั ต้น เป็นยาขบั ปัสสาวะ แก้ไข้ ขบั นำ้ �เหลืองเสยี แก้บดิ แก้ไอ แกว้ ัณโรค บำ�รุงหวั ใจ ราก ขับปสั สาวะ แกไ้ ข้ตวั รอ้ น แกไ้ อเรือ้ รงั แกท้ อ้ งเสยี แกบ้ ดิ ขบั พยาธิ ขบั ระดู แผลมหี นอง บวมอกั เสบทง้ั หลาย ใบ รกั ษา บาดแผล แกโ้ รคผวิ หนงั แก้ไข้ ขบั ปัสสาวะ แก้อ่อนเพลยี รกั ษากามโรค เปน็ ยาคมุ สำ�หรบั หญงิ ทีค่ ลอดบตุ รใหม่ เป็นยาบำ�รงุ แกไ้ อ ทำ�ให้เกดิ ความกำ�หนดั ช่วงที่ออกดอกและตดิ ผล สิงหาคม ถงึ มกราคม 33 ด

ต่อไส้ ช่ือพชื ตอ่ ไส้ ช่ืออน่ื - ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Allophyllus cobbe (L.) Raeusch. ชอื่ วงศ์ Sapindaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่มหรอื ไมย้ นื ต้นขนาดเลก็ ใบประกอบแบบนวิ้ มือมีใบยอ่ ย 3 ใบ เรียงเวียน ใบย่อยใบกลางรูปไข่แกมขอบขนานถึงรูปใบหอก กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 5-10 เซนติเมตร แผ่นใบขา้ งรปู ไข่เบี้ยว หรือรปู ใบหอกแกม รปู ไขเ่ บย้ี ว เน้ือใบบาง เหนียว ดอกช่อกระจะยาว รปู ทรงกระบอก ไมแ่ ตก แขนง ออก 2-4 ช่อ ดอกยอ่ ยจำ�นวนมาก กลบี ดอก 4 กลีบ มีขนาดเล็กสีขาว ออกเหลอื ง รปู ชอ้ น ผลสด รปู ไขก่ งึ่ ทรงกลม เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 4-12 มลิ ลเิ มตร ผลออ่ นสีเขียว เม่ือสุกสแี ดง มเี มล็ดเดียวแข็ง พบตามปา่ เบญจพรรณ ป่าโปร่ง ปา่ ดบิ แล้งท่วั ไป สรรพคุณ ยาพ้นื บ้านอสี าน ใช้ รากและลำ�ต้น ตม้ น้ำ�ดื่ม บำ�รงุ เลือด ขับน้ำ� คาวปลาหลังอยู่ไฟ ตำ�รายาไทย ใบ เปน็ สว่ นผสมปรงุ ยาชว่ ยในการคลอดบตุ ร นำ้ �คน้ั ทา แกล้ ้ินเป็นฝา้ ในเดก็ ใบออ่ นตำ�ผสมดินสอพอง สมุ กระหม่อมเด็กแก้หวัด ราก รสจืดเอียน ใช้พอกแก้ปวดท้อง เป็นยาขับปัสสาวะ รักษาเส้นเอ็นท่ีชำ�รุดให้ สมบูรณ์ ใบและเปลอื กต้น เปน็ ยาพอกแก้ฟกช้ำ� ท้ังตน้ แกไ้ ขจ้ ับสั่น ชว่ งที่ออกดอก พฤษภาคม ถึง มถิ ุนายน ชว่ งที่ออกผล กรกฎาคม ถงึ สิงหาคม ต 34

ตะขบป่า ชื่อพืช ตะขบปา่ ชื่ออ่ืน - ชอ่ื วทิ ยาศาสตร ์ Flacourtia indica (Burm.f.) Merr. ชอ่ื วงศ์ Flacourtiaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ หรือไม้ตน้ ขนาดเล็ก ลำ�ตน้ และกิง่ ใหญ่ ๆ มหี นามแหลม ใบเด่ยี ว เรยี งเวยี นสลบั ขนาดคอ่ นขา้ งเลก็ มกั เรยี งชดิ กนั เปน็ กระจกุ ทปี่ ลายกง่ิ แผน่ ใบรปู ไขก่ ลบั กว้าง 1.5-3 เซนตเิ มตร ยาว 2-4 เซนติเมตร ใบอ่อนและเส้นกลางใบสแี ดงอมส้ม ดอก แบบชอ่ กระจะ ออกเปน็ ช่อส้ัน ๆ ดอกขนาดเลก็ สขี าว แยกเพศอยู่คนละต้น กลีบดอก 5-6 กลบี ดอกเพศผู้ มีเกสรตวั ผูจ้ ำ�นวนมาก ดอกเพศเมีย รงั ไขอ่ ยเู่ หนอื วงกลีบ ผลกลม หรอื รี เสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 0.8-1 เซนตเิ มตร ออกเด่ียว หรือเปน็ กลมุ่ เป็นพวงเล็ก ๆ ตามกงิ่ เมื่อออ่ นสีเขยี ว สกุ สีแดงคลำ้ � ลักษณะชุม่ น้ำ� มี 5-8 เมลด็ พบตามปา่ เต็งรัง ปา่ ชายหาด ปา่ เบญจพรรณ ป่าดิบแลง้ และปา่ ผสมผลัดใบ ตลอดจนตามริมแมน่ ้ำ� สรรพคณุ ยาพนื้ บา้ นอีสาน ใช้ แกน่ ตม้ นำ้ �ด่มื แกผ้ ดิ สำ�แดง หรอื เขา้ ยากับแกน่ มะสงั เบนนำ้ � และหนามแท่ง ตม้ นำ้ �ดม่ื แก้ปวดเมื่อย แกค้ ัน แกน่ หรอื ราก 1 กำ�มือ ต้มน้ำ�พอ ท่วมยา ดืม่ วนั ละ 3-5 ครัง้ แก้โรคไตพิการ ตำ�รายาไทย ใช้ แก่น ตม้ นำ้ �ด่มื แกท้ อ้ งรว่ ง บดิ มกู เลือด ขับเหง่อื ขบั พยาธิ ไสเ้ ดือน แกต้ านขโมย แกโ้ รคผิวหนงั ประดง ผ่ืนคนั ราก กินแก้ไตอกั เสบ แก้ตานขโมย ขบั พยาธิไสเ้ ดือน บำ�รุงนำ้ �นม แก้โรคปอดบวม เปลือก ตำ�รวมกับน้ำ�มัน ใช้ทาถูนวด แก้ปวดท้อง แก้คัน เป็นยากลั้วคอ ใบ ขับเสมหะ แก้หืดหอบ หลอดลมอักเสบ แก้ไข้ แก้ไอ แกท้ อ้ งรว่ ง ขบั ลม และบำ�รุงรา่ งกาย เมลด็ ตำ�พอกแกป้ วดขอ้ ผล กนิ ไดม้ ีวิตามนิ ซีสงู แก้อ่อนเพลยี บรรเทาอาการโรคดซี ่าน ม้ามโต แก้คล่ืนไส้อาเจียน และเปน็ ยาระบาย ชว่ งท่ีออกดอก ธันวาคม ถึง มนี าคม ชว่ งทอ่ี อกผล กรกฎาคม ถงึ สงิ หาคม 35 ต

ตานกกด ชอ่ื พชื ตานกกด ช่อื อน่ื - ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Ellipanthus tomentosus Kurz var. tomentosus ช่อื วงศ ์ Connaraceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ หรอื ไมย้ นื ตน้ เปลอื กตน้ สนี ้ำ�ตาลแดง แตกเปน็ รอ่ งลกึ ตามความ ยาวของลำ�ตน้ ใบเดี่ยวเรียงสลบั รปู รีถึงรูปใบหอก กว้าง 3.5-8 เซนติเมตร ยาว 8-18 เซนติเมตร ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกส่วนมากสมบูรณ์ เพศ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรอื สีครีม แยกกัน เกสรเพศผมู้ ี 10 อนั เป็น หมัน 5 อัน เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ผลแห้งแตกแนวเดียว ยาว 2-4 เซนติเมตร ผิวผลมีขนละเอยี ด สนี ้ำ�ตาลแดงหนาแนน่ มกี ้านผลส้นั ผลอ่อนสเี ขยี ว ผลแกส่ นี ำ้ �ตาล รูปไข่ มเี มลด็ 1 เมล็ด สดี ำ�เปน็ มัน รูปไข่ หรือรี ยาว 1-2 เซนติเมตร มเี ย่ือหุ้มเมล็ด สสี ม้ แดง คล้ายกบั ตาของนกกรด พบตามป่าผลดั ใบ ป่าเตง็ รัง ชายปา่ ดิบ ปา่ พรุ สรรพคณุ ยาสมุนไพรพ้นื บา้ นอสี าน ใช้ เน้อื ไม้ ต้มน้ำ�ด่มื แกป้ วดเมือ่ ย เขา้ ยากับ ตาไก้ และขนั ทองพยาบาท ตม้ น้ำ�ดืม่ แก้ทอ้ งผูก ตำ�รายาไทย เนือ้ ไม้ ถา่ ยพษิ เสมหะ และโลหติ แกก้ ระษยั ปวดเมือ่ ย ถ่ายพิษตับ แกต้ ับทรดุ ตม้ ดื่มแกป้ วดทอ้ ง คลายอาการเกรง็ ของกลา้ มเนื้อท้อง แก้ โรคเก่ียวกบั ทางเดินปัสสาวะ ขบั ปสั สาวะ รักษาอาการไตพิการ เป็นยาบำ�รุงกำ�ลงั แกป้ วดเมื่อย กิง่ และลำ�ตน้ ช่วยเจริญอาหาร แก้ทอ้ งอดื รักษาอาการบีบเกรง็ ของ ช่องท้อง เปลอื กและเนอื้ ไม้ ตม้ สกัด ใชร้ กั ษาการทำ�งานท่ผี ิดปกติของไต ตม้ น้ำ�ดื่ม แก้ไตพิการ หรือโรคทางเดินปสั สาวะ ราก ตม้ กนิ ตา่ งนำ้ �เปน็ ยาบำ�รุงหลังคลอด ช่วงท่อี อกดอก มกราคม ถึง มนี าคม ช่วงทอี่ อกผล มนี าคม ถงึ มิถุนายน ต 36

ตว้ิ เกลย้ี ง ชอื่ พืช ติ้วเกลย้ี ง ชือ่ อน่ื - ชื่อวทิ ยาศาสตร ์ Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume. ช่ือวงศ ์ Guttiferae (Clusiaceae) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่มหรอื ไม้ยนื ต้น ขนาดเล็กถงึ ใหญ่ มีหนามแหลมยาว แข็งเป็น เนอ้ื ไม้ ออกตามลำ�ตน้ ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขา้ ม รปู ไขก่ ลบั กวา้ ง 2-3.5 เซนตเิ มตร ยาว 4.5 – 10 เซนติเมตร ดอก เปน็ ดอกเด่ียว หรอื ออกเป็นกระจกุ 2-5 ดอก ดอกสมบูรณ์เพศ ดอกมีกลน่ิ หอม กลบี ดอก 5 กลบี แยกจากกัน สีส้ม หรอื สม้ แดง ผิวกลบี เกลีย้ ง มีเส้นสีมว่ งแดง ถงึ ดำ� ตามยาว เกสรเพศผูจ้ ำ�นวนมาก เช่ือมติดกันเป็น 3 กลุ่ม สลับกับกลุ่มเกสรเพศผู้ที่ไม่สมบูรณ์ 3 อัน ลกั ษณะเป็นก้อน อวบน้ำ� สเี หลือง รงั ไข่อยู่เหนอื วงกลีบ ผล แบบผลแห้งแตก รปู วงรี แขง็ เกล้ียงเปน็ มัน กลีบเลีย้ งตดิ ทน หมุ้ 2 ใน 3 ของความยาวผล ผลแกแ่ ตกตามรอยประสาน เป็น 3 พู เมลด็ 6-8 เมล็ด ตอ่ ช่อง เมลด็ มีปกี แบนและบางใส พบได้ในปา่ เต็งรงั ป่าเบญจพรรณ สรรพคณุ ยาพ้ืนบ้านอีสาน ใช้ ต้นหรือราก ผสมลำ�ต้นกำ�แพงเจ็ดช้ัน ตม้ นำ้ �ด่ืม แกก้ ระษัยเส้น เปน็ ยาระบาย เปลือกตน้ ใชท้ ำ�สยี ้อม ใบออ่ นและ ยอดอ่อนมรี สเปร้ยี วค่อนขา้ งฝาด รับประทานเปน็ ผกั สด ไม้ ใชเ้ ป็นเช้อื เพลงิ ในการอยไู่ ฟ ตำ�รายาไทย เปลือกตน้ ใช้รกั ษาอาการเสยี ดทอ้ ง หรอื อาการเก่ียว กับลำ�ไส้ นำ้ �ยางจากเปลือก ท่ีเปลยี่ นเปน็ สีแดง ใชร้ ักษาโรคหิด ช่วงทอ่ี อกดอกและติดผล มกราคม ถงึ สงิ หาคม 37 ต

ตวิ้ ขาว ช่อื พชื ตว้ิ ขาว ช่อื อ่ืน ต้วิ ส้ม ตว้ิ ขน ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Cratoxylum formosum (Jack) Dyer ชื่อวงศ์ Clusiaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง โคนตน้ มีหนาม ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา้ ม รปู วงรี แกมไขก่ ลบั หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 3-13 เซนติเมตร ใบออ่ นสชี มพอู อ่ นถงึ แดง เรยี บ เปน็ มนั วาว ดอกชอ่ ออกเปน็ กระจกุ ตามกง่ิ เหนอื รอยแผลใบ กลบี ดอกสีขาวอมชมพูอ่อนถึงแดง กลีบดอกบาง มี 5 กลีบ มกี ลน่ิ หอมอ่อน ๆ รว่ งงา่ ย เกสรเพศผ้มู จี ำ�นวนมาก สัน้ สีเหลือง ก้านเกสรเช่อื ม ติดกนั เป็น 3 กลุ่ม เกสรเพศเมยี มกี า้ นเกสรตัวเมยี สีเขียวอ่อนมี 3 อัน มรี งั ไข่ อยูเ่ หนือวงกลีบ กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ สีเขยี วอ่อนปนแดง ผลแห้ง แตกได้ รูปไข่ แกมกระสวย ผลแบบแคปซูล มีนวลขาวติดตามผิว เม่ือแก่มีสีนำ้ �ตาลหรือ นำ้ �ตาลดำ� ปลายแหลม ผิวเรียบและแขง็ แตกออกเป็น 3 แฉก มีเมลด็ สนี ้ำ�ตาล ท่ีฐานมกี ลีบเล้ียงยงั คงอยู่ พบตามปา่ เตง็ รัง ป่าดิบแล้ง และปา่ เบญจพรรณ สรรพคุณ ยาสมุนไพรพน้ื บา้ นอีสาน ใช้ แกน่ และลำ�ต้น แช่นำ้ �ด่ืม แก้ประดงเลอื ด (เลอื ดไหลไม่หยุด) ราก ต้มน้ำ�ด่ืมแก้ปสั สาวะขดั ยอด ดอก และใบออ่ น เถา บำ�รงุ โลหิต ฟอกโลหิต แก้ปวดตามข้อ แกไ้ ขข้อพิการ แกป้ ระดง ขบั ลม ยาง ใช้รกั ษา ส้นเท้าแตก ยอดออ่ น ใชร้ ับประทานเปน็ ผักสด ตำ�รายาไทย ใช้ ราก ผสมกับหัวแห้วหมู และรากปลาไหลเผือก ต้มน้ำ�ดื่ม วันละ 3 ครง้ั ขบั ปสั สาวะ แก้ปสั สาวะขัด นำ้ �ยาง ทารอยแตกของส้นเทา้ ราก และใบ น้ำ�ตม้ กินเป็นยาแกป้ วดทอ้ ง ยางจากเปลือกต้นทาแก้คัน น้ำ�ตม้ เปลือกตน้ กนิ แกธ้ าตพุ กิ าร เปลอื กและใบ ตำ�ผสมกบั น้ำ�มนั มะพรา้ ว ทาแกโ้ รคผวิ หนงั บางชนดิ ชว่ งท่ีออกดอกและติดผล มกราคม ถึง พฤษภาคม ต 38

นมวัว ชื่อพชื นมวัว ช่อื อืน่ มะไฟแรด ชอ่ื วทิ ยาศาสตร ์ Scleropyrum pentandrum (Dennest.) Mabb. ชอ่ื วงศ์ Santalaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก ตามลำ�ต้นและก่งิ ก้านมีหนามแหลมแขง็ ข้ึนรวมกัน เปน็ กลมุ่ ๆ กระจายท่วั ลำ�ต้น ลำ�ตน้ และก่ิงอ่อนมีสีเขยี ว ใบเดย่ี ว เรยี งเวยี นสลับ รปู รแี กมรปู ไขห่ รอื รปู ขอบขนาน กวา้ งไดถ้ งึ 5 เซนตเิ มตร ยาวไดถ้ งึ 18 เซนตเิ มตร ใบแก่แผน่ ใบหนาคล้ายแผ่นหนงั ดอกช่อเชงิ ลดออกจากลำ�ต้น และซอกใบ ชอ่ ดอก อัดแน่นรปู ทรงกระบอก ชอ่ ดอกแยกเพศหรอื สมบรู ณ์เพศอยรู่ ่วมต้น ดอกมขี นาด เลก็ กลีบรวม 5 กลีบ ซ้อนเหลอ่ื มกัน สเี ขียวแกมเหลือง ชอ่ ดอกเพศผู้เป็นแบบ ช่อหางกระรอก ดอกมีกลิน่ เหมน็ ดอกเพศเมยี เป็นชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ รังไข่อยู่ ต่ำ�กว่าวงกลีบ ผลสดเมล็ดในแข็ง ทรงลูกแพร์ หรือรูปไข่ เมล็ดมี 1-3 เมล็ด รูปทรงกลม พบตามป่าเต็งรัง สรรพคณุ ยาพื้นบ้านอีสาน ใช้ ลำ�ต้น ต้มนำ้ �ดืม่ แก้ปวดเมอ่ื ย บำ�รงุ กำ�ลัง แกล้ ม บา้ หมู ผสมรากนมราชสหี ์ ตม้ นำ้ �ดื่ม บำ�รุงนำ้ �นม ราก ฝนนำ้ �ดื่ม แก้ผดิ สำ�แดง ผสมแก่นจันทน์แดง ฝนนำ้ �ด่ืม แกไ้ ข้ ตำ�รายาไทย แกน่ เปน็ ยาบำ�รงุ น้ำ�นม ทำ�ใหม้ ดลกู เขา้ อเู่ รว็ ในสตรหี ลงั คลอด เป็นยาอายุวัฒนะไดท้ ้งั ชายและหญิง โดยนำ�มาแก่นมาตม้ กนิ เปน็ ยาเด่ยี ว หรอื ผสมกบั ยาอ่ืนเป็นตำ�รับ เช่น ตาไก้ ช้างน้าว ตานกกด เป็นยาบำ�รุงร่างกายหลังเจ็บป่วย แกก้ ระษยั ปวดเมอื่ ยตามตวั แกท้ อ้ งบวม ปสั สาวะขนุ่ ขน้ รกั ษาไขท้ ไี่ มม่ เี หงอื่ ออก รกั ษา ฝีในทอ้ ง แก้ไข้ ถอนพิษสำ�แดง ไม่ระบสุ ว่ นทีใ่ ช้ รกั ษามาลาเรีย รักษาวณั โรค ชว่ งท่อี อกดอก มกราคม ถึง มนี าคม ชว่ งทีอ่ อกผล สงิ หาคม ถึง ตลุ าคม 39 บ

นางจมุ่ ชอ่ื พืช นางจมุ่ ชือ่ อื่น - ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Cansjera rheedii J.F. Gmelin ชอ่ื วงศ์ Opiliaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ มุ่ รอเลอื้ ย เนอ้ื แขง็ ลำ�ตน้ และกงิ่ ออ่ นมสี เี ขยี ว ตามลำ�ตน้ มหี นาม ทู่กระจายทวั่ ไป ใบเด่ยี ว เรียงสลับในระนาบเดยี วกนั แผ่นใบรูปไข่ รปู ใบหอก หรือรปู รี กว้าง 1.5-5 เซนติเมตร ยาว 3-13 เซนติเมตร ชอ่ ดอกยาวแบบช่อ เชงิ ลด ดอกสมบูรณเ์ พศ หลอดกลีบรปู โถหรือรปู คนโท สีเขยี วอมเหลอื ง ผวิ ด้านนอกมีขนกระจาย เกสรเพศผู้ 4 อนั เรียงระหวา่ งแฉกกลีบรวม เกสรเพศ เมียเด่ยี ว รูปขวด รังไข่เหนือวงกลีบ ผลแบบผลสดเมล็ดเดยี วแข็ง รูปกลมรี ขนาดเลก็ กว้าง 7-9 มลิ ลเิ มตร ยาว 10-13 มลิ ลเิ มตร โคนและปลายมน ผิวขรุขระ สเี ขียว เมื่อแกเ่ ป็นสีสม้ แดง เมลด็ รูปไข่หรือรปู รี ค่อนขา้ งกลม พบตามป่าเต็งรัง ปา่ ดิบแลง้ เบญจพรรณ ปา่ ผสมผลดั ใบ สรรพคณุ ตำ�รายาไทย เปลือกต้น เป็นส่วนผสมปรุงยาต้มด่ืม แก้ปวดเมื่อย และแก้เส้นตงึ ในต่างประเทศ (ประเทศอนิ เดยี ) ส่วนเหนือดนิ ใชเ้ ป็นยาถา่ ยพยาธิ ทง้ั ต้น ใช้รกั ษาอาการปวดหลงั ใบ ตม้ น้ำ�ดืม่ รักษาเบาหวาน, ชนเผ่าทมิฬนาฑู ประเทศอินเดยี ใช้รักษาอาการไข้แกว่ง หรือไข้ขน้ึ ๆ ลง ๆ ช่วงท่อี อกดอก ตลุ าคม ถงึ กุมภาพนั ธ์ ช่วงทอ่ี อกผล มกราคม ถึง มีนาคม น 40

น้�ำ ใจใคร ชอ่ื พืช น้ำ�ใจใคร ช่อื อืน่ อที ก ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Olax psittacorum (Willd.) Vahl ช่อื วงศ์ Olacaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่มรอเล้ือย เปลือกสีเขียวเข้ม กิ่งแก่มีหนามโค้ง ใบเดี่ยว เรียงแบบสลบั รูปขอบขนานแกมใบหอก หรอื รปู ไขแ่ กมขอบขนาน กวา้ ง 2-3 เซนติเมตร ยาว 5-7 เซนติเมตร ดอกช่อออกเป็นกระจุกตามซอกใบ มีกลน่ิ หอม กลบี ดอกสีขาว ปลายแยกเป็น 5-6 แฉก เกสรเพศผู้ 3 อัน รังไข่ อยู่เหนอื วงกลบี รปู ไข่หรอื รปู รี เกลย้ี ง ผลสด แบบผลผนงั ชัน้ ในแขง็ รปู ไข่ หรอื กลม ขนาดกว้าง 0.6-1 เซนติเมตร ยาว 0.8-1.5 เซนตเิ มตร ผิวเรียบเป็น มัน โคนผลถูกหอ่ หมุ้ ด้วยกลบี เลย้ี ง ประมาณ 2 ใน 3 สว่ น ทำ�ให้ปลายผล มสี เี ขม้ ครอบเหมอื นหมวก ผลออ่ นสเี ขยี วเมอื่ สกุ สสี ม้ ถงึ เหลอื ง มเี มลด็ 1 เมลด็ พบขน้ึ ตามปา่ เต็งรงั ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดิบแลง้ และป่าเขาทัว่ ไป สรรพคุณ ตำ�รายาพน้ื บา้ นอีสาน ใช้ เน้ือไม้ รสฝาดเฝอ่ื นเล็กน้อย ตม้ นำ้ �ด่ืม แกป้ วดเมื่อย แก้พิษเมาเบื่อ หรอื ฝนทารักษาบาดแผล ลำ�ต้น แกโ้ รคไตพิการ (โรคเก่ียวกับทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะขุ่นเหลือง หรือแดง มีอาการ แน่นทอ้ ง กนิ อาหารไม่ได)้ ใบ มีรสฝาดรอ้ น ใชต้ ำ�สุมศรี ษะ แก้หวดั คดั จมูก แกป้ วดศีรษะ ราก รสสขุ มุ ต้มดื่ม แกไ้ ข้ แก้ตัวรอ้ น ขบั พยาธิ เปลือกต้น รสฝาดรอ้ น ใชท้ า รักษาแผลเน่าเป่อื ย หรอื ต้มด่ืม บำ�รุงกำ�ลงั ช่วงท่อี อกดอกและตดิ ผล ธนั วาคม ถงึ มนี าคม 41 น

นุ่น ชื่อพืช นุ่น ชื่ออนื่ - ช่อื วิทยาศาสตร ์ Ceiba pentandra (L.) Gaertn. ชื่อวงศ ์ Bombacaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้น พบหนามตามโคนตน้ ลำ�ตน้ มสี ีเขยี ว ใบประกอบแบบนว้ิ มือ เรียงสลับ ใบย่อย 5-9 ใบ รปู ขอบขนานแกมใบหอก กวา้ ง 1.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 5-16 เซนตเิ มตร ดอกช่อกระจะ ออกทซ่ี อกใบ ขนาด 2-3.5 เซนตเิ มตร ดอกย่อยจำ�นวนมาก ลักษณะดอกเปน็ รปู ถว้ ย ปลายแยกเป็น 5 กลบี กลีบดอก สีขาวแกมเหลอื ง กลบี ดอกตดิ กันท่ีฐาน กลีบด้านนอกเปน็ สีขาวนวล และมขี น ดา้ นในสเี หลือง เกสรตัวผู้ 5-6 อนั ผลเปน็ ฝักยาวรี แหง้ แตก รปู ขอบขนาน กวา้ ง 2 นิ้ว ยาว 4-5 นวิ้ ปลายและโคนผลแหลม เปลือกแข็ง แตกเปน็ 5 พู เมลด็ จำ�นวนมาก สดี ำ� มีเสน้ ใยสขี าวนำ�มายดั ใส่หมอน ทีน่ อน ฝกั อ่อน มาก ๆ ท่เี น้ือยงั ไมเ่ ปล่ยี นเป็นปยุ นนุ่ ใชเ้ ปน็ อาหารได้ สรรพคณุ ยาพ้นื บา้ นอีสาน ใช้ เปลือกตน้ ต้มน้ำ�ด่มื แกบ้ ิด แก้อาหารเปน็ พษิ ตำ�รายาไทย ใช้ ดอกแห้ง แกไ้ ข้ แก้ปวด ราก เป็นยาบำ�รุงกำ�ลงั แกบ้ ิดเร้ือรัง แก้ทอ้ งเสยี ทำ�ใหอ้ าเจยี น ขบั ปัสสาวะ แกพ้ ิษแมลงปอ่ ง ตำ�คัน้ เอาน้ำ�ด่ืม แก้เบาหวาน เมล็ด น้ำ�มันจากเมล็ด รสร้อน เป็นยาระบาย ขับปสั สาวะ ใบ ตำ�พอกแกฟ้ กชำ้ � เผาไฟ ผสมหัวขม้นิ ออ้ ยและขา้ วสกุ พอกฝี ตม้ น้ำ�ดม่ื แกไ้ ข้ แกโ้ รคเรอ้ื น ตำ�กบั หวั หอม ขมนิ้ ผสมนำ้ �ดม่ื แกไ้ อ แกเ้ สยี งแหบ แก้หวัดลงท้อง แกท้ อ่ ปสั สาวะอกั เสบ ผลออ่ น รสหวานฝาดเย็น เป็นยาสมาน ราก แกบ้ ดิ แกล้ ำ�ไสอ้ กั เสบ คน้ั เอานำ้ � ทานแกโ้ รคเบาหวาน เมลด็ ขบั ปสั สาวะ ชว่ งทีอ่ อกดอก ธนั วาคม ถงึ มกราคม ชว่ งทีอ่ อกผล กุมภาพนั ธ์ ถึง มีนาคม น 42

บกุ คางคก ชอ่ื พืช บกุ คางคก ชอ่ื อื่น - ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ Amorphophallus paeoniifolius (Dennst.) Nicolson. ชอ่ื วงศ์ Araceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก เจริญเติบโตในฤดูฝน และพักตัวในฤดูหนาว มีหัวใต้ดิน ขนาดใหญ่ คอ่ นข้างกลม มีอายุอยไู่ ด้นานหลายปี ลำ�ตน้ กลม อวบนำ้ � ไม่มแี กน่ ผวิ ขรขุ ระ มีลายสเี ขยี วสแี ดง ใบเปน็ ใบเดยี่ ว ออกท่ีปลายยอด ใบแผ่ออกคลา้ ย กางร่มแลว้ หยกั เวา้ เขา้ หาเสน้ กลางใบ ขอบใบจักเว้าลกึ ก้านใบยาว 150-180 เซนติเมตร กลม อวบนำ้ � ดอกออกเปน็ ชอ่ แทงขึ้นมาจากหัวใต้ดิน บรเิ วณโคนตน้ เป็นแท่งมีลายสีเขียวหรือสีแดงแกมสีนำ้ �ตาลแล้วแต่พันธ์ุ ช่อดอกมีกาบหุ้ม ลกั ษณะเปน็ แทง่ สแี ดงแกมนำ้ �ตาล ดอกตวั ผอู้ ยตู่ อนบน ดอกตวั เมยี อยตู่ อนลา่ ง มกี ลิ่นเหมน็ คลา้ ยซากสัตว์เนา่ ผลรูปทรงรยี าว ตดิ กนั เป็นชอ่ ผลสด เนอื้ น่มุ ผลออ่ นสเี ขยี ว พอสุกเป็นสีเหลือง สีส้มจนถึงแดง สรรพคุณ ตำ�รายาไทย ใช้ หัว มรี สเบอ่ื เมา คนั กดั เสมหะเถาดาน แก้เลอื ด จับเป็นกอ้ น หุงกับน้ำ�มัน ใสบ่ าดแผล กดั ฝา้ และกัดหนองดี (สำ�หรับผปู้ ว่ ยโรค เบาหวาน ผูป้ ่วยระหว่างพักฟนื้ เป็นอาหารดูดสารพิษ ขจัดไขมันในเลอื ด และ ปรงุ อาหารรักษาสขุ ภาพ) นำ�หัวมาตม้ กบั นำ้ � แก้โรคตบั โรคท้องมาน ยากดั เสมหะ แกไ้ อ ประเทศญี่ปุ่น ใช้ หวั ทำ�อาหารลดความอว้ น ชว่ งที่ออกดอกและตดิ ผล ธนั วาคม ถงึ กมุ ภาพันธ์ 43 บ

ปลาไหลเผือกนอ้ ย ชอ่ื พชื ปลาไหลเผือกนอ้ ย ชื่ออนื่ เอียนด่อน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Eurycoma harmandiana Pierre. ชอ่ื วงศ์ Simaroubaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ่มุ ขนาดเลก็ มรี ากแก้วขนาดใหญเ่ พยี งรากเดียว ต้นสงู ประมาณ 10-30 เซนติเมตร ใบประกอบแบบขนนก ใบประกอบยาว 8-18 เซนติเมตร เรยี งสลบั ใบย่อย 11-17 ใบ เรียงตรงข้ามรูปแถบ กว้าง 3-5 มลิ ลิเมตร ยาว 3-7 เซนตเิ มตร ใบย่อยมี 2-5 คู่ ปลายใบแหลมสัน้ ๆ ดอกช่อแยกแขนง มีขนส้ันนุ่ม ไม่มีขนต่อม ดอกย่อยหลายดอก แยกเพศ สีแดงแกมม่วง กลบี ดอกรปู ขอบขนาน มีขนท้ังสองด้าน เกสรเพศผู้ 5 อนั รังไข่ลดรปู ในดอก เพศผู้ กา้ นเกสรเพศเมียเรยี วยาว ยอดเกสรรูปโล่ ผลสด มปี ระมาณ 5 ผล ย่อย ทรงรี ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ก้านผลสั้น ๆ เปลือกนอกบาง มีเขตการกระจายพันธุ์เฉพาะในลาว กัมพูชา ในไทยพบเฉพาะทาง ภาคอสี าน ขน้ึ หนาแน่นในป่าเตง็ รงั โปรง่ ทเ่ี ป็นทุ่งหญ้า ระดบั ความสงู จนถงึ ประมาณ 300 เมตร สรรพคุณ ยาสมนุ ไพรพื้นบ้านอีสาน ใช้ ราก ตม้ น้ำ�ด่ืม แก้ไข้ แก้ปวด แกไ้ ข้ มาลาเรีย ช่วยบำ�รุงกำ�ลัง ฝนกับน้ำ�ทา แก้ฝีหนอง ฝนน้ำ�กิน มีรสเบื่อมา ใชเ้ ลิกเหลา้ นำ�รากมาผสมกับพญายา และพริกป่า ต้มน้ำ�กนิ แกไ้ ข้ ประเทศมาเลเซีย ใช้ ราก เปน็ ยาช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ช่วงท่อี อกดอกและตดิ ผล ธันวาคม ถงึ กุมภาพันธ์ ป 44

ปลาไหลเผือกใหญ่ ชอื่ พืช ปลาไหลเผือกใหญ่ ช่อื อน่ื ตรึงบาดาล ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Eurycoma longifolia Jack. ช่อื วงศ ์ Simaroubaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุม่ หรอื ไมต้ ้นขนาดเล็ก ลำ�ต้นตง้ั ตรง สูง 1-10 เมตร รากกลมโต สีขาวยาว ก้านใบออกจากลำ�ต้นตรงส่วนปลาย เรียงหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง ใบประกอบแบบขนนก เรยี งเวยี น ใบยอ่ ยรปู ใบหอกแกมรปู ไขก่ ลบั หรอื รปู ขอบ ขนานแกมรูปไข่ กว้าง 1-3 เซนติเมตร ยาว 5-10 เซนติเมตร ดอกช่อแบบ แยกแขนง เปน็ ช่อพวงใหญ่ ยาวได้ถงึ 30 เซนติเมตร ดอกแยกเพศร่วมตน้ หรือแยกเพศต่างต้น มีขนละเอียดส้ันเป็นต่อมกระจาย กลีบดอก 5 กลีบ สีม่วงปนแดง เกสรเพศผยู้ าวมี 5-6 อนั รังไข่อยู่เหนอื วงกลบี ผลทรงกลม เป็นพวง ทรงรีหรือรูปไข่ กว้าง 8-12 มิลลิเมตร ยาว 1-2 เซนติเมตร ผลแกส่ แี ดงถงึ ม่วงดำ� เมลด็ รปู รมี ี 1 เมลด็ พบขนึ้ กระจายในป่าเบญจพรรณ ป่าเตง็ รัง ป่าดิบแล้ง และป่าดบิ ช้ืน สรรพคณุ ยาสมุนไพรพื้นบ้านอีสานใช้ ราก ต้มนำ้ �ด่ืม แก้ไข้ ฝนนำ้ �ด่ืม แก้ปวดท้อง นำ�ไปเข้ายาบำ�รุงกำ�ลัง รากผสมกับรากโลดทะนงแดงและพญาไฟ ฝนน้ำ�กนิ ทำ�ใหอ้ าเจยี น ใชเ้ ลิกเหลา้ ตำ�รายาไทยใช้ ราก ถา่ ยพษิ ตา่ งๆ ถา่ ยฝใี นทอ้ ง ถา่ ยพษิ ไขพ้ ษิ เสมหะ และโลหิต แกไ้ ข้ แกไ้ ขม้ าลาเรีย ตัดไขท้ กุ ชนดิ แก้ลม แก้วณั โรคระยะบวม ขับเหงือ่ ขับพยาธิ แก้ตอ่ มทอนซลิ อักเสบ แกเ้ จบ็ คอ ความดนั เลอื ดสงู ประเทศมาเลเซีย ใช้ ราก ช่วยเพม่ิ สมรรถภาพทางเพศ บำ�รงุ หลงั คลอดบุตร ใชภ้ ายนอกเป็นยาพอกแก้ปวดหัว ปิดบาดแผลพุพอง ช่วงท่อี อกดอกและติดผล พฤศจิกายน ถึง มกราคม 45 ป

พนมสวรรค์ ช่อื พืช พนมสวรรค์ ชื่ออ่ืน - ชอ่ื วทิ ยาศาสตร ์ Clerodendrum paniculatum L. ช่ือวงศ ์ Lamiaceae (Labiatae) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่ม ลำ�ตน้ ตั้งตรง ใบเด่ยี วเรยี งตรงขา้ มสลับตัง้ ฉาก รปู ฝา่ มือ รปู ไขก่ ว้างหรอื เกอื บกลม กวา้ ง 7-38 เซนตเิ มตร ยาว 4-40 เซนตเิ มตร ขอบใบ หยกั เวา้ ลึก 3-7 แฉก ปลายแฉกแหลม ดอกช่อแบบแยกแขนงขนาดใหญ่ออก ท่ีปลายยอด สีแดงหรือส้ม รูปเป็นช้ันคล้ายฉัตร กลีบดอก มี 5 กลีบ เกสรเพศผมู้ ี 4 อัน สัน้ 2 อนั ยาว 2 อนั ยาวโค้งพ้นปากหลอดกลบี ดอก เกสรเพศเมีย มีรังไข่เหนือวงกลีบ กลีบเล้ียงรูประฆังสีส้มแดง มี 5 กลีบ โคนเชอ่ื มกัน ผลสดรูปทรงกลม ขนาดเล็กสีเขยี ว ผลผนังชนั้ ในแขง็ มี 2-4 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-9 มิลลิเมตร เมื่อสุกเปล่ียนเป็นสีน้ำ�เงินแกมเขียว หรอื ดำ� มเี มล็ดเดยี ว แขง็ เม่อื สุกมีสแี ดงคลำ้ � พบตามป่าเต็งรัง สรรพคณุ หมอยาพื้นบ้านอีสานใช้ ราก ฝนทา แก้ฝี ประดงลม ประดงไฟ ฝนกบั น้ำ�ดืม่ แกป้ วดท้อง แก้ไข้ หรอื ตม้ น้ำ�ดมื่ ชว่ ยขับน้ำ�คาวปลา บำ�รุงนำ้ �นม ตำ�รายาไทย ใช้ ใบ ใชต้ ำ�พอกแกท้ รวงอกอักเสบ รักษาอาการแนน่ หน้าอก พอกแก้ไข่ดันบวม และพอกแก้ลูกหนูใต้รักแร้ แก้พิษฝีดาษ ใบสดตำ�พอก แก้โรคปวดขอ้ และปวดประสาท ดอก แก้โลหิตในท้อง แก้พษิ ฝีกาฬ แก้ตกเลือด แก้พิษสัตว์กัดต่อย แก้ติดเช้ือ ราก แก้ไข้มาลาเรีย ขับลม แกว้ ณั โรค แกไ้ ขเ้ พอื่ โลหิต (อาการไข้ และมถี า่ ยเหลว อาเจียนเปน็ เลอื ด มผี นื่ ขนึ้ ท่ผี ิวหนงั ) ขบั ลมให้ซ่านออกมาท่วั รา่ ง เป็นยาถ่าย ชว่ งทอี่ อกดอก กรกฎาคม ถงึ สิงหาคม ช่วงท่ีออกผล กันยายน ถงึ ตลุ าคม พ 46