๑๕๐ แตเม่อื เรมิ่ รูจักรสสุขอันเกดิ จากความมจี ติ สงบนิ่ง เราจะเหน็ ความตา งราวกบั เปรยี บเทียบนํ้าแกว เดียวกับน้าํ ในบอ ใหญ มันไมโ ลดโผนโจนข้นึ สรู ะดบั ของความสะใจสดุ ขดี ก็จรงิ แตท วาก็มคี วามเรยี บน่ิง สม่าํ เสมอทเ่ี ตม็ ต้ืนเปนลนพน ไดเ ชน กนั เมอื่ ลองใชช วี ิตอกี แบบทเ่ี ลิกตรกึ นกึ ถงึ กาม เลกิ เฝารอกาม และเฝาดูลมหายใจกับการเคล่ือนไหว ทางกาย เปน อยดู วยสติรูเหน็ ลมหายใจและอริ ยิ าบถโดยมาก เราจะเร่มิ คนุ กบั ความสขุ แบบใหม เปนสขุ น่ิง สุขเย็น สุขนาน ไมก ระสบั กระสา ย ในความรูช ดั เห็นชดั วาสุขทางใจนั้นน่ิงเย็นเน่ินนาน เพียงกําหนดดโู ดยปราศจากความลาํ เอยี งใดๆ ปราศจากความอยากเหน่ียวรงั้ ใหรสสุขชนดิ นัน้ อยูกบั เรานานๆ เราจะพบวา ความสขุ กไ็ มเท่ียง ทนตัง้ อยู ในรสวเิ วกลกึ ซ้ึงเชน นน้ั ไมไ ดต ลอดรอดฝง ในทสี่ ดุ ก็ตอ งแปรปรวนไป ดังน้ีเปน สภาพที่เราเคยเห็นมา กอ นแลว ในลมหายใจ ทมี่ เี ขา ก็ตอ งมีออก มีออกกต็ องมีเขา รวมทั้งมกี ารพกั ลม หยดุ ลมชั่วคราวดว ย ถดั จากนั้นเราจะเริม่ เปรยี บเทียบไดออก วาหากปราศจากเครอื่ งหลอ เลยี้ งสุข จติ จะคืนสู สภาพเฉยชนิ และเราอาจสงั เกตเหน็ สิง่ ทไ่ี มเคยเห็นมากอ น น่ันคอื เมอ่ื เผลอฟุงซา นหนอยเดยี ว ใจจะเปน ทุกข มคี วามอดั อั้นแทรกความวา งสบายขนึ้ มาทนั ที ถามาถงึ ตรงนไี้ ดแ สดงวาจดุ ท่เี รายืน เรมิ่ เปลย่ี นแปลงไปแลว มุมมองเร่มิ พลิกไปแลว มีการเปรียบเทียบใหมๆ เกดิ ขึ้นแลว เพราะเราไดไ ปเหน็ ไปรบั รู ไปเสพรสสุขอกี แบบหนึง่ ที่แตกตา งนน่ั เอง จะสุขมากหรือสุขนอย จะสขุ นานหรอื สุขเด๋ยี วเดยี ว พระพทุ ธเจา ใหก ําหนดดตู ามจริงวา พวกมัน ตางก็มคี วามไมเทยี่ ง มีอันตอ งแปรปรวนและดบั สลายลงเปน ธรรมดาทงั้ หมดทั้งส้นิ เบอื้ งแรกคอื ใหเปรยี บเทียบกอ น วาสุขมากเปน อยา งหน่งึ ในเวลาตอมาสุขนอยลงก็เปน อีกอยางหนึง่ หรือเม่อื ทกุ ข มากก็เปนอยางหนงึ่ ในเวลาตอมาทกุ ขน อยลงก็เปน อีกอยา งหน่งึ พอทําความสังเกตเขา ไปบอยเขา ในทีส่ ุดก็ถึงจุดหนงึ่ ท่จี ิตมคี วามชินจะเหน็ สขุ เหน็ ทกุ ขไดเ ทาทนั ในขณะแหงการเกิด และขณะแหงการดับ เมอื่ นน้ั เราจะคลายจากอุปาทานวาสุขเปน ของเที่ยง สขุ เปน ของนา เอา สขุ เปนของนาหนวงเหน่ียวไวน านๆ ขณะเดยี วกันก็จะคลายจากอุปาทานวาทุกขเ ปนสง่ิ ยดื เย้อื ทรมาน ทุกขเ ปนของไมนา เกิดขนึ้ ทุกขเปน ส่ิงท่ีตอ งรีบผลกั ไสใหพ นเราเดยี๋ วนี้ เราจะมปี ญ ญา เห็นตามจริงวา สขุ และทุกขเกิดจากเหตุ เกดิ จากผัสสะกระทบ เมือ่ เหตุดบั เด๋ยี วสขุ ทกุ ขก ็ตองดับตามไป เอง ไมเหน็ ตองนาเดอื ดเนอื้ รอนใจหรอื กระวนกระวายใฝหา แลว เรากจ็ ะพบวา การมีจิตใจสงบ ไมดิ้น รนจัดการกับสุขทกุ ขใ หเ หน่อื ยเปลานัน่ แหละ เปนสขุ อีกชนดิ หนึง่ ที่เกิดขน้ึ เปน ธรรมดาดว ย ปญ ญาจากวิชา ‘รตู ามจริง’ ของพระพทุ ธเจา
๑๕๑ ความจรงิ เบอ้ื งตน เก่ียวกับสภาพจติ ตัง้ แตเร่ิมสงบลงไดดว ยการเฝาตามดูลมหายใจเลนไปเรือ่ ยๆ เราจะเริ่มเหน็ ความตางระหวา งจติ ท่ี เงียบเชียบกับจิตทีฟ่ ุงกระจายไดอ ยางชดั เจนแลว เราจะเปน ผูเขาใจไดม ากข้นึ วาสภาพจิตนี้แตกตา งไป ในแตละหว งเวลา ขน้ึ อยูก ับวาขณะหนงึ่ ๆมีเหตุปจ จัยอันใดมาปรุงใหจ ิตมีสภาพเชนน้ัน จากสภาพสงบอยดู ๆี ถามีรปู เสียง หรือแมแตความตรกึ นกึ ถงึ เพศตรงขาม ลกั ษณะจิตจะแปรจาก สงบเปนเพง เล็งดวยความโลภในกามรส หากเราปลอ ยใจใหหลงไปในอารมณแหงกาม จติ ก็จะเสยี ความ สงบเงียบเปนปน ปว นรัญจวนใจในทันที แตห ากเรามีสตกิ าํ หนดรูตามจรงิ วาขณะน้รี าคะมีอยูใ นจิต ไม ตรึกนึกเพม่ิ เติมไปในทางกาม ราคะในจิตจะคอ ยๆซาลง หรีโ่ รยลงจนกระทง่ั เหอื ดหาย อาการทางกายจะ ระงบั ลงตามมาเปน ลาํ ดับ สําคญั คือถาเราไมเห็นความสําคัญวาจะกาํ หนดจติ ใหเทา ทนั ราคะในจิต ไปทําไม ใจก็จะเตลดิ หลงไปในกามตามความเคยชนิ กับทงั้ รูสกึ ยาก รสู ึกวาไมเปน เรอ่ื งที่ จะตองไปหา มมัน จากสภาพสงบอยดู ๆี ถามีรปู เสยี ง หรือแมแ ตค วามตรึกนกึ ถึงบคุ คลท่นี าขดั เคือง ลักษณะจติ จะ แปรจากสงบเปน เพงเล็งดว ยความโกรธแคน หากเราปลอยใหเ กดิ การผูกใจเจบ็ จติ กจ็ ะเสียความสงบ เงียบเปน เรารอนอยากลา งผลาญทนั ที แตหากเรามีสตกิ ําหนดรูตามจรงิ วาขณะน้โี ทสะมีอยใู นจิต ไม ตรกึ นกึ เพ่ิมเตมิ ไปในทางพยาบาท โทสะในจิตจะคอ ยๆซาลง หรโี่ รยลงจนกระท่ังเหอื ดหาย ความรุมรอ น ทางกายจะระงบั ลงตามมาเปนลาํ ดบั สาํ คัญคอื ถา เราไมเห็นความสาํ คัญวาจะกําหนดจติ ใหเทา ทันโทสะ ในจติ ไปทาํ ไม ใจกจ็ ะเตลดิ หลงไปในอาการพยาบาทคิดอยากจองเวรตามความเคยชนิ กบั ทง้ั รูสกึ ยาก รูสกึ วา ไมเปน เร่อื งทจ่ี ะตอ งไปหามมัน และถาหากเรามีความเห็นตามจริง วาส่ิงใดเกดิ จากเหตุ ถา ไมเ พิ่มเหตนุ ั้นแลว สง่ิ น้นั ยอมดบั ลง เปน ธรรมดา จติ จะมีความโปรง ใส เบาสบาย แตความโปรงเบาดังกลาวนั้นอาจแปรกลับเปน ทึบทึม หลง รสู ึกวามตี วั มตี น มกี อ นอตั ตาแหงความเปนเรา ส่ิงตางๆมีความคงที่ ต้ังอยูลอยๆโดยปราศจากเหตุ ถา ดี กข็ อใหเปนของเรา ถา ไมด กี ข็ อใหไ ปพนจากเรา น่ีแหละคือลกั ษณะของโมหะ ลกั ษณะของความยดึ ม่ัน ผดิ ๆดว ยความไมมีสตริ ทู นั ตามจรงิ เม่ือขนึ้ ที่สงู แลวยอนกลบั ลงลา ง ยอมเห็นสภาพดา นลางแจมแจง ขน้ึ ฉนั ใด พอเราฝกสตจิ นรภู าวะ ของจิตไดต ามจรงิ จนไมถ ูกครอบงํางา ยๆแลว กย็ อมเห็นวาธรรมดาของจิตยอ มไหลลงตาํ่ อยเู นืองๆ และหน่ึงในอาการไหลลงตา่ํ เอง ชนดิ ท่ที ําใหพรอ มจะกระทาํ กรรมในทางไมดไี ดมากสดุ กค็ งจะ เปน สภาพหดหูของจติ นี่แหละ ความหดหู ความซึมเศรา เหงาหงอยน้ัน ฟองอาการสติหลดุ เปน อาการ ของผแู พ ไมจําเปน ตอ งแพก ฬี า แตแ คแ พความคิด แคขาดสติไปหนอยเดยี วกม็ จี ิตหดหกู นั ได เมอื่ ไดล องกําหนดรตู ามจรงิ วาเรากําลงั หดหู จะพบผลคอื ถาเลิกหดหไู ด ก็อาจกลายเปน ฟงุ ซา น เสยี แทน อาการฟุงซานจับจดฟอ งถงึ ภาวะที่เราไมมีงานใหจ ิต หรอื มีงานใหจิตแตก ร็ บั ผิดชอบกบั งานน้นั
๑๕๒ ไมเ ตม็ เม็ดเตม็ หนวย เราควรบอกตวั เองเนอื งๆวาการฝก รตู ามจริงก็เปนงานอยางหนง่ึ และเปน งานใหญ เพอ่ื ตัวเอง หากเหมือนไมมอี ะไรใหรู ก็รูลมหายใจเขา ออกไปเลนๆเร่ือยๆ ความฟุงจะนอ ยลงหรือเพิ่มข้นึ กช็ า ง แตเม่อื ถึงเวลาตอ งหายใจเขา ออก ขอเพียงเราตามรตู ามดรู าวกบั เปน งานอดเิ รกสดุ โปรดก็แลว กัน เราจะเหน็ ตามจริงวาทง้ั ความหดหแู ละความฟงุ ซา นน้นั ลดลงไดฮวบฮาบเมื่อจิตมงี าน จิตผูกอยู กบั เรือ่ งที่ไมเ ปน โทษ ไมช วนใหทอ ถอยซึมเศรา กับท้ังไมชวนใหความคดิ แตกแขนงกระจดั กระจาย ลม หายใจมแี ตเขาและออก มแี ตย าวกบั สนั้ ดซู ํา้ ไปซํ้ามากรี่ อบก็แคน ี้ ไมอ าจดงึ เราลงไปสหู นองนา้ํ แหง ความหดหู และจะไมต จี ติ เรากระเจิงฟุง เม่ือตดั เหตขุ องความหดหู เม่อื ตดั เหตขุ องความฟุง ซาน นานเขา ๆ สิง่ ที่เหลือคอื จิตอนั ผอ งใสใน ภายใน เราจะรูจักจิตท่ีสงบประณีตและนง่ิ นาน อาศัยเครื่องหลอ เล้ียงเชน การประคองนึกถึงลมหายใจ บา ง แตบางทีกแ็ นบนิง่ สงบพักเสมอื นแผนนาํ้ ท่เี รียบใสเปน กระจกอยูในตวั เองบา ง เม่ือเปน ผูเฝารู เฝาดสู ภาพจติ ตา งๆ ท้ังท่ีดแี ละไมด ี ท้งั ขณะทส่ี วา งไสวและมดื มน เราจะเกดิ ความเห็นแจง ตามจรงิ วาสภาพจิตน้ันถกู ปรงุ แตงข้นึ ดวยเหตุปจจยั นานา ไมม สี ภาพใดของจติ อยูยั้งยืน ยง เมือ่ มเี หตหุ นง่ึ ๆยอ มมสี ภาพจิตหนึง่ ๆเปนผล แตเม่ือหมดเหตุนัน้ ๆ สภาพจิตนั้นๆก็ยอมสลายตวั ลง ตามไปดว ย ดงั นั้นความอยากมจี ติ หรอื ความกลวั จะไมมีจติ ไมมีตวั ตน ก็จะคอยๆถกู กะเทาะลอน ออกไปเร่ือยๆ กระทง่ั กลายเปนความรูสึกวา ใหมีจิตใดๆกไ็ มกลัว เพราะเหน็ จนชินแลววา เดยี๋ วกต็ อ ง สลายไป หรือแมจะไมม ีจิตเลยก็ไมกลัว เพราะเหน็ แจงตามจรงิ แลววา ถงึ มจี ติ แบบใดๆกใ็ ชจ ะอยูย้ังคํา้ ฟา เดี๋ยวก็ตอ งเปล่ยี นสภาพเปนอ่นื อยูด ี ความจริงเบ้ืองตนเกย่ี วกบั สภาวธรรม จากการรคู วามจริงงา ยๆขั้นพื้นฐาน ทําไปๆจะพัฒนาข้นึ เปนความรูชัดที่กวา งขวางขึ้นทุกที อยางเชน เราจะเริ่มชางสังเกตชางสงั กามากข้นึ วา โลกนเี้ ลนงานเราไดม ากที่สดุ ก็คือผสั สะกระทบ ภายนอก ทําใหเราทุกขทางกายประการตา งๆ แตท เ่ี หลือหลังจากผานผสั สะกระทบภายนอกมาแลว มแี ตจ ติ เราเทา น้ันท่เี ลือกวาจะเลนงานตวั เองตอหรอื วา ปลอยทุกสิ่งใหผานลวงไป โดยไมย ดึ ไว ไมถ ือไวใ หหนกั เปลา คนทงั้ หลายเปน โรคหวงทุกข ชอบกักขังหนวงเหน่ยี วทกุ ขไ วก ับใจดว ยวธิ ีคดิ พดู งา ยๆเปนโรคคิดมาก กนั วธิ หี ายจากโรคนี้ก็คือฉีดยาแหง ความจรงิ เขาสูทุกอณขู องจติ วิญญาณ ใหม ปี ญญาประจกั ษแ จงเตม็ รอบ วาทกุ สง่ิ เกิดข้นึ แลวดบั ลงเปนธรรมดา ไมว า จะของใหญห รอื ของยอย ถึงหวงไวมนั ก็จะดบั ถึงไม หวงไวมันก็ตอ งดับอยูว นั ยังคาํ่
๑๕๓ ดว ยความเหน็ ตามจริงของจติ ท่ีเปน กลาง ไมเ ขา ขางตัวเอง ไมห ลงผดิ ไปทางใด เราจะเหน็ วา เมื่อ อยูกับผคู น เราจะรูสกึ วา ตวั เองเปนใคร เปนอะไรขึ้นมาอยา งหน่งึ เชนมคี นอ่นื เปน พ่ี เรากต็ อ งมีฐานะ เปนนอง มีคนอนื่ เปนครู เราก็ตองมีฐานะเปน ศิษย แตพ อกําหนดดูอาการทางกายเม่ืออยตู อ หนา เขา หรือกําหนดดคู วามรูสึกอึดอัดหรอื สบายเมือ่ อยู ตอ หนา เขา แลวเหน็ ตามจริงวาอาการทางกายหรือสขุ ทุกขเ ปนเพียงสภาพธรรม สภาพธรรมไมมีฐานะ เปนนอง ไมม ีฐานะเปนพี่ ไมมฐี านะเปนศิษย ไมมฐี านะเปน ครู มแี ตสภาพทเี่ กิดขน้ึ แลวเสอ่ื มลงใหดู ไม แตกตางจากเม่ือเราเห็นตอนอยูค นเดยี วตามลําพงั แตป ระการใดเลย และเชนกนั เมอ่ื เผลอตัวขณะนัง่ อยูต ามลําพงั เงียบๆ ก็มีความจําเกย่ี วกับเรื่องทีล่ วงผา นหูลว ง ผา นตาไปแลว ผดุ ขนึ้ ในหวั เปนระยะๆ หากเราใหค วามสาํ คญั กับความจําเหลานั้น ความรูส กึ นึกคดิ วา เราเปน ใคร มฐี านะอะไร กจ็ ะเกิดขึน้ ตามมาในทันที ในแวบแรกทอี่ ยูๆรสู กึ วา ‘นกึ อะไรขนึ้ ได’ นั้น คือการท่ีความจําบางอยา งผดุ ขึน้ กระทบใจ และใจ ตอบสนองเปนการหมายรูถึงเรอื่ งนน้ั ๆ ถดั มาคอื การรบั ชว งปรงุ แตงตอ ใหใจหลงรสู ึกไปวานนั่ เปน เร่ือง ของฉัน นนั่ เปนอดตี ของฉัน นนั่ เปน บคุ คลท่เี กี่ยวของกับฉนั ฯลฯ แลวก็เกดิ วติ ก เกิดความพะวงหวง เกดิ ความสําคญั มั่นหมายไปตางๆนานา คนเปนบาตา งจากคนปกตเิ พยี งนิดเดยี ว คือเขานัง่ นกึ นั่งฝนอะไรคนเดียว เกดิ ความทรงจําแตห น หลงั แลนมากระทบใจแลว ไมล ังเลท่ีจะแหกปากหวั เราะหรือรองไหคราํ่ ครวญทนั ที ขณะทค่ี นปกติก็ทกุ ข บา งสุขบางจากความทรงจาํ แตห นหลังเชน เดยี วกบั คนบา ตา งแตว า พวกเขายังลังเลอยวู าจะหัวเราะหรือ รองไหออกมาดงั ๆดีไหม คนมพี ทุ ธิปญญาก็เกดิ ความทรงจาํ กระทบใจเหมอื นกัน เพียงแตวา เขามสี ตสิ ัมปชัญญะทีเ่ ฉียบคม เมื่อความทรงจําอนั ใดกระทบใจก็รตู ามจรงิ วาขณะนัน้ เปน การปรากฏข้ึนของความทรงจํา รวมทง้ั รตู าม จริงวาความทรงจาํ นั้นเหมือนพยับแดด เหมือนมายาท่ีผดุ ขึน้ เหมือนมี แตแ ทจ ริงก็สลายตัวลงเปน ความ ไมม ี ขอเพียงเราไมเ ก็บมาคิดปรุงแตงตอ เทา นนั้ ผูมพี ุทธปิ ญ ญาและสติสัมปชญั ญะพรักพรอม จะเหน็ ตามจรงิ วาคนเรากําลงั อยูในระหวางแหง ปฏิกิรยิ าลกู โซ ที่มเี หตุแลวตอ งเกิดผล พอเกดิ ผลแลวก็ยอนกลายเปน เหตใุ หม ใหเกดิ ผลระลอกตอไป โดยสรุปยนยอคือเพราะมเี หตุคอื ความอยาก จงึ ตองมีทุกขในทางใดทางหนง่ึ เปนผลลัพธ เมื่อมที กุ ข ในทางใดทางหน่งึ เปน ผลลัพธ กย็ อมกลายเปนตน เหตขุ องทุกขใ หมๆ ข้ึนมาอีก พวกบนวาทาํ ดไี มไ ดด ี หาใชเพราะสว นดที เี่ ขาทาํ นน้ั มนั ไมด ีจรงิ แตเปน เพราะเขาไมรูกลไกของ จติ ในอนั ท่ีจะทาํ ใหเกดิ สุขหรอื เกิดทุกขตา งหาก หลักงา ยๆคือคิดมากทุกขมาก คิดนอยทกุ ขน อย แตไม คดิ เลยน้ันเปน ไปไมไ ด
๑๕๔ ทําดใี หไดด แี บบพุทธน้ัน ตอ งทําดีมาถึงขนั้ พัฒนาตอ ไดเปน ‘คิดอยางแยบคาย’ เราจะเหน็ ตามจรงิ วาเมอ่ื คิดอยา งแยบคาย โดยเอาสภาพธรรมทกี่ าํ ลังปรากฏเดน ตรงหนา มาเปนเครอื่ งระลึก วา ทกุ สงิ่ เกิด แลว ตองดบั ลงเปน ธรรมดา คดิ ดวยอาการเชน นี้ ในที่สุดจะแปรจากคดิ มาเปน ‘รูทัน’ คอื เหน็ โตงๆในขณะ ของความเกิดขึ้น และในขณะของความดับไป หรือแมส ง่ิ นน้ั มีอายุยนื เกินกวาที่เราจะมชี ีวิตอยูรอดวู นั ดับ สลาย ใจอนั สวา งดว ยพุทธิปญญากจ็ ะตระหนักอยใู นภายในวา มนั ไมเทีย่ งหรอก แมพระอาทติ ยทีม่ อี ายุ เปน หม่ืนลานป เราเกิดตายอกี หลายแสนชาติมันก็ยงั สองสวา งไมห ายไปไหน แตส าระสุดทายน้ัน อยางไรกค็ อื พระอาทติ ยจ ะตองดับไปในท่สี ดุ อยูดี การพยากรณอดตี ชาติและอนาคตชาติ เมอื่ มองเขา มาในกายใจจนเกดิ สติเทาทนั เปนขณะๆ วา จะเปนการขยบั กายทา ไหน จะเปน สขุ หรอื เปน ทุกข จะเปน สภาพสงบหรือฟุงซา นของจิต ทงั้ หมดตา งก็มเี หตุเสมอ เชนเราอยากเปลย่ี นจากทาเดิน เปน ทานั่งก็เพราะเดินจนเมอ่ื ย แสดงใหเห็นวาอริ ิยาบถเดินไมเทย่ี ง ทนอยใู นสภาพเดนิ ตลอดไป ไมไ ด เพราะสภาพเดนิ ไมใ ชตัวตน เพียงอะไรปรากฏเดน จิตจบั สง่ิ นั้นแลว ก็ลว งรูแทงทะลุไปถึงสง่ิ อืน่ ๆ เชนเมื่อเห็นอิรยิ าบถเดินไม เท่ยี ง ก็เหน็ ตลอดสายไปถึงความจรงิ เชน ยิ่งเดนิ กย็ ิ่งสะสมความทุกขทางกายมากขน้ึ ทกุ ที ความทุกขนัน้ ทาํ ใหจิตกระสบั กระสา ยไมอ าจสงบลงได เราจะเรม่ิ เห็นเคาความจริงวา เพราะมสี ขุ มีทกุ ข จึงกอพลังขบั ดันทางใจใหเ กิดความทะยานอยาก ขึน้ มาอยา งใดอยา งหน่งึ อาจเปน เพียงความอยากขั้นพื้นฐานเชนเปลยี่ นอิริยาบถจากปจจบุ นั ใหเปน อนื่ ไปจนถึงความอยากข้นั ทท่ี ําใหต ้งั ใจดหี รอื ราย กอ กศุ ลกรรมหรืออกุศลกรรม ทําจิตใหส วา งหรอื มืดข้ึนมา ทต่ี รงนั้นเราไดช ่อื วา เปนผูแ จม แจง เร่ืองเหตเุ กดิ แหงกรรม สมดงั ทพี่ ระพทุ ธเจาตรสั วาเหตุเกดิ กรรม คือผสั สะและกเิ ลสท้ังหลาย และเมอื่ ฝกรฝู กเห็นกายใจใหรอบดานจนกระทั่งจิตมีความต้ังม่ันเปน สมาธผิ องแผว กจ็ ะเปนผมู ี ความรู ความเขา ถงึ ในเรอื่ งของวิบากอันเปนอจนิ ไตยอีกดวย ไมใชวา เราฝก เห็นกายหรือเหน็ ใจอยา งใดอยางหน่งึ แลว เกดิ ญาณรเู ห็นเฉพาะทางขนึ้ มา แตต อง ฝกรูฝ กดกู ายใจน้ีทว่ั ๆตอเนือ่ งกันหลายวัน หลายเดือน หรอื หลายป ถึงจุดหนึ่งจะเกิดความรอบรู ทํานอง เดียวกับการเกิดของสญั ชาตญาณในสาขาอาชพี ตา งๆ เชน คนมีหนาที่ตรวจของเถอื่ นมากๆหลายปเ ขา แคมองกลอ งพัสดปุ ราดเดยี วกส็ มั ผสั ขนึ้ มาเองเฉยๆวา กลองนี้มปี ญ หา เปนตน ผฝู ก รูตามจริงจะเห็นกายใจโดยความเปน กรรมเกากรรมใหมอ ยา งไร ขอใหดูจากที่พระพทุ ธเจา ตรสั ไวค อื …
๑๕๕ ดกู รภิกษทุ งั้ หลาย กก็ รรมเกา เปน ไฉน ผมู ีปญ ญายอมเห็นวาตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ เปน กรรมเกา อันปจ จยั ทั้งหลายปรงุ แตงแลว สําเร็จดว ยเจตนา (ในอดีตชาติ) เปนทต่ี ั้งแหง เวทนา (ความรูสึกสุขทุกขอ นั เน่ืองดว ยกายในปจจุบันชาติ) ดกู รภกิ ษทุ ้งั หลาย นี่คอื สงิ่ ท่เี ราเรยี กวา ‘กรรมเกา’ ดกู รภกิ ษทุ ง้ั หลาย ก็กรรมใหมเปนไฉน กรรมทีบ่ คุ คลทําดว ย กาย วาจา ใจ ในบดั นี้ นค่ี อื สิ่งทีเ่ ราเรียกวา ‘กรรมใหม’ เราจะทราบวาอัตภาพของมนุษยน ี้ โดยรวมแลวเปน ของสงู จะยากดีมีจนแคไ หน กต็ อ งเคยทาํ ดี อะไรบางอยา งไวถ ึงจะไดมาเปน มนษุ ย นอกจากนนั้ เรายังทราบวาเดรจั ฉานตางๆกม็ เี หตขุ องการกําเนดิ เหมือนกนั แตต อ งเปน อกศุ ลบางอยาง เปนตน ความรเู ร่ืองกรรมอาจจดุ ชนวนขึน้ มาจากความเหน็ ชดั ตรงสว นไหนกไ็ ด อยา งเชนเดรจั ฉานบางตวั มีทุกขแ บบหน่ึงๆทเ่ี ราสัมผัสไดด วยใจวา เกิดขึ้นเสมอๆ พอเราเห็นลกั ษณะทุกขเชน น้ันแจมชัด ก็อาจ เกดิ ความรูแ จง ขน้ึ เองวาท่ีตองทกุ ขเยี่ยงน้ี กเ็ พราะเคยกอ ทุกขท าํ นองเดียวกันใหก บั สตั วอื่นมากอ น หรือเม่ือเราเห็นคนพิการ มีสภาพการเคลอ่ื นไหวไมปกติ เมอื่ เหน็ อาการทางกายชดั ก็อาจเกดิ ญาณรูแ หลมคมข้ึนมาวา ภาพโดยรวมเชน น้ันปรากฏขึ้นไดเ พราะเคยมีกรรมใดในอดีตเปน เหตสุ รางขนึ้ อันน้อี ยูนอกเหนือขอบเขตทจ่ี ะอธิบายไดด วยภาษาวา อาการหยั่งรูเชน นัน้ เปน อยางไร ทาํ ไมกอ กรรม แบบโนนถงึ มารับผลแบบน้ี ทง้ั ที่คดิ ๆแลวไมเ หน็ จะเกย่ี วของกนั หรือเมือ่ ปรารถนา เพียงสอ งดคู วามตดิ ใจของคนๆหนงึ่ วามนี าํ้ หนกั ดงึ ดดู ใหแ ปะตดิ กบั ความมดื หรอื ความสวา งประมาณใด ก็สามารถเห็นเปน นมิ ิตไดวา ถาตายขณะน้ันเขาจะไปเกิดในภพใด ถา เปลย่ี น ความตดิ ใจในเสนทางกรรมเดิมจะเปล่ียนภพไดแคไหน แตทัง้ หลายท้ังปวง จะหยง่ั รไู ดล ึกซึ้งปานใด หากไมส ามารถหย่งั รูเรื่องเดยี ว คือทาํ อยา งไรจะหมด กเิ ลส หมดความยดึ มัน่ ถอื มั่นในกายใจน้ี ก็ไมช่อื วา บรรลุประโยชนสูงสุดของวชิ ารตู ามจรงิ เลย
๑๕๖ สติปฏ ฐาน ๔ ขอสรุปอยางมีบัญญัตใิ นตอนทายน้ีอีกคร้งั เพ่อื เปนประโยชนใ นการศึกษาคน ควา ใหล ึกซ้ึงย่ิงๆขน้ึ กันตอ ไป วิชารตู ามจริงของพระพุทธเจานั้น โดยสรุปยนยอก็คือการมีสตริ ะลึกรคู วามเปนไปในกายใจ ตามจรงิ ขอบเขตกายใจนซ้ี อยยอยออกไดเปนที่ตัง้ ของสติ ๔ ชนดิ จึงเรียกวา ‘สตปิ ฏฐาน ๔’ เรยี ง ตามลําดับดงั นี้ ๑) กาย ไดแกล มหายใจ อริ ยิ าบถใหญแ ละอริ ิยาบถยอ ย ความสกปรกของรา งกาย ความเปนการ ประชุมกันของธาตดุ นิ นํา้ ไฟ ลม และความแนนอนท่ีจะตอ งเปน ซากศพในกาลตอ ไป ๒) เวทนา ไดแ กค วามรูสกึ สขุ ทุกข เฉย ทั้งทีเ่ นื่องดวยเหยอ่ื ลอทางโลกเชนกามคุณ ๕ และทง้ั ที่ ไมเ น่อื งดว ยเหยอื่ ลอทางโลกเชน การเกดิ สติอยางตอ เน่อื งจนเปนสุข หรือการอยากไดค วามสงบแตไมไ ด ดังใจเลยเปนทุกข ๓) จิต ไดแกค วามมีสภาพจิตเปน ตางๆ ทั้งท่ีมรี าคะ โทสะ โมหะ และไมมกี เิ ลสทั้งสาม ตลอดจน สภาพจติ หดหู สภาพจติ ฟงุ ซา น สภาพจิตสงบอยา งใหญ สภาพจิตท่ปี ลอยวางอปุ าทานเสียได ๔) ธรรม ไดแ กสภาพธรรมตางๆที่ปรากฏแสดงวาขณะนเ้ี กิดขนึ้ ขณะนีต้ ง้ั อยู ขณะนด้ี ับไป รวมทงั้ สภาพธรรมทีแ่ สดงความไมใ ชต วั ตนออกมาอยางโจงแจง คือมกี ารประชมุ กนั ของเหตุปจ จัยตางๆ ปรากฏผลลัพธอ ยชู วั่ คราว เมือ่ เหตปุ จ จยั ตางฝา ยตา งแยกยา ยกนั ไปแลว ก็ไมเ หลือผลใดๆปรากฏตออีก การฝก รตู ามจรงิ ไปเร่ือยๆน้ัน ในที่สดุ จะเกดิ ไฟลา งกเิ ลสออกจากจติ คร้ังใหญ เรยี กวาเปน ปรากฏการณ ‘บรรลุธรรม’ ซ่งึ ขน้ั ตน เรยี กวาเปนการไดด วงตาเห็นธรรม หรอื อีกนัยหน่ึงรจู ักพระนพิ พาน อนั เปนธรรมชาติท่ีไมมีสงิ่ ใดตง้ั อยใู นทีน่ นั้ ได กลา วใหเขา ใจงาย การรูจักนิพพานคอื การเหน็ สภาพ อันเปนความจริงสูงสดุ ความจริงสูงสดุ คือความวางจากตัวตน ดังนน้ั จงึ ไมม ี ‘ตัว’ ใดๆต้ังอยูได ในสภาพอันเปน ยอดสุดแหงความเปน จริงนั้น แมก ระทัง่ อากาศธาตุก็ไมอ าจถูกตอ งนิพพานได ขณะของการเหน็ นิพพานนั้น จิตจะเปน หนงึ่ มีความตัง้ ม่นั ระดบั ฌาน และสิง่ ท่ีถกู รูก็ไมใชรูปนมิ ติ หรอื เสียงบอกอะไรทง้ั สิน้ แตเ ปน ธรรมชาตบิ ริสทุ ธท์ิ ป่ี รากฏเปดเผยอยแู ลว ตลอดมา โดยไมเคยมภี าวะ เกิดขน้ึ หรือดับไป ไมวาจะมีสง่ิ ใดเกดิ ขึ้นดับไปแคไหนกต็ าม ทสี่ ัตวท ้งั หลายไมเคยเหน็ นพิ พานก็ เพราะไมเ คยไดฝ ก รูตามจรงิ เมื่อไมฝ กรูตามจริงยอมไมอาจเขาถึงความจริงขนั้ สงู สุดไดเ ลย ผทู ่ีอยใู นขนั้ ของการไดด วงตาเห็นธรรมนน้ั เรียกกันเปน ที่รู เรยี กกันเพื่อส่ือความเขาถงึ แลว วา เปน ‘โสดาบนั บุคคล’ เปนผไู มต กตํา่ และจะไมบ ายหนาไปอบายภมู ิอกี เลย เพราะกเิ ลสไมมอี าํ นาจพอจะ ครอบงําจิตใหเกดิ ความเหน็ ผดิ ในเร่อื งของกรรมขั้นศีลพนื้ ฐานไดอีก อยา งไรกต็ าม โสดาบันบุคคลยังมี ราคะ โทสะ โมหะเหมือนคนธรรมดาทั่วไป จงึ มภี รรยาและบุตรได ยงั แสดงอาการขึ้งเคยี ดได ยังมีมานะ
๑๕๗ อยู รทู ้ังรูว าตัวตนไมม ี เลกิ เช่ืออยา งเดด็ ขาดแลววา สิง่ ใดส่งิ หนึง่ เปน ตวั เปน ตน ไมเ ปนผทู ีพ่ ูดอีกแลววามี อัตตาอนั แทจ ริงอยูในท่ีใดๆ ทั้งโลกนแี้ ละโลกหนา เมือ่ โสดาบนั บุคคลเจรญิ สตปิ ฏฐาน ๔ จนรแู จง ตามจริงถงึ ขน้ั บังเกดิ ไฟลางกเิ ลสอกี ครง้ั ทา นจะ ยกระดบั ขึ้นเปน ‘สกิทาคามบี ุคคล’ เปน ผทู ําราคะ โทสะ โมหะใหเ บาบางลง กลา วคอื เครื่องขัดขวางจิตใจ ไมใหเหน็ สภาพธรรมทง้ั หลายตามจรงิ น้ัน ลดกระแสคลนื่ รบกวนลงมาก เม่อื สกิทาคามบี คุ คลเจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔ จนรแู จงตามจริงถึงข้ันบังเกิดไฟลา งกิเลสอีกครัง้ ทานจะ ยกระดับข้นึ เปน ‘อนาคามบี ุคคล’ เปน ผทู ําลายราคะและโทสะไดอ ยางเดด็ ขาด กลาวคอื คลื่นรบกวน ไมใหจ ิตเหน็ ตามจรงิ จะดบั ไปถึงสองกระแสใหญๆ เหลอื เพียงคลน่ื รบกวนในยา นของความมมี านะ ความ มใี จถือวา เปนตัวเปน ตน เมือ่ อนาคามีบคุ คลเจรญิ สตปิ ฏฐาน ๔ จนรูแ จงตามจริงถงึ ขัน้ บังเกดิ ไฟลา งกิเลสอีกคร้งั ทานจะ ยกระดบั ขน้ึ เปน ‘อรหนั ตบคุ คล’ เปน ผทู ไ่ี มเ หลือแมค วามรูสึกในตวั ตนอยูอกี เรียกวา คล่นื รบกวนสุดทาย ถูกกาํ จดั ทิง้ ไปอยา งสิน้ เชิง ทานจึงเห็นตามจริงอยา งชัดเจนที่สดุ วา ทัง้ หลายทง้ั ปวงนัน้ วางจากตวั ตน น่ี แหละคือขนั้ ของการ ‘ทาํ นิพพานใหแจง’ อยางแทจริง บทสาํ รวจตนเอง ๑) ขณะน้ีเรารอู ะไรตามจรงิ อยูบา ง? ๒) ส่งิ ทเ่ี รารตู ามจริงเปน เรื่องภายนอกหรือเรื่องภายใน? ๓) มีความถี่หางแคไ หนทเี่ ราสามารถรไู ดต ามจริงวากําลังหายใจเขาหรือหายใจออก? ๔) เราเคยมีความรสู กึ เหน็ ตามจริงบางหรือไมวา ชวี ติ ไมเ ที่ยง? ๕) เราเคยมคี วามรูสึกเห็นตามจรงิ บางหรือไมวา สง่ิ ใดไมเทย่ี ง ส่ิงนนั้ ไมใชต วั ตน?
๑๕๘ สรปุ ความจรงิ ถาคดิ ๆเอาเฉยๆ ดเู น้อื หาวชิ ารตู ามจรงิ หรือท่ีเรยี กอยางเปน ทางการวา ‘สติปฏฐาน ๔’ นแี้ ลว เหมอื นพระพุทธเจา มไิ ดทรงใหกระทํากจิ อยางใดเปน พิเศษเลย ก็แคใหเ ห็นสิง่ ท่เี กิดขนึ้ ภายใน ขอบเขตของกายใจเราตามจริงเทา นน้ั เกดิ อะไรขน้ึ ก็รู อะไรที่วานนั้ ดับไปกร็ ู มีอยเู ทา นี้ แตทเี่ รานึก ไมถ งึ กค็ อื เมื่อใชชีวติ โดยอาการรูเ หน็ ตามจริงงายๆ กจ็ ะบงั เกิดผลอนั นา พิศวงอยา งใหญหลวง กลา วคือเมื่อเจรญิ สตปิ ฏฐาน ๔ ไปจนถงึ ระดบั ของความมีสมาธจิ ิตตงั้ มน่ั ผอ งแผว แมย งั ไมบรรลุ ธรรม ก็อาจไดอานิสงสต า งๆมากมายเหลือคณานบั ยิ่งเสียกวาฝก ศาสตรทางจิตทลี ะศาสตรในโลก รวมกันเปนรอยเปน พันศาสตร เพราะไมมศี าสตรใ ดเขา ถึงรหัสลับในธรรมชาตไิ ดม ากไปกวาวธิ ี ทําลายอคตทิ ่หี อหุมจิตไมใหเหน็ ตามจรงิ อีกแลว พระเถระในสมัยพุทธกาลตางกลา วยืนยันถึงผลขางเคียงทไี่ มต งั้ ใจจะไดแตก็ไดมา เปน อภญิ ญา หรอื ความรูเห็นอนั ยง่ิ ประการตา งๆ มที ่ีสดุ ท่เี ปน สาระสาํ คัญคอื เรอื่ งเกยี่ วกบั กรรมวบิ าก ดงั เชนท่พี ระอนุ รทุ ธะเคยกลาวไวว า ดกู รผูมอี ายทุ ั้งหลาย เรายอมรวู บิ ากของการกระทาํ กรรมทง้ั ที่เปน อดีต อนาคต และปจ จุบนั โดยฐานะ โดยเหตุ ตามความเปนจริง เพราะไดเ จรญิ ไดกระทําใหม ากซึง่ สติปฏ ฐาน ๔ คนเราสรางกรงขงั ใหต วั เองดวยความไมรู เมอ่ื รูวาสรางกรงขงั แลว จะตองไปทกุ ขทรมานอึดอัด คบั แคบอยใู นกรงขังก็ยอมเลิกสรางกรงขัง ฉนั ใดกฉ็ ันนนั้ เมือ่ เปน ผรู ูเรื่องกรรมวบิ ากอยา งแจมแจง บคุ คลยอมไมทาํ กรรมอนั เปนไปเพอ่ื ความเดอื ดรอนของตนเองในภายภาคหนา มแี ตจะเรง รดุ ทาํ กรรมอนั เปนไปเพอ่ื ประโยชนสงู สดุ ท้งั ตอตนเองและคนทีร่ กั รอบขางแตถายเดยี ว
๑๕๙ สรุปตตยิ บรรพ การรตู ามจริงมหี ลายแบบ หลายระดับ คนยคุ ปจ จบุ ันมักมองวาการรตู ามจรงิ คอื การพิสจู นไ ดด ว ย วธิ ีการทางวิทยาศาสตรว า ‘ความจริง’ เกย่ี วกบั เร่อื งทีค่ าใจบางอยา งน้นั เปน อยางไร แตสง่ิ ที่เราจําตองยอมรับก็คือวทิ ยาศาสตรใหความจรงิ อันเปน ทสี่ ดุ ไมไดถนดั ถนนี่ กั ไมว าจะเร่อื ง เลก็ สุดในระดบั อะตอม ตลอดไปจนถงึ เรอ่ื งใหญสุดระดับเอกภพ ทกุ ทฤษฎี ทกุ การกะเก็งสนั นิษฐาน อาจ ถกู หักลา งดว ยการคนพบใหมๆ เสมอ ทวา การรตู ามจริงบางอยางไมจ ําเปนตองพสิ จู นต อ เพราะเปนสจั จะความจริงท่ไี มอาจถกู หกั ลา ง ดวยการคนพบคร้ังใหมใดๆ ไมว า ปจจุบันหรืออนาคต ยกตัวอยางเชนลมหายใจมีแคเขา กับออกสอง อยาง ถา เรารไู ดถ กู ตอ งในขณะที่มนั ปรากฏเปนเขาหรือปรากฏเปนออก ก็แปลวาเรากาํ ลงั รูต าม จริงอยใู นขณะนัน้ ๆ ดวยวิชา ‘รูตามจริง’ ของพระพุทธเจา เริ่มตนอาจงายๆแบบที่ทุกคนรูไดอยา งเชนลมหายใจเขา ออกอกี แตสนิ้ สุดอาจเปนเรื่องอจินไตย เกินการคาดคดิ เกนิ จนิ ตนาการของมนษุ ยปถุ ุชนทงั้ หลาย เชน ท่ี เกย่ี วกบั กรรมวบิ ากและวิธดี บั ทกุ ขดบั โศกท้งั ปวง แมเ ปน เร่ืองอจนิ ไตยเชนนัน้ เราก็สามารถรูแจมแจง เฉพาะตน วา นั่นเปน ของจรงิ เปนของแท เปน ของที่ทนตอ การพิสจู นในทุกกาล เชนเดียวกบั สามารถรวู า ลมหายใจเขา ออกเปน เร่อื งจรงิ นน่ั เอง คนเราชอบคดิ วาหลายสง่ิ หลายอยางในชวี ติ เปน เรือ่ งเลก็ ตอเม่ือฝกรตู ามจริงมากเขา เราจะเหน็ วาโลกนไี้ มม อี ะไรเปนเร่ืองเลก็ ไมมีการกระทําอันใดที่ควรประมาท เพราะแมเ พยี งการยอมปลอยให ความคดิ อกุศลนิดๆหนอ ยๆผุดข้ึนในหวั เราดว ยความเตม็ ใจยนิ ดี ปลอ ยใหความคดิ อกศุ ลนดิ ๆหนอ ยๆ นน้ั แปรเปนคาํ พูดหรือการกระทําปรากฏตอโลกภายนอก มนั จะเกดิ ข้นึ อกี และอีก แลว ในทีส่ ดุ มันจะ สะสมเปนอกศุ ลกรรมที่มนี ํ้าหนกั ใหญ คือเปน นิสยั เสีย เปน อาจณิ ณกรรมทเี่ ราเสพตดิ มนั จนได เม่ือเหน็ ความจริงในระดบั ของกรรมทางความคิดมากเขา เราก็จะย่ิงเช่ือท่ีพระพุทธเจา ตรสั วาการ เดินทางไปเรื่อยๆในสงั สารวัฏนน้ั ไมมที างหนพี น นรกไปได เพราะจติ คนพรอ มจะไหลลงต่าํ ความคิดอัน เปนอกุศลพรอมจะปรากฏขึ้นชักจงู เราไปสอู บายเสมอ ไมมีอะไรที่นา รกั จรงิ มแี ตสิ่งลวงลอใหหลงทํา บาปทาํ กรรม ขอแคพ ลาด หรือเพียงการดตกหนสองหน ก็เพยี งพอแลวตอการไดนง่ั กระดานลื่นไหลลง นรกโดยไมตอ งใชค วามพยายามใดๆ ผูเ ห็นภัยในสังสารวฏั ยอ มเรง ขวนขวายทาํ บุญทํากุศลคมุ ตัว และกระตือรือรน พอที่จะทําทาง นพิ พานใหตัวเองเอาไว แมแ คเพียงตนทางกย็ ังดี
๑๖๐ ความรทู างโลกน้นั ไมม ีทีส่ ้ินสุด ยิ่งคน พบก็ย่งิ แตกแขนงลอ ใจใหค น ควา ตอ มากขึ้นทกุ ที แตค วามรู ทางธรรมนน้ั มที ี่สดุ เพยี งเลกิ สงใจออกไปใสเ ร่ืองขางนอก แตค น หาทีม่ าที่ไปของประสบการณทั้งมวล ตัง้ คําถามไวถ กู เปาใหญส ดุ ประพฤติปฏิบตั ิตรงทางอนั จะนาํ ไปสูคําตอบอนั จรงิ แทที่สุด นั่นแหละคือ ท่ีสุดทุกข นั่นแหละคอื การไมตอ งทํากิจอันใดเพ่มิ เติมเพือ่ ความดบั ทกุ ขอ กี
๑๖๑ ¾บทสงทา ย หากเราอยูใ นวันสดุ ทายของชีวิต และจิตกําลงั ทํางานทบทวนทกุ สง่ิ ท่ีมมี าท้งั หมดในชีวติ หากยงั นกึ คิดทบทวนได หลายคนคงถามตวั เองวา ไดป ลอ ยโอกาสใหต ัวเองพลาดสิง่ ดๆี ในชวี ติ อนั ใดไปบา ง สวนใหญคงนกึ เสียดายวาทําไมไมจ ีบแมคนนน้ั ทาํ ไมไมรบั รกั พอคนนี้ ทาํ ไมกอ นสอบ มหาวิทยาลัยไมขยันเสียหนอ ย ทําไมถึงทนทซู ้ีทํางานในบรษิ ัททีไ่ มทําใหเราเจริญกาวหนาตงั้ นานนม ทาํ ไมไมรออกี สกั นดิ แทนทจ่ี ะคดิ ส้นั แตง งานกบั เจานี่ ทาํ ไมถงึ ไมก ลา ขอหยา เสียต้งั แตอ ายุยงั นอ ย ทาํ ไม ฯลฯ คนเราจะนกึ ถงึ บคุ คลหรือเหตกุ ารณทม่ี ีอิทธิพลสําคญั กับชีวิต คอื นึกๆแลวพบความเปน ไปไดว า สามารถพลิกผันชวี ติ เราใหด ีขึ้น หรอื ทําใหเ ราใชช วี ติ ไดราบร่นื ขึน้ กวา ทผ่ี า นมา เราปลอ ยเวลาใหล วงเลย ไป ปลอ ยใหบางส่ิงหลดุ มอื ไป ปลอยใหบางอยางอยูก บั เรานานเกนิ ไป สารพดั สารเพที่ย่งิ คดิ ย่ิงนา เสียดาย แตคงไมม ีใครบนรําพงึ กบั ตัวเอง วา ทาํ ไมไมศ ึกษาพทุ ธศาสนาเสยี ใหถ ึงแกน กอ นมาถึงวนั สดุ ทา ย ของชวี ติ เพราะถา ใครคดิ เสยี ดายเชน นนั้ ได ก็แปลวา เขาตองตระหนกั มากอ นวาความรูในพุทธ ศาสนามคี า ยิ่งกวาสง่ิ ใดๆทง้ั หมดทผ่ี า นพบมาตง้ั แตเกิดจนตาย เมอ่ื ไมร ูวา สิ่งใดนาเสียดายที่สุด คนเรายอมไมรูส ึกเสยี ดายส่ิงนัน้ เขาจะตายไปโดยไมทราบดว ย ซ้าํ วาส่งิ นัน้ มีอยูในโลก และครง้ั หนง่ึ เขาเคยเกิดมาทันพบส่งิ น้ัน หลายคนเหมอื นรแู บบฟงๆผานหมู าวาเพชรพลอยในพทุ ธศาสนากองไวใหก อบโกย จงอยาชา อยาปลอ ยเวลาใหผา นไป ขอใหเ อาติดตวั ไปดว ยมากที่สดุ เทาทจ่ี ะเปนไปได แตในเมอ่ื ไมเ คยปน ปายข้ึน มาถึงเขตทเ่ี ขากองทองไวรอทา ใหเ หน็ กับตา สว นใหญกแ็ คฟ ง หไู วห ูแบบเชือ่ ครึ่งไมเชือ่ ครึ่ง จงึ เปน เรอ่ื ง เขาใจได และนาเห็นใจวาทําไมคนจงึ มาถึงฝงแหง ความปลอดภัยกนั นอยนกั ขอฝากเรื่องนาเสียดายในชีวติ ไวในปจฉมิ ลิขิตหนานี้ เร่ืองแรก นาเสียดายถา กอนตายไมไดศกึ ษาพทุ ธพจน เร่ืองทสี่ อง นา เสยี ดายถาศึกษาพุทธพจนแลว ไมเ ลือ่ มใส เรอ่ื งท่สี าม นา เสียดายถาเลือ่ มใสพทุ ธพจนแลวไมป ฏบิ ตั ติ าม เรื่องสุดทาย นาเสียดายถา ปฏิบตั ิตามพทุ ธพจนแตไ มต อเน่ืองจนถึงฝง …
๑๖๒ Öคาํ ขอบคณุ Ö ขอขอบคุณสาํ หรับคาํ แนะนําชวยเหลือจาก ๑) คณุ อนญั ญา เรืองมา ๒) คณุ ปยมงคล โชตกิ เสถยี ร ๓) คุณชนินทร อารหี นู ๔) คุณกนษิ ฐา อุยถาวร ๕) คณุ พีรยสถ อุบลวัตร ๕) คณุ เอกรตั น จนั ทรร ฐั ิตกิ าล ๗) คุณนฤพล ฉตั รภิบาล ๘) คณุ วิญู พิชญพงศศา ท่ชี วยปรบั แตง หนังสอื ใหม ีความสมบรู ณยง่ิ ขึน้ โปรยปกหนา กอ นคุณจะเหลอื เพียงวิญญาณ ท่ีถามหาสคุ ติภมู ดิ วยความสนิ้ หวัง... โปรยปกหลัง (ตอนกลางปก) เกดิ มาเปน อยา งนไี้ ดอ ยา งไร? ตายแลว ไปไหนไดบา ง? ยังอยูแลวควรทาํ อะไรดี?
๑๖๓ (ตอนลา งของปก) พรอ มวธิ ีปลอบคนใกลตายใหไดไ ปดี ตามวธิ ีของพระพุทธเจาท่ีไดผ ลแนนอน! หนา นาํ ดา นใน เราตางเปนวญิ ญาณซง่ึ ยงั แสวงทเ่ี กดิ ถือกาํ เนดิ ดว ยกรรมดกี รรมชั่วท่ีกอไว เหมือนคนเดนิ ทางไกลไมร ูจุดหมาย นา เสียดายหากมีผูรจู ุดหมายทงิ้ รอยเทานําทาง กระจางแจงดจุ พลกิ ของควาํ่ ใหก ลับหงาย แตห ลายคนตายเสียกอนจะทันรู. .. วธิ เี ชื่อเรอื่ งกรรมวบิ ากและความเปนไปในโลกหนา โดยไมต องกลัวถกู กลาวหาวา งมงายในภายหลัง คอื ฟงวาพระพทุ ธองคท รงตรัสเปน เหตุเปน ผลไวอ ยางไร
๑๖๔ Öหนา ปด ทา ยÖ งานของดงั ตฤณเรยี งตามลาํ ดับจากงา ยไปหายาก ทไ่ี ดรบั การตีพิมพแ ลว กอ นเดือนตลุ าคม ๒๕๔๗ ๑) กรรมพยากรณ ตอน ชนะกรรม สาํ นักพมิ พ บางกอกการพิมพ ๒) ทางนฤพาน สาํ นกั พมิ พ ธรรมดา ๓) เสียดาย... คนตายไมไ ดอา น สาํ นกั พิมพ DMG ๔) วิปส สนานบุ าล สาํ นักพิมพ ธรรมดา ๕) ๗ เดือนบรรลธุ รรม สาํ นกั พิมพ ธรรมดา ๖) มหาสตปิ ฏ ฐานสตู ร เลม ๑ สํานักพิมพ ธรรมดา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165