Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานทวิศึกษาบัญชี ปรับปรุงปี62

หลักสูตรสถานทวิศึกษาบัญชี ปรับปรุงปี62

Published by 3kwkanokorn, 2021-03-14 07:09:13

Description: หลักสูตรสถานทวิศึกษาบัญชี ปรับปรุงปี62

Search

Read the Text Version

๑๐๑ รายวชิ า การขายเบื้องตน้ (Basic Selling) รหัสวชิ า ง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน ๓ ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กยี่ วกบั หลกั การขาย แนวคิดทางการขาย วิวฒั นาการการขาย หน้าท่ที างการขาย ประเภทและลกั ษณะของงานขาย ความรเู้ ก่ียวกบั ตนเอง ความรูเ้ กี่ยวกับกจิ การความรเู้ กยี่ วกับผลติ ภณั ฑค์ วามรู้ เก่ยี วกับลูกค้า และความรู้เกยี่ วกับคู่แข่งขัน คณุ สมบตั ขิ องนกั ขาย โอกาสและความกา้ วหนา้ ของนกั ขายและ เทคโนโลยีที่เก่ยี วขอ้ งกับการขาย ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจความรู้พ้ืนฐานของงานขายและกระบวนการขาย 2. มที กั ษะในการวางแผนการขายและการเสนอขายสนิ คา้ และบริการ 3. มเี จตคติและกจิ นสิ ัยที่ดใี นการทํางานด้วยความร้รู บั ผดิ ชอบ ความซื่อสัตย์สจุ รติ ความเชอื่ ม่ันในตนเองและ ความมมี นุษย์สัมพันธ์ รวมทั้งหมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๐๒ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า พิมพ์ไทยเบอื้ งตน้ (Basic Thai Typing) รหัสวชิ า ง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 4 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ปฏิบัติเกี่ยวกบั หลกั การพิมพไ์ ทยแบบสัมผัส การพิมพแ์ ปูนอกั ษร แปูนตัวเลข สญั ลกั ษณ์ เครือ่ งหมายการ พิมพป์ ระโยค การคํานวณคําสุทธิ การพิมพห์ นังสอื ภายนอก หนังสอื ภายในและการบํารุงรักษาเครอ่ื งพิมพด์ ีดหรือ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการพิมพ์ไทย 2. มีทกั ษะในการพิมพไ์ ทยแบบสมั ผสั 3. มีทกั ษะในการบาํ รงุ รักษาเคร่อื ง 4. มีกจิ นสิ ยั ท่ดี ีในการพมิ พ์ รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

๑๐๓ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า พมิ พอ์ ังกฤษเบ้อื งตน้ (Basic English Typing) รหสั วชิ า ง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 4 ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับหลักการพิมพอ์ ังกฤษแบบสมั ผัส การพิมพแ์ ปนู อกั ษร แปูนตัวเลข สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมาย การพมิ พ์ประโยค การคาํ นวณคําสุทธิ จดหมายธรุ กจิ และการบํารงุ รกั ษาเครื่องพิมพด์ ดี หรอื เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับการพิมพอ์ ังกฤษ 2. มีทักษะในการพมิ พ์อังกฤษแบบสมั ผัส 3. มีทกั ษะในการบาํ รุงรกั ษาเครื่อง 4. มีกิจนสิ ยั ท่ีดีในการพิมพ์ รวมทง้ั หมด 4 ผลการเรียนรู้

๑๐๔ กลมุ่ ทักษะวิชาชพี เฉพาะ คาอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะ รายวชิ า การบญั ชธี รุ กจิ ซ้ือขายสนิ คา้ (Accounting for Merchandising Business) รหัสวิชา ง ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 5 ชวั่ โมง จานวน 2.๕ หน่วยกิต คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ยี วกับ การบันทกึ รายการเกย่ี วกบั การซอ้ื ขายสินคา้ สําหรบั กิจการทีจ่ ดทะเบียนและไม่ จดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพิ่มในสมุดรายวนั ทว่ั ไปและสมุดรายวนั เฉพาะด้วยวธิ ีการบันทึกบญั ชีสนิ คา้ คงเหลอื สิ้นงวด การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท รายการปรับปรุง การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด และปิดบญั ชีเมอ่ื สิ้นงวดบญั ชี กระดาษทําการงบกําไรขาดทนุ งบแสดงฐานะการเงนิ งบทดลองหลงั ปดิ บญั ชี และสรปุ วงจรบญั ชี จดั ทาํ แบบแสดง รายงานภาษมี ลู ค่าเพิ่ม ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การและขั้นตอนการจัดทาํ บัญชีสาํ หรบั กิจการเจ้าของคนเดย่ี วประเภทธุรกิจซื้อขายสินค้า 2. มีทกั ษะการปฏิบัติงานบญั ชีตามข้ันตอนการจัดทําบญั ชีและนําเสนองบการเงิน สําหรับกจิ การเจา้ ของคนเดี่ยว ประเภทธุรกิจซอ้ื ขายสนิ คา้ 3. มีกจิ นิสัย มรี ะเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซอ่ื สตั ย์ มีวนิ ัยตรงต่อเวลา และมีเจตคติท่ีดีต่อวชิ าชีพบัญชี รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๐๕ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การบัญชหี ้างหุ้นสว่ น (Accounting for Partnership) รหัสวชิ า ง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 5 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ัติเก่ยี วกับ ความหมายและประเภทของห้างหุ้นสว่ น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับห้างหนุ้ ส่วน การจดั ตัง้ ห้างหุน้ ส่วน การบนั ทึกรายการเปิดบัญชี การแบง่ ผลกําไรขาดทนุ การบนั ทึกบัญชตี ามวธิ ีทุนเปล่ียนแปลง และวิธีทุนคงทกี่ ารจัดทางบการเงนิ การรบั หุ้นสว่ นใหม่ ห้นุ สว่ นลาออก หนุ้ สว่ นตาย การเลิกกจิ การและการชาํ ระ บัญชหี ้างหุน้ สว่ น ผลการเรยี นรู้ 1. เข้าใจหลกั การและกระบวนการปฏิบตั ิงานบัญชสี ําหรบั กิจการหา้ งหุ้นสว่ น 2. มที กั ษะการปฏิบัติงานบญั ชีตามขนั้ ตอนการจัดทําบญั ชีและนําเสนองบการเงนิ สาํ หรบั กิจการห้างหุ้นส่วน 3. มกี ิจนิสัย มรี ะเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ ซ่อื สัตย์ มีวินยั ตรงตอ่ เวลา และมเี จตคตทิ ี่ดีต่อวชิ าชพี บัญชี รวมทง้ั หมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๐๖ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า การบญั ชีบริษัทจากดั (Accounting for Company Limited) รหสั วิชา ง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 5 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั ความหมาย กฎหมายท่ีเก่ียวกบั บรษิ ัทจาํ กดั การจัดทําบัญชเี กี่ยวกับการจัดตั้ง บรษิ ัท การจาํ หน่ายหุ้นทุน การริบหุน้ การเพิม่ ทนุ การลดทนุ การจัดสรรกําไร โดยตงั้ สาํ รองตามกฎหมายและ สํารองอน่ื การจัดทางบการเงินของบริษัทจาํ กดั การเลิกกิจการและชําระบัญชี รวมท้ังการแกไ้ ขข้อผิดพลาดทาง บญั ชี ผลการเรยี นรู้ 1. เข้าใจหลกั การและกระบวนการปฏิบตั ิงานบญั ชขี องบริษัทจํากัด 2. มีทกั ษะการปฏิบัติงานบญั ชตี ามขั้นตอนการจดั ทําบัญชีและการนําเสนองบการเงินสําหรบั บรษิ ทั จํากัด 3. มีกิจนสิ ัย มรี ะเบยี บ ละเอียดรอบคอบ ซ่ือสตั ย์ มวี ินัย ตรงต่อเวลา และมีเจตคติท่ีดตี ่อวชิ าชพี บัญชี รวมทง้ั หมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๐๗ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การบัญชีอตุ สาหกรรม (Accounting for Industrial Manufacturing) รหัสวชิ า ง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 5 ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัตเิ กี่ยวกับ ลักษณะของกิจการอตุ สาหกรรม องค์ประกอบของต้นทนุ การผลิตการรบั จา่ ย วตั ถดุ บิ การคํานวณค่าแรงงาน ภาษีเงนิ ได้ หกั ณ ท่จี า่ ย เงินประกันสงั คม คา่ ใช้จ่ายการผลติ การบันทึกบญั ชี เก่ยี วกบั วัตถดุ บิ ตามวธิ ีบญั ชีสินค้าคงเหลอื แบบสิ้นงวดและแบบตอ่ เน่ือง การบนั ทกึ บญั ชคี า่ แรงและคา่ ใช้จ่ายการ ผลติ การคาํ นวณต้นทุนสินคา้ ท่ีผลิตเสร็จ กระดาษทาํ การรายการปรบั ปรงุ ปิดบัญชี การจัดทางบตน้ ทุนผลิต และ งบการเงนิ ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนการปฏิบตั งิ านบญั ชขี องกิจการอตุ สาหกรรม 2. มที ักษะการปฏบิ ัติงานบญั ชตี ามขน้ั ตอนการจัดทําบญั ชแี ละนาํ เสนองบการเงินสําหรบั กจิ การอตุ สาหกรรม 3. มีกิจนิสยั มรี ะเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ ซอ่ื สตั ย์ มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา รกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม และมเี จตคติทีด่ ีตอ่ วิชาชพี บัญชี รวมทง้ั หมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๐๘ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การบญั ชภี าษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา (Accounting for Personal Income Tax) รหัสวิชา ง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 5 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัตเิ กย่ี วกบั ผมู้ ีหนา้ ทเ่ี สียภาษีเงนิ ไดบ้ คุ ลธรรมดา เงินได้พงึ ประเมนิ เงนิ ได้พงึ ประเมนิ ท่ีได้รบั การยกเวน้ การหักค่าใช้จ่าย คา่ ลดหยอ่ น การคํานวณภาษี การจัดทําและยืน่ แบบแสดงรายการภาษเี งนิ ได้บคุ คล ธรรมดา ภาษเี งินได้หัก ณ ท่ีจ่าย และการบนั ทกึ บัญชีภาษีเงินไดห้ กั ณ ท่ีจ่าย ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา 2. มีทกั ษะการคาํ นวณ บันทกึ บญั ชี และจดั ทาํ แบบแสดงรายการภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา 3. มีกจิ นสิ ัย มรี ะเบยี บ ละเอยี ดรอบคอบ ซือ่ สัตย์ มวี นิ ัย ตรงต่อเวลา และมเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ วิชาชพี บัญชี รวมทงั้ หมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๐๙ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า การบญั ชีภาษีเงนิ ได้นติ ิบุคคล (Accounting for Corporate Income Tax) รหสั วชิ า ง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 5 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกยี่ วกับภาษเี งินไดน้ ติ ิบุคคล การคาํ นวณกําไรสุทธเิ พื่อเสยี ภาษีเงนิ ได้นิติบคุ คล การ บนั ทกึ บญั ชวี ธิ กี ารยนื่ แบบแสดงรายการภาษีเงนิ ได้นติ ิบคุ คลครึ่งรอบและสิ้นรอบระยะเวลาบญั ชี รวมท้งั การ คาํ นวณเกย่ี วกับภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่ีจา่ ย การบันทึกบัญชี การจัดทําหนงั สอื รับรองการหักภาษี เงนิ ไดห้ กั ณ ทจี่ า่ ย และวธิ กี ารนาํ สง่ ภาษเี งนิ ได้หกั ณ ทจ่ี า่ ย และภาษีที่เกี่ยวข้อง ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การเก่ียวกบั ภาษีเงนิ ได้นิติบคุ คล ภาษเี งนิ ไดห้ ัก ณ ทจ่ี ่าย และภาษที ่ีเกย่ี วขอ้ ง 2. มที กั ษะบันทกึ บญั ชีเกี่ยวกบั ภาษีเงนิ ไดน้ ติ บิ ุคคล ภาษเี งนิ ไดห้ ัก ณ ที่จา่ ย และภาษีทีเ่ ก่ยี วข้อง 3. มีกิจนิสัย มรี ะเบยี บ ละเอยี ดรอบคอบ ซอ่ื สตั ย์ มวี นิ ยั ตรงตอ่ เวลา และมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวชิ าชีพบัญชี รวมท้งั หมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๑๐ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นงานบญั ชี (Using Computer in Accounting) รหสั วชิ า ง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 จานวน 5 ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ัติเกี่ยวกบั รายการทางการบัญชขี องกจิ การบริการและกจิ การซอื้ ขายสินค้า โดยจดั ทํา เอกสารประกอบการบันทกึ บญั ชี การปูอนข้อมูล รวมทงั้ การออกรายงานและการจัดทางบการเงินผา่ นการใช้ คอมพวิ เตอร์ ผลการเรยี นรู้ 1. เข้าใจหลกั การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นงานบัญชเี ก่ียวกบั เอกสารทางการค้าและกระบวนการจดั ทําบัญชขี องธุรกจิ 2. มีทักษะการปฏบิ ตั งิ านบญั ชีโดยการใช้คอมพิวเตอร์ในงานบัญชี 3. มกี จิ นสิ ยั มรี ะเบยี บ ละเอียดรอบคอบ ซ่อื สัตย์ มีวนิ ัย ตรงต่อเวลา และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชพี บัญชี รวมทง้ั หมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๑๑ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า กระบวนการจดั ทาบัญชี (Accounting Process) รหสั วิชา ง ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 5 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ยี วกับ พระราชบญั ญตั กิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 กระบวนการจดั ทําบัญชตี ามวงจรบัญชี ของธุรกิจบริการธุรกจิ ซือ้ ขายสนิ คา้ และธรุ กจิ อุตสาหกรรม การจดทะเบยี นธรุ กจิ และการจดั การเอกสารที่ เกยี่ วขอ้ ง การวเิ คราะหร์ ายการค้าจากเอกสาร จัดทางบการเงนิ ตามประกาศกรมพฒั นาธุรกิจการค้า ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจกฎหมายเกี่ยวกับการทําบญั ชีและกระบวนการปฏบิ ัติงานบญั ชขี องธุรกจิ บรกิ ารธุรกจิ ซ้อื ขายสินค้า และ ธรุ กจิ อุตสาหกรรมในรูปแบบของกจิ การเจา้ ของคนเด่ียว หา้ งห้นุ ส่วนและบริษัทจาํ กัด 2. มีทกั ษะการปฏิบตั ิงานบญั ชตี ามขั้นตอนการจดั ทําบญั ชีและนําเสนองบการเงินในการปฏิบัตงิ านทางวิชาชพี บัญชี 3. มกี จิ นิสยั มีระเบยี บ ละเอยี ดรอบคอบ ซ่ือสัตย์ มีวนิ ัย ตรงตอ่ เวลา และมเี จตคติท่ีดตี อ่ วิชาชพี บัญชี รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๑๒ กล่มุ ทักษะวิชาเลอื ก คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า การบญั ชสี หกรณ์ (Accounting for Cooperative) รหสั วิชา ง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 จานวน 4 ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบัติเก่ียวกับ วธิ บี ญั ชีสหกรณ์ กฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสหกรณ์ โครงสร้างประเภทและการ ดาํ เนินธุรกจิ ของสหกรณ์ ระบบบญั ชสี หกรณ์ภาคการเกษตร การจดั ทําเอกสารประกอบการบันทกึ บัญชี การ บันทึกรายการบญั ชี การผา่ นรายการบัญชแี ยกประเภท การจัดทางบทดลอง รายการปรับปรุงบญั ชี การปดิ บัญชี การจดั ทางบการเงนิ และรายละเอียดประกอบงบการเงนิ ผลการเรยี นรู้ 1. เข้าใจหลักการวธิ กี ารสหกรณ์ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกบั สหกรณ์และกระบวนการปฏบิ ัติงานบญั ชีสหกรณ์ 2. มที ักษะการบนั ทกึ บญั ชีสหกรณ์ภาคการเกษตรตามและระเบยี บท่นี ายทะเบยี นกาํ หนด 3. มีกิจนสิ ัย มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซ่ือสัตย์ มีวินยั ตรงตอ่ เวลา และมีเจตคติท่ีดตี อ่ วชิ าชพี บัญชี รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๑๓ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า การบญั ชสี นิ ค้าและระบบใบสาคญั (Accounting for Inventory and Voucher System) รหสั วชิ า ง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 5 ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัติเกยี่ วกับการจดั ทาํ และนาํ เสนองบการเงินของธุรกจิ ซื้อขายสินค้าดว้ ยวธิ กี ารบันทกึ บญั ชี สนิ ค้าคงคลังทัง้ ทจี่ ดทะเบยี นและไมจ่ ดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่มิ หลกั การจดั การสนิ ค้า ขนั้ ตอนและวิธกี าร ปฏบิ ตั งิ านการจดั ซอื้ การกาํ หนดจดุ ส่งั ซอื้ การตรวจรบั จัดเก็บสนิ คา้ และใหร้ หสั สินคา้ จดั ทําบัญชีควบคมุ สนิ ค้า จัดทําเอกสารการเบกิ จ่าย การตรวจนบั การวัดมูลค่าและรายงานสินค้าคงเหลอื ในวนั ส้ินงวดบัญชี รวมทงั้ ปฏิบตั ิ เก่ียวกับวิธกี ารลกั ษณะของระบบใบสําคัญ วิธีการจดั เกบ็ ใบสาํ คญั การบันทึกรายการในทะเบยี นใบสําคญั และ ทะเบยี นจา่ ยเช็ค ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลักการและกระบวนการปฏบิ ตั ิงานบญั ชีเกี่ยวกบั สนิ ค้าคงคลงั และระบบใบสาํ คัญ 2. บนั ทกึ บัญชีเกี่ยวกับเกยี่ วกบั สินค้าคงคลังตามหลักการบญั ชที ่รี บั รองทวั่ ไป 3. จดั การและวดั มลู คา่ สนิ ค้าคงคลังตามหลกั การบัญชีท่รี ับรองทั่วไป 4. บันทึกบัญชเี กยี่ วกับระบบใบสําคญั 5. มีกจิ นสิ ัย มรี ะเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ ซือ่ สัตย์ มีวนิ ัย ตรงต่อเวลา และมเี จตคตทิ ี่ดวี ชิ าชีพบัญชี รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

๑๑๔ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การบัญชีปฏบิ ัตกิ ารภาษาองั กฤษ (Accounting for English Practice) รหสั วิชา ง ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1 จานวน 4 ชวั่ โมง จานวน 2.0 หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบัติเก่ียวกบั การบนั ทกึ บัญชเี ป็นภาษาองั กฤษสําหรบั กิจการเจ้าของคนเดยี ว ในสมุดรายวันทวั่ ไป ผา่ นรายการไปบญั ชแี ยกประเภท จดั ทํางบทดลอง กระดาษทําการ รายการปรบั ปรงุ รายการปดิ บญั ชี จัดทางบกําไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การใช้ภาษาอังกฤษในการจัดทําบัญชีสาํ หรับกิจการเจา้ ของคนเดยี ว 2. มีทกั ษะการใชภ้ าษาองั กฤษเกี่ยวกบั การปฏิบัติงานบัญชเี บ้อื งตน้ ของกจิ การเจา้ ของคนเดียว 3. มีกจิ นสิ ยั มรี ะเบยี บ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสตั ย์ มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวิชาชพี บัญชี รวมทงั้ หมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๑๕ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า การบญั ชตี ัว๋ เงิน (Accounting for Bill) รหสั วิชา ง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 5 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ัติเกี่ยวกับความหมายและประเภทของตัว๋ เงิน คาํ นวณวนั ครบกาํ หนดต๋ัวเงินและดอกเบ้ีย ตั๋วเงิน การบันทกึ บญั ชีเก่ียวกบั ตั๋วเงิน สมดุ ทะเบียนเกี่ยวกบั ตวั๋ เงนิ การปรับปรุงบญั ชแี ละการปิดบัญชเี ก่ยี วกบั ดอกเบี้ยต๋วั เงินในวนั สนิ้ งวดบัญชี การบันทกึ บัญชเี กย่ี วกับการสลกั หลงั โอนต๋ัวเงินการขายลดตัว๋ เงนิ และตว๋ั เงนิ ขาด ความเช่ือถอื ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนการปฏบิ ัติงานบญั ชเี ก่ียวกบั ต๋วั เงิน 2. มีทกั ษะการบนั ทกึ บัญชเี กี่ยวกับตว๋ั เงิน 3. มกี จิ นิสัย มรี ะเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ ซ่อื สัตย์ มีวินัย ตรงต่อเวลา และมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ วชิ าชพี บัญชี รวมทัง้ หมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๑๖ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การบญั ชรี ่วมคา้ และฝากขาย (Accounting for Joint Venture and Consignment) รหัสวชิ า ง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 4 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกี่ยวกับความหมาย วิธีการและข้ันตอนการจัดทําบญั ชขี องกจิ การรว่ มค้า การบนั ทึก บญั ชีของกจิ การร่วมค้าโดยวธิ ีผ้รู ่วมค้าแต่ละฝาุ ยจัดบันทึกรายการทัง้ สนิ้ ในสมุดบัญชีของตน วิธกี ารบญั ชีท่ใี ช้สมดุ บญั ชชี ดุ หนึ่งต่างหาก การคํานวณกําไรขาดทนุ ก่อนร่วมค้าส้ินสดุ การปรับปรุง การปิดบัญชใี นวนั สิ้นงวดบญั ชี การ ปดิ บัญชีเมื่อการรว่ มคา้ สน้ิ สุดและแสดงรายการรว่ มค้าในงบการเงิน รวมทงั้ ปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การบญั ชีฝากขายสนิ คา้ วธิ สี ง่ สนิ ค้าไปฝากขาย การรบั ฝากขาย เงินทดรองจา่ ยหน้สี ินระหวา่ งผฝู้ ากขายกบั ผรู้ ับฝากขาย และการแสดง รายการเกี่ยวกบั การฝากขายในงบการเงิน ผลการเรียนรู้ 1. เขา้ ใจหลักการและกระบวนการปฏิบตั ิงานบัญชีของกจิ การร่วมคา้ และฝากขายสินค้า 2. มที ักษะการปฏิบตั ิงานบัญชตี ามข้ันตอนการจดั ทาํ บญั ชีและนําเสนองบการเงินของกจิ การรว่ มคา้ และฝากขาย สนิ ค้า 3. มีกิจนสิ ัย มีระเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ ซอ่ื สตั ย์ มีวินยั ตรงต่อเวลา และมีเจตคติทด่ี ีต่อวชิ าชพี บัญชี รวมทง้ั หมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๑๗ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า การประยกุ ตโ์ ปรแกรมตารางงานเพื่องานบญั ชี (Application of Spread Sheet Program for Accounting) รหสั วชิ า ง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 5 ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับการเรม่ิ ตน้ ใช้โปรแกรมตารางงาน สว่ นประกอบของโปรแกรมตารางงาน การ ปูอนและจดั รูปแบบข้อมูล การสรา้ งสตู ร และการใชฟ้ ังกช์ ่ันในการคาํ นวณเพ่ือสร้างสมุดบนั ทึกรายการขั้นตน้ การ ผา่ นรายการไปบัญชีแยกประเภท การปรับแกข้ ้อมูล การจัดการฐานข้อมูลในตารางงาน การจดั ทํารายงานทางการเงิน การออกรายงานและนาํ เสนอขอ้ มูลในรูปแบบขอ้ ความและแผนภูมิ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจหลักการใชโ้ ปรแกรมตารางงานเพอื่ งานบญั ชี 2. มีทักษะในการใช้โปรแกรมตารางงานเพอ่ื งานบญั ชี 3. มกี จิ นสิ ยั มรี ะเบยี บ ละเอียดรอบคอบ ซอ่ื สตั ย์ มวี ินยั ตรงต่อเวลา และมีเจตคติที่ดตี ่อวชิ าชพี บัญชี รวมท้ังหมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๑๘ ฝึกประสบการณส์ มรรถนะวิชาชพี คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า ฝึกงาน (Work Practice) รหัสวชิ า ง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 320 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต คาอธิบายรายวชิ า ปฏบิ ตั ิงานทสี่ อดคลอ้ งกบั ลักษณะของงานในสาขาวชิ าชพี ในสถานประกอบการสถานประกอบอาชีพอสิ ระ หรือแหล่งวิทยาการใหเ้ กิดความชํานาญ มที กั ษะและประสบการณง์ านอาชพี ในระดับฝีมือโดยผ่านความเหน็ ชอบ ร่วมกนั ของผรู้ ับผดิ ชอบการฝึกงานในสาขาวชิ าน้ัน ๆ และรายงานผลการปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการฝกึ งาน ผลการเรียนรู้ 1. เขา้ ใจขนั้ ตอนและกระบวนการปฏบิ ัติงานอาชพี อยา่ งเป็นระบบ 2. สามารถปฏิบตั ิงานอาชีพในสถานประกอบการสถานประกอบอาชีพอิสระหรือแหล่งวิทยาการจนเกิดความ ชาํ นาญ มีทกั ษะและประสบการณ์ นาํ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏบิ ัติงานอาชีพระดบั ฝีมอื 3. มเี จตคติทด่ี ีตอ่ การปฏบิ ัติงานอาชพี และมกี จิ นิสยั ในการทํางานด้วยความรูร้ ับผิดชอบ มีวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม ความคิดสร้างสรรค์ ขยนั อดทนและสามารถทํางานร่วมกบั ผ้อู ่นื รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู้

๑๑๙ โครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า โครงการ (Project) รหัสวชิ า ง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 4 ชว่ั โมง จานวน 2.0 หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั หลกั การจดั ทําโครงงาน การวางแผน การดําเนินงาน การแก้ไขปัญหา การ ประเมินผล การจดั ทํารายงานและการนาํ เสนอผลงาน โดยปฏิบัติจดั ทาํ โครงงานสร้างและหรอื พฒั นางานทีใ่ ช้ ความรูแ้ ละทกั ษะในระดับฝมี ือ สอดคล้องกับสาขาวิชาชพี ที่ศกึ ษา ดาํ เนนิ การเปน็ รายบคุ คลหรือกลุ่มตามลกั ษณะ ของงานให้แล้วเสร็จในระยะเวลาทีก่ ําหนด ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจหลกั การและกระบวนการวางแผนจดั ทาํ โครงงานสร้างและหรือพฒั นางาน 2. สามารถประมวลความรแู้ ละทกั ษะในการสรา้ งและหรือพฒั นางานในสาขาวิชาชพี ตามกระบวนการวางแผน ดําเนินงาน แกไ้ ขปัญหา ประเมินผล ทาํ รายงานและนําเสนอผลงาน 3. มเี จตคติและกิจนิสยั ในการทาํ งานด้วยความรับผิดชอบ มีวินยั คุณธรรม จริยธรรม ความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ขยนั อดทนและสามารถทาํ งานร่วมกบั ผู้อืน่ รวมท้ังหมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๒๐ หมวดวิชาเลือกเสรี คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การใชเ้ คร่ืองใช้สานักงาน รหัสวชิ า ง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 จานวน 3 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับวิวฒั นาการและขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ การบาํ รงุ รักษาเครอื่ งใช้สํานักงาน การฝึกปฏบิ ัตใิ ช้เคร่ืองสํานักงาน การใช้เครอื่ งใช้สํานักงานที่ทันสมยั กจิ นิสยั ทีด่ ีในการปฏบิ ตั งิ าน ผลการเรยี นรู้ 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกบั เคร่ืองใชส้ ํานักงาน 2. มที ักษะในการใชเ้ ครือ่ งใช้สํานกั งาน 3. สามารถบํารุงรักษาเครื่องใช้สาํ นักงาน 4. มีกิจนิสัย มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสตั ย์ มีวินยั ตรงตอ่ เวลา และมเี จตคติที่ดีต่อวิชาชพี บัญชี รวมทง้ั หมด 4 ผลการเรยี นรู้

๑๒๑ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า การพฒั นาบคุ ลิกภาพ (Personality Development) รหัสวชิ า ง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 จานวน 3 ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั การพฒั นาบุคลิกภาพ ศิลปะการแต่งกาย การปฏบิ ตั ิตนดา้ นสขุ อนามัย มารยาททางสังคม วฒั นธรรมระหวา่ งประเทศ บุคลิกภาพและกจิ นิสยั ท่ีพงึ ประสงคใ์ นการปฏบิ ัติงาน ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การเกยี่ วกับการพัฒนาบคุ ลิกภาพ 2. มีทักษะไปปรับใชใ้ นการประกอบอาชีพ 3. มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการพัฒนาบุคลกิ ภาพ คํานงึ ถึงคุณธรรม จรยิ ธรรมในวชิ าชพี รวมทั้งหมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๒๒ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า โปรแกรมนาเสนอ (Presentation program) รหัสวิชา ง ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 4 ชวั่ โมง จานวน 2.0 หน่วยกติ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัตเิ กีย่ วกบั การออกแบบโครงร่างเรอื่ งราว (Story board) หลกั การทํางานของ โปรแกรมนาํ เสนอสรา้ ง แกไ้ ข และตกแตง่ โดยใช้โปรแกรมนาํ เสนอใช้เทคนิคพิเศษ และใสม่ ลั ติมีเดีย เพอ่ื การนําเสนอ ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจเก่ยี วกบั การออกแบบโครงร่างเร่อื งราว (Story board) 2. เขา้ ใจเกย่ี วกับหลักการทํางานของโปรแกรมนําเสนอ 3. สามารถสร้าง แกไ้ ข และตกแต่งโดยใช้โปรแกรมนาํ เสนอ 4. สามารถใชเ้ ทคนคิ พิเศษ และใส่มัลตมิ เี ดียเพ่ือการนาํ เสนอ 5. มีเจตคตแิ ละกิจนสิ ยั ที่ดใี นการปฏิบัตงิ านคอมพิวเตอรด์ ้วยความละเอียดรอบคอบ และถกู ตอ้ ง รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

๑๒๓ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า งานสารบรรณ (Clerical Work) รหสั วชิ า ง ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 3 ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ยี วกับระเบียบงานสารบรรณ ชนิดหนงั สือการรับหนงั สอื การส่งหนังสอื การรา่ งและพิมพห์ นงั สอื ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และการให้บรกิ ารขอ้ มลู ข่าวสาร ผลการเรียนรู้ 1. เขา้ ใจหลกั การเกีย่ วกับงานสารบรรณ 2. สามารถปฏิบัติงานสารบรรณ 3. มีเจตคติและกจิ นิสัยที่ดีในการปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ดี ีและอนุรกั ษ์ ส่งิ แวดล้อม รวมทงั้ หมด 3 ผลการเรยี นรู้

๑๒๔ คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า พมิ พไ์ ทยข้นั พฒั นา รหสั วชิ า ง ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 จานวน 3 ชว่ั โมง จานวน 1.5 หน่วยกิต คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัตเิ ก่ียวกบั การพฒั นาทกั ษะการพิมพ์ ทั้งไทยและองั กฤษการพมิ พว์ างศนู ย์ การพิมพ์ บญั ชร การพมิ พ์ จดหมายราชการจดหมายธุรกจิ ไทยแบบต่างประเทศ จดหมายธรุ กจิ ไทยแบบราชการการพิมพ์ จากร่างการตรวจทานและแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดในการพมิ พ์ การบาํ รงุ รักษาเครื่องพมิ พด์ ดี หรือเครอื่ งคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการพมิ พ์งานรูปแบบตา่ ง ๆ 2. มีทักษะการพมิ พ์งานรูปแบบต่าง ๆ 3. มีทกั ษะในการพฒั นาความแม่นยําและความเรว็ ในการพิมพ์ 4. บํารงุ รักษาเครื่องพมิ พ์ดดี หี รืเครื่องคอมพวิ เตอร์ 5. มีกจิ นิสยั ทีด่ ีในการพิมพ์ รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

๑๒๕ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ความหมาย กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น เป็นกจิ กรรมท่จี ัดอย่างเปน็ กระบวนการด้วยรปู แบบ วธิ กี ารที่หลากหลาย ในการ พัฒนาผ้เู รยี นท้งั ด้านรา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มุ่ง เสริมสร้างเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝัง คุณธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเองสร้างจิตสํานึก และร่วมอนุรักษ์ พลังงาน และสง่ิ แวดล้อม ปรบั ตวั และมจี ติ สาธารณะโดยคํานึงถึงประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติและดํารงชีวิต อย่างมีความสขุ รวมทัง้ การนอ้ มนาํ เอาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน็ ฐานในการดํารงชวี ติ ลักษณะของกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑. ผเู้ รยี นไดร้ ับประสบการณท์ ี่หลากหลาย เกิดความรู้ ความชํานาญ ท้ังวชิ าการและวชิ าชพี อย่าง กวา้ งขวางมากย่งิ ขึ้น ๒. ผเู้ รยี นค้นพบความสนใจ ความถนดั และพัฒนาความสามารถพิเศษเฉพาะตัว มองเหน็ ชอ่ งทางใน การสร้างงานอาชีพในอนาคตได้เหมาะสมกับตนเอง ๓. ผู้เรยี นเห็นคณุ คา่ ขององคค์ วามร้ตู ่าง ๆ สามารถนําความรูแ้ ละประสบการณไ์ ปใช้ในการพฒั นา ตนเอง และประกอบสมั มาชพี ๔.ผเู้ รียนพฒั นาบคุ ลิกภาพ เจตคติในคา่ นยิ มในการดาํ รงชวี ติ และเสริมสร้างศลี ธรรม จริยธรรม ๕. ผู้เรยี นมจี ิตสาธารณะ และทําประโยชนเ์ พื่อสงั คม และประเทศชาติ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑. กิจกรรมแนะแนว ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ เรียนสัปดาห์ละ ๑ ช่ัวโมง ๒. กิจกรรมนกั เรยี น ๒.๑ กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ เรียนสัปดาห์ละ ๑ ชวั่ โมง ๒.๒ กิจกรรมพัฒนาความถนดั ความสนใจ ตามความต้องการของผเู้ รยี น เป็นกจิ กรรมที่ จัดใน เวลาเรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ เรยี นสปั ดาหล์ ะ ๑ ชว่ั โมง ๓. กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๖ จดั บรู ณาการไวใ้ นกจิ กรรม ลกู เสอื เนตรนารี จัดเรียนปลี ะ ๑๐ ชว่ั โมง โดยจัดยืดหย่นุ เองตามความเหมาะสมและความจาํ เปน็ ในแตล่ ะระดับชนั้ เรียนทงั้ น้ีให้ครูผูส้ อนในระดับชัน้ เรียนนั้น ๆ ร่วมกันออกแบบกจิ กรรมเพือ่ ให้ผ้เู รียนไดบ้ รรลุเปาู หมายที่หลกั สูตร แกนกลาง ฯ กาํ หนด โดยคาํ นึงถงึ วัยและวุฒิภาวะของผ้เู รยี น ๔. กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะดาํ รงชีวติ ๘ กิจกรรมโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จดั กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ และพัฒนาความสามารถของผู้เรยี นใหเ้ หมาะสม ตาม ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล สามารถคน้ พบและพัฒนาศกั ยภาพของคน เสรมิ สรา้ งทักษะชวี ติ วฒุ ภิ าวะทาง อารมณ์ และการสร้างสัมพนั ธภาพท่ดี ี ซง่ึ ผู้สอนทุกคนตอ้ งทําหนา้ ท่แี นะแนวให้คําปรึกษา ด้านการเรียนรู้ ทกั ษะ ชวี ิต การอย่รู ว่ มกนั ในสงั คม การศกึ ษาตอ่ และการพฒั นาตนเอง ส่โู ลกเพ่อื การอย่รู ว่ มกันในสังคมอยา่ งปกติสขุ กจิ กรรมแนะแนวเป็นบทบาทของครทู ุกคน ที่จะตอ้ งดําเนินการ คัดกรอง และจัดกิจกรรมหรอื บริการต่าง ๆ เพ่ือส่งเสรมิ พฒั นา ปอู งกันแก้ไข โดยครูทกุ คนดําเนนิ การดงั น้ี ๑. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลผู้เรียนเปน็ รายบุคคล ๒. คดั กรองผู้เรยี นเพ่ือจําแนกผู้เรยี นออกเปน็ ๒ กลมุ่ คือ กล่มุ ปกติ และกล่มุ พเิ ศษ ๓. ดแู ลช่วยเหลอื ใหค้ ําปรึกษาในดา้ นต่าง ๆ ให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาเต็มตามศกั ยภาพ

๑๒๖ ๔. พฒั นาระบบข้อมลู และภมู ิความร้ทู ี่ทนั สมยั อนั จะเกิดประโยชน์ และจําเป็นในการดาํ เนนิ ชีวิต ๕. ประสานงานกับผู้ปกครอง ชุมชน เพอ่ื การร่วมมือในการดแู ลช่วยเหลือผู้เรียน ๖. ประสานงานกับผู้เกย่ี วขอ้ งทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพือ่ การดแู ลชว่ ยเหลอื และ การสง่ ตอ่ ผู้เรยี น ๗. จัดกจิ กรรมทง้ั ในและนอกหอ้ งเรยี น เพอื่ ปอู งกนั แก้ไข ส่งเสรมิ และพฒั นาผู้เรยี นทุกคน รวมทง้ั ผู้ทม่ี คี วามสามารถพิเศษ ผู้ดอ้ ยโอกาส คนพิการ ตลอดจนผู้มีปญั หาชีวติ และสังคม ใหส้ ามารถพฒั นาตน ได้เต็มตามศักยภาพ ๘. รว่ มจัดบริการตา่ ง ๆ เชน่ - จัดบรกิ ารดา้ นสุขภาพ - จัดหาทุนและอาหารกลางวนั - จัดศนู ย์การเรยี นรูใ้ หผ้ ู้เรยี น เพอ่ื การวางแผนชีวิต - จดั บรกิ ารชว่ ยผ้เู รยี นทมี่ ีปัญหา หรือความต้องการ - ติดตามผลผู้เรยี นทง้ั ในปจั จบุ นั และจบการศึกษาแล้ว ๙. นิเทศ กาํ กับ ติดตาม ประเมินผล และประชาสัมพนั ธ์ กจิ กรรมแนะแนวทโ่ี รงเรียนจัดมดี งั นี้ ๑. การศกึ ษาเดก็ เปน็ รายบุคคล ให้ครูประจาํ ชน้ั และครูประจาํ วิชา มีการศกึ ษาเด็กเปน็ รายบคุ คลอย่างต่อเนอ่ื ง ๒. การสอนซอ่ มเสรมิ เปน็ การสอนซ่อมด้วยกิจกรรมทห่ี ลากหลายใหก้ บั เดก็ ท่เี รยี นออ่ น และมีปัญหา และสอนเสริมใหก้ ับเดก็ ท่ีเรียนเก่ง สามารถศกึ ษาหาความรดู้ ้วยตนเองไดด้ ว้ ยกลวิธที ่ีหลากหลาย ท้งั นตี้ ้องเป็นไปตามความตอ้ งการของผู้เรียน ๓. การส่งเสรมิ ศักยภาพของนักเรียน ซึ่งครผู ูร้ ับผิดชอบจะใชข้ อ้ มูลพืน้ ฐานของนักเรยี น รายบคุ คลเปน็ ฐานในการสง่ เสริมศกั ยภาพเฉพาะด้านใหก้ ับนกั เรยี นนัน้ ๆ และดาํ เนนิ การอย่างเป็นระบบ เพ่อื ให้ นักเรยี นไดร้ ับการสง่ เสริมเต็มศักยภาพ ๔. การตรวจสุขภาพ มกี ารตรวจสุขภาพและวเิ คราะห์ผลการเจริญเตบิ โตของนักเรยี น ทุกคน อยา่ งเป็นระบบสามารถตรวจสอบได้ ๕. การจดั ทุนการศกึ ษา และทุนอาหารกลางวนั ให้กับนักเรยี นทขี่ าดแคลนทางด้านทนุ ทรัพย์ ๖. รวบรวมข้อมูล ขา่ วสาร สารสนเทศ ของนักเรยี นเพือ่ ใหน้ กั เรยี นได้สํารวจตนเอง และ รจู้ ักตนเองในทุกด้าน ๗. การตดิ ตามผลผู้เรียนในปัจจบุ ันและจบการศึกษาแลว้ ๘. การแนะแนวการศกึ ษา ใหผ้ เู้ รียนพฒั นาการเรยี นไดเ้ ตม็ ศักยภาพ วางแผนการเรยี นและ การศกึ ษาต่อไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๒. กิจกรรมนักเรียน เปน็ กิจกรรมทีเ่ กิดจากความสมคั รใจของผู้เรยี นได้พัฒนาตามคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่มิ เตมิ จากกจิ กรรมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมทีอ่ าศยั ความรว่ มมอื ระหว่างครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง ท่ีช่วยกนั คดิ ช่วยกนั ทํา ชว่ ยกันแก้ปัญหา สง่ เสรมิ ศกั ยภาพของผเู้ รยี นอย่างเต็มที่ รวมถึงกจิ กรรมท่ี ปลูกฝงั ความมรี ะเบยี บวินยั รบั ผดิ ชอบ รู้จกั สทิ ธแิ ละหนา้ ทีข่ องตนเอง ซ่ึงแบ่งเปน็ กิจกรรมหลกั ๒ กจิ กรรม คอื ๒.๑ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด เป็นกิจกรรมท่ีมุง่ ปลกู ฝงั ระเบยี บวินยั กฎกตกิ า เพ่ือ การอยูร่ ่วมกนั ในสภาพชีวติ ตา่ ง ๆ นาํ ไปสพู่ ืน้ ฐานการทาํ ประโยชนแ์ กส่ งั คม และวถิ ชี วี ิตในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ

๑๒๗ ๒.๒ กิจกรรมพัฒนาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผเู้ รียน เปน็ กจิ กรรมท่ี มุ่งเน้นการเตมิ เต็มความร้คู วามสามารถ ความชาํ นาญ และประสบการณข์ องผูเ้ รียนใหก้ วา้ งขวางยิง่ ขึ้น เพ่ือการ คน้ พบความถนดั ความสนใจของตนเองและพฒั นาตนเองใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะทางสงั คม และปลกู ฝังจติ สํานึกของการทาํ ประโยชนเ์ พอ่ื สังคม ๓. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ เป็นกิจกรรมทีต่ ้องการปลกู ฝังใหผ้ ู้เรยี นเล็งเหน็ ถงึ ความสาํ คัญของตนเองในการมีส่วนร่วมและชว่ ยเหลือสังคมตามระดบั ของวยั วุฒิ คณุ วุฒิ หรือตามศักยภาพของตน ทพ่ี ึงจะกระทาํ ได้ จนเกิดเป็นกิจนิสยั ทไ่ี ด้รับการบ่มเพาะส่งิ ทดี่ งี ามใหบ้ งั เกดิ ในตวั ผเู้ รียนต้ังแต่วัยเยาว์ จนส่งผลให้ ผู้เรยี นเหล่าน้นั เป็นทรพั ยากรมนุษย์ทมี่ ีคุณภาพของสงั คม ๔. กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะดาํ รงชวี ิต

๑๒๘ การจัดการเรียนรแู้ ละการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาํ คญั ในการนาํ หลกั สูตรสู่การปฏบิ ัติ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พืน้ ฐาน เปน็ หลกั สตู รที่มมี าตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาํ คัญและคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น เปน็ เปูาหมายสําหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน ในการพฒั นาผ้เู รียนใหม้ คี ณุ สมบัตติ ามเปูาหมายหลกั สตู ร ผูส้ อนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนร้โู ดยชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเรยี นรผู้ า่ นสาระท่กี ําหนดไว้ในหลกั สูตร ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ รวมท้ังปลูกฝงั เสริมสร้างคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อนั เป็นสมรรถนะสาํ คัญให้ผูเ้ รยี นบรรลุ ตามเปาู หมาย หลักการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ การจัดการเรียนรตู้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ยึดหลักการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวทางของ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นมีความสาํ คญั ที่สดุ เชื่อวา่ ทุกคนมคี วามสามารถ เรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกบั ผู้เรยี น โดยมีเปูาหมายให้ผู้เรยี นเปน็ คนดี เก่ง มีความเป็นไทย และทาํ งานร่วมกับผ้อู ่นื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ในกลุ่มสาระการเรียนรูท้ ้ัง ๘ กลมุ่ กระบวนการจดั การเรยี นรตู้ ้อง ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ คํานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและ พฒั นาการทางสมอง เน้นใหค้ วามสําคัญทง้ั ความรู้ และคณุ ธรรม คดิ เป็นองค์รวม และรว่ มมือกนั พฒั นาสังคมไทย การจดั การเรียนรเู้ พอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาํ คญั และคณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ตามทีก่ าํ หนดไว้ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระบวนการจัดการเรยี นรูต้ ้องสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี น สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฒั นาการ ทางสมอง เน้นให้ความสาํ คญั ทัง้ ความรู้ และคุณธรรม การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงไดก้ าํ หนดแนวดาํ เนินการเพ่ือใหก้ ารจัดการเรียนร้ตู ามหลักสูตรประสบความสําเร็จตามจุดมุ่งหมาย ดังน้ี ๑. จดั ประสบการณ์การเรียนรูโ้ ดยยดึ หลกั การพัฒนาผเู้ รยี นให้ถงึ ศักยภาพสงู สดุ คือ ผู้เรียนได้ พัฒนา ตนเอง ทง้ั ร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสังคม มคี วามรสู้ ึกท่ดี ีเก่ียวกบั ตนเอง ภาคภูมิใจในผลการปฏิบตั ิ ๒. จดั ประสบการณ์การเรียนรูโ้ ดยยึดชวี ติ จรงิ ของผเู้ รยี นเป็นหลัก เนน้ ให้ผเู้ รียนมศี ักยภาพในการคิดเชงิ ระบบ และคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ มีรูปแบบการคิดของตนเอง ค้นพบตนเอง ๓. จัดประสบการณ์การเรยี นรูโ้ ดยยึดหลกั ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และหลักการเรยี นรู้ในเชิงพหุ ปญั ญา และใช้กระบวนการวิจยั ในการแกป้ ญั หาและพัฒนาผเู้ รียน ๔. จดั ประสบการณโ์ ดยใช้คุณธรรมนําความรู้ บูรณาการคุณธรรมในการจดั ประสบการณท์ ุกกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ และทกุ ขั้นตอนในการจดั การเรียนรู้ ถอื วา่ ครทู กุ คนมหี น้าทีพ่ ัฒนาผเู้ รยี นใหป้ ระพฤตติ นยึดหลกั คณุ ธรรม และพฒั นาตนใหม้ ีค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์

๑๒๙ ๕. จดั บรรยากาศใหเ้ อ้อื ตอ่ การแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง มีอสิ ระในการคดิ ได้ลงมือปฏิบัติจรงิ ครู พรอ้ มให้คาํ ปรกึ ษา ใหก้ ําลงั ใจ เสริมแรงให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นวา่ ตนเองมีศกั ยภาพในการเรยี นรูใ้ นเชิงพหุ ปญั ญา ไม่ดา้ นใดก็ดา้ นหนง่ึ หรอื หลายดา้ นพรอ้ มกัน ๖. จัดประสบการณ์การเรยี นร้ใู ห้มคี วามสัมพันธ์ เช่อื มโยง หรอื บรู ณาการทัง้ ภายในกลุม่ สาระการเรียนรู้ และระหวา่ งกลุม่ สาระการเรยี นร้ใู หม้ ากทีส่ ุด ๗. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ใหย้ ดื หย่นุ ตามเหตุการณ์ และสภาพทอ้ งถิ่น โดยใชแ้ หล่งการเรยี นร้แู ละ ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ในการจดั การเรียนรู้ตามความเหมาะสม ๘. จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูโ้ ดยมุ่งเน้นกระบวนการเรยี นรู้ กระบวนการคิดอย่างมีเหตผุ ล และ สร้างสรรค์ กระบวนการกลมุ่ การจดั การเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาํ คัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย เปน็ เคร่ืองมือทจี่ ะนําพาตนเองไปสเู่ ปูาหมายของหลกั สตู ร กระบวนการเรียนรู้ทีจ่ ําเป็นสาํ หรบั ผเู้ รยี น อาทิ กระบวนการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปญั หา กระบวนการเรยี นรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมอื ทาํ จรงิ กระบวนการจดั การ กระบวนการวจิ ัย กระบวนการเรียนรกู้ ารเรยี นรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนา ลกั ษณะนสิ ัย กระบวนการเหลา่ นี้เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนควรได้รับการฝึกฝน พฒั นา เพราะจะ สามารถช่วยใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นร้ไู ด้ดี บรรลุเปูาหมายของหลกั สูตร ดงั นน้ั ผสู้ อน จึงจําเป็นตอ้ งศกึ ษาทาํ ความ เข้าใจในกระบวนการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ เพื่อใหส้ ามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรไู้ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ผู้สอนตอ้ งศึกษาหลักสูตรสถานศกึ ษาให้เขา้ ใจถึงมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด สมรรถนะสาํ คญั ของ ผเู้ รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกับผู้เรยี น แลว้ จึงพจิ ารณาออกแบบการ จัดการเรยี นรู้โดยเลอื กใชว้ ธิ ีสอนและเทคนคิ การสอน สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เพอ่ื ให้ผเู้ รียนได้ พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปูาหมายท่ีกําหนด ๑. บทบาทของผู้สอนและผเู้ รยี น การจัดการเรยี นร้เู พอื่ ให้ผเู้ รียนมีคณุ ภาพตามเปูาหมายของหลักสูตร ท้ังผู้สอนและผู้เรยี นควรมบี ทบาท ดังน้ี ๑.๑ บทบาทของผสู้ อน ๑) ศึกษาวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบุคคล แล้วนาํ ขอ้ มลู มาใช้ในการวางแผน การจดั การเรยี นรู้ ทท่ี า้ ทายความสามารถของผเู้ รียน ๒) กําหนดเปูาหมายทีต่ ้องการให้เกิดขึน้ กบั ผ้เู รยี น ด้านความรู้และทักษะ กระบวนการ ท่เี ป็นความคิดรวบยอด หลักการ และความสมั พันธ์ รวมทง้ั คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๓) ออกแบบการเรยี นรแู้ ละจัดการเรยี นรทู้ ่ีตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและ พฒั นาการทางสมอง เพื่อนําผ้เู รยี นไปส่เู ปูาหมาย ๔) จัดบรรยากาศทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ และดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้ ๕) จัดเตรียมและเลอื กใชส้ อ่ื ให้เหมาะสมกับกจิ กรรม นาํ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอน ๖) ประเมนิ ความก้าวหน้าของผเู้ รยี นด้วยวธิ กี ารที่หลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาติของวชิ าและระดับพัฒนาการของผู้เรียน

๑๓๐ ๗) วิเคราะหผ์ ลการประเมินมาใช้ในการซอ่ มเสริมและพฒั นาผเู้ รียน รวมท้ัง ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนการสอนของตนเอง ๑.๒ บทบาทของผู้เรยี น ๑) กําหนดเปาู หมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรยี นรูข้ องตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู้ ต้งั คําถาม คิดหาคําตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ๒) ลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ สรุปส่ิงท่ีไดเ้ รียนรดู้ ว้ ยตนเอง และนาํ ความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ ในสถานการณต์ ่าง ๆ ๓) มีปฏสิ ัมพันธ์ ทํางาน ทํากจิ กรรมรว่ มกบั กลุ่มและครู ๔) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง การส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ปจั จยั สําคญั ทเี่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจัดการศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพ และประสบความสาํ เร็จตามจุดมงุ่ หมาย ของหลกั สูตร คือการพฒั นาระบบการสง่ เสริม สนับสนุน ของสถานศึกษาในดา้ นต่าง ๆ ที่จะเอือ้ ใหส้ ามารถจดั การ เรยี นการสอนได้อยา่ งมคี ุณภาพ สําหรบั แนวปฏิบตั ิในการส่งเสริมการเรียนรู้ และสนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการ เรียนการสอนของสถานศกึ ษา ได้กาํ หนดแนวในการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ดังต่อไปนี้ ๑. การจัดสภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาใหเ้ อ้ือต่อการใชห้ ลกั สูตร การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ให้เออ้ื ต่อการใช้หลักสตู รเป็นหน้าท่โี ดยตรงของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาทีจ่ ะต้อง ร่วมมอื กนั โดยยึดเปูาหมาย หลกั การ และจดุ เน้นต่าง ๆ ของหลักสูตรเปน็ หลกั ในการดําเนนิ การ ทั้งน้ีเพือ่ ให้ ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้และพฒั นาตนเองได้อย่างเต็มศกั ยภาพ ๒. การจดั ให้มแี หลง่ การเรยี นรู้ ห้องสมุด และมมุ หนังสอื หรอื แหลง่ วชิ าท่จี ะให้ผเู้ รียนได้ศกึ ษา ค้นคว้า หาความรู้ดว้ ยตนเอง เพือ่ เพมิ่ พนู ประสบการณแ์ ละความชํานาญ โดยเฉพาะห้องสมุดเปน็ แหลง่ การเรยี นรทู้ ่ี สําคัญย่ิงเพราะเป็นแหล่งที่รวบรวมองคค์ วามรู้ที่เป็นประโยชน์กับผเู้ รยี นโดยตรง นอกจากน้ยี งั จัดให้มแี หลง่ การ เรยี นรู้ในรูปของศนู ยก์ ารเรยี นรู้แบบพ่ึงพาตนเอง คอมพิวเตอร์ หอ้ งปฏบิ ัติการทางภาษา หอ้ งปฏบิ ัติการทาง วทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีต่าง ๆ ๓. การจดั ใหม้ ีบรเิ วณสาํ หรับให้ผู้เรยี นไดฝ้ ึกปฏบิ ัติกจิ กรรมในกลุม่ สาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี น ไดเ้ รียนรู้จากประสบการณจ์ ริง ได้คิด ไดท้ ํา ไดแ้ สดงออก ได้เรียนรูเ้ อง และค้นพบความรูด้ ้วยตนเองตาม ศกั ยภาพของนักเรยี นแตล่ ะคน ๔. การจัดให้มีแหลง่ การเรียนร้ใู นท้องถ่นิ และการใชภ้ มู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ การจดั การเรียนรตู้ ามหลักสูตร เนน้ การเรยี นรูจ้ ากแหลง่ การเรียนรูท้ ัง้ ในและนอกห้องเรียน ทง้ั น้เี พ่ือผ้เู รียนจะไดม้ โี อกาสท่จี ะสมั ผสั กบั ชวี ติ จรงิ นอกหอ้ งเรยี นหรือนอกโรงเรยี น ไดพ้ บปะกบั ผคู้ น ผูร้ ู้ ภมู ปิ ญั ญาของท้องถิ่นเพื่อจะได้เรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ มากข้ึน มี ประสบการณก์ วา้ งขวางข้นึ เรียนรู้ไดท้ กุ เวลาและทกุ สถานท่ีไม่จาํ กัดว่าจะต้องเรยี นรูจ้ ากผู้สอนในสถานศกึ ษา เท่าน้ัน ๕. การวิจัยเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพ การวิจยั เป็นกระบวนการทีค่ วบคกู่ บั กระบวนการเรียนรู้ และ กระบวนการทาํ งานของผู้ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการศกึ ษา ซึ่งเป็นกลไกที่นําไปสสู่ ังคมแหง่ ภมู ิปัญญาและการเรยี นรู้ ดงั นัน้ ในการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนตอ้ งนํากระบวนการวิจยั มาผสมผสานหรอื บูรณาการเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพของ ผู้เรยี น และสามารถใชก้ ระบวนการการวจิ ยั เป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการเรียนรู้ นอกจากนผ้ี ลการวจิ ัยยังเป็น ประโยชน์ต่อการแก้ปญั หาหรือพฒั นาคุณภาพของผู้เรยี นไดเ้ ป็นอย่างดี

๑๓๑ ๖. การจดั เครือข่ายวชิ าการ ผู้สอนนบั ว่ามีส่วนสาํ คญั ท่จี ะทาํ ให้การจดั การเรียนรปู้ ระสบผลสาํ เร็จ สถานศกึ ษาจึงจดั ให้มีเครือขา่ ยเชื่อมโยงกบั สถานศึกษาอนื่ ซ่งึ เปน็ สถานศึกษาในโครงการโรงเรยี นเครือข่ายการใช้ หลักสตู รสถานศึกษาของจงั หวัดชลบรุ ี ทั้งนเี้ พื่อให้ผสู้ อนได้แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ แลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการ จัดการเรียนร้ซู งึ่ กันและกนั ทําให้ได้รับความรู้ และแนวคดิ ใหม่ ๆ ทห่ี ลากหลาย และกว้างขวาง ที่สามารถนําไป พฒั นาการจดั การเรยี นการสอนได้อย่างมคี ุณภาพ นอกจากนยี้ ังส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ทางวชิ าการ จากผ้สู อนในสถานศกึ ษาเดยี วกนั และสถานศึกษาอ่นื ๆ ตลอดจนชมรมวิชาการตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหผ้ ู้สอน ไดร้ บั การพฒั นาตนเองอยา่ งสมาํ่ เสมอ

๑๓๒ ระเบยี บโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ว่าดว้ ยการประเมินผลการเรยี นตามหลักสตู รโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ……………………………… โดยท่ีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ไดป้ ระกาศใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคําส่งั กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เร่ือง ใหใ้ ช้ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และกระจายอาํ นาจให้สถานศึกษากาํ หนดหลักสตู ร สถานศกึ ษาข้นึ ใช้เอง เพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั คําสั่งดังกล่าว ฉะนนั้ อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๒๑ และมาตรา ๑๕ แหง่ พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖ และคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงึ วางระเบยี บไว้ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ระเบยี บนี้เรยี กวา่ “ระเบยี บสถานศกึ ษาวา่ ดว้ ยการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑” ขอ้ ๒ ระเบยี บนใี้ ห้ใชบ้ ังคับตง้ั แตป่ กี ารศึกษา ๒๕๕๗ เป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลิกระเบยี บข้อบังคับหรือคาํ สัง่ อ่นื ใดในสว่ นทีก่ าํ หนดไว้ในระเบียบน้หี รือซ่งึ ขัดหรอื แยง้ กับ ระเบียบน้ี ให้ใชร้ ะเบียบนแี้ ทน ขอ้ ๔ ระเบียบน้ีให้ใช้ควบคูก่ ับหลักสตู รสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ข้อ ๕ ในระเบียบน้ี “หลกั สตู ร” หมายถึง หลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๑ “โรงเรยี น” หมายถงึ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ “ผู้อํานวยการโรงเรยี น” หมายถงึ ผ้อู าํ นวยการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ “ครู” หมายถงึ ครู ผ้ปู ฏบิ ัตกิ ารสอนในโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ “นกั เรยี น” หมายถงึ นกั เรียนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถงึ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ขอ้ ๖ ใหผ้ อู้ าํ นวยการโรงเรยี นรักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บน้ี

๑๓๓ หมวดท่ี ๑ หลักการในการวดั และประเมินผลการเรยี น ขอ้ ๗ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนให้เป็นไปตามหลักการดงั น้ี ๗.๑ ทุกระดบั ชัน้ ตั้งแตช่ น้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ มกี ารวดั และประเมนิ ผล ตดั สนิ ผลการเรียนตามรายวชิ าเป็นรายปี ส่วนระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖ มีการวัดและประเมนิ ผล ตดั สินผล การเรียนตามรายวิชาเป็นรายภาค ๗.๒ โรงเรยี นมหี น้าท่ีวดั และประเมนิ ผลการเรยี นให้สอดคลอ้ งกับวิธีการวัดและประเมินผลการ เรียน ๗.๓ การวดั และประเมินผลการเรยี น ต้องสอดคล้องและครอบคลมุ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชว้ี ัด ท่ีกําหนดในหลกั สูตรแกนกลางฯ ๗.๔การวดั ผลและประเมินผลการเรียน เป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน ต้อง ดาํ เนนิ การด้วยวิธีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสม ตามสภาพจริง ธรรมชาติวิชา และระดับช้นั ของนักเรียน ๗.๕ วัดและประเมนิ ผล ทง้ั เพ่อื ปรับปรุงการเรยี นและเพือ่ ตัดสนิ ผลการเรียน ๗.๖ ใหม้ ีการวัดและประเมนิ ความรคู้ วามสามารถของนักเรยี นด้านการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และ เขียนสือ่ ความในทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ ๗.๗ ให้มีการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรยี น ในทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๗.๘ ให้มีการวัดและประเมนิ ผลคุณภาพนกั เรียน ทัง้ ระดบั ชั้นเรียนและระดับ สถานศกึ ษาในแต่ละช้นั ปี ๗.๙ ใหน้ กั เรียนท่กี ําลังศกึ ษาในชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ถึงชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เข้า รับการประเมนิ คุณภาพระดับต่าง ๆ ตามท่โี รงเรียน สาํ นักงานเขตพนื้ ที่ หรอื กระทรวงศกึ ษาธิการกาํ หนด ๗.๑๐ ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศึกษาและรปู แบบการศึกษาต่างๆ หมวดท่ี ๒ วธิ ีการวัดและประเมินผลการเรยี น การตัดสินผลการเรยี น ขอ้ ๘ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น การตัดสนิ ผลการเรียนน้ี เปน็ การประเมินผลระดับชนั้ เรียน ปฏบิ ัติดงั น้ี ๘.๑ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๘.๑.๑ ก่อนการเรยี น ครแู จง้ ใหน้ ักเรียนทราบถึงวิธีการวัดและประเมินผล ตวั ชีว้ ัด การ ประเมินการอา่ น คิด วิเคราะห์ เขยี นสือ่ ความ การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เกณฑก์ ารประเมิน และการตดั สนิ ผลการเรียน ๘.๑.๒ ครูประเมนิ ความรพู้ ้นื ฐานของนักเรียน กอ่ นการเรยี นการสอนสาระการเรยี นร้ตู ่างๆ ๘.๑.๓ ครูวัดและประเมนิ ผลการเรียนเพอื่ ศกึ ษาผลการเรยี น เพื่อจดั การสอนซ่อมเสรมิ และประเมนิ ผลตามตวั ชีว้ ัดเพอื่ ตดั สนิ ผลการเรยี น ดงั นี้ ๘.๑.๓.๑ วดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามตวั ชว้ี ดั ของแต่ละสาระการเรียนรู้ ที่กาํ หนดในหลักสตู ร ๘.๑.๓.๒ วัดและประเมินผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี นสอื่ ความ ท่ี สอดคลอ้ งกับตวั ชีว้ ัดของแต่ละสาระการเรียนรู้

๑๓๔ ๘.๑.๓.๓วัด และประเมินผลคุณลกั ษณ์อนั พึงประสงคข์ องแต่ละสาระการเรยี นรู้ที่ กาํ หนดในหลกั สตู ร ๘.๑.๔ ครูวดั และประเมนิ ผลการเรียนได้ตลอดในขณะเวลาที่เรียน ตามตวั ชว้ี ดั ที่กําหนด โดยประเมินในรปู เกณฑค์ ุณภาพ ๘ ระดบั โดยใช้สัญลกั ษณเ์ ปน็ เลขฮนิ ดูอารบิกหรืออย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของครูผ้สู อน ดงั นี้ ผลการประเมนิ “๔” หมายถงึ เกณฑ์คณุ ภาพ “ดีเยยี่ ม หรอื มผี ล การวัดต้ังแต่รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป ผลการประเมิน “๓.๕” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “ดีมาก” หรือมีผลการวดั ต้งั แต่ร้อยละ๗๕-๗๙ ผลการประเมิน “๓” หมายถึงเกณฑค์ ุณภาพ “ดี” หรือมผี ลการวัด ตัง้ แตร่ ้อยละ๗๐-๗๔ ผลการประเมิน “๒.๕” หมายถงึ เกณฑค์ ณุ ภาพ “ค่อนข้างดี” หรอื มผี ลการวดั ตั้งแต่รอ้ ยละ๖๕-๖๙ ผลการประเมิน “๒” หมายถึงเกณฑค์ ณุ ภาพ “นา่ พอใจ” หรอื มีผลการวดั ตง้ั แตร่ อ้ ยละ๖๐-๖๔ ผลการประเมนิ “๑.๕” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “พอใช้” หรอื มีผล การวดั ตง้ั แต่รอ้ ยละ๕๕-๕๙ ผลการประเมนิ “ ๑” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่าํ ” หรือมผี ลการวัดตั้งแต่รอ้ ยละ๕๐-๕๔ ผลการประเมนิ “๐” หมายถงึ เกณฑ์คุณภาพ “ต่ํากวา่ เกณฑ์” หรอื มีผลการวัด ตา่ํ กว่ารอ้ ยละ ๕๐ ๘.๑.๕ การตดั สนิ ผลการเรยี น ผลการประเมนิ การเรียนรขู้ องสาระการเรยี นร้นู ้นั ๆ เปรียบเทยี บตัวเลขแสดงความหมายระดบั ผลการเรยี นแตล่ ะรายวชิ า โดยใชส้ ญั ลกั ษณ์เปน็ เลขฮนิ ดูอารบกิ ดังน้ี ผลการประเมิน “๔” หมายถงึ เกณฑ์คณุ ภาพ “ดเี ยย่ี ม หรอื มผี ล การวัดตง้ั แต่ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ผลการประเมนิ “๓.๕” หมายถึงเกณฑ์คุณภาพ “ดมี าก” หรือมผี ลการวดั ตง้ั แตร่ อ้ ยละ๗๕-๗๙ ผลการประเมนิ “๓” หมายถึงเกณฑค์ ุณภาพ “ดี” หรอื มผี ลการวดั ตัง้ แตร่ ้อยละ๗๐-๗๔ ผลการประเมนิ “๒.๕” หมายถงึ เกณฑค์ ุณภาพ “คอ่ นข้างดี” หรอื มผี ลการวดั ต้ังแตร่ ้อยละ๖๕-๖๙ ผลการประเมนิ “๒” หมายถงึ เกณฑค์ ุณภาพ “น่าพอใจ” หรือมีผลการวดั ตั้งแต่ร้อยละ๖๐-๖๔ ผลการประเมิน “๑.๕” หมายถึงเกณฑ์คุณภาพ “พอใช้” หรือมีผล การวัดตัง้ แตร่ อ้ ยละ๕๕-๕๙ ผลการประเมิน “ ๑” หมายถงึ เกณฑค์ ุณภาพ “ผา่ นเกณฑ์ขั้นต่าํ ” หรือมผี ลการวัดตง้ั แต่ร้อยละ๕๐-๕๔ ผลการประเมนิ “๐” หมายถงึ เกณฑ์คณุ ภาพ “ตํา่ กว่าเกณฑ์” หรือมผี ลการวดั ตํ่ากวา่ ร้อยละ ๕๐

๑๓๕ ๘.๑.๖ การประเมินผลการเรยี นเพือ่ ตัดสินผลการเรยี น ใช้เฉพาะนกั เรียนผทู้ ่มี ีเวลาเรยี น ตลอดปไี ม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนรายวิชานนั้ ๘.๑.๗ นักเรียนทม่ี เี วลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นในวชิ านน้ั โรงเรียน แต่งต้ังคณะกรรมการประกอบด้วยผบู้ รหิ ารสถานศึกษา หัวหนา้ กลุ่มงานวิชาการ ครูประจําชั้น ครูผูส้ อน และผู้ปกครอง พิจารณาให้มีโอกาสซอ่ มเสริมเวลาเรียน ปรบั ปรงุ แกไ้ ขการเรยี น แล้วประเมินผลใหม่ ภายใน ๙๐ วันของปีการศึกษาถัดมา หากระยะเวลาเกนิ กว่าท่ีกาํ หนด ให้เรียนซํา้ ในรายวชิ านนั้ ๘.๑.๘ นกั เรียนท่มี ีผลการเรยี นเฉลีย่ ของปี ตํ่ากวา่ “๑” หรอื มีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ เขยี นสอื่ ความไมผ่ า่ นเกณฑ์ หรอื มีผลการประเมินคุณลักษณะพึงประสงค์ ไม่ผา่ นเกณฑ์ หรือมีผลการ ประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนไมผ่ ่านเกณฑ์ หรือไมเ่ อาใจใส่ในการเรยี น คณะกรรมการ ตามข้อ ๘.๑.๗ เหน็ ว่า ควรเรียนซา้ํ ชั้น ใหม้ ีการเรียนซาํ้ ชน้ั ในปีถัดมา ๘.๑.๙ นักเรียนที่มีการทุจรติ ในการสอบหรอื ทุจรติ ในงานที่มอบหมายใหไ้ ด้คะแนน ๐หรือ มผี ลการประเมนิ “ตก”ในการประเมนิ ครง้ั นนั้ ข้อ ๙ การประเมนิ การอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี นสื่อความ ในระดับสถานศึกษา เพือ่ ปรบั ปรุงพฒั นา และจบชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖โดยปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ๙.๑ โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นสื่อความข้นึ คณะ หน่งึ ในแตล่ ะปีการศกึ ษา ๙.๒ คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียนสือ่ ความกําหนดแนวทาง วิธีการประเมนิ และเกณฑ์การตัดสนิ ตามท่ีหลกั สูตรกําหนด ๙.๓ มกี ารประเมินเปน็ รายปี เพอ่ื ปรับปรุงและพฒั นาในปที ี่ ๑-๕ การตดั สนิ จบชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ให้ถือผลการประเมินปลายปีของปีที่ ๖ ๙.๔ ประเมนิ นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คลตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละเกณฑท์ ี่กาํ หนด ๙.๕ นักเรยี นท่ีผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตัดสิน “ดี หรือ ดเี ยีย่ ม” แล้วแตก่ รณี ๙.๖ นักเรยี นท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน ตัดสิน “ปรบั ปรงุ ” ๙.๗ นกั เรยี นที่ได้รับการตดั สิน “ปรบั ปรงุ ” ต้องดําเนินการซอ่ มเสรมิ ปรับปรงุ แกไ้ ข ตาม แนวทางทีค่ ณะกรรมการกาํ หนด และมีการประเมนิ ใหม่ ๙.๘ นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ับการตัดสนิ “ปรับปรงุ ” และมีการประเมนิ ใหม่แล้วผา่ นเกณฑก์ าร ประเมนิ ตัดสิน “ผา่ น” ๙.๙ นักเรียนท่ีได้รับการตัดสนิ “ดี หรอื ดีเยีย่ ม หรือ ผ่าน” มสี ิทธไิ ดร้ บั การพิจารณาการจบ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ขอ้ ๑๐ การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องโรงเรียน การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี น ระดบั สถานศึกษา เพือ่ ปรับปรงุ พฒั นา และจบชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ โดยปฏิบตั ดิ ังนี้ ๑๐.๑ โรงเรยี นแต่งต้ังคณะกรรมการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ อง โรงเรียนขึน้ คณะ หนงึ่ ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา ๑๐.๒ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของโรงเรียน กําหนดแนวทาง วิธีการประเมิน และเกณฑ์การตัดสนิ ตามที่หลกั สูตรกําหนด ๑๐.๓ มกี ารประเมินเป็นรายปี เพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนาในปที ่ี ๑-๕ การตัดสนิ จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ใหถ้ อื ผลการประเมนิ ปลายปีของปีท่ี ๖ สําหรบั มัธยมศกึ ษามีการประเมนิ ผลเป็นรายภาค ๑๐.๔ ประเมนิ นักเรียนเป็นรายบุคคล ตามมาตรฐาน และเกณฑ์ท่กี าํ หนดในหลกั สูตร ๑๐.๕ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ตดั สิน “ดี หรอื ดีเยย่ี ม” แล้วแตก่ รณี

๑๓๖ ๑๐.๖ นักเรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตดั สนิ “ปรับปรุง” ๑๐.๗ นกั เรียนทไี่ ดร้ บั การตดั สิน “ปรบั ปรุง” ต้องดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ ซอ่ มเสรมิ แก้ไข ตาม แนวทางท่ีคณะกรรมการกาํ หนดและมกี ารประเมินใหม่ ๑๐.๘ นกั เรียนท่ไี ดร้ บั การตดั สิน “ปรับปรงุ ” และไดร้ บั การประเมนิ ใหมแ่ ลว้ ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ตดั สนิ “ผา่ น” ๑๐.๙ นักเรียนทไ่ี ดร้ บั การตดั สิน “ดี หรือ ดเี ยย่ี ม หรอื ผ่าน” มีสิทธิได้รบั การพิจารณาจบช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ขอ้ ๑๑ การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ระดับสถานศกึ ษา โดยปฏบิ ัตดิ งั นี้ ๑๑.๑ โรงเรียนแต่งต้งั คณะกรรมการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นของ โรงเรยี น ขนึ้ คณะหนึง่ ในแตล่ ะปกี ารศึกษา ๑๑.๒ คณะกรรมการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นของโรงเรยี น กาํ หนดแนว ทางวิธกี ารประเมนิ และเกณฑ์การตัดสินตามทห่ี ลักสตู รกาํ หนด ๑๑.๓ นกั เรียน ตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรม ๓ กลุม่ ดังนี้ ๑๑.๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เวลาเรยี น ๑ ช่วั โมง/สัปดาห์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถคิดตดั สนิ ใจ คิดแก้ปัญหา กําหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้ อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คําปรึกษาแก่ ผปู้ กครองในการมสี ว่ นรว่ มพัฒนาผู้เรียน ๑๑.๓.๒ กิจกรรมนกั เรยี น เวลาเรยี น ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นําผู้ตามที่ดี ความ รับผิดชอบ การทาํ งานรว่ มกนั การรู้จักแกป้ ญั หา การตดั สนิ ใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เออ้ื อาทร และสมานฉันท์ โดยจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติ ด้วยตนเองในทกุ ข้ันตอน ไดแ้ ก่ การศกึ ษาวเิ คราะหว์ างแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทํางาน เน้น การทาํ งานรว่ มกันเปน็ กล่มุ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและ ท้องถิน่ กจิ กรรมนกั เรียนประกอบด้วย ก. กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารีหรอื ยุวกาชาด หรือผู้บาํ เพ็ญประโยชน์ ข. กิจกรรมชมุ นุม ชมรม ๑๑.๓.๓ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ เวลาเรียน ช้นั ปีละ ๑๐ ช่วั โมง เปน็ กิจกรรมท่สี ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นบําเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ชุมชน และ ท้องถนิ่ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพอื่ แสดงถงึ ความรับผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสยี สละต่อสงั คม มจี ติ สาธารณะ เชน่ กจิ กรรมอาสาพฒั นาตา่ ง ๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ ังคม ๑๑.๔ ครผู รู้ บั ผดิ ชอบกจิ กรรมแนะแนว เปน็ ผู้ประเมินและตัดสนิ ผลกจิ กรรม แนะแนว

๑๓๗ ๑๑.๕ ครผู ูบ้ ังคบั บญั ชาในกจิ กรรมลกู เสือเนตรนารี ยุวกาชาด หรือ ผู้บาํ เพ็ญ ประโยชน์ เปน็ ผปู้ ระเมนิ และตดั สินผลการพัฒนาผูเ้ รยี นในกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาด หรือผู้บาํ เพญ็ ประโยชน์ตามแต่กรณี ครทู ่ีปรกึ ษาในกิจกรรมชุมนมุ หรือชมรมเป็นผูก้ าํ หนดกจิ กรรม และประเมนิ ผูเ้ รยี นใน กิจกรรมนน้ั โดยนําผลการประเมินท้งั ๒ กิจกรรม มาประเมินตัดสินรว่ มกัน ๑๑.๖ ครผู ูร้ บั ผิดชอบ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์เปน็ ผปู้ ระเมนิ และ ตดั สินกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๑.๗ นักเรยี นที่มีเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาร่วม กจิ กรรมรายปี และผ่านจุดประสงค์สําคญั ของกจิ กรรม มผี ลการประเมนิ และตดั สิน “ผา่ น” ๑๑.๘ นกั เรยี นทม่ี เี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมน้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาร่วม กิจกรรมรายปี หรือไม่ผา่ นจดุ ประสงคส์ ําคญั ของกิจกรรม มผี ลการประเมินและตดั สิน “ไม่ผ่าน” ๑๑.๙ นักเรียนทีไ่ ดร้ ับการตัดสิน “ไม่ผา่ น” ต้องดําเนินการปรับปรงุ ซ่อมเสรมิ แก้ไข ตามแนวทางท่คี รปู รึกษาหรือบังคบั บญั ชากาํ หนดและมกี ารประเมนิ ใหม่ ๑๑.๑๐ นักเรยี นท่ไี ด้รับการตดั สนิ “ไม่ผา่ น” และได้รับการประเมินใหม่แล้วผ่านเกณฑ์ การประเมิน ตัดสนิ “ผ่าน” ๑๑.๑๑ นักเรียนทไ่ี ดร้ ับการตัดสนิ “ผ่าน” ทกุ กจิ กรรมได้รบั สทิ ธิพจิ ารณาจบช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ หมวดท่ี ๓ เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ข้อ ๑๒ นักเรยี นจะได้รับการพจิ ารณาอนุมตั ใิ หจ้ บช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ และชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ตอ้ งมคี ุณสมบตั ิครบถว้ นทกุ ข้อดังน้ี ๑๒.๑ ต้องมเี วลาเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทงั้ หมด ๑๒.๒ ต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตัวชว้ี ัด และมีผลการประเมนิ แต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรไู้ ม่ ตํ่ากวา่ ระดับผลการเรียน ๑ ๑๒.๓ ต้องได้รับการตดั สินผลการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๑๒.๔ ตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ โี่ รงเรียนกําหนด ใน ๓ ดา้ นดงั น้ี ๑๒.๔.๑ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน ๑๒.๔.๒ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑๒.๔.๓ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ข้อ ๑๓ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนเปน็ ผอู้ นุมัติผลการเรยี นและการจบหลกั สูตร

๑๓๘ หมวดท่ี ๔ การเทยี บโอนผลการเรยี น ขอ้ ๑๔ โรงเรยี นจะรับเทียบโอนผลการเรยี น ซ่งึ เปน็ ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณข์ องผู้เรียน ทเี่ กิดจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาประเมนิ เป็นส่วนหน่งึ ของ การศึกษา ตามหลักสูตรของโรงเรียนตามแนวปฏบิ ตั ติ อ่ ไปนี้ ๑๔.๑ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ๑๔.๑.๑ โรงเรยี นแตง่ ตง้ั คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรยี นขึน้ คณะหน่งึ มี จํานวนไม่นอ้ ยกว่า ๓ คน แต่ไม่เกนิ ๕ คน ประกอบด้วยหัวหนา้ กลุ่มวิชาการเปน็ ประธานกรรมการ ๑ คน ครู ประจําชั้น เป็นกรรมการและเลขานุการ ๑ คน และครใู นโรงเรียนผูม้ คี วามรูป้ ระสบการณใ์ นสาขาวิชาการศึกษา รวมไมเ่ กิน ๓ คน เป็นกรรมการ ๑๔.๒ วธิ ดี าํ เนินการเทยี บโอนผลการเรยี น ๑๔.๒.๑ ผู้ขอเทยี บโอนผลการเรียน ต้องขน้ึ ทะเบียนเปน็ นกั เรยี นของโรงเรยี นราช ประชานุเคราะห์ ๓๑ และโรงเรยี นต้องดําเนนิ การเทียบโอนในภาคเรียนแรกท่ขี อขน้ึ ทะเบยี น ๑๔.๒.๒ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ตอ้ งพจิ ารณาจากสาระการเรียนรู้/ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด ความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ของผู้เทยี บโอน โดยเทยี บเคียงกับโครงสร้างหลกั สตู ร สาระการเรยี นรู้และมาตรฐานของโรงเรยี น โดยมผี ลการพิจารณาแลว้ สอดคล้องกับโครงสรา้ งหลักสูตร สาระการ เรียนรู้และมาตรฐานของโรงเรียนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ๑๔.๒.๓ การเทยี บโอนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสาร หลักฐาน (ถา้ มี) โดยให้มีการประเมินดว้ ยเคร่อื งมอื ที่หลากหลาย และให้ได้ระดบั ผลการเรยี นตามเกณฑ์การ ประเมนิ ผลการเรยี นของหลกั สตู รโรงเรียน ๑๔.๒.๔ จาํ นวนกลุ่มวิชา รายวิชา ท่จี ะรับเทยี บโอนและอายุของผลการเรยี นที่จะ นาํ มาเทียบโอนใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการ ทง้ั นี้ เมื่อเทียบโอนแล้วผู้ขอ เทียบโอนตอ้ งมเี วลาเรียนในโรงเรียนไมน่ อ้ ยกว่า ๑ ภาคเรียน ๑๔.๒.๕ ผลการพจิ ารณาและตัดสนิ ของคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ให้เสนอ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวิชาการพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบแลว้ เสนอผ้อู าํ นวยการพจิ ารณาตาม เกณฑก์ ําหนด คอื มีผลการเรียนเทียบโอนสอดคล้องกับหลกั สูตรของโรงเรยี นมากกว่าร้อยละ ๖๐ พิจารณาอนมุ ตั ิ ผลการเรียนเทยี บโอนสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รของโรงเรียนน้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ พิจารณาไม่อนมุ ตั ิ ๑๔.๒.๖ การกําหนดรายละเอยี ดวธิ กี ารและหลักการเทยี บโอนใหเ้ ปน็ ไปอย่าง สอดคลอ้ งกับกฎกระทรวงและระเบยี บที่กระทรวงศึกษาธกิ ารกําหนด

๑๓๙ หมวดท่ี ๖ เอกสารหลักฐานการศึกษา ขอ้ ๑๕ โรงเรียนจัดให้มีเอกสารการประเมินผลการเรียนต่าง ๆ ดังน้ี ๑๕.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ. ๑) ๑๕.๒ หลักฐานแสดงวฒุ ิการศึกษา (ประกาศนียบัตร) (ปพ. ๒) ๑๕.๓ แบบรายงานผสู้ าํ เร็จการศึกษา (ปพ. ๓) ๑๕.๔ แบบแสดงผลการพฒั นาคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์(ปพ. ๔) ๑๕.๕ แบบบนั ทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน(ปพ.๕) ๑๕.๖ แบบรายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นรายบคุ คล(ปพ. ๖) ๑๕.๗ ใบรบั รองผลการศึกษา(ปพ. ๗) ๑๕.๘ ระเบียนสะสม(ปพ. ๘) ๑๕.๙ สมดุ /คูม่ ือหลักสูตรโรงเรยี น(ปพ. ๙) เอกสาร ปพ. ๑ ปพ. ๒ ปพ. ๓ ใหใ้ ช้รูปแบบที่กระทรวงศึกษาธิการกาํ หนด ขอ้ ๑๖ โรงเรียนอาจจดั ให้มเี อกสารอนื่ ๆ เพื่อเป็นหลกั ฐานการศกึ ษาเพ่มิ เตมิ ตามนโยบายและความ เหมาะสมกับสถานการณ์ หรอื บรู ณาการเอกสารทีโ่ รงเรียนจัดทําตามสภาพความเหมาะสม หมวดท่ี ๗ การปรับปรุงและพฒั นาระเบียบ ข้อ ๑๗ ให้คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวชิ าการ พจิ ารณาเสนอข้อมูล มติ เพ่ือปรับปรงุ และ พฒั นาระเบยี บนี้ตอ่ ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ ขอ้ ๑๘ การใช้ระเบียบ ระเบียบนมี้ ผี ลบงั คับใช้ ตัง้ แตว่ นั ที่ ผู้อํานวยการโรงเรียน ลงนามประกาศเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ (นางวลิ าวัลย์ ยอดผ่านเมือง) ผู้อาํ นวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๑๔๐ การบรหิ ารจัดการหลกั สตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ การบรหิ ารจัดการหลักสตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ กระบวนการในการบรหิ ารจดั การนําหลักสตู รไปใชถ้ ือว่าเปน็ ปัจจยั ที่สาํ คญั เปน็ อย่างมากท่ีจะชว่ ย สนบั สนนุ ส่งเสริมให้การใชห้ ลักสตู รของสถานศึกษาบรรลุผลสูงสดุ ดงั นน้ั สถานศกึ ษาจงึ ได้กําหนดแผนการ บริหารจัดการหลักสูตรของสถานศึกษาข้ึน เพอื่ ให้ผทู้ ่มี สี ่วนเก่ยี วข้องกบั การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาในทุก ๆ ส่วน และทุกระดบั เกดิ ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั จุดหมายของหลกั สตู ร การพัฒนาการเรยี นการสอน การนเิ ทศ การศึกษา การบรหิ ารหลกั สตู ร การประเมนิ ผล และแนวปฏิบัตขิ องสถานศกึ ษาท่จี ะตอ้ งดําเนนิ การให้สอดคลอ้ ง และเหมาะสมกับสภาพความต้องการของหลกั สูตรสถานศกึ ษา สาํ หรบั การบรหิ ารจัดการหลักสูตรของสถานศกึ ษา โรงเรียนพฒั นาการศกึ ษา กําหนดแนวทางการบริหารจดั การไว้ ๓ ข้นั ตอน ๙ ภารกิจ ดงั น้ี ๑. แนวทางการบริหารจัดการดา้ นวิชาการ ข้ันตอนที่ ๑ การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ภารกิจที่ ๑ การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศกึ ษา ๑.๑ สร้างความตระหนักให้แก่บุคลากร ซ่ึงประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ผู้สอน ผู้ปกครอง ชุมชน นักเรียน ท้ังนี้เพ่ือให้เห็นความสําคัญ ความจําเป็นท่ีจะต้องร่วมมือกันบริหารจัดการ หลกั สูตรสถานศึกษาของสถานศกึ ษา ๑.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการของสถานศึกษาตา มระเบียบของ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าดว้ ยคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงานวิชาการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พ. ศ. ๒๕๕๒ ๑.๓ ประชาสัมพันธ์ใหน้ กั เรยี น ผูป้ กครอง ชุมชน หนว่ ยงาน องคก์ รในชุมชนทกุ ฝุาย ไดร้ ับทราบ และความร่วมมือในการบรหิ ารจัดการหลักสตู รของสถานศึกษา ๑.๔ จดั ทาํ ข้อมลู สารสนเทศของสถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ ๑.๕ จัดทาํ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๑.๖ พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนําความรู้ไปใช้ในการ จัดทําสาระของหลักสูตรสถานศึกษา ข้ันตอนท่ี ๒ การดาเนินการจดั ทาสาระของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ภารกิจที่ ๒ จัดทําสาระของหลักสตู รสถานศกึ ษา ๒.๑ ศึกษาวิเคราะห์ข้อมลู ท่ีเกีย่ วขอ้ ง ๒.๒ กําหนดปรชั ญา และเปาู หมายของการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๒.๓ กําหนดโครงสร้างของหลกั สตู รแต่ละรายชน้ั และจัดสดั ส่วนเวลาเรียน ๒.๔ กาํ หนดตัวชี้วัด และสาระการเรยี นรู้ของกลมุ่ วิชา ๒.๕ กาํ หนดสาระและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๒.๖ กําหนดสอ่ื การเรียนรู้ ๒.๗ กําหนดการวัดและประเมนิ ผล ภารกจิ ที่ ๓ การวางแผนบริหารจดั การหลักสูตรสถานศกึ ษา ๓.๑ การบรหิ ารการจดั การกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๒ การบรหิ ารการจัดการกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ๓.๓ การสง่ เสริมและสนบั สนุนการจัดการกจิ กรรมการเรยี นรู้ และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

๑๔๑ ภารกจิ ที่ ๔ ปฏบิ ตั กิ ารบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ดาํ เนินการบริหารจัดการหลกั สูตรตามภารกจิ ที่ ๒ และภารกิจที่ ๓ ทก่ี าํ หนดไว้ ขน้ั ตอนท่ี ๓ การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงาน ภารกจิ ที่ ๕ การนิเทศ กาํ กบั ติดตาม ประเมนิ ผล ๕.๑ การนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารหลกั สตู ร และงานวิชาการภายในสถานศึกษา ๕.๒ การนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการจากภายนอก สถานศึกษา ภารกจิ ที่ ๖ สรุปผลการดําเนนิ การบริหารจัดการหลกั สูตรของสถานศกึ ษา ๖.๑ สถานศกึ ษาสรุปผลการดําเนินการ และเขียนรายงาน ๖.๒ สรปุ ผลการดําเนินงานรปู แบบบรหิ ารจดั การหลักสูตรสถานศึกษา ภารกจิ ท่ี ๗ ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร ๗.๑ สถานศึกษานําผลการดําเนินการ ปัญหา และข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การวางแผนปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการบรหิ ารจดั การหลกั สูตรของสถานศึกษา ๗.๒ สถานศึกษาดําเนินการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อให้เกิด ประโยชนม์ ากข้ึน ข้นั ตอนที่ ๔ การบริหารทั่วไปตรียมความพร้อมของสถานศกึ ษา ภารกิจที่ ๘ การสนบั สนุนกระบวนการบริหารจดั การหลักสตู ร เป็นภารกิจการสนับสนุนการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรยี น ให้มีประสิทธภิ าพสงู สุด โดยมี กิจกรรมท่สี ําคัญ ดังนี้ ๘.๑ การพฒั นาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ดําเนนิ การพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ ทักษะความสามารถและเจตคตทิ ่ถี กู ตอ้ งต่อการ จัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาํ คัญตามนโยบายปฏริ ปู การเรยี นรู้ สามารถจดั การเรยี นการสอนได้ตาม จดุ เนน้ ทีห่ ลกั สูตรสถานศึกษากําหนด มีคุณธรรมจริยธรรมทเ่ี หมาะสมกบั อาชพี และเป็นทีย่ อมรับของนักเรยี น ผูป้ กครอง ๘.๒ การใชห้ ้องเรยี น อาคารเรยี น และสถานที่ เพอ่ื ให้ประโยชนใ์ นการจดั การศึกษาของ โรงเรียน ๑) สนับสนนุ การจดั หอ้ งเรยี นใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ดห้ ลากหลายลกั ษณะ สวยงาม นา่ อยู่ มีการสอื่ การเรยี นและสอ่ื สนับสนุนการเรยี นรทู้ เี่ พียงพอ ๒) สนับสนนุ ให้ครใู ชแ้ ละอํานวยความสะดวกในการใชห้ ้องปฏบิ ัติการ สถานที่ปฏบิ ัติงาน จุดศกึ ษาและแหลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรียน เพ่ือเนน้ ให้ได้เรียนรดู้ ว้ ยการปฏบิ ตั ิจริง ๓) การสร้างความสะอาด สวยงาม รม่ รน่ื และความปลอดภัยในโรงเรยี น โดยการจดั ใหโ้ รงเรียนมคี วามสวยงาม รม่ ร่ืนดว้ ยไม้ยนื ตน้ ไมด้ อก ไม้ประดบั ใหน้ ักเรียนเป็นผรู้ บั ผิดชอบในการรักษาความ สะอาดในบริเวณโรงเรียน ให้โรงเรยี นเปน็ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจและเล่นกฬี าของนักเรียน มีความปลอดภยั ใน การใช้ชีวติ ในโรงเรยี นและความปลอดภัยในทรพั ย์สนิ ของทางราชการและเป็นเขตปลอดส่ิงเสพตดิ ทุกประเภท ๘.๓ การบริหารจัดการงบประมาณในการจดั การเรยี นการสอน โรงเรยี นเนน้ ใหก้ ารจดั สรรงบประมาณค่าวัสดกุ ารศึกษา (รายหัว) และงบประมาณอนื่ ๆ ที่ เกย่ี วขอ้ งกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้เป็นประโยชน์ต่อนกั เรียนและการจดั การเรยี นการสอนตาม หลักสูตรสถานศึกษา

๑๔๒ ๘.๔ การขอรบั การสนบั สนุนชว่ ยเหลอื การจดั การศึกษาของโรงเรยี น มกี ิจกรรมการดําเนนิ งาน ดังน้ี ๑) การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานของโรงเรียน เพอ่ื ใหก้ ารปฏิบัติงานตาม ภารกจิ หนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน เกดิ ประโยชนแ์ ละมปี ระสทิ ธภิ าพ สูงสดุ ตอ่ การจัดการศกึ ษาของโรงเรียน ๒) การประชุมผู้ปกครองนกั เรยี น เพอ่ื การช้แี จงการดาํ เนินงานของโรงเรยี น การ ประสานงานการจัดการศึกษาและพัฒนางาน ๓) การรว่ มกจิ กรรมกบั ชุมชน ทอ้ งถิน่ องค์กรปกครองทอ้ งถิน่ และหนว่ ยงานในทอ้ งถนิ่ ๘.๕ การประกันคุณภาพการจัดการศกึ ษาภายในของสถานศึกษา เปน็ การดําเนนิ งานของสถานศกึ ษาที่รว่ มมอื กับชุมชนและหน่วยงานตน้ สงั กดั ท่เี กยี่ วขอ้ ง ใหเ้ ปน็ ที่เช่ือมั่นได้ว่าผูเ้ รยี นทุกคนจะไดร้ บั บริการดา้ นการศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพจากสถานศกึ ษา สามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ตามท่ีกําหนดในมาตรฐานหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน โดยมกี าร ดําเนินงาน ดงั น้ี ๑) การประเมินตนเองประจําปขี องครูผู้สอน ๒) การประเมนิ ตนเองประจําปีของสถานศึกษา ๓) การรายงานคณุ ภาพการศึกษาประจาํ ปี เสนอตอ่ หนว่ ยงานต้นสงั กดั หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ผูป้ กครองนกั เรยี นและชุมชน เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. ระดับประถมศึกษา ๑.๑ การตัดสินผลการเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาํ หนดหลักเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล การเรียนรู้ เพือ่ ตดั สินผลการเรยี นของผ้เู รยี น ดงั นี้ ๑) ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมด ๒) ผู้เรยี นต้องได้รับการประเมนิ ทกุ ตัวชี้วดั และผ่านตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากาํ หนด ๓) ผูเ้ รียนต้องไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า ๔) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การประเมินและมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากําหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน การตดั สินผลการเรยี น ตัดสนิ เปน็ รายวิชา โดยใช้ผลการประเมินระหวา่ งปีและปลายปตี ามสัดสว่ นท่ี สถานศกึ ษากําหนด ทกุ รายวิชาตอ้ งไดร้ บั การตัดสินใหผ้ ลการเรียนตามแนวทางการใหร้ ะดับผลการเรยี นตามท่ี สถานศกึ ษากําหนด และผูเ้ รยี นต้องผ่านทุกรายวิชาพืน้ ฐาน

๑๔๓ ๑.๒ การให้ระดับผลการเรยี น การประเมินผลการเรียนสาระการเรยี นร้รู ายวิชา ตามผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวังของรายวิชา ซ่ึงสถานศึกษา วเิ คราะห์จากตัวชี้วดั ชั้นปี การประเมินสาระการเรยี นรู้รายวชิ า ใหต้ ดั สนิ ผลการประเมินระดบั ผลการเรยี น ๘ ระดับ คอื “๔” หมายถึง ผลการเรยี นดีเยยี่ ม “๓.๕” หมายถงึ ผลการเรยี นดีมาก “๓” หมายถงึ ผลการเรยี นดี “๒.๕” หมายถึง ผลการเรยี นคอ่ นข้างดี “๒” หมายถึง ผลการเรยี นนา่ พอใช้ “๑.๕” หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ “๑” หมายถงึ ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ขั้นตํ่า “๐” หมายถึง ผลการเรียนตํ่ากวา่ เกณฑ์ การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์น้นั ให้ผลการประเมนิ เปน็ ผ่านและไม่ผ่าน กรณีท่ผี า่ นใหร้ ะดบั ผลการประเมินเป็นดีเยยี่ ม ดี และผา่ น ๑. ในการสรปุ ผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น เพอ่ื การเลอื่ นชนั้ และจบการศกึ ษา กําหนดเกณฑ์การตดั สนิ เป็น ๔ ระดบั และความหมายของแตล่ ะระดับ ดังน้ี ดเี ยี่ยม หมายถงึ มผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนทมี่ คี ุณภาพดเี ลิศอย่เู สมอ ดี หมายถึง มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนทมี่ ี คุณภาพเปน็ ที่ยอมรบั ผา่ น หมายถงึ มีผลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ที่มีคุณภาพเปน็ ทีย่ อมรับ แต่ยังมขี ้อบกพรอ่ งบางประการ ไม่ผ่าน หมายถงึ ไม่มีผลงานทีแ่ สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนหรือถ้ามีผลงาน ผลงานน้ันยังมขี ้อบกพรอ่ งท่ีตอ้ งได้รับการ ปรบั ปรงุ แก้ไขหลายประการ ๒. ในการสรุปผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์รวมทุกคุณลักษณะเพ่ือการเล่อื นชั้นและ จบการศึกษา กาํ หนดเกณฑก์ ารตัดสินเปน็ ๔ ระดบั และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดเี ย่ียม หมายถึง ผเู้ รยี นปฏิบตั ิตนตามคณุ ลักษณะจนเป็นนสิ ัย และนําไปใชใ้ น ชวี ติ ประจาํ วันเพื่อประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสงั คม โดยพิจารณาจาก ผลการประเมินระดับดีเย่ียม จํานวน ๕-๘ คณุ ลกั ษณะ และไม่มี คุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ตํา่ กวา่ ระดบั ดี ดี หมายถงึ ผเู้ รยี นมคี ุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เปน็ การ ยอมรบั ของสงั คม โดยพิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดับดเี ยี่ยม จํานวน ๑-๔ คณุ ลักษณะ และ ไมม่ ี คุณลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมินตํา่ กว่าระดบั ดี หรอื ๒. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดีเย่ียม จาํ นวน ๔ คณุ ลักษณะ และไม่มี คุณลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตํา่ กวา่ ระดบั ผา่ น หรือ ๓. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี จาํ นวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มี คุณลักษณะใดได้ผลการประเมินตาํ่ กวา่ ระดับผา่ น ผ่าน หมายถึง ผู้เรยี นรบั รู้และปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขทสี่ ถานศึกษา กาํ หนดโดยพิจารณาจาก

๑๔๔ ๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ผ่าน จํานวน ๕-๘ คุณลกั ษณะ และไมม่ ี คณุ ลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ตา่ํ กว่าระดับผ่าน หรอื ๒. ได้ผลการประเมินระดบั ดี จาํ นวน ๔ คุณลักษณะ และไมม่ ี คุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ตา่ํ กวา่ ระดับผา่ น ไมผ่ ่าน หมายถึง ผู้เรยี นรบั รู้และปฏบิ ัตไิ ด้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงือ่ นไขที่ สถานศึกษากําหนดโดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผา่ น ตัง้ แต่ ๑ คณุ ลักษณะ การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จะต้องพจิ ารณาท้ังเวลาการเข้ารว่ มกิจกรรม การปฏิบตั กิ จิ กรรม และผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากาหนด และใหผ้ ลการประเมินเปน็ ผ่านและไมผ่ า่ น กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น มี ๓ ลักษณะ คอื ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมนักเรียน ซ่งึ ประกอบดว้ ย (๑) กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี และผู้บาํ เพ็ญประโยชน์ โดยผเู้ รียนเลือกอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ๑ กจิ กรรม (๒) กจิ กรรมชุมนมุ หรือชมรมอีก ๑ กิจกรรม ๓) กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ใหใ้ ช้ตัวอักษรแสดงผลการประเมนิ ดังนี้ “ผ” หมายถงึ ผเู้ รยี นมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ปฏบิ ตั ิกิจกรรม และมผี ลงานตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด “มผ” หมายถึง ผูเ้ รียนมเี วลาเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ปฏบิ ัติกจิ กรรม และมผี ลงานไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด ในกรณที ผี่ ูเ้ รียนได้ผลของกิจกรรมเปน็ “มผ” สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ซอ่ มเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นทาํ กจิ กรรมในส่วน ที่ผเู้ รยี นไมไ่ ด้เขา้ ร่วมหรือไม่ไดท้ าํ จนครบถว้ น แล้วจึงเปลยี่ นผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทง้ั น้ี ต้องดาํ เนนิ การให้ เสร็จสน้ิ ภายในปีการศกึ ษานน้ั ยกเวน้ มีเหตุสุดวิสัยให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษา ๑.๓ การเล่อื นชน้ั เมือ่ สน้ิ ปกี ารศกึ ษา ผูเ้ รียนจะไดร้ บั การเล่ือนชน้ั เม่ือมคี ณุ สมบตั ิตามเกณฑด์ งั ต่อไปนี้ ๑) ผ้เู รียนมเี วลาเรยี นตลอดปกี ารศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมด ๒) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ ผ่านทกุ รายวชิ าพน้ื ฐาน ๓) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรม พัฒนาผ้เู รียนผา่ นตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากําหนด ทงั้ น้ี ถ้าผู้เรยี นมีขอ้ บกพร่องเพียงเล็กนอ้ ย และสถานศกึ ษาพิจารณาเหน็ วา่ สามารถพฒั นาและสอน ซ่อมเสรมิ ได้ ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษาที่จะผอ่ นผนั ให้เล่ือนช้นั ได้ อน่ึง ในกรณที ่ผี ู้เรยี นมีหลกั ฐานการเรียนรู้ท่แี สดงวา่ มคี วามสามารถดีเลิศ สถานศึกษาอาจใหโ้ อกาส ผู้เรยี นเลอ่ื นชั้นกลางปกี ารศึกษา โดยสถานศกึ ษาแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย ฝาุ ยวชิ าการของสถานศึกษา และผแู้ ทนของเขตพน้ื ที่การศกึ ษาหรอื ต้นสงั กัด ประเมินผูเ้ รียนและตรวจสอบคณุ สมบตั ิให้ครบถ้วนตามเงอ่ื นไขทง้ั ๓ ประการ ตอ่ ไปนี้ ๑. มีผลการเรียนในปีการศึกษาทผี่ ่านมาและมผี ลการเรยี นระหวา่ งปีทก่ี ําลงั ศกึ ษาอยใู่ นเกณฑ์ดีเยี่ยม ๒. มีวฒุ ภิ าวะเหมาะสมท่ีจะเรยี นในชัน้ ทส่ี งู ขึน้ ๓. ผา่ นการประเมนิ ผลความรู้ความสามารถทุกรายวชิ าของชัน้ ปีทีเ่ รียนปจั จุบนั และความรู้ ความสามารถทกุ รายวชิ าในภาคเรียนแรกของชน้ั ปที ีจ่ ะเล่อื นข้ึน การอนมุ ตั ิใหเ้ ลือ่ นช้ันกลางปีการศกึ ษาไปเรียนช้นั สงู ขนึ้ ได้ ๑ ระดบั ช้ันนี้ ตอ้ งไดร้ บั การยนิ ยอมจาก ผ้เู รยี นและผูป้ กครอง และต้องดําเนนิ การให้เสร็จส้ินกอ่ นเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ของปีการศกึ ษาน้นั

๑๔๕ สาํ หรับในกรณที ีพ่ บว่ามีผเู้ รียนกลมุ่ พเิ ศษประเภทตา่ ง ๆ มปี ญั หาในการเรียนรู้ ให้สถานศกึ ษา ดําเนนิ งานร่วมกบั สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา/ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาํ จงั หวัด/ศูนย์การศึกษาพเิ ศษเขต การศึกษา/หน่วยงานต้นสังกดั โรงเรยี นเฉพาะความพิการ หาแนวทางการแกไ้ ขและพฒั นา ๑.๔ การเรยี นซา้ ชัน้ ผเู้ รยี นที่ไม่ผ่านรายวชิ าจํานวนมากและมีแนวโนม้ ว่าจะเปน็ ปญั หาต่อการเรียนในระดับชน้ั ทีส่ งู ขึน้ สถานศึกษาอาจต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรียนซํา้ ชัน้ ได้ ทง้ั น้ี ใหค้ ํานงึ ถึงวุฒิภาวะและความรคู้ วามสามารถของ ผู้เรยี น เป็นสาํ คญั ผู้เรยี นทไี่ มม่ ีคณุ สมบัตติ ามเกณฑ์การเลอ่ื นชน้ั สถานศกึ ษาควรใหเ้ รยี นซาํ้ ชัน้ ทัง้ นี้ สถานศกึ ษา อาจใช้ดลุ ยพินิจให้เลอื่ นช้นั ได้ หากพิจารณาวา่ ผู้เรยี นมคี ณุ สมบัติขอ้ ใดข้อหนง่ึ ดังต่อไปน้ี ๑) มเี วลาเรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ อนั เน่อื งจากสาเหตุจาํ เป็นหรอื เหตุสดุ วิสัย แต่มคี ณุ สมบัตติ ามเกณฑ์ การเล่ือนช้นั ในข้ออื่น ๆ ครบถ้วน ๒) ผู้เรยี นมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ัดไมถ่ ึงเกณฑต์ ามท่สี ถานศกึ ษากําหนดใน แต่ละรายวชิ า แตเ่ หน็ วา่ สามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศกึ ษานน้ั และมีคุณสมบตั ิตามเกณฑก์ ารเลื่อนชัน้ ในข้อ อื่น ๆ ครบถว้ น ๓) ผเู้ รียนมผี ลการประเมินรายวชิ าในกล่มุ สาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมอยู่ในระดับผ่านกอ่ นท่จี ะให้ผเู้ รียนเรียนซ้ําชน้ั สถานศึกษาควรแจง้ ใหผ้ ูป้ กครองและผูเ้ รียน ทราบเหตุผลของการเรยี นซาํ้ ชั้น ๑.๕ การสอนซ่อมเสริม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดให้สถานศกึ ษาจัดสอนซ่อมเสริม เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี นเตม็ ตามศกั ยภาพ การสอนซ่อมเสริม เปน็ การสอนเพอื่ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง กรณที ผี่ ูเ้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะ กระบวนการ หรือ เจตคติ/คุณลกั ษณะไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาํ หนด สถานศกึ ษาต้องจดั สอนซ่อมเสริมเป็นกรณีพเิ ศษอก เหนือไปจากการสอนตามปกติ เพ่ือพัฒนาใหผ้ เู้ รียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัดท่กี าํ หนดไว้ เป็น การให้โอกาสแก่ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายและตอบสนองความแตกตา่ ง ระหว่างบุคคล ๑.๖ เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา ๑. ผเู้ รยี นเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน จํานวน............ช่ัวโมง และรายวชิ าเพิม่ เติม / กิจกรรมเพิ่มเติม จํานวน .........ชั่วโมงและมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านทกุ รายวิชา ๒. ผู้เรยี นต้องมผี ลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ระดับ “ผา่ น” ขึ้นไป ๓. ผเู้ รยี นต้องมลี การประเมิน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดับ “ผา่ น” ขึ้นไป ๔. ผู้เรียนตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น และได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม ๒. ระดับมัธยมศึกษา ๒.๑ การตัดสินผลการเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดหลักเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล การเรียนรู้ เพอ่ื ตัดสินผลการเรียนของผเู้ รียน ดงั นี้ ๑) ตัดสินผลการเรยี นเป็นรายวิชา ผูเ้ รยี นตอ้ งมเี วลาเรียนตลอดภาคเรยี นไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทง้ั หมดในรายวชิ าน้นั ๆ ๒) ผู้เรียนต้องไดร้ บั การประเมินทุกตัวชวี้ ัดและผา่ นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากําหนด ๓) ผเู้ รียนต้องได้รบั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า ๔) ผูเ้ รียนต้องได้รบั การประเมนิ และมีผลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากําหนดในการอา่ นคดิ วเิ คราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น

๑๔๖ การตดั สนิ ผลการเรียน ตัดสินเป็นรายวชิ า โดยใช้ผลการประเมินระหวา่ งภาคและปลายภาคตามสัดสว่ น ท่ีสถานศกึ ษากาํ หนด ทุกรายวชิ าตอ้ งไดร้ ับการตัดสนิ และให้ระดับผลการเรยี น ท้งั นี้ ผ้เู รยี นตอ้ งผา่ นทกุ รายวชิ า พืน้ ฐาน ๒.๒ การใหร้ ะดบั ผลการเรยี น การตดั สินผลการเรียนในระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานใชร้ ะบบผ่านและไมผ่ า่ น โดยกําหนดเกณฑก์ าร ตัดสินผา่ นแต่ละวิชาทีร่ อ้ ยละ ๕๐ จากนัน้ จึงใหร้ ะดบั ผลการเรียนที่ผา่ น สําหรบั ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และ ตอนลาย ใชต้ วั เลขแสดงระดบั ผลการเรยี นเปน็ ๘ ระดบั แนวการให้ระดับผลการเรียน ๘ ระดบั และความหมาย ของแตล่ ะระดับ ดงั นี้ “๔” หมายถงึ ผลการเรียนดีเย่ยี ม “๓.๕” หมายถงึ ผลการเรยี นดีมาก “๓” หมายถึง ผลการเรียนดี “๒.๕” หมายถงึ ผลการเรียนคอ่ นข้างดี “๒” หมายถึง ผลการเรยี นน่าพอใช้ “๑.๕” หมายถงึ ผลการเรียนพอใช้ “๑” หมายถงึ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขัน้ ตํ่า “๐” หมายถึง ผลการเรยี นตาํ่ กว่าเกณฑ์ ในกรณีทีไ่ มส่ ามารถใหร้ ะดบั ผลการเรยี นเปน็ ๘ ระดับไดใ้ หใ้ ชต้ วั อกั ษรระบุเง่อื นไขของผลการเรยี น ดงั น้ี “มส” หมายถงึ ผู้เรยี นไม่มีสทิ ธเิ ข้ารับการวดั ผลปลายภาคเรยี น เนอ่ื งจาก ผ้เู รียนมีเวลาเรยี นไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแต่ละ รายวชิ า และไมไ่ ด้รบั การผอ่ นผันใหเ้ ข้ารับการวัดผล ปลายภาคเรยี น “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยงั ตดั สินผลการเรยี นไมไ่ ด้ เนือ่ งจาก ผเู้ รียนไม่มีข้อมลู ผลการเรียนรายวชิ านนั้ ครบถว้ น ไดแ้ ก่ ไมไ่ ด้วัดผลระหว่างภาคเรยี น/ปลายภาคเรียน ไม่ได้สง่ งาน ทม่ี อบหมายใหท้ ํา ซ่ึงงานนน้ั เป็นสว่ นหนง่ึ ของการตัดสนิ ผลการเรยี นหรอื มเี หตุสดุ วสิ ยั ที่ทาํ ให้ประเมนิ ผลการเรยี น ไม่ได้ การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์นน้ั ใหร้ ะดบั ผลการประเมิน เป็นผ่านและไม่ผ่าน กรณที ผ่ี ่านใหร้ ะดบั ผลการประเมินเปน็ ดเี ยยี่ ม ดี และผ่าน ๑. ในการสรปุ ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพ่ือการเล่อื นชนั้ และจบการศึกษา กาํ หนดเกณฑ์ การตดั สินเป็น ๔ ระดับ และความหมายของแต่ละระดบั ดังน้ี ดเี ยี่ยม หมายถึง มีผลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี นทมี่ ีคุณภาพดีเลศิ อยู่เสมอ ดี หมายถงึ มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ท่ีมีคณุ ภาพเป็นท่ยี อมรับ

๑๔๗ ผ่าน หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนทม่ี ีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แตย่ ังมีข้อบกพรอ่ งบาง ประการ ไมผ่ า่ น หมายถงึ ไมม่ ผี ลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น หรือถา้ มผี ลงาน ผลงานนนั้ ยงั มี ขอ้ บกพรอ่ งที่ตอ้ งได้รับการปรับปรุงแกไ้ ขหลายประการ ๒. ในการสรุปผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์รวมทุกคณุ ลักษณะเพอื่ การเลื่อนชน้ั และจบ การศกึ ษา กําหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น ๔ ระดับ และความหมายของแต่ละระดบั ดงั น้ี ดีเยีย่ ม หมายถึง ผู้เรียนปฏบิ ัตติ นตามคณุ ลกั ษณะจนเปน็ นสิ ัยและนําไปใช้ ในชวี ติ ประจําวนั เพ่ือประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดบั ดีเยีย่ ม จํานวน ๕-๘ คณุ ลกั ษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินตํา่ กว่า ระดบั ดี ดี หมายถึง ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะในการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ เพือ่ ให้ เปน็ การยอมรบั ของ สังคม โดยพจิ ารณาจาก ๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดเี ย่ยี ม จํานวน ๑-๔ คุณลักษณะ และไมม่ ี คุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมิน ต่ํากว่าระดับดี หรือ ๒. ไดผ้ ลการประเมินระดับดเี ย่ยี ม จํานวน ๔ คุณลักษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ํากว่าระดบั ผา่ น หรือ ๓. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี จาํ นวน ๕-๘ คณุ ลกั ษณะ และไม่มคี ณุ ลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ต่าํ กวา่ ระดับผ่าน ผา่ น หมายถึง ผู้เรียนรับรแู้ ละปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑแ์ ละเง่ือนไขที่ สถานศึกษากาํ หนดโดยพิจารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน จํานวน ๕-๘ คณุ ลักษณะ และไม่มี คุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมินต่าํ กวา่ ระดบั ผา่ น หรือ ไม่ผ่าน หมายถึง ๓. ได้ผลการประเมนิ ระดับดี จํานวน ๔ คุณลักษณะ และ ไมม่ คี ณุ ลักษณะใดได้ผลการประเมินตํา่ กวา่ ระดบั ผ่าน ผเู้ รยี นรบั รู้และปฏบิ ตั ิไดไ้ ม่ครบตามกฎเกณฑ์และ เงือ่ นไขท่สี ถานศึกษากําหนด โดยพิจารณาจากผลการ ประเมินระดับไมผ่ า่ น ตง้ั แต่ ๑ คณุ ลักษณะ

๑๔๘ การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน จะต้องพจิ ารณาทงั้ เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงานของผูเ้ รยี นตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากําหนด และให้ผลการประเมนิ เป็นผ่านและไม่ผา่ น กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน มี ๓ ลักษณะ คือ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนกั เรยี น ซ่ึงประกอบด้วย (๑) กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ผูบ้ ําเพ็ญประโยชน์ และนกั ศึกษาวิชาทหาร โดยผู้เรยี นเลือกอย่างใดอยา่ งหนึ่ง (๒) กจิ กรรมชมุ นมุ หรือชมรม ท้งั นี้ ผูเ้ รยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นจะตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมท้ังข้อ (๑) และ (๒) ๓) กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ใหใ้ ชต้ วั อักษรแสดงผลการประเมิน ดงั นี้ “ผ” หมายถงึ ผูเ้ รยี นมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบตั ิกจิ กรรม และมผี ลงานตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากําหนด “มผ” หมายถึง ผ้เู รียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ปฏบิ ัติกจิ กรรม และมีผลงานไม่เปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาํ หนด ๒.๓ การเปลย่ี นผลการเรียน ๒.๓.๑ การเปล่ียนผลการเรยี น “๐” สถานศึกษาจัดให้มกี ารสอนซ่อมเสรมิ ในมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ัดทผ่ี ู้เรยี นสอบไม่ผา่ นกอ่ นแลว้ จึง สอบแกต้ ัวได้ไม่เกนิ ๒ ครั้ง ถา้ ผู้เรยี นไม่ดาํ เนินการสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาท่ีสถานศกึ ษากําหนด ใหอ้ ยู่ในดลุ ย พินจิ ของสถานศึกษาท่จี ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอกี ๑ ภาคเรียน สําหรบั ภาคเรยี นท่ี ๒ ตอ้ งดาํ เนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในปีการศกึ ษานน้ั ถา้ สอบแกต้ วั ๒ ครง้ั แลว้ ยงั ไดร้ ะดบั ผลการเรยี น “๐” อีก ให้สถานศกึ ษาแตง่ ตั้ง คณะกรรมการดาํ เนินการเกีย่ วกับการเปล่ียนผลการเรียนของผู้เรียน โดยปฏิบัตดิ งั นี้ ๑) ถ้าเปน็ รายวิชาพน้ื ฐาน ใหเ้ รยี นซา้ํ รายวชิ านน้ั ๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพม่ิ เตมิ ให้เรยี นซาํ้ หรือเปลย่ี นรายวชิ าเรียนใหม่ ทงั้ นี้ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของ สถานศึกษาในกรณีทเี่ ปลี่ยนรายวชิ าเรยี นใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรยี นวา่ เรียนแทนรายวิชาใด ๒.๓.๒ การเปลีย่ นผลการเรยี น “ร” การเปลยี่ นผลการเรียน “ร” ให้ดําเนินการดังน้ี ให้ผ้เู รียนดาํ เนนิ การแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เมอ่ื ผู้เรยี นแก้ไขปัญหาเสรจ็ แล้วใหไ้ ด้ระดบั ผลการเรียน ตามปกติ(ตั้งแต่ ๐-๔)ถ้าผ้เู รยี นไม่ดาํ เนินการแกไ้ ข “ร” กรณีที่ส่งงานไมค่ รบ แตม่ ีผลการประเมนิ ระหว่างภาคเรยี น และปลายภาคให้ผู้สอนนําขอ้ มูลท่ีมอี ยตู่ ัดสนิ ผลการเรยี น ยกเว้นมเี หตสุ ดุ วิสยั ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาท่ี จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น สําหรับภาคเรียนที่ ๒ ต้องดาํ เนินการใหเ้ สร็จสิน้ ภายในปี การศึกษานนั้ เม่ือพ้นกําหนดนีแ้ ลว้ ให้เรยี นซ้ํา หากผลการเรยี นเป็น “๐” ให้ดาํ เนินการแกไ้ ขตามหลักเกณฑ์ ๒.๓.๓ การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” การเปล่ียนผลการเรยี น “มส” มี ๒ กรณี ดงั นี้ ๑) กรณผี ู้เรยี นได้ผลการเรียน “มส” เพราะมเี วลาเรยี นไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ แตม่ เี วลาเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อย ละ ๖๐ ของเวลาเรยี นในรายวิชานัน้ ใหส้ ถานศึกษาจัดให้เรียนเพ่มิ เติมโดยใช้ช่วั โมงสอนซอ่ มเสรมิ หรอื ใชเ้ วลาว่าง หรอื ใช้วนั หยดุ หรือมอบหมายงานใหท้ าํ จนมีเวลาเรียนครบตามที่กาํ หนดไว้ สําหรบั รายวิชานั้น แลว้ จึงให้วัดผลปลายภาคเปน็ กรณพี ิเศษผลการแก้ “มส” ใหไ้ ดร้ ะดบั ผลการ เรียนไมเ่ กิน “๑” การแก้ “มส” กรณนี ี้ใหก้ ระทาํ ให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปกี ารศึกษานนั้ ถา้ ผ้เู รยี นไมม่ า ดาํ เนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กําหนดไวน้ ี้ให้เรยี นซํ้า ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวิสัย ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอกี ไมเ่ กิน ๑ ภาคเรียน แตเ่ มื่อพ้นกาํ หนดน้ี แล้ว ให้ปฏบิ ตั ิดังนี้

๑๔๙ (๑) ถา้ เปน็ รายวิชาพ้นื ฐานใหเ้ รยี นซาํ้ รายวิชานนั้ (๒) ถ้าเปน็ รายวิชาเพิม่ เติมให้อย่ใู นดุลยพินิจของสถานศกึ ษา ให้เรยี นซา้ํ หรอื เปล่ยี น รายวชิ าเรียนใหม่ ๒) กรณผี เู้ รียนได้ผลการเรยี น “มส” เพราะมเี วลาเรยี นนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของเวลาเรยี น ท้ังหมด ให้สถานศกึ ษาดําเนินการดังนี้ (๑) ถ้าเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน ให้เรียนซ้าํ รายวชิ าน้นั (๒) ถ้าเป็นรายวชิ าเพ่ิมเติม ให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของสถานศกึ ษา ให้เรยี นซํ้าหรอื เปลีย่ นรายวิชา เรยี นใหม่ ในกรณีทเ่ี ปล่ียนรายวชิ าเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนวา่ เรียนแทนรายวชิ าใด การเรยี นซา้ รายวิชา ผ้เู รียนท่ไี ด้รับการสอนซ่อมเสรมิ และสอบแก้ตัว ๒ ครง้ั แลว้ ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ให้ เรียนซํ้ารายวชิ านั้น ท้งั นี้ ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาในการจัดให้เรียนซาํ้ ในช่วงใดชว่ งหนึง่ ทีส่ ถานศึกษาเหน็ ว่าเหมาะสม เช่น พกั กลางวนั วนั หยดุ ช่ัวโมงว่างหลังเลิกเรยี น ภาคฤดรู อ้ น เป็นตน้ ในกรณีภาคเรยี นที่ ๒ หากผูเ้ รียนยังมีผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ให้ดําเนินการใหเ้ สร็จสิ้นก่อนเปิด เรียนปีการศึกษาถดั ไป สถานศกึ ษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพ่อื แกไ้ ขผลการเรยี นของผเู้ รยี นได้ ทั้งนีห้ ากสถานศกึ ษาใดไมส่ ามารถดําเนนิ การเปดิ สอนภาคฤดรู ้อนได้ ให้สํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา/ตน้ สงั กดั เป็น ผู้พิจารณาประสานงานใหม้ กี ารดาํ เนินการเรยี นการสอนในภาคฤดูร้อนเพอ่ื แก้ไขผลการเรยี นของผู้เรยี น ๒.๓.๔ การเปล่ยี นผล “มผ” กรณที ีผ่ เู้ รยี นได้ผล “มผ” สถานศึกษาตอ้ งจัดซ่อมเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นทาํ กจิ กรรมในสว่ นทผ่ี ู้เรยี นไม่ได้เข้าร่วม หรอื ไม่ไดท้ ําจนครบถ้วน แล้วจงึ เปลย่ี นผลจาก “มผ” เปน็ “ผ” ได้ ทงั้ น้ี ดาํ เนินการให้เสร็จสิน้ ภายในภาคเรียนน้นั ๆยกเว้นมเี หตสุ ุดวิสยั ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศกึ ษาท่ีจะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรียน สําหรบั ภาคเรียนที่ ๒ตอ้ งดาํ เนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในปกี ารศกึ ษานั้น ๒.๔ การเลอ่ื นช้ัน เมือ่ ส้ินปกี ารศกึ ษา ผเู้ รยี นจะไดร้ บั การเล่อื นชนั้ เมอ่ื มีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๒.๔.๑ รายวิชาพื้นฐานและรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ได้รับการตัดสินผลการเรยี นผา่ นตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษา กําหนด ๒.๔.๒ ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการประเมินและมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากําหนดในการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๒.๔.๓ ระดบั ผลการเรยี นเฉลี่ยในปีการศกึ ษานน้ั ควรไดไ้ ม่ตาํ่ กวา่ ๑.๐๐ ท้ังน้ี รายวชิ าใดทีไ่ มผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน สถานศึกษาสามารถซอ่ มเสรมิ ผู้เรียนใหไ้ ดร้ บั การแก้ไข ในภาคเรียนถดั ไป ท้งั นี้สาํ หรบั ภาคเรยี นท่ี ๒ ต้องดาํ เนนิ การใหเ้ สร็จสิ้นภายในปกี ารศึกษานนั้ ๒.๕ การสอนซอ่ มเสริม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาํ หนดใหส้ ถานศกึ ษาจัดสอนซอ่ มเสริม เพ่ือพฒั นาการเรียนรูข้ องผเู้ รียนเต็มตามศกั ยภาพ การสอนซ่อมเสรมิ เป็นการสอนเพื่อแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง กรณที ่ีผู้เรยี นมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือ เจตคติ/คุณลกั ษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด สถานศกึ ษาตอ้ งจดั สอนซอ่ มเสรมิ เป็นกรณพี เิ ศษอก เหนือไปจากการสอนตามปกติ เพ่ือพัฒนาใหผ้ ูเ้ รียนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั ทก่ี ําหนดไว้ เป็น การใหโ้ อกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนร้แู ละพัฒนา โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายและตอบสนองความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคลการสอนซ่อมเสรมิ สามารถดําเนนิ การได้ในกรณี ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ผเู้ รยี นมคี วามรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานน้ั ควรจัดการสอนซอ่ มเสรมิ ปรบั ความรู้/ทักษะพนื้ ฐาน

๑๕๐ ๒) ผูเ้ รียนไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรอื เจตคติ/คุณลกั ษณะทีก่ ําหนดไว้ตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ในการประเมินผลระหวา่ งเรยี น ๓) ผูเ้ รยี นทีไ่ ด้ระดับผลการเรียน “๐” ให้จดั การสอนซ่อมเสรมิ กอ่ นสอบแกต้ ัว ๔) กรณผี ู้เรยี นมผี ลการเรยี นไมผ่ า่ น สามารถจัดสอนซอ่ มเสรมิ ในภาคฤดรู ้อนเพ่ือแกไ้ ขผลการเรียนท้งั น้ี ใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของสถานศกึ ษา ๒.๖ การเรยี นซา้ ช้นั ผู้เรยี นทไ่ี ม่ผา่ นรายวิชาจํานวนมากและมีแนวโนม้ วา่ จะเปน็ ปญั หาต่อการเรยี นในระดับชั้นทสี่ ูงข้นึ สถานศึกษาอาจต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี นซ้ําชัน้ ได้ ทั้งน้ี ให้คํานงึ ถงึ วุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของ ผ้เู รียนเปน็ สําคัญการเรยี นซ้าํ ช้ัน มี ๒ ลักษณะ คือ ๑) ผู้เรียนมรี ะดับผลการเรยี นเฉล่ยี ในปีการศึกษาน้นั ตํา่ กวา่ ๑.๐๐ และมีแนวโนม้ วา่ จะเปน็ ปัญหาต่อ การเรียนในระดบั ช้ันทส่ี งู ขึน้ ๒) ผู้เรียนมีผลการเรยี น ๐, ร, มส เกินคร่ึงหน่ึงของรายวชิ าทล่ี งทะเบียนเรยี นในปีการศึกษานน้ั ทัง้ น้ี หากเกดิ ลกั ษณะใดลกั ษณะหน่งึ หรอื ท้งั ๒ ลกั ษณะ ให้สถานศึกษาแตง่ ตง้ั คณะกรรมการพิจารณา หากเหน็ ว่าไมม่ เี หตุผลอันสมควรก็ใหซ้ ้าํ ช้ัน โดยยกเลิกผลการเรยี นเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หาก พจิ ารณาแลว้ ไม่ตอ้ งเรียนซ้ําชนั้ ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาในการแก้ไขผลการเรยี น ๒.๗ เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ๑. ผเู้ รยี นเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชาเพม่ิ เตมิ จาํ นวน..........หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพน้ื ฐาน จํานวน ๖๖ หนว่ ยกิต และรายวิชาเพ่มิ เตมิ จาํ นวน..........หนว่ ยกิต ๒. ผู้เรียนตอ้ งได้หนว่ ยกิต ตลอดหลกั สตู ร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกติ โดยเป็นรายวชิ าพื้นฐาน จํานวน ๖๖ หนว่ ยกิต และรายวิชาเพ่มิ เตมิ ไม่น้อยกว่า ๑๑ หน่วยกิต ๓. ผู้เรยี นตอ้ งมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ข้ึนไป ๔. ผเู้ รียนตอ้ งมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั “ผ่าน” ขน้ึ ไป ๕. ผเู้ รยี นตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น และไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรียน “ผา่ น” ทกุ กิจกรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook