Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน ENP2402-รวมไฟล์-combined

เอกสารประกอบการสอน ENP2402-รวมไฟล์-combined

Published by khunpreeyah2015, 2022-08-13 12:48:08

Description: เอกสารประกอบการสอน ENP2402-รวมไฟล์-combined

Keywords: Mythology

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน ENP 2402 เทพนิ ยายที่เป็ นพื้นฐานวรรณคดี Mythological Background in Literature ผู้สอน อาจารย์ปรียาภา วังมณี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึ กษา 2564 โปรแกรมวิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์

คำนำ เอกสำรประกอบกำรสอน รำยวิชำ ENP 2402 เทพนิยำยที่เป็นพื้นฐำนวรรณคดี มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษำศึกษำมีควำมรู้ทั่วไปเกีย่ วกบั เทวตำนำนกรีกและโรมันทีม่ ีควำมเกีย่ วข้องและมีอิทธพิ ลตอ่ วรรณคดี อังกฤษ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรศิลปศำสตรบัณฑิต สำขำวิชำภำษำอังกฤษ ปีหลักสูตร 2563 สำขำวิชำ ภำษำอังกฤษ (ศศ.บ.4ปี) เอกสำรประกอบกำรสอนเล่มนี้ ได้รวบรวมข้อมลจำกหนังสือ ตำรำ และสื่อ จำก หลำกหลำยแหล่ง แบง่ เนอื้ หำในกำรเรียนกำรสอนไว้ 6 บทเรียน คอื 1) ควำมรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกบั เทวตำนำน 2) ตำนำน กรีกและโรมัน 3) วีรบุรุษตำนำนกรีก 4) ศัพท์สำนวนภำษำอังกฤษจำกเทวตำนำน 5) พืชในเทวตำนำน และ 6) สัตว์ในเทวตำนำน ท้ำยบทเรียนแตล่ ะบทมีแนวคำถำมเพ่ือให้นักศึกษำได้ทดสอบควำมเขำ้ ใจในเนื้อหำท่เี รียน รวมถึงกิจกรรมเพื่อให้นักศึกษำฝึกทักษะภำษำอังกฤษ จำกกำรชมและฟังวีดีโอประกอบกำรสอน มีกำรมอบหมำย งำนให้นักศึกษำทำทั้งงำนเดี่ยว และงำนกลุ่ม เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษำฝึกทักษะและนำองค์ควำมรู้มำใช้ได้อย่ำง เต็มที่ กิจกรรมจึงประกอบด้วยกิจกรรมที่เสริมให้นักศึกษำฝึกฝนทักษะ อำทิ กำรค้นคว้ำข้อมูลเพิ่มเติมด้วยต้นเอง ทักษะควำมคิดสร้ำงสรรค์ ทักษะกำรวิเครำะห์ ทักษะกำรเล่ำเรื่อง ทักษะกำรแปล ทักษะด้ำนไอที และทักษะกำร นำเสนองำน ที่ผู้สอนได้บูรณำกำรร่วมกับกำรเรียน สำหรับเนื้อหำในเอกสำรประกอบกำรสอนฉบับนี้ มีเนื้อหำ รูปแบบภำษำไทยเพื่อให้นักศึกษำเข้ำใจเรื่องรำวได้อย่ำงลึกซึ้ง และสำหรับภำษำอังกฤษสำหรบั สำหรับแบบฝกึ หัด ท้ำยบท รวมถึงกำรนำวีดีโอจำกยูทูปมำประกอบกำรสอนเพื่อให้นักศึกษำฝึกฟังภำษำอังกฤษในสำเนียงที่ หลำกหลำยอกี ทำง ผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอยำ่ งยิ่งวำ่ เอกสำรประกอบกำรสอนเล่มนี้ จกั เป็นประโยชน์สำหรับผเู้ รยี นรวมถงึ ผสู้ นใจ และขอขอบคณุ เพอ่ื นรว่ มงำนในโปรแกรมวิชำภำษำตะวนั ตกท่ไี ด้มสี ่วนชว่ ยผลกั ดนั และเปน็ กำลังใจใหเ้ อกสำร ประกอบกำรสอนเลม่ นส้ี ำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี ปรียำภำ วังมณี โปรแกรมวชิ ำภำษำตะวันตก คณะมนษุ ยศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏเชียงรำย ตลุ ำคม 2564

สารบญั หนา้ คานา (Introduction) i สารบัญ (Contents) ii แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา (มคอ3.) TQF 3. iii แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1 (Lesson Plan) 1 บทท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั เทวตานาน (General knowledge about Mythology) 2 2 ความหมาย 4 ความสาคญั 7 โฮมเมอร์ 9 แหล่งข้อมลู เก่ียวกับเร่ืองรวมเทวตานาน 10 สรุป 11 คาถามทา้ ยบทเรียน 13 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 2 (Lesson Plan) 14 บทที่ 2 เทวตานานกรกี และโรมนั (Greek and Roman Mythology) 14 15 กาเนิดสรรพส่งิ 16 เทพบดรี ุ่นที่ 1 18 เทพบดีรุ่นที่ 2 19 เทพีบดีรนุ่ ที่ 3 21 กาเนิดมนษุ ย์ 29 กลมุ่ ทวยเทพแห่งโอลมิ ปัส 34 กลุ่มเทพอนั ดับรอง คาถามทา้ ยบทเรยี น 37 38 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 (Lesson Plan) 38 บทที่ 3 วรี บรุ ษุ ตานานกรกี (Greek Heroes) 38 40 ตานานวีรบุรษุ 44 เพอรซ์ ุส (Perseus) 46 เฮราคริส (Heracles) 47 โอดิสซูส (Odysseus) 49 เอดิพสั (Oedipus) 50 เจสันกับลกู เรืออารโ์ กนอต (Jason and the Argonauts) 51 ตานานสงครามกรงุ ทรอย (The Trojan War) 53 หวั ขอ้ เรอื่ งสาคญั ในตานานกรีก สรปุ 56 คาถามทา้ ยบทเรียน 57 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4 (Lesson Plan) 58 บทท่ี 4 ศพั ทส์ านวนในภาษาองั กฤษจากเทวตานาน 58 59 (English Vocabularies and idioms from Mythology) 60 คาศพั ท์ทม่ี าจากเทวตานานกรกี 61 Atlas Chronos Cloth Chao Echo

Eros 62 Fate 64 Fury 65 Giant 66 Herculean 67 Hygiene 68 Morphine 69 Muses 70 Panic 71 Phobia 72 Psyche 74 Siren 75 Titanic 77 Typhoon 78 สานวนทมี่ าจากเทวตานานกรกี Achilles’s heel 85 The Midas touches 87 Under the aegis of sb/sth 88 Apple of Discord 89 Penelope’s Web 90 Greek’s Gift 91 Trojan Hoe 92 Raise from the ashes 93 Cut the Gordian knot 93 Fiddle while roman burn 94 สรุป 95 คาถามท้ายบทเรียน 96 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5 (Lesson Plan) 98 บทที่ 5 พืชในเทวตานาน (Mythical plants) 99 ตานานเกย่ี วกบั ดอกไม้ 99 ดอกเอนโมนี (Anemone) 100 ดอกไฮยาซินท์ (Hyacinth) 101 ดอกแอมมาริลลสิ (Amaryllis) 102 ดอกนาซซี สั (Narcissus) 103 ดอกทานตะวัน (Sun Flower) 104 ดอกพ่ีโอนี (Pioni) 105 เดอกฮลลิเบอร์(Helliobor) ตานานเกยี่ วกบั ตน้ ไมแ้ ละพชื 107 ต้นแอปเป้ลิ (Apple) 108 ตน้ แอช (Ash) 108 ตน้ เอลเดอร์ (Elder) 110 ต้นลอเรล (Laurel) 111 ต้นต้นโอค (Oak) 111 ต้นมะกอก (Olive) 112 ตน้ ทับทิม (Pomegranate) 114 คาถามทา้ ยบทเรยี น

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 6 (Lesson Plan) 116 บทที่ 6 สตั วใ์ นเทวตานาน (Mythical animal) 117 117 ตานานหมี เรอ่ งรา่ งของนางคะลิสโท 118 หมูปา่ หนึ่งในภารกจิ เฮราคริส 118 โคตัวผู้ เรื่องราวของมิโนทอร์ 119 โคตวั เมยี เรอื่ งราวของนางไอโอ 120 เซนเทอร์ 120 ไคเมรา 121 ไก่ตัวผู้ 122 ไนติงเกล 123 นกฟนี ิกส์ 123 แมงมมุ 124 สรปุ 125 คาถามท้ายบทเรียน 128 กจิ กรรมฝกึ ปฏิบตั ิท้ายบทเรียน 137 รายการอา้ งองิ

มคอ. 3 ฉบบั ผา่ นการพิจารณาแลว้ ชอ่ื สถาบนั อุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งราย วิทยาเขต/คณะ/ภาควชิ า โปรแกรมวิชาภาษาตะวันตก หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1. รหสั และชอ่ื รายวิชา ENP2402 เทพนิยายท่เี ปน็ พื้นฐานวรรณคดี Mythological Background in Literature 2. จำนวนหนว่ ยกติ 3 หนว่ ยกติ 3(3-0-6) 3. หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ปีหลักสูตร 2563 สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ (ศศ.บ.4ป)ี คณะ มนษุ ย์ หมวดวชิ า/กลุ่มวิชา วิชาเอกบงั คับ (กลมุ่ 3) 4. อาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบรายวิชา อาจารยป์ รยี าภา วงั มณี อาจารยผ์ สู้ อน อาจารยป์ รยี าภา วงั มณี (เบอร์ตดิ ตอ่ 094-628-5105) 5. ภาคการศึกษา / ชัน้ ปีทเ่ี รียน ภาคการศกึ ษาท่ี 2/2564 ชัน้ ปีท่ี 2 รวม 3 หมเู่ รียน 6. รายวชิ าทีต่ อ้ งเรยี นมากอ่ น (Pre-requisite) ไมม่ ี 7. รายวชิ าทต่ี อ้ งเรียนพร้อมกนั (Co-requisite) ไมม่ ี 8. สถานทเี่ รยี น ห้อง 2561 / หอ้ ง 10034 หรอื หอ้ งเรยี นออนไลน์ 9. วนั ทีจ่ ัดทำหรอื ปรับปรุงรายละเอยี ดของรายวชิ าครงั้ ล่าสดุ 12 ต.ค. 64 หมวดท่ี 2 วตั ถปุ ระสงค์และจุดมุ่งหมาย 1. จดุ ม่งุ หมายของรายวชิ า

ความรทู้ ่วั ไปเกยี่ วกบั เทวตำนานกรกี และโรมันท่มี ีความเกยี่ วข้องและมอี ทิ ธพิ ลตอ่ วรรณคดีองั กฤษ General knowledge about Greek and Roman mythology that is relevant and influencing English literature. 2. วัตถปุ ระสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรงุ เพอื่ ให้มคี มทันสมัย กระตนุ้ ให้เกิดทศั นคตแิ ละความต้องการเรยี นรมู้ ากขึน้ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนนิ การ 1. คำอธิบายรายวชิ า ความรู้ทั่วไปเก่ยี วกบั เทวตำนานกรกี และโรมนั ที่มคี วามเเกีย่ วข้องและมอี ทิ ธพิ ลตอ่ วรรณคดีอังกฤษ General knowledge about Greek and Roman mythology that is relevant and influencing English literature. 2. จำนวนช่ัวโมงทใ่ี ช้ตอ่ ภาคการศึกษา บรรยาย(ชัว่ โมง/ภาคการศึกษา) ปฏบิ ตั ิการ(ชว่ั โมง/ ศึกษาดว้ ยตนเอง(ชั่วโมง/ สอนเสรมิ (ชัว่ โมง/ ภาคการศกึ ษา) ภาคการศกึ ษา) ภาคการศกึ ษา) 42 0 6 0 3. จำนวนช่ัวโมงตอ่ สัปดาหท์ ่อี าจารยใ์ ห้คำปรึกษาและ 2 ชัว่ โมง ต่อ สปั ดาห์ แนะนำทางวชิ าการแก่นกั ศกึ ษาเปน็ รายบคุ คล หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรขู้ องนักศกึ ษา 1.คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1 คุณธรรม จรยิ ธรรมทต่ี อ้ งการพฒั นา ***1. สามารถทางานที่ได้รับมอบหมายไดอ้ ย่างถกู ต้องและลุลว่ งตามเวลาที่กำหนด 2. สามารถทางานทไี่ ด้รับมอบหมายโดยไม่ละเมดิ จรรยาบรรณทางวิชาการ 3. สามารถนาองค์ความร้ทู างด้านภาษาองั กฤษมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเองและสงั คม 1.2 วธิ กี ารสอน 1. ใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรเู้ นือ้ หาเกีย่ วกบั คณุ ธรรม จริยธรรมโดยสอดแทรกเนื้อหาในรายวชิ า ท่ีสอน 2. ใหผ้ ู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญดา้ นความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม โดยเน้น การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา 3. ใหผ้ ้เู รียนฝกึ การเปน็ ผนู้ ากลมุ่ และผู้ตามทด่ี ี โดยจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบกล่มุ 1.3 วิธกี ารประเมินผล 1. ใชก้ ารสังเกตพฤตกิ รรม การประเมนิ ตนเอง การประเมินโดยเพอื่ นรว่ มชนั้ เรยี น หรอื กลมุ่ งาน 2. ใช้การสอบขอ้ เขียน การประเมินผลงานทม่ี อบหมายโดยผสู้ อน การประเมนิ ผลงานโดยใชโ้ ปรแกรมออนไลน์ท่ีใช้ตรวจสอบการ คัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาการ 2.ดา้ นความรู้ 2.1 ความรู้ที่ตอ้ งการพัฒนา

1. สามารถฟังและพดู โต้ตอบดว้ ยภาษาองั กฤษในหัวขอ้ ดา้ นวชิ าการ สังคมและวิชาชีพได้สรุปใจความและประเด็นสาคญั จาก ส่ิงทฟี่ ังได้ถกู ต้อง สามารถแยกแยะประเภทของข้อมูลทอี่ า่ นในสอื่ ส่งิ พมิ พ์และสอ่ื ออนไลน์ และสามารถนาเสนอรายงานท้ังในรปู ปากเปล่าและการเขียนอยา่ งถกู ตอ้ งครบถ้วน ท้ังนี้เทยี บเทา่ ระดับ C1 (Proficient User) ตามมาตรฐานสากล Common European Framework of Reference for Languages : learning, teaching, assessment (CEFR) 2. สามารถประยุกตใ์ ชอ้ งคค์ วามรู้ภาษาศาสตรภ์ าษาอังกฤษด้านต่าง ๆ เชน่ การออกเสียง ภาษาองั กฤษอยา่ งถูกตอ้ งตามหลกั สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษ สามารถวเิ คราะหค์ วามหมายและทม่ี า ของคาตามหลกั วทิ ยาหนว่ ยคาภาษาองั กฤษ สามารถวเิ คราะห์โครงสร้างและความหมายของวลี และประโยคตามหลักวากยสัมพนั ธ์ภาษาองั กฤษ ตลอดจนสามารถวเิ คราะห์ ววิ ฒั นาการและการเปลย่ี นแปลงของภาษาอังกฤษ รวมถึงนานาภาษาอังกฤษโลก (World Englishes) ***3. สามารถอา่ น ตีความ วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณว์ รรณกรรมประเภทร้อยแกว้ รอ้ ยกรอง และ บทละครองั กฤษและอเมรกิ นั และท่ีประพันธ์หรือแปลเปน็ ภาษาอังกฤษ โดยการอิงทฤษฎวี รรณกรรม ท่ีเกยี่ วขอ้ งเพ่ือเขา้ ใจความสาคัญของปัจเจกชน สงั คมและวัฒนธรรม อนั จะนาไปสู่การอยรู่ ว่ มกัน อย่างสันติ 4. สามารถแปลขอ้ ความและตวั บทประเภทตา่ ง ๆ จากภาษาองั กฤษเปน็ ภาษไทยและภาษาไทยเปน็ ภาษาองั กฤษ เช่น ตวั บท ประเภทให้ข้อมลู (ขา่ วและสารคด)ี แสดงความรสู้ ึก (นวนิยาย) โน้มน้าว (สนุ ทรพจนแ์ ละคาปราศรยั ) ตลอดจนการแปลตวั บทที่ ใชค้ าศพั ทเ์ ฉพาะสาขาวิชาให้ถกู ตอ้ ง ครบถว้ นและสละสลวย อันเป็นผลมาจากความเขา้ ใจภาษาและโครงสรา้ งของทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 2.2 วธิ ีการสอน 1. ให้ผูเ้ รียนพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษท้ังในและนอกช้ันเรยี น การบรรยายและสรา้ งสรรคค์ วามร้ทู ้ังดา้ นทฤษฎแี ละเน้ือหา 2. ใหผ้ เู้ รยี นใช้นวตั กรรมในการพฒั นาและเสรมิ การเรียนการสอน ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นสามารถศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เติมและเรียนรู้ดว้ ย ตนเองได้ 2.3 วธิ กี ารประเมินผล 1. ใชก้ ารสอบขอ้ เขยี นกลางภาคเรยี นและปลายภาคเรยี น 2. ใช้การสอบปากเปล่า การสอบปฏบิ ตั ิ การเขียนรายงานและการนาเสนอปากเปลา่ และ ใชก้ ารสังเกตจากการให้ผเู้ รยี นแสดง ความคดิ เหน็ 3.ทกั ษะทางปญั ญา 3.1 ทกั ษะทางปญั ญาท่ตี อ้ งการพฒั นา ***1. สามารถใช้ภาษาองั กฤษทไ่ี ดจ้ ากการประมวลผลการเรยี นรทู้ งั้ หมดเพอื่ ใช้งานไดอ้ ยา่ ง มปี ระสิทธิภาพ 2. สามารถประยุกตใ์ ช้องค์ความรูภ้ าษาองั กฤษในการคดิ วิเคราะห์วจิ ารณอ์ ยา่ งมีเหตุผลและสามารถแก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบ 3.2 วิธกี ารสอน 1. ให้ผู้เรียนฝกึ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ในรายวชิ า โดยการอภปิ รายกลมุ่ หรอื การโตว้ าที 2. ใหผ้ ู้เรียนจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น กิจกรรมออกคา่ ยอาสาสชู่ มุ ชน กจิ กรรมบรกิ ารวชิ าการ แก่ชุมชน 3. ใหผ้ เู้ รยี นมีโอกาสเขา้ ร่วมกิจกรรมอบรมด้านการเรียนรู้ การศึกษาวจิ ยั การศึกษาดงู าน และการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ใน สถานประกอบการเพ่ือนาความรู้และทักษะต่าง ๆ ไปบริการวิชาการแกส่ ังคม 3.3 วธิ ีการประเมนิ ผล 1. ใช้การระดมสมอง การสรุปประเด็น และการสืบคน้ เพอ่ื ทารายงานตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 2. ใช้การนาเสนอผลการสืบค้นท่ไี ดร้ ับมอบหมายและการสัมมนา

4.ทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบท่ีตอ้ งการพฒั นา ***1. สามารถประยกุ ต์ใชอ้ งคค์ วามรู้ดา้ นภาษาอังกฤษในการทางานรว่ มกับผอู้ ่ืนไดอ้ ย่าง มปี ระสิทธภิ าพ มภี าวะผ้นู ำ เขา้ ใจบทบาทของตนเองและรับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ ืน่ ปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั ความหลากหลายในสถานท่ีทางานและสังคม 2. สามารถประมวลทักษะและองค์ความร้ดู า้ นภาษาองั กฤษเพอ่ื นามาใช้ในการทางาน ของตนเองอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4.2 วิธกี ารสอน 1. ใหผ้ เู้ รียนทางานเปน็ กลุ่มในรายวิชาทีม่ ีการปฏิบัติโดยจัดกิจกรรมทต่ี ้องประสานงาน กบั ผูอ้ นื่ โดยการกาหนดบทบาทหน้าทขี่ อง สมาชิกกลุ่มอยา่ งชัดเจน 2. ใหผ้ เู้ รียนทางานเดีย่ วและงานกลุ่ม โดยเนน้ กจิ กรรมบทบาทสมมตแิ ละกจิ กรรม ในสถานการณจ์ ริง 4.3 วธิ ีการประเมินผล 1. ใชก้ ารสังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รยี น 2. ใชก้ ารประเมินโดยเพือ่ นรว่ มงาน กลุม่ ทไ่ี ด้รับมอบหมายและผสู้ อน 5.ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสอ่ื สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ตี อ้ งการพัฒนา 1. สามารถแยกแยะประเภทของขอ้ มูลภาษาองั กฤษทีใ่ ช้ในสอื่ ส่งิ พมิ พแ์ ละสอ่ื ออนไลน์ สามารถนาเสนอรายงานในทป่ี ระชุมโดย ใชส้ ือ่ เทคโนโลยี ***2. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ที่มอี ยู่ในปัจจุบนั มาใชเ้ พอื่ พัฒนากระบวนการทางานดา้ นภาษาองั กฤษเพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการทางาน (Digital Literacy) 5.2 วิธีการสอน 1. ให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้เนื้อหาเกีย่ วกบั การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่อื การเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษโดยสอดแทรกเนอ้ื หาในรายวิชาท่สี อนใน ชน้ั เรียน 2. ใหผ้ เู้ รียนบูรณาการการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ ฝกึ ทกั ษะการวเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ ตวั เลขและการคน้ คว้าเพ่มิ เติมจากสอื่ ส่งิ พมิ พแ์ ละสอ่ื ออนไลน์ทีม่ คี วามนา่ เชื่อถอื ทางวชิ าการ 5.3 วธิ ีการประเมินผล 1. ใชก้ ารมอบหมายงานทีเ่ น้นใหผ้ ู้เรยี นประมวลความรู้ในชัน้ เรียน 2. ใชก้ ารคน้ คว้าเพม่ิ เติมจากสอื่ สิง่ พิมพแ์ ละสอ่ื ออนไลน์ที่มคี วามน่าเชอื่ ถือทางวชิ าการ 6.ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่อื สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ทักษะพสิ ัย 6.2 วิธีการสอน 6.3 วธิ ีการประเมินผล

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน จำนวนชวั่ โมง กิจกรรมการเรยี นการสอน/สอื่ ทใี่ ช(้ ถา้ ม)ี ผ้สู อน อ. ปรียาภา วงั มณี สปั ดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอยี ด บรรยายแบบผสมผสาน ผ่านชอ่ งทาง 1 สัปดาห์ท่ี 1 ออนไลน์ (Microsoft Team) หรือเขา้ ชน้ั • แนะนำบทเรียน ชี้แจงคำอธบิ ายรายวิชา วัตถุประสงคข์ อง รายวิชา, กิจกรรมการเรียนการสอน (เน้นทฤษฏี 70 และ เรยี นปกติ โดยใชภ้ าษาองั กฤษและ ปฏิบัติ 30) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ( 80 = A ), 3 ภาษาไทยในการบรรยาย เน้นการบรรยาย • เอกสารประกอบการสอน รปู แบบFile จะส่งให้นกั ศกึ ษา 1 แบบเล่าเรอ่ื ง (Story telling) / เอกสาร สัปดาห์ลว่ งหน้ากอ่ นเรยี น นักศึกษาสามารถปร้นิ เองได้ ประกอบการสอน(ทงั้ ภาษาองั กฤษและ • ชแ้ี จงให้นกั ศึกษาทราบเก่ยี วกับการดำเนินการเกบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื ใชใ้ นการทำวิจยั ในช้ันเรยี น ภาษาไทย) /ภาพประกอบการสอน / พาว • ใหน้ กั ศึกษาทำแบบทดสอบวัดความรกู้ ่อนเรยี น พื้นฐาน เวอรพ์ อยท์ /ใบงาน คำศัพทแ์ ละทัศนคติตอ่ การเรยี นเทวตำนานในโลกทศั น์ของ ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของการทำวจิ ัย • บรรยายแบบผสมผสานผ่านช่องทาง เรอื่ ง การใชเ้ ทคนิคการเล่าเร่ืองเทวตำนานกรกี และโรมนั ออนไลน์ (Microsoft Team) หรือเขา้ ชนั้ เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้คำศพั ทภ์ าษาองั กฤษ ของนกั ศึกษา เรียนปกติ ขน้ึ อยู่กบั สถานการณ์ สาขาภาษาองั กฤษ ปีงบประมาณ 2565 • เอกสารประกอบการสอน • ภาพประกอบการสอน • มอบหมายให้ดภู าพยนต์ เร่อื ง Troy (ปี2004) เพอื่ เป็นการ • พาวเวอร์พอ้ ยท์ เชอ่ื มโยงนำไปสบู่ ทเรยี นรายวิชาในคาบต่อๆไป • วดี โี อจาก Youtube/ ไฟล์เสยี ง https://youtu.be/oO1BkHYJ0q4 • ใบงานในคาบเรยี น • กิจกรรมการอภิปรายเดีย่ ว/กล่มุ 2 บทที่ 1 ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับเทวตำนาน (General • มอบหมายงานเดย่ี ว/คู่/กลมุ่ knowledge about Mythology) • สอบปากเปลา่ -ความหมายและคำจำกัดความของเทวตำนาน • สอบเกบ็ คะแนนย่อยประจำบทเรยี น (Mythological) - ประวตั ขิ องอารยธรรมกรีกโบราณ (History of Ancient Greek) มหากวผี ยู้ ่ิงใหญโ่ ฮมเมอร์ (Homer) - ประโยชน์ของการเรียนเทวตำนานกรีก (Greek mythological and its benefit) ในเชิงศลิ ป จิตกรรม วรรณกรรม ภาษาศาสตร์ ดาราศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ - อิทธพิ ลของตำนานเทพเจา้ กรกี ทม่ี ตี อ่ ชาวโรมนั (Influence of Greek Mythology on the Romans) -คำถามทา้ ยบท

3 บทที่ 1 ความรูท้ ว่ั ไปเกย่ี วกับเทวตำนาน (General อ. ปรยี าภา วังมณี knowledge about Mythology) - ประโยชน์ของการเรียนเทวตำนานกรกี (Greek mythological and its benefit) ในเชิงศิลป จิตกรรม 3 วรรณกรรม ภาษาศาสตร์ ดาราศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ - อิทธพิ ลของตำนานเทพเจา้ กรกี ทมี่ ตี อ่ ชาวโรมนั (Influence of Greek Mythology on the Romans) -คำถามทา้ ยบท 4 บทท่ี 2 เทวตำนานกรีกและโรมนั (Greek and Roman อ. ปรยี าภา วงั มณี Mythology) กำเนิดสรรพส่ิง (The Origin of the God) 3 กำเนดิ มนุษย์ 5 เทพ เทวี และหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบ อ. ปรยี าภา วังมณี เหลา่ ทวยเทพแห่งโอลิมเปี่ยน (The twelve of Olympians) 3 กลมุ่ เทพอันดบั รอง คำถามทา้ ยบทที่ 2 6 บทท่ี 3 วรี บรุ ษุ ในตำนานของกรกี (Heroes) อ. ปรยี าภา วงั มณี เพอรซ์ ูส (Perseus) กบั ภารกจิ ตัดหัวนางเมดูซา่ เฮราคลสิ (Heracles) กบั ภารกิจ 12 ประการ 3 โอดิสซูส (Odysseus) 7 เจสนั กบั ลกู เรืออารโ์ กนอต (Jason and the Argonauts) อ. ปรียาภา วังมณี ตำนานสงครามกรุงทรอย (Trojan War) สารัถถะสำคัญในเทวตำนานกรกี (Major Theme in Greek 3 Mythology) คำถามทา้ ยบทที่ 3 8 อภปิ ราย และทบวน 3 อ. ปรยี าภา วงั มณี 9 สอบกลางภาค (60 ขอ้ 20 คะแนน) อ. ปรยี าภา วังมณี (ออนไลน์ หรอื ในห้องสอบ ผู้สอนจะแจง้ ใหท้ ราบอีกครงั้ ข้นึ อย่กู บั สถานการณ์และนโยบายของทางมหาวิทยาลยั ) 3 สอบตามตารางมหาวิทยาลยั 10 บทท่ี 4 ศัพท์สำนวนในภาษาอังกฤษจากเทวตำนาน • บรรยายแบบผสมผสานผ่านชอ่ งทาง (English Vocabularies and idioms from Mythology) ออนไลน์ (Microsoft Team) หรอื เข้าชั้น คำศพั ทภ์ าษาอังกฤษทีเ่ กยี่ วขอ้ งจากเทวตำนาน พรอ้ มตัวอยา่ ง เรียนปกติ ขนึ้ อยกู่ ับสถานการณ์ ในประโยคภาษาอังกฤษ • เอกสารประกอบการสอน 11 สำนวนภาษาอังกฤษ เก่ยี วขอ้ งจากเทวตำนาน พร้อมตัวอยา่ ง 3 • ภาพประกอบการสอน อ. ปรยี าภา วังมณี

ในประโยคภาษาอังกฤษ • พาวเวอรพ์ อ้ ยท์ คำถามท้ายบทท่ี 5 มอบหมายงานกลุ่ม 1 • วดี โี อจาก Youtube/ ไฟล์เสียง 12 บทที่ 5 พชื ในเทวตำนาน (Mythical plants and animal) • ใบงานในคาบเรยี น ตำนานเก่ียวกบั ดอกไม้ • กิจกรรมการอภปิ รายเดยี่ ว/กลมุ่ อ. ปรียาภา วังมณี 13 บทที่ 5 พชื ในเทวตำนาน (Mythical plants and animal) 3 • มอบหมายงานเดี่ยว/คู่/กลุม่ คำถามทา้ ยบท บทท่ี 5 3 • สอบปากเปล่า อ. ปรียาภา วังมณี 14 บทท่ี 6 สตั วแ์ ละสตั ว์ประหลาดในเทวตำนาน • สอบเกบ็ คะแนนย่อยประจำบทเรียน 15 บทท่ี 6 สตั วแ์ ละสตั วป์ ระหลาดในเทวตำนาน 3 อ. ปรียาภา วังมณี คำถามท้ายบทที่ 6 มอบหมายงาน คลปิ วีดโี อเลา่ เรือ่ งตำนานวีรบรุ ุษ (งานกลมุ่ ) อ. ปรยี าภา วังมณี 3 16 นำเสนอวดี ีโอในชน้ั เรยี น 3 อ. ปรยี าภา วังมณี 17 สอบปลายภาค (60 ขอ้ 20 คะแนน) 3 สอบตามตารางของมหาวทิ ยาลัย อ. ปรยี าภา วงั มณี 48 รวมจำนวนช่วั โมงตลอดภาคการศกึ ษา 2. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ กจิ กรรม ผลการเรยี นรู้ วธิ ีการประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา สปั ดาห์ท่ี สัดส่วน ท่ี ประเมนิ การ ประเมินผล 1 1.1.1 คะแนนเข้าชั้นเรียน 1-16 1-16 10% 2 1.1.1/ 2.1.3/3.1.1/3.1.2 มอบหมายงาน 1-16 20% 3 1.1.1/ สอบยอ่ ย/สอบปากเปลา่ 2.1.3/ 20% 3.1.1 4 1.1.1/2.1.3/3.1.1/3.1.2/4.1.1/4.1.2/5.1.1/5.1.2 งานกลุม่ 1 ชนิ้ 12 10% 9 20% 5 1.1.1/ 2.1.3/ 3.1.1 สอบกลางภาค (60 ขอ้ 20 คะแนน) 17 20% 6 1.1.1/ 2.1.3/ 3.1.1 สอบปลายภาค (60 ขอ้ 20 คะแนน) อตั นยั และ ปรนัย 3. การประเมนิ ผล ประเภทของการประเมนิ ☑ องิ เกณฑ์ ✅ องิ กลุ่ม ช่วงการให้ระดับคะแนน(เกรด)

80-100 = A ,75-79 =B+ ,70-74 = B ,65-69 = C+ ,60-64 = C, 55-59 = D+ ,50-54 = D ,0-49 = F หมวดท่ี 6 ทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอน 1. เอกสารและตำราหลกั เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ENP 2402 เทพนยิ ายอันเป็นพนื้ ฐานวรรณคดี 2. เอกสารและขอ้ มูลสำคัญ Edith Hamilton, Mythology : Timeless Tales of Gods and Heroes, 75th Anniversary Illustrated Edition คอสมอส, เทพกรีกและหมู่ดาว.--กรงุ เทพฯ : บริษทั ไทยคอลติ บี้ คุ้ (2006) จำกดั .2561 เบลค ฮนี า่ , เอเดรยี น เมเยอร์, สทิ ธิพร ยะศะนพ. “รไู้ ปหมด เรื่อง ตำนานเทพเจา้ .” พิมพค์ รั้งที่ 2-กรุงเทพฯ: อมรินทรค์ อมมิกส์ อมรนิ ทรพ์ ร้นิ ตงิ แอนพับลิซซิ่ง, 2560. ดวงตา สพุ ล. “ประมวลชอ่ื และศัพท์จากเทวตำนานกรกี และโรมัน เลม่ 1.” สำนกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . พจนานกุ รม. กรุงเทพฯ.2545. ดวงตา สพุ ล. “ประมวลชอ่ื และศพั ท์จากเทวตำนานกรกี และโรมัน เล่ม 2.” สำนกั พมิ พ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พจนานกุ รม. กรงุ เทพฯ.2545. รมณี กอวัฒนา. เทพนยิ ายทเ่ี ป็นพน้ื ฐานวรรณคดี. พิมพ์ครั้งที่ 3. สำนกั พมิ พ์มหาวิทยาลรั ามคำแหง, 2561. ทวยเทพและตำนานสตั วป์ ระหลาดกรีก-โรมนั —กรุงเทพฯ ยปิ ซี, 2557. 272 หน้า สจว๊ ต. ไบรอัน เจ. “The Age of Fable อภนิ ิหารเทพเจา้ กรกี และโรมนั .” — กรงุ เทพฯ ซเี อด็ ยูดเคชนั่ , 2559. 144 หน้า. John Sutherland, สรุเดช โชตอุดมพันธ์ แปล. A Little History of Literature. พมิ พ์ครั้งที่ 1. สำนกั พมิ พ์Bookscape, มนี าคม 2561 สจว๊ ต รอส. ชวธีร์ รตั นดลิ ก ณ ภเู กต แปล. เรื่องเลา่ จากความตาย: ดนิ แดนกรซี โบราณ จากเรอ่ื ง Tales of the Dead: Ancient Greece: องิ ค์ลงิ ค์ และรชิ ารด์ บอนสนั ซภาพประกอบ.--กรุงเทพฯซ แพรวเยาวชน, 2549. 3. เอกสารและขอ้ แนะนำ หมวดท่ี 7 การประเมนิ และปรับปรงุ การดำเนนิ การของรายวิชา 1. กลยทุ ธก์ ารประเมินประสทิ ธิผลของรายวชิ าโดยนกั ศกึ ษา มีการกำหนดการทวนสอบตามเกณฑข์ อง สกอ. รวมท้งั มีการประเมินการเรยี นการสอนของอาจารยใ์ นแต่ละรายวิชาใน หลกั สูตรโดยนกั ศกึ ษา 2. กลยทุ ธก์ ารประเมินการสอน ให้นกั ศกึ ษาไดม้ กี ารประเมินผลการสอนของอาจารยใ์ นทุกดา้ น ทงั้ ด้านทกั ษะกลยุทธก์ ารสอน การตรงต่อเวลา การชแี้ จง เปา้ หมาย วัตถปุ ระสงคร์ ายวิชา ช้แี จงเกณฑก์ ารประเมนิ ผลรายวิชา และการใช้สอื่ การสอนในทกุ รายวชิ า 3. การปรบั ปรงุ การสอน ปรบั ปรุงตามผลสรปุ การประเมนิ ผลการสอนและขอ้ วพิ ากษข์ องผเู้ รยี น

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของนกั ศกึ ษาในรายวชิ า มีการกำหนดการทวนสอบตามเกณฑ์ของ สกอ. รวมทงั้ มีการประเมนิ การเรียนการสอนของอาจารยใ์ นแต่ละรายวิชาใน หลกั สูตรโดยนกั ศึกษา 5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวชิ า เนื่องจากรายวิชาน้ี เพง่ิ เปิดสอนครง้ั แรกในภาคเรียนที่ 2/2564 ของหลักสูตรภาษาอังกฤษ หลกั สตู รปรับปรุง 2563 จงึ ยงั ไม่มีการทวนสอบ จัดทำโดย อาจารยปฺ รยี าภา วังมณี อาจารย์ผู้สอน 12 ตุลาคม 2564

1 Lesson Plan Unit 1 Background knowledge about Mythology Content 1. Definition 2. Importance and benefit of study 3. Resources of mythological background in literature Objectives At the end of this unit, student will be able to 1. understand and define the meaning of mythology 2. understand the importance of learning about mythology and oversee the benefit of the study 3. know the resources of mythological background in literature 4. analyst and summarize keys points of each learning topic in English Instructional Procedures and Activities 1. Study the material and follow the course instruction. 2. Listening the lecture 3. Discussion 4. End of unit exercise Instructional Materials 1. Class material 2. Power Point Presentation 3. Worksheet Assessment and Evaluation 1. Class participation 2. Quizzes 3. Mid-term Examination 4. Final Examination

2 บทที่ 1 ความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั เทวตานาน ความหมาย เอกสารประกอบการสอนชุดน้ี มเี นอ้ื หาเก่ยี วกับ “mythology” หรือ ในภาษาไทยใช้คาว่า “เทว ตานาน” ซ่ึงก่อนที่เราทาการเรียนเน้ือหาในรายวิชาเทพนิยายที่เป็นพื้นฐานของวรรณคดีนักศึกษาต้อง ทาความเข้าใจคาศัพท์ ความหมาย และที่มาของคาศัพท์ก่อนอันดับแรก เพ่ือให้นักศึกษามีความเข้าใจ ชดั เจนถูกต้องตรงกนั ซาราห์ บาร์ตเลตต์ ได้กล่าวว่า คาว่า “mythology” ในภาษาอังกฤษมาจากคาว่า mythos + logy ในภาษากรีก คาว่า “mythos” หมายถึง คาศัพท์ การเล่าเรื่อง เรื่องราว หรือ คาพูด (word, narration, tale, or speech) ส่วน “logy” ห ม าย ถึง ศ าสต ร์ ห รือก าร ศึ กษ า (science) ค าว่า “mythology” จึงหมายถึงความรู้หรือการศึกษาเร่ืองราวท่ีเล่าขานกันมา อธิบายเหตุการณ์ที่เป็น รูปธรรม เปน็ กายภาพ เร่อื งที่เกิดขึ้นจรงิ สามารถมองเห็นจับตอ้ งได้ สาหรับในภาษาไทย มีผู้แปลคาว่า “myth” และ “mythology” ไว้หลากหลาย อาทิ เทพ ตานาน เทพปกรณัม เทพนิยาย นิทานปรัมปรา เทวดาฝรั่ง เม่ือพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่าแต่ละคามี ความหมายที่จากัด ดงั จะเห็นได้จาก คาว่า “เทพตานาน” หรือ “เทพปกรณัม” หรอื “เทพนิยาย”น่าจะมี ความหมายเก่ียวข้องกับเรื่องราวของเทพเจ้าเท่าน้ัน สาหรับคาว่า “เทพปกรณัม” มาจากเทพ (น. เทวดา) + ปกรณัม (น. ปกรณ์ เร่ือง ตานาน) มีความหมายวา่ เป็นตานานเรือ่ งราวเกย่ี วกับเทพเทวี คาน้ี จงึ มีความหมายเช่นเดียวกับ “เทพตานาน” ส่วนคาว่า “นิทานปรัมปรา” มาจาก นิทาน (น. เรื่องเล่าสืบ กนั มา เรื่องที่แต่งขึ้นมีเนื้อหารวบรัด มุ่งเน้อื หาสาระเพื่อการอบรมสั่งสอน หรือเพื่อความสนุกหรรษา) + ปรมั ปรา (ว. เรือ่ งเล่าสบื ๆ กันมา) myth คือเรื่องที่ไม่ทราบแหล่งที่มา ส่วนหนึ่งมาจากประเพณี เดิม อาจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เพ่ืออธิบายธรรมเนียมปฏิบัติ ความคิดความเช่ือ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมทาง ศาสนาและความเชื่อ myth คือ เรื่องราวที่ไม่ทราบผู้เขียน มักเก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์ กาเนิดของส่ิงลี้ลับ เป็นการ รวบรวมเรอ่ื งราวเกย่ี วกบั กาเนดิ โลก การสร้างมนษุ ยชาติ เรื่องของเทพและวีรบุรษุ หรือความพินาศของ บางตระกูล สาหรับชนชาติที่ยังไร้อารยธรรม เป็นคาอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ อย่างไรก็ตามเมือ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สามารถให้คาอธบิ ายส่งิ เหล่าน้ีให้กระจ่างชัด เร่อื งราวเหล่าน้ีกย็ ังดารงอยตู่ ่อไป ในฐานะเรอ่ื งเลา่ ขาน

3 ส่วน พ จนานุกรมวรรณ กรรม อังกฤษ -ไท ย ฉบับราชบัณ ฑิตยสถาน ให้คาอธิบาย ไวด้ งั นี้ Myth เร่ืองปรัมปรา เร่อื งทไ่ี มจ่ ริงและเกีย่ วขอ้ งกบั ผูอ้ ยเู่ หนอื ธรรมชาตหิ รืออยา่ งนอ้ ยกเ็ ปน็ ผู้ที่ เหนือมนษุ ย์ เรือ่ งปรมั ปราจะเก่ียวกบั การสร้างโลกเสมอไป จะอธบิ ายวา่ ส่ิงตา่ งๆ เกดิ ขึ้นได้ อย่างไรจะนาความรสู้ กึ กับความคดิ มารวมกนั ใหเ้ ปน็ เร่ืองราวขนึ้ มา เชน่ เรื่องของ Prometheus, Hercules,Diana, Orpheus, Eurydice เรอื่ งปรัมปราหรอื เรื่องกึ่งปรมั ปราหลายเรื่องเป็นสงิ่ ท่ีมนุษยส์ มัยดั้งเดมิ ใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์ของธรรมชาตแิ ละอานาจของจกั รวาล Mythology 1. ประมวลเรอ่ื งปรมั ปรา การรวมนยิ ายปรมั ปราของกลมุ่ ชน 2. ปรมั ปราวทิ ยา วิชาที่ศึกษาเกย่ี วกับเรอ่ื งปรมั ปรา พจนานุกรมศพั ท์วรรณกรรม อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อรุณการพมิ พ์, 2545. หน้า 275 วิกรานต์ นามผาตอน (2564) ได้อธิบายไว้ว่า myth เป็นเร่ืองราวที่เล่าขานสืบต่อกันมา เพื่อ อธิบายปรากฏการณ์ท่ีอย่เู กินความเข้าใจและองค์ความรู้ของผคู้ นสมัยกอ่ น โดยผูเ้ ลา่ เรอื่ งมักจะเปน็ หนา้ ที่ ของผู้นาชุมชน ผู้นาจิตวิญญาณ เป็นมุขปาฐะที่บอกเล่าจากรุ่นสู่รุ่น ก่อนจะมีการจดบันทึก โดยเร่ืองราว เป็นเร่ืองราวที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า เป็นเรื่องราวที่ให้ความบันเทิง แต่ในขณะเดียวกันก็ตอบคาถาม เก่ียวกับส่ิงท่ีเกิดข้ึนรอบตัว บางคร้ัง ในการเล่าเร่ืองมีความคลาดเคล่ือนมี plot hole หรือมีจุดที่ไม่ สมเหตสุ มผล มีเปลี่ยนไปบา้ ง มีหลายเวอร์ช่ัน หรอื แตล่ ะตารา ในเอกสารประกอบการเรียนนี้ จึงขอใช้คาแปลว่า “เทวตานาน” เม่ือกล่าวถึงเร่ืองราวของเทพ เทวี และใช้คาว่า “ตานาน” เมอื่ หมายถงึ เรอื่ งราวของวรี บรุ ุษ หรืออาจคงคาว่า “mythology” เอาไว้ กล่าวโดยสรปุ myth คือ ตานานเลา่ ขานท่ีไมอ่ าจบอกได้ว่ามีที่มาอยา่ งไร แตเ่ ป็นเรือ่ งท่ีสบื ทอด กันมายาวนานจากรุ่นสู่รุ่น เป็นเร่ืองราวที่ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของคนยุคโบราณท่ีอยากจะ เข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว ดังน้ันส่วนหนึ่งของ myth คือเร่ืองราวเกยี่ วกับกาเนิดของส่ิงต่างๆ อาทิ กาเนิด โลก กาเนดิ มนษุ ย์ กาเนดิ ของสิ่งตา่ งๆ ในโลก ในบางตานานเลา่ ขานถึงการกลายรูปจากส่ิงหน่ึงไปเปน็ อีก ส่ิงหนึ่ง (Transformation) เช่น มนุษย์กลายเป็นดอกไม้ หรือแข็งกลายเป็นหิน นอกจากนั้นมนุษย์ยัง ต้องการคาอธิบายเก่ียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ทาไมจึงมีฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า ทาไมจึงเกิด พายุที่รนุ แรง ทาไมจึงมีนา้ ท่วม ทาไมจึงมีคลื่นลมทาให้เรืออับปาง มนุษย์คิดว่าจะตอ้ งมีพลังอานาจที่มี อิทธิพลย่ิงใหญ่ อยู่นอกเหนือการควบคุมของมนุษย์เรา มนุษย์จึงจินตนาการถึงเทพเจ้าที่คอย ควบคุมดูแลปรากฏการณ์ธรรมชาติ และคิดต่อไปอีกว่า หากมนุษย์ทาพิธีกรรมบวงสรวงเซ่นสังเวยแต่ เทพเจ้าเหล่านั้นแล้ว เทพเจ้าคงให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ ดังน้ันจึงเกิดธรรมเนีย มการประกอบ พิธกี รรมต่างๆ ตามมา ซ่ึงต่อมากลายเป็นวฒั นธรรมประจาชนแตล่ ะกล่มุ นอกจากน้ีมนุษย์ยังให้ความสาคัญกับผู้นาของกลุ่ม ผู้ที่ทาคุณประโยชน์ให้ชนเผ่าของตน ดังน้ันจึงมตี านานเก่ียวกับวีรบรุ ษุ บคุ คลเหล่านอ้ี าจเป็นเทพ ก่ึงเทพ หรือมนุษย์ธรรมดาก็ได้ เช่น โพรมธิ ิ

4 อสุ ได้ช่อื ว่าเป็น “บิดาแห่งมนษุ ยชาติ” เนอื่ งจากนาไฟมาให้มนุษย์ใช้ประโยชน์เฮราคลิสประกอบภารกิจ หลายประการที่เปน็ การบาบดั ทกุ ขบ์ ารุงสุขให้กบั ประชาชน เอดิปสั ปราบสฟิงซ์ทเี่ ป็นภยั คุกคามชาวบา้ น ในด้านศาสนา myth อาจหมายถึง ตานานเรื่องราวท่ีเกี่ยวกับการให้รางวัลการลงโทษที่เป็น บทสอนใจให้มนุษย์ใส่ใจกับการทาความดี เพราะหากทาดีแล้วย่อมได้รับรางวัลจากการกระทาน้ัน ซึ่ง อาจไม่ใช่ทรัพย์สินเงินทอง แต่เป็นความสุขสงบทางกายและใจ หากทาความเลวประพฤติช่ัวก็จะถูก ลงโทษในรูปแบบต่างๆ เช่น การจองจา หรืออาจถูกตัดจากสังคม ไม่มีใครคบหาสมาคมด้วย ทาให้เกิด ความทุกข์ทรมานทั้งกายและใจ ความคิดความเชื่อในลักษณะนี้เป็นส่วนหน่ึงที่ทาให้สังคมมีระเบียบ มี ความสงบสขุ ความสาคัญ ในสมัยโบราณ ชนชาติกรีกเป็นกลุ่มหน่ึงท่ีมีเรื่องราวเล่าขานมากมายที่มีการถ่ายทอดสืบต่อมา ยงั คนรุ่นหลัง เป็นเรื่องราวทมี่ อี ิทธิพลต่อความคดิ ความเชื่อ การดาเนินชวี ติ ประจาวัน และเข้ามาเป็นสว่ น หนงึ่ ของภาษาและวฒั นธรรมของชาวตะวันตก ซ่งึ พอจะสรุปเป็นประเด็นๆ ได้ดงั นี้ 1. ดา้ นศิลปะ เร่ืองราวสมัยโบราณเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างผลงานศิลปะแขนงต่างๆ ของ ศิลปินใน ยุคหลงั มากมาย ศิลปินหลายคนได้รับแรงบันดาลใจจากเรื่องราวในเทวตานาน และ ได้สรา้ งจิตรกรรมที่ งดงามมากมาย ผลงานที่สาคัญและมีช่อื เสยี ง ได้แก่ 1.1ผลงานของเลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo Da Vinci: 1452-1519) จิตรกรชาวอิ ตาเลียน เป็นภาพอาหารม้ือสุดท้าย (The Last Supper) และภาพ Baptism of Christ 1.2 ผลงานของไมเคิลแอนเจโล (Michelangelo:1475-1564) จิตรกรชาวอิตาเลียน เป็นวาดภาพกาเนดิ โลกและมนษุ ย์ตามเรื่องราวในพระคัมภีร์ ฉบับภาคพนั ธสัญญาเดมิ (The Origin) บนเพดานโบสถ์ the Sistine Chapel 1.3 ผลงานของราฟาเอล (Raphael: 1483-1570) จติ รกร ชาวอติ าเลียน คือ ภาพพระ ครสิ ตถ์ กู ตรงึ ไมก้ างเขน (The Moved Crucifixion) ภาพพระศพทถ่ี กู นาลงมาจากไม้ กางเขน(Deposition of Christ) 1.4 ผลงานของรูเบนส์ (Rubens: 1577-1640) จิตรกรชาวดัตช์ คือ ภาพอดัมกับอีฟถูก ขับจากสวนสวรรค์ (The Fal of Man) 1.5 ผลงานของทิเทียน (Titian: 1485-1576) จิตรกรชาวอิตาเลียน เป็นภาพออร์ฟิอุส กับยูรดิ ิช (Orpheus and Eurydice) 1.6 ผลงานของเรมแบรนดท์ (Rembrandt 1606-1669) เป็น ภาพการลักพานางยูโร ปา (The abduction of Europa)

5 1.7 ส่วนผลงานของเทอร์เนอร์ (Turner: 1775-1851) จิตรกรชาวอังกฤษ เป็นภาพ อาณ าจักรคาร์เธจของร าชินี ดิโด ( Dido's Building Carthagel The Rise of Carthaginian Empire) แ ล ะภาพ ก ารล่มสล ายของอาณ าจักร คาร์เธจ ( The Decline of the Carthaginian Empire) Source: https://i.pinimg.com/736x/ec/e5/a9/ece5a917c384bbdd35f857deee2eb7b0.jpg Last Supper https://www.pinterest.com/pin/9288742971032722/ Orpheus and Eurydice 2. ด้านวรรณกรรม นักเขียนรุน่ หลังหลายคนไดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากเรอื่ งราวในตานานและนามาสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ของตน บางคนอาจนามาเขยี นใหม่ โดยยงั คงรกั ษาเนอื้ หาและเหตุการณ์ตา่ งๆ เชน่ เดมิ เพยี งแตอ่ าจมี การตคี วามหรือสอดแทรกความคิดทีต่ ่างไปจากเดมิ บา้ งเชน่ • บทกลอน Paradise Lost ของจอห์น มลิ ตัน (John Milton: 1608-1674) กวี อังกฤษสมัยศตวรรษที่ 17 กล่าวถึงการตกต่าของมนุษยท์ ี่มสี าเหตุมาจากการพา่ ยแพ้ ต่อการลอ่ ลวงของ ซาตาน และทาใหอ้ ดัมกบั อีฟถกู ขบั จากสรวงสวรรคอ์ เี ดน • บทกลอน Ulysses ของเทนนสี ัน(Tennyson: 1809-1892) กวคี นสาคญั ของอังกฤษ กลา่ วถึงโอดสิ ซูสในวยั ชรา • วรรณกรรมบางเรอื่ งก็นาเอาแก่นเรอื่ งสาคัญมาใช้ แตส่ ร้างเรื่องราวและตัวละครขึน้ มา ใหม่ เช่น นิยายสืบสวนของ อกาธา คริสตี (Agatha Christie: 1890-1976) ไดร้ ับ แรงบันดาลใจจากภารกจิ สิบสอง ประการของเฮราคลิส นยิ ายเร่ือง The Centaur ของ

6 จอห์น อพั ไดค์ (John Updike: 1932-2009) นาเอาเรอ่ื งความทุกข์ทรมานของไค รอนมาเป็นแก่นของเรือ่ ง 3. ด้านภาษา เรื่องราวมากมายในสมัยโบราณ ได้กลายเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิต และกลายมาเป็น ส่วน หนึง่ ของภาษาทีใ่ ชใ้ นชีวิตประจาวนั มศี พั ท์สานวนที่มาจากเทวตานานมากมาย เชน่ • เม่ือต้องการกล่าวถึงความงดงามของผู้หญิง ก็มักจะกล่าวว่า “fair as Aphrodite / fair as Helen of Troy” โดยนามาเปรียบเปรยกับเทพีอโฟรไดเท หรือนางเฮเลน แหง่ ทรอย ทไ่ี ดร้ ับยกย่องว่าเปน็ สตรที ี่งดงาม • หากต้องการจะบอกว่างานที่ได้รับมอบหมายมามีความยากลาบากมาก ก็จะกล่าวว่า “Herculean task” โดยอ้างอิงถึงภารกิจสิบสองประการของเฮราคลิสท่ีมีปัญหา อปุ สรรคมากมาย • หากจะกล่าวถึงการผลักภาระความไม่รับผิดชอบในสิ่งที่เกิด ก็จะกล่าวว่า “Am I my brother?” โดยอ้างอิงถึงคาพูดของเคน เมื่อพระผู้เป็นเจ้ามาถามหาเอเบลที่เป็น นอ้ งชายของตน ศัพท์สานวนเหล่าน้ีมีผู้นาไปใช้ในงานเขียนหลากหลาย เช่น บทความ สุนทรพจน์ วรรณกรรม ประเภท ตา่ งๆ 4. ในด้านวิทยาศาสตร์ เมื่อมีการค้นพบแร่ธาตุ พืช และสัตว์ชนิดใหม่ นักวิทยาศาสตร์หลายคนจะนาเอาช่ือในเทว ตานานมาใช้ต้ังชื่อสิ่งค้นพบใหม่ๆ อีกด้วย ทางด้านดาราศาสตร์ ชื่อดาวฤกษ์ดาวเคราะห์ต่างๆ ก็มีที่มา จากชื่อเทพเทวีเกือบทั้งน้ัน เช่น Mercury, Mars, Venus, Saturn, Jupiter เป็นต้น ด้านโครงการ อวกาศของสหรัฐอเมริกาก็นาชื่อเทพมาตั้งเป็นช่ือของโครงการ ยานอวกาศ และจรวด เช่น Gemini, Apollo, Mercury, Saturn เปน็ ต้น

7 5. ดา้ นการศกึ ษา เรื่องราวในเทวตานานเป็นเรื่องที่ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน นอกจากน้ียังอานวย ประโยชน์ด้านการศึกษาด้วย การอ่านเรื่องราวในตานานต่างๆ ทาให้เราได้เรียนรู้อารยธรร ม ประวัติศาสตร์ ความคิดจินตนาการ ศาสนา ปรัชญา สังคมและวิทยาการความรู้ในหลายแขนงของคน สมัยก่อน ทาให้เข้าใจวิวัฒนาการ ของสังคมยุคโบราณ สาเหตุของความเจริญและความเสื่อม นอกเหนือ ไปกว่านนั้ ความรู้เหลา่ นั้นยังนาไปสู่ความเขา้ ใจ และทาใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกชืน่ ชมงานศิลปะแขนงตา่ งๆ ท้ัง ในอดีตและปัจจุบัน เช่น วรรณกรรม ปฏิมากรรม จิตรกรรม การได้เห็นวิหารขนาดใหญ่โตสง่างาม รูป แกะสลักเทพเทวีท่ีงดงาม รูปป้ันวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ ทาให้เข้าใจสาเหตุและแรงบันดาลใจที่ทาให้ศิลปิน เหล่านัน้ สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานที่ย่ิงใหญ่ขนาดนั้นขึน้ มาได้ โฮเมอร์ (Homer) โฮเมอร์ (กรีกโบราณ: Ὅμηρος Hómēros โฮแมโรส; อังกฤษ: Homer) เปน็ นักแต่งกลอนใน ตานานชาวกรีก ซึง่ เช่ือกันว่าเปนผู้แต่งมหากาพยเ์ รือ่ ง อีเลียด และ โอดิสซีย์ ชาวกรีกโบราณเชือ่ กันว่าโฮ เมอร์เป็นนักประวัติศาสตร์ แต่นักวิชาการในปัจจุบันกลับมองโฮเมอร์ด้วยความรู้สึกสงสัย เพราะเป็น ข้อมูลชีวประวัติที่สืบต่อกันมายาวนานมาก [1] อีกทั้งตัวกาพย์เอง ก็ถูกเล่าแบบปากต่อปากมานานนับ ศตวรรษ และถูกแก้ไขใหม่จนกลายมาเป็นกวี มาติน เวสต์ เช่ือว่า \"โฮเม อร์\" ไม่ใช่นามของกวีใน ประวัตศิ าสตร์ แต่เป็นเพยี งชอื่ ทถ่ี กู สรา้ งข้นึ มา[2] ชว่ งเวลาท่โี ฮเมอร์มีชวี ิตนัน้ เองกย็ งั เปน็ ที่ถกเถียงกันอยู่มาแตโ่ บราณและจนถึงทุกวนั นี้ โดยเฮโร โดตุสอ้างว่าโฮเมอร์เกิดก่อนเขาประมาณ 400 ปี ซ่ึงน่าจะเป็นช่วงประมาณ 850 ปีก่อนคริสตกาล [3] แต่ทว่าแหล่งอ้างอิงโบราณอ่ืน ๆ กลับให้ข้อมูลท่ีซ่ึงใกล้เคียงกับเวลาท่ีน่าจะเกิดสงครามเมืองทรอย มากกว่า [4] ซึ่งช่วงเวลาท่ีอาจจะเกิดสงครามเมืองทรอยนั้น เอราทอสเทนีส กลา่ วว่าเกดิ ในชว่ ง 1194– 1184 ปกี อ่ นครสิ ตกาล

8 มหากาพยอ์ เี ลยี ด และโอดสิ ซยี ์ - Iliad and Odyssey (Chapter I) เป็นมหากาพย์กรีกโบราณ โดยมีเนื้อเร่ืองเก่ียวกับการต่อสู้ระหว่างชาวกรีก และทรอย ซ่ึงถูก แทรกแซงโดยเหล่าเทพเจ้ากรีก เช่น Zeus Athena Apollo และ Posidon เป็นต้น ซ่ึงเทพเจ้าแต่ละ องค์มีความโปรดปรานและกลวิธีในการช่วยเหลือนักรบแต่ละฝั่งแตกต่างไป การสู้รบระหว่างเมืองท้ัง สองมีระยะเวลานานถึง 10 ปี เพียงเหตุเพราะอิสตรีนางนึงนามว่าเฮเลน เฮเลนเป็นหญิงสาวโฉมงามซ่ึง ในคราวแรกเป็นชายาของกษัตริย์แห่งนครกรีก ภายหลังได้ถูกชิงตัวไปยังเมืองทรอยโดยเจ้าชายปารีส จึงทาให้เกิดสงครามระหว่างทง้ั สองเมืองขน้ึ และเป็นทีม่ าของภาพยนตรเ์ ร่ือง Helen of Troy ในตอนสุดท้ายของสงคราม ชาวกรีกได้ใช้กลอุบายม้าไม้ขนาดใหญ่ท่ีสร้างจากเรือของกองทัพ เพื่อหลอกชาวทรอยว่าตนได้ยอมแพแ้ ล้วและใหล้ ากมา้ ไมด้ งั กล่าวกลับเข้าเมืองทรอยเพื่อเปน็ สัญลักษณ์ แห่งชัยชนะ หลงั จากงานเลย้ี งฉลองชัยชนะของชาวทรอยจบลง ทหารกรีกที่ซ่อนอยใู่ นเม้าไม้ก็ได้ออกมา สังหารและจุดไฟเผาทาลายเมืองจนกรีกได้รับชัยชนะ กลอุบายม้าไม้ดังกล่าวได้ถูกเรียกว่า Trojan Horse หรอื Trojan War ปัจจุบันมหากาพย์อีเลียดได้รับการยอมรับว่าเป็นวรรณกรรมท่ีสาคัญและทรงอิทธิพลต่อ วรรณกรรมในสมัยต่อมาเป็นอย่างมาก ถ้าเปรียบเทียบกับฝ่ังเราอาจเทียบได้กับรามายณะ หรือ รามเกียรต์ิ ท้ังนี้มหากาพย์ได้ถูกตีพิมพ์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ข้ึนหลายภาษา รวมถึงไทยและ องั กฤษด้วย มหากาพยอ์ เี ลยี ด และโอดสิ ซยี ์ - Iliad and Odyssey (Chapter II) ในส่วนของมหากาพย์โอดสิ ซยี ์ จะเปน็ ภาคตอ่ ของอเี ลียดโดยเลา่ ถงึ เหตุการณห์ ลงั จากทก่ี รกี ไดร้ บั ชัยชนะจากสงครามและกาลังร่องเรือกลับนครของตน แต่กลับประสบกับคล่ืนลมพายุและน้าวน ทาให้ กองเรือของกรีกกระจัดกระจายไปยังสถานที่และพบเจอกับเหตุการณ์พิศวงต่างๆ ผู้ท่ีรอดชีวิตก็ใช้เวลา หลายปีกว่าจะเดินทางกลับสู่นครกรีกได้ โดยท้ังหมดนั้นเป็นผลมาจากความพิโรธของเหล่าเทพเจ้า เนื่องจากชาวกรีกได้สังหารชาวทรอย และเผาทาลายเมืองทรอยจนหมดส้ิน รวมถึงรูปป้ันบูชาเทพเจ้า ต่างๆ ด้วย ตัวละครหลักในส่วนของโอดิสซีย์คือบุรุษนามว่า โอดิสซีอุส (Odysseus) หรือในภาษาละตินจะ เรียกว่า ยูลิซสิ (Ulyses) เป็นขุนพลชาวกรีกท่ีมีบทบาทสาคัญในการสู้รบกับทรอย ภายหลังประสบพายุ และน้าวน เรือของโอดิสซีอุสได้แล่นผ่านเกาะและเผชิญกับอุปสรรคมากมาย เช่น เกาะของเผ่า Lotus Eater ลกู เรือหลายคนสตเิ ลอะเลือนเนือ่ งจากทานเกษรบัวบนเกาะเขา้ ไป เกาะของยักษไ์ ซคลอ็ ป เกาะของ นางเงอื กไซเรนท่ีมีเสยี งอันไพเราะชกั ชวนใหล้ กู เรอื กระโดดลงน้าไปหา และเกาะของคาลิปโซ่ การผจญภัย ของโอดสิ ซีอุสใชเ้ วลานานถึง 10 ปี จนสดุ ท้ายได้รบั การช่วยเหลอื และกลบั ไปถงึ เมืองของตน เรื่องราวของโอดิสซีอุสถูกถ่ายทอดออกมาท้ังมุมมองในเร่ืองของความเช่ือ คนรัก การต่อสู้ และ การใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหาต่างๆ ปัจจุบันมีการนาเรื่องราวเหล่าน้ีไปดัดแปลงเป็นภาพยนต์ด้วย เช่นกนั

9 แหลง่ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั เรอ่ื งราวเทวตานาน เนื่องจากเรื่องราวต่างๆ เป็นเรอื่ งทีเ่ กิดขึน้ มานานแลว้ หลายเรื่องเกดิ ขน้ึ ตัง้ แต่กอ่ นคริสตกาล เม่ือคนรนุ่ หลงั ตอ้ งการหาความรู้เก่ียวกบั เรื่องราวเหลา่ น้ัน จงึ ต้องศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมจากข้อมูลเอกสาร หลกั ฐานต่างๆ ทีย่ ังมกี ารเกบ็ รกั ษามาจนถงึ ยุคปัจจุบนั สาหรับแหล่งข้อมลู ในการศึกษา มดี งั น้ี 1. การศึกษาวรรณกรรมสมัยเกา่ เปน็ วธิ หี น่ึงที่ทาให้รับทราบเรอ่ื งราวของยคุ สมยั น้ันๆ สาหรบั เรื่องราว เกีย่ วกับกรกี ไดม้ าจากนักเขยี นกรีกสมยั โบราณ ได้แก่ • มหากาพยเ์ รื่อง The Lliad and The Odyssey ของโฮเมอร์ (Homer) เลา่ เร่อื งการ ทาสงครามระหวา่ งฝา่ ยกรกี กบั ฝ่ายโทรจัน ท่ีใชเ้ วลายาวนานถงึ สิบปี ต่อดว้ ยการเดินทางกลับ บ้านของโอดิสซสู ทใ่ี ชเ้ วลาอกี สิบปี • บทกลอนเรื่อง Theogony ของฮีเสียด (Hesiod) กล่าวถึงกาเนดิ โลกและทวยเทพ และ อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเทพทง้ั หลาย นอกจากนกี้ ย็ งั มบี ทละครโศกนาฏกรรมอกี หลายเรื่อง ทสี่ ะทอ้ นตานานเรือ่ งราวต่างๆ ของกรีกโบราณ • แอสคิลสั (Aeschylus) เขียนบทละครเปน็ ชุด สามเรอื่ ง คอื Prometheus Bound, Prometheus Unbound, และ Prometheus the Fire-Bringer เป็นเรื่องราวของ โพรมธิ อิ สุ ทถี่ ูกจองจาจากการนาไฟมาให้มนษุ ย์ การลงโทษ และ ไดร้ บั การปลดปลอ่ ย ในทีส่ ุด • ซอโฟคลสิ (Sophocles) เขยี นเร่ือง Oedipus the King เล่าเรอื่ งราวของเอดิปสั สะทอ้ นความเชื่อในเรอ่ื งชะตากรรม • ยูริพดิ สิ (Euripedes) เขยี นเรอ่ื ง Medea เปน็ เรื่องของความรักท่ีแปรเปลี่ยน นาไปสู่ การล้างแค้น อกี เร่ืองคือ The TrojanWomen แสดงถงึ ความโหดรา้ ยของสงคราม ความทุกขท์ รมาน และการแกแ้ คน้ 2. การศึกษางานสถาปัตยกรรม ปฏิมากรรมและจิตรกรรม เช่น วิหารที่สร้างถวายเทพเทวี รูปสลักจากทอง งาช้างสัมฤทธิ์ หินอ่อน ดินเหนียว เหรียญตรา และหินมีค่า รูปวาดบนฝาผนัง บนถ้วย จาน ชาม และแจกนั รปู แกะสลกั ของเทพเทวแี ละวรี บรุ ุษ เช่น เทพอพอลโล เป็นตวั อย่างสรีระที่สมบรู ณ์ งดงามของบุรุษเพศ รูปเทวีอโฟรไตเทแสดงความงดงามอ่อนช้อยของอิสตรี รูปวีรบุรุษเฮราคลสิ แสดง ความแขง็ แกร่งทรงพลัง วหิ ารพาเธนอนท่ีมีโครงสร้างสง่างามใหญ่โต เป็นต้น ความสมบูรณ์แบบ ความ งดงาม ความวิจิตรบรรจงของงานศลิ ป์เหล่านั้นสะท้อนถงึ ความเล่ือมใสศรัทธาอย่างแรงกลา้ ในเรอ่ื งราว เหลา่ นน้ั ของศิลปนิ ทั้งหลาย จนเปน็ แรงบันดาลใจให้ทุ่มเทแรงกายแรงใจสร้างสรรคผ์ ลงานท่ียอดเย่ียม ให้คนรุน่ หลังได้ชนื่ ชม และได้เรียนรู้เรอ่ื งราวในอดตี ไปพร้อมๆ กนั

10 สรปุ เร่ืองราวของเทวตานานในเอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี มสี ่วนทาให้คนรุ่นหลังเข้าใจความคิด ความเช่อื ของคนสมัยโบราณ ท่ีตกทอดมาสชู่ นรนุ่ ต่อมา กลายเป็นความงอกงามด้านศิลปะ ด้านภาษาและ ด้านวัฒนธรรม แม้ในสมัยหลังที่มีความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาการแขนงต่างๆ มากมายบทบาทของ เทพตานานอาจลดลงไป แต่เรอื่ งราวต่างๆ ยังคงทาให้ผู้อ่านได้รบั ความสนุกสนานเพลิดเพลิน สามารถ นามาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน และให้แรงบันดาลใจแก่ศลิ ปินในการผลิตงานศิลปะอย่เู สมอมา ไมว่ ่า จะเป็นผลงานดา้ นวรรณกรรม จิตรกรรม ปฏมิ ากรรม หรอื สถาปัตยกรรม นอกจากน้ียงั ใชเ้ ป็แหล่งข้อมูล ในการศกึ ษาอารยธรรม ประวตั ศิ าสตร์ ศาสนา ศิลปกรรม ววิ ฒั นาการของมนุษย์อกี ด้วย วหิ ารพารเ์ ธนอน ( Parthenon ) ในกรุงเอเธนส์ สรา้ งขนึ้ ตามแบบสถาปตั ยกรรมดอรกิ https://www.pinterest.com/pin/472033604664799900/ Ancient Greek God and Goddess https://www.pinterest.com/pin/15762667436259699/

11 คาถามท้ายบทเรยี น บทท่ี 1 Directions: Please chooses your best answer. (10 points) 1. What language does the root word 'myth' come from? A. Latin B. Greek C. Roman D. French 2. Which sentence is not correct? A. In English, mythology means the study of myth or traditional story, legend, or parables. B. Myth refers to traditional stories explaining the original of nature creations. C. Myth means idea or story that many people believe and always true. D. Myth refers to an unknow stories that passed down to generation verbally. 3. Mythology helped shape the ancient world explaining _________________________. A. the unexplainable phenomenon B. the psychology C. the knowledge of sociology D. the love and war 4. Which of the following is NOT a work inspired by myth? A. Painting B. Literature C. Architecture D. Industry 5. Scientists often use names from myths to name these things, except? A. The rockets B. Innovations C. Plants and animal D. Stars and universes 6. We can learn many things from myths, except? A. History B. Arts concept C. Future world D. Social evaluation

12 7. What legendary poem was about the Trojan War? A. The Odyssey B. The Iliad C. Homeric Hymns D. Jason and the Argonauts 8. Which sentence is not true? A. In ancient time, the Greek people were a group with many stories passes on to the next generation. B. Greek myth influences throughs, beliefs, actions in life, culture and language of the western people. C. Among the best know art works inspired by mythological stories is the paining of the last meal (Last Supper) D. When new minerals are discovered, scientist use the name in mythology to name then such as Mercury, Mars, Venus, Jupiter, etc. 9. When facing a difficult task, what mythological idiom it would be said? A. Fair as Helen of Troy B. Herculean task C. Beware of Greek Gift D. The Pandora's Box 10. Which one of the following is not the literature work inspired by mythological stories? A. The Paradise Lost by John Milton. B. Tennyson's Ulysses Poem C. The detective novel by Agatha Christie D. The Birth of Venus by Sandro Botticelli

13 Lesson Plan Unit 2 Greek Mythology Content 1. Introduction 2. Olympus Gods and Goddesses 3. Human creation 4. Heroic 5. The legend of Troy 6. The importance topics of Greek mythology Objectives At the end of this unit, student will be able to 1. understand Greek mythology concept 2. understand the role and important of Olympus Greek’s Gods and Goddesses. 3. understand the human creation of Greek’s concept 4. know about the importance Greek’s heroes, their way of life and legendary. 5. understand the initial cause of the war of Troy and its consequence. 6. Know the importance of topics of Greek mythology. Instructional Procedures and Activities 1. Study the material and follow the course instruction. 2. Listening the lecture 3. Discussion 4. End of unit exercise Instructional Materials 1. Class material 2. Power Point Presentation 3. Worksheet

14 บทที่ 2 เทวตานานของกรีก เทวตานานของกรีกถือว่าบทบาทสาคัญที่สุดสาหรับชาวตะวันตก กรีกมีประวัติศาตร์ความ เป็นมายาวนาน และเป็นแหล่งอารยธรรมสมัยโบราณที่แผ่ขยายอิทธิพลความคิดความเช่ือครอบคลุม เกือบจะทุกภูมิภาคของทวีปยุโรป เป็นกลุ่มชนท่ีมีความเจริญ ทั้งด้านปรัชญา ประวัติศาสตร์ คณิตศาสตร์ รวมท้ังความคิดความเช่ือเรื่องเทพเทวี วีรบุรุษ สัตว์ประหลาดต่างๆ ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจ ให้มีการสร้างสรรค์งานศิลปะแขนงต่างๆ อีกมากมาย ทั้งด้านวรรณกรรมประติมากรรม จิตรกรรม สถาปัตยกรรม ตั้งแตอ่ ดตี จวบจนปจั จุบัน ในบทน้ีนักศึกษาจะได้เรียนร้เู รื่องราวเกี่ยวกับเทวตานานและ ตานานต่างๆ ของกรีก เพื่อให้ความรู้พ้ืนฐานท่ีจะนาไปสู่ความเข้าใจผลงานในด้านต่าง ๆ ในงานท่ีเรา พบเห็นในยุคปัจจบุ นั ได้ กาเนดิ สรรพสงิ่ การแกง่ แยง่ อานาจ กรีกโบราณมีความคิดความเชื่อคล้ายคลึงกับชนชาติอ่ืนๆในเร่ืองของการกาเนิดสรรพส่ิง ผู้มี ความรู้ นักปราชญ์หาคาตอบให้กับคาถามถึงธรรมชาติที่เกิดข้ึนรอบตัว โดยเช่ือมโยงแนวความคิดของ การมีตัวตนของเทพเจ้า และเช่ือสิ่งท่ีเกิดข้ึนเหล่าน้ันเกิดจากพลังธรรมชาติบางอย่างที่คอยดูแลควบคุม อยู่ ทาให้เกิดจินตนาการความคิดนามาสกู่ ารพิจารณาหาคาตอบถงึ ที่มาของเหตุเหล่านั้น ซง่ึ ในช่วงเวลา น้ันยังไม่มีแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์มาไขคาตอบให้ชาวกรีโบราณ จึงเกิดคาถามประเภท “ทาไม” ค่อนข้างมาก เช่น ทาไมฟ้าร้อง ทาไมฟ้าแลบ ทาไมฟ้าผ่า ทาไมฝนตก ทาไมน้าท่วม ทาไมพระอาทิตย์ ขึ้น ทาไมพระอาทิตย์ตก ทาไมฤดูกาลเปล่ียน สายรุ้งเกิดจากไหน หรือแม่แต่คาถามเกี่ยวกับชีวิตของ มนุษย์ โชคซะตาและชีวิตหลังความตาย ซึ่งปรากฏการณ์ของธรรมชาติเหล่านี้อยู่นอกเหนือการควบคุม ของมนุษย์ สามารถให้คุณให้โทษแก่มนุษย์ได้ อาจทาให้พวกกรีกโบราณเชื่อว่าส่ิงเหล่าน้ีล้วนเกิด และควมคุมโดยเทพเจ้าท้งั สิน้ ตามตานานของกรีกการสร้างจักรวาลก็เกิดขึ้น ณ จุดเร่ิมต้นของจักวาลท่ีเรียกว่า เคออส (Chaos) เป็นจุดเร่ิมต้น ในบางครั้งอาจใช้อ้างอิงถึงในฐานะเทพเคออส (Chaos) ถือเป็นเทพเก่าแก่ ท่ีสุดองค์หน่ึง เป็นตน้ ตอนกาเนิดของพวกทวยเทพกรีกรุ่นแรก เคออส เป็นสิ่งที่วุ่นวาย สับสน อลหม่าน เพราะมนั ยงั ไม่มีรูปรา่ ง ไมม่ ีชวี ิตหรือรูปแบบใดๆ ต่อมาภาษาองั กฤษเลยเอามาใช้แปลว่า ความยุ่งเหยิง หรอื ความวนุ่ วายนัน่ เอง เทพเคออส (Chaos) มีชายานิกช (Night-Nyx หรือ Nox) หรือ เทวีแห่งราตรี มีบุตร คือ เอรี บสั (Darkness-Erebus) เทพแห่งความมืด บางตานานกล่าววา่ แมพ่ ระธรณจี ีอา เปน็ สิ่งมชี ีวติ เริม่ แรก ที่มีกาเนิดจากเทพเคออส และเป็นเทวีผู้ให้กาเนิดนิกซ์ เทวีแห่งราตรี กับเอรีบัส เทพแห่งความมืดอีก หลังจากน้ันก็ได้กาเนิดแสงสว่างและกลางวัน (Light and Day) ส่วนกลางคืนที่มืดมิดเป็นผู้ให้กาเนิด

15 ความตาย การนอนหลับ ความฝัน และโชคชะตา (Death, Sleep, Dreams and Fates) หลังจากโลกมี ความเป็นระเบียบเรียบร้อยแล้ว ก็มาถึงกาเนิดของแม่พระธรณีจีอา ( Gaea -Earth) และท้องฟ้า (Uranus - Sky or Heaven) ถือเป็นเทพท่ีย่ิงใหญ่ที่สุดในยุคเริ่มต้นนี้ ทวยเทพรุ่นน้ีถือเป็นต้นกาเนิด ของตานานแหง่ ทวยเทพกรีก และบรรพบรุ ุษของเหลา่ เทพเจา้ ในร่นุ ตอ่ ๆ มา เร่มิ แรกน้นั ชาวกรีกให้ความเคารพนบั ถือแม่พระธรณี Gaea (Mother Earth) เทวีแหง่ ความ อุดมสมบูรณ์ (the goddess of fertility) ด้วยถือว่าเป็นผู้อานวยให้เกิดพืชผลท่ีจาเป็นสาหรับหล่อ เล้ียงชีวติ มนุษย์ มีการคน้ พบรูปปั้นขององคเ์ ทวีท่ีทาด้วยดินเหนียว เป็นรูปสตรีเพศ เปลือยกาย หน้าอก สมบูรณ์ ชว่ งทอ้ งใหญ่ผิดสดั ส่วน แต่แสดงนยั ถึงความอุดมสมบรู ณ์ Photo source: https://images.app.goo.gl/MUkGEXKfdhudnRL88 เทพบดีรุ่นท่ี 1 พระแม่ธรณีจีอากับเทพยูเรนัส ถือว่าเป็นเทพรุ่นแรกของกรีก ทั้งคู่ได้ให้กาเนิดบุตรธิดาซึ่ง แบ่งเปน็ 5 กล่มุ อันได้แก่ 1. กลุ่มอสูรร้อยมือ (the Hundred-handed Ones) เป็นสัตว์ประหลาด มีรูปร่างใหญ่โต แขง็ แรง มรี ้อยมือ หา้ สบิ หัว พอเทพยูเรนัสมองเหน็ ก็รังเกียจจงึ สง่ ไปคมุ ขังไวใ้ ต้ดนิ 2. กลุ่มไซคลอปส์ (Cyclopes) ก็มีขนาดใหญ่โตเช่นเดียวกัน มีดวงตาเพียงข้างเดียวอยู่กลาง หน้าผาก กลมุ่ น้ไี ดร้ ับอนญุ าตให้อยู่อย่างอิสระบนพ้นื โลก มักจะถอื คอ้ นใหญ่ มีพลังแหง่ สายฟา้ และมฝี ีมือ ดา้ นการช่างเหลก็ 3. กลุ่มไททัน (Titans) มีเทพและเทวีทั้งหมดสิบสององค์ แต่ละองค์มีกายใหญ่มหึมา มี พละกาลังมาก แต่ไม่ได้มีรูปลักษณ์แปลกประหลาด กลุ่มไททันน้ี เป็นเทพบุตร 6 องค์ ได้แก่ โคอัส (Coeus) ไฮเพอเรียน (Hyperion) ไออาพิทัส (Iapetus), คริอัส (Krios) โครนัส (Cronus) และโอ เชียนัส (Oceanus) และเทพธิดา 6 องค์ ดังนี้ เนโมซินี (Mnemosyne) ฟีบี (Phoebe) รีอา (Rhea), เธยี (Theia), เธมสิ (Themis) และเทธสิ (Tethys) ท้งั หมดนี้ก็ใชช้ วี ติ อยู่บนพนื้ โลกเช่นกัน

16 Photo source : https://images.app.goo.gl/K4yDs4fS62x5NSVY8 4. กลุ่มอสรู (Giants) เนือ่ งจากเทวจี ีอาโกรธทเ่ี ทพยูเรนัสลงโทษให้ทายาทกลุม่ แรกลงไปอยู่ ใตด้ ิน ด้วยความรงั เกยี จรูปลักษณน์ ่ารงั เกียจ จงึ โน้มน้าวใหก้ ลุ่มไททนั ก่อการกบฏล้มอานาจ และจับเทพ ยูเรนัสตอนเสีย โลหิตของเทพยูเรนัสท่ีตกลงบนพ้ืนดินทาให้เกิดทายาทอีกสองกลุ่ม กลุ่มอสูร (Giants) ทต่ี ่อมา จะเปน็ ศัตรูกบั เทพเทวีรุ่นหลัง 5. กล่มุ เอรินเิ อซ (the Erinyes) หรอื เทวีแห่งการล้างแคน้ เทพบดรี นุ่ ท่ี 2 หลังจากล้มล้างบัลลังก์ของเทพยูเรนัสได้แล้ว เทพไททันโครนัส (Cronos)ได้ข้ึนปกครองเป็น ผนู้ าเทพบดีรุ่นที่สอง และเลือกเทวไี ททันรีอา (Rhea) เป็นคู่ครอง และมอบหมายตาแหน่งงานให้กับพี่ น้องกลุ่มไททัน อาทิ เช่น เทพไททันโอเซียนัส (Oceanus) และเทพธิดาไททันธีทิส (Thetis) ให้ ปกครองมหาสมุทรและแม่น้า เทพไททันไฮเปอร์เรียน (Hyperion) ครองวิถีโครจรของตะวันตก เทพธิดาไททันฟีบี (Phoebe) ครองวิถีโครจรของจันทรา เทพธิดาไททันเมโนซีมี (Mnemosyne) เป็นเทพแห่งความทรงจา และ เทพธดิ าไททันเธมสิ (Themis) เปน็ เทพแห่งความยตุ ิธรรม เปน็ ต้น ต่อมาในกล่มุ ไททนั นั้นไดจ้ บั คสู่ มรสกันระหวา่ งพี่นอ้ งและมที ายาทรุ่นตอ่ มา ดงั ต่อไปน้ี โอเชียนัส Oceanus สมรสกับ เทธิส(Tethys) ให้กาเนิดแม่น้า (The Rivers) และมหาสมุทร (Oceanids) ไฮเปอร์เรียน (Hyperion) สมรสกับเชีย (Theia) ให้กาเนิดเฮลิออส เทพแห่งดวงอาทิตย์ (Helios, the Sun) กับเซเลเน เทวีแห่งดวงจันทร์ (Selene, the Moon) และอีออส เทพแห่งรุ่งอรุณ (Eos, Dawn) โคอัส (Coeus) สมรสกับฟีบี (Phoebe) ให้กาเนิดเลโต(Leto)และแอสทีเรีย (Asteria) และมี หลานคอื อะพอลโล่ (Apollo) , เอธมี ิส (Artemis) และ แอทิเรีย (Ateria) เครเอียส (Creius) สมรสกับยูริเบีย (Eurybia) ผู้เป็นธิดาของแม่พระธรณีกับพอนดัสและให้ กาเนดิ แอสทราเอิส (Astraeus) พาลาส (Pallas) และเพอรเ์ ซส (Perses)

17 ไออาพิตัส (Iapetus) สมรสกับไคลเมเน (Clymene) ผู้เป็นธิดาของโอเชียนัสกบั เทธิสให้กาเนิด แอตลาส (Atlas) เมโนเทียส (Menoetius) โพรเมธอิ ุส (Prometheus) และเอปีมธี ีอสุ (Epimetheus) เมื่อข้ึนครองบัลลังกโ์ ครนัสกลัวจะสูญเสียอานาจเหมือนดังต้องคาสาบ กลัวประวัติศาสตร์ซา้ รอย เหมือนกับท่ีได้กระทาต่อเทพยูเรนัสผู้เป็นพ่อและสาบแช่งให้โครนัสต้องโดยลูกๆของตัวเองแย่งชิง อานาจในภายหน้าเชน่ กัน ดังน้ัน เมื่อเทวีรอี าต้ังครรภแ์ ละคลอดบุตร เทพโครนัสจะกลืนทายาทท่ีคลอด ออกมาลงท้องทันที รวมท้ังหมด 5 คน เพ่ือป้องกันไม่ให้มีใครมีชีวิตรอดมาทาอันตรายกับตนได้ ได้แก่ เฮสเทีย (Hestia) ดีมีเตอร์ (Demeter) เฮรา (Hera) ฮาเดส (Hades) และโพไซดอน (Poseidon) เมื่อเทวีรอี าต้ังครรภ์คนที่ 6 และรู้ว่าลูกคนนี้คงต้องถูกกลืนกินเช่นบุตรธิดาคนก่อน รีอาจึง แอบหนีไปคลอดที่เกาะครีต และทาอบุ ายเอาก้อนหินห่อผ้ามอบให้เทพบดีโครนัสที่มิได้ระแวงสงสัย พอ โครนัสเห็นห่อผ้าก็ไม่สนใจเปิดดูและกลืนลงท้องทันที ในขณะเดียวกันรีอาได้ต้ังช่ือลูกคนนี้ว่าซูสและ มอบหมายให้นางอัปสรเนเรยี ดส์ (Nereids) เลย้ี งดูทารกน้อยซูส พรอ้ มไดใ้ หส้ าวกของนาง พวกควี เทส (Curetes) เป็นอาจารย์อบรมสั่งสอนซูส เนื่องจากเป็นภารกิจลับ นางอัปสรเนเรียดส์ (Nereids)ได้พา ทารกน้อยซูสไปซ่อนในถา้ บนเกาะเขาไอดา (Ida) และมอบหมายให้นางแอมมัลเทีย (Amalthea) เป็น ผดู้ แู ลตอ่ ซูสถูเล้ียงดดู ้วยนมแพะและเน้ือจากเขาควาย ด้วยความเปน็ ทารก เม่ือร้องไห้แตล่ ะคร้ัง พวกคีว เทส กจ็ ะรอ้ งราทาเพลงกลบเสียงร้องของทารกน้ันเสีย Photo source: https://images.app.goo.gl/rm2ftRDM4pSydCKv6 เม่ือซสู เตบิ ใหญ่ ความลับกถ็ กู เปิดเผย โครนัสทราบเรื่องราวทัง้ หมด จึงคิดหาวิธีจดั การบุตรชาย ซสู ให้เร็วทสี่ ุด แตซ่ สู มปี ฏิพานไหวพรบิ ทาการตอบโต้ และจัดการกับโครนัสได้ โดยใหโ้ ครนสั ดมื่ น้า สารอกทนี่ างเมทสี (Metus) ธดิ าของเทพโอเซยี นัสทามาให้ จนตอ้ งคายเทพผ้พู ่ีๆ ออกมาจนหมดท้งั 5 คนและรวมกอ้ นหนิ ทกี่ ลืนไปดว้ ย พีน่ อ้ งทั้งหมดร่วมกันปลดปล่อย กลมุ่ อสูรร้อยมอื ไซคลอปส์ และ ประกาศทาสงครามกับเทพบดีโครนัส และสูร้ บกนั ในสงครามเหลา่ ไททนั (Battles of the Titans) ฝา่ ยเทพโครนัสมพี ่นี อ้ งไททันเป็นพันธมิตร ต้งั หลกั บนยอดเขาโอธริส(Othrys) ส่วนซสู และพันธมิตรท่ี เปน็ เทพทง้ั รนุ่ อาวุโสและรุ่นเยาว์ ตง้ั หลักบนยอดเขาโอลมิ ปสั (Olympus) ทอ่ี ยใู่ กล้ ๆ กนั กลมุ่ ไซ คลอปสไ์ ด้มอบฟา้ แลบ ฟ้าร้องและสายฟ้าใหก้ บั ซสู มอบสามงา่ มให้กบั โพไซดอน และหมวกแห่งความมืด

18 ใหเ้ ฮดสิ เพื่อเป็นการตอบแทนท่ีชว่ ยปลดปล่อยใหเ้ ป็นอสิ ระ สว่ นกลุ่มอสูรร้อยมอื กช็ ่วยกลงิ้ ก้อนหินใส่ พวกไททนั กล่มุ เทพแหง่ โอลมิ ปสั มีชัยชนะอย่างง่ายดายและรวดเร็ว โครนัสกบั พ่ีน้องถกู ลา่ มโซแ่ ละสง่ ลง ไปอยใู่ นขมุ นรกทาร์ทารสั โดยมีอสรู รอ้ ยมือเปน็ ยามเฝ้าอยู่ เทพบดรี นุ่ ที่ 3 หลังจากสงครามเหล่าไททันส์ (Battles of the Titans) จบสิ้นลงไปด้วยชัยชนะ เทพและ เทวีของกลุ่มพ่ีน้อง ต่างเห็นพ้องให้ซูสได้ขึ้นเป็นเทพบดี ผู้นารุ่นที่ 3 เพราะเป็นผู้มีสติปัญญาฉลาดหลัก แหลม ทง้ั สามารถปลดปล่อย พวกพ่ีจากเทพบดไี ททันโครนัสได้ สว่ นเรื่องการแบ่งดนิ แดนกันปกครอง นั้น นักเขียนกรีกโฮเมอร์ กล่าวว่า มีการจับฉลากกัน ซูสได้สรวงสวรรค์ โพไซดอนได้ห้วงน้า เฮเดสได้ ยมโลก ส่วนโอลิมปัส และโลกมนุษย์ให้เทพท้ังสามดูแลร่วมกัน และได้มอบหมายพ่ีน้องดารงตาแหน่ง เทพเจ้าดูแลสงิ่ ต่างๆในโลก ดงั น้ี โพไซดอน (Poseidon) ทาหน้าที่ เทพเจ้าแหง่ ทอ้ งทะเล ฮาเดส (Hades) ทาหน้าที่ ผู้ปกครองเมืองยมโลก เฮสเทยี (Hestia) ทาหนา้ ที่ เทวีแห่งเตาไฟ ทาหน้าท่ีพิทักษช์ ีวิตมนษุ ยแ์ ละบ้านเรอื น ดมี เี ตอร์ (Demeter) ทาหน้าที่ เทวีแห่งการเกษตรและเพาะปลูก เฮรา (Hera) ทาหน้าที่ เทวแี ห่งการใหก้ าเนดิ ทารก การสมรสและสตรี และซสู เองไดเ้ ลือกนาง เปน็ คคู่ รอง นอกจากน้ียังมกี ลุ่มไททัน (ซ่ึงเป็นลุงป้านา้ อาของซูส) อีกหลายองค์ทมี่ ไิ ด้เข้าร่วมกบั โครนัส และ เม่ือซูสเป็นใหญ่เทพไททันบางองค์ก็ยอมมาอยู่ใต้อานาจของซูส เช่น โพรมิธิอุส โอเชียนัส เทมีส และ ไฮเปอร์เรียน แต่ก็มีกลุ่มไททันบางองค์ เช่น แอตลาส ที่ร่วมทาสงครามต่อสู้กับฝ่ายซูส จึงถูกลงโทษให้ ไปอยู่สุดขอบโลกด้านตะวันตก ซ่ึงเป็นรอยต่อของกลาง คืน และเป็นท่ีซึ่งกลุ่มเฮสริพิเดส (the Hesperides) เฝ้าสวนแอปเปิลทองคา ณ ที่นี้แอตลาสถูกลงโทษให้แบกท้องฟ้าให้อยู่เหนือโลก หรือ บางตานานกลา่ วว่าให้แบกโลกไวบ้ นบ่า Photo sources: https://images.app.goo.gl/B47jp4jjk5QzjKNd6 หลังจากสงครามกับเหล่าไททันส้ินสุดลง แม่พระธรณีจีอาพิโรธท่ีกลุ่มไททันบุตรของนางถูก ลงโทษ (บางตานานกล่าวว่านางมิได้รับความเคารพนับถือจากเทพรุ่นใหม่) จึงเนรมิตรอสูรไทฟอน (Thyphoon) เป็นยังที่มีหัวเป็นมังกร 100 หัว มีไฟลาวาออกจากดวงตา จมูก และปาก ส่งเสียงดัง

19 กัมปนาท ทาให้เหล่าบรรดาทวยเทพตา่ งกลวั และแปลงกายเป็นสตั วแ์ ละหลบนีไปอยู่ท่อี ืน่ เทพเจ้าซสู ได้ ตอ่ สแู้ ละชนะไทฟอนจนสาเร็จ ดว้ ยเหตุน้ี ยิง่ ทาให้แมพ่ ระธรณีจีอายิ่งพิโรธ จงึ เนรมิตและให้กาเนิดกลุ่ม อสูร (The Giants) อีก 6 ตัว ขน้ึ มาซงึ่ กลายร่างออกมาจากไทฟอนนั่นเอง อสรู กล่มุ นม้ี รี ูปรา่ งใหญ่โตนา่ กลัว มีผมและร่างกายท่อนล่างเป็นงู กลุ่มอสูรนี้ได้เข้าโจมตีทวยเทพโอลิมปัส ทาลายป่าเขาด้วยไฟ จน ทาให้ขุนเขาสั่นสะเทือน กลุ่มเทพเทวีโอลิมเปียน จึงต้องทาสงครามต่อสู้กับพวกอสูรอีกครั้งหน่ึง (The Battle of the Giants) ในสงครามครงั้ น้ี เทพบดีซสู ถอื สายฟ้านาการต่อสู้ ตามดว้ ยเทพโพไซดอน เท พอพอลโล เทวีอาร์ทิมิส เทพเฮพเฟตัส เทพไดโอไนซูสและเทพอีกหลายองค์ ผู้นาในการรบอีกคน คือ เทวีอธีนาท่ีถือกาเนิดในช่วงน้ีพอดี สงครามคร้ังนี้คงจะกินเวลายาวนาน เฮราคลิส มนุษย์เพียงคนเดียว เข้ามาร่วมในสงคราม เฮราคลิสได้ช่วยกาจัดฝ่ายอสูรไปท่ีละตนจนหมดสิ้น เจ้าซูสก็ส่ังลงโทษพวกไททัน และอสรู ทั้งหมดไปจองจาจาไวใ้ นส่วนลึกของโลก เม่ือเสรจ็ สิ้นสงครามกบั อสูร สรวงสวรรคไ์ ด้กลบั เขา้ มาสู่ สภาวะปกตแิ ละความสงบอกี ครงั้ รปู ภาพ สงครามต่อสกู้ บั อสูร (The Battle of Giants) Photo source : https://images.app.goo.gl/BBJqmdV5SgecS4P86 กาเนดิ มนษุ ย์ ในตานานกรีกได้กล่าวถึงกาเนิดมนุษย์ไว้สองทางด้วยกัน ตามตานานหนึ่งกล่าวว่า หลังจาก ทวยเทพแห่งสรวงสวรรค์โอลิมปัสข้ึนมาครองอานาจ จึงเริ่มมีมนุษย์เกิดข้ึนมาจากแผ่นดินทวยเทพได้ เห็นความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน และได้แบ่งมนุษย์เป็นสมัยต่างๆ ตาม ลักษณะของโลหะห้าชนิดด้วยกันดงั นี้ ยุคทอง (Golden Age) เป็นยุคแรก มนุษย์ทุกคนมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขเช่นเดียวกับทวยเทพ ปราศจากโรคภยั ไข้เจ็บไมต่ ้องปฏิบัตภิ ารกจิ ใดๆ มีอาหารการกนิ สมบูรณ์ และมีความสมั พนั ธไมตรีท่ีดีกับ ทวยเทพ จนกระทั่งสามารถร่วมโต๊ะอาหารกันได้ แต่ในการเลี้ยงครั้งหน่ึงโพรมิธิอุสได้แบ่งเนื้อวัวเป็น สองส่วน ส่วนหนึ่งเป็นเน้ือไม่ติดมันและเครื่องในซ่อนอยู่ในหนังวัว ซ่ึงดูไม่น่ารับประทาน อีกส่วนเป็น

20 กระดูกมีไขมันหุ้มไว้ โพรมิธิอุสนาส่วนท่ีเป็นกระดูกและไขมันถวายแก่เทพบดี เมื่อเทพบดีได้ทราบใน ภายหลงั ว่า สว่ นท่ีถวายให้มีแต่กระดกู สว่ นท่ีเป็นเน้อื กลับเปน็ ของมนุษย์ จงึ พิโรธ และประกาศว่าต่อแต่ น้ีไป มนุษย์ต้องรู้จักความหิวโหยและยึดไฟคืนมามิให้มนุษย์ใช้ประกอบการหุงต้มท่ีทาให้อาหารดูน่า รับประทานยิ่งข้ึน มนุษย์จึงต้องทางานในทุ่งนา ทาการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิต โพรมีธีอุสรู้สึก ผดิ จึงไปขโมยไฟจากดวงอาทิตย์มาใหม้ นษุ ย์ แต่ในครั้งนไ้ี ฟจะมอดดับได้ หากไม่คอยดแู ลใหด้ ี ในช่วงนี้เป็นช่วงท่ียังไม่มีมนุษย์ผู้หญิง มนุษย์ถือกาเนิดมาจากพ้ืนดินเช่นเดียวกับต้นหญ้า มนุษยย์ ังมคี วามสงบสขุ ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จ็บ และความช่ัวร้าย หลังจากน้ันเทพบดซี ูสมบี ัญชาให้มอบ สตรีเพศเป็นของขวัญให้กับมวลมนุษย์ โดยให้เทพเทวีทั้งหลายช่วยกันประสิทธิประสาทคุณลักษณะ ต่างๆ ให้กับนาง อาทิ เทวีอโฟรไดเทมอบความรักความเย้ายวนท่ีดึงดูดเพศชาย เทวีอธีนามอบวิธี ปฏิบัติดูแลเพศชาย ส่วนเทพเฮอร์เมสมอบเล่ห์กลในการพูดปด สตรีผู้นั้น คือ นางแพนดอรา (Pandora) แต่ในบางตานานกล่าวว่า เทพบดีมอบนางแพนดอรา ให้เป็นของขวัญแก่เอปิมิธิอุส หลังจากประกอบภารกิจสาเร็จ โดยให้เทพเฮพเฟตัสเป็นผู้สร้างรูปหล่อสตรีขึ้นมา และให้ทวยเทพต่าง พากันมอบคณุ สมบัติต่างๆ ให้อีก ดังเชน่ เทวีธีรามอบความกระหายใครร่ ู้ นอกจากน้ันเทพบดียังไดม้ อบ หีบของขวัญให้ และสั่งว่า ถ้าหากต้องการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขร่วมกันตลอดไป ห้ามเปิดหีบใบน้ีออกดู ในท้ายที่สุดนางแพนดอราระงับความกระหายใคร่รู้มิได้ นางจึงเปิดหีบออกดู สิ่งที่หลุดลอยออกมาจาก หีบใบนี้ ก็คือความทุกข์ยาก และโรคภัยไข้เจ็บท้ังหลายท่ีกระจายแพร่ไปท่ัวโลก แต่ส่ิงสุดท้ายที่ให้คุณ คือความหวัง ท่ีทาใหม้ วลมนุษย์ยังยืนหยัดสู้ต่อไป แม้จะเผชิญความยากลาบากเท่าใดก็ตามหลังจากน้ัน บนโลกกม็ ที ัง้ บรุ ษุ และสตรี มีทายาทสบื เช้ือสายกนั ต่อมา แล้วถอื เปน็ จุดสิน้ สุดยคุ ทอง ยุคเงิน (Silver Age) ในยุคน้ีมนุษย์มีสติปัญญาด้อยกว่าในยุคทอง ต้องประสบความเจ็บปวด ความทกุ ข์ยากนานาประการ อันเป็นผลมาจากการกระทาของนางแพนดอรา ในยุคน้ีถอื เป็นยุคแห่งความ ยากลาบาก มนุษย์มีความวิตกกังวลในเรื่องทั่วๆ ไป และทะเลาะกันด้วยเร่ืองเล็กๆ น้อยๆ มีการรบพุ่ง ตอ่ สู้กัน โดยทั่วไปเพิกเฉยไม่เคารพสักการะบูชาทวยเทพตามควร มีการรบราฆ่าฟันกนั อ่อนแอทั้งทาง รา่ งกายและจติ ใจ อายไุ ม่ยืนยาวเท่ากับในยุคทอง ยคุ ทองเหลอื ง (Brass Age) เปน็ ยุคท่เี ตม็ ไปดว้ ยสงครามและความรนุ แรงในรปู แบบตา่ งๆ มนุษย์หันมารบราฆา่ ฟนั กนั ยคุ นถี้ ือเป็นยุคแห่งความโหดร้ายทารุณ (Age of Brutality)มนุษยไ์ มไ่ ด้ ใส่ใจในความเป็นเครอื ญาตหิ รือความเป็นพ่นี อ้ งกัน ซึง่ เป็นสงิ่ ทีน่ าไปส่คู วามหายนะของมวลมนษุ ย์ ยุคสัมฤทธิ์ (Bronze Age) บางตานานเรียกว่า ยุควีรบุรุษ (Heroic Age) เฮสิออด กล่าวว่า เป็นช่วงของสงครามกรงุ ทรอยและสงครามทธ่ี ีบส์ เปน็ ยุคที่มตี านานความย่ิงใหญ่ของวีรบุรษุ คนสาคัญๆ อาทิ เร่ืองโอดิสซูสกับอคิลิสจากสงครามกรุงทรอย เรื่องของเฮราคลิส และการผจญภัยของเจสันกับ ลกู เรืออาร์โกนอต วีรบุรุษเหล่าน้ีเม่ือสิ้นชีวติ ไปแล้วกย็ ังมีคุณสมบัติเดิมครบถ้วน และมีอานาจพิเศษ พูด แทนมนุษย์ได้ อาจมีความสามารถในการพยากรณ์หรือความสามารถพิเศษอื่นๆ นอกจากนี้ยังอาจให้ คุณให้โทษแก่ผ้ยู ังมีชวี ิตอยู่ได้ จึงเกิดธรรมเนยี มการบวงสรวงบูชาแด่วีรบุรษุ สาหรับผู้ได้รับการยกย่อง เป็นวีรบรุ ุษ เมอื่ เสียชวี ิตไปแล้วอาจกลายเป็นเทพ หรอื ก่ึงเทพได้ ดังเช่น เฮราคลิส

21 ยุคเหล็ก (Iron Age) คือช่วงต้ังแต่อารยธรรมกรีกรุ่งเรือง จนถึงยุคปัจจุบัน ยุคนี้เป็นช่วงที่ เส่ือมโทรม และยากไร้ท่ีสุด มีแต่อาชญากรรมและความช่ัวร้าย ความดีงาม ความซื่อสัตย์ ความอ่อน น้อมถ่อมตน และเกียรติยศหมดสิ้นไป มนุษย์เต็มไปด้วยกิเลส มีแต่ความโหดรา้ ยแก่งแย่งชิงดีกัน จนใน ทส่ี ดุ เทพเทวที ้ังหลายไม่อาจทนได้ จงึ กลับข้นึ ไปอยบู่ นสรวงสวรรค์ท้งั หมด ส่วนอีกตานานของกรีกเก่ียวกับกาเนิดมนุษย์กล่าวว่า ในช่วงแรกท่ีมีแต่เหล่าเทพบนสรวง สวรรค์ ปวงเทพคิดว่านา่ จะมีส่ิงมชี วี ิตบนพืน้ โลกด้วย เทพบดซี ูสจงึ มบี ญั ชาให้พีน่ ้องไททันโพรมิธิอสุ กับ เอพิมิธิอุส เป็นผู้สร้างส่ิงมีชีวิตข้ึนมา ให้สมบูรณ์พร้อมด้วยพรสวรรค์และพลังอานาจ เอปิมิธิอุสจึงขอ อนุญาตพ่ีชายให้ตนเป็นผู้มอบพรสวรรค์ให้แก่ส่ิงมีชีวิตประสาทต่างๆ อาทิ ความสวยงาม พละกาลัง ความคล่องแคล่วว่องไว สติปัญญาความฉลาดเฉลียว อาวุธประจาตัว เอปิมิธิอุส ได้แจกจ่ายพรสวรรค์ ใหก้ ับสัตว์ทั้งมวลไปจนหมดสิ้น เมือ่ ถึงมนษุ ย์ส่ิงมีชีวิตประเภทสุดทา้ ย จึงไมม่ อี ะไรเหลือไวเ้ ลย มนษุ ยจ์ ึงมี แต่ร่างกายที่เปล่าเปลือย ไร้เคร่ืองมือปกป้องตนเอง เม่ือเหตุการณ์เป็นเช่นน้ัน โพรมิธิอุสจึงไปขโมย สตปิ ัญญาความฉลาดหลักแหลมจากเทพอธีนาและทาให้มนุษย์รู้จกั ใชเ้ หตุผล แล้วยงั ไปขโมยไฟจากเตา ไฟของเทพเฮพเฟตัสมาให้มนุษย์ได้ใช้ เพ่ือให้ความอบอุ่นและป้องกันอันตรายจากสัตว์ร้าย นอกจากนี้ ยังได้ช่วยสอนวิชาความรู้ต่างๆ ให้อีกด้วย โพรมิธิอุสจึงได้ช่ือว่าเป็น “ผู้ปกป้องมนุษย์” หรือ “บิดาแห่ง มนษุ ยชาต”ิ แตก่ ารช่วยเหลอื มนษุ ย์ครงั้ นท้ี าใหเ้ ทพบดีซูสพโิ รธมาก และได้ลงโทษอย่างแสนสาหัส คอื ให้นา ตัวโพรมิธิอุสไปล่ามโซ่จองจาไว้บนยอดเขาคอเคซัส (Caucasus) สุดปลายขอบโลกในช่วงกลางวันทุก วนั จะมีนกอนิ ทรมี าจิกกนิ ตับ ชว่ งกลางคนื เป็นเวลาพักผ่อนให้ร่างกายได้ซ่อมแซมเยียวยาตนเอง เชา้ วัน ต่อมาเหตุการณ์ก็เกิดขึ้นซ้าเดิม นับเป็นความทรมานที่ไม่มีวันสิ้นสุด อย่างไรก็ตาม อีกสามสิบปีต่อมา เฮ ราคลิสได้เดินทางผ่านมาและช่วยปลดปล่อยโพรมิธิอุส จากโทษทัณฑ์คร้ังนี้ เฮราคลิสจึงได้ช่ือว่า เป็น “ผู้ธารงความยตุ ธิ รรม” กลมุ่ ทวยเทพแหง่ โอลมิ ปสั (The Olympus Gods) สาหรับกลุ่มทวยเทพแห่งโอลิมปัส หรือ ทวยเทพโอลิมเปียน เป็นกลุ่มเทพเทวีรุ่นใหม่ (New Generation) ประกอบด้วยองค์เทพและเทวีท้ังหมดสิบสององค์ เป็นกลุ่มเทพที่นาความเจริญและ อารยธรรมมาสู่กรีก ตั้งแต่ประมาณคริสตศตวรรษที่ 12 ก่อนคริสตกาล ชาวกรีกออกมาอยู่นอกเมือง ป้อมคา่ ย พฒั นาบ้านเมือง อีกประมาณ 6 ศตวรรษต่อมา กรงุ เอเธนส์กลายเป็นศูนย์กลางอารยธรรมกรีก ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ทวยเทพแห่งโอลมิ ปัส ประกอบด้วย 1. ซูส (Zeus) เป็นเทพที่มีอานาจสูงสุดในกลุม่ เทพโอลิมปัส เป็นพระบิดาของเล่าทวยเทพเจ้า เป็นประมุขแหง่ สรวงสวรรค์ หลังจากการทาสงครามกบั กลมุ่ เทพไททันและกบั กลุ่มยักษ์ยตุ ิลง ซสู ได้รับ การยอมรับใหเ้ ปน็ ใหญ่ครองจกั รวาลแทนเทพบดีโครนสั เทพบดีซสู มีสายฟา้ (Thunderbolt) เป็นอาวุธ ประจาตน ซึ่งได้รับมอบมาจากกลมุ่ ไซครอปส์ มีนกอินทรีและโคเพศผู้เป็นนกประจาประองค์ และต้นโอ๊ก

22 เปน็ สญั ลักษณ์ ซูสแต่งงานกับเทวีเฮรา เป็นชายาและนอ้ งสาวกลุ่มไททัน ทัง้ สองมีทายาทด้วยกันส่คี น คือ แอเรส (Ares) ฮีบี (Hebe) ไอไลเชีย (Eileithia) และเฮพเฟตัส ( Hephaestus) ซูสเป็นเทพที่ ดารงไว้ซึ่งความยุติธรรม ซูสจะลงโทษผู้ทาความผิด และแบ่งปันความทุกข์และให้ความช่วยเหลือผู้ที่ ไม่ได้รับความเป็นธรรม จนมีคากล่าวยกย่องรัฐบาลหรือผู้ที่ผดุงความเป็นธรรมว่า “born of Zeus” หรือ “nurtured by Zeus” นอกจากน้ีเทพบดีซูสถือเป็นเทพที่เจ้าชู้มาก มีความรัก มีชื่อเสียงด้ านนอกลู่นอกทาง มี ความสัมพันธ์กับเหล่าเทวี นางอปั สร มนุษย์ ซึ่งอาจเรียงตามลาดบั ท่ีนบั ได้ดังนี้ เทวไี ททันมที สี (Metis) ที่ว่ากันว่าเป็นชายาองค์แรก, เทวีไททันธีมิส (Thymis) ชายาองค์ท่ีสอง, ตามด้วยเทวียูรีโนมี (Eurynome), ดีมีเท อร์ (Demeter), เท วีไท ทั นนี โม ซิ นี (Mnemosyne), เท วีเล โต (Leto) ท่ี มี ความสัมพันธ์แบบลับๆ เทวีไมอา (Maia) ท่ีเทพเจ้าซูสลักลอบไปข่มขื่น เทวีเฮรา (Hera) ผู้เป็นชายา อย่างเป็นทางการ นางแอลค์มินี (Alcmene) ท่ีเทพซูสแปรงร่างมาเกาะแกะนาง ยูโรปา (Europa) ท่ี เทพซูสแปร่งกายเป็นโคเผอื กมาหลอกลอ่ นาง นางซิมิลิ (Semele) ที่เสียชีวิตโดยรัศมอี นั แรงกลา้ แผดเผา หลกั จากเทพซสู เผยร่างจรงิ นางโอโอ (Io) ผู้ทเ่ี ทพซูสแปลงร่างนางกลายเปน็ โคเผอื กเพื่อหลบการตาม ล่าของเฮร่า เทวีไดโอนี (Dione) เทพธิดาซีลีน (Selene) ผู้เป็นชู้รักของเทพซูส นางอัปสรคัลลิสโต ผูต้ ิดตามของเทวีอาร์ทีมิส และเทพซูสแปรงร่างเป็นอาร์ทีมีสเพ่ือไปมีความสัมพันธก์ ับนาง นางนาลีดา (Leda) ผู้ที่เทพซูสแปรงร่างเป็นหงส์ท่ีบินหนีนกอินทรีย์โผไผซบนาง เทพธิดาเลเมีย (Lamia) เป็น ชายาทเ่ี ทพซสู ทหี่ ลงรักมากทสี่ ดุ คนหนึ่ง เจ้าหญงิ ดาเน่ (Danae) ผู้เปน็ มารดาของเพอร์ซอี ุส ทง้ั น้ี ยังไม่ รวมไปถงึ ความสมั พนั ธ์กบั เด็กหนมุ่ อีกมากมาย อาทิ เอนดเี มียนหน่มุ เล้ยี งแกะ และอื่นๆท่ียังไมไ่ ด้กล่าวถึง อีกมากมาย ด้วยเหตุเกิดจากความเจ้าชู้มักมากในกามรมณ์ ทาให้เทพเจ้าซูสมีทายาทผู้สืบเช้ือสาย ค่อนข้างมาก มีหลายองค์และหลายคน เข้าตาราลูกเต็มบ้านหลานเต็มเมืองกันเลยทีเดียว ดังเช่น เอเรส (Ares) ฮีบี (Hebe) เฮเฟสทัส (Hephaestus) เฮอร์เมส (Hermes) ไดโอไนซัส (Dionysus) ฝาแฝดอ พอลโล (Apollo) กับอาร์ทิมิส (Artemis) เธมิส (Themis) เพอร์เซโฟน (Persephone) ไดโอนีซัส (Dionysus) กลุ่มเทวีแห่งศิลปวิทยาการท้ังเก้า (The Muses) เพอรซ์ ีอุส (Perseus) และ เฮอร์คิวลีส (Hercules) เป็นต้น 2. เฮรา (Hera) เป็นธิดาของเทพไททันโครนัสและเทวีไททันรีอา เป็นพ่ีสาวและชายาของ เทพบดีซูส ได้รบั การยกย่องสูงสุดในฐานะราชินีแห่งทวยเทพ เทวเี ฮราได้รับการนับถือเป็นเทวแี ห่งการ สมรสและสตรีท่ีสมรสแล้ว รวมทั้งการให้กาเนิดทารก องค์เทวีจะลงโทษผู้ที่ไม่ซื่อสัตย์ ในการแต่งงาน นอกจากนี้ยังเป็นเทวีประจาเมืองอาร์กอสด้วย ซ่ึงผู้คนในเมืองน้ีจะปฏิบัติตามแนวคิดขององค์เทวีอย่าง เคร่งครัด เทวีเฮราผู้ที่ยึดมั่นในความซ่ือสัตย์และม่ันคง เป็นเทวีท่ีค่อนข้างข้ีหึง มักจะขุ่นเคืองเสมอหาก ทราบวา่ เทพบดีซูสไปมีความสมั พันธ์กบั หญงิ อ่ืน เรอื่ งราวเกย่ี วกบั เทวีส่วนใหญ่จงึ เป็นการคอยตามไปรัง ควาญเพราะความหึงหว่ งกับเทวีหรอื หญงิ ทเ่ี ทพซูสไปขอ้ งเก่ียว ดงั เช่น 2 เรอื่ งทจ่ี ะยกมา

23 เรอื่ งของนางสมิ ลิ ี (Semele) ชายาองคห์ นึ่งของเทพบดีซูส โดยเทพซสู ไดแ้ ปรงกายเพือ่ ไปมี สัมพนั ธก์ ับนาง พระนางเทวเี ฮราได้ล่วงร้คู วามสมั พนั ธน์ ้กี โ็ กรธกร้วิ เม่ือคร้นั นางสมิ ลิ ีต้ังครรภ์ใกลค้ ลอด แลว้ เทพเี ฮราจงึ ไปดลใจใหน้ างอยากเห็นเทพบดซี สู ในรูปทรงที่แทจ้ รงิ เมื่อปรากฏองคใ์ ห้เห็น นางสิมิ ลจี งึ ถกู รศั มที ่ไี มม้ ีใครสามารถทนทานของเทพซอี ูสแผดเผาจนเสียชีวิต แตเ่ ทพบดซี ูสสามารถรกั ษาชวี ติ ทารกในครรภ์ไว้ได้ แตอ่ งคเ์ ทวเี ฮรากย็ งั คอยตามทารา้ ยทารกน้อย หรอื ต่อมาคือเทพไดโอไนซัส (Dionysus) นั่นเอง เรอื่ งของเฮราคลสิ (Heracles) คร้ังหนึ่งเทพบดแี อบไปหลับนอนกับนางอลั คเมเน (Alcmene) และทราบว่าต้ังครรภ์ เม่ือครบกาหนดจะคลอด เทพบดีซูสประกาศว่าบุตรท่ีสืบเชอ้ื สายขององค์เทพบดจี ะ ถือกาเนิดในวันน้ี และจะได้ครอบครองอาณาจักรท่ีกว้างใหญ่ เทวีเฮราแกล้งให้เทพบดีให้สัตย์สาบาน ว่าเป็นเร่ืองจริง เทพบดีจึงให้สัตย์สาบานต่อแม่น้าสติกซ์ (Styx) ที่ถือเป็นแม่น้าศักด์ิสิทธ์ิ หลังจากน้ัน เทพีส่งเทวีไอไลเธีย ผู้เป็นธิดาและเป็นเทวีแห่งการให้กาเนิดทารกไปถ่วงเวลามิให้นางอัลคเมเนคลอด บตุ รในวันนนั้ ส่วนองค์เทวีไปจัดการให้ชายาของสเธเนลัส (Sthenelus) อาของนางอัลคเมเนคลอดบุตร ในวันน้ัน ทารกผู้นนั้ จงึ ได้รับพรของเทพบดแี ทนเฮราคลิส ทารกคนนั้นคือ ยูริสธัส (Euystheus) หลาน ป่ขู องเพอรซ์ ูสผ้เู ป็นบตุ รของเทพบดี ทาใหเ้ ฮราคลสิ ไมไ่ ด้เปน็ เทพ ซึ่งถือวา่ เร่ืองราวท่ีเกิดข้นึ กบั เฮราคลสิ น่าสงสาร เพราะเทวีเฮรายังตามทาร้ายเฮราคลิสต่อไปอีกหลายครั้งดังจะพบเห็นในเรื่องราวในตานาน หลากหลาย 3. โพไซดอน (Poseidon) เป็นบุตรของเทพไททันโครนัสและเทวีไททันรีอา เป็นพ่ีชายของ เทพซุสเทพโพไซดอน จับสลากได้ปกครองมีอานาจเหนือห้วงน้า อันได้แก่ ทะเล มหาสมุทร รวมท้ังลา ธารกบั ทะเลสาบท้ังมวล มีชายา คอื เทวีแอมฟิไทรเท (Amphitrite) ธดิ าของเทพโอเธอนสั เทพโพไซ ดอนมีรูปลักษณ์กายาใหญโ่ ตคล้ายคลึงกับเทพบดีซูส ต่างกันตรงมีตรีศูลหรือสามง่ามเป็นอาวุธ ซ่ึงได้รับ มอบมาจากกลมุ ไซครอปส์ มีมา้ และววั สัตวศ์ ักดิ์สิทธ์ิประจาองค์ สัญลักษณ์อีกอย่าง คือน้าพุท่ีพ่งุ ขน้ึ จาก ดนิ ด้วยแรงกระแทกของตรีศูล ท่ปี ระทับของเทพหากมไิ ด้อย่ทู ่ีโอลิมปัส คือ ปราสาทในบรเิ วณส่วนทล่ี ึก ท่ีสุดของทะเลเอเจียน หรอื สะดือทะเล สาหรับวัวแสดงถึงอานาจของเทพ และพลังในการให้กาเนิด คร้ัง หน่ึงเม่ือกษัตริย์ไมนอสท่ีอ้างสิทธใิ นบัลลังก์เกาะครีต สวดอ้อนวอนขอความอนุเคราะห์ให้เทพส่งโคตัวผู้ ขึ้นมาจากทะเล เพื่อเป็นประจักษ์พยานแสดงความชอบธรรมในการอ้างสิทธิดังกล่าว องค์เทพจึงส่งโค ตัวผู้มีลักษณะงดงามมาให้ แต่เมื่อถึงคราวเซ่นสังเวย กษัตริย์ไมนอสเกิดความเสียดายโคตัวน้ัน จึงใช้โค อื่นเซ่นสังเวยแทน องค์เทพพิโรธจึงลงโทษโดยบันดาลให้ราชินีเกิดจิตปฏิพัทธ์โค และให้กาเนิดสัตว์ ประหลาดมิโนทอรข์ นึ้ มา 4. ฮาเดส (Hades) เป็นบุตรของเทพไททันโครนัสและเทวีไททันรีอา เป็นพ่ีชายของเทพซูส จับสลากได้ปกครองมีอานาจครอบครองยมโลก (the Underworld) ดินแดนแห่งความมืดมิด ไม่มีแสง สว่างส่องลงมาถึงได้ แต่ก็เป็นดินแดนแห่งความม่ังค่ัง เนื่องจากอุดมไปด้วยแร่ธาตุเพชรนิลจินดา

24 มากมาย นอกจากนยี้ ังเป็นดินแดนแห่งความตายด้วย วิญญาณของผ้เู สยี ชวี ติ ไปแล้วและผ่านการประกอบ พิธีกรรมที่ถูกต้องครบถ้วน ก็จะมาสิงสถิตอยู่ในดินแดนแห่งน้ี ส่วนผู้มีความผิดติดตัวมาก็จะได้รับโทษ ตามลกั ษณะของความผดิ โดยมเี ทวีแหง่ การลา้ งแคน้ คอยควบคุมดูแล ลกั ษณะโดยทว่ั ไปขององค์เทพ จึง เปน็ เทพแห่งความหวาดกลัว ความลกึ ลับ และความแขง็ กรา้ ว มีลกั ษณะเข้มงวดเฉียบขาด ความรักของเทพเฮเดสเป็นอีกเร่ืองราวท่ีได้รับการกล่าวขานกันมากมาย เฮเดสเป็นเทพที่ไม่ เจ้าชู้ และได้ตกหลุมรักนางเพอร์เซโฟน (Persephone) ธิดาของเทพบดีซูสกับเทวีดิมีเตอร์ ครั้งหน่ึง เม่ือเทพเฮเดสข้ึนมาปฏิบัติภารกิจบนพื้นโลก เกิดต้องตาต้องใจ มีจิตปฏิพัทธ์ และได้ไปสู่ขอนางจาก เทพบดีซูส แต่เทพบดีเห็นว่าเทวดี ิมีเตอร์คงไม่ยินยอมเป็นแน่ จึงแนะนาว่าให้ใชว้ ิธีลักพาตัวไป เทพ เฮเดสจึงลักพานางไปยมโลก แต่ในภายหลังถูกบีบบังคับให้ส่งนางคืน เนื่องจากเทวีดิมีเตอร์เศร้าโศก เสียใจมัวแต่ตามหาลูกจนไม่ได้ดูแลภารกิจ ทาให้พืชผลไม่ผลิต เกิดความแห้งแล้ง กระทบต่อการ ดารงชีวิตของชาวโลก เทพซูสจาต้องส่งเทพเฮอร์เมสไปเกล้ียกล่อมท่ีเมืองยมโลก เทพเฮเดสจึงจาใจคืน เพอรเ์ ซโฟนใหแ้ กผ่ ู้เปน็ แม่ แต่มวิ ายออกอุบายให้นางกินเมล็ดทบั ทิมด้วยรู้ว่าผู้ใดท่ียังมีชวี ิตอยู่และกลืน กินส่ิงใดในยมโลกเข้าไปจะต้องกลับมาใช้ชีวิตยังยมโลกอีก บางตานานกล่าวว่า นางกินไป 3 เมล็ด บาง ตานานกล่าวว่า 4 เดือน บ้างว่า 6 เดือน ซ่ึงเป็นจานวนเดือนทนี่ างเพอร์เซโฟนตอ้ งกลบั อยู่ในยมโลกตาม จานวนเมล็ดทับทิมที่กินเข้าไป ฉะนั้นทุกปี เมือ่ ใดกต็ ามเม่ือนางเพอรเ์ ซโฟนกลบั มาใช้ชีวิตบนพื้นพิภพ เทวีดิมีเตอร์มีความสุข พืชผลไม้ ดอกไม้ต่างปริบาน แต่เม่ือนางต้องกลับไปอยู่กลับเทพเฮเดสท่ีโลกใต้ พิภพ เทวีดิมีเตอร์ก็จะเศร้า พืชผลไม่ผลิต ใบไม้ร่วงโรย ไม่มีชีวิตชีวา ซ่ึงก็เป็นท่ีมาของการเปล่ีย นฤดู ใบไม้ผลิและฤดูใบไม้รว่ งนน่ั เอง เนื่องจากเทพเฮเดสมีความเก่ียวข้องกับผู้ตาย ฉะนั้นจึงเป็นท่ีเกรงกลัวของคนทั่วไปและมี เรือ่ งราวเล่าขานไม่มากนัก แตก่ ็มีบางเรอ่ื งทส่ี ะทอ้ นจิตใจทีอ่ ่อนโยนของเทพเฮเดส ดังเชน่ คอื การยอมให้ เฮราคลสิ ขอยืมตัวเซอร์เบอรสั (Cerberus) สนุ ัขสามหัวที่เฝ้ายมโลก เม่ือเฮราคลิสนาไปใหย้ ูรสิ ธัสดแู ลว้ ก็ รบี นากลบั มาคนื ทันที 5. เทวีอธีนา เป็นเทวีพรหมจารี ผู้คุ้มครองศิลปะ หัตถกรรม การสงคราม เทพีแห่งสตปิ ัญญา และความอุดมสมบูรณ์ ในตานานกล่าวว่า เทวีอธีนา กาเนิดจากศรษี ะเทพบดีซสู วนั หน่งึ เทพบดีซูสปวด ศีรษะมาก จึงขอให้เทพเฮพเฟตัสใช้ขวานจามลงบนศีรษะ ปรากฏองค์เทวีกระโดดออกมาโดยเจริญวัย เต็มที่ แต่งองคด์ ้วยเกราะและอาวุธครบ แต่บางตานานกล่าวว่าชายาองคแ์ รกของเทพบดี คือ นางอัปสร แห่งท้องน้า ช่ือเมทิส (Metis) เม่ือนางต้ังครรภ์ เทพบดีได้รับคาเตือนว่าบุตรคนที่สองของนางจะเป็น ชายและจะลม้ อานาจของเทพบดี เทพบดซี ูสจึงกลืนนางเข้าไป พอถึงเวลาที่นางใกล้คลอดเทพบดีอยาก เหน็ ทารกในครรภ์ จึงให้เทพเฮพเฟตัสมาชว่ ยดงั กลา่ ว เทวีอธีนาเป็นเทวีที่ได้รับความนิยมมากสาหรับชาวกรีก ถือเป็นเทวีที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบมาก ท่ีสุดองค์หน่ึง อาทิ ช่วยคุ้มครองช่างฝีมือท้ังชายหญิง สนใจงานหัตถกรรม โดยเฉพาะการทอผ้า เทวีมี ฝีมือเป็นเลิศ ให้การช่วยเหลือเหล่าวีรบุรุษในการประกอบภารกิจ เน่ืองด้วยช่ืนชอบในความฉลาดและ

25 ความกล้าหาญของพวกเขา อาทิ ให้เพอร์ซูสขอยืมโล่ห์ (บางตานานกล่าวว่าเกราะ) เพ่ือใช้ในการ เดินทางไปสังหารนางเมดูซา (Medusa) เมื่อเพอร์ซูสสังหารนางเมดูซาได้แล้ว จึงถวายหัวของนางแก่ องค์เทวี เทวีอธีนานาไปประดับไว้ท่ีเกราะส่วนหน้าอก ส่วนเฮราคลิสก็ได้รับความช่วยเหลือจากองค์เทวี หลายครั้ง ดังเช่นคร้ังท่ี ไปปราบกลุ่มนกสติมฟาเลียน (the Stymphalian Birds) องค์เทวีได้มอบ เคร่ืองเคาะจังหวะไปทาให้เกิดเสียงดัง จนกลุ่มนกตกใจกลัวบินห นีไป วีรบุรุษเบลเลอโรโฟ น (Bellerophon) ก็ได้รับมอบบังเหียนทองคาให้ไปจับม้าเพกาซัส (Pegasus) เพื่อใช้เป็นพาหนะไป ปราบสตั ว์ประหลาดไคเมรา (Chimera) สาหรบั เทวีอธีนาน้นั หากไม่ได้อยบู่ นยอดเขาโอลมิ ปัส ก็มกั จะลงมาอยทู่ ี่อโครโพลสิ (Acropolis) ซง่ึ เปน็ วิหารประจาองค์เทวี เนอ่ื งด้วยองค์เทวเี ปน็ เทวปี ระจาเมอื งเอเธนส์ สาหรบั เร่อื งราวในตานานนน้ั กลา่ วว่า องค์เทวีและเทพโพไซดอน ไม่ชอบหน้ากนั สักเทา่ ไหร่ ทงั้ สองต่างตอ้ งการเป็นเทพประจาเมอื ง เอเธนส์ เหล่าบรรดาเทพเห็นเหตกุ ารณ์ไมค่ อ่ ยดี จงึ ปรกึ ษากันและให้ท้ังสององคเ์ สนอว่า จะให้ส่งิ ใดเป็น ของขวญั แก่ชาวเมือง เทวีอธีนาเสนอจะมอบต้นมะกอก ในขณะที่เทพโพไซดอนเสนอจะมอบม้าใหเ้ ป็น พาหนะ ทวยเทพเหน็ ว่าต้นมะกอกนา่ จะมีประโยชนม์ ากกว่า จึงตัดสนิ ให้เทวอี ธนี ามชี ัย อย่างไรกต็ ามใน สมัยตอ่ มา เทพบดซี สู ไดป้ ระนปี ระนอมใหเ้ ทพท้งั สองได้รบั การเซ่นสรวงบชู าจากชาวเมืองเอเธนสเ์ ท่า เทียมกัน 6. อพอลโล เป็นบุตรฝาแฝดของเทพซูสกบั เทวลี ีโต (Leto) เทวีไททันองค์หนง่ึ มีนอ้ งสาวฝา แฝดเทวอี ารท์ ีมิส (Artemis) เทพอพอลโลเป็นเทพเจ้าแหง่ แสงสวา่ ง เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ เทพเจ้า แห่งการทานาย เป็นสัญลักษณ์ของความเยาว์วัย และความงดงามของบุรุษเพศ การดนตรี การ รักษาพยาบาล การพยากรณ์ การยิงธนู และการปศุสัตว์ อพอลโลมีตน้ ไมศ้ ักด์ิสิทธิ คือ ต้น Laurel มนี ก กาเหว่าและห่านเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธ์ิ มีพิณเป็นเครื่องดนตรีประจากาย สาหรับอพอลโล่น้ันมีเรื่องราว เกี่ยวขอ้ งกบั ความรกั มากหมาย และมกั จะเป็นรักที่ไมค่ ่อยสมหวงั สักเทา่ ไหร่นัก ก่อนถือกาเนิด เทวีลีโตมารดาถูกเทวีเฮราไล่ล่า และส่ังห้ามแผ่นดินใดให้ที่พักพิง เทวีซ่ึงเจ็บ ทอ้ งใกลค้ ลอดจงึ ตอ้ งชัดเซพเนจรไปเรื่อยๆ จนเห็นแผ่นดินผืนน้อยแห่งหนงึ่ ลอยอยู่ในน้าแผ่นดนิ แหง่ น้ี ตกลงยินยอมรับเทวี เทวีจึงคลอดบุตรธิดาฝาแฝดได้ แผ่นดินน้ันคือเกาะเดลอสซึ่งในเวลาต่อมาได้ กลายเปน็ ท่ีตัง้ ของวิหารประจาเทพอพอลโล คู่กบั วหิ ารทเี่ ดลฟี เทพอพอลโลเป็นที่รจู้ กั กันท่ัวไปในฐานะ เทพแห่งการพยากรณ์ นักบวชหญิงชายประจาวิหาร มีหน้าท่ีให้คาพยากรณ์แก่ผู้มาขอคาปรึกษา คา ทานายท่ีได้รับถือว่าศักด์ิสิทธิ์และแม่นยา ฉะน้ันจึงมีผู้คนมาขอคาทานายและคาปรึกษามากมาย จนใน ภายหลงั มีวหิ ารเกิดขึ้นทวั่ อาณาจักรกรีก ในฐานะเทพแหง่ การดนตรี เทพอพอลโลมีความเช่ยี วชาญในการเล่นพณิ ซึ่งไดร้ บั เปน็ ของขวัญ จากเทพเฮอร์เมส องค์เทพสามารถเอาชนะผู้ท่ีหาญเข้าต่อสู้ประลองฝีมือทางดนตรีได้ทุกคน อาทิ มาร์ ไซอัส (Marsyas) เซเทอร์แห่งฟริจเิ ออ รวมทั้งเทพแพน (Pan) ในกรณเี ทพแพนนน้ั กษตั รยิ ์ไมดาส

26 ซึง่ เปน็ ผ้ตู ดั สินไดก้ ล่าวช่ืนชมความสามารถในการเป่าขลุ่ยของเทพแพน จึงถูกเทพอพอลโลลงโทษใหม้ หี ู เป็นหลู า ในสมัยน้ันบรรดานักดนตรี นกั รอ้ งทมี่ ีช่ือเสียงว่ากนั ว่า เปน็ บตุ รของเทพองค์นแี้ ทบท้งั สิน้ 7. อาร์ทิมิส (Artemis) เป็นธิดาฝาแฝดของเทพบดีซูสกับเทวีลีโต เป็นแฝดผู้พ่ีของเทพอพอล โล เป็นเทวีแห่งดวงจันทร์ เทวแี ห่งการให้กาเนิด เทวีแห่งการล่าสตั วป์ ่า มีกวางหรือสนุ ัขติดตามใกล้ชิด ตลอดเวลา รวมถึงหมูป่าดว้ ย ในฐานะเทวผี ู้คมุ้ ครองสตั วป์ ่า เทวไี ด้รบั การบวงสรวงจากพรานเปน็ ประจา ตามตานานเลา่ ว่า ทันทีทลี่ มื ตาดโู ลก นางรอ้ งขออาภรณ์นกั ลา่ สตั ว์จากเทพเจา้ ซูสผู้เป็นพอ่ ทนั ที ซึง่ ท่าน ก็มอบคนั ธนูทองและกระบอกธนซู ึง่ ถือเปน็ อาวธุ ประจากาย เทวีอาร์ทมสิ เป็นเทวีที่ถือครองพรมจรร และมีนางอัปสรสิบสองตนเป็นบริวารนางกานัลซ่ึงทุก ตนก็ถือครองพรมจรรเชน่ กัน ซ่ึงจะทาหน้าท่ีดแู ลฝงู สุนัขป่าให้กบั พระนางเทวี พระนางไมย่ อมให้บริวาร มีพฤติกรรมในเชิงชูส้ าว หากผู้ใดมรี าคีก็จะถูกขับออกจากกลุ่มไป การรกั ษาพรหมจารขี องเทวที าให้เกิด เหตกุ ารณน์ ่าสลดใจหลายครั้ง ดังเช่น กรณีนางคัลลิสโต (Calisto) ไปแอบยอมมีสัมพันธ์กับเทพบดีซูส ทาให้พระนางโกรธมาก บรรดาลโทสะ ตามลา่ นางไม่คัลลิสโตส และไดส้ าบให้นางไม้นั้นเป็นหมี ตอ่ มาเทพบดีซสู นานางไปประดับ ไวบ้ นท้องฟ้าในกลุ่ม “ดาวหมีใหญ่” กรณโี อไรอัน (Orion) ซึ่งเป็นสหายสนทิ ของเทวี และด้วยความที่เทพอพอลโลเกรงว่าแฝดพ่ี จะละความเปน็ พรหมจารี วนั หนงึ่ ขณะล่าสัตว์อยูด่ ้วยกนั เทพอพอลโลเห็นโอไรอนั วา่ ยน้าอยไู่ กลๆ จึงท้า พนนั ใหเ้ ทวปี ระลองฝมี ือยงิ เปา้ สดี าที่อยู่ห่างออกไป เทวรี ับคาทา้ และได้ชยั ชนะ โอไรอันถกู คันศรและได้ สนิ้ ใจลง แต่ไดท้ ราบความจรงิ ในภายหลงั ว่าเป้าน้ันทีจ่ ริงแลว้ เปน็ โอไรอัน เทวรี ูส้ ึกผดิ จงึ ชดใช้ความผิด ดว้ ยการนาโอไรอนั ไปประดบั เปน็ ดาวบนทอ้ งฟ้า ทีม่ ชี ่ือว่า “ดาวนายพราน” กรณแี อคเตออน (Actaeon) ชายหนมุ่ ใสชอ่ื ซง่ึ เปน็ นายพราน วันหนง่ึ ได้เขา้ ไปล่าสตั ว์ แลว้ บังเอญิ ไดไ้ ปพบเทวีกาลงั เปลอื ยกายสรงนา้ พรอ้ มๆกับนางบรวิ ารทั้ง 12 เทวเี กรงว่าเร่ืองนี้จะรไู้ ปถงึ ผูอ้ นื่ ด้วยความโกรธและอาย เทวจี งึ วักนา้ สาดหน้าชายหนุม่ และสาบให้เปน็ กวางทนั ที กวางน้ันตกใจไดว้ ิง่ หนี ไป แล้วกส็ ัง่ ใหส้ ุนัขล่าเน้ือของหนุม่ นายพรานไลล่ า่ และรมุ กดั แอคแตออนจนถึงแก่ชีวติ ปกติเทวอี ารท์ ีมสิ เป็นผู้มีเมตตา แต่จะบนั ดาลความโหดร้ายตอ่ ผ้ขู ัดขนื จะลงโทษและลา้ งแค้นผู้ ท่ีไม่ให้ความเคารพนับถือ ดังเช่น กรณีนางไนโอบี (Niobe) ธิดาของแทนทาลัส โอ้อวดว่า นางมีบุตร ธดิ าทีแ่ ข็งแรงสมบูรณ์ถึง 14 คน ในขณะที่เทวีลโี ตมีเพียงสองคน เทพอพอลโลกบั เทวีอาร์ทมิ ิสคแู่ ฝดจึง ลา้ งแคน้ ด้วยการใช้ธนูยงิ บตุ รธดิ าท้ัง 14 คน จนเสยี ชีวิตทั้งหมด 8. เฮอร์เมส (Hermes) บุตรของเทพเจ้าซูสกับนางไมเออ (Maia) เป็นเทพที่มีความรวดเร็ว ว่องไว จึงได้รับแต่งต้ังให้เป็นทูตและผู้ถือสาส์นของเหล่าทวยเทพ เป็นผู้นาทางแก่คนเดินทางทั่วไป เป็นเทพแห่งท้องถนนและทางสัญจร เทพแห่งการค้าการพาณิชย์ การประดิษฐ์คิดค้น และการ

27 โจรกรรม เพราะมีเล่ห์เหล่ียมไหวพริบแพรวพราว เฮอร์เมสมักจะปรากฏกายในลักษณะสวมหมวกขอบ ข้าง ปีกติดอยู่ท่ีหมวกและรองเท้า เทพบดีได้มอบหมายให้เป็นทูตแห่งทวยเทพ และเป็นผู้นาทางแก่ มนุษย์ในระหว่างการเดินทาง โดยมอบไม้เท้าทองคา มีปีกบนยอด มีงูเลื้อยพันโดยรอบให้แก่เทพเฮอร์ เมส ไม้เท้าน้ีมีช่ือเรียกว่า คาดูเสิส (Caduceus) ต่อมาได้ถูกนามาใช้เป็นสัญลักษณ์ทางการแพทย์และ เภสัชกรรม นอกจากนี้ อกี หน่ึงหนา้ ที่ของเฮอร์เมสก็คือการนาทางพาดวงวิญญาณของผู้เสียชวี ิตแลว้ ไป สง่ ยงั ยมโลกอีกดว้ ย เม่ือแรกเกิด เทพเฮอร์เมสเป็นทารกท่ีมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วผิดธรรมดา ภายในวัน แรกก็ได้ประกอบวีรกรรมมากมาย อาทิไปลักฝูงแกะของอพอลโล แล้วฆ่าวัว 2 ตัว แล่เนื้อมาบูชาเซ่น สังเวยถวายเทพท้ังหลาย ประดิษฐ์พิณ และประดิษฐ์รองเท้ามีปีก เม่ือเทพอพอลโลมาทวงถามฝูงปศุ สัตว์ เทพเฮอร์เมสก็ปฏิเสธ แต่ในที่สุดก็ยอมคืนให้แต่โดยดีเมื่อถูกเทพซูสบังคับ พร้อมกับมอบพิณท่ี ประดิษฐ์ใหม่ให้เป็นการไถ่โทษ เทพอพอลโลจึงมอบแส้ทองคาหรือไม้เท้าให้เทพเฮอร์เมส และตั้งให้ เปน็ ผู้ดูแลฝูงปศุสตั ว์ ด้วยเหตุน้เี ทพอพอลโลจึงเป็น เทพแห่งการดนตรี ส่วนเทพเฮอร์เมสเป็นเทพแห่ง คนเลย้ี งแกะและฝงู ปศสุ ตั ว์ เฮอรเ์ มสเป็นบุตรนอกสมรสผู้เดียวของเทพบดีซสู ได้รับความเมตตาจากเทวีเฮราและเปน็ บุตรที่ “ใช้ได้ดังใจ” ของเทพบดีทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการทาสงครามกับกลุ่มอสูร การช่วยเหลือชายาบางคน ของเทพบดีทถี่ ูกเทวเี ฮราคกุ คาม ดังเชน่ เรอ่ื งของนางไอโอทเ่ี ทวธี รี าให้อสูรร้อยตาอาร์กสั (Argus) อสรู รอ้ ยตาเฝ้าไว้ เร่ืองของนางสิมลิ ีท่ีถูกเผาผลาญด้วยรัศมีของเทพบดี เทพเฮอร์เมสก็ช่วยนาทารกนอ้ ยได โอไนซัสไปฝากให้น้องสาวนางสิมิลีเลี้ยงดู นอกจากน้ันก็ทากิจตามเทวบัญชาอีกมากมาย ดังเช่น การ อัญเชิญเทวีเฮรา เทวีอธีนา และเทวีอโฟรไดเทลงมาให้ปารีสเป็นผู้ตัดสินว่าผู้ใดงามเลิศ การไปนาตัว นางเพอร์เซโฟนีกลับคืนจากยมโลกมาให้เทวีดีมีเตอร์ การให้ความช่วยเหลือเพอร์ซูสในการเดินทางไป สังหารนางเมดูซา โดยมอบรองเท้ามีปีกให้ พร้อมกับถุงวิเศษสาหรับใส่หัวนางเมดูซา และหมวกล่องหน ของเทพเฮเดส 9. แอเรส (Ares) เป็นบุตรของเทพบดีซูสกับเทวีเฮรา เป็นเทพแห่งสงครามของกรีกโบราณ อย่างไรก็ตาม ชาวกรีกมีความรู้สกึ ต่อเทพแอเรสในลักษณะผสมปนเประหวา่ งความนับถือในฝีมือการรบ พุ่งและความกล้าหาญขององค์เทพ แต่ในขณะเดียวกันก็หว่ันเกรงความดุร้ายกร ะหายเลือด และ ความรู้สกึ อยากทาลายล้างท่ีองคเ์ ทพแสดงออกมา ในการเซ่นสรวงบูชาเทพแอเรส จะมกี ารบชู ายญั ชีวิต คนและสัตว์ต่อหน้าดาบ สัตว์ประจาประองค์คือเหย่ียวและสุนัขมังกรไฟ หากดูแล้ว ชาวกรีกจะนิยม ชมชอบเทวีอธีนาในฐานะเทวีแห่งสงครามมากกว่า เพราะเทวีมีความฉลาด อยู่ในระเบียบวินัย ไม่มี ลักษณะดรุ า้ ยกระหายเลือด เทพแอเรสจงึ ไม่คอ่ ยเป็นท่นี ยิ มมากนักในกลุ่มชาวกรีก แอเรสไม่ได้สมรสอย่างเป็นทางการกับผู้ใด แต่ก็มีความสัมพันธ์กับเทวีและมนุษย์ผู้หญิงมาก หน้าหลายตา จึงมีบุตรธิดาหลายคน เหล่าสาวอเมซอนซ่ึงเป็นนักรบสตรีที่เก่งกล้า ก็อ้างว่าเป็นธิดาของ เทพแอเรสด้วย เหล่านักรบสาวกลุ่มน้ีให้ความเคารพบูชาเทพแอเรส โดยการฆ่าม้าบูชายัญ สาหรับเข็ม

28 ขดั ท่ีเฮราคลิสได้มาจากราชนิ ีฮิพโพลเิ ทกเ็ ป็นของขวัญท่ีเทพแอเรสประทานให้ สาหรับเร่ืองราวที่ไม่น่า ประทับใจของเทพแอเรส ก็คือการถูกจบั ได้ขณะลกั ลอบหลับนอนกับเทพีอโฟรไดเทซึ่งเปน็ ชายาของเทพ เฮพเฟตัส องค์เทพใช้ตาข่ายทองคาคลุมไว้แล้วนาท้ังคู่ไปประจานต่อหน้าทวยเทพให้ได้รับความอับ อาย เทพโพไซดอนทาการไกล่เกลี่ยและรับรองความประพฤติของแอเรส เทพเฮพเฟตัสจึงยอมปล่อย ตัวทง้ั คไู่ ป 10. เทวีเฮสเทีย (Hestia) เป็นธิดาองค์โตของเทพไททันโครนัสและเทวีไททันรีอา เทวีแห่ง การครองเรือน เทวีแหง่ เตาผิง และถอื พรหมจารตี ลอดชวี ิต มีสัญลกั ษณเ์ ป็นไฟนิรนั ดร เป็นผู้อาวุโสทส่ี ุด และไดร้ บั ความเคารพมากทีส่ ุดในบรรดาเทพ โอลิมเปยี นท้ังหมด ในฐานะเปน็ ผดู้ แู ลเตาผิงและไฟในเตา ผงิ จึงถอื เปน็ ผู้ปกปอ้ งรกั ษาดูแล กิจการท้ังหลายในบ้าน และถอื เป็นผู้ปกป้องรักษาคมุ้ ครองครอบครัว และชุมชน ในงานเฉลิมฉลองทุกงาน เทวีจะได้รับการบวงสรวงก่อนเทพองค์อ่ืนๆ เสมอ เทวีไม่ จาเป็นต้องมีแท่นบูชาพิเศษเพราะเตาผิงมีประจาทุกบ้าน และเตาผิงสาธารณะก็เป็นบูชาของเทวีอยู่แล้ว ด้วยเหตทุ ีเ่ ทวีเป็นผบู้ ริสุทธิจ์ ึงไมร่ ายละเอียดมากมายให้กลา่ วขาน 11.อโฟรไดเท (Aphorodite) เป็นเทวแี หง่ ความรกั และความงาม ถอื กาเนดิ จากฟองคล่นื ที่ รวมตัวอยรู่ อบองคชาตขิ องเทพยูเรนัสทีถ่ ูกเทพโครนสั ตัดโยนท้งิ ทะเล และลอยไปยังเกาะไซปรสั ชาว กรีกเรียกชอ่ื เทวีตามศัพทว์ า่ “aphros” ซึง่ แปลวา่ ฟองคลื่น เมอื่ เทวีลอยมาริมฝ่ังมีเทพธิดาโฮเรรอรับ อยู่ ช่วยจัดเครื่องทรงพรอ้ มเครอ่ื งประดบั แล้วนาไปยังเทวสมาคมบนโอลิมปสั พระนางเปน็ เทวีทมี่ คี วาม งดงามมากองคห์ น่งึ เหล่าทวยเทพถงึ กบั ตะลงึ ต่อความงามของนาง และเป็นเทวีท่ีมมี ากรกั ทสี่ ดุ องคห์ น่ึง ในหลายเรื่องเลา่ พระนางมนี กกระจอก นกนางแอ่น นกพิราบ นกกระจอก หงส์ หา่ น เต่าเปน็ สัตว์ ศักดิ์สทิ ธ์ิ มดี อกกุหลาบ(Myrtle)เปน็ สญั ลกั ษณ์ และแอปเปนิ้ เป็นผลไม้ศักดิส์ ทิ ธิ ด้านเรื่องคู่ครองน้นั เทวไี ด้อภิเษกกบั เทพเฮพเฟตสั ทม่ี รี า่ งกายพกิ าร และมบี ุตรธดิ าหลายองค์ องคท์ ีส่ าคญั ทสี่ ดุ คอื เทพอิรอส (Eros) เทพแหง่ ความรัก องค์เทวไี มไ่ ดพ้ ึงพอใจสวามที พ่ี ิการ จึง ประพฤติไม่ซอื่ เทา่ ไหรใ่ นด้านออ้ื ฉาว เชน่ การถูกจบั ขณะลกั ลอบมคี วามสมั พันธก์ บั เทพแอเรสและถกู นามาประจานตอ่ หนา้ ทวยเทพ นอกจากนอ้ี งค์เทวยี งั มคี วามสมั พนั ธ์กบั แอนไอซสิ (Anchyses) และให้ กาเนิดเอเนียส (Aeneas) วีรบรุ ษุ คนสาคัญคนหนึง่ ในสงครามกรุงทรอย เมื่อกรุงทรอยล่มสลาย เทวไี ด้ พาเอเนียสกบั ครอบครัวหลบหนไี ป 12. เฮพเฟตสั เป็นบุตรของเทพบดชี ูสกับเทวีเฮรา เปน็ เทพแห่งไฟ เทพแห่งการประดิษฐ์ เครอื่ งโลหะทงั้ มวล รวมทั้งเปน็ ช่างเหลก็ แห่งทวยเทพ เป็นเทพท่ีมขี าพกิ าร จงึ ทาใหไ้ มง่ ดงามสมบูรณ์ เชน่ เทพองค์อ่ืน มีตานานกล่าวขานต่างๆ เก่ยี วกับความพกิ ารน้ี บ้างว่าเทพพิการแต่กาเนดิ โดยมี ขาลีบ และเท้าบดิ เบี้ยว เมือ่ เทวเี ฮราเหน็ จึงรงั เกียจแลว้ เหว่ียงองค์เทพลงจากยอดเขาโอลมิ ปสั ลงไปสู่ ทะเล แต่ไดน้ างอัปสรประจาหว้ งสมุทรนาไปเลยี้ งดู บางตานานกลา่ ววา่ ในวยั เด็ก เมอื่ องคเ์ ทพเห็น

29 เทพบดีกับเทวเี ฮรามีปากเสยี งกนั อยา่ งรนุ แรง จึงเข้าไปขวาง เทพบดี (บ้างวา่ องคเ์ ทวี) จงึ จับขาขององค์ เทพเหวี่ยงลงจากโอลมิ ปัสมาตกลงบนเกาะเลมนอส องค์เทพได้ชาวพน้ื เมอื งช่วยดูแลอาการบาดเจ็บ แต่ องค์เทพก็ตอ้ งขาพกิ าร นับแตน่ น้ั มา ในภายหลังองคเ์ ทพจงึ ได้สรา้ งโรงหลอมเหลก็ ไวบ้ นเกาะแหง่ น้ี บาง ตานานกลา่ วว่า องค์เทพมโี รงงานอยู่ใตภ้ ูเขาเอ๊ตนา (Mt. Aetna) ในซซิ ิลี มี Cyclops เปน็ คนงาน เม่ือ ภเู ขาไฟท้งั หลายพน่ ไฟและความรอ้ นออกมาแสดงวา่ เทพเฮพเฟตสั กาลังทางานอยู่ เฮพเฟตัสได้ฝึกฝีมือทางช่างมาต้ังวัยเด็ก และได้ประดิษฐ์เคร่ืองประดับที่งดงามตอบแทนผู้มี พระคุณตลอดมา เม่ือเติบใหญ่ จึงได้หาทางแก้เผ็ดมารดาท่ีทาให้พิการ โดยเปิดเผยตนเองพร้อมมอบ บัลลังก์ทองคาให้เป็นของขวัญ แต่เม่ือเทวีเฮราทรุดตัวลงน่ังแล้ว ก็มิอาจลุกขึ้นมาได้ ทวยเทพต้องไป อ้อนวอนให้เทพเฮพเฟตัสคลายทิฐิและความโกรธ พร้อมกับข้ึนไปอยู่บนโอลิมปัส แต่ไม่สาเร็จ ในที่สุด เทพแอเรสออกอุบายมอมเหล้าองค์เทพ แล้วพาขึน้ ไปบนโอลมิ ปัส เทพเฮพเฟตัสจึงยินยอมปล่อยเทวีเฮ ราจากบัลลงั ก์ทองคา แต่ขอแลกด้วยการใหอ้ ภิเษกกบั เทวอี โฟรไดเทผมู้ ีความงามเป็นเลศิ ผลงานของเทพเฮพเฟตสั มีมากมายท้ังแก่ทวยเทพและมนุษย์ เช่น การสร้างที่ประทับให้ทวย เทพบนโอลิมปัส ประดิษฐ์อาวุธให้เทพหลายองค์ ทาศรทรงให้เทพอพอลโลและเทวอี าร์ทิมิส ทาเคียว ให้เทวีดิมีเตอร์ ทาเสื้อเกราะกับแผ่นเคาะจังหวะดนตรีด้วยทองสัมฤทธิ์ให้เทวีอธีนาทาเสื้อเกราะให้เฮ ราคลิสกับอคิลลิส เป็นต้น สาหรับผลงานท่ีโดดเด่นมาก คือ การปั้นรูปอิสตรีท่ีงดงามอ่อนช้อยเพ่ือมอบ เป็นของขวญั แก่โพรมิธอิ ุสตามบัญชาของเทพบดี ซึง่ ก็คือนางแพนดอราน่ันเอง กลมุ่ เทพอนั ดบั รอง นอกจากกลุ่มเทพโอลมิ ปัสแลว้ ชาวกรีกยังใหค้ วามเคารพนบั ถอื เทพเทวอี ีกหลายองค์ เปน็ เทพ ทไ่ี มถ่ กู จดั อยู่ในกลมุ่ คณะเทพแห่งโอลมิ ปสั ซึง่ ก็มหี นา้ ทแ่ี ละความสาคัญแตกต่างกนั ไป และมเี รื่องราวที่ นา่ สนใจอยู่ไม่น้อย ดังจะไดก้ ลา่ วถงึ ตอ่ ไปน้ี 13. ดิมเี ตอร์ (Demeter) เป็นธิดาของเทพไททันโครนัสและเทวีไททันรีอา เปน็ ชายาองค์ท่ี 4 ของซูส เป็นเทวีแห่งข้าวโพดและดูแลความอุดมสมบูรณ์ของพื้นโลก รวมท้ังผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร อาทิพืชพันธ์ุธัญญาหารต่างๆ เทวีดิมีเตอร์มีความผูกพันกับแผ่นดินและผลิตผลมากกว่าการอยู่บน โอลมิ ปัส จึงไดร้ ับการเคารพนับถอื จากประชาชนมาก เพราะความเป็นอยู่ทีด่ ี มีอาหารการกินสมบรู ณ์เป็น ผลงานของเทวี เทวีมีธดิ าองคห์ นึ่งที่ทรงรักใครม่ าก คือ เทวีเพอร์เซโฟนี เป็นเทพธิดาแสนสวยนา่ รกั มีรูปโฉม งดงามเลื่องลือไปถึงเมืองยมโลก ฮาเดสใชบ้ รวิ ารไปวาดรูปหนอ่ ยมาให้ดู พอเหน็ รูปนาง ฮาเดสก็ตกหลุม รักทันที เทพฮาเดสลักพาไปเปน็ ชายาอยู่ในยมโลก เทวีมีความเศร้าโศกเสียใจมาก เที่ยวตามหาธิดาของ ตน และละเลยการปฏบิ ัติหนา้ ท่เี ช่นเคย ทาให้ประชาชนอดยาก เทพบดีซูสเกรงวา่ ถา้ ปล่อยไว้เชน่ น้ีผู้คน คงจะล้มตายกันหมด จึงมีบัญชาให้เทพเฮอร์เมสไปรับเทวีเพอร์เซโฟนีคืนมาจากยมโลกแต่เทพฮาเดสอ อกอุบายให้เทวีกินเมล็ดทับทิม เพื่อเป็นข้อผูกพันให้นางต้องกลับมาสู่ยมโลกอีก อย่างน้อยก็หนึ่งในสาม ของปี (คอื ส่ีเดือนนนั่ เอง) ในท่ีสุดเทวีดิมีเตอร์จาต้องยินยอมตามนัน้ เมื่อองค์เทวมี ีความสุขเพราะได้ธดิ า

30 กลับคืนมา พืชพันธุ์ธัญญาหารก็กลับงอกงามดังเดิม องค์เทวีกับธิดาก็กลับข้ึนไปอยู่บนโอลิมปัสตามปกติ อย่างไรก็ตามช่วงที่เทวีเพอร์เซโฟนีต้องกลับไปอยู่ในยมโลก เทวีก็จะเศร้าโศก ท้ิงให้โลกต้องแห้งแล้ง ไร้ผลผลิต กลายเป็นช่วงฤดูหนาว เม่ือธิดากลับคืนมา เทวีมีความสุขเบิกบานใจ โลกก็กลายเป็นฤดูใบไม้ ผลิ เหล่าไมด้ อกไม้ผลเจริญงอกงาม ใหผ้ ลผลติ เป็นอาหารแกป่ ระชาชนท้งั หลาย 14. ไดโอไนซัส (Dionysus) เป็นบุตรของเทพบดีซูสกับนางสิมิลี ธิดาของกษัตริย์ แคดมัส แห่งธีบส์ พอนางตง้ั ครรภ์ใกล้คลอด เทวีเฮราทราบเรอ่ื งจงึ คิดกาจัดทัง้ แม่และลกู โดยไปชักจูงใจใหน้ าง ขอใหเ้ ทพบดปี รากฏองค์จริงให้เห็นในฐานะเทพบดี เทพบดขี ดั ไม่ได้ จึงตอ้ งแสดงองคใ์ นเครื่องเต็มยศ มี รัศมีร้อนแรงเผาผลาญจนนางเสียชีวิต แต่เกิดเหตุอัศจรรย์ คือมีเถาไอวีผุดขึ้นมามากมาย เล้ือยพันรอบ เสาในวังจนหนาทึบ จึงทาให้ทารกในครรภ์ไม่เป็นอันตรายเทพบดีจึงนาทารกมาเย็บติดกับต้นขา แล้ว ผา่ ตะเข็บออกมาเมื่อครบกาหนด หลังจากน้ันเทพเฮอร์เมสนาไปฝากนางไอโนน้าสาวเลี้ยงดู แต่เทวเี ฮรา ตามไปทาใหเ้ สยี จริต เทพเฮอร์เมสจงึ ต้องนาไปฝากเหลา่ อัปสรประจาเทอื กเขาไนสา (Nysa) เล้ียงดู แต่ เทวเี ฮราก็ยงั คอยตามรงั ควานและทาให้เสียจริต จนตอ้ งซดั เซพเนจรไปเรอื่ ย แตใ่ นท่ีสุดเทวรี ีอาได้ชาระ มลทินให้และเยยี วยาจนหายวิกลจริต พร้อมกบั สอนให้ปลูกองุ่นและทาเหล้าองุ่น หลังจากน้ันเทพไดโอ ไนซูสจึงได้ช่ือว่าเป็นเมรัยเทพ องค์เทพได้ออกเดินทางเพ่ือเผยแพร่การปลูกองุ่นและทาเหล้าองุ่น รวมทั้งพิธีกรรมการเซ่นสรวงบูชาทั้งตนและเทวีรีอาท่ีใดก็ตามท่ีผูค้ นต้อนรับและให้ความเคารพนับถือ ก็จะได้รับพรและความอุดมสมบูรณ์ ส่วนท่ีใดท่ีไม่ยอมรับ ก็จะถูกลงโทษอย่างสาสม กล่าวกันว่าสาวก ผู้ติดตามเริ่มแรกของเทพที่เรียกว่าพวกเมแนด (maenads) คือเหล่านางอัปสรที่เคยเลี้ยงดูองค์เทพ อย่างไรกต็ ามในพิธีกรรมการเซ่นสรวงน้ี เป็นพิธีสนุกสนานอกี ทึกครึกโครม เพราะเหล่าบรวิ ารหญิงชาย จะด่ืมเหล้าจนเมามาย ส่งเสียงดัง บางคร้ังเลยเถิดจนถึงมีการร่วมเพศปนอยู่ด้วย ดังนั้นจึงไม่ได้รับการ ตอ้ นรับในหลายแควัน สาหรบั ศูนยก์ ลางการทาพิธเี ซ่นสรวงเมรัยเทพในกรีก คอื ที่เมอื งธีบส์ เทพไดโอไนซัสมีลักษณะสองประการในตัว คือมีท้ังแง่บวกที่ให้คุณอเนกอนันต์ และแง่ลบท่ีมี บทลงโทษอย่างสาหัส เช่นเดียวกับเหล้าองุ่น องค์เทพเป็นศูนย์กลางของความเชื่อเร่ืองความเป็นอมตะ องคเ์ ทพผ่านความทุกข์ทรมานตา่ งๆ อาทิ ต้องเป็นกาพรา้ ตัง้ แต่แรกคลอด ถูกทาให้เสยี จริต เปรยี บดัง เถาองุ่น ท่ีทุกปีจะต้องถูกตัดเหลือแต่ตอ เหมือนยืนต้นตายในฤดูหนาวแล้วแตกยอดออกมาใหม่ในฤดู ใบไม้ผลิ เปรยี บเสมอื นการฟนื้ คืนชวี ิตอีกครั้ง ดงั น้ันจงึ มีการจัดงานเฉลิมฉลองวาระพิเศษนท้ี ุกปี 15. อีรอส (Eros) เทพแห่งความรัก หรือ กามเทพ เป็นบุตรของเทวีอโฟรไดเทกับเทพแห่ง สงครามเอเรส อีรอสแต่งงานกับนางไซคี (Psyche) อีรอสเป็นเทพรูปงาม ลักษณะที่เราคุ้นเคยก็คือ เทวดาเด็กมีปีกสีขาว ถือธนูคอยยิงศรให้คนเกิดความรักต่อกัน ตามตานานแล้ว อีรอสจะอยู่ใกล้ชิดกับผู้ เป็นมารดาอยู่เสมอ ซ่ึงอาจเทียบเคียงในเชิง อุปมาอุปไมยได้ว่า เม่ือมีความงาม ก็มักจะตามมาด้วยความ ใคร่และความรัก ในตอนแรกน้ัน อีรอสไม่ยอมเติบโตเป็นผู้ใหญ่ตามกาลเวลาท่ีผ่านไป ยงั คงเป็นเด็กอยู่ เสมอ ทาให้พระมารดาเกิดความกังวลใจ จึงไปปรึกษากับเทวีธีมิส เทพีแห่งความยุติธรรมว่า ควรทา

31 อย่างไร อีรอสจึงจะเติบโตข้ึน เป็นผใู้ หญ่ กไ็ ด้รับคาตอบว่า ที่อีรอสไม่ยอมโตเปน็ เพราะขาดเพ่ือนเล่นแก้ เหงา ตอ่ มาไมช่ ้าไม่นาน เทวีอโฟรไดเท ก็ไดก้ าเนิดโอรส อกี องคห์ น่ึงชอ่ื แอนตีรอส (Anteros) ซ่งึ มีบดิ า คอื เอรีสอีกครง้ั เมื่อมีน้องเป็นเพอื่ นเลน่ กามเทพ จึงเตบิ โตขน้ึ เปน็ หนมุ่ รปู งาม ส่วนเทพแอนตีรอสน้ันถือ กันว่า เป็นเทพท่ีบันดาลให้เกิดความรักตอบด้วย ตรงนี้ตีความ ได้ว่า ความรักที่ก่อกาเนิดข้ึนนั้นจะ บรรลุผล จะต้องได้รับความรักตอบ เมอื่ ครบทั้งสองทาง ความรกั น้นั จงึ จะสมบูรณ์ รปู ภาพ อีรอส (Eros) เทพแห่งความรกั Photo source : https://variety.phuketindex.com/wp-content/uploads/2010/09/eros02.jpg 16. กลุ่มเทวีมิวส์ (the Muses) เทพธิดา 9 องค์ หรือเทวีแห่งศิลปะและวิทยาการ ตานาน กาเนิดไม่ค่อยชัดเจน แต่กล่าวกันว่าเป็นธิดาของเทพบดีซูสกับนางเนโมซีนี(Mnemosyne) เทวีแห่ง ความทรงจา เทวีมิวส์ท้ังเก้าองค์ถือเป็นผู้ให้แรงบันดาลใจให้สร้างสรรค์บทประพันธ์ไพเราะ จึงน่าจะ ต้องอาศัยความทรงจาด้วย ประกอบด้วย คลีโอ (Clio) คือ ประวัติศาสตร์, ยูเรเนีย(Urania) คือ ดารา ศาสตร์, ยูเท อร์เพ (Euterpe) คือ กวีนิพนธ์ท่ีใช้ดนตรีป ระกอบ, ธาลเลีย (Thaleia) คือ สขุ นาฏกรรม, เมลพอมินี (Melpomene) คือ โศกนาฏกรรม, เทอร์พซิเคอเร(Terpsichore) การระบา, เอราโต (Erato) คือ กวีนิพนธ์เก่ียวกับความรัก, โพลิฮิมเนีย (Polyhyrmnia) คือ เพลงหรือบทสวด สรรค์เสริญเทพเจา้ และ คาไลโอเพ (Calicope) คอื มหากาพย์ มิวสท์ ้งั เกา้ ไดร้ ับความเคารพนบั ถือจาก ศลิ ปินสาขาต่างๆ มากมาย โดยถอื เป็นธรรมเนียมว่า กอ่ นจะประพนั ธ์งานชนิ้ ใดจะเขยี นบทอัญเชิญเทวีมา เป็นแรงบันดาลใจให้ประสบความสาเร็จ นอกจากน้ีเหล่าเทวี ท้ังเก้ายังเป็นผู้ขับกล่อมทวยเทพในวาระ พิเศษต่าง ๆ ด้วย 17. กล่มุ เทวีโฮเร่ (the Horae or Seasons) หรือเทวีแหง่ ฤดูกาล ในตานานว่าเป็นธดิ าของ เทพบดีซุสกับเทวีเธมิส ทาหน้าท่ีเป็นประธานในการเฉลิมฉลองต่างๆ กล่าวกันว่ามีอยู่สามองค์ ประกอบด้วย ไดก์ (Dike) คือ ความยุติธรรม, ยูโนเมีย (Eunomia) คือ ความเป็นระเบียบ, และอีเรเน (Eirene) คอื ความสงบสขุ ถือว่าเป็นเทวีผู้ปกปักรักษาความเป็นหนุ่มสาว มีหนา้ ท่รี ักษาประตูแห่งสรวง สวรรค์ รวมทั้งเปน็ เทวีทคี่ อยดแู ลความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยในสังคมของกรีกด้วย

32 18. กลุม่ เทพเทวเี กรส (Graces) หรอื เทวแี หง่ ความงดงามและความสง่างาม สาหรบั กาเนิดนัน้ ไม่แนน่ อน บ้างว่าเปน็ ธดิ าของเทพบดีซสู กับยรู นี โนเม บ้างวา่ เป็นธดิ าของเทพเฮลอิ สั บ้างว่าเปน็ ธิดาเทพ ไดโอไนซัส ประกอบด้วยสามองค์ คือ อกลาลา (Aglaea) คือ ความงดงามอย่างวิเศษ, ยูโฟรซิเน (Euphrosyne) คือ ความสนุกสนานรา่ เริง และธาเลีย (Thalia) คือ ความรา่ เรงิ ถือเป็นเทวีผู้ประทาน ความสุภาพออ่ นโยนเพื่อให้มีความร่ืนรมยใ์ นชวี ิต เป็นบริวารของเทวแี หง่ ความงามอโฟรไดเท รวมถึงให้ การรับใช้เทพเทวที ้ังหลาย พวงนางจะร่ายราบทเพลงของเทพอพอลโลเพอ่ื ให้ความสาราญ บันดาลให้ เกดิ ความสขุ สนกุ สนานในสังคมทุกแห่งที่เทวีไปอยูร่ ว่ มด้วย ความงดงามและความสง่างามของเทวเี ป็นส่ิง ท่นี าความชืน่ ชมมาสผู่ พู้ บเห็นทั้งเหลา่ เทพเทวีและมวลมนษุ ย์ 19.กลุ่มเทวีโมเร่ (the Moerae or Fates) หรือ เทวีแห่งโชคชะตา เป็นผู้กาหนดเหตุการณ์ และชะตาชีวิตของมวลมนุษย์ ประกอบด้วย 3 องค์ ได้แก่ โคลโธ (Clotho) คือ ผู้ทอเส้นด้ายแห่งชีวิต, ลาเคอริส (Lacheris) คือ ผู้กาหนดโชคชะตาชีวิต และ อโทรพอส (Atropos) คือ ผู้เด็ดเดี่ยวและไม่ ปราณีท่ีคอยตัดเส้นด้ายแห่งชีวิต รูปลักษณ์ของเทวี คือ สตรีสามนาง ถักทอเส้นใย วัดขนาดความยาว ของเส้นใยท่ีกาหนด และใช้เคียวตัดเส้นใยแห่งชีวิตเม่ือถึงเวลาอันควร เทวีทั้งสามมีอานาจสิทธิขาด ไม่ เว้นแม้เทพบดีซูสท่ีต้องยอมตาม เป็นสัญลักษณ์ของความมีระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติงานของมวล มนษุ ย์ 21. กลุ่มเทวีเอรินเยส (the Erinyes or the Furies) หรือเทวีแห่งการล้างแค้น เทวีกลุ่มนี้ ถือกาเนิดจากแม่พระธรณี เมื่อคราวท่ีหยาดโลหิตจากเทพไททันยูเรนัสตกลงยังพื้นดิน (เกิดจากถูก โครนัสเฉือนองคชาติท้ิง) กล่าวกันว่าเทวีกลุ่มนี้มีสามองค์ คือ อเลคโต (Alecto) นางผู้ไม่สงบ, เมแกรา (Megaera) คือ นางผู้ริษยา และ ทิซิเฟอนี (Tisiphone) คือ นางผู้แก้แค้น เทวีทั้งสามมีรูปลักษณ์ ที่ น่ากลัว คือ มีผมยาวสยายเป็นงู มือถือคบไฟและแส้ มีเลือดหยดมาจากดวงตา องค์เทวีมีหน้าที่ คอยล้าง แค้นผู้ทาปิตุฆาต มาตุฆาต หรือสังหารญาติท่ีใกล้ชิด และจะตามลงโทษทั้งบนโลกมนุษย์และในยมโลก ฉะนั้นจึงไม่มีผู้ใดหนีรอดจากการลงโทษได้ หลายคนอาจมองว่าทั้งสามเป็นเทวีที่โหดร้าย แต่ถ้า พจิ ารณาใหด้ จี ะเห็นไดว้ ่าเทวีเป็นตัวแทนของกฏระเบียบในสังคม ผู้กระทาผิดย่อมตอ้ งได้รบั การลงโทษ สรปุ 1. เทพเจ้าของกรกี มีลักษณะะมรี ปู ร่างหน้าตา เช่นเดียวกับมนษุ ย์ ส่ิงท่ีแตกตา่ งไป คือ ความมี สง่าราศี และรูปลักษณ์ท่งี ดงาม เช่น เทพอพอลโลเป็นต้นแบบของความอ่อนเยาว์และเพศชายทส่ี มบูรณ์ แบบ เทวีอโฟรไดเท เป็นต้นแบบของความสวยงาม ผุดผ่อน เป็นท่ีหมายปองของบุรุษเพศ แต่ท่ีแตกต่างจากมนุษย์ คือบรรดาเหล่าทวยเทพเจ้ามีพลังวิเศษที่สามารถควบคุมปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาตไิ ด้ จะไดร้ ับความเคารพบูชา มนษุ ยไ์ มอ่ าจแตะตอ้ งได้

33 2. เหล่าทวยเทพมีอารมณ์ความรู้สึก รัก โลภ โกรธ ลมุ่ หลง มวั เมา หึงหวง ดังเช่นมนุษย์ และ สามารถมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับมนุษย์ ถือว่ามิใช่ตัวอย่างท่ีดีหากเรามองในแง่ของศีลธรรมและ จรรยา แต่ทวยเทพเป็นผู้สร้างอารยธรรมให้กรีก คมุ้ ครอง ปราบปรามทรราชย์ อันได้แก่เหล่าอสูรและ สัตว์ประหลาดท้ังหลาย จึงยังคงคุณสมบัติความเป็นเทพอยู่ และยังคงได้รับการเคารพบูชาจากมนุษย์ จะเห็นได้ชัดเจน คือกรณีความเจ้าชู้เทพเจ้าซูส มิได้ซื่อสัตย์ต่อชายา มีชายาหลายองค์และหลายคน รวมถึงเรือ่ งราวการลักลอบไปมีความสมั พันธฉ์ ันทช์ ้สู าว เปน็ ต้นเหตุของเร่ืองราวมากมาย เช่น เทวีเฮรา ทค่ี วามโกรธแค้นอันเปน็ ผลจากการกระทาของผู้เปน็ สวามี ชิงชงั หญิงทีเ่ ทพเจ้าซสู ไปมีความสัมพันธ์ด้วย จึงคอยตามรังควานท่าอันตราย ไม่เว้น แม้แต่ทารกที่ถือกาเนิดข้ึนมา เช่น เฮราคลิส กรณีความอิจฉา ริษยาแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นของเหล่าเทวีท้ัง 3 องค์ ท่ีต้องการเป็นผู้ที่งามท่ีสุดในโลก คือ เทวีเฮร่า เทวอี ธนี า และเทวี อโฟรไดเทจึงเกิดการแยง่ ชิงกันครอบครองแอปเปิลทองคา 3. ถึงแม้จะเป็นเหล่าทวยเทพท่ีมีอานาจเหนือมนุษย์ เหล่าทวยเทพก็ได้รับมอบหมายงานและ หน้าที่รับผิดชอบท่ีอตกต่างกันออกไป ดังเช่น เทพโพไซดอนที่ทาหน้าท่ีดูแลความเรียบร้อยของ มหาสมุทร เทพอพอลโลท่ีทาหน้าท่ีดูแลการข้ึนลงของพระอาทิตย์ เทพเฮออร์เมสที่ทาหน้าที่เป็นผู้ส่ง สารใหเ้ หลา่ บรรดาทวยเทพ ซ่งึ สะท้อนใหเ้ หน็ ว่าเหลา่ ทวยเทพมิได้อยูเ่ ฉยหรือมไิ ด้ทางานอะไร 4. เรื่องความเข้าใจเกี่ยวกับยมโลก (Hades) หรือโลกแห่งความตาย (the underworld) การเกิดแก่เจ็บตาย ล้วนแล้วมีผู้ทาหนดน้ันก็คือโชคซะตา มนุษย์เชื่อว่าอาณาจักรใต้ดิน คือ นรก เป็น สถานที่ลงโทษผู้กระทาผิด และ ยมโลก หมายถึงท่ีอยู่ของวิญญาณผูท้ ี่เสียชวี ิตไปแล้ว มกี ารประกอบพิธี ท่ีถูกต้อง เช่น มีการวางเหรียญเงินไว้ในปาก ก็จะสามารถผ่านเขา้ ไปอยู่ในยมโลกได้ เพราะการเดินทาง ไปสู่ยมโลก ตอ้ งข้ามแม่น้าสติกซ์ (Styx) ท่ีไหลรอบยมโลก ซ่ึงจะมีคารอน (Charon) เปน็ ผคู้ อยพายเรือ ข้ามฟากให้ คารอนจะให้บริการเฉพาะผู้มีค่าจ้างให้เท่าน้ัน สาหรับผู้ตายท่ีไม่มี การทาพิธีให้ถูกต้อง วิญญาณจะต้องเร่ร่อนอยู่ระหว่างโลกมนุษย์กับยมโลกเป็นบริเวณท่ีเรียกว่า ลิมโบ (Limbo) ฉะน้ันชาว กรีกจึงให้ความสาคัญกบั การประกอบพิธศี พท่ีถูกต้อง สาหรับผู้ที่ ประกอบคุณงามความดี หรือวีรบุรุษผู้ กล้าหาญ เมื่อเสียชีวิตไปแล้วจะได้ขึ้นไปอยู่ในสวรรค์ เรียกว่า อีไลเซียม (Elysium or Elysian fields) แต่เป็นคนละแห่งกับยอดเขาโอลิมปัส อันเป็น สรวงสวรรค์ของเหล่าเทพเทวี ส่วนผู้ ท่ีประกอบ อาชญากรรม มีความประพฤติเลวร้าย เมื่อเสียชีวิตแล้วจะถูกลงโทษ ต้องลงไปถูกคุมขังอยู่ในนรกอเวจี ที่เรียกว่า ทาร์ทารัส (Tartarus) เป็นสถานที่เดยี วกับ ท่ีเทพยเู รนสั สง่ ทายาทท่หี น้าตาอัปลกั ษณ์ลงไป อยู่ เทพบดซี ูสก็สง่ เทพไททนั ลงมากักขังที่นเี่ ชน่ กัน ทารท์ ารัสอยูใ่ ตด้ นิ ลกึ ลงไปกว่ายมโลก

34 คาถามท้ายบทเรยี น บทที่ 2 Directions: Please chooses your best answer. (15 points) 1. Before earth and sea and heaven were created, all thing were gathered in one confused and shapeless mass called __________________. A. Uranus B. Gaea C. Chaos D. Erebus 2. The Hundred-Handed Ones hates their father, and for this, Uranus decided to push them deep into__________________ A. the ocean B. the earth C. the sky D. the lighting 3. _________________were huge giants who had only one eyes in the middle of their forehead. A. Hundred-handed Ones B. Cyclopes C. Titans D. Giants 4. The imprisonment of the Hundred-Handed One and Cyclopes hurt_________. So, she began to encourage the Titans to rebel against Farther Sky. A. Cronus B. Gaea C. Rhea D. Phoebe 5. When Rhea was pregnant with her sixth child, she was __________not to let her husband swallow her child who later named Zeus. A. determined B. hesitant C. accepted D. impatient 6. How many gods lived on Mount Olympus? A. 6 B. 10 C. 12 D. 14

35 7. What was the final resting place for the souls of heroes in Greek mythology? A. Crete Island B. Elysium C. Olympus D. Taratas 8. After the Olympians owns the battle of Titans, who became the absolute ruler of all, replacing Cronus? A. Zeus B. Poseidon C. Hades D. Atlas 9. Zeus could be tricked or distracted. His great weakness was fondness for ___________. A. beautiful woman B. immortal children C. his power of all-knowing D. his travel at the speed of thought 10. ______________was the goddess of love, desire and beauty. A. Hera B. Athena C. Hestia D. Aphrodite 11. This god/goddess sprung full grown in armor from Zeus’s forehead, he/she is________________. A. Demeter B. Athena C. Artemis D. Persephone 12. She was the lady of wild things, chastity, virginity, the hunt, the moon, and the natural environment. She is ____________________. A. Athena B. Aphrodite C. Artemis D. Persephone

36 13. He was the youngest Olympian and son of Zeus and Maia. He was the god of shepherds, merchants, thieve, and messenger of the god. One of his duties is guiding the souls of the dead down to underworld. He is _____________. A. Ares B. Dionysus C. Apollo D. Hermes 14. Who is Epimetheus? A. One of the Titans who create mankind. B. He shaped men to walk on two legs with cray. C. He, whose name means “after thought” D. He, whose name means ‘before thought” 15. What is the last creature with the golden wing flew out of after Pandora sneak to open the box? A. Hope B. Plague C. Famine D. Despair


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook