Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเทศเวียดนาม

ประเทศเวียดนาม

Published by patthananmuk2549, 2021-08-11 05:53:44

Description: ประเทศเวียดนาม

Search

Read the Text Version

1 ประเทศเวยี ดนาม (Vietnam) เวยี ดนาม หรือ0 เหวยี ดนามคอื อีกชือ่ หนึง่ ของ นามเหวียดท่ีแปลวา่ เวยี ดใต้โดยเปน็ ชอื่ ทเ่ี รม่ิ ใช้ ตั้งแตส่ มยั ราชวงศเ์ จี่ยว ในช่วงศตวรรษที่ 2 กอ่ นครสิ ตกาล หรอื ช่วงระหวา่ งปีพ.ศ. 344 ถึง 443 คําว่า เหวยี ด เดิมเปน็ ชื่อยอ่ ของ บ๊กั เหวียดที่แปลว่า รอ้ ยเวียด ซึง่ เปน็ คําทใี่ ชเ้ รียกกลุ่มชนที่เคยอาศยั อยู่บริเวณทางใตข้ อง จีนและทางเหนือของเวยี ดนาม ประวตั ศิ าสตร์ของเวียดนาม สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ อารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ในเวยี ดนามมชี ่อื เสียงมากโดยเฉพาะอารยธรรมยุคหินใหม่ ทีม่ ี หลักฐานคอื กลองมโหระทึกสาํ ริด และชุมชนโบราณท่ีดงเซนิ เขตเมอื งแทงหวา ทางใตข้ องปากแมน่ าํ้ แดง สันนษิ ฐานว่าบรรพบรุ ษุ ของชาวเวยี ดนามโบราณผสมผสานระหวา่ งชนเผา่ มองโกลอยด์เหนือจากจนี ใต้ ซึ่ง เปน็ ชาวทะเล ดาํ รงชพี ด้วยการปลูกขา้ วแบบนาดําและจับปลา และอยู่กนั เป็นเผ่า บนั ทึกประวัตศิ าสตรย์ ุค หลังของเวียดนามเรยี กยคุ นว้ี า่ อาณาจักรวนั ลาง มีผนู้ ําปกครองสืบต่อกันหลายร้อยปเี รยี กว่า กษตั รยิ ห์ ุ่ง

2 สมยั ประวตั ศิ าสตร์ เวยี ดนามเริ่มเขา้ สู่ยุคประวัติศาสตร์หลังจากตอนใตข้ องจนี เข้ารกุ รานและยึดครองดนิ แดนแถบล่มุ แมน่ ้ําแดง จากนน้ั ไมน่ านจกั รพรรดิจิ๋นซซี ่งึ เร่มิ รวมดนิ แดนจีนสร้างจักรวรรดใิ ห้เปน็ หนง่ึ เดียว โดยได้ยก ทพั ลงมาและทําลายอาณาจกั รของพวกถกุ ได้ ก่อนผนวกดินแดนลุ่มแม่น้ําแดงท้งั หมด ใหข้ น้ึ ตรงต่อ ศูนยก์ ลางการปกครองหนานไห่ ที่เมอื งพานอวหี่ รอื กว่างโจวในมณฑลกวางตงุ้ ปัจจบุ นั หลงั สิน้ สดุ ราชวงศ์ ฉนิ ข้าหลวงหนานไหค่ ือจา้ วถวั ประกาศตั้งหนานไหเ่ ปน็ อาณาจักรอิสระ ช่อื ว่า หนานเยว่ หรือ นามเหวียต ในสําเนยี งเวียดนามซงึ่ เปน็ ทม่ี าของช่ือเวยี ดนามในปัจจุบนั ก่อนกองทพั ฮ่ันเขา้ ยึดอาณาจักรนามเหวยี ด ได้ ในปี พ.ศ. 585 และผนวกเปน็ ส่วนหนึ่งของจีน ใชช้ อ่ื วา่ เจียวจื้อ ขยายอาณาเขตลงใต้ถึงบริเวณเมืองดานังใน ปจั จุบัน และส่งขา้ หลวงปกครองระดบั สงู มาประจาํ เปน็ ช่วงเวลาทชี่ าวจนี นาํ วัฒนธรรมจีนทางดา้ นตา่ งๆ ไปเผยแพร่ที่ยุคก่อนตกเปน็ เมอื งขน้ึ ของชาตติ ะวนั ตก อาณาจักรแรกของชาวเวยี ดนาม คอื อาณาจกั ร นามเวยี ด (อาณาจกั รทางตอนเหนือ) เป็นเปน็ เมืองขึน้ ของจีนมานาน ทําใหเ้ วียดนามเปน็ ประเทศท่เี ด่ยี วในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ที่ไดร้ ับอิทธพิ ลทางวัฒนธรรม จากจีนเปน็ ส่วนใหญ่ แม้ต่อมาอาณาจักรนามเวยี ดจะเป็นอิสระแต่กย็ ังคงส่งเครื่องบรรณาการส่งให้จนี (จีน ถอื ว่านามเวยี ดเป็นเมอื งประเทศราช)ทางตอนกลางและตอนใต้ของประเทศเวียดนามในอดีตเป็นท่ีต้งั ของอา ราจักรจามปา(พวกจาม ซึง่ ปจั จุบันเป็นชนกลุ่มน้อยอยทู่ างตอนใต้ของประเทศเวียดนาม) ชว่ งทีเ่ ปน็ เอกราชจากจีน (ค.ศ. 938-1009) ช่วงน้เี ป็นชว่ งต้นราชวงศ์ถงั ซึง่ ภายในจนี มีความวุน่ วาย ภายในเวยี ดนามก็สถาปนาราชวงศเ์ ล(Le Dynasty) ชว่ งยุคทองของประวัติศาสตร์เวยี ดนาม (ค.ศ. 1010 -1527) เมอ่ื อาณาจกั รนามเวยี ดทางตอนเหนอื สามารถยึดพวกจามได้ทําให้อาณาจักรกว้างขวาง โดยเฉพาะในสมยั ราชวงศเ์ ล เปน็ ชว่ งทม่ี ีการวางรากฐาน ในการพฒั นาประเทศอย่างสาํ คัญมากมายมีการส่งเสรมิ พทุ ธศาสนากับลัทธิขงจื้อกับลัทธเิ ตา๋ ดว้ ยและได้ย้าย เมอื งหลวงมาอยู่ที่ กรุงฮานอยดินแดนแห่งน้ี พรอ้ มเกบ็ เกย่ี วผลประโยชนท์ รัพยากรจากชาวพื้นเมอื งหรอื ชาวเวียดนามยคุ แห่งการแบ่งแยก (ค.ศ. 1528-1802) อาณาจกั รถูกแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น เหนือ-ใต้ เม่อื ราชวงส์ เลเส่อื มอาํ นาจทาํ ใหอ้ าณาจกั แบ่งออกเปน็ สามสว่ น - ตอนเหนอื – แคว้นตงั เกยี่ – ศูนย์กลางทกี่ รงุ ฮานอย – มีตระกลู แม็ค ปกครอง - ตอนกลาง – แควน้ อันนมั – ศนู ยก์ ลางอยู่ทีเ่ มืองเตย์โด – มีตระกูลตรินห์ ปกครอง - ตอนใต้ – แคว้นโคชนิ ไชนา – มศี นู ยก์ ลางอยทู่ ี่เมอื งเว้ – มีตระกูล เหงียน ปกครอง

3 ต่อมาตระกูลตรนิ หย์ ึดแคว้นตัง๋ เกีย๋ ได้ ซึง่ ทาํ ให้เหลือ 2 แควน้ ตอ่ มาเจ้าชายเหงียนอันห์ แหง่ ราชวงศ์ เหงียนทําการรวมประเทศ เปน็ ประเทศเวยี ดนาม (ค.ศ.1802 จงึ เรยี กช่ือประเทศวา่ เวยี ดนาม)โดยความ ช่วยเหลอื จากไทย(สมยั ร.1) และฝร่งั เศส และสถาปนาราชวงศย์ าลอง เปน็ จักรพรรดยิ าลอง ซึง่ จักรพรรดิยา ลอง มีความสัมพนั ธท์ ่ีดีกับฝรัง่ เศสมาก และฝร่ังเศสได้เขา้ มาชว่ ยเหลอื ในการรวมประเทศผลสุดท้ายฝร่ังเศส ก็เขา้ มาแทรกแซงภายในประเทศมากขึ้นเรอื่ ย ๆ จน ต้องตกไปเป็นเมืองขน้ึ ของฝรัง่ เศส ราชวงศเ์ หงยี น(เห วียน) เปน็ ราชวงศ์สดุ ท้ายของเวยี ดนาม นบั ตั้งแต่กษัตรยิ ์ยาลองจนถงึ กษตั ริยอ์ งค์สดุ ทา้ ยคอื เบา๋ ได่(Bao Dai) รวม 143 ปี (ปี ค.ศ. 1945 เปน็ ปที ่ีส้นิ สดุ ระบบกษตั ริย์ของเวยี ดนาม)เวียดนามแต่เดิมมกี ารปกครองแบบ ราชาธิปไตย(มีกษัตรยิ ์) แบบรวมอํานาจการปกครอง มคี วามสมั พันธ์ใกลช้ ดิ กบั จนี มาไม่ตา่ํ กว่า 4000 ปี เคย ตกอยู่ภายใตก้ ารปกครองของจนี มากว่า 1000 ปี มีการด้ินรนตอ่ สู้ใหพ้ ้นจากการยึดครองของจีนตลอดมา ยคุ ทอี่ ย่ใู ต้การปกครองของชาตติ ะวนั ตก (เปน็ เมืองขึน้ ของฝร่ังเศส) ชาติตะวันตกเร่มิ เขา้ มาใน เวียดนามในชว่ ง ศตวรรษที่ 1600 โดยเขา้ มาทําการค้าและเผยแพร่ศาสนาคริสต์ โดยเฉพาะ ฝร่งั เศส และชาว ฝร่ังเศส ช่อื Alexandre de Rhodes ไดเ้ ขา้ มาพฒั นาภาษาเวียดนามท่ีเดมิ ใชต้ ัวอกั ษรจนี มาใชต้ ัวอกั ษรโรมัน แทน (โดยพัฒนาต่อจากมิชชัน่ นารีชาวโปรตเุ กสทเ่ี ร่ิมไว้ก่อหนา้ ) และในสมยั ราชวงศเ์ หงยี นจึงมขี อ้ ขัดแยง้ กนั ทางศาสนาซ่ึงเดมิ ชาวเวยี ดนามนับถือศาสนาพทุ ธ ขงจ้อื ในช่วงปี ค.ศ. 1859-1867 ฝรงั่ เศสได้เร่ิมยึด ครองเวยี ดนาม ในสมยั ราชวงศเ์ หงียน เวียดนามถูกฝรงั่ เศสเข้ายึดครองเปน็ อาณานิคมของฝร่งั เศส เมอื่ ปี พ.ศ.2427 ทําใหป้ ระเทศถูกแบ่งออกเปน็ สามส่วนคือ ภาคเหนอื เปน็ แควน้ ตงั เกย๋ี ภาคกลางเป็นแควน้ อันนมั และภาคใต้เป็นแควน้ โคชนิ ไชนา (โคชนิ จีน) และถูกรวมเขา้ กบั เขมร และลาว เรยี กว่าสหพนั ธอ์ นิ โดจีน (Indochinese Federation) ในปี 1893 ในชว่ งที่เวียดนามอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของฝรั่งเศสน้ัน ฝร่งั เศสได้ พัฒนา หลายสิ่ง ทั้งด้าน การศกึ ษา การเกษตร ระบบเมือง ระบบถนน การสาธารณสุข มกี ารส่งสินคา้ การเกษตรมากมาย แต่อยา่ งไรกต็ าม ผลประโยชน์ส่วนใหญ่กต็ กอยกู่ บั ฝรงั่ เศส ในช่วงท่ีเวียดนามตกอย่ใู ต้ การปกครองของฝรงั่ เศสนนั้ กไ็ ดเ้ ร่มิ มีบางกลมุ่ ที่เรม่ิ ตอ่ ต้าน และต้องการปกครองของฝรั่งเศส นัน้ ก็คือกล่มุ ของโฮจิมนิ ห์ (กล่มุ เวยี ดมนิ ห์Viet Minh) ยุคเอกราช ยคุ หลงั จากไดร้ ับเอกราชจากฝร่ังเศส และ ช่วงหลังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 (สงครามมหาเอเชียบูรพา) เมอ่ื เกดิ สงครามมหาเอเชยี บรู พา (สงครามโลกครง้ั ที่ 2 ฝากทางเอเชยี )ญป่ี ุน่ ได้ยกกําลงั เขา้ ยดึ อนิ โดจนี ของ ฝรง่ั เศส และได้ประกาศยกเลกิ อํานาจการปกครองของฝร่ังเศสในปี พ.ศ.2483 (ค.ศ.1940) พรอ้ มกับได้

4 มอบหมายใหจ้ ักรพรรดเิ บ๋าไดข๋ องเวยี ดนาม ประกาศอิสรภาพ และจดั ต้ังรฐั บาลเวียดนามข้นึ ปกครอง ประเทศ กอ่ นหนา้ ทญ่ี ่ปี นุ่ จะยึดอนิ โดจีนของฝร่งั เศสนน้ั ในเวียดนามไดม้ ีขบวนการตอ่ ตา้ นฝรงั่ เศส ทสี่ ําคัญ อยขู่ บวนหนึ่งเรียกวา่ สันนิบาตเพอ่ื เอกราชเวยี ดนาม หรอื เวียดมินห์ (Viet Minh) ผู้ก่อตง้ั ขบวนการนีค้ อื โฮจิ มินห์ (Ho Chi Minh) ขบวนการดังกล่าวมเี ป้าหมายทจ่ี ะแยกสลายศตั รู และรวมพลังตา่ ง ๆ ใหม้ ากทสี่ ุด เพอ่ื ทีจ่ ะพทิ กั ษร์ กั ษาประเทศชาติ และปลดปลอ่ ยประชาชน ฐานที่มนั่ ของขบวนการน้ีอยู่ทเี่ วียดบัค (Viet Bac) และขบวนการดงั กล่าว ไดก้ ลายมาเปน็ กองทพั ประชาชนของเวยี ดนามในเวลาตอ่ มา ในหว้ งเวลาที่ ญป่ี ุน่ ยึดครองเวยี ดนาม คร้นั สงครามมหาเอเชยี บรู พานนั้ จีนและสหรฐั อเมริกา ไดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลอื ขบวนการนี้ เพอื่ ต่อต้านญ่ีปุน่ ทาํ ใหโ้ ฮจมิ นิ ห์สามารถกอ่ ตงั้ ขบวนการคอมมวิ นิสตท์ ีม่ ีประสทิ ธิภาพข้นึ ทว่ั ประเทศ เม่อื สงครามมหาเอเชยี บรู พายตุ ิลง(สงครามโลกครง้ั ที่ 2)ในปี พ.ศ. 2488 (ค.ศ.1945)ญปี่ นุ่ เปน็ ฝ่าย แพส้ งคราม จกั รพรรดิเบาได๋ไดส้ ละราชสมบัติ และมอบอาํ นาจการบรหิ ารให้แก่ฝา่ ยเวียดมินห์ ฝา่ ย สัมพนั ธมติ ร โดยมอี ังกฤษเปน็ ฝา่ ยสนับสนุน ใหฝ้ รั่งเศสกลบั เขา้ มามอี าํ นาจในเวยี ดนามอีก โฮจิมนิ ห์ได้ ประกาศทาํ การตอ่ สู้ด้วยกาํ ลงั อาวุธอยา่ งเปิดเผย โดยได้ประกาศอิสรภาพ และสถาปนาสาธารณรฐั ประชาธิปไตยเวียดนาม ซึง่ ประกอบด้วยตงั เกย๋ี อันนัม และโคชนิ ไชนา่ ข้ึน เม่ือปี พ.ศ.2488โดยมีกรงุ ฮานอย เปน็ เมืองหลวง และโฮจิมนิ หเ์ ป็นประธานาธบิ ดี สมยั สงครามเวยี ดนาม (ค.ศ. 1970 -1975) ฝร่งั เศสได้ให้การรับรองสาธารณรฐั ประชาธิปไตยเวียดนามดงั กล่าวในฐานะเปน็ ส่วนหนงึ่ ของ สหพันธ์อนิ โดจนี ของฝร่งั เศส ซึง่ ขดั แย้งกับเจตน์จํานงของพวก เวยี ดมนิ ห์ ต่อมาในปี พ.ศ.2492 (ค.ศ. 1949) ฝรั่งเศสได้ประกาศจัดต้ังสาธารณรัฐเสรีแหง่ เวยี ดนามใต้ขึน้ โดยมีจกั รพรรดเิ บาได๋เปน็ ประมขุ (เปน็ หุน่ เชดิ ของฝรั่งเศส) และมีโงดินห์เดยี ม (Ngo Dinh Diem) เป็นนายกรัฐมนตรี ทําใหม้ ีการส้รู บระหว่างเวยี ดมินห์ กบั ฝรั่งเศส ซง่ึ เร่ิมมาแต่ปลายปี พ.ศ.2489 เป็นไปอยา่ งรนุ แรงยง่ิ ข้ึน ในทสี่ ดุ ฝร่ังเศสเป็นฝ่ายปราชัยแก่ฝา่ ย เวียดมินห์ ในสงครามที่เดยี นเบียนฟู (Dien Bien Pho) เม่ือปี พ.ศ.2497(ค.ศ. 1954) ฝร่ังเศสได้ลงนามใน ข้อตกลงเจนวี า (Geneva Agreement) กบั ฝา่ ยเวียดมนิ ห์ในปีเดยี วกัน โดยฝร่งั เศสยอมเคารพต่อความเป็นเอก ราชอธิปไตย เอกภาพและบูรณภาพของสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม

5 ข้อตกลงเจนวี า (Geneva Agreement) ดังกล่าวได้ระบใุ หแ้ บง่ เวยี ดนามออกเปน็ สองสว่ น(เวียดนาม เหนอื และ เวยี ดนามใต)้ โดยใช้เส้นขนาน(เสน้ ละตจิ ูด)ท่ี 17 เป็นเสน้ แบง่ เขตชัว่ คราว และจัดให้มีเขตปลอด ทหารข้นึ โดยใหท้ ง้ั สองฝา่ ยถอนทหารกลบั เข้าเขตของตน ใหป้ ระชาชนเลอื กอพยพเขา้ ไปอย่ใู นแต่ละภาค ตามความสมัครใจ ภายใน 300 วัน สนธิสญั ญาดังกลา่ ว ยังห้ามมใิ หช้ าวต่างชาตโิ ยกยา้ ยทหาร และอาวุธเขา้ ไปตง้ั มั่นในแตล่ ะภาค ห้ามเวยี ดนามทงั้ สองฝา่ ยเข้าเป็นพนั ธมิตรทางทหารกับตา่ งประเทศ และให้มี กรรมการควบคมุ ตรวจตราระหวา่ งประเทศ (ICC) ควบคมุ ดูแลใหเ้ ป็นไปตามขอ้ ตกลง นอกจากน้ันยังได้ กําหนดให้มกี ารเลอื กตัง้ ท่วั ไป เพอ่ื รวมเวียดนามทัง้ สองฝ่ายเข้าด้วยกนั ภายในปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ.1956) ดว้ ย แตก่ ารดาํ เนนิ การรวมประเทศเข้าด้วยกนั ไมไ่ ดม้ ขี ึน้ ตามข้อตกลง เนอื่ งจากเวียดนามใตไ้ มย่ ินยอม โดยอ้างว่า เวียดนามเหนอื ไม่ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงเกีย่ วกับการถอนทหาร โดยยงั มกี องกาํ ลงั เวียดนามเหนอื อยู่ใน เวยี ดนามใต้ ประมาณ 5000 คน ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ.1955)โงดินหเ์ ดยี ม นายกรัฐมนตรีเวียดนามใต้ ไดร้ ับการสนับสนนุ จาก สหรฐั อเมรกิ า ใหล้ ้มเลิกระบบกษัตริย์ และเปลีย่ นรูปการปกครองของเวยี ดนามใต้ เปน็ ระบอบสาธารณรัฐ (มปี ระธานาธบิ ดีแทนกษตั ริย์)โดยโงดนิ หเ์ ดียม ได้ดาํ รงตาํ แหน่งเป็นประธานาธิบดคี นแรกของเวยี ดนามใต้ ในขณะเดียวกนั เวยี ดนามเหนือ กไ็ ดพ้ ยายามทีจ่ ะใหม้ ีการออกเสยี ง ประชามติเกยี่ วกบั การรวมเวียดนาม แต่ กไ็ มเ่ ปน็ ผลสาํ เรจ็ จึงได้หันมาใชก้ ลวธิ ที างการเมอื ง เรม่ิ ด้วยการจดั ตั้งขบวนการคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ หรือ เวยี ดกง (Viet Cong) ได้จดั ตง้ั แนวรว่ มปลดปลอ่ ยแห่งชาติ (National Liberation of South Vietnam) ขึ้น ในปี พ.ศ.2503(ค.ศ.1960)โดยอา้ งว่าเป็นตัวแทนของชาวเวยี ดนามใต้ ในการต่อสู้กบั เวียดนามใต้ เพอ่ื ใหม้ ี การรวมเวียดนามเขา้ ดว้ ยกัน แนวรว่ มดงั กล่าวได้ประกาศจัดตง้ั \"รัฐบาลปฎวิ ตั ชิ ั่วคราวแห่งเวยี ดนามใต้ (Provision Revotutionary) เมื่อปี พ.ศ.2512 ส่วนในดา้ นการทหารนั้น เวยี ดนามเหนือไดป้ ฎิบัติการรบแบบ กองโจร ดว้ ยหน่วยกําลงั ขนาดเล็ก ต้ังแต่ปี พ.ศ.2498 และได้ขยายขนาดกําลังเปน็ กองพนั ในปี พ.ศ.2506 ในขณะทีฝ่ า่ ยเวียดกงมีความเข้มแข็งขน้ึ แตภ่ ายในเวยี ดนามใตเ้ องกลบั มีความขัดแยง้ กันอย่าง รุนแรง มีการแย่งชงิ อาํ นาจกันหลายครั้งหลายคราว โงดนิ ห์เดยี ม ถกู โค่นอํานาจและผ้นู ําทหารเข้ามา ปกครองแทน จนถงึ ปี พ.ศ.2508 สหรฐั อเมริกาจงึ สนับสนนุ ให้มกี ารจดั ตงั้ รัฐบาลแทนขนึ้ โดยมี นายพล เหงยี นเกากี ผู้บญั ชาการทหารอากาศเป็นนายกรับมนตรี รัฐบาลชุดนี้ได้จัดร่างรฐั ธรรมนญู และจัดให้มีการ เลอื กตงั้ ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2510 นายพลเหงียนวันเทียว ไดร้ ับเลอื กเป็นประธานาธิบดี ได้ดาํ รงตําแหนง่ มาถงึ ปี พ.ศ.2518 แตไ่ มส่ ามารถแก้ไขปญั หาสําคญั ใหล้ ลุ ว่ งไปได้

6 ในระยะเวลาดังกล่าว สงครามในเวยี ดนามกไ็ ดท้ วคี วามรนุ แรงยิ่งขนึ้ สหรัฐอเมริกาได้เร่มิ โจมตีทิ้ง ระเบดิ เวียดนามเหนอื เป็นคร้งั แรก เม่อื เกิดวกิ ฤตการณอ์ า่ วตงั เกย๋ี ในปี พ.ศ. 2507 และในปี พ.ศ. 2508 กไ็ ด้ สง่ กาํ ลงั ทหารเข้ารว่ มรบกบั กําลังทหารของเวียดนามใต้โดยตรง ในปี พ.ศ.2510 (ค.ศ. 1967) เวียดนามเหนือได้ขยายกาํ ลังรบในเวยี ดนามใต้เป็นระดบั ของพล และ ได้ทําการรกุ ใหญ่สองครงั้ คือ ในปี พ.ศ.2510 และ พ.ศ.2518 แตไ่ ม่ประสบความสําเร็จ เพราะถูกสกดั กัน้ ทาง ภาคพ้ืนดิน การโจมตีทางอากาศ และการปดิ ลอ้ มทางทะเลของสหรฐั อเมรกิ า และพันธมติ ร ไดม้ ีการเจรจา สนั ติภาพทก่ี รุงปารสี เร่ิมตัง้ แตป่ ี พ.ศ.2511 (ค.ศ. 1968) ไดม้ ีการลงนามในปี พ.ศ.2516 กาํ หนดใหม้ กี ารหยดุ ยงิ ในเวยี ดนามใต้ และใหม้ ีการถอนกาํ ลงั ทหารสหรัฐอเมรกิ า และพันธมิตรออกจากเวียดนามใต้ ระบใุ ห้ เวยี ดนามใต้ และเวยี ดนามเหนือ จัดตง้ั สภาเพอ่ื ความสามคั คีปรองดอง เพอ่ื ทาํ หนา้ ที่จัดการเลือกตั้งทั่วไปใน เวียดนาม และให้มีการรวมเวียดนามเขา้ ด้วยกัน และยงั กําหนดให้สหรฐั อเมริกา ให้ความช่วยเหลือในการ ฟนื้ ฟบู ูรณาอนิ โดจีน รวมทงั้ เวียดนามเหนอื ภายหลงั สงครามสิ้นสดุ ลงด้วย ในทางปฎบิ ัติปรากฎวา่ ประสบผลแตเ่ ฉพาะในสว่ นท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการถอนทหารสหรฐั อเมริกา และพนั ธมติ รออกจากเวยี ดนามใต้ การแลกเปลี่ยนเชลยศึก การกวาดทุน่ ระเบดิ และยตุ กิ ารลาดตระเวรทาง อากาศ ในเวยี ดนามเหนอื เท่าน้ัน แต่การยุติการสรู้ บไมไ่ ด้มผี ลการปฎิบัตอิ ย่างแท้จริง การเจรจาเพ่อื กําหนด อนาคตทางการเมอื ง ระหว่างเวียดนามใตก้ บั เวยี ดกง ทเี่ ริ่มเมอ่ื ปี พ.ศ.2516 ได้ยุติลงโดยสิน้ เชิง ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2517 ในตน้ ปี พ.ศ.2518 (ค.ศ. 1975)ฝ่ายเวยี ดนามเหนอื ได้เร่มิ การรกุ ใหญอ่ กี ครัง้ เข้าไปในเขตเวียดนาม ใต้ ฝา่ ยเวียดนามใต้ซงึ่ ขาดการสนบั สนนุ จากสหรัฐอเมริกา ตกเป็นฝ่ายเสียเปรยี บในการรบ ฝ่ายเวยี ดนาม เหนอื ยดึ ครองพน้ื ที่ ได้สองในสามของพ้ืนทที่ ัง้ หมดในเวียดนามใต้ ก็ไดใ้ ช้กาํ ลังกดดันไซง่ ่อนอย่างหนัก จน ฝ่ายเวียดนามใต้ยอมจํานน เมือ่ 30 เมษายน 2518 เมอ่ื เวยี ดนามเหนือยึดครองเวยี ดนามใตแ้ ลว้ กร็ วมเวียดนามเหนอื และเวยี ดนามใต้เขา้ ดว้ ยกัน โดย ใช้ชอ่ื ประเทศวา่ สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม (Socialist Republic of Vietnam) สรุปเหตุการณช์ ่วงหลงั สงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงสงครามโลกครงั้ ที่ 2 ญี่ปุ่นไดเ้ ขา้ มายึดครองอนิ โดจนี และได้ขบั ไลฝ่ รัง่ เศสออกจากอินโด จนี กษัตริยเ์ บ๋าได่ ได้ประกาศใหเ้ วียดนามเป็นเอกราชแต่กอ็ ยู่ภายใต้ญีป่ นุ่ เมอ่ื ญ่ปี นุ่ แพ้สงครามโลกครง้ั ท่ี 2

7 เวยี ดมินห์จงึ ยึดอํานาจรฐั บาลกษตั รยิ ์เบ๋าได่ และให้โฮจิมินห์เปน็ ประธานาธิบดี และสถาปณาสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยเวยี ดนาม เมอ่ื อังกฤษและฝร่ังเศสไดป้ ลดอาวธุ กองทพั ญป่ี ่นุ ในเวยี ดนามใต้ได้ จงึ ต้องการเข้ามามีอทิ ธิพลใน เวยี ดนามอกี ครงั้ จึงใหก้ ษัตรยิ ์เบ๋าได่เป็นหุน่ เชดิ สงครามในประเทศก็เรม่ิ เกิดระหว่างฝ่ายเวียดนามเหนือทมี่ ี กลุ่มเวียดมนิ ห์ กบั ฝา่ ยใต้ทม่ี ีฝรง่ั เศสหนุนอยู่ และสงครามไดย้ ืดเยอ้ื ยาวนาน 8 ปี และ จบลงด้วยการพา่ ยแพ้ ของฝรั่งเศสท่ที ําสงครามทีท่ี เดียนเบยี นฟู ในปี ค.ศ. 1954 ฝ่ายเวยี ดมนิ หล์ ุกคบี ตอ้ งการทจี่ ะรวมประเทศ ยังผลให้เกิดการสู้รบกนั อยา่ งหนกั ระหวา่ งฝา่ ยเวยี ดนามเหนอื และใต้ จนตอ้ งทาํ สนธสิ ญั ญา เจนีวา แลว้ แบ่ง เวยี ดนามออกเปน็ 2 สว่ น คือเวยี ดนามเหนือ และเวยี ดนามใต้ (มกี ษัตรยิ เ์ บ๋าได่ และ โงดนิ ห์เดียม เป็น นายกรฐั มนตรี) ในชว่ งสงครามเวยี ดนาม ปี ค.ศ. 1955 กษตั ริย์เบ๋าได่ ต้องสละอาํ นาจและ โงดนิ หเ์ ดยี ม ไดเ้ ปน็ ประธานาธิบดีแทน ชว่ งนี้ อเมรกิ าไดเ้ ขา้ มาหนนุ หลงั เวยี ดนามใต้ ทางดา้ นเวียดนามเหนอื ซ่งึ กลายเป็น คอมมวิ นสิ ต์ และมี จีนกบั สหภาพโซเวยี ตหนนุ หลังอยู่ ในชว่ งปี ค.ศ. 1963-1967 ทางเวียดนามใต้มีปญั หาทางการเมือง ทาํ ให้ กองกําลงั เวียดนามเหนือ เข้า มายังเวียดนามใต(้ อเมรกิ าซ่ึงเปน็ ฝ่ายประชาธิปไตยกลวั วา่ เวียดนามเหนือทเี่ ป็นคอมมิวนสิ ต์จะเขา้ มายัง เวยี ดนามใตจ้ งึ ได้ ส่งกองกาํ ลังทหารหนุนฝ่ายเวยี ดนามใตเ้ ตม็ ท่ี) ทําใหเ้ กิดการสู้รบเป็นสงครามเวียดนาม ในทีส่ ุดเวยี ดนามเหนือก็เข้ายึดกรุงไซง่ อ่ นได้ (ตอนหลังเปลย่ี นช่ือมาเปน็ โฮจิมินหซ์ ติ ้ี) ในวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1975 ทาํ ใหเ้ วียดนามถูกรวมเปน็ ประเทศเดยี ว และ ปกครองดว้ ยระบบคอมมวิ นสิ ต์ ภายใต้ พรรคคอมมิวนิสต์ มาถงึ ทกุ วันนี้ เปล่ยี นชือ่ ประเทศมาเป็น สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม และมเี มอื งหลวง อยทู่ ก่ี รงุ ฮานอย เม่อื สน้ิ สดุ สงครามเวยี ดนามในปี ค.ศ. 1975 เวียดนามได้เปน็ ประเทศคอมมวิ นิสตโ์ ดยสมบรู ณ์ การ มีเปล่ยี นแปลงทางการเมอื งของโลกที่สาํ คัญ ประกอบกบั สหภาพโซเวียตประกาศใชน้ โยบายเปิดประเทศท่ี เรียกวา่ Glasnost and Perestroika ซงึ่ มผี ลตอ่ ประเทศในโลกคอมมวิ นิสตด์ ว้ ย โดยเวียดนามไดเ้ ปิดและ ปฏริ ูปประเทศโดยนโยบาย โดย่ เหมย่ โดยเริ่มเปดิ ประเทศเปน็ แบบเสรีมากขน้ึ อนญุ าตให้ประชาชนดาํ เนนิ ธรุ กิจการค้าของตัวเอง การลม่ สลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 ทําให้เวียดนามเปดิ ประเทศมากขึน้ ทาํ การติดตอ่ ค้าขายกบั โลกเสรีประชาธปิ ไตยมากข้นึ แม้แตส่ หรฐั อเมรกิ า และพฒั นาเศรษฐกจิ แบบเสรนี ยิ ม มากขนึ้

8 การท่ีรฐั บาลพรรคคอมมิวนสิ ต์แต่ละสมยั มีวสิ ยั ทัศน์ที่ต้องการพฒั นาประเทศให้กา้ วหน้า และตง้ั เปา้ จะเป็นเสือตัวใหม่แหง่ เอเชียเช่นเดยี วกบั ไทย ในปี พ.ศ.2529 สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนามไดเ้ ริ่มการ ปฏริ ูปประเทศโดยเร่มิ จากระบบเศรษฐกจิ ของประเทศเปน็ อันดบั แรก จากระบบเศรษฐกิจรวมศนู ย์แบบสตา ลิน (the centrally planned Stalinist command economy) แบบคอมมิวนิสต์ มาเปน็ นโยบายโดย่ เหม่ย (DoiMoi) หลังจากทเ่ี หน็ แลว้ วา่ การพัฒนาเศรษฐกจิ ในแบบสังคมนิยมไมน่ ่าจะทําให้ประเทศกา้ วไกลได้มาก นัก เปน็ การเรมิ่ ตน้ การพฒั นาประเทศที่มีรูปแบบไปทางระบบเสรีนิยม เพราะสาระสําคญั ของนโยบายนจ้ี ะ เนน้ การพัฒนาด้านการเกษตร และเศรษฐกจิ เป็นการปพู ้นื ฐานเบอื้ งตน้ ในการพัฒนาประเทศในขณะที่ ระบบการปกครองยงั เปน็ แบบสงั คมนิยม(คอมมิวนิสต)์ อยู่ จากน้ัน ได้มีการวางยทุ ธศาสตร์การพฒั นา ประเทศระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2534 - 2544) ในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกจิ ของประเทศ และล่าสุด ในการ ประชุมพรรคคอมมิวนสิ ต์สมัยท่ี 9 เมอ่ื เดอื นเมษายน 2544 ท่ีประชมุ ไดใ้ ห้การรับรองยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศตอ่ ไปอีก 10 ปี คอื ตง้ั แต่ พ.ศ. 2544 - 2554 ให้รอบดา้ นมากขนึ้ นบั แตก่ ารเพิม่ ศกั ยภาพผนู้ าํ ของ พรรคคอมมวิ นสิ ต์ ซง่ึ เป็นพรรคการเมืองเพียงพรรคเดยี วในประเทศ สรา้ งเสรมิ ผลักดนั การพัฒนาประเทศ ต่อไปอีก โดยเฉพาะการพฒั นาดา้ นอุตสาหกรรม และความทันสมยั ในลกั ษณะทีเ่ วยี ดนามยังมีรปู แบบการ ปกครองเป็นระบบสังคมนยิ มอยู่ ขอ้ มลู จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศเวยี ดนาม ประวัตขิ องประเทศเวยี ดนาม อารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ในเวียดนามมชี ่ือเสียงมากโดยเฉพาะอารยธรรมยุคหินใหม่ ทมี่ ี หลกั ฐานคอื กลองมโหระทกึ สาํ ริด และชุมชนโบราณทีด่ งเซนิ เขตเมืองแทงหวา ทางใตข้ องปากแม่นํ้าแดง สนั นษิ ฐานว่าบรรพบรุ ุษของชาวเวยี ดนามโบราณผสมผสานระหวา่ งชนเผ่ามองโกลอยดเ์ หนอื จากจีนและใต้ ซ่ึงเป็นชาวทะเล ดํารงชีพดว้ ยการปลูกข้าวแบบนาดําและจับปลา และอย่กู ันเป็นเผ่า บนั ทึกประวัตศิ าสตรย์ คุ หลงั ของเวยี ดนามเรียกยุคนี้ว่าอาณาจกั รวันลาง มีผนู้ าํ ปกครองสืบตอ่ กันหลายรอ้ ยปเี รยี กวา่ กษตั ริยห์ งุ่ แต่ ถอื เป็นยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ เวียดนามเรม่ิ เขา้ สูย่ ุคประวัตศิ าสตรห์ ลังจากตอนใต้ของจีนเขา้ รุกรานและยึดครองดนิ แดนแถบลุ่ม แม่น้าํ แดง จากนน้ั ไมน่ านจกั รพรรดจิ นิ๋ ซซี ่งึ เร่ิมรวมดินแดนจีนสรา้ งจักรวรรดิใหเ้ ป็นหนง่ึ เดยี ว โดยได้ยก ทัพลงมาและทําลายอาณาจกั รของพวกถกู ได้ กอ่ นผนวกดนิ แดนลมุ่ แมน่ ํ้าแดงทั้งหมด ใหข้ น้ึ ตรงต่อ ศูนยก์ ลางการปกครองหนานไห่ ทเ่ี มืองพานอวีห่ รอื กว่างโจวในมณฑลกวางตุ้งปัจจบุ นั หลงั สน้ิ สดุ ราชวงศ์

9 ฉนิ ข้าหลวงหนานไห่คือจา้ วถวั ประกาศตงั้ หนานไหเ่ ปน็ อาณาจกั รอสิ ระ ชอ่ื ว่าหนานเยว่ หรอื นามเหวยี ต ในสําเนยี งเวยี ดนามซ่ึงเปน็ ท่มี าของชอ่ื เวยี ดนามในปัจจบุ ัน กอ่ นกองทัพฮ่ันเขา้ ยดึ อาณาจักรนามเหวยี ด ได้ ในปี พ.ศ. 585 และผนวกเป็นส่วนหน่งึ ของจนี ใชช้ อ่ื วา่ เจียวจ้อื ขยายอาณาเขตลงใตถ้ งึ บรเิ วณเมอื งดานังใน ปจั จบุ นั และส่งขา้ หลวงปกครองระดับสงู มาประจํา เป็นช่วงเวลาทช่ี าวจีนนาํ วัฒนธรรมจนี ทางด้านตา่ งๆ ไปเผยแพร่ทด่ี นิ แดนแหง่ นี้ พรอ้ มเกบ็ เก่ยี วผลประโยชนท์ รัพยากรจากชาวพนื้ เมืองหรือชาวเวียดนามจน นาํ ไปสู่การตอ่ ตา้ นอย่างรุนแรงหลายครง้ั เช่น: - วีรสตรใี นนาม ฮายบาจึง ได้นาํ กองกาํ ลังต่อตา้ นการปกครองของจนี แตป่ ราชัยในอีก 3 ปีตอ่ มาและ ตกเปน็ ส่วนหนง่ึ ของจนี - นกั โทษปัญญาชนชาวจีนนามว่า หลีโบน รว่ มมอื กับปญั ญาชนชาวเวยี ดนามร่วมทาํ การปฏวิ ตั ิ กอ่ ตง้ั ราชวงค์หลี ขนานนามแคว้นว่า วันซวน แต่พา่ ยแพใ้ นท่สี ดุ การปกครองของจีนในเวยี ดนามขาดตอนเป็นระยะตามสถานการณใ์ นจนี เอง ซง่ึ เป็นโอกาสใหช้ าว พน้ื เมอื งในเวียดนามตั้งตนเป็นอิสระ ในชว่ งเวลาท่ีเวียดนามอยูใ่ ต้การปกครองของราชวงศถ์ างพุทธศาสนา เริม่ เขา้ สู่เวยี ดนาม เมอื งต้าหลอหรือฮานอย เปน็ เมืองใหญท่ ่สี ดุ เปน็ ศูนยก์ ลางการคา้ การเดินทางของชาวจีน และอินเดยี พระสงฆแ์ ละนกั บวชในลัทธเิ ตา๋ จากจีนเดนิ ทางเข้ามาอาศัยในดนิ แดนนี้ ตอ่ มาราชวงศถ์ างได้ เปลีย่ นช่ือเขตปกครองนใ้ี หม่ว่า อนั หนาน (หรืออนั นัม ในสําเนยี งเวยี ดนาม) หลงั ปราบกบฏชาวพื้นเมืองได้ แตถ่ อื เป็นช่วงเวลาสุดท้ายทจี่ ีนครอบครองดินแดนแหง่ นี้ - พ.ศ. 1498-1510 ราชวงศโ์ ง–หลงั จากการล่มสลายของราชวงศถ์ างของจีน นายพลโงเกวีย่ นผู้นาํ ท้องถน่ิ ในเขตเมืองฮวาลอื ทางใตข้ องลุม่ แมน่ ํ้าแดง ขบั ไลช่ าวจนี ได้ แล้วจึงกอ่ ต้งั ราชวงศโ์ งเปล่ียน ชอื่ ประเทศวา่ ไดเวียด หลังจากจกั รพรรดิสวรรคต อาณาจักรแตกแยกออกเป็น 12 แคว้น มผี ู้นาํ ของ ตนไม่ข้นึ ตรงต่อกนั - พ.ศ. 1511-1523 ราชวงศ์ดิงห์–ขุนศกึ ดงิ หโ์ บะหลิง แม่ทพั ของราชวงศ์โง สามารถรวบรวมแคว้น ต่างๆเข้าด้วยกัน เปลียนชื่อประเทศเปน็ ไดโกเ่ วียด เร่มิ สรา้ งระบบการปกครองแบบจนี มากกว่ายคุ กอ่ นหนา้ และต้งั ตนเปน็ จักรพรรดิดิงห์ เตียน หรือ ดงิ หเ์ ตียนหวา่ ง เสมอื นจกั รพรรดจิ ิน๋ ซีผรู้ วบรวมจนี ถือเปน็ การเริม่ ใชต้ าํ แหนง่ จกั รพรรดิหรอื หวา่ งเด๋ ในเวียดนามเปน็ คร้งั แรก

10 - พ.ศ. 1524-1552 ราชวงศเ์ ต่ยี นเลหรือเลยคุ แรก–มเหสขี องจกั รพรรดดิ งิ หโ์ บะหลิง ไดข้ ับไล่รัช ทายาทราชวงศด์ ิงห์ สถาปนาพระสวามใี หมค่ ือขนุ ศกึ เลหวา่ นเป็นจักรพรรดิเลดา่ ยแห่ง โดยพยายาม สรา้ งความมั่นคงดว้ ยการฟน้ื ฟูความสมั พันธ์กบั ราชวงศ์ซ่งของจีนและปราบปรามกบฏภายใน แต่ก็ ไม่รอดพน้ การรฐั ประหาร สมยั น้ีพทุ ธศาสนาและลทั ธิเต๋ารุ่งเรอื งมากและได้รบั ความเลือ่ มใส ศรัทธาในหมู่ชนชั้นสูงมาก ราชวงศ์ยุคใหม่ - พ.ศ. 1552-1768 ราชวงศ์หลี–หลี กง อ่วนมอี าํ นาจในราชสาํ นกั ฮวาลอื เมอื่ ข้ึนครองราชย์ ทรงยา้ ย เมอื งหลวงไปท่ี ทงั ลอง (ฮานอย) ทรงสร้างวัดขึ้น 150 แห่ง ในปี 1070 นําระบบการสอบจอหงวน มาใช้ ก่อตั้งมหาวิทยาลยั วนั เหมียว ใหค้ วามร้เู กยี่ วกบั วรรณคดีขงจือ้ เพ่อื สอบเขา้ รบั ราชการใน ระบบจอหงวน แต่ขนุ นางยังมจี าํ นวนน้อย สว่ นหนึง่ เป็นเช้อื สายผ้มู อี ทิ ธิพลในหัวเมอื ง ตอ่ มาทรง พระนามว่า หลไี ถโต๋ สมัยหลีเป็นสมัยทพ่ี ระพุทธศาสนามอี ิทธิพลต่อการเมืองการปกครองและ สังคมมาก ทีป่ รกึ ษาราชการในบางสมยั เป็นพระสงฆ์ จกั รพรรดิราชวงศ์หลชี ว่ งหลังสรา้ งวัดขนาด ใหญข่ น้ึ หลายแหง่ และสละราชสมบัตอิ อกผนวช เป็นสาเหตใุ หก้ ารบริหารราชการเริ่มตกอยใู่ น อํานาจของเครอื ญาตพิ ระชายามาจากตระกลู ทีม่ ง่ั คงั่ ในหวั เมอื ง ผ้ปู กครององคส์ ุดทา้ ยเปน็ เด็กหญิง ที่ได้รบั การต้งั เป็นจกั รพรรดนิ ี พระนามวา่ หลเี จ่ยี ว การบรหิ ารราชการตกอยู่ในอํานาจของญาตวิ งศ์ พระชนนีซง่ึ เป็นขุนศกึ มกี องกําลงั ทหารอยใู่ นมือ เชน่ เจนิ่ ถูโดะ ซง่ึ ก่อรัฐประหารยึดอํานาจจาก ราชวงศห์ ลใี นทีส่ ุด - พ.ศ. 1768-1943 ราชวงศ์เจนิ่ –เจน่ิ ถูโดะญาตขิ องพระชายาจักรพรรดิก่อรฐั ประหาร ยึดอํานาจ ทา่ มกลางสถานการณก์ บฏและการรุกรานจากขา้ ศึกตา่ งชาติ จากนนั้ ได้อภิเษกสมรสกับพระนาง เจียว ฮว่าง จักรพรรดนิ อี งศ์สดุ ท้ายของราชวงศ์หลแี ล้วยกหลานข้นึ เปน็ จักรพรรดิองคแ์ รกของ ราชวงศเ์ จิ่น สมัยเจิน่ เวียดนามตอ้ งเผชญิ กับศกึ สงครามโดยตลอด ทีร่ า้ ยแรงท่ีสุดคอื การรุกรานจาก พวกมองโกลและจัมปา สมัยเจ่ินกเ็ ริม่ ให้ความสาํ คัญกับอารยธรรมจนี มากกวา่ ยุคก่อนหนา้ โดยเฉพาะดา้ นภมู ปิ ัญญาและอักษรศาสตร์ รวมถงึ การบรหิ ารราชการแบบจีน ในสมยั นมี้ กี าร ประมวลพงศาวดารชาติเป็นครง้ั แรก ชอื่ ว่า ดา่ ยเหวียตสอื ก๋ีหรือ บันทึกประวัตศิ าสตร์มหาอาณาจกั ร เวียด โดยราชบัณฑิต เลวนั ฮวึ นอกจากนย้ี ังเริม่ มกี ารประดิษฐอ์ กั ษรของเวียดนามที่เรยี กว่า อกั ษร โนม ข้นึ เป็นครัง้ แรก

11 - พ.ศ. 1943-1971 ราชวงศ์โห่–โห่กยุ๊ ลี ญาติของพระชายาจักรพรรดิราชวงศ์เจนิ่ สร้างฐานอาํ นาจของ ตนด้วยการเปน็ แมท่ ัพทําศึกกบั พวกจามทางใต้ ตอ่ มากอ่ รัฐประหารยดึ อาํ นาจจากจักรพรรดิราชวงศ์ เจน่ิ และพยายามกําจดั เช้ือสายราชวงศ์ทห่ี ลงเหลืออยู่ จากน้นั ขึ้นครองราชย์ ตงั้ ทายาทของตนเป็น จกั รพรรดิตอ่ มา ราชนกิ ูลราชวงศเ์ จ่ินไดข้ อความช่วยเหลอื ไปยงั จีน ทําใหจ้ ีนส่งกองทพั เขา้ มาลม้ ลา้ งราชวงศ์โห่ แตส่ ุดท้ายก็ไมม่ อบอาํ นาจให้แกร่ าชวงศ์เจนิ่ และยดึ ครองเวยี ดนามแทนท่ี - การกู้เอกราชและกอ่ ต้ัง ราชวงศ์เล (ยคุ หลัง) พ.ศ. 1971-2331เล่เหล่ย ชาวเมอื งแทงหวา ทางใต้ของ ฮานอย ได้รวบรวมสมคั รพรรคพวกตงั้ ตนขน้ึ เปน็ ผู้นาํ เวยี ดนาม ขบั ไลจ่ นี ออกจากเวียดนามได้ สําเรจ็ ต่อมาในปี พ.ศ. 1971เลเหล่ยข้ึนครองราชยเ์ ปน็ จกั รพรรดิองคใ์ หม่ สถาปนา ราชวงศเ์ ล ขึ้น มี ราชธานีทฮี่ านอยหรือทังลองและราชธานอี ีกแห่งคอื ที่เมืองแทงหวา (ทนั หว์ า้ ) หรอื ราชธานี ตะวันตก ซง่ึ เปน็ ถน่ิ ฐานเดิมของเลเหล่ยและตระกูลเล ต่อมาเลเหลย่ ได้รับการถวายพระนามว่า เลไถ โต๋ ราชวงศเ์ ลชว่ งแรกเป็นชว่ งสรา้ งความมัน่ คงและฟื้นฟปู ระเทศในทกุ ดา้ น โดยเฉพาะในสมยั เลไถโต๋ หรอื เลเหลย่ เชน่ การสร้างระบบราชการ จดั สอบคดั เลือกขุนนาง ตรากฎหมายใหม่ แบ่งเขตการปกครองใหม่ ฟ้ืนฟกู ารเกษตร รวมถงึ การสถาปนาความสมั พนั ธท์ างการทตู กบั จีนทาํ ให้เวยี ดนามเข้าสยู่ คุ สงบสุขปลอด จากสงครามอีกครัง้ หลงั สมัยเลเหลย่ เริ่มเกดิ ความขดั แยง้ ระหวา่ งขนุ นางพลเรือนกบั บรรดาขุนศกึ ท่ีรว่ มทพั กับเลเหลย่ ในการสู้รบกบั จนี ความขดั แย้งบานปลายจนนาํ ไปสกู่ ารแบ่งพรรคแบง่ พวกในหมู่ขา้ ราชสํานัก จนเกิดการ รฐั ประหารคร้งั แรกของราชวงศเ์ ลใน พ.ศ. 2002 มกี ารประหารพระชนนีและจักรพรรดิขณะน้นั ตอ่ มา บรรดาขนุ นางจงึ สนบั สนุนใหร้ าชนิกูลอกี พระองค์หน่งึ มาเป็นจกั รพรรดแิ ทน ต่อมาคือจกั รพรรดเิ ลแถงตง (พ.ศ. 2003-2040) รัชกาลจกั รพรรดเิ ลแถงตงถอื วา่ ยาวนานและรุ่งเรืองทสี่ ดุ ยคุ หนง่ึ ในประวตั ิศาสตร์เวียดนาม มีการ ปฏิรูปประเทศหลายด้านโดยยดึ รปู แบบจีนมากกวา่ เดมิ ทัง้ ระบบการสอบรบั ราชการที่จดั สอบครบสาม ระดบั ตง้ั แต่อําเภอจนถึงราชธานี จํานวนขุนนางเพม่ิ ขนึ้ ทวีคณู และทาํ ใหร้ ะบบราชการขยายตัวมากกวา่ ยุค สมยั กอ่ นหน้า นอกจากนน้ั ยังมีการประมวลกฎหมายใหม่พระองคท์ รงสรา้ งเวยี ดนามให้เป็นมหาอาํ นาจและ เปน็ ศูนยก์ ลางดว้ ยการทาํ สงครามกบั เพ่อื นบา้ นท่ีมักขดั แย้งกับเวียดนามคอื จมั ปาและลาว อทิ ธิพลของ เวียดนามรบั รู้ไปจนถงึ หวั เมืองเผา่ ไทในจีนตอนใต้และล้านนา หลังรัชกาลนี้ราชวงศเ์ ลเร่ิมประสบปญั หา ความขัดแยง้ ในหมู่ขนุ นาง เช้ือพระวงศ์ ปัญหาเศรษฐกจิ จนท่ีสดุ ก็ถูกรัฐประหารโดยขุนศกึ หมกั ดังซุง ในปี

12 พ.ศ. 2071 เชื้อพระวงศร์ าชวงศ์เลหลบหนดี ้วยการชว่ ยเหลอื ของขนุ ศกึ ตระกูลเหวียนและจงิ่ ทีม่ ีอทิ ธพิ ลใน ราชสํานกั มาแต่แรก ราชวงศเ์ ลเรม่ิ การฟืน้ ฟกู อบกู้อาํ นาจคืนโดยมแี มท่ พั เป็นคนตระกูลเหวียนและจิ่ง ทําสงครามกบั ราชวงศ์หมักจนถงึ ปี พ.ศ. 2136 จึงสามารถยดึ เมืองทงั ลองคนื ได้และฟืน้ ฟูราชวงศเ์ ลปกครองเวยี ดนามต่อไป ยุคแตกแยกเหนือ-ใต้ หลงั การฟ้ืนฟูราชวงศ์เลข้นึ ได้ ขนุ ศึกตระกูลจง่ิ ต้ังตนเป็นผสู้ าํ เรจ็ ราชการ และใหข้ ุนศกึ ตระกูลเห วยี นไปปกครองเขตชายแดนใต้บริเวณเมอื งด่งเหยลงไปถึงบรเิ วณเมืองดานงั ในปจั จุบัน ขุนศึกตระกูลจง่ิ ต้งั ตนเป็น เจ้าสบื ตาํ แหน่งผสู้ ําเร็จราชการ ในตระกูลของตนเอง ขุนศึกตระกลู เหวยี นจึงประกาศไมย่ อมรับการ ปกครองของตระกูลจ่งิ จนเกิดสงครามคร้ังใหม่ต่อมาอกี หลายสบิ ปี เวยี ดนามแบ่งแยกเปน็ สองส่วน ส่วน เหนือ คือ เวียดนามเหนือ อยูใ่ นการปกครองของราชวงศเ์ ลและเจ้าตระกลู จง่ิ มศี ูนยก์ ลางทท่ี ังลอง ส่วนใต้ คือ เวยี ดนามใต้ มีตระกลู เหวียนปกครอง มศี นุ ยก์ ลางที่เมืองฝูซวนหรือเว้ในปจั จบุ ัน ยุคเตยเซนิ - พ.ศ. 2316 เกิดกบฏนาํ โดยชาวนาสามพี่นอ้ งทหี่ มูบ่ า้ นเตยเซินข้นึ ในเขตเมืองบิง่ ดิง่ เขตปกครองของ ตระกลู เหวียน และสามารถยดึ เมืองฝซู วนได้ องคช์ ายเหงวยี นแอง๋ เชอื้ สายตระกลู เหงวยี นหลบหนี ลงใตอ้ อกจากเวยี ดนามไปจนถงึ กรุงเทพฯ ก่อนกลบั มารวบรวมกาํ ลงั เอาชนะพวกเตยเซินได้ องค์ชายเหงวยี นแอง๋ หรอื เหงวยี นฟกุ อา๊ น (องเชยี งสอื ) ผู้นาํ ตระกลู เหงวียน ซง่ึ ต้งั ตนเปน็ จักรพรรดิ องค์ใหม่แห่งราชวงศ์เหงวยี น ในพ.ศ. 2345 สถาปนาราชธานีใหมท่ ่ีเมอื งเวแ้ ทนท่ที ังลอง ซึง่ ถูกเปล่ียนช่อื เปน็ ฮานอย ราชวงศเ์ หวยี น (พ.ศ. 2345-2488) องค์ชายเหงวียนแอง๋ หรอื จกั รพรรดิยาลอง จักรพรรดพิ ระองคแ์ รกของราชวงศ์เหวยี นเร่ิมฟืน้ ฟู ประเทศ เวยี ดนามมีอาณาเขตใกลเ้ คียงกับปัจจุบนั ดินแดนภาคใต้ขยายไปถึงปากแม่นา้ํ โขงและชายฝงั่ อ่าว ไทย ทรงรักษาสัมพนั ธก์ บั ชาวตะวนั ตกโดยเฉพาะชาวฝร่งั เศสท่ชี ่วยรบกับพวกเตยเซนิ นายช่างฝรัง่ เศสช่วย ออกแบบพระราชวังที่เวแ้ ละปอ้ มปราการเมืองไซ่ง่อน

13 ราชวงศเ์ หงวยี นรงุ่ เรืองที่สุดในสมยั จกั รพรรดิมินหมงั่ จักรพรรดิองค์ทส่ี อง ทรงเปล่ยี นชอ่ื ประเทศ เป็น ด่ายนาม ขยายแสนานุภาพไปยงั ลาวและกัมพชู า ผนวกกัมพูชาฝัง่ ตะวนั ออก ทําสงครามกับสยาม ตอ่ เนอื่ งเกือบยีส่ บิ ปี แตภ่ ายหลงั ตอ้ งถอนตวั จากกมั พูชาหลังถูกชาวกัมพชู าตอ่ ต้านอย่างรุนแรง สมยั น้เี วียดนามเริ่มใชน้ โยบายตอ่ ต้านการเผยแพร่ครสิ ต์ศาสนาของบาทหลวงชาวตะวนั ตก มกี าร จับกุมและประหารบาทหลวงชาวตะวนั ตกอย่างตอ่ เนื่อง รวมถงึ ชาวเวยี ดนามท่ีนบั ถอื คริสต์ศาสนา จนถงึ รัชกาลจักรพรรดอิ งค์ท่ี 4 คอื จักรพรรดิตดึ กึ๊ ทรงต่อต้านชาวครสิ ต์อยา่ งรนุ แรงต่อไป จนในท่ีสุดบาทหลวง ชาวฝรั่งเศสขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลของตนให้ชว่ ยคุ้มครอง พ.ศ. 2401 เรือรบฝร่ังเศสเขา้ มาถงึ นา่ นน้ํา เมอื งดานัง (หรือตูราน) ฐานทัพเรือใกล้เมอื งหลวงเว้ นําไปสู่การส้รู บกนั ของท้ังฝ่าย ตอ่ มากองกําลังฝร่ังเศสไดบ้ ุกโจมตีดนิ แดนภาคใตบ้ ริเวณปากแมน่ า้ํ โขงและยดึ ครองพนื้ ท่ไี ด้เกอื บ ทั้งหมด จักรพรรดิตึดึก๊ จงึ ต้องยอมสงบศกึ และมอบดนิ แดนภาคใตใ้ หแ้ กฝ่ รงั่ เศส ชาวเวยี ดนามเรม่ิ ต่อต้าน การยดึ ครองของฝรัง่ เศสแต่ไมอ่ าจตอ่ สกู้ บั แสนยานภุ าพทีเ่ หนอื กวา่ ได้ ฝรงั่ เศสจึงเข้าควบคมุ เวยี ดนามอยา่ ง จริงจงั มากขึ้นและแบ่งเวียดนามออกเป็น 3 ส่วน คอื อาณานคิ มโคชนิ จนี ในภาคใต้ เขตอารักขาอนั นาม ใน ตอนกลางและเขตอารกั ขาตงั เก๋ียในภาคเหนอื และเวยี ดนามยงั มีจกั รพรรดเิ ปน็ ประมขุ เชน่ เดมิ แตต่ ้องผ่าน การคดั เลือกโดยข้าหลวงฝรั่งเศสและมีฐานะเป็นสัญลักษณ์ อาํ นาจในการบริหารการคลัง การทหารและการ ทตู เปน็ ของฝรั่งเศส ถอื วา่ เวยี ดนามส้ินสดุ ฐานะเอกราชนับแต่นัน้ ยุคอาณานคิ ม ฝรง่ั เศสแสวงหาผลประโยชนจ์ ากการปกครองเวยี ดนามทางด้านเศรษฐกจิ เวยี ดนามเปน็ แหล่งปลกู ข้าวและพืชเศรษฐกจิ ใหม่ ๆ เช่นกาแฟ และยางพารา ส่งออกไปยังฝร่งั เศสและเปน็ วัตถุดิบแก่โรงงานใน ฝร่งั เศส ท่ีดนิ ในเวียดนามถูกยึดและตกเปน็ ของชาวฝร่งั เศส และเรมิ่ อพยพเข้ามาต้งั ถนิ่ ฐานในเวยี ดนาม ขณะเดยี วกันกส็ ่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรมฝรงั่ เศสใหแ้ พรห่ ลายในเวียดนาม ชาวเวยี ดนามส่วนหนึ่ง ได้รับการศกึ ษาแบบใหม่และเร่ิมต้องการอสิ ระในการทํางานและมีส่วนรว่ มในการปกครองประเทศ นาํ ไปสู่ การกอ่ ตวั ของกลมุ่ ชาตินิยมตา่ ง ๆ ท่ีเขม้ แข็งทีส่ ุดคือพรรคคอมมิวนิสต์อนิ โดจีนทต่ี ัง้ ขึ้นโดยโฮจมิ ินห์ ในปี พ.ศ. 2473 และต่อมาปรับเปล่ยี นเป็น กลุ่มเวยี ดมนิ ห์ ได้นําชาวนาก่อการต่อตา้ นฝรง่ั เศสในชนบท

14 ยคุ เอกราช พ.ศ. 2488 โฮจมิ ินหร์ ับมอบอํานาจจากจกั รพรรดิบ๋าวไดแ่ ละรบั ตําแหนง่ ประธานาธบิ ดคี นแรกหลัง ประกาศเอกราช แตห่ ลงั จากนั้นฝร่งั เศสไดก้ ลับเขา้ มาขับไล่รัฐบาลของโฮจิมนิ หแ์ ละไม่ยอมรบั เอกราชของ เวยี ดนาม นาํ ไปส่สู งครามจนในท่สี ดุ ฝรงั่ เศสพา่ ยแพ้แกก่ องกาํ ลงั เวยี ดมินห์ท่ีค่ายเดียนเบยี นฟู ในปี พ.ศ. 2497 และมกี ารทําสนธิสญั ญาเจนวี าของประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ ยอมรบั เอกราชของเวียดนาม แต่ สหรฐั อเมรกิ าและชาวเวยี ดนามในภาคใต้บางส่วนไมต่ อ้ งการรวมตัวกบั รัฐบาลของโฮจมิ นิ ห์ ตอ่ มาไดก้ อ่ ตง้ั ดินแดนเวียดนามภาคใต้เป็นอีกประเทศหนึ่ง คอื สาธารณรฐั เวยี ดนาม (เวยี ดนามใต)้ มเี มืองหลวงคือ ไซ่งอ่ น ใช้เส้นละตจิ ดู ท่ี 17 องศาเหนือแบ่งแยกกับเวยี ดนามส่วนเหนอื ใตก้ ารปกครองของโฮจมิ ินห์ (เวียดนาม เหนอื ) สงครามเวียดนาม เวียดนามเหนอื ไมย่ อมรบั สถานภาพของเวยี ดนามใต้ ขณะทส่ี หรัฐอเมรกิ าได้ให้การช่วยเหลอื ทาง ทหารแกเ่ วยี ดนามใต้อย่างตอ่ เน่ือง รวมถงึ การส่งทหารมาประจาํ ในเวยี ดนามใตเ้ พิม่ ขน้ึ เร่อื ย ๆ เวยี ดนาม เหนือประกาศทําสงครามเพือ่ ขับไลแ่ ละ ปลดปล่อย เวียดนามใตจ้ ากสหรฐั อเมริกาและรวมเขา้ เป็นประเทศ เดียวกนั พรอ้ มให้การสนับสนุนกล่มุ ชาวเวยี ดนามใตท้ ่ีต่อตา้ นสหรฐั อเมริกา (เวยี ดกง) ในการทาํ สงคราม ขอ้ มลู จาก https://sites.google.com/site/apiphattaranunmcukk5705202011/prawati-weiydnam

15 สังเคราะหป์ ระวัตศิ าสตร์ของเวยี ดนาม เวียดนาม หรอื เหวียดนาม แปลวา่ เวียดใต้ โดยช่อื น้เี ร่มิ ใช้ตงั้ แต่ พ.ศ.344 คาํ ว่า เหวยี ดเดมิ เปน็ ชือ่ ยอ่ ของบ๊ักเหวียด ทแี่ ปลวา่ รอ้ ยเวียด เป็นคาํ ทีใ่ ชเ้ รยี กกลุม่ ชนทเี่ คยอาศยั อยทู่ างใตข้ องจีน สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นเวยี ดนามนน้ั เปน็ อารยธรรมยคุ หนิ ใหม่ ซ่ึงอยู่ทางใต้ของปากแม่นํ้าแดง สนั นิษฐานวา่ บรรพบรุ ษุ ของชาวเวยี ดนามนัน้ ผสมผสานระหว่างชาวเผา่ มองโกลอยด์เหนอื และจนี ใต้ อาศัย อยู่กนั เป็นเผา่ ดาํ รงชีวิตอยดู่ ว้ ยการปลูกข้าวและจบั ปลา เวียดนามเข้าสูย่ คุ สมัยประวัตศิ าสตร์หลังจากตอนใตข้ องจีนเขา้ รุกรานและยดึ ครองดนิ แดนแถบลุ่ม แม่นํา้ แดง หลังจากนนั้ จกั รพรรดจิ ิ๋นซีไดผ้ นวกดินแดนลุม่ แมน่ ํา้ แดงทง้ั หมด ให้ข้ึนตรงตอ่ หนานไห่ หลังส้ิน ราชวงศฉ์ ิน หนานไห่กก็ ลายเปน็ อาณาจักรอิสระ ช่ือวา่ นามเหวยี ต อาณาจักรแรกของชาวเวียดนามคอื อาณาจักรนามเวยี ด ซึ่งเปน็ เมอื งขึน้ ของจีนมานาน ทาํ ให้ไดร้ บั อทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมจากจนี เปน็ สว่ นใหญ่ ชว่ งท่ีเป็นเอกราชจากจนี คือ ค.ศ.938-1009 หลงั จากน้นั ก็ กลายเปน็ ยคุ ทองของเวยี ดนาม ค.ศ.1010-1527 เป็นช่วงท่มี ีการวางรากฐานในการพฒั นาประเทศ สง่ เสรมิ พุทธศาสนากบั ลัทธขิ งจอ้ื และเตา๋ และยา้ ยเมืองหลวงมาอยู่ทก่ี รงุ ฮานอย เวียดนามมยี ุคแห่งการแบง่ แยก ค.ศ.1528-1802 โดยอาณาจักรถูกแบ่งเปน็ 2 ส่วน คอื เหนือและใต้ ตอ่ มาใน ค.ศ.1802 ไดท้ ําการรวมประเทศและได้ใชช้ ื่อประเทศว่าเวยี ดนาม โดยได้รบั ความช่วยเหลอื จาก ไทยและฝรั่งเศส ซ่งึ ความสัมพนั ธท์ ่ีดีกับฝร่ังเศสนัน้ ทําใหเ้ กิดการแทรกแซงของฝรั่งเศสภายในประเทศ เวียดนามมากขึ้น ยุคทีอ่ ย่ใู ต้การปกครองของชาตติ ะวันตกเริ่มข้นึ ในช่วง ศตวรรษที่ 1600 โดยการเขา้ มาทําการค้าและ เผยแพรศ่ าสนา และถกู ฝรัง่ เศสเข้ายดึ ครองเปน็ อาณานิคมเม่อื ปี พ.ศ.2427 ทําให้ประเทศโดยแบ่งออกเปน็ 3 ส่วน คือ ภาคเหนอื กลาง และใต้ ในชว่ งน้ฝี ร่ังเศสไดเ้ ข้ามาพฒั นาเวยี ดนามในหลายๆดา้ น เชน่ การศกึ ษา การเมอื ง สาธารณูปโภค ถนน แต่อย่างไรก็ตามผลประโยชนส์ ่วนใหญ่ก็ตกเปน็ ของฝร่ังเศสหลงั จากนัน้ ก็ เป็นยุคเอกราชของเวยี ดนาม ตรงกบั ชว่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ในปี พ.ศ.2488 โดยโฮจิมนิ หไ์ ดป้ ระกาศทํา การต่อสู้กับฝรง่ั เศสอยา่ งเปิดเผย สมัยสงครามเวยี ดนาม ค.ศ.1970-1975ฝรงั่ เศสไดร้ ับรองสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตรเวยี ดนามใน ฐานะเป็นสว่ นหน่งึ สหพันธ์อินโด แตก่ ย็ งั ขดั แย้งกับเจตนจ์ าํ นงของพวก เวยี ดมินห์ จึงได้เกดิ ขอ้ ตกลงเจนวี า

16 ข้ึน ซึ่งข้อตกลงน้รี ะบวุ ่าเวยี ดนามไดแ้ บ่งเป็น 2 สว่ น คือ เวยี ดนามเหนอื และใต้ หลงั จากน้นั เวียดนามเหนอื ได้ยดึ ครองเวียดนามใตไ้ ด้ โดยไดร้ ับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมรกิ า ก็ไดร้ วมเวียดนามเหนอื และใต้เข้าด้ว กัน สภาพภูมิประเทศ ภมู ิประเทศเป็นภเู ขาสูงก้ันระหวา่ งทรี่ าบลมุ่ แมน่ ํ้าทอ่ี ดุ มสมบรู ณม์ ลี กั ษณะเป็นแนวยาว โดยมคี วาม ยาวจากเหนือจรดใต้ 1,650 กโิ ลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน และมหี ม่เู กาะต่างๆ อบี พันเกาะเรียงรายตั้งแต่อ่าวตังเก๋ียไปจนถงึ อ่าวไทย เวียดนามมลี กั ษณะภูมปิ ระเทศเปน็ ทร่ี าบลุ่มแมน่ ้ําขนาดใหญ่ 2 แห่ง คือ ทร่ี าบลุ่มแมน่ ํา้ แดงอยทู่ าง ตอนเหนอื และที่ราบล่มุ แมน่ ํา้ โขงอยทู่ างตอนใต้ และตอนเหนือของประเทศมที ร่ี าบสูง มีภเู ขาฟาน ซี ปงั (Phan Xi Pung) ซง่ึ เป็นยอดเขาทีส่ งู ทีส่ ดุ ในอินโดจนี มคี วามสงู ถึง 3,143 เมตร (10,312 ฟตุ ) ต้งั อยู่ในจงั หวัด เลาไค ลกั ษณะดงั กล่าวทําใหเ้ กดิ การแบ่งเขตเป็น 3 ภาค ดังนี้ ภาคเหนอื ภูมิประเทศประกอบด้วยภเู ขาสูงมากมาย โดยเฉพาะเทอื กเขาฟานซปี าน (Fansipan) สูงถงึ 3,143 เมตร ซง่ึ สงู ทส่ี ุดในอินโดจีน มีแม่น้าํ สําคญั คือ แม่นํ้ากุง (Cung) ซึง่ ไหลไปบรรจบกับแม่นํา้ แดงเปน็ ดินดอน สามเหลยี่ มทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ (Red River Delta) เหมาะแก่การเพาะปลูกและยงั เป็นที่ต้งั ของเมอื งฮานอย (Ha Noi) อันเปน็ เมอื งหลวง นอกจากน้ี ยงั มีที่ราบลมุ่ Cao Bang Lang Son และ Vinh Yen รวมถงึ อา่ ว Halong Bay อันมีช่ือเสียงด้านธรรมชาตทิ ีง่ ดงาม เวียดนามมชี นกล่มุ น้อยหลากหลาย และเน่อื งจากพนื้ ท่ี บางส่วนอยใู่ นเขตอากาศหนาวซงึ่ ได้รับอทิ ธพิ ลกระแสอากาศจากข้ัวโลกท่พี ดั ผา่ นไซบีเรีย และจนี เขา้ มายงั เวยี ดนาม ทําให้มีสภาพภูมอิ ากาศหนาวเยน็ ภูมิอากาศในเขตภาคเหนือแบง่ ออกได้เป็น 4 ฤดู คือ - ฤดใู บไม้ผลิ (มนี าคม-เมษายน) มฝี นตกเลก็ นอ้ ยและความชื้นสูง อณุ หภูมิประมาณ 17 ํ C - 23 ํ C - ฤดูรอ้ น (พฤษภาคม-สงิ หาคม) อากาศรอ้ นและมฝี น อณุ หภูมิประมาณ 30 ํC - 39 ํ C เดอื นที่รอ้ น ท่สี ดุ คอื มถิ นุ ายน

17 - ฤดใู บไมร้ ว่ ง (กนั ยายน-พฤศจิกายน) อณุ หภูมิ 23 ํC - 28 ํ C - ฤดูหนาว (ธันวาคม-กมุ ภาพนั ธ์) อากาศจะหนาวเยน็ ท่ีสุดในรอบปี คือ ประมาณ 7 ํC - 20 ํ C แต่ใน บางครั้งอุณหภูมิอาจลดลงถงึ 0 ํ C เดือนทีห่ นาวเยน็ ทสี่ ุดคือ มกราคม เมืองสาํ คญั ทางภาคเหนอื ได้แก่ - ฮานอย (Ha Noi) เป็นเมอื งหลวง มีพ้ืนทป่ี ระมาณ 921 ตารางกโิ ลเมตร ประชากร 2.2 ลา้ นคน ตัง้ อยู่ บริเวณสามเหล่ยี มปากแมน่ ํา้ แดง โดยมีแมน่ ํา้ มากมายไหลผ่าน ได้แก่ The Duong, The Cau, The Ca Lo, The Day, The Nhue, The Tich, The To Lich และ The Kim Nguuนอกจากนี้ ฮานอยยงั เปน็ ศนู ย์กลางการบรหิ ารประเทศและเปน็ ศูนยก์ ลางธุรกิจการค้าทางภาคเหนือ มีสนามบนิ นานาชาติที่ สําคญั คอื NoiBai International Airport - ไฮฟอง (HaiPhong) มีพื้นท่ี 1,503 ตารางกิโลเมตร ประชากรราว 1.7 ล้านคน เป็นเมอื งท่าสําคัญใน ภาคเหนือและเปน็ เขตอตุ สาหกรรมหนัก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคมี ตอ่ เรอื และวัสดกุ ่อสร้าง มี ท่าเรือสําคัญคือ HaiPhong Port และสนามบนิ Cat Bi Airport - กวา๋ งนินห์ (QuangNinh) มีพืน้ ที่ 5,899 ตารางกโิ ลเมตร ประชากรประมาณ 1 ลา้ นคน กวา๋ งนินห์ เป็นเมอื งทา่ ทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือของเวียดนาม มีทา่ เรือสําคญั ไดแ้ ก่ Hon Gai Port นอกจากน้ี ยงั เปน็ จังหวัดทีอ่ ดุ มสมบรู ณด์ ้วยทรพั ยากรมากมาย อาทิ ป่าไม้ และเป็นแหล่ง ถ่านหนิ ใหญ่ท่สี ุดในประเทศ รวมทงั้ มีสถานท่ที อ่ งเทย่ี วสวยงามมชี ่อื เสยี งระดบั โลก คอื อ่าวฮาลอง (Ha Long Bay) - เซินลา (Son La) มพี ื้นที่ 14,055 ตารางกิโลเมตร ประชากร 9 แสนคน โดยพน้ื ทก่ี วา่ รอ้ ยละ 80 เปน็ ไหลเ่ ขา ซงึ่ เหมาะแก่การทําฟารม์ โคนม มีสนิ คา้ ส่งออกสาํ คญั ได้แก่ ชาดาํ - ลายเจวิ (Lai Chau) มีพน้ื ที่ 7,365 ตารางกโิ ลเมตร ประชากร 2 แสนคน มสี นามบนิ คอื Dien Bien Phu Airport - เตวยี นกวาง (TuyenQuang) มพี ้นื ท่ี 5,868 ตารางกโิ ลเมตร ประชากร 7 แสนคน เป็นจงั หวัดที่อดุ ม ไปด้วยป่าไม้ และไม้มคี า่ ต่างๆ รวมถึงพืชสมุนไพรกวา่ 1,000 ชนิด - หลาวกาย (Lao Cai) มพี ้ืนท่ี 8,057 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6 แสนคน มปี ่าไม้อดุ มสมบูรณ์และ ไมห้ ายากหลายชนิด อาทิ Po Mu (Fukiena), LatHoa (ChukrasiaTabulario Cho Chi) รวมถงึ พืช สมุนไพรและสตั วห์ ายากอืน่ ๆ เช่น กวาง หมูปา่ เสือ เป็นต้น เมืองท่องเที่ยวสาํ คัญคือ เมอื งซาปา (Sa Pa) ซึ่งอยู่บนภเู ขาสูงและมีภูมอิ ากาศคล้ายยโุ รป

18 ภาคกลาง ภาคกลางของเวยี ดนามยังมีชนกลมุ่ นอ้ ยอาศยั อยู่มากมาย พน้ื ท่สี ว่ นใหญเ่ ป็นทีร่ าบสูงซ่ึงเต็มไปด้วย หนิ ภเู ขาไฟ หาดทราย เนนิ ทราย และทะเลสาบ เปน็ เขตพ้ืนท่ปี ่าไม้สําคญั ทสี่ ดุ ของเวียดนาม สภาพภมู ิอากาศ ค่อนข้างรอ้ นตลอดปี และมีเพียง 2 ฤดคู ือ - ฤดฝู น (พฤษภาคม-ตุลาคม) เดอื นทีอ่ ากาศรอ้ นทส่ี ุดคอื มิถนุ ายน-กรกฎาคม อุณหภมู ิเกือบ 40 ํ - ฤดแู ล้ง (ตลุ าคม-เมษายน) เดอื นทีอ่ ากาศเยน็ ที่สดุ คอื มกราคม อุณหภูมเิ กือบ 20 ํC เมอื งสําคัญทางภาคกลาง ได้แก่ - ถัวเทยี น - เว้ (ThuaTien - Hue) มีพืน้ ท่ี 5,009 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1 ล้านคน เปน็ อดีตเมอื ง หลวงของเวยี ดนาม ปจั จุบันเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วสําคัญทางประวัติศาสตร์ทน่ี ่าสนใจ - ดานัง (Da Nang) มพี ืน้ ท่ี 1,256 ตารางกิโลเมตร ประชากร 7 แสนคนเปน็ ศนู ย์กลางธุรกิจ การ ท่องเท่ียว และเป็นเมอื งท่าสาํ คญั โดยมสี นามบินคอื Da Nang Airport และทา่ เรอื Tien Sa Seaport ภาคใต้ แม้ว่าพื้นทส่ี ่วนใหญย่ งั คงเป็นทีร่ าบสงู แต่กม็ ที ่ีราบล่มุ แม่น้าํ โขง (Mekong River Delta หรือท่ีรู้จัก กนั ในช่ือ กลู๋ องยาง - Cuu Long Giang) อันอดุ มสมบูรณ์ เป็นแหลง่ เพาะปลูกท่ีใหญ่ท่ีสดุ ในประเทศ อีกทั้ง ยังเปน็ ทตี่ ง้ั ของนครโฮจิมนิ ห์ (Ho Chi Minh City) หรืออดีตไซง่ อ่ น (Saigon) ภมู อิ ากาศของภาคใต้ค่อนขา้ งรอ้ น อุณหภูมเิ ฉล่ยี ประมาณ 27 ํ C มี 2 ฤดเู ช่นเดยี วกับภาคกลาง คอื - ฤดฝู นชว่ งเดือนพฤษภาคม-พฤศจิกายน เดือนทีอ่ ากาศรอ้ นท่สี ุดคือเมษายน อณุ หภมู ิประมาณ 39 ํC - ฤดูแล้งช่วงเดอื นพฤศจิกายน-เมษายน เดอื นท่อี ากาศเย็นทีส่ ุดคือ มกราคม อณุ หภูมปิ ระมาณ 26 ํC ภาคใตม้ ีเมืองสาํ คญั ไดแ้ ก่ - โฮจมิ นิ ห์ (Ho Chi Minh City) มพี ื้นที่ 2,095 ตารางกิโลเมตร ประชากร 5.4 ล้านคน เปน็ ศูนย์กลาง ธุรกจิ การคา้ การนําเข้าสง่ ออก และเป็นเมอื งท่าสาํ คัญ โดยมีสนามบินนานาชาติ Tan Son Nhat Airport และมีท่าเรอื Saigon Port โฮจิมินห์ ไดร้ บั ฉายาวา่ \"ไขม่ ุกแหง่ เอเชียตะวนั ออก\"

19 - เก่ินเธอ (Can Tho) มพี นื้ ท่ี 1,390 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 1.1 ลา้ นคน เปน็ เมอื งอุตสาหกรรม แปรรปู อาหารท่ีสาํ คัญ และเปน็ แหลง่ ปลูกขา้ วใหญ่ที่สุดของเวียดนาม - เตี่ยนยาง (TienGiang) มพี น้ื ที่ 2,367 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1.6 ลา้ นคน เน่อื งจากเต่ยี นยางตง้ั อยู่ ในบริเวณสามเหลีย่ มปากแมน่ ํ้าโขง ซ่ึงมีดนิ อดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแก่การเพาะปลูกพืชเขตร้อน จึงเปน็ แหลง่ ผลิตข้าวและผลไม้ตา่ งๆ อาทิ ทุเรยี น มะม่วง รวมถงึ ผลไมเ้ มืองรอ้ นชนิดอนื่ ๆ - บาเรีย - หวงุ เตา่ (Ba Ria - Vung Tau) มพี ื้นที่ 1,975 ตารางกิโลเมตร ประชากร 8 แสนคน เปน็ เมือง ทมี่ ีการผลิตนํา้ มันดิบและก๊าชธรรมชาติ โดยเวียดนามสามารถผลิตนํา้ มันไดม้ ากท่สี ดุ ในคาบสมุทร อินโดจีน แหล่งผลติ สาํ คัญอยทู่ างภาคตะวันออกเฉยี งใต้ของเมือง เรียกวา่ \"Bac Ho\" หรอื \"White Tiger\" ขอ้ มลู จาก http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_vietnam/2010_vietnam_1_0-1.html สภาพภมู ิประเทศ ภมู ปิ ระเทศเป็นภูเขาสงู กน้ั ระหว่างทีร่ าบลุ่มแมน่ ํา้ ท่อี ดุ มสมบรู ณ์มีลกั ษณะเป็นแนวยาว โดยมคี วาม ยาวจากเหนอื จรดใต้ 1,650 กโิ ลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอนิ โดจีน และมีหมูเ่ กาะตา่ งๆ อีบ พนั เกาะเรยี งรายตง้ั แต่อ่าวตังเกย๋ี ไปจนถึงอ่าวไทย

20 เวยี ดนามมลี ักษณะภมู ปิ ระเทศเป็นทรี่ าบลมุ่ แมน่ ํ้าขนาดใหญ่ 2 แหง่ คอื ท่รี าบลมุ่ แม่นาํ้ แดงอยู่ทาง ตอนเหนอื และทีร่ าบลุม่ แม่นาํ้ โขงอยู่ทางตอนใต้ และตอนเหนอื ของประเทศมที รี่ าบสูง มภี ูเขาฟาน ซี ปัง (Phan Xi Pung) ซึ่งเปน็ ยอดเขาทสี่ งู ทส่ี ดุ ในอินโดจีน มีความสงู ถึง 3,143 เมตร (10,312 ฟุต) ตง้ั อยใู่ นจังหวัด เลาไค ลักษณะดงั กล่าวทาํ ใหเ้ กดิ การแบง่ เขตเปน็ 3 ภาค ดงั น้ี 1.ภาคเหนอื มภี ูมิประเทศประกอบด้วยภเู ขาสงู มีแม่น้ํากุง (Cung) ซึ่งไหลไปบรรจบกับแม่นํา้ แดงเกดิ เปน็ สามเหลี่ยมปากแมน่ ้ําแดง (Red River Delta) ทม่ี คี วามอุดมสมบรู ณ์เหมาะแกก่ ารเพาะปลูก 2.ภาคกลาง ยังมีชนกลมุ่ น้อยอาศัยอย่มู ากมาย พ้ืนท่สี ่วนใหญเ่ ปน็ ท่ีราบสงู ซง่ึ เตม็ ไปดว้ ยหนิ ภูเขาไฟ หาด ทราย เนนิ ทราย และทะเลสาบเป็นเขตพน้ื ท่ปี า่ ไมส้ าํ คัญทส่ี ุดของเวียดนาม สภาพภูมิอากาศคอ่ นขา้ งรอ้ น ตลอดปี และมเี พียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม) และฤดแู ล้ง (เดอื นตลุ าคม-เมษายน) 3.ภาคใต้ มีพื้นทีส่ ่วนใหญเ่ ป็นทร่ี าบสูง และมที ีร่ าบลุ่มสําคัญ คอื บริเวณสามเหลีย่ มปากแม่น้าํ โขง (Mekong River Delta) หรอื ที่รู้จักกนั ในชอื่ \"ก๋ลู องยาง” (Cuu Long Giang) ซง่ึ เปน็ แหล่งเพาะปลูกสําคัญขนาดใหญ่ ทส่ี ุดของเวยี ดนาม ขอ้ มลู จากhttp://thailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=3098&filename=index สงั เคราะห์สภาพภูมิประเทศของเวียดนาม สภาพภมู ิประเทศของเวียดนามเปน็ ภูเขาสงู กัน้ ระหว่างที่ราบลมุ่ แม่น้าํ ทีม่ ีความอุดมสมบรู ณ์ โดย ยาวตง้ั แตเ่ หนอื จรดใต้ ขนานกับคาบสมทุ รอนิ โดจีน และมีหมู่เกาะตา่ งๆมากมาย เวยี ดนามมีลุ่มแม่นา้ํ ขนาด ใหญ่ 2 แห่ง คือ ราบลุ่มแม่นํ้าแดงอยูท่ างเหนือ และราบลุ่มแม่นํา้ โขงอยทู่ างใต้ เวียดนามแบง่ เขตเปน็ 3 ภาค ดงั น้ี

21 ภาคเหนอื ซงึ่ มภี ูเขาสงู มากมาย โดยเฉพาะเทอื กเขาฟานซปี าน ภมู ิอากาศในภาคเหนือแบง่ ออกเปน็ 4 ฤดู คอื ฤดใู บไม้ผลิ(มี.ค.-เม.ย.) ฤดรู ้อน(พ.ค.-ส.ค.) ฤดใู บไมร้ ว่ ง(ก.ย.-พ.ย.) ฤดหู นาว(ธ.ค.-ก.พ.) เมือง สําคัญไดแ้ ก่ ฮานอย ไฮฟอง กวา๋ งนนิ ห์เซนิ ลา ลายเจิว เตวยี นกวาง หลาวกาย ภาคกลาง มีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่มากมาย พื้นท่ีสว่นใหญ่เป็นทร่ี าบสูงเตม็ ไปดว้ ยหินภูเขาไฟ สภาพ อากาศค่อนข้างร้อนตลอดปี ซงึ่ มเี พียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝน(พ.ค.-ต.ค.) และ ฤดูแล้ง(ต.ค.-เม.ย.) เมอื งสําคญั ได้แก่ ถวั เทียน-เว้ และ ดานงั ภาคใต้ มที ีร่ าบลุ่มแม่นา้ํ โขง เปน็ แหล่งเพาะปลูกทส่ี าํ คัญท่สี ดุ ในประเทศ ภมู อิ ากาศคอ่ นขา้ งรอ้ น โดยมี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน(พ.ค.-พ.ย.) และ ฤดแู ลง้ (พ.ย.-เม.ย) มเี มืองที่สาํ คญั ได้แก่ โฮจิมินห์เกน่ิ เธอ เตย่ี นยาง บาเรีย-หวงุ เจา่ การเมืองการปกครองของเวียดนาม ลกั ษณะการปกครอง เวยี ดนามเปน็ ประเทศสงั คมนยิ มท่ีปกครองโดยพรรคคอมมวิ นสิ ต์ (พรรคคอมมวิ นสิ ต์แห่งเวยี ดนาม Communist Party of Vietnam – CPV) ซง่ึ เป็นสถาบันการเมอื งทีม่ อี าํ นาจสูงสดุ ทําหน้าทีใ่ นการกาํ หนด

22 นโยบายในการปกครองประเทศโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานในการร่างกฎหมายและปกครองท่ัวไป ประธานาธบิ ดที าํ หนา้ ท่ีดูแลนโยบายของรัฐ การทหาร และการรักษาความสงบภายในประเทศ และมี สถาบันทส่ี าํ คัญคือ รัฐบาล ซ่ึงแต่งตัง้ โดยประธานาธบิ ดแี ละรบั รองโดยสถาแหง่ ชาติ โดยมวี าระ 5 ปี เวยี ดนามแบง่ ออกเปน็ 59 จงั หวดั และ 5 เขตเมอื ง หรือเรยี กวา่ นคร (Can Tho , Da Nang , HaiPhong , Ha Noi , Ho Chi Minh) การเมืองของเวยี ดนามมเี สถียรภาพ เนื่องจากมพี รรคคอมมวิ นิสต์ เปน็ องคก์ รทีม่ อี าํ นาจ สงู สดุ ผูกขาดการชี้นาํ ภายใต้ระบบผู้นํารว่ ม (collective leadership) ท่ีคานอํานาจระหวา่ งกลุม่ ผูน้ าํ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ปฏิรปู ทส่ี นบั สนนุ การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ นาํ โดยอดีตนายกรฐั มนตรี ฟาน วัน กลุม่ อนรุ กั ษ์นยิ ม ซงึ่ ตอ่ ตา้ นหรือชะลอการเปิดประเทศ เพราะเกรงภัยของ “ววิ ฒั นาการท่ี สนั ติ” peaceful evolution) อันเนื่องมาจากการเปดิ ประเทศ กลุ่มทีเ่ ปน็ กลาง ประนปี ระนอมระหว่างสองกลุม่ แรก นําโดยอดตี ประธานาธบิ ดี เจน่ิ ดึ๊ก เลือง ส่งผลใหร้ ัฐบาลเวยี ดนามต้องปรับแนวทางการบริหารประเทศใหย้ ดื หยนุ่ และเปิด กว้างมากข้ึน แตก่ ็ไม่ สามารถดาํ เนินไปไดใ้ นยา่ งกา้ วท่ีรวดเรว็ นัก ข้อมลู จากhttp://61.47.41.107/w/content/91การเมืองการปกครองประเทศเวยี ดนาม การเมืองการปกครองของเวียดนาม ประเทศเวียดนามเหนือ เ วียดนามเหนือ หรอื ชอื่ อย่างเปน็ ทางการว่า สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยเวียดนาม (เวียดนาม: Việt Nam DânChủCộngHòa) คือประเทศท่เี กิดจากการรวมของแคว้นตงั เกี๋ยและแคว้นอันนามของฝร่ังเศส

23 ประกาศกอ่ ตัง้ เม่ือวันท่ี 2 กนั ยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) โดยประธานาธบิ ดีโฮจมิ ินห์ ต้ังอยู่บรเิ วณคร่ึงบน ของประเทศเวยี ดนามในปัจจุบนั ประเทศเวยี ดนามใต้ เวียดนามใต้ เป็นรฐั ทีป่ กครองบรเิ วณตอนใตข้ องเวียดนามระหวา่ งปี พ.ศ. 2498 ถงึ พ.ศ. 2518 ซ่งึ ตา่ งชาติโดยเฉพาะรฐั ประชาธิปไตยและชาตติ ่อต้านคอมมิวนสิ ต์ยอมรบั ในชอื่ วา่ สาธารณรฐั เวยี ดนาม คาํ เรยี ก เวยี ดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถกู ใชอ้ ยา่ งแพร่หลายในปี พ.ศ. 2497 ในการประชุมทเ่ี จนีวา ซงึ่ แบง่ ประเทศเวยี ดนามออกเป็นสองสว่ นโดยเส้นขนานที่ 17 ในระหวา่ งสงครามเวียดนาม เวยี ดนามใต้ได้รบั การ สนบั สนุนจากสหรฐั อเมริกา ในอดีต เวยี ดนามใต้เคยเปน็ อาณานคิ มของฝรงั่ เศสในชอ่ื โคชนิ ไชนา่ หลังสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 เวยี ดมนิ หซ์ ึ่งนําโดย โฮจิมนิ ห์ สถาปนารัฐคอมมิวนิสตข์ ึ้นทฮ่ี านอย ในปีพ.ศ. 2492นักการเมอื งที่ไม่ฝกั ใฝ่ คอมมวิ นิสต์ ก่อต้งั รัฐบาลขึ้นทเี่ มอื งไซ่ง่อน ซึง่ นาํ โดย อดตี จกั รพรรดิเบาได๋ ในปี 2498 เบาได๋ถกู ปลดโดย นายกรฐั มนตรี โง ดนิ หเ์ ดียม และแตง่ ตง้ั ตนขน้ึ เป็นประธานาธบิ ดี หลังจากเดียมตายจากการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2506 ได้มีรัฐบาลทหารอายสุ ้นั หลายสมัยไดป้ กครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2510 พลโทเหงียน วนั เถีย่ วได้ขนึ้ เปน็ ประธานาธิบดีและไดป้ กครองเวยี ดนามใต้จนถงึ ปีพ.ศ. 2518 สงครามเวยี ดนามเร่ิมตน้ ในปี พ.ศ. 2502 โดยกองกาํ ลังเวยี ดกงซ่ึงได้รบั สนับสนนุ โดยเวยี ดนามเหนอื การรบถึงจุดตัดสินในปีพ.ศ. 2511 แมจ้ ะมสี นธสิ ญั ญาสันตภิ าพในปพี .ศ. 2516 แตก่ ารรบยงั คงตอ่ เนอ่ื งจนกระท่ัง กองทัพเวยี ดนามเหนือยึดกรุง ไซง่ ่อนไดใ้ นวนั ท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2518 การเมือง การเมืองของเวียดนามมีเสถียรภาพ เนือ่ งจากมพี รรคคอมมวิ นิสต์เวยี ดนาม เปน็ องค์กรทม่ี อี ํานาจ สงู สดุ เพียงพรรคการเมืองเดยี ว ผูกขาดการชน้ี ําภายใตร้ ะบบผูน้ าํ รว่ ม (collective leadership) ท่ีคานอํานาจ ระหว่างกลุ่มผูน้ ํา ได้แก่ 1.) กลมุ่ ปฏริ ูป ทส่ี นบั สนนุ การเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ นาํ โดยอดตี นายกรฐั มนตรี ฟาน วนั ขาย 2.) กลมุ่ อนรุ ักษนยิ ม ซึ่งต่อตา้ นหรอื ชะลอการเปิดประเทศ เพราะเกรงภยั ของ “วิวัฒนาการทีส่ นั ติ” peaceful evolution) อนั เนื่องมาจากการเปิดประเทศ และ

24 3.) กลุ่มทเ่ี ปน็ กลาง ประนีประนอมระหว่างสองกลมุ่ แรก นําโดยอดตี ประธานาธิบดี เจ่นิ ด๊ึก เลือง สง่ ผลใหร้ ัฐบาลเวยี ดนามตอ้ งปรบั แนวทางการบรหิ ารประเทศใหย้ ืดหยุ่นและเปิดกวา้ งมากข้นึ แต่กไ็ ม่ สามารถดําเนินไปได้ในยา่ งก้าวที่รวดเรว็ นกั เวยี ดนามได้มกี ารเลอื กต้ังสภาแห่งชาติ สมัยท่ี 11 เมือ่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 มผี ไู้ ด้รบั การ เลอื กต้ังทัง้ สิ้น 498 คน เป็นผเู้ ลอื กตัง้ อิสระเพียง 2 คน ที่เหลอื เป็นผสู้ มคั รท่ีไดร้ ับการคดั เลอื กจากพรรค คอมมิวนสิ ต์ สภาแหง่ ชาติมวี าระดาํ รงตาํ แหน่ง 5 ปี มีหนา้ ที่ตรากฎหมาย แต่งต้ังหรอื ถอดถอน ประธานาธิบดี ประธานรัฐสภา และ นายกรัฐมนตรี สภาแห่งชาตชิ ดุ ใหม่ได้เปิดประชมุ เม่ือ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 โดยสภาไดม้ มี ติสําคญั ๆ คอื 1.) รบั รองผลการเลอื กตัง้ เมอื่ 19 พฤษภาคม 2.) เลือกต้งั คณะกรรมการต่าง ๆ ประจาํ สภา 3.) การเลือกตงั้ ให้นายเหวียน วนั อาน ดาํ รงตาํ แหน่งประธานสภาต่อไป (เม่ือ 23 กรกฎาคม) 4.) การเลือกต้งั ใหน้ ายเจิ่น ดึก๊ เลอื ง ดํารงตาํ แหน่งประธานาธบิ ดตี ่อไป (เม่ือ 24 กรกฎาคม) และ 5.) เลือกตัง้ ใหน้ ายฟาน วัน ขาย ดาํ รงตาํ แหน่งนายกรฐั มนตรีต่อไป (เมือ่ 25 กรกฎาคม) และได้มกี ารปรบั คณะรัฐมนตรีเมื่อ 8 สงิ หาคม 2545 โดยในคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ 26 คน มีรฐั มนตรที ไ่ี ดร้ บั แต่งต้งั ใหม่ 15 คน ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นคนร่นุ ใหม่ทีม่ คี วามร้คู วามสามารถ หลายคนเคยดาํ รงรฐั มนตรชี ว่ ยในกระทรวงนนั้ ๆ มาแล้ว นอกจากนี้ ยงั มีการตั้งกระทรวงใหม่ 3 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงไปรษณยี แ์ ละโทรคมนาคม และกระทรวงภายใน ซงึ่ เป็นการสะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ทิศ ทางการปฏริ ปู เศรษฐกจิ และการบรหิ ารประเทศมากข้นึ ซ่ึงเมอ่ื พิจารณาในประเดน็ น้ี ไม่นา่ จะสง่ ผลกระทบ ตอ่ ความสมั พนั ธไ์ ทย-เวียดนามท่ดี าํ เนนิ ไปด้วยดีในปัจจุบนั แผนงานการปฏริ ปู ระบบราชการสําหรบั ปี ค.ศ. 2001-2010 เนน้ 4 ประเดน็ ได้แก่ การปฏริ ูประบบ กฎหมาย การปฏิรปู โครงสร้างองค์กร การยกระดบั ความสามารถของข้าราชการ และการปฏริ ูปด้านการคลงั โครงสรา้ งทางการเมือง

25 ฝ่ายนติ บิ ญั ญตั ิ สภาแหง่ ชาติ (Quoc Hoi หรือ National Assembly) ทําหนา้ ท่ีเป็นฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ิ มสี มาชกิ รวม 493 คน มีอาํ นาจสงู สดุ ในการกําหนดนโยบายทั้งภายในและตา่ งประเทศ มหี นา้ ทีบ่ ัญญัตแิ ละแกไ้ ขกฎหมาย แตง่ ตั้งประธานาธบิ ดีตามท่ีพรรคคอมมิวนิสตเ์ สนอ ใหก้ ารรบั รองหรือถอดถอนนายกรัฐมนตรตี ามท่ี ประธานาธิบดี เสนอ รวมทัง้ แต่งตัง้ คณะรัฐมนตรีตามท่ีนายกรัฐมนตรเี สนอ อันเป็นระบบการบรหิ ารแบบ ผนู้ าํ ร่วมสมาชกิ สภาแหง่ ชาติมาจากการเลอื กตัง้ มีวาระการดํารงตําแหนง่ คราวละ 5 ปี แม้วา่ ส่วนใหญ่จะเป็น สมาชกิ ของพรรคคอมมิวนิสต์ แต่กฎหมายเวียดนามก็อนญุ าตใหผ้ ู้ทีม่ ไิ ดเ้ ป็นสมาชกิ ของพรรคลงสมัครรบั เลอื กตั้งไดเ้ ช่นกันโดยตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากแนวร่วมปิตภุ มู ิแห่งชาติ อนั เป็นองค์กรสว่ นหนง่ึ ของ พรรคคอมมิวนสิ ต์ ทําหน้าทดี่ ูแลรกั ษาอุดมการณส์ ังคมนยิ ม ฝา่ ยบรหิ าร ประกอบดว้ ย ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรฐั มนตรี รวมไปถงึ ตาํ แหน่งสําคัญในพรรค คอมมวิ นิสต์ เชน่ สมชั ชาของพรรคคอมมิวนสิ ต์ มีวาระดาํ รงตาํ แหนง่ 5 ปี มหี นา้ ทพี่ ิจารณาให้ความเหน็ เกี่ยวกับการดําเนนิ งานขององคก์ รบริหารระดับสงู เลขาธิการพรรคคอมมวิ นิสต์ เป็นผ้มู ีอํานาจสงู สดุ ของ พรรค คณะกรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์ ทําหน้าทก่ี าํ หนดนโยบายดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กรมการเมือง (Politburo) เป็นองค์กรบรหิ ารสงู สดุ เปน็ ศูนย์กลางอํานาจในการกําหนด นโยบายและควบคมุ การดําเนินงานใหเ้ ป็นไปตามแนวทางท่ีกําหนด การปกครองท้องถนิ่ แต่ละจังหวดั จะมีคณะกรรมการประชาชน(Provincial People’s Committee) ทําหนา้ ท่บี รหิ ารงาน ภายในท้องถน่ิ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายรฐั ธรรมนูญ นโยบายและกฎระเบยี บต่างๆ ทีบ่ ัญญตั ิโดยองค์กรของ รัฐทอี่ ยูใ่ นระดับสูงกว่า ระบบการบริหารราชการทอ้ งถิ่นของเวียดนามแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ คือ ระดับ จงั หวดั และเทียบเทา่ มี 59 จังหวัด กับอกี 5 นคร คือ ฮานอย โฮจมิ นิ หไ์ ฮฟอง ดานงั และเกน่ิ เธอ ซงึ่ จะไดร้ บั งบประมาณจากสว่ นกลางโดยตรง รวมท้งั ข้าราชการจะได้รับการแตง่ ต้งั โดยตรงจากส่วนกลาง จึงมีอํานาจ ในการตัดสนิ ใจอย่างเตม็ ที่ ช่วยให้เกดิ ความคล่องตัวในการบริหารงาน สําหรบั ระดบั เมืองและเทศบาลมี ประมาณ 600 หน่วย และระดับตาํ บลมีประมาณ 10,000 ตาํ บล ข้อมูลจากhttps://f473.wordpress.com/การเมอื งการปกครองของประเทศเวียดนาม

26 สังเคราะห์การเมืองการปกครองของเวียดนาม ลักษณะการปกครอง เวียดนามเป็นประเทศสงั คมนิยมทป่ี กครองโดยพรรคคอมมวิ นิสต์ทาํ ให้ การเมืองของเวยี ดนามมีเสถียรภาพ ซึง่ มีอาํ นาจสูงสุดทําหน้าท่กี าํ หนดนโยบายปกครองท่ัวไปโดย ประธานาธิบดี มีการใช้ระบบผนู้ ํารว่ มทคี่ ้านอาํ นาจระหวา่ งกลมุ่ ผนู้ ํามอี ยู่ 3 กล่มุ ไดแ้ ก่ กล่มุ ปฏริ ูปท่ี สนับสนนุ การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ กลมุ่ อนุรักษน์ ยิ มซึ่งคัดค้านหรือชะลอการเปิดประเทศ และกลุ่มที่เป็น กลางเป็นกลมุ่ ทป่ี ระนีประนอมระหว่างสองกลมุ่ แรก โครงสรา้ งทางการเมือง ฝา่ ยนติ บิ ัญญัติ สภาแห่งชาติทําหนา้ ท่ีเปน็ ฝ่ายนิติบัญญัตมิ อี ํานาจสุงสุดในการกาํ หนดนโยบายทัง้ ภายในและต่างประเทศ มีหนา้ ท่ีบญั ญตั ิและแก้ไขกฎหมาย แต่งต้ังประธานาธบิ ดตี ามที่พรรคคอมมิวนิสต์ เสนอ ฝ่ายบรหิ าร ประกอบไปดว้ ยประธานาธบิ ดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีรวมถึงตําแหน่งสําคัญใน พรรคคอมมิวนิสต์ มหี นา้ ท่ใี ห้ความเหน็ เก่ียวกบั การดาํ เนินงานขององค์กรบริหารระดบั สงู การปกครองทอ้ งถ่ิน แต่ละจงั หวดั จะมคี ณะกรรมการประชาชน ทําหนา้ ทีบ่ ริหารงานภายในทอ้ งถ่ิน ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายรฐั ธรรมนูญ นโยบายและกฎหมายตา่ งๆ ระบบบรหิ ารทอ้ งถิน่ แบ่งออกเปน็ 3 ระดับ คอื จังหวดั นคร และเกนิ่ เธอ ประชากรของเวียดนาม ลักษณะประชากรเวียดนาม

27 เวียดนามมีประชากรทั้งหมด ณ ปี 2560 จํานวน 93.4 ลา้ นคน มากเปน็ อนั ดับสามในเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ รองจากอนิ โดนเี ซียและฟลิ ิปปนิ ส์ เป็นอนั ดับ 13 ของโลก ชาวเวยี ดนามมีสัญชาติเวยี ดนามมากกว่า รอ้ ยละ 86 เป็นเช้ือชาติขนิ่ (Khin) หรอื เวียด (Viet) นอกน้ันเป็นชนกล่มุ อ่ืนๆ อกี 53 เช้อื ชาติ กระจายอย่ตู ามเทือกเขาและทรี่ าบสูง ชาวเวียดนามส่วนใหญไ่ มน่ ับถือศาสนา แต่นบั ถือลัทธติ า่ งๆ ถงึ ร้อยละ 80.8 นอกจากน้นั มีการนับ ถอื ศาสนาพุทธนกิ ายมหายาน ร้อยละ 9.3 คริสต์นกิ ายโรมนั คาทอลกิ ร้อยละ 6.7 ฮัวเฮา (HuaHao) ร้อยละ 1.5 Cao Dai รอ้ ยละ 1.1 คริสต์โปรแตสแทนท์ รอ้ ยละ 0.5 และอิสลามร้อยละ 0.1 ขอ้ มลู จากhttp://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3171&filename=index ประชากรของเวียดนาม ประชากรสว่ นใหญ่เปน็ ชนเช้ือชาติเวยี ดนามแท้ ประมาณรอ้ ยละ ๘๕ เป็นชาวจนี ประมาณรอ้ ยละ ๒ ท่ีเหลือเป็นชนกลุ่มน้อยประมาณรอ้ ยละ ๑๔ ประกอบดว้ ย ชาวโม้ง ( Muong) ไท (Thai) แม้ว (Meo) เขมรมอญ (Mon) จาม (Cham) ดินแดนเวยี ดนาม แต่เดิมเป็นถนิ่ ทอี่ ยูข่ องพวกมอย (Moi) ซ่ึงมีชอ่ื ต่าง ๆ กันหลายสิบเผ่า มี ขนบธรรมเนยี มประเพณีคลา้ ยคลึงกับชาวขา่ บางเผา่ ในประเทศลาว จัดเขา้ อยใู่ นตระกลู มอญ - เขมร และบาง เผ่าในตระกูล ชวา - มลายู พวกมอยมีอย่มู ากกวา่ ล้านคน ส่วนมากอาศัยอยู่ตามภูเขาเหนอื ไซ่งอน ขึ้นไปจน เหนือเส้นขนานท่ี ๑๗ พวกนีไ้ ม่มตี วั หนงั สอื ใช้ เครง่ ครดั ในลัทธไิ สยศาสตร์ นบั ถือผสี าง เทวดา อยา่ งยงิ่ ไม่ ชอบพบคนแปลกหน้า นอกจากพวกมอยแล้ว ขนกลมุ่ น้อยในเวียดนามอีกพวกหนึ่งคอื พวกไทย บรรพบรุ ษุ ของพวกไทย อพยพจากประเทศจีน เม่ือประมาณตน้ พุทธกาล เขา้ มาตามลุม่ น้าํ ต่าง ๆ อย่างช้า ๆ ในทส่ี ดุ ได้มาตง้ั ถนิ่ ฐาน อยใู่ นแคว้นตงั เก๋ีย เม่ือประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๔ แบ่งออกเป็นหลายกลมุ่ คอื - ผไู้ ทยดาํ อย่ใู นเขตสบิ สองจุไทย แถบแม่นํ้าซองมา แม่น้าํ ดํา เมืองซอนลา เมอื งแถง (เดยี นเบียนฟู) เมืองฮุง เมอื งลอย - ผไู้ ทยขาว อยูใ่ นแถบเมืองไลเจา ใกลเ้ คียงกับไทยดาํ ไทยโท้ ไทยนงุ

28 - ไทยโท้ อยู่รอบ ๆ บรเิ วณท่ีราบสามเหลี่ยมแม่น้ําแดง ทางทศิ ตะวันตก และทางทศิ เหนอื ของเมอื ง ฮานอย - ไทยนงุ อยู่ตามพรมแดนตังเกี๋ย และมณฑลกวางสขี องจีน - ยาง อยู่ในเขตเมืองหา้ ยาง ทางทศิ ตะวนั ออกของเมืองเผาลัก ตรงปากน้ําแคลร์กับนาํ้ โล มีชนอีกพวกหน่งึ อยูต่ อนกลางของแคว้นตงั เก๋ยี คือ พวกเมือง (Moung) ซ่งึ เป็นชาติผสมเวียดนาม ชวา และไทย มีภาษาพดู คล้ายพวกเวียดนามมาก ต้ังถนิ่ ฐานอยตู่ ามเชงิ เขา บริเวณใกลก้ บั เมืองฮานอย และ ตะวันตกเฉยี งใตล้ งไป ตามภูเขากนั้ พรมแดนลาว ตรงกบั เมอื งวินห์ นบั วา่ เป็นชาวพนื้ เมืองดัง้ เดิมของ เวยี ดนาม ทางตอนเหนอื ด้วยเหมือนกนั มชี นอกี สองพวกท่ีมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในเวยี ดนามตอนเหนอื คือ พวกแมว้ และพวกหม่าน พวกแม้ว แบ่งออกเป็นส่พี วกคอื แมว้ ขาวแดง แมว้ สาย แมว้ ดาํ และแม้วขาว อาศยั อยตู่ ามเมอื งชายแดน ทต่ี ดิ ตอ่ กับ ประเทศจีน ทางด้านมณฑลยูนาน ในเขตเมืองลาวกาย เมอื งจาํ ปา เมืองฟองโท เมืองไลเจา เมอื งแถง และ เมอื งซอนลา พวกหม่าน แบง่ ออกเปน็ ห้าพวกคอื หม่านตาปัน หม่านลานเถน หมา่ นกวางก๊ก หมา่ นเถาลาน และ หมา่ นกวางตงั อาศัยอยตู่ ามภเู ขาในเขตเมอื งฟองโท เมืองไลเจา เมืองลาวกาย รมิ ฝง่ั แมน่ า้ํ แดง เมอื งเกายาง เมืองลาวเชิง เมอื งเยนบาย เมืองบองกาย และภเู ขาแถบเมืองหัวบินห์ ก่อนทีแ่ มน่ ํา้ ดําจะไปบรรจบแมน่ าํ้ แดง ชาวญวน หรือชาวเวียดนาม เดมิ อยใู่ นประเทศจีนตอนใต้ บริเวณมณฑลซเี กยี ง ฟเู กี้ยน กวางตงุ้ และ กวางสี ในปัจจุบัน จัดอย่ใู นเผา่ ไทย - จนี เพราะภาษาพูดของพวกเวยี ดนาม มีคาํ พ้องกบั คาํ ไทยในภาษา และ คาํ ในภาษาจนี อย่มู าก พวกชนกลุม่ น้อยรวมกนั ประมาณรอ้ ยละ ๑๕ ของประชากร เวยี ดนามตอนเหนือน้ี โดยความเป็นมา ทางประวตั สิ าสตร์ เป็นพวกท่ไี ม่คอ่ ยเปน็ มิตรกบั พวกเวียดนาม ในสมัยที่ยงั แยกเป็นเวียดนามเหนอื กบั เวียดนามใต้ รัฐบาลเวยี ดนามเหนือได้เคยประสบปัญหาของชนกล่มุ นอ้ ยเหล่าน้ี เม่ือปี พ.ศ.๒๔๙๘ ไดอ้ นมุ ตั ิ ให้มเี ขตปกครองตนเองของพวกไทย - แม้ว (Thai - Meo Autonomous) มพี ื้นท่ีประมาณ ๑๙,๕๐๐ ตาราง ไมล์ มีชนเผ่าตา่ ง ๆ อยู่ ๒๐ เผ่า ประมาณ ๓๓๐,๐๐๐ คร และมี Viet - Bac Autonomous Area มพี ้ืนท่ี ประมาณ ๑๖,๐๐๐ ตารางไมล์ มชี นเผา่ ต่าง ๆ ๑๕ เผา่ ประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ คน นอกจากนย้ี ังมี Lao - Ha - Yen Area อีกด้วย

29 ชาวเวยี ดนามแท้ ส่วนใหญ่อาศยั อยหู่ นาแนน่ ตามท่รี าบลุ่มสามเหลี่ยมปากแมน่ ํา้ โขง ท่รี าบตาม ชายฝ่ังทะเลตะวนั ออก และท่รี าบตอนใต้ ชาวจนี ตั้งถิน่ ฐานทาํ มาหากินอยทู่ ่ัวไป โดยเฉพาะในย่านการค้า และตามเมอื งใหญ่ ๆ เชน่ เมอื งโช ลอง เมืองไซ่ง่อน (โฮชิมนิ ห)์ และเมืองตามชายฝั่งทะเลทั่วไป ชาวจีนท่อี ยใู่ นเวยี ดนามเกือบทัง้ หมด ถือ สัญชาตเิ วยี ดนาม มกี ารพักรวมกนั เปน็ กล่มุ จดั ตั้งสมาคมเพอื่ วตั ถปุ ระสงค์ทางการคา้ แต่ก็มีชาวจนี บาง ส่วนประกอบอาชีพทางกสกิ รรมเลย้ี งสัตว์ ชาวเผา่ ไทย ประกอบดว้ ย ไทยขาว ไทยดํา ไทยแดง ไทยลาย ไทยโท้ ซ่งึ มจี ํานวนมากท่สี ุด จาก บรรดาชนทีไ่ ม่ใช่เวยี ดนามแท้ ชาวเขาเผา่ ต่าง ๆ ส่วนใหญอ่ าศัยอยตู่ ามภูเขา เชงิ เขา ทเ่ี ปน็ ป่าลึกดา้ นเหนอื กลาง และตะวนั ตก และ ท่รี าบสงู ภาคกลาง พวกน้มี กั ไม่มที ่อี ยู่เปน็ หลกั แหลง่ ชอบอพยพเปล่ียนทีอ่ ยู่เรื่อยไป ไมน่ ยิ มวฒั นธรรมต่าง ถ่นิ ส่วนใหญ่มีความเช่ือในไสยศาสตร์ หาเล้ียงชีพดว้ ยการปลูกขา้ วไร่ ลา่ สตั ว์ และหาของปา่ มาขาย ชาวเขมร อาศัยอยตู่ ามบรเิ วณดนิ แดนดอนสามเหลีย่ มปากแม่นาํ้ โขง กับบริเวณใกลเ้ มอื งฮาเดยี น ติดต่อกับแดนเขมร ไปจนถึงบริเวณแหลมทยี่ นื่ ออกไปในทะเลจีน มีอาชพี สว่ นใหญ่ในการทาํ การกสกิ รรม เลี้ยงสัตว์ และการประมง นบั ถอื พระพุทธศาสนา และมีขนบธรรมเนียมประเพณีคล้ายประชากรในประเทศ กัมพชู า ชาวจาม เปน็ เจา้ ของถ่ินเดมิ ในดนิ แดนภาคกลางของเวยี ดนาม และในภาคใต้ของเวยี ดนาม แถบ ชายแดนติดต่อกับประเทศกัมพชู า แถบเมอื งซอด๊อก ไตนนิ ห์ และฟานราง ชาวจามเป็นชนเผา่ ท่ีมวี ัฒนธรรม สงู เป็นของตนเองมากอ่ น วฒั นธรรมของชาวจามที่เหลอื อยใู่ นเวยี ดนามคอื วัดโพนาการ์ (Poh Nagar) ซง่ึ อยู่ ในภาคกลางของเวยี ดนาม ชาวเกาะ เป็นพวกท่มี ีเช้อื สายอนิ เดีย อนิ โดเนเซยี มลายู ทํามาหากนิ อย่ทู ่วั ไปในภาคใตข้ อง เวยี ดนาม ในแถบชายฝ่ังทะเลเขา้ มาจนถึงเขตแดน ทต่ี ดิ ตอ่ กบั กมั พูชา และลาว และขน้ึ ไปทางเหนอื จนถงึ เมอื งเว้ และเมืองกวางตรี ความหนาแนน่ อยูใ่ นภาคกลางของประเทศ เช้อื ชาตอิ ื่น ๆ เปน็ ชาวต่างประเทศท่ีเขา้ ไปประกอบอาชีพเลก็ ๆ น้อย เป็นชนกลุ่มนอ้ ยท่ีอยทู่ ว่ั ๆ ไป ตามเมอื งใหญ่ ๆ ท่เี จรญิ แลว้ และตามชายแดนทีต่ ิดตอ่ กัน เชน่ ลาว ไทย ฝรง่ั เศส และชาวยุโรปอน่ื ๆ

30 โดยทั่วไปแลว้ ชาวเวยี ดนามเปน็ ชนชาติทมี่ นี สิ ัยใจคอมนั่ คง มีความขยนั ขันแขง็ ในการทํางาน มี ความมานะอดทนดีมาก มีความรกั ชาติ รกั อิสรภาพ กล้าหาญ เฉลยี วฉลาด และมคี วามสามัคคีกลมเกลยี วกัน อย่างแนแ่ ฟ้น ในหม่คู นเวยี ดนามด้วยกันมคี วามรสู้ กึ ชาตนิ ยิ มอยา่ งรุนแรง และพร้อมที่จะรบั ความ เปล่ียนแปลง ท่ีแปลกใหมอ่ ยู่เสมอ ปจั จุบันเวยี ดนามมีหลายศาสนา และลทั ธิ แต่ระบบโครงสร้างของสงั คมมพี ืน้ ฐาน และได้รบั อทิ ธิพลจากลทั ธิขงจ้อื มาก ชาวเวียดนามถอื ว่า ครอบครัวเป็นพน้ื ฐานความเปน็ อยู่ ดงั น้ันทด่ี นิ ของบรรพ บุรษุ จงึ ถือเปน็ กรรมสทิ ธริ ว่ มกนั ท้ังครอบครวั มีความเคารพนบั ถือวญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ มีความยึดมั่นใน ลัทธิศาสนา และขนบธรรมเนยี มประเพณที ่สี ืบเน่อื งกันมาแต่เดิม ขอ้ มูลจากhttps://sites.google.com/site/tawan5605201008/prachakr สังเคราะหป์ ระชากรของเวียดนาม เวยี ดนามมปี ระชากรมากเป็นอันดับ 3 ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ชาวงเวียดนามมสี ัญชาติ เวียดนามมากกวา่ รอ้ ยละ 86 ชาวเวียดนามสว่ นใหญ่ไม่นบั ถือศาสนา แตน่ บั ถือลทั ธติ ่างๆ แต่เดมิ ดินแดนเวียดนามเป็นถ่นิ ของพวกมอย มีชนเผ่าหลายเผา่ นอกจากพวกมอยแลว้ คนกลมุ่ นอ้ ย ในเวยี ดนามอกี พวกหน่งึ คอื พวกไทย และมชี นเผา่ ทเ่ี ขา้ มาตั้งถน่ิ ฐานอีกหลายเผา่ ไดแ้ ก่ พวกแม้ว พวก หม่าน ชาวญวน ชาวจีน ชาวเผา่ ไทย ชาวเขาเผ่าตา่ งๆ ชาวเขมร ชาวจาม ชาวเกาะ ปัจจบุ นั เวียดนามมหี ลายศาสนาและลัทธิ แต่ระบบโครงสร้างของสังคมมีพ้ืนฐาน และไดร้ บั อิทธพิ ลจางลทั ธขิ งจอื้ มาก ชาวเวียดนามถือวา่ ครอบครัวเปน็ พื้นฐานความเปน็ อยู่ ดงั นนั้ ทดี่ ินของบรรพบรุ ษุ จึงถือเปน็ กรรมสิทธร์ิ ว่ มกันทัง้ ครอบครัว มีความเคารพนับถือวญิ ญาณของบรรพบุรุษ มคี วามยึดมน่ั ในลทั ธิ ศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณี เศรษฐกจิ ของเวยี ดนาม

31 ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2529 รัฐบาลเวียดนาม ไดป้ ฏิรปู ระบบเศรษฐกจิ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ประกอบกบั สภาวะ การเมอื งท่ีมัน่ คง สง่ ผลให้เศรษฐกิจเวยี ดนามขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ โดยเวียดนามทาํ การปฏริ ปู ทงั้ ภาค เศรษฐกจิ และการเงนิ โดยมกี ารปรับตัวเองจากระบบเศรษฐกิจทีม่ กี ารควบคุมจากสว่ นกลาง มาเป็นระบบ เศรษฐกจิ ที่ใช้กลไกตลาด การขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมมกี ารเติบโตที่สูงมาก และมศี ักยภาพการสง่ ออก ด้านน้ํามนั สนิ คา้ โภคภณั ฑ์ เชน่ ข้าวท่ีเป็นคู่แข่งสาํ คัญของไทยในขณะน้ี นอกจานัน้ ยงั ดําเนนิ นโยบายท่ี เปดิ รบั การลงทนุ จากต่างประเทศมากขึ้น ทาํ ให้ปัจจบุ นั เวยี ดนามกลายเป็นแหล่งดงึ ดดู นักลงทุนจากทั่วโลก อย่างไรก็ดีในชว่ งเวลาทผ่ี ่านมา เวียดนามก็ประสบกับปญั หาการขาดดุลการค้าอย่างตอ่ เนอื่ ง ซึ่ง สาเหตหุ น่งึ มาจากภาวะเงินเฟอ้ ในประเทศท่สี ูงข้ึนอย่างต่อเนือ่ ง สง่ ผลใหร้ าคาสนิ ค้าสง่ ออกมรี าคาสูงขึน้ ด้วย ทําใหส้ ูญเสยี โอกาสในการแข่งขันกบั คู่แข่งในตลาดโลก เพอ่ื แก้ปญั หาน้ี ปจั จุบันรัฐบาลได้สง่ เสริมให้ ประชาชนซอ้ื สินคา้ ท่ผี ลติ ขน้ึ ภายในประเทศ เพื่อลดการนําเขา้ และลดการขาดดุลการคา้ อกี ท้ังยงั ลด ความสาํ คญั ของการ จดั กิจกรรมแสดงสินค้าของตา่ งชาติในประเทศลง เกย่ี วกับดา้ นทรพั ยากร เวียดนามจดั ว่าเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอดุ มสมบูรณ์ โดยเฉพาะ พลังงานและแรธ่ าติ เวียดนามมีแหลง่ นํ้ามันดิบกระจายอย่ทู ่วั ทกุ ภาค ทําให้เวียดนาม เปน็ ประเทศผูส้ ง่ ออก นํา้ มันอนั ดบั สามของอาเซียน (รองจากมาเลเซียและอนิ โดนเี ซีย) นอกจากนา้ํ มนั แลว้ เวยี ดนามยังมีกา๊ ซธรรมชาติ ถ่านหิน อกี มากมายเช่นเดียวกัน สําหรบั ผลิตภณั ฑ์ ทางด้านการเกษตร เวียดนามส่งออกสนิ ค้าหลายตัว เชน่ ส่งออกพรกิ ไทยเปน็ อันดบั หนึ่งของโลก ส่งออก ขา้ ว เปน็ อันดบั สองของโลก (รองจากไทย) สง่ ออกกาแฟเป็นอันดับสองของโลก (รองจากบราซลิ ) และ สง่ ออกเมด็ มะมว่ งหิมพานต์ เป็นอันดับสองของโลก (รองจากอินเดยี ) เปน็ ตน้ สนิ ค้านําเข้าทสี่ ําคญั : วัตถุดบิ วัสดุสงิ่ ทอ เคร่อื งหนงั เคร่ืองจักรผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม สินคา้ สง่ ออกท่สี ําคัญ : นา้ํ มนั ดบิ เส้ือผ้าและสง่ิ ทอ อารหารทะเล ยางพารา ข้าว กาแฟ รองเทา้ ตลาดนาํ เข้าที่สาํ คัญ : สิงคโปร์ ญปี่ ่นุ ไตห้ วัน เกาหลีใต้ จนี ตลาดสง่ ออกทสี่ ําคญั : สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น สหรัฐอเมรกิ า จนี สกุลเงินและอตั ราแลกเปลี่ยน : เวยี ดนาม

32 สกลุ เงนิ : ดอ่ ง (Dong) ตัวยอ่ VNDอตั ราแลกเปลย่ี น: 702 ดอ่ ง = 1 บาท จดุ ออ่ น/จุดแข็ง : เวียดนาม จดุ แขง็ : จาํ นวนประชากรมากเป็นอันดบั 14 ของโลก (ประมาณ 86 ลา้ นคน) : มปี ริมาณสาํ รองนํ้ามนั มากเป็นอนั ดบั 2 ของเอเชียแปซิฟกิ : มีแนวชายทะเลยาวกวา่ 3,200 กโิ ลเมตร : การเมอื งมเี สถยี รภาพ : คา่ จา้ งแรงงานเกอื บตาํ่ สุดในอาเซียน (รองจากกมั พชู า) จดุ ออ่ น : ระบบสาธารณปู โภคพ้นื ฐานยงั ไมไ่ ด้รับการพัฒนาเทา่ ท่ีควร : ต้นทุนท่ดี นิ และค่าเชา่ สํานักงานค่อนขา้ งสูง ข้อมูลจากhttp://www.asean-info.com/asean_members/vietnam_economics.html เศรษฐกจิ ของเวียดนาม

33 สถานภาพทั่วไปทางด้านเศรษฐกจิ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ในปี 2553 ของเวียดนามมมี ลู ค่า 104.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวจากปที ่ผี ่านมา 6.78 % ภาคบรกิ ารเปน็ ภาคการผลติ ทมี่ อี ัตราขยายตวั สูงสดุ รองลงไปคอื ภาคอุตสาหกรรมและการกอ่ สร้าง สว่ นภาคการเกษตรขยายตวั นอ้ ยทสี่ ดุ และมสี ดั ส่วน 21% ของ GDP ขณะที่ภาคอตุ สาหกรรมและการกอ่ สรา้ ง และภาคบรกิ ารมีสดั ส่วน 41% และ 38% ของ GDP ตามลําดบั รายได้ประชากรตอ่ หัว: ประมาณ 1,392 ดอลลาร์สหรฐั ฯ สนิ ค้าเกษตร: ข้าว ยางพารา ชา กาแฟ ยาสูบ พรกิ ไทย เม็ดมะม่วงหิมพานต์ และอาหารทะเล อตุ สาหกรรมหลักในประเทศ อุตสาหกรรมทอผา้ ศูนยก์ ลางอยู่ทโี่ ฮจมิ ินห์ซิตแี้ ละนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตเ้ี บยี นโฮ การทํา เหมืองแร่ทส่ี าํ คญั คือ ถา่ นหนิ น้าํ มันปโิ ตรเลยี ม และแก๊สธรรมชาติ สนิ คา้ นาเขา้ เครือ่ งจกั รและชน้ิ ส่วน เหลก็ และเหล็กกล้า น้าํ มนั สําเรจ็ รูป ผา้ ผนื อิเล็กทรอนิกส์ คอมพวิ เตอรแ์ ละ ส่วนประกอบ เมด็ พลาสติก รถยนตแ์ ละอปุ กรณช์ ิ้นส่วน วัสดุส่งิ ทอและวัสดุเครื่องหนงั โลหะอ่นื ๆ อาหาร สตั ว์และวตั ถดุ ิบ สินค้าสง่ ออก เส้ือผา้ สําเรจ็ รูป รองเท้า นํา้ มันดบิ อาหารทะเล คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ไมแ้ ละผลิตภัณฑไ์ ม้ เคร่ืองจกั รและชน้ิ อปุ กรณ์ อัญมณแี ละเคร่อื งประดับ ยางพารา ขา้ ว เมืองสาคัญด้านเศรษฐกจิ นครโฮจิมนิ ห์ เปน็ เมอื งเศรษฐกจิ ทสี่ ําคญั ที่สดุ ของเวยี ดนาม เป็นศนู ย์กลางธุรกจิ การค้าและบรกิ าร การนาํ เขา้ สง่ ออก การลงทุนและเปน็ ศูนยก์ ลางของวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยกี ารสื่อสารและโทรคมนาคม ของนานาชาติ โดยมี ท่าอากาศยานนานาชาติ Tan Son Nhatและมีทา่ เรอื Saigon Port ซ่ึงเปน็ ทา่ เรือท่ีใหญ่ ทสี่ ดุ ของประเทศ

34 นครเกิ่นเธอ เปน็ เมอื งอตุ สาหกรรมแปรรูปอาหารทะเลทีส่ าํ คัญ และเปน็ แหล่งปลูกขา้ วใหญ่ท่สี ุด ของเวยี ดนาม บาเรยี – หวงุ เต่า เปน็ เมอื งทม่ี ีการผลติ นํ้ามันดบิ และกา๊ ซธรรมชาติ โดยเวียดนามสามารถผลติ นา้ํ มนั ได้มากทีส่ ุด ในคาบสมทุ รอนิ โดจีน แหลง่ ผลิตสาํ คัญอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของเมือง เรียกว่า “Bac Ho” หรือ “White Tiger” นครไฮฟอง เปน็ เมืองทา่ สําคญั ในภาคเหนือและเปน็ เขตอตุ สาหกรรมหนัก โดยเฉพาะอตุ สาหกรรม เคมี ตอ่ เรือ และวสั ดกุ อ่ สรา้ ง มที า่ เรอื สําคญั คือ HaiPhong Port และสนามบิน Cat Bi Airport กวา๋ งนนิ ห์ เปน็ เมืองท่าทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือของเวยี ดนาม มที ่าเรอื สําคญั ได้แก่ Hon Gai Port เปน็ จงั หวัดทอ่ี ดุ มสมบูรณด์ ว้ ยทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละเปน็ แหล่งถ่านหินใหญ่ที่สุดในประเทศ นครดานัง เป็นศนู ยก์ ลางธุรกจิ การท่องเที่ยว และเปน็ เมืองท่าสาํ คัญ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติ Da Nang และมที า่ เรอื Tien Sa Seaport ทรพั ยากรธรรมชาติ ป่าไม้ พื้นที่เกอื บครง่ึ หนึ่งของเวยี ดนามปกคลมุ ไปดว้ ยป่าไม้ มพี รรณไม้ตา่ งๆ ขน้ึ อยทู่ ั่วไป เช่น ไม้ ไผ่ ไมโ้ อก๊ ซดี าร์ ไมส้ น สว่ นไมพ้ ะยงู ซึ่งเปน็ ไมเ้ น้อื แข็งสีดาํ และไม้จนั ทน์ ซ่งึ เป็นไมเ้ นอ้ื หอมท่ีมชี ่ือเสยี ง ในอดตี ปจั จบุ ันมปี ริมาณลดลง เหมอื งแร่ ถ่านหิน เหลก็ ทองแดง ก๊าซธรรมชาตแิ ละนํา้ มัน ขอ้ มูลจากhttp://61.47.41.107/w/content/101/เศรษฐกิจของเวียดนาม

35 สังเคราะหเ์ ศรษฐกจิ ของเวยี ดนาม ตง้ั แต่ ปี พ.ศ.2529 รฐั บาลเวียดนาม ไดป้ ฏริ ูประบบเศรษฐกิจอย่างตอ่ เนือ่ ง ประกอบกบั สภาวะ การเมืองทม่ี นั่ คง ส่งผลให้เศรษฐกิจของเวียดนามขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ โดยเวียดนามทําการปฏิรปู ทัง้ ระบบ เศรษฐกิจและการเงิน ดา้ นทรัพยากรของเวียดนาม จัดวา่ เป็นประเทศท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติที่อดุ มสมบูรณ์ โดยเฉพาะ พลงั งานและแร่ธาติ เวยี ดนามมีแหล่งนํา้ มันดบิ ทก่ี ระจายอยู่ทว่ั ทงั้ ประเทศ นอกจากน้ันแลว้ เวียดนามยังมี ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน อกี มากมาย สินคา้ เกษตรคือ ข้าว ยางพารา ชา กาแฟ และเม็ดมะมว่ งหิมพานต์ สกุล เงิน คอื ด่อง สนิ ค้านาํ เขา้ คอื เครอ่ื งจกั รและช้ินสว่ นเหลก็ น้ํามนั สาํ เรจ็ รปู ผา้ ผนื คอมพิวเตอร์ สนิ คา้ ส่งออก คอื นา้ํ มันดบิ รองเท้า ไม้ เครอื่ งประดับ ข้าว ยางพารา เมืองสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ คอื นครโฮจิมินห์ เปน็ ศูนยก์ ลางธุรกิจการค้า และบรกิ าร การนําเข้าสง่ ออก การลงทุนและเป็นศนู ยก์ ลางของวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยกี ารส่ือสารและโทรคมนาคมของนานาชาติ โดยมี ท่าอากาศยานนานาชาติ

36 วันสาคัญและเทศกาลของเวยี ดนาม วันชาติเวียดนาม ราลกึ ถงึ วีรบุรุษกชู้ าติ โห่ จ๊มี ิญ วนั ที่ 2 กนั ยายน ทจ่ี ะถงึ น้ีถอื เป็นวันชาติของเวียดนาม ตรงกบั วนั ประกาศเอกราชของเวยี ดนาม 68 ปีก่อน หรอื ในวันท่ี 2 กนั ยายน 1945 และวนั น้ียงั ตรงกับวนั ครบรอบ 44 ปี การจากไปของบคุ คลสําคญั ทส่ี ดุ ของเวยี ดนาม และบคุ คลสําคัญทีส่ ุดคนหนึ่งของเอเชียและโลกเหมือนกบั คานธี คอื อดีตประธานาธิบดีโห่จ๊ี มิญ (HồChí Minh) (ค.ศ. 1890-1969) ผ้ซู ึ่งมบี ุคลกิ ภาพหลากหลายลกั ษณะในตวั ตน โดยเป็นท้ังนกั ชาตินยิ ม นักประชานิยม นกั มนุษย์นยิ ม นักสังคมนยิ ม นกั ปฏวิ ัติ นกั ประชาธิปไตย นกั ธรรมาธิปไตย นักคิด นกั ปฏบิ ัติ นกั วรรณกรรม และนักวฒั นธรรม

37 วันปลดเอกกรุงไซง่ ่อน ตรงกบั วันท่ี 30 เมษายน การยึดกรงุ ไซง่ ่อน (หรอื เรียกวา่ การเสยี กรุงไซ่ง่อน โดยผูส้ นบั สนนุ เวยี ดนามใต้ หรอื การปลดปลอ่ ยไซ่งอ่ น โดยผสู้ นบั สนนุ เวยี ดนามเหนือ) คือการยดึ เมืองหลวงของเวยี ดนาม ใต้ กรุงไซง่ ่อน โดยกองทัพประชาชนเวยี ดนาม (PAVN) และแนวร่วมปลดปล่อยแหง่ ชาติ ในวันท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2518 เหตกุ ารณ์น้ที าํ ให้สงครามเวียดนามสน้ิ สุดลง และทาํ ใหช้ ่วงถา่ ยโอนอาํ นาจไปยงั รฐั บาล เวียดนามเหนอื เรมิ่ ตน้ ขึน้ ทําให้เวยี ดนามท้ังสองฝา่ ยกลับมารวมประเทศกันอกี ครง้ั อยา่ งเปน็ ทางการ ภายใต้ รัฐระบอบคอมมวิ นิสต์ ประเพณตี รุษญวน

38 ประเพณตี รษุ ญวน หรือปีใหม่ของชาวเวยี ดนาม มลี ักษณะเหมือนกับประเพณีตรุษจนี ของชาวจนี ในอดีตสมยั ทเ่ี วียดนามตกเปน็ เมืองขึ้นของจีนนานนับพนั ปี วฒั นธรรมทางความเชอ่ื และการดาํ รงชวี ิต ตลอดจนภาษาต่างก็ได้รบั อทิ ธิพลจากจีนทั้งสิ้น ปฏทิ ินทางจันทรคติของเวียดนามจะตรงกบั ปฏิทินทาง จนั ทรคติของจนี ดงั นัน้ วันตรุษญวนหรอื วันขนั้ ปีใหม่เวียดนามจะตรงกับวันท่ี 1เดอื น 1 ตามปฏิทินจนั ทรคติ หรอื ตรงกับวันตรษุ จีนนัน่ เอง เทศกาลเต็ด เปน็ เทศกาลทางศาสนาที่สาํ คญั ที่สดุ มีช่ือเตม็ ว่า “เต็ดเหวยี นดาน” หมายความว่า เทศกาลแห่งรุง่ อรณุ แรกของปี มีขน้ึ ระหว่างปลายเดอื นมกราคมถึงต้นเดอื นกุมภาพนั ธ์ เป็นการเฉลมิ ฉลองความเชอ่ื ในเทพ เจา้ ลัทธเิ ตา๋ ขงจื่อ และศาสนาพทุ ธ และเปน็ การเคารพบรรพบุรุษ

39 เทศกาลกลางฤดใู บไม้ร่วง ตรงกับวนั ขน้ึ 15 ค่ํา เดือน 8 ของทุกปี ชาวบา้ นประกวดทําขนมเปยี๊ ะโกญ๋ วน (บันตรงั ทู) พร้อมทั้ง จดั ขบวนแห่เชิดมังกร เพอื่ เป็นการแสดงความเคารพตอ่ ดวงจนั ทร์ ข้อมลู จากhttps://www.iam-tour.com/country_info/วันสําคญั เวยี ดนาม วนั สาคญั ของประเทศเวยี ดนาม วันหยดุ ประจาํ ปีของเวียดนาม จะมีประมาณ 8 วัน ดังนี้ - วันขึ้นปีใหม่ 1 มกราคม - เทศกาลตรุษ 4 วนั เปน็ วนั ขึ้นปีใหม่ตามจันทรคติ หรอื “เตด็ เหวียนดาน” ซ่งึ ตรงกบั วันตรุษจนี - วันปลดแอกกรงุ ไซ่ง่อน 30 เมษายน - วันแรงงานแหง่ ชาติ 1 พฤษภาคม - วนั ชาติ 2 กนั ยายน นอกจากนี้ ยังมีวันสาํ คญั ทางศาสนาทีแ่ ตกต่างกนั ออกไป สําหรบั ศาสนาพุทธ ทุกวันท่ี 8 และ 15 ค่ํา เป็นวันพระ และวนั สําคัญอนื่ ๆ ไดแ้ ก่ วันมาฆบูชา วสิ าขบชู า อาสาฬหบชู า วนั เข้าพรรษา และวนั ออก พรรษา ข้อมลู จากhttps://sites.google.com/site/tawan5605201008/wan-sakhay-khxng-prathes

40 สังเคราะห์วนั สาคัญของประเทศเวยี ดนาม วันชาติเวยี ดนาม ราํ ลึกถงึ วรี บรุ ษุ กู้ชาติ โห่ จี๊มญิ วนั ที่ 2 กันยายน ถือเปน็ วนั ชาตขิ องเวียดนาม ตรง กับวนั ประกาศเอกราชของเวยี ดนาม วนั ปลดเอกกรุงไซ่งอ่ น ตรงกบั วันท่ี 30 เมษายน โดยกองทพั ประชาชนเวยี ดนาม และแนวร่วมปลด เอกแห่งชาติได้ยดึ เมืองหลวงของเวยี ดนามใตไ้ ด้ ทาํ ให้สงครามเวียดนามส้ินสุดลง ทาํ ใหเ้ วยี ดนามทง้ั สอง ฝา่ ยกลบั มารวมประเทศได้ ประเพณีตรษุ จีนญวน หรอื ปีใหมข่ องเวียดนาม มีลักษณะเหมือนตรษุ จีนของจนี เทศกาลเต็ด เปน็ เทศกาลทางศาสนาทสี่ ําคญั ท่สี ุด ชื่อว่า เต็ดเหวยี ดาน หมายถงึ เทศกาลแหง่ รุ่งอรุณ แรกของปี มีขึ้นในชว่ งปลายเดือนมกราคมถงึ ตน้ กุมภาพันธ์ เทศกาลกลางฤดใู บไมร้ ว่ ง ชาวบ้านจดั ขบวนแห่มังกรและทําขนมเปย๊ี ะโก๋ญวน เพอื่ แสดงความ เคารพต่อดวงจันทร์ วฒั นธรรมการแตง่ กายของเวยี ดนาม ด้านศิลปวฒั นธรรมของเวียดนาม มคี วามแตกต่างกับศลิ ปวฒั นธรรมของไทยอยา่ งมาก ที่เปน็ อย่าง นเี้ ป็นเพราะเวยี ดนามถูกปกครองโดยประเทศจนี มาหลายคร้ังหลายหน จนอาจเรียกได้ว่า อารยะธรรม วัฒนธรรม ของเวยี ดนาม คอื วฒั นธรรมของประเทศจีน น่นั เอง โดยเฉพาะทางดา้ นศลิ ปะของโบราณสถาน ต่าง ๆ อาทิ พระราชวัง วดั สุสาน ฯลฯ ซ่งึ มคี วามคลา้ ยคลึงกนั จนไมส่ ามารถแยกออกให้เหน็ อยา่ ง เดน่ ชดั แมใ้ นช่วงหลังมาน้ี เวยี ดนามอาจได้รับอิทธพิ ลจากประเทศฝรง่ั เศส และญป่ี ่นุ อยู่บ้าง แตใ่ น ภาพรวมแลว้ จะ คลา้ ยคลึงกับประเทศจีน และมหี ลักฐานใหเ้ หน็ อยู่ทั่วไปบริเวณสองขา้ งทางท่ีพวกเราผา่ นไป เกอื บทกุ ถนน ถา้ จะกลา่ วถงึ วฒั นธรรมน้นั สามารถ แยกแยะออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ได้หลากหลายในท่นี จ้ี ะ กล่าว เปรยี บเทยี บระหว่างวัฒนธรรมเวียดนาม กับ วฒั นธรรมไทยหรอื อืน่ ๆ เทา่ ท่ีจะค้นคว้าได้ ดงั นี้

41 การแตง่ กาย ผหู้ ญิง นุ่งกางเกงแพรยาว สวมเส้ือแขนยาว คอต้ังสูง ตวั เสือ้ ยาวลงมาจรดขอ้ เทา้ ผ่า 2 ข้าง สูงแค่เอว พวกทํางานหนักจะสวมเส้ือสน้ั มกี ระเป๋า 2 ใบ แขนจีบยาว บางแห่งทางเหนอื สวมกระโปรงยาวถึงข้อเท้า \"ผม\" ยาวเกลา้ มวย สวมงอบสานดว้ ยใบลานทรงรูปฝาชี หรือใช้ผ้าสามเหลย่ี มคลุมศรี ษะ ดึงชาย 2 ข้างมาผกู ใต้คาง ถ้าเปน็ ทางเหนือแถวฮานอย ใชผ้ า้ ดําแถบยาวหุ้มผมซ่งึ ถักเปยี ไวใ้ ห้มิด แลว้ โอบพันศรี ษะ ปัจจุบนั นิยมตดั ผมสนั้ และดัดผมมากขึน้ สวมรองเทา้ เกีย๊ ะส้นสูง พน่ สีต่าง ๆ รองเทา้ สตรีสน้ รองด้วยพน้ื ยาง คาด หลงั ด้วยหนงั หรือพลาสติกสตี ่าง ๆ ชาย แต่งกายคล้ายหญิง บางครงั้ สวมเสอื้ กุยเฮง สวมหมวกสีดําเยบ็ ด้วยผา้ ไม่มีปีก ปจั จบุ นั แตง่ สากลกันมากแล้ว ในเวยี ดนามใต้มีชาวเขาเผา่ หนง่ึ เรยี กว่า\"พวกม้อย\" จะนงุ่ ผ้าสั้น ๆ ปกปดิ รา่ งกายแต่เฉพาะ ท่อนล่าง คลา้ ยนุ่งใบไม้ ปจั จุบนั หญิงสวมเสื้อ นยิ มเจาะหูสอดไม้ซ่งึ เหลาแหลม ๆ สวมกําไลคอจากประวตั คิ วาม เป็นมาจะเห็นวา่ ชาวเวียดนามมกี ารแตง่ กายผสมผสานกันมที งั้ ไทยมุง หรือ อ้ายลาวระยะแรก ปนของจนี บา้ ง เชน่ ลักษณะของเสอ้ื ทีป่ า้ ยซอ้ นกนั บริเวณอกคอปิด แขน ยาว แต่แตกต่างจากไทยและจีนตรงท่กี ารใชผ้ า้ ถึงแมว้ ่าจะใสก่ างเกงแลว้ ยงั นยิ มสวมเสือ้ ผ้าบาง ท่ีเปิดจนถึงเอวทัง้ 2 ข้าง ให้เห็นรปู ทรงและสัดสว่ นที่ งดงาม ชาวเวยี ดนาม ไดช้ อื่ ว่า เป็นชาตมิ ี ผวิ พรรณงามที่สุดในโลกอีกด้วย ชนเผ่าไทในเวยี ดนามจะมกี ารทอ ผ้าออกมางดงามมาก ซงึ่ จะมีลวดลายบนผืนผ้าทอท่ี แตกต่างกนั ออกไป ซึ่งแตล่ ะลายนัน้ มคี วามหมายและมี เทคนคิ การทอท่ีแตกต่างกันอยา่ งเชน่ ลาย ดาวแปดแฉก จะเปน็ ลายดาวแปดแฉกตรงกลางของผ้า หรือในผา้ เปยี ว (ผ้าโพกศรี ษะ) และยังมี ลายเสน้ จดุ (ลายคล่ืน) ลายฟนั เล่อื ย (ลายหยกั หงอนไก่) ลายขอ (ลายกูด) ลาย เหรียญ (ลายจํา หลอด) ลายรปู หัวใจ (ลายหมากจุม้ ) เปน็ ตน้ ลวดลายตา่ ง ๆ เหล่านี้นอกจากจะปรากฏอยบู่ น ผนื ผา้ แลว้ ยังปรากฏในเครอื่ งป้นั ดินเผา และกลองสําริดดว้ ย

42 สาํ หรบั การแต่งการของเวียนนามโดยทวั่ ไปก็เหมอื นกับประชาชนคนไทยกลา่ วคอื หนุ่มสาวรับ วัฒนธรรมของตะวันตกคลา้ ยกบั เยาวชนไทย ตา่ งกับการแตง่ การของเยาวชนชาวลาวซงึ่ ยังคงยึดม่ันใน วัฒนธรรมประจาํ ชาติของตน กลา่ วคือ เยาวชนผ้หู ญงิ ยังคงนงุ่ ซ่ินกรวมเทา้ สวมเส้อื มีปกสีขาวแขนสาม สว่ น ส่วนฝา่ ยชายก็แต่งตวั เรยี บร้อยนุ่งกางเกงทรงสุภาพและใส่เสือ้ เช้ติ เป็นส่วนใหญ่ ดังจะกล่าวถงึ เคร่ือง แตง่ กายประจาํ ชาตขิ องเวียดนามก็คลา้ ยกับเครอ่ื งแตง่ กายของคนจนี นนั่ เองแตจ่ ะมชี อื่ เรยี กต่างกัน คอื ชดุ ประจะชาตขิ องหญิงนี่เป็นสัญลักษณเ์ ป็นทีร่ จู้ กั กันเป็นชดุ คลุมยาวผา่ ขา้ งสง คอตง่ั อาจมแี ขนหรือแขนกุด กางเกงขายาวหรือกระโปรงมกั เปน็ สขี าวหรอื สีเดยี วกับชดุ คลมุ มีชอ่ื เรยี กว่า ชุดอ๋าวใหม่ ตดั เยบ็ ดว้ ยตวั สี เรยี บๆส่วนชุดนี้มลี ักษณะคลา้ ยคลงึ กนั นี้ แต่มกั เยบ็ ด้วยผา้ ไหมดา้ นหรอื แพรเนอ้ื หนาซึ่งมีช่อื วา่ ก่ีเพา๊ เป็น ชุดประจาํ ชาติ ส่วนของชาวเขาที่มีอยู่หลายเผ่าก็มีเสื้อผ้าที่คล้ายกันกับชาวเขาโดยทั่วๆ ไปอาจจะมีส่วนตา่ งกันอยู่ บ้างตามความเช่อื ของแต่ละเผา่

43 อ่าวหญา่ ย (Aodai) เป็นชุดประจําชาติของประเทศเวยี ดนามที่ประกอบไปด้วยชุดผ้าไหมที่พอดีตัวสวมทับกางเกงขายาว ซ่งึ เป็นชุดท่มี ักสวมใสใ่ นงานแตง่ งานและพธิ กี ารสําคัญของประเทศ มลี กั ษณะคลา้ ยชดุ กี่เพ้าของจนี ใน ปจั จุบนั เปน็ ชดุ ทไ่ี ด้รบั ความนยิ มจากผหู้ ญงิ เวียดนาม สว่ นผู้ชายเวยี ดนามจะสวมใสช่ ุดอา่ วหญา่ ยในพิธี แต่งงาน หรอื พธิ ีศพ ข้อมูลจากhttp://aecdressing.blogspot.com/2012/07/vietnam.html

44 สงั เคราะห์วฒั นธรรมการแตง่ กายของเวยี ดนาม ผู้หญิง นงุ่ กางเกงแพรยาว สวมเส้อื แขนยาว คอต้ังสูง ตัวเสือ้ ยาวลงมาจรดขอ้ เท้า ผา่ 2 ข้าง สูงแคเ่ อว พวกทาํ งานหนกั จะสวมเสื้อสั้น มีกระเป๋า 2 ใบ แขนจบี ยาว บางแห่งทางเหนือสวมกระโปรงยาวถึงขอ้ เท้า\" ผม\" ยาวเกล้ามวย สวมงอบสานด้วยใบลานทรงรปู ฝาชี หรอื ใชผ้ ้าสามเหลี่ยมคลุมศรี ษะ ดึงชาย 2 ข้างมาผูก ใตค้ าง ถา้ เปน็ ทางเหนอื แถวฮานอย ใช้ผา้ ดาํ แถบยาวหุ้มผมซง่ึ ถักเปียไว้ให้มดิ แล้วโอบพันศีรษะ ปัจจุบนั นิยมตัดผมส้นั และดัดผมมากขนึ้ สวมรองเทา้ เกยี ะส้นสูง พ่นสตี ่างๆ รองเทา้ สตรีส้นรองด้วยพ้ืนยาง คาด หลังดว้ ยหนงั หรือพลาสติกสีต่างๆ ชาย แต่งกายคล้ายหญิง บางครง้ั สวมเส้อื กุยเฮง สวมหมวกสดี าํ เย็บดว้ ยผ้า ไมม่ ปี ีก ปัจจุบนั แต่ง สากลกันมากแล้ว สําหรับการแต่งการของเวียนนามโดยทว่ั ไปกเ็ หมอื นกบั ประชาชนคนไทยกล่าวคือ หนุ่ม สาวรับวฒั นธรรมของตะวนั ตกคล้ายกบั เยาวชนไทย อ่าว หญ่าย แปลวา่ ชุด ยาว ซึง่ สาํ เนยี งนี้เปน็ สําเนยี งของภาคเหนือ สว่ นภาคใตจ้ ะออกเสยี งสน้ั ๆ วา่ \"อา่ ว ซ่าย\" ซ่งึ สว่ นมากแลว้ ในอดตี คนในภาคเหนอื ของประเทศเวยี ดนามจะนิยมใสม่ ากกว่าภาคใต้ แตห่ ลังจาก ส้นิ สุดสงครามเวียดนามในปี 1975 แล้ว ชดุ นีก้ เ็ ป็นทน่ี ิยม สามารถพบเห็นได้แทบจะทุกภาคของประเทศ และได้รับความนยิ มมาก

45 วถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยมู่ ารยาททางสังคม เวยี ดนามมีความสัมพันธก์ ับจีนมาก่อนการปฏิวตั ิระบบการปกครอง จงึ ทําให้มีความเชอ่ื ศลิ ปะ วิถี การดํารงชีวิต ตลอดจนประเพณีและวฒั นธรรมตา่ งๆ ทใี่ กลเ้ คียงกบั จนี ลทั ธคิ วามเชอื่ ตา่ งๆ ของจนี ไดแ้ พร่ ขยายมายังเวียดนามด้วย ท้งั ลัทธขิ งจือ๊ ท่ใี หค้ วามสําคัญต่อการนบั ถอื บรรพบุรษุ ลัทธเิ ตา๋ ท่สี อนเร่ืองความ สมดลุ ของธรรมชาติ รวมไปถงึ ศาสนาพทุ ธนกิ ายมหายานท่ีสอนเร่ืองกรรมดีและกรรมชว่ั แม้ว่ารัฐบาล คอมมิวนสิ ตข์ องเวยี ดนามจะทําลายความเชือ่ และศาสนาส่วนหน่ึงไปในชว่ งปฏิวตั ิระบบการปกครอง แต่ ปัจจุบนั มกี ารผ่อนปรนมากข้นึ โดยอนญุ าตใหม้ ีนักบวชในศาสนาพุทธและศาสนาอืน่ ๆ ได้ อกี ทง้ั พลเมอื ง ส่วนหนง่ึ ยังคงรักษาขนบธรรมเนยี มประเพณดี ง้ั เดมิ สืบทอดมาจน ถงึ ปจั จบุ นั ชาวเวยี ดนามยังมคี วามนบั ถอื สวรรค์หรอื ที่เรียกวา่ \"องเตร่ย (OngTroi)\" และเชอื่ ว่าทกุ หนทุกแหง่ มี เทพเจา้ สถิตยอ์ ยู่ ไม่วา่ จะเป็นเทพเจา้ ดนิ เทพเจา้ น้ํา หรอื เทพเจ้าอ่นื ๆ ดังน้ัน นอกจากวดั ในศาสนาพุทธ (จว่ั - Chua) ศาลาประชาคม (ดินห์ - Dinh) หรือแท่นบูชาจกั รพรรดิในอดีต (เดน - Den) แล้ว ยังมีการตัง้ แท่นบชู า เทพเจ้า (เหมยี ว - Mieu) กระจายอยู่โดยท่วั ไป ประชาชนนยิ มนาํ ดอกไม้ ธปู เทียน และผลไม้มาสักการะบูชา ในวนั ที่ 1 และ 15 คํ่า นอกจากน้ี คําสอนของขงจือ๊ ก็ยังคงอทิ ธิพลอยู่ในเวยี ดนาม ทําให้ชาวเวียดนามให้ ความสําคัญกบั การเซน่ ไหวบ้ รรพบุษ ขอ้ มลู จากhttp://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_vietnam3.html วถิ ีชีวติ ความเป็นอยูม่ ารยาททางสังคม การติดตอ่ ราชการ เปดิ ทําการต้งั แตว่ นั จนั ทรถ์ งึ วนั ศกุ ร์ เวลา 08.00 น.- 16.30 น. - ควรแต่งกายให้สภุ าพเรียบร้อยในการตดิ ตอ่ สถานท่รี าชการ โดยชดุ ทีเ่ หมาะสมคอื การใส่สูท - ควรเขา้ ใจระบบในการตดิ ตอ่ กับเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ หากมีหลายคนในการเจรจา ผตู้ ิดต่อจะตอ้ งเจรจา กับเจ้าหน้าทที่ ี่มีความอาวโุ สมากทสี่ ดุ ถึงแมว้ า่ เจา้ หนา้ ทท่ี ่ีมีความอาวุโสน้อยกวา่ จะมที ักษะการใช้ ภาษาอังกฤษดกี ว่า - ควรเข้าใจวา่ ชาวเวียดนามคุน้ เคยกบั ความสัมพนั ธ์แบบถ้อยทถี อ้ ยอาศยั ดงั นน้ั แม้ชาวเวียดนามจะไม่ เหน็ ดว้ ยกบั ส่งิ ท่ีคเู่ จรจาเสนอแต่กจ็ ะไม่ปฏิเสธหรือแสดงความเห็นแย้ง เนอ่ื งจากเห็นว่าอาจทําให้

46 อกี ฝ่ายรู้สกึ เสียหนา้ จึงใชว้ ธิ นี ่ิงเงียบแทน หรอื ในบางกรณี การตอบรับ (Yes) หรอื พดู วา่ \"ไมม่ ี ปัญหา” ก็อาจเปน็ เพียงการตอบเพอื่ ถนอมน้ําใจ - ไม่ควรไปติดต่อราชการเวลาพกั เนือ่ งจากเจ้าหน้าท่ชี าวเวียดนามจะใช้เวลาพักในการหลบั กลางวนั และชาวเวยี ดนามถอื ว่าการปลกุ การหลบั กลางวันถือเป็นมารยาทท่ไี มส่ ุภาพอยา่ งยิ่ง - ในขณะตดิ ต่อราชการไม่ควรวพิ ากษว์ จิ ารณ์รัฐบาลเวียดนาม ในขณะตดิ ตอ่ ราชการ เพราะจะสร้าง ความไม่พอใจใหแ้ กข่ า้ ราชการ ซึง่ อาจจะทาํ ใหไ้ มไ่ ดร้ ับความสะดวก การเขา้ ร่วมพิธแี ต่งงาน - ไมค่ วรไปถึงงานกอ่ นเวลาทไ่ี ดร้ ับเชญิ เพราะอาจจะทาํ ให้เจา้ ภาพจะมคี วามรู้สกึ กดดันในการเตรยี ม ตัว ซง่ึ ถอื เปน็ มารยาททีส่ ําคัญมากอยา่ งหนง่ึ ของชาวเวียดนาม - เมอื่ ไดร้ ับเชิญไปรว่ มงานแตง่ งาน ผถู้ ูกเชิญจะตอ้ งพจิ ารณาว่า ตนมคี วามสนิทสนมกบั คู่บา่ ว-สาว มากเพยี งใด ถา้ ผถู้ ูกเชญิ มคี วามสนทิ สนมมาก จะตอ้ งหาซอ้ื ของขวัญใหแ้ กค่ ่บู ่าว-สาว เพราะจะเปน็ การแสดงความรกั และใหเ้ กยี รติแก่คบู่ า่ ว-สาว แต่หากสนทิ สนมไม่มากกับคู่บ่าว-สาวก็ควรใหเ้ งนิ สด - การแต่งงานในประเทศเวยี ดนาม ไม่จําเปน็ ต้องมีสินสอด ตามธรรมเนยี มของชาวเวยี ดนามเจ้าบา่ ว จะมอบแหวน และเหลา้ ขาวใหเ้ ปน็ ของหม้นั เทา่ น้ัน นอกเหนอื จากส่งิ ทก่ี ลา่ วมา กจ็ ะเปน็ สทิ ธิของ ฝ่ายเจ้าบ่าวทเี่ ป็นฝ่ายตัดสนิ ใจให้เพ่มิ เตมิ เอง เชน่ เงนิ สินสอด หรอื ทรพั ย์สินอ่นื ๆ การเข้าร่วมงานศพ - วธิ ที ่ดี ีท่ีสุดในการแสดงความเสยี ใจต่อญาติของผ้เู สยี ชวี ติ ของชาวเวยี ดนาม ควรกุมมอื ของญาติ ผู้เสียชีวติ โดยไมต่ อ้ งกล่าวคําแสดงความเสยี ใจใดๆ - ไม่ควรไปงานศพมอื เปล่า ควรซ้ือพวงหรีดหรือใสซ่ องชว่ ยเหลืองานศพทกุ ครั้งท่ีไปร่วมงานศพ การช่วยเหลืองานศพเป็นมารยาทของชาวเวยี ดนามทถี่ ือปฏิบัติ การใหน้ ามบตั ร - ควรใช้ท้ังสองมอื ในการย่ืนและรับนามบัตรเพ่ือแสดงความสภุ าพ และควรดูนามบตั รของผู้ที่ แนะนาํ กอ่ นเกบ็ เข้ากระเปา๋ เพ่ือเป็นการใหเ้ กยี รติ

47 มารยาทในการเยือนบ้านชาวเวยี ดนาม - ควรนดั หมายลว่ งหนา้ กอ่ นไปเยอื นบา้ นชาวเวยี ดนาม เนอ่ื งจากชาวเวยี ดนาม ถอื ว่าการไปเยือนบา้ น ผู้อื่นเปน็ เรื่องที่จะต้องให้เจ้าของบา้ นเตรียมตวั พรอ้ มกบั เตรยี มอาหารไวร้ ับรอง - เม่อื ไปเยือนบา้ นชาวเวยี ดนาม ควรกล่าวคาํ ทกั ทายผูท้ ่มี คี วามอาวโุ สมากทีส่ ดุ กอ่ น รวมท้งั ในการ กล่าวลาก็จะตอ้ งผทู้ ี่มีความอาวโุ สมากท่สี ดุ กอ่ นด้วย - ควรมีของฝากเลก็ ๆ น้อยๆ ไปฝาก เพอื่ เป็นการแสดงถึงนํา้ ใจที่มีตอ่ เจ้าของบา้ น มารยาทในการให้ของขวัญ - ควรใหข้ องขวัญแก่คูเ่ จรจาธรุ กิจ หรอื หนว่ ยงานรัฐบาลท่ีตดิ ต่อ แต่ไม่ควรเป็นของทม่ี รี าคาแพง เกนิ ไป - ควรหอ่ ของขวัญด้วยกระดาษท่มี ีสสี นั เพราะโดยปกตดิ ชาวเวยี ดนามชอบทกุ ส่งิ ทุกอย่างท่มี ีสีสัน สดใส เพราะสอื่ ความหมายถึงความสุข - ห้ามมอบผ้าเช็ดหนา้ เป็นของขวัญให้แก่ชาวเวียดนาม เพราะถือวา่ เปน็ พฤติกรรมทสี่ อ่ื ถึงความ โศกเศรา้ ของชาวเวยี ดนาม ข้อมลู จากhttp://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3619&filename=index สงั เคราะห์วถิ ชี วี ิตความเปน็ อยมู่ ารยาททางสังคม เวยี ดนามมีความสมั พนั ธ์กบั จีนมาก่อนการปฏวิ ตั ริ ะบบการปกครอง จงึ ทาํ ใหม้ คี วามเชือ่ ศลิ ปะ วถิ ี การดาํ รงชวี ิต ตลอดจนประเพณแี ละวฒั นธรรมตา่ งๆ ทใ่ี กลเ้ คียงกับจีน ลทั ธิความเช่อื ตา่ งๆ ของจีนไดแ้ พร่ ขยายมายงั เวียดนามด้วย ทัง้ ลัทธิขงจือ๊ ที่ใหค้ วามสาํ คญั ต่อการนบั ถอื บรรพบรุ ษุ ลทั ธเิ ต๋า ท่สี อนเรือ่ งความ สมดุลของธรรมชาติ รวมไปถึงศาสนาพทุ ธนกิ ายมหายานที่สอนเรือ่ งกรรมดแี ละกรรมชัว่ ประชาชนนิยม นําดอกไม้ ธปู เทยี น และผลไมม้ าสักการะบูชาในวนั ที่ 1 และ 15 คา่ํ นอกจากน้ี คาํ สอนของขงจอื๊ ก็ยังคง อิทธิพลอยใู่ นเวยี ดนาม ทําให้ชาวเวียดนามใหค้ วามสาํ คัญกบั การเซ่นไหวบ้ รรพบุษ มารยาทในการติดตอ่ ราชการ ควรแตง่ กายสภุ าพ ควรเข้าใจระบบราชการของหน่วยงานทจ่ี ะไป ตดิ ต่อ ชาวเวียดนามจะถ้อยทถี ้อยอาศัย

48 มารยาทการเข้าร่วมงานแต่ง ไม่ควรไปถึงงานก่อนเวลา การแตง่ งานในเวยี ดนามไมจ่ าํ เป็นต้องมี สินสอดตามธรรมเนยี มจะมอบแหวนและเหล้าขาวเปน็ ของหมน้ั มารยาทในการเยอื นบา้ น ควรนัดหมายล่วงหนา้ ควรกล่าวคําทักทายผทู้ ีม่ อี ายุมากกอ่ น และควรมี ของฝากติดไม้ตดิ มอื ไปดว้ ย วัฒนธรรมเกยี่ วกับอาหารและการรับประทานอาหาร อาหารเวียดนามเป็นอาหารประจาํ ชาตขิ องชาวเวยี ดนาม ซง่ึ เป็นอาหารทม่ี ลี กั ษณะโดดเด่นเป็นของ ตัวเอง ชาวเวียดนามกินขา้ วเปน็ อาหารหลักเช่นเดียวกบั ชาตอิ ืน่ ๆ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้และใช้ เคร่ืองปรุงรสที่เปน็ ของหมกั ดองเช่นเดยี วกัน เน่อื งจากเวยี ดนามเคยถูกจนี และฝรง่ั เศสปกครองจงึ มีอิทธพิ ล ของทงั้ สองชาติปรากฏอย่บู ้าง นอกจากน้นั เนื่องจากสภาพภูมิศาสตรท์ ี่ทอดยาวตามแนวชายฝง่ั ทําให้อาหาร เวยี ดนามแตล่ ะภมู ภิ าคมคี วามแตกต่างกนั อาหารเวียดนามทีค่ นไทยร้จู ักดีและเปน็ เอกลักษณ์คือแหนมเนอื ง และขนมเบือ้ งญวน ชาวเวียดนามกินขา้ วเจา้ เป็นอาหารหลกั แต่กร็ บั ประทานข้าวเหนียวด้วย อาหารทปี่ รุงด้วยแปง้ และ มีไส้ รวมถึงขนมปงั ฝรั่งเศส ชาวเวยี ดนามเรยี กวา่ \"บ๊ญั \" (bánh) อาหารทปี่ รงุ ด้วยข้าวเหนยี วท่เี ปน็ ที่นยิ มใน เวียดนามไดแ้ ก่ ข้าวไข่เจยี วหมูสับ - แบง๋ จึง (bánhchưng) ข้าวตม้ ไส้ถั่ว ห่อด้วยใบตองเป็นรปู สี่เหลี่ยม - แบง๋ เสย่ (bánhgiầy) ข้าวต้มไส้ถัว่ ห่อดว้ ยใบตองเปน็ รปู ทรงกลม เสริ ์ฟคู่กับหมยู อ - แบง๋ กาย (bánhgai) ขนมทาํ จากแป้งข้าวเหนยี ว นวดกบั ใบป่านจนดํา ไสท้ ําจากถ่วั ชาวเวียดนามมีอาหารท่ไี ด้รับอทิ ธพิ ลจากกว๋ ยเตยี๋ วของจีน เรียกว่า \"เฝอ\" (phở) ซึ่งไดป้ รบั ปรงุ จนมี เอกลักษณเ์ ปน็ ของตวั เอง ขนมจีนในภาษาเวยี ดนามเรียก \"บนู๋ \" (bún) ซึ่งมรี ูปแบบการปรุงทีห่ ลากหลาย เชน่ - บู๋นถติ เหนอื ง (búnthịtnướng) ขนมจนี หมยู า่ ง - บู๋นบ่อ (búnbò) ขนมจนี หน้าเนอื้ - บู๋นบ่อเฮว๋ (búnbòHuế) เป็นขนมจีนนํ้าใส่เนือ้ วัวหรือเนือ้ หมู เป็นอาหารที่มชี อื่ เสยี งของเมอื งเว้ อาหารเวียดนามเปน็ อาหารทีก่ ินผักสดหลากหลายชนิดในแทบทกุ เมนู และมีน้าํ จิม้ ทห่ี ลากหลาย เครือ่ งปรงุ รสสว่ นใหญ่เป็นแบบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตม้ ากกว่าจีน เชน่ เครอ่ื งปรงุ รสเปรี้ยวใช้มะขาม

49 มะนาว ไมน่ ยิ มน้ําสม้ สายชู เคร่ืองปรงุ รสเค็ม สว่ นใหญ่เปน็ นํ้าปลา นํ้ากะปิ รองลงไปเป็นกะปิ ปลาร้า กุ้ง จอ่ ม ใชซ้ ีอ๊วิ แบบจีนนอ้ ยมาก แต่อรอ่ ยมาก - อาหารเวยี ดนามภาคเหนือ มีอิทธิพลของอาหารจีนปรากฏชดั กว่าภมู ิภาคอนื่ มแี กงจืดแบบจนี และ การผัดแบบจีนแพร่หลายมากกว่าภาคอน่ื ๆ - อาหารเวียดนามภาคกลาง ศูนย์กลางอยู่ที่เว้ มอี ทิ ธพิ ลของอาหารในวงั ปรากฏชดั เจนมาก และมรี ส เผ็ดมากกวา่ อาหารภาคอ่นื - อาหารเวียดนามภาคใต้ มีอทิ ธพิ ลของอาหารอนิ เดียและอาหารกมั พชู าปรากฏมากกว่า ใชผ้ ัก ผลไม้ และเน้ือสตั ว์ทหี่ ลากหลายกว่า วฒั นธรรมเกีย่ วกับอาหารและการรับประทานอาหาร เวยี ดนามรับประทานขา้ ว (Com, Kom) เปน็ หลัก ปจั จบุ ันเวียดนามเป็นผู้สง่ ออกขา้ วรายใหญ่ เวียดนามมีชาติพันธ์ุทแ่ี ตกต่างกันถึง 54 ชาติพนั ธ์ุ อาหารเวียดนามแตกต่างกนั ไปในแต่ละภาค เวียดนาม เหนือ อาหารมกั รสชาตอิ อ่ นกว่า มีการใช้เครือ่ งเทศนอ้ ย นิยมอาหารทะเล และได้รับวัฒนธรรมอาหารจีน มาก ทเ่ี มอื งเว้ในภาคกลางนน้ั นิยมมงั สวิรัตซิ ึง่ ชาวพุทธจํานวนหนึง่ ไมบ่ รโิ ภคเนื้อสตั ว์ อาหารในภาคกลาง ไดร้ บั อิทธพิ ลจากราชสํานกั โบราณ มกี ารจดั อาหารสวยงาม ในแตล่ ะมือ้ มอี าหารหลายอย่าง อาหารทางตอน ใต้ มผี ักผลไมอ้ ดุ มสมบูรณ์ เนอ่ื งจากเปน็ แหลง่ เพาะปลูกสาํ คญั ของประเทศ มกี ารใช้กะทแิ ละน้ําตาลอาหาร ได้รบั อทิ ธิพลจากทางฝรง่ั เศสคอ่ นข้างมาก เวียดนามรับวัฒนธรรมการกนิ อาหารเสน้ กนิ อาหารแยกขา้ วกับกับ การใช้ตะเกียบ การใช้กระทะ การนึง่ ดว้ ยลงั ถึง และอาหารผัดมาจากชาวจนี แต่นิยมใชน้ าํ้ มนั นอ้ ยกว่า รับวฒั นธรรมการเคย่ี วซปุ และการ ทอดนํ้ามันท่วม (Deep fried) จากฝรงั่ เศส ขนมปังฝรั่งเศส (Baguette ขนมปังอบเปลอื กนอกแขง็ รูปรา่ งยาว)

50 พบจําหน่ายมากในตลาดและแผงลอย ชาวเวียดนามนาํ มาสอดไส้หมู หมแู ดง หมยู อ กุนเชียง ตับบด แครอต ไชเทา้ ดอง ผกั ตา่ งๆ เรียกว่า บันไมทิต (BanhMiThit: Vietnamese Baguette) เวยี ดนามมีพื้นทีต่ ิดทะเลมาก อาหารทะเลจึงเป็นอาหารหลกั เนือ้ หมูรองลงมา เน่อื งจากมีพื้นท่ใี น การเล้ยี งสตั วน์ อ้ ย เนื้อววั จึงจัดเปน็ ของดมี ีราคา และเปน็ ทีน่ ิยมรบั ประทาน ชาวเวียดนามนิยมเลยี้ งเปด็ ไก่ (ga) ไว้บรโิ ภคเอง และปล่อยใหห้ ากินธรรมชาติ บนโตะ๊ อาหารของทุกๆบ้าน เม่ือจัดอาหารจะมผี กั สด มากมาย แกงจืดและนาํ้ จม้ิ (เนือกจาม: nuoccham) อยู่เสมอ เนือกจามคอื นา้ํ จม้ิ ที่ไดจ้ ากการปรุงรสน้ําปลา เติมพริก กระเทยี ม มะนาว โดยเครื่องปรงุ หลกั ของอาหารเวียดนามทกุ ชนดิ คือนํา้ ปลา (nuoc mam) นอกจากนย้ี ังมีซอสพรกิ ฮอยซินซอส กะปิ ชาวเวยี ดนามนิยมรบั ประทานกว๋ ยเต๋ยี วในตอนเช้า เชน่ กว๋ ยเต๋ียวไซ่งอ่ น (Hu tieuหู่เตย๊ี ว: กว๋ ยเตยี๋ วนา้ํ ซุปใส ใสห่ มู ก้งุ ไก่ ปู) กว๋ ยเต๋ยี วไก่ (mien ga) ซง่ึ อาหารท้ัง สองนี้นิยมมากในภาคใต้ เช่นในโฮจิมินห์หรอื รบั ประทานบุน๋ (Bun) หรือขนมจนี ซงึ่ รับประทานกบั ผกั สด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook