Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 970 วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๒๐๐ ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

970 วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๒๐๐ ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

Description: 970 วารสารอยู่ในบุญ ฉบับที่ ๒๐๐ ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

Search

Read the Text Version

ปที่ ๑๗ ฉบบั ท่ี ๒๐๐ เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ในวันธรรมชยั วันองั คารท่ี ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org

สารบัญ ฉบบั ท่ี ๒๐๐ ประจ�ำ เดือนสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ • สขุ ใจในไอซแ์ ลนด์ ๐๒ • พิธีสถาปนาอโุ บสถพระไตรปิฎก ฝังลูกนมิ ิตและผกู สมี า ณ อโุ บสถ วัดพระธรรมกาย ๑๐ • เสาสีมาคอื อะไร ? ..มไี ว้ท�ำไม ? ๒๐ • ปลืม้ บุญวนั อาสาฬหบชู า ๒๔ • นาคหลวง ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๒๘ • ใช้พุทธธรรมนําชวี ติ เพอ่ื ทําจติ ให้สงบ พานพบสขุ นิรนั ดร์ ๓๔ • ขา่ วสารเครอื ข่ายคณะศิษย์ ๓๘ • หลกั ฐานธรรมกายในคมั ภรี พ์ ทุ ธโบราณ (ตอนท่ี ๔๙) ๔๒ • เราจะละเลยเร่ืองนไ้ี ดอ้ ย่างไร ๔๘ • เราจะมีวธิ ีการด�ำเนนิ ชวี ติ อยา่ งไร จึงเรียกได้วา่ ใชช้ วี ติ อย่างผู้มปี ัญญา ? ๕๒ • ยอ้ นอดตี ...ทอ่ งประวตั ศิ าสตร์พระพทุ ธศาสนา (ตอนท่ี ๒๐) ๕๖ • ๕ ส่งิ ท่ีใหแ้ ลว้ ไม่ได้บญุ ๖๔ wดwาวwน์โ.หkลaดlyPaDFnamอา่ iนtrae-.boorogk

“การใหน้ ี้ให้ส�ำเรจ็ ประโยชนถ์ ึงเจ้าจกั รพรรดิราช เป็นเศรษฐี มหาราช กส็ �ำเรจ็ ดว้ ยทาน การให้ เปน็ คหบดมี หาศาล มที รัพยส์ มบัติบริวาร ขา้ ทาสบรวิ าร ก็ส�ำเรจ็ ด้วยการให้ ถา้ ไม่ให้ไม่ส�ำเร็จอยา่ งนน้ั เพราะฉะน้ัน การให้ ถา้ อยากมสี มบตั ยิ งิ่ ใหญ่มหาศาลละกต็ อ้ งอตุ ส่าห์บำ� เพ็ญทาน” พระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร) ผู้คน้ พบวิชชาธรรมกาย www.kalyanamitra.org

การเดินทางเพอื่ สันตภิ าพโลก เรือ่ ง : กองบรรณาธิการ สขุ ใจในไอซ์แลนด์ การเดนิ ทางเพอ่ื สันตภิ าพในครัง้ น้ี เราก็มาต่อกนั ที่ เมอื งเรคยาวกิ (Reykjavik) ซง่ึ เป็น ท้งั เมอื งหลวงของประเทศไอซแ์ ลนด์ ที่อยู่ใกล้ขว้ั โลกเหนือมากที่สุด และเปน็ เมืองศูนยก์ ลาง ทางการคา้ และธุรกิจการประมง ๐2 อยู่ในบุญ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

หลายคนคงคดิ วา่ ไอซแ์ ลนดเ์ ปน็ ดนิ แดนแหง่ ทงุ่ นำ้� แขง็ ทมี่ แี ตค่ วามหนาวตลอดเวลา แต่ แทจ้ รงิ แลว้ ..ไอซแ์ ลนดไ์ มไ่ ดห้ นาวอยา่ งทจ่ี นิ ตนาการกนั ไว้ เพราะถา้ วา่ กนั ตามหลกั ภมู ศิ าสตร์ ไอซ์แลนดเ์ ปน็ เกาะทอ่ี ยใู่ นระนาบของไอหนาวกจ็ รงิ แต่ตวั เกาะทอดตวั อย่ใู ตเ้ สน้ อาร์กติก จึง มีชว่ งทรี่ ้อนบา้ งเหมอื นกนั อีกทง้ั ยงั มกี ระแสนำ�้ อุ่นไหลผ่าน ณ เมอื งหลวงแหง่ น้ี มผี คู้ นจำ� นวนไมน่ อ้ ยทสี่ นใจการฝกึ สมาธมิ าก ๆ... ทำ� ให้ พระอาจารย์ ดร.ปรมยั ธนสิ สฺ โร ไดร้ บั นมิ นตใ์ หไ้ ปสอนการทำ� สมาธทิ ่ี โยคะเรคยาวกิ ซงึ่ เปน็ หนง่ึ ในศนู ยฝ์ กึ โยคะท่ีดังที่สุดในกรุงเรคยาวิก อีกท้ังท่านยังได้บรรยายธรรมในหัวข้อท่ีทุกคนให้ความสนใจ เปน็ อย่างมาก คอื เร่ือง “การพฒั นาความสัมพันธ์อย่างยั่งยืน” โดยพระอาจารย์อธิบายว่า การจะมคี วามสมั พนั ธท์ ยี่ ง่ั ยนื ไดน้ น้ั จะตอ้ งเรมิ่ จากการรกั ตวั เองกอ่ น ซงึ่ เมอ่ื เรารกั ตวั เองแลว้ ในทสี่ ดุ แลว้ เราจะสามารถมอบความรกั ใหแ้ กท่ กุ ๆ คนโดยไมม่ ขี อ้ แมเ้ งอ่ื นไขใด ๆ ได้ สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ ๐3 www.kalyanamitra.org

ท่ีส�ำคัญพระอาจารย์ยังบอกอีกว่า ผู้ท่ีฝึกสมาธิเป็นประจ�ำจะสามารถมองเห็นจุดดี ในบคุ คลอ่ืน และมองข้ามจดุ ด้อยของคนอน่ื ได้อยา่ งงา่ ย ๆ ในการมานง่ั สมาธริ วมกนั ของทกุ คนในวนั น้ี แมเ้ วลาผา่ นไปถงึ ๔๐ นาที แตห่ ลาย ๆ คน กไ็ มร่ สู้ กึ วา่ ยาวนานเลย ทง้ั ๆ ทเี่ ปน็ การนงั่ ครง้ั แรก อกี ทงั้ บางคนยงั บอกอกี วา่ รสู้ กึ ถงึ พลงั งาน ความอบอุ่นจากภายใน บางคนก็รู้สกึ สงบ เบา สบาย หลังจากท่ีพระอาจารย์สอนสมาธิเสร็จแล้ว ต่างคนต่างมีค�ำถามเกี่ยวกับชีวิตพระและ เปา้ หมายในการบวชของพระอาจารย์ ซง่ึ พอทกุ คนไดฟ้ งั กร็ สู้ กึ สนใจและประทบั ใจมาก เพราะ เปน็ เรือ่ งราวทีไ่ ม่เคยได้ยินมากอ่ นเลยจรงิ ๆ ๐4 อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ ๐5 www.kalyanamitra.org

๐6 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

นอกจากนั้น พระอาจารย์ยังได้เดินทางไปสอนสมาธิอีกหลายแห่งในไอซ์แลนด์ ได้แก่ ศูนย์ Heilsan Min ซึง่ เป็นศูนยป์ ฏบิ ตั ิธรรมในเมอื งเลก็ ๆ ที่ช่ือ อะคราเนส (Akranes) อีกทง้ั ยังไปที่ ศนู ย์โยคะชาล่า (Yoga Shala) และ ศูนยค์ วามคดิ สร้างสรรค์โซลเซทรดิ ในเมือง เรคยาวกิ อกี ดว้ ย การเดินทางเพอื่ สันติภาพของพระอาจารย์นนั้ ท�ำให้ผู้เข้ารว่ มปฏบิ ตั ธิ รรมตา่ งกพ็ บเจอ ความสขุ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากภายในและไดร้ บั ประสบการณจ์ ากการฝกึ สมาธทิ ดี่ ี บา้ งกบ็ อกวา่ ในชว่ ง ทใ่ี จโลง่ ๆ เจอแสงสวา่ งสมี ว่ ง บา้ งกร็ สู้ กึ วา่ ตวั เคลอ่ื นไปไดเ้ องทงั้ ๆ ทน่ี ง่ั นง่ิ ๆ บางคนบอกวา่ รูส้ กึ ถึงพลงั งานทผ่ี ุดออกมาจากภายใน บา้ งก็บอกว่ารู้สกึ เหมอื นตกจากทสี่ ูงถงึ ๓ ครง้ั จน หลาย ๆ คนรูส้ ึกชอบและตดิ ใจคำ� ภาวนา “สมั มาอะระหัง” และบอกว่าจะขอนำ� ค�ำภาวนาน้ี ไปใชใ้ นการฝกึ สมาธิครั้งตอ่ ๆ ไป ท่ีน่าสนใจไปกว่านั้น หนึ่งในจ�ำนวนคนที่มานั่งสมาธิท่ี Sólsetrið นั้น มีชายผู้มี ปญั หาทางสายตาคนหนง่ึ รสู้ กึ ประหลาดใจมากกบั การนง่ั สมาธเิ พยี งชว่ งสน้ั ๆ ทท่ี ำ� ใหเ้ ขาเกดิ ความร้สู ึกที่ดอี ย่างแตกตา่ ง โดยเขาเลา่ ว่า ชว่ งท่ีใจนิ่ง ๆ ร่างกายเขารสู้ กึ เบามาก เบาราวกบั ว่าตัวลอยข้ึนไปในอากาศและบินได้ จนเขารู้สึกติดใจกับการวางใจไว้ที่ศูนย์กลางกาย และ ตดั สนิ ใจมารว่ มนงั่ สมาธิอีกครั้งกบั พระอาจารยใ์ นรอบถัดไป… สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ ๐7 www.kalyanamitra.org

๐8 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

“นำ้� หยดทีละตง๋ิ ยงั เต็มตุม่ ฉะน้นั เราต้องปฏิบตั ไิ ปเร่อื ย ๆ มบี ญุ อะไรก็พยายามท�ำเร่ือยไป สกั วันหนง่ึ คงเตม็ ด้วยบุญ เหมือนน้ำ� หยดทีละติ๋งยังเตม็ ตุม่ ได”้ คุณยายอาจารย์มหารัตนอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู ผใู้ ห้ก�ำเนดิ วัดพระธรรมกาย สนับสนนุ การจัดพมิ พว์ ารสารอยู่ในบุญ เพือ่ มอบเปน็ ธรรมทานโดย เนเจอร์กิฟ คำ� ตอบสดุ ทา้ ยสำ� หรบั ผทู้ ่ีต้องการมีสขุ ภาพท่ดี ี โทร. ๐ ๒๐๒๔ ๙๓๘๘, www.naturegift.co.th, Naturegift Thailand www.kalyanamitra.org

ทบทวนบญุ ฝงั ลกู นมิ ติ เรื่อง : พระมหาศภุ ณฐั จนฺทชโย ป.ธ.๙ พณิธีสถฝอางัุโบปลสนกู ถนาอมิ วโุติ บดั แสพลถระพะผธรกู ระสรไีมตมารกปาฎิยก www.kalyanamitra.org

ค�ำว่า “สังฆกรรม” น้ัน พจนานุกรมฉบับ- สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 11 ราชบณั ฑติ ยสถานใหค้ วามหมายไวว้ า่ “กจิ ทพ่ี ระสงฆ์ ต้ังแต่ ๔ รูปขึ้นไปรวมกันทําภายในสีมา” น่ันก็ หมายความวา่ การสวดพระปาตโิ มกขท์ บทวนพระวนิ ยั ทกุ ๆ ๑๕ วนั การอปุ สมบทพระภิกษทุ ุก ๆ รปู ใน พระพทุ ธศาสนา และการกรานกฐิน เปน็ ต้น ลว้ นแล้ว แตเ่ ปน็ กจิ ทคี่ ณะสงฆจ์ ะตอ้ งกระทำ� ภายในสมี าเทา่ นน้ั ดังน้ันการสถาปนาอุโบสถพระไตรปิฎก ฝังลูกนิมิต และผกู สีมา ณ อโุ บสถ วัดพระธรรมกาย ในวนั ท่ี ๗ เดือน ๗ ท่ีผา่ นมา จงึ นับได้วา่ เป็นมหากุศล และเป็น หัวใจส�ำคัญท่ีจะท�ำให้ลมหายใจของพระพุทธศาสนา ยงั คงสบื ตอ่ ไปได้อกี ยาวนาน ด้วยเล็งเหน็ ความส�ำคัญของบญุ กศุ ลและมุง่ มน่ั ที่จะสืบทอดอายุพระศาสนา พวกเราทั้งหลายจึงได้ มาสร้างบุญกันอย่างร่าเริงบันเทิงใจตลอดวันตั้งแต่ เชา้ จรดเยน็ ไม่วา่ จะเปน็ พธิ ีตกั บาตร การปฏิบตั ธิ รรม พธิ บี ชู าขา้ วพระ พธิ ถี วายภตั ตาหารเปน็ สงั ฆทาน และ พิธีสถาปนาอุโบสถพระไตรปิฎก ฝังลูกนิมิตและ www.kalyanamitra.org

12 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ผกู สมี า เปน็ ตน้ โดยเฉพาะพธิ ีสถาปนาอโุ บสถพระไตรปิฎก ฝงั ลกู นิมิตและผูกสมี าในครง้ั น้ี ได้รับความเมตตาจาก พระเดชพระคุณพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต) เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร มาเป็นประธานสงฆ์ พร้อมด้วย พระเดชพระคุณพระเทพรตั นสธุ ี (สมศกั ดิ์ โชตินธฺ โร ป.ธ.๕, ดร.) เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี ในระหว่างการสวดถอนสีมาเดิมและการสวดทักนิมิต ได้รับความเมตตาจาก พระเดช- พระคณุ พระเทพรัตนสุธี และ ทา่ นเจา้ คุณพระศรีพชั โรดม (ลักษณะ กติ ฺติ าโณ ป.ธ.๙, ดร.) เจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ พร้อมด้วยคณะสงฆ์ เป็นผู้สวดถอนสีมาเดิมและสวดทักนิมิต ท้ัง ๘ ทศิ (ดวงแกว้ รัตนสิริทพิ ย์นิมติ มงคลพ่อนิมิต ๘ ลูก) โดยมี นายบุญเลิศ เนตรข�ำ ปลดั อาวโุ สอ�ำเภอคลองหลวง อา่ นประกาศวสิ งุ คามสมี า ซง่ึ ไดร้ บั พระราชทานเมอื่ วนั ท่ี ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๒ อนงึ่ ในระหวา่ งพธิ สี ถาปนาอโุ บสถพระไตรปฎิ กนนั้ ไดร้ บั ความเมตตาจาก พระภาวนา- ธรรมวเิ ทศ วิ. (ภูเบศ ฌานาภิญโฺ ) มาเป็นประธานสงฆ์ในพธิ ีรบั ดวงแก้วกายสทิ ธิ์นิมติ มงคล ตน้ สมบตั อิ ศั จรรย์ ดวงแกว้ รตั นสริ ทิ พิ ยน์ มิ ติ มงคลหลานนมิ ติ ดวงแกว้ รตั นสริ ทิ พิ ยน์ มิ ติ มงคล เหลนนมิ ติ และจลุ นมิ ติ รตั นชาติตน้ สมบตั ิอัศจรรย์ เพอ่ื น�ำไปประดษิ ฐานส�ำหรับประกอบพิธี ทกั นมิ ติ และพธิ ีผกู สีมาพรอ้ มกบั ดวงแกว้ รตั นสิรทิ ิพยน์ ิมติ มงคลพ่อนมิ ิต ๘ ลูก และดวงแกว้ รัตนสริ ิทพิ ย์นมิ ิตมงคลลกู นมิ ิต ๑๐๐ ลูก น่ันเอง ถัดจากนั้น เป็นพิธีสวด ค�ำสมมติสมานสังวาสสีมา และ ค�ำสมมติติจีวราวิปปวาส (สวดผูกสีมา) โดยการน�ำของพระเดชพระคุณพระมหาโพธิวงศาจารย์ เม่ือเสร็จส้ินพิธีแล้ว การสถาปนาอุโบสถพระไตรปิฎก ฝังลูกนิมิตและผูกสีมา จึงถือว่าเป็นอันแล้วเสร็จตาม พระธรรมวินยั ทกุ ประการ ขออนุโมทนากับทุก ๆ แรงกาย แรงใจ และแรงปจั จยั ท่ีพวกเราทา่ นทัง้ หลายไดม้ สี ่วน ร่วมในการอุบัติของอุโบสถพระไตรปิฎกในครั้งน้ี ซึ่งจะแปรเปลี่ยนเป็นภาพประวัติศาสตร์ แหง่ ความปลาบปลมื้ ปตี ติ ดิ อยกู่ ลางใจของทกุ ทา่ น และประชมุ ชนในภายหลงั จะไดย้ ดึ ถอื เปน็ แบบอย่างอันดี เปรียบประดุจประทีปดวงน้อย ๆ ท่ีคอยส่งต่อความสว่างไสวไปยังประทีป ดวงตอ่ ๆ ไป อกี ทง้ั บญุ ทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งดว้ ยหมสู่ งฆน์ ี้ จะเปน็ มหากศุ ลทต่ี ามตดิ ผหู้ วงั บญุ ทกุ ทา่ น ไปในสังสารวัฏอนั ยาวไกลได้ สมดงั วาระพระบาลที ีว่ า่ “ปุญฺ มากงฺขมานานํ สงฺโฆ เว ยชตํ มขุ ”ํ (ม.ม. (บาล)ี ๑๓/๖๑๑/๕๕๖) แปลว่า “พระสงฆเ์ ป็นประมุขของผหู้ วงั บญุ บูชาอยู”่ (ม.ม.อ. (ไทย) ๒๑/๖๑๑/๒๙๓) สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 13 www.kalyanamitra.org

14 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 15 www.kalyanamitra.org

16 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 17 www.kalyanamitra.org

18 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

โอวาทพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สรุ เตโช ป.ธ.๙, ราชบณั ฑติ ) เจา้ อาวาสวัดราชโอรสาราม ราชวรวหิ าร ในพธิ ีผูกสมี า งานผกู พทั ธสมี าหรืองานผูกสีมาถอื วา่ เป็นงานใหญ่ เป็นงานส�ำคัญ เปน็ บุญใหญ่ ไม่ใช่ ว่าจะทำ� กนั ไดง้ ่าย ๆ เราท่านทั้งหลายมีบญุ มีวาสนา ได้เป็นเจา้ ภาพ ไม่วา่ จะเป็นเจา้ ภาพ มหานิมติ ลกู นมิ ติ ใหญ่ ๘ ทศิ หรือจลุ นมิ ติ ซง่ึ เลก็ ลงมา ถือวา่ เราไดเ้ สียสละ ไดบ้ รจิ าค เปน็ เหตุใหเ้ กดิ พัทธสีมาท่ีวัดนข้ี ึน้ มา เปน็ บญุ เป็นกุศลอันย่ิงใหญ่ เป็นเร่ืองน่าอนุโมทนา น่ายนิ ดี เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ มีการผกู พัทธสีมาคร้งั แรกของทีน่ ี่ ท่านท้ังหลายกม็ ารว่ ม ครัง้ นี้ ก็มารว่ มอกี น้ีแหละบุญมหาศาล อาตมาก็ดใี จเหมือนกันท่ีไดม้ ารว่ ม มาจัดพิธี เจา้ พระคุณ- สมเด็จวัดจกั รวรรดิราชาวาสมาเปน็ ประธานงานบุญใหญ่ นิมนตพ์ ระมาท่ัวประเทศ พระสงฆ์ ที่ได้รับอาราธนามาน้ี ญาติโยมทั้งหลายต้องปลื้มใจเหมือนกัน เพราะว่างานน้ีเป็นงานใหญ่ อาราธนาพระมาท่ัวประเทศ โดยเฉพาะพระท่ีคุ้นเคยกับวัดพระธรรมกาย และพระท่ีบวช ในวดั พระธรรมกาย เป็นลกู ศิษย์วัดพระธรรมกายโดยตรง พระสังฆาธกิ ารในจังหวัดปทุมธานี กม็ ากนั ถ้วนทวั่ ตั้งแต่เจา้ คณะจงั หวัด รองเจา้ คณะจงั หวัด เจ้าคณะอำ� เภอ เจา้ คณะต�ำบล เจา้ อาวาส ผ้ชู ว่ ยเจ้าอาวาส มากันหลายรอ้ ยรปู และพระในกรุงเทพฯ และในจงั หวดั อน่ื ๆ พระผหู้ ลักผใู้ หญท่ า่ นกม็ า ขอให้ทุก ๆ ท่านอนุโมทนาสาธุกบั บญุ ของตวั เอง แลว้ กน็ ำ� บญุ นี้ไปฝากญาติโยมที่อยู่ ทบี่ า้ น ไปฝากลกู ฝากหลาน ฝากพอ่ ฝากแม่ ฝากพ่ี ฝากนอ้ ง ใหร้ บั อนโุ มทนาบญุ จากเราทา่ น ทั้งหลายดว้ ย ซงึ่ เราท่านทง้ั หลายก็ได้บญุ กนั อยา่ งเต็มท่แี ล้ว สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 19 www.kalyanamitra.org

เรอ่ื งจากปก เรือ่ ง : ร.ล่วิ เฉลมิ วงศ์ เสาสีมาบรมจกั รพรรดริ ตั นอนันต์ www.kalyanamitra.org

เสาสมี าคืออะไร ? ..มีไว้ทำ� ไม ? สมี า แปลวา่ เขต หรอื แดน ส่วน เสาสีมา ก็คือ เสาท่ีเป็นเคร่ืองหมายบอกเขตแดนหรือพื้นท่ีในการท�ำสังฆกรรม ตา่ ง ๆ ของพระภกิ ษสุ งฆ์ ซง่ึ การกำ� หนดเขตแดนในการทำ� สงั ฆกรรมนน้ั ไดใ้ ชล้ กู นมิ ติ ฝงั ลงไป ใตด้ นิ เพอื่ กำ� หนดเขตแดน โดยมอี าณาเขตลกึ ลงไปจนถงึ นำ�้ รองแผน่ ดนิ แตเ่ พอื่ ใหเ้ หน็ ขอบเขตในการทำ� สงั ฆกรรมเหนอื พน้ื ดนิ ทชี่ ดั เจนยงิ่ ขน้ึ กต็ อ้ งมสี ญั ลกั ษณ์ บง่ บอกอาณาเขต ซง่ึ การกำ� หนดสญั ลกั ษณเ์ ชน่ นี้ นยิ มใช้ เสาสมี า หรอื ใบสมี า กไ็ ด้ โดยปกติแล้วเสาสีมาน้ัน จะตั้งอยู่เหนือและตรงกับต�ำแหน่งลูกนิมิต เพราะท�ำหน้าท่ี เปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนลกู นมิ ติ ทอ่ี ยใู่ ตด้ นิ ซง่ึ ทวั่ ไปจะมี ๔ เสา หรอื ๘ เสากไ็ ด้ จะเปน็ เสากลม หรอื เสาสเี่ หลยี่ มกไ็ มผ่ ดิ แตป่ ระการใด แตน่ า่ เสยี ดายทก่ี ารสรา้ งโบสถผ์ กู สมี าแตล่ ะวดั ไมใ่ ชเ่ ปน็ สงิ่ ทเ่ี กดิ ไดง้ า่ ย ๆ เลย อกี ทง้ั ถา้ เกดิ ขน้ึ แลว้ จำ� นวนเสาสมี านน้ั กม็ ไี มม่ าก ฉะนน้ั การมโี อกาสไดท้ ำ� บญุ นจี้ งึ เปน็ สงิ่ ทหี่ าไดย้ ากยงิ่ และทสี่ ำ� คญั ยงั มคี วามเชอื่ มาแตโ่ บราณวา่ ใครกต็ ามทไี่ ดท้ ำ� บญุ สรา้ งหรอื ประดษิ ฐานเสาสมี า หรอื บญุ ทเี่ กยี่ วกบั การฝงั ลกู นมิ ติ กจ็ ะทำ� ใหช้ วี ติ มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งไมม่ ที ส่ี นิ้ สดุ มชี วี ติ ทม่ี น่ั คง ปลอดภยั มจี ติ ใจหนกั แนน่ ไมท่ อ้ แทห้ วนั่ ไหวตอ่ อปุ สรรคใด ๆ และเมอ่ื มงุ่ มน่ั ตงั้ ใจทำ� สงิ่ ใดแลว้ กส็ ำ� เรจ็ ดงั ใจปรารถนาไดโ้ ดยสมบรู ณ์ เหมอื นดง่ั เสาสมี าและลกู นมิ ติ ทป่ี กั หลกั กำ� หนดเขตแดน ใหก้ ารทำ� สงั ฆกรรมสำ� เรจ็ สมบรู ณน์ นั่ เอง... สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 21 www.kalyanamitra.org

ดว้ ยบญุ กศุ ลทขี่ า้ พเจา้ ตง้ั ใจทำ� บญุ เสาสมี า และบญุ สญั ลกั ษณบ์ ง่ บอกตำ� แหนง่ ลกู นมิ ติ ในครงั้ นี้ ขอใหข้ า้ พเจา้ มรี ากฐานชวี ติ ทม่ี ง่ั คงั่ มน่ั คงตงั้ แตเ่ กดิ ใหม้ จี ติ ใจทห่ี นกั แนน่ ไมห่ วน่ั ไหวตอ่ อปุ สรรคใด ๆ ทง้ั สน้ิ อกี ทงั้ ยงั มกี ลั ยาณมติ รคอยคำ้� จนุ สนบั สนนุ ใหช้ วี ติ รำ่� รวย รงุ่ เรอื ง รงุ่ โรจน์ จนถงึ ทส่ี ดุ และไดเ้ ปน็ อภมิ หาเศรษฐผี ใู้ จบญุ คำ้� จนุ พระพทุ ธศาสนา ขอใหข้ า้ พเจา้ ไดเ้ กดิ ในปฏริ ปู เทส ในครอบครวั สมั มาทฐิ ิ ทสี่ นบั สนนุ การสรา้ งบญุ สรา้ งบารมไี ปทกุ ภพทกุ ชาติ ขอใหข้ า้ พเจา้ เปน็ ผมู้ ดี วงปญั ญาสวา่ งไสว สขุ ภาพแขง็ แรง อายขุ ยั ยนื ยาว เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั สิ ะดวก บรรลเุ รว็ เขา้ ถงึ ธรรมทพี่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงบรรลไุ ดโ้ ดยงา่ ย ขอใหค้ วามปรารถนาทงั้ ปวงนี้ จงเปน็ ผลสำ� เรจ็ จงเปน็ ผลสำ� เรจ็ จงเปน็ ผลสำ� เรจ็ จงทกุ ประการเทอญ นพิ พานะปจั จะโย โหตุ 22 อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

“กฎสากล ทำ�ดีได้ดี ทำ�ชว่ั ได้ชว่ั ท�ำ ดีใจใสไปสวรรค์ ทำ�ชวั่ ใจหมองไปอบาย” ทบทวนโอวาทหลวงพอ่ ธัมมชโย วัดพระธรรมกาย www.kalyanamitra.org

ทบทวนบุญวันอาสาฬหบูชา เร่อื ง : ปรญิ ดา วัฒนจงึ โรจน์ www.kalyanamitra.org

วนั อปาลส้ืมาฬบหญุ บชู า ประนมกรกรานกราบพระไตรรัตน์ จติ สงัดสรรเสริญพระศาสนา สบิ หา้ ค�่ำเดอื นแปดบรรจบมา วนั อาสาฬหบชู าประชมุ กัน ก่อนวสั สานฤดเู ขา้ พรรษา ประนมกรถวายผา้ อย่างสุขสันต์ วัสสิกสาฏกิ าคา่ อนันต์ ประเพณีแต่ปางบรรพ์เปย่ี มศรทั ธา โคมประทปี นอ้ มถวายในพระศาสน์ มุทติ าแด่ปวงปราชญ์พระศาสนา ฉลองชัยสวดธรรมจักรา พนั สี่ร้อยล้านคราปลื้มเปรมเอย สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 25 www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 27 www.kalyanamitra.org

กราบมทุ ิตา เรื่อง : กองบรรณาธกิ าร www.kalyanamitra.org

นาคหลวง ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ พระราชพิธีทรงผนวชของพระบรมวงศานุวงศ์และพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศล อปุ สมบทนาคหลวงนน้ั เปน็ สง่ิ ทมี่ มี าแตโ่ บราณกาล เปน็ การทรงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลในเทศกาล เขา้ พรรษาของพระมหากษตั ริยใ์ นฐานะทรงเป็นพุทธมามกะ สำ� หรบั ปนี ี้ เมือ่ วันอังคารที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เวลา ๑๗.๑๔ น. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ - โปรดกระหมอ่ มใหส้ มเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ พชั รกติ ยิ าภา นเรนทริ าเทพยวดี เสดจ็ แทน พระองคไ์ ปยงั พระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวงั เพอ่ื ทรงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลอปุ สมบทนาคหลวง ผสู้ อบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๙ ประโยค จำ� นวน ๕ รปู ดงั นี้ ๑. สามเณรวนั มงคล ดีเลศิ วัดโมลีโลกยาราม ราชวรวหิ าร กรุงเทพมหานคร ๒. สามเณรนติ ทิ ศั น์ ศริ วิ งั วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร กรงุ เทพมหานคร ๓. สามเณรภาสกร ชาลาธราวฒั น์ วดั พระธรรมกาย จงั หวัดปทมุ ธานี ๔. สามเณรอาทิตย์ เขียวสองหอ้ ง วัดอุทมุ พรทาราม จงั หวดั ราชบรุ ี ๕. สามเณรฐิตวิ ฒั น์ วันมหาชัย วัดจองคำ� จังหวดั ลำ� ปาง สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 29 www.kalyanamitra.org

หลังจากพระราชพิธที ว่ี ัดพระศรรี ตั นศาสดารามเสรจ็ สนิ้ ลงแลว้ วัดพระธรรมกายไดจ้ ัด พิธมี ทุ ติ าสักการะ พระมหาภาสกร ธมมฺ วทญญฺ ู เปรียญธรรม ๙ ประโยค พระภิกษนุ าคหลวง รูปท่ี ๗ ของวดั พระธรรมกาย ณ อุโบสถวัดพระธรรมกาย ในเวลา ๒๐.๐๐ น. ของวันเดียวกนั โดยไดร้ บั ความเมตตาจาก พระเดชพระคุณพระเทพรัตนสธุ ี เจา้ คณะจงั หวัดปทมุ ธานี เป็น ประธานสงฆ์ พรอ้ มดว้ ย พระเดชพระคณุ พระราชกติ ตเิ มธี รองเจา้ คณะจงั หวดั ปทมุ ธานี และ เจ้าคณะพระสังฆาธิการ พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ในจังหวัดปทุมธานี มาร่วมเจริญพุทธมนต์ ในครง้ั นี้ และยงั ไดร้ บั เกยี รตจิ าก ดร.วริ ะศกั ดิ์ ฮาดดา นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลคลองสาม มาเปน็ ประธานฝา่ ยฆราวาส นอกจากนภี้ ายในงานยงั มคี ณะสงฆ์ อบุ าสก อบุ าสกิ า และญาตโิ ยม ร่วมพิธีเปน็ จำ� นวนมาก ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา วัดพระธรรมกายมีความมุ่งม่ัน ต้ังใจ ส่งเสริมสนับสนุน การศึกษาของคณะสงฆ์มาอย่างตลอดต่อเนื่อง โดยได้จัดต้ังส�ำนักเรียนวัดพระธรรมกาย เม่ือปีพทุ ธศักราช ๒๕๒๘ จนกระทั่ง มีพระภิกษุผสู้ อบผา่ นบาลีสนามหลวงเป็นเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค รวม ๘๒ รูป และเป็นวดั ที่มเี ปรยี ญธรรม ๙ ประโยค มากที่สุดในประเทศไทย 30 อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

บนเส้นทางนาคหลวง ใครเลา่ จะคดิ วา่ จากเด็กนอ้ ยธรรมดาคนหน่งึ ท่มี าวัดตามคุณแม่ในทกุ ๆ วนั อาทติ ย์ จะไดม้ าใชช้ วี ติ ในเสน้ ทางสายพเิ ศษและไดย้ นื อยบู่ นจดุ อนั ทรงเกยี รติ ท่ีหลายคนมุ่งมาดปรารถนา แตน่ ้อยคนนักท่จี ะกา้ วไปถึง อาตมา (พระมหาภาสกร ธมมฺ วทญญฺ )ู เติบโตมาในครอบครวั ท่ีมฐี านะ ปานกลาง ไมไ่ ดล้ ำ� บากยากแคน้ เลา่ เรยี นศกึ ษาไปตามระบบ โดยทใ่ี นใจนน้ั ไมไ่ ด้ มีเป้าหมายอะไรที่จริงจังในชีวิต บางครั้งก็เล่นเกม ไปเที่ยวห้างสรรพสินค้า หรือเรียนพิเศษ ใช้ชีวิตอย่างปกติตามประสาเด็กในกรุงเทพฯ แต่แล้ววันหนึ่ง ชวี ติ ในวยั เดก็ ของอาตมากค็ อ่ ย ๆ เปลย่ี นไปทลี ะนอ้ ย เรมิ่ จากในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โยมแมข่ องอาตมาไดเ้ ขา้ มาทำ� บญุ ทวี่ ดั พระธรรมกายและชวนอาตมาตามมาดว้ ย นา่ แปลกทใ่ี นขณะนน้ั อาตมาซงึ่ ยงั เปน็ เดก็ กลบั ชอบบรรยากาศในการสง่ั สมบญุ ของชาววัดพระธรรมกาย จึงเรม่ิ ตามโยมแม่มาวดั จากแคว่ นั อาทิตยต์ ้นเดอื น ก็เรม่ิ ขยับมาเป็นทกุ วนั อาทิตย์ สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 31 www.kalyanamitra.org

จนเวลาผ่านไป ๑ ปี อาตมาได้เขา้ มาเปน็ อาสาสมคั ร ไดต้ ้อนรับหลวงพอ่ ทง้ั เชา้ และบา่ ย ทุก ๆ ครงั้ ท่ไี ด้ตอ้ นรับทา่ น ท่านจะถามเสมอว่า “ใครจะบวช ตลอดชีวิตบ้าง” คำ� ถามน้เี ป็นแรงบันดาลใจให้อาตมามีความคดิ ทจ่ี ะบวชเรยี น วันเวลาผา่ นไปแต่ละปี ทกุ ครั้งทีไ่ ด้ฟังคำ� ถามของทา่ น เป้าหมายท่ีจะบวชเรยี น น้ันชัดเจนมากข้นึ เร่ือย ๆ จนในทส่ี ุดเมอ่ื อาตมาเรยี นจบชั้น ป.๖ จึงตดั สนิ ใจ ท่ีจะบวชเรียนที่วดั พระธรรมกาย เมื่อได้มาเป็นสามเณรวัดพระธรรมกาย ได้มาฝึกฝนอบรมตนเองใต้ร่ม บารมีธรรมของหลวงพ่อ สามเณรทุก ๆ รูปจะได้รับการปลูกฝังเป้าหมาย ในการศึกษาว่าต้องจบเปรียญธรรม ๙ ประโยค หรือเป็นนาคหลวงใหไ้ ด้ หรอื แมใ้ นเวลาทไ่ี ดพ้ บหลวงพอ่ ทา่ นกม็ กั จะบอกกบั ลกู เณรวา่ “๓ ป. (ปรยิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ ปฏเิ วธ) นะลกู นะ” ทำ� ให้อาตมามีฉนั ทะในการศึกษา มเี ป้าหมายอยากจะควา้ ประโยค ๙ มาใหไ้ ด้ แตก่ ไ็ ม่คดิ ถงึ ข้ันเปน็ นาคหลวงแม้อายจุ ะทันก็ตาม หลงั จากทสี่ อบไลไ่ ดน้ กั ธรรมตรแี ลว้ อาตมากเ็ รม่ิ ทอ่ งบาลไี วยากรณท์ หี่ นา เกือบ ๓๐๐ หนา้ และเรียนบาลี หดั แปล หัดเดินประโยค และตั้งใจดหู นังสอื อยา่ งตลอดตอ่ เนอื่ ง จนเมอื่ อาตมาสอบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๓ ประโยค และไดเ้ ขา้ รบั 32 อยู่ในบุญ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

พระของขวัญอันเป็นเคร่ืองมุทิตาจากหลวงพ่อ ท่านก็ถามว่า “ทันนาคหลวง ไหมจ๊ะ” อาตมาตอบวา่ “ทันครับ” ท่านตอบกลบั มาว่า “เอาให้ไดน้ ะลูกนะ” นบั แตว่ นั นน้ั เปน็ ตน้ มา เปา้ หมายทจี่ ะเปน็ นาคหลวงจงึ แจม่ ชดั เปน็ หลกั ชยั ในการพากเพียรเล่าเรียนพระบาลี เม่ือเหน่ือยหรือท้อ ก็จะมีค�ำพูดนี้เป็นดุจ ยาชกู �ำลงั ให้กลับมามแี รงอกี ครั้ง ตลอดระยะเวลาในการศกึ ษานน้ั อาตมาใชท้ ง้ั ปญั ญา ความเพยี ร และ กำ� ลงั บญุ ทง้ั ๓ อยา่ งไมย่ ิง่ ไม่หยอ่ นกว่ากนั จนเวลาผ่านมาเรอื่ ย ๆ รตู้ ัวอกี ที ก็เรียนประโยค ๙ แล้ว เป้าหมายที่ต้ังไว้อยู่แค่เอื้อม แต่บันไดข้ันสุดท้ายน้ัน นับว่าโหดเอาการ ต้องใช้ปัญญาและไหวพริบในการแต่งประโยคภาษาไทย เปน็ บาลี ในดา้ นความเพยี รในการดหู นงั สอื นนั้ กต็ อ้ งมากกวา่ ปกติ โดยเฉพาะชว่ ง พรรษาทตี่ อ้ งเดนิ ทางไปเรยี นทโี่ รงเรยี นคณะสงฆส์ ว่ นกลาง แลว้ ตอ้ งกลบั มาแปล หนงั สอื ตามเป้าที่ตัง้ ไวใ้ นแต่ละวนั บญุ กต็ อ้ งหม่นั ส่ังสม สวดมนต์ทำ� วัตร หรอื หาบญุ พเิ ศษทำ� แลว้ กอ็ ธษิ ฐานตอกยำ�้ เปา้ หมายทกุ ครง้ั ทงั้ กอ่ นสอบและหลงั สอบ ในวันประกาศผลสอบ เม่ือเสียงกรรมการประกาศชื่อ “สามเณรภาสกร ชาลาธราวัฒน์ วดั พระธรรมกาย” ดงั ขึน้ อาตมารสู้ ึกปลมื้ ปีติ ไมใ่ ชแ่ ค่เพราะ ตวั เองสอบผ่านหรอื จะไดป้ ลดกงั วลทางการศกึ ษา (บาลีว่า คนั ถปลโิ พธ) เสียที แตส่ ่ิงท่ีปล้มื ใจยง่ิ กว่านั้นก็คือ การไดน้ ำ� ชัยชนะ เกยี รติยศ มาสู่หลวงพอ่ และ วดั พระธรรมกาย โดยเฉพาะในห้วงเวลานี้ คนท้งั หลายจะไดร้ ู้วา่ วดั ของเราน้นั มิไดส้ อนผิดแตอ่ ย่างใด ในวันน้ีแม้เป้าหมายแห่งการศึกษาบาลีมาถึงจุดส้ินสุด อาตมาได้จบ ประโยค ๙ ตามทวี่ าดฝนั ไว้ และไดร้ บั พระราชทานพระบรมราชปู ถมั ภใ์ หอ้ ปุ สมบท เปน็ นาคหลวงแลว้ กต็ าม แตก่ เ็ ป็นเหมือนการเร่มิ เดินทางไปสเู่ ส้นทางสายใหม่ ที่กว้างไกลกว่าเดิม ต้องใช้ท้ังก�ำลังสติปัญญาและความสามารถท่ีมีตอบแทน พระพุทธศาสนา หลวงพอ่ วดั พระธรรมกาย ทีใ่ หร้ ่มเงามาตลอด ๙ ปี ในชวี ติ สมณะ แมอ้ าตมาจะเปน็ เพยี งแคพ่ ระภกิ ษธุ รรมดารปู หนงึ่ แตอ่ าตมากห็ วงั ใจวา่ กำ� ลงั ความรคู้ วามสามารถของอาตมานนั้ จะยงั พระพทุ ธศาสนาใหว้ ฒั นาสถาพร คู่โลกต่อไปตราบนานเท่านาน พระมหาภาสกร ธมมฺ วทญญฺ ู ป.ธ.๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 33 www.kalyanamitra.org

ลกู หลวงพ่อ เรื่อง : พระมหาภรู ชั ทนตฺ วโํ ส www.kalyanamitra.org

ใช้พุทธธรรมนำ� ชวี ิต เพื่อท�ำจติ ใหส้ งบ พานพบสขุ นิรันดร์ “...ถ้าคุณก�ำลังแสวงหาบางส่ิงเพ่ือเติมเต็มช่องว่างภายในใจ หรือรู้สึกถึงการเรียกร้อง บางอยา่ งจากขา้ งใน ถงึ ความหมายของการมชี วี ติ ทลี่ กึ ซง้ึ ยง่ิ ขนึ้ วา่ คอื อะไร มจี ดุ สมดลุ อยทู่ ไ่ี หน การบวชในพระพทุ ธศาสนานค้ี อื คำ� ตอบ แลว้ คณุ จะพบแหลง่ แหง่ ปญั ญาอนั บรสิ ทุ ธิ์ ทมี่ คี วามสขุ และความสงบทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายในใจเกินกว่าที่เราจะจนิ ตนาการ...” (พระโทมัส สริ ิมงคฺ โล) เรอ่ื งจรงิ จากเดก็ หนมุ่ ชาวตะวนั ตกคนหนง่ึ เมอื่ อายุ ๑๖ ปี เคยออกจากบา้ นและโรงเรยี น ตดั สนิ ใจทจ่ี ะตง้ั ตน้ ชวี ติ ใหไ้ ดไ้ วกวา่ เดมิ จงึ ออกมาทำ� ธรุ กจิ ของตวั เอง และประสบความสำ� เรจ็ ไดด้ ดี ว้ ย แตก่ ลบั มบี างอยา่ งทท่ี ำ� ใหใ้ จหดหแู่ ละเศรา้ หมอง มคี ำ� ถามทผ่ี ดุ เกดิ ขนึ้ ในใจและยงั คง ติดค้างอยูอ่ ย่างนนั้ เรือ่ ยมา จนกระทัง่ วนั หนึ่งเมอื่ ตอนอายุ ๑๘ ปี เสมอื น จติ วญิ ญาณภายในบางอยา่ งตนื่ ขน้ึ เขารบั รถู้ งึ ความรกั ความเห็นอกเหน็ ใจต่อสง่ิ มีชวี ติ และนั้นคือจดุ เปลี่ยน ส�ำคัญในชีวิต เขาจึงกลับไปเรียนต่อเพ่ือจะค้นหา คำ� ตอบถงึ สง่ิ ทจ่ี ะสามารถมาเตมิ เตม็ ชอ่ งวา่ งภายในใจ นั้นได้ จวบจนจบเกียรตินิยมจากวิทยาลัยชั้นน�ำของประเทศอังกฤษภายใน ๙ เดือน ทั้งที่ คอร์สปกติใชเ้ วลาเรยี นถงึ ๒ ปี ก็ยังไมพ่ บในสิ่งท่ีใจต้องการ หลังจากน้ัน เขาได้กลับมาท�ำงานต่อพร้อมท้ังตั้งใจฝึกฝนท้ังร่างกายและจิตใจตัวเอง อยา่ งเขม้ งวดกวดขนั และเร่ิมต้นสนใจเรอื่ งของการน่งั สมาธดิ ้วย จนได้หาโอกาสไปศกึ ษากบั ผูร้ ้ทู อ่ี ยใู่ นประเทศอนิ เดยี ในแถบเทือกเขาหิมาลัย และพบว่าสมาธทิ ก่ี อ่ ก�ำเนิดข้ึน ท�ำให้เกิด ความสงบภายใน ทำ� ให้สัมผสั ไดถ้ งึ ใจตัวเอง ทำ� ใหเ้ ขาเขา้ ใจตัวเองไดอ้ ยา่ งชดั แจง้ และเขา้ ใจ ธรรมชาติของชวี ติ ไดล้ ึกซ้ึงยง่ิ ข้นึ ดว้ ยเหตนุ ้เี องเขาจึงตดั สินใจออกบวช “อาตมาชือ่ พระโทมสั สิรมิ งฺคโล เดมิ ช่ือ Thomas Harper อายุ ๒๓ ปี เป็นชาวองั กฤษ และตอนน้ีบวชพระเข้าพรรษาที่ ๑ อยู่ ณ ประเทศองั กฤษ สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 35 www.kalyanamitra.org

“อาตมาได้ประโยชน์มากจากการมาบวชเป็นพระภิกษุ เพราะเป็นวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สงบเยน็ ปลอดกังวลจากเครื่องพันธนาการตา่ ง ๆ ทัง้ เร่ืองทรัพย์ เพศ ตลอดจนการมชี ่อื เสียง เปน็ ตน้ ประกอบกบั การบวชนี้ อาตมาไดใ้ หโ้ อกาสตวั เองมเี วลาเพอ่ื ศกึ ษาความรอู้ นั สงู สง่ ของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าอันเป็นแหล่งแห่งปัญญาบริสุทธิ์ ที่เราสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้จริง ในชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ งทันสมัยใหมเ่ สมอ เป็นวทิ ยาศาสตร์และมเี หตมุ ีผล น้ีถือเป็นชว่ งเวลา ทส่ี �ำคัญในชีวติ “หลกั ๆ แล้ว เราจะไดเ้ รยี นรู้เกยี่ วกับท้ังประวตั แิ ละธรรมะของพระพุทธเจ้า ไดเ้ รยี นรู้ กฎแหง่ กรรม การเวยี นวา่ ยตายเกดิ การยดึ มน่ั ถอื มน่ั และการปลอ่ ยวาง และความมอี สิ ระจาก ทุกข์ทั้งปวงในชีวิต โดยในแต่ละวันการคิดแบบพระ พูดแบบพระ และท�ำแบบพระนั้น คือ การฝกึ ตวั ในเร่อื งของ ศีล สมาธิ และปัญญา อาตมาเรยี นร้แู ม้กระทงั่ เรอ่ื งใกลต้ วั ทีส่ ุด ดงั เช่น เทคนคิ การหายใจ การเลอื กเฉพาะปจั จัยส่ที ี่จำ� เปน็ ในการด�ำรงชีวิต การรู้จักมวี นิ ัยในตวั เอง มคี วามเคารพออ่ นนอ้ มถอ่ มตนตอ่ ผใู้ หญ่ และอดทนตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ อกี ทง้ั การรกั ษาความสะอาด ความเปน็ ระเบยี บ มคี วามสภุ าพ ตรงตอ่ เวลา และรกั ษาใจไวภ้ ายในตวั เปน็ สมาธิ ซงึ่ จะชว่ ยให้ เกดิ สมดลุ ในชวี ิตไดด้ ยี ิ่งขึ้น “กจิ วตั รของพระมที งั้ การสวดมนตท์ ชี่ ว่ ยทำ� ใหใ้ จสงบและยงั สรา้ งความสามคั คใี นหมสู่ งฆ์ มกี ารทำ� ความสะอาดเสนาสนะ ลา้ งหอ้ งนำ�้ เพอ่ื ลดทฐิ มิ านะและสรา้ งคณุ ธรรมคอื ความออ่ นนอ้ ม ถ่อมตนในตัวเรา การไม่ฉันภัตตาหารหลังเพลเพื่อฝึกฝนใจและบ�ำเพ็ญตบะ การฟังธรรม และสนทนาธรรมเพ่อื เขา้ ใจธรรมชาติของชีวติ จนเห็นสจั ธรรม และทสี่ ำ� คญั ท่ีสุดท่เี ป็นแกน่ แท้ ของคำ� สอนในพระพทุ ธศาสนา คอื การนงั่ สมาธิ ทท่ี ำ� ใหใ้ จบรสิ ทุ ธข์ิ นึ้ และเปน็ หนทางเดยี ว เพือ่ เปา้ หมายสูงสดุ คือ พระนิพพาน “สมาธิได้เปลี่ยนชีวิตอาตมาเป็นอย่างมาก จากท่ีเคยยึดติดอยู่ในกับดักทางความคิด ภายในใจทหี่ ดหใู่ ห้กลบั มามชี ีวิตท่ีมีความสุขในทุกแงม่ มุ สงบสุข เปน็ อิสระ รา่ เริง เบิกบาน และเตมิ เต็มชอ่ งวา่ งของใจอยา่ งที่อาตมาแสวงหาคำ� ตอบมาโดยตลอด “ดว้ ยความเคารพอยา่ งสงู อาตมาขอขอบคณุ วดั พระธรรมกายจากใจจรงิ สำ� หรบั ความรู้ และทุกส่ิงที่ดีท่ีได้จากการบวชพระในครั้งนี้ ทั้งหมดเป็นคุณค่าและประสบการณ์ท่ีดีมาก ๆ ในชีวิตของอาตมา” “จงก้าวตามพ่อช ้ี มชั ฌมิ า เสน้ ทางพระสมั มา พทุ ธเจ้า หยุดอยู่กง่ึ กายา ทกุ เมื่อ พบโลกตุ ตรธรรมเกา้ หลดุ พน้ สงั สาร” (ตะวันธรรม) 36 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

“ความขยนั หมนั่ เพียรอยา่ งเดียวเท่าน้นั ที่จะท�ำ ใหเ้ ข้าถงึ ธรรมกายได้ ไมเ่ คยมคี นเกียจคร้าน เขา้ ถึงธรรมกายเลยในโลก” ทบทวนโอวาทหลวงพอ่ ธัมมชโย วดั พระธรรมกาย www.kalyanamitra.org

ข่าวสารเครอื ขา่ ยคณะศษิ ย์ เรอื่ ง : องอาจ ธรรมนทิ า โฆษกคณะศษิ ยานศุ ษิ ยว์ ดั พระธรรมกาย พระเทพรัตนสุธี เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี ได้รับการถวายรางวัลผู้อุปถัมภ์และคุ้มครอง พระพทุ ธศาสนา “ดา้ นสาธารณปู การ” สวสั ดคี รบั พบกนั เดอื นนมี้ ขี า่ วสารงานบญุ และการขบั เคลอื่ นโครงการเพอ่ื ฟน้ื ฟศู ลี ธรรม โลก ซึ่งทางเครือข่ายคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกายมีส่วนในการขับเคล่ือนด�ำเนินงาน รว่ มกบั คณะสงฆแ์ ละภาคเี ครอื ขา่ ยบวรในพน้ื ทจี่ งั หวดั ปทมุ ธานี มาใหท้ กุ ทา่ นไดร้ ว่ มอนโุ มทนา เพ่อื “ผลบญุ เปน็ ของทกุ ท่าน ผลงานเปน็ ของทุกคน” เช่นเคยครับ ขอเร่ิมต้นด้วยข่าวอันเป็นมงคลที่พระเดชพระคุณพระเทพรัตนสุธี เจ้าคณะจังหวัด ปทมุ ธานี เจา้ อาวาสวดั เขยี นเขต (พระอารามหลวง) และประธานคณะอนกุ รรมการโครงการ วัด ประชา รฐั สรา้ งสขุ ฝา่ ยสาธารณูปการของมหาเถรสมาคม ไดร้ ับการถวาย “พระปฐม- เจดยี ท์ อง” รางวลั ผอู้ ปุ ถมั ภแ์ ละคมุ้ ครองพระพทุ ธศาสนา “ดา้ นสาธารณปู การ” จากพลอากาศเอก ชลติ พกุ ผาสขุ องคมนตรี ผู้แทนพระองคใ์ นการบ�ำเพญ็ พระราชกุศลเน่อื งในวันอาสาฬหบูชา พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จึงขอน้อมกราบถวายมุทิตาสักการะมา ณ โอกาสน้คี รบั 38 อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

เครือข่ายคณะศษิ ยานศุ ิษย์ วัดพระธรรมกายท่ัวโลก พธิ ีมอบโล่เชดิ ชูเกยี รติผ้บู ำ� เพญ็ ประโยชน์ฯ ขอแสดงความยนิ ดีกบั ภาคีเครือขา่ ยภาคประชาชน จำ� นวน ๓๐ ทา่ น ในโอกาสเขา้ รบั “โลเ่ ชดิ ชเู กยี รตผิ บู้ ำ� เพญ็ ประโยชนข์ บั เคลอ่ื นภารกจิ ๖ ดา้ นของคณะสงฆ์ และเผยแผพ่ ระพทุ ธ- ศาสนาดเี ดน่ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๒” จากพระเดชพระคณุ พระเทพรัตนสุธี เจา้ คณะจังหวดั ปทมุ ธานี ในฐานะประธานศนู ยเ์ ผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาประจำ� จงั หวดั ปทมุ ธานี ซง่ึ มคี ณะศษิ ย์ ทไ่ี ดป้ ฏบิ ัตหิ นา้ ทีส่ นองงานคณะสงฆ์เขา้ รับโลเ่ ชิดชูเกียรตฯิ ในคร้งั น้ดี ว้ ยครบั ประธานคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ลงพ้ืนท่ีตรวจเยี่ยม และติดตามผลการดำ� เนนิ งานของจงั หวดั ปทุมธานี “สานสายใยศลี ๕ สานสมั พนั ธช์ ุมชน” ในโอกาสท่ีพระเดชพระคุณพระพรหมเสนาบดี ประธานคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรม ทางพระพทุ ธศาสนา “หมู่บา้ นรกั ษาศีล ๕” พร้อมด้วยคณะกรรมการฯ ส่วนกลางและประจำ� หนกลาง ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและติดตามผลการด�ำเนินงานของจังหวัดปทุมธานี ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ชุมชนบา้ นบางเด่อื อำ� เภอเมอื ง ในโอกาสนี้ คณะศิษยฯ์ และชมรมรักษ์บวร รกั ษ์ศีล ๕ ปทมุ ธานี ได้รว่ มกบั คณะทำ� งานของวัดบางเดื่อ องคก์ ร และชุมชน ในการเตรยี ม ความพรอ้ มด้านต่าง ๆ ใหผ้ า่ นพ้นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยดีงามครบั สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 39 www.kalyanamitra.org

กิจกรรมสร้างผ้นู ำ� เยาวชนคนเก่งและดี มาต่อกนั ทขี่ ่าวสารเพอ่ื การสรา้ งเยาวชนคนเก่งและดี โดยศูนยเ์ ผยแผ่พระพุทธศาสนา จงั หวดั ปทุมธานรี ่วมกบั คณะสงฆ์ และองค์กรภาคีฯ ขบั เคลอ่ื น “โครงการเผยแผพ่ ระพุทธ- ศาสนาสู่สถานศึกษา เพ่ือฟื้นฟูศีลธรรมโลก โรงเรียนรักษาศีล ๕ จ.ปทุมธานี” ประจ�ำปี การศกึ ษา ๒๕๖๒ ซง่ึ มโี รงเรยี นกวา่ ๑๐๐ แหง่ ๑,๐๐๐ หอ้ งเรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรม โดยบรู ณาการ กิจกรรมในโครงการต่าง ๆ เข้าดว้ ยกัน คอื โครงการโรงเรียนรักษาศลี ๕ ตามนโยบายของคณะสงฆ์ โครงการโรงเรียนคุณธรรม ตามนโยบายของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โครงการชุมชนคุณธรรมน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามนโยบายของกระทรวง วัฒนธรรม และโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลกของชมรมพุทธศาสตร์สากลฯ ที่ได้ด�ำเนินการ จนเกิดผลสัมฤทธ์ิเชิงบวกอย่างเป็นรูปธรรมในพ้ืนที่จังหวัดปทุมธานี ท้ังน้ี เพ่ือมุ่งหวังสร้าง “ผู้นำ� เยาวชนตน้ แบบดา้ นศีลธรรม” ทีม่ ีคุณธรรมพ้ืนฐาน พร้อมด้วยค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ และการเป็นพุทธศาสนกิ ชนทีแ่ ท้จริงครบั ผู้แทนคณะศิษย์ฯ มอบกระเป๋าเป้ “รกั ษ์โลก” สนบั สนนุ การจดั งานวนั แม่แห่งชาติ นับถอยหลังสู่วันแม่แห่งชาติ... ผู้แทน คณะศษิ ยฯ์ จงึ ไดร้ ว่ มสนบั สนนุ การจดั “งานวนั แม่ แห่งชาติ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๖๒” โดย มอบกระเป๋าเป้ “รกั ษโ์ ลก” แบบพับเก็บได้ ให้แก่ ฝ่ายจัดหาของที่ระลึก เพื่อมอบแก่ผู้ได้รับรางวัล แม่ดีเด่นแห่งชาติและลูกท่ีมีความกตัญญูกตเวที อย่างสงู ตอ่ แม่ จำ� นวน ๓๔๐ ท่าน ในปนี ค้ี รบั 40 อยู่ในบุญ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพือ่ ขับเคล่อื นโครงการวดั ประชา รัฐ สรา้ งสขุ ในโอกาสท่ีคณะศิษย์ฯ ได้ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายฯ โดยการน�ำของคณะสงฆ์จังหวัด ปทมุ ธานี ในการขบั เคล่ือนดำ� เนนิ งาน “โครงการวดั ประชา รฐั สรา้ งสขุ ” (สร้างสัปปายะ สูว่ ัดดว้ ยวิถี ๕ ส) ตามมตมิ หาเถรสมาคม เพื่อพฒั นาพน้ื ทวี่ ดั ใหส้ ะอาดร่มรน่ื พัฒนาพืน้ ท่ี ทางสังคมและการเรียนรู้วิถพี ุทธ พฒั นาพ้ืนทีจ่ ติ ใจและปญั ญาเชิงพุทธ มาอย่างต่อเนอ่ื ง ถึง ปัจจุบันได้มีการขยายผลการด�ำเนินงานในพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ โดยคณะสงฆ์ได้จัดให้ม ี การประชมุ โดยมพี ระเดชพระคณุ พระเทพรตั นสธุ ี เจา้ คณะจงั หวดั ปทมุ ธานี ในฐานะประธาน อนกุ รรมการโครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข ฝา่ ยสาธารณปู การของมหาเถรสมาคม ร่วม บรรยายแนวทางการดำ� เนนิ งานโครงการ ในหวั ข้อ “๓ พนั ธกจิ ๕ ส เครื่องมือ ๗ แนวทาง การด�ำเนินงาน ๙ แนวปฏบิ ตั ิการพัฒนาพน้ื ที่” อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทั้งน้ี กระผมในฐานะกรรมการ ผู้ช่วยเลขานกุ ารฝา่ ยประสานงานโครงการมโี อกาสตดิ ตามทำ� หน้าทเี่ ป็นผู้ชว่ ยวิทยากร จงึ ขอ น�ำบญุ มาฝากทกุ ๆ ท่านด้วยนะครับ สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบญุ 41 www.kalyanamitra.org

บทความพเิ ศษ เรื่อง : นวธรรมและคณะนักวิจยั DIRI หลกั ฐานธรรมกาย บทนมสั การพระธรรมกายในพบั สา : กุญแจดอกส�ำคัญของการสร้าง ในคมั ภรี ์พุทธโบราณ พระพทุ ธรปู ที่น้อมสู่การปฏิบัติธรรม ภายใน (ตอนที่ ๔๙) ก่อนอ่ืนผู้เขียนขออนุโมทนา บุญกับท่านผู้มีบุญทุก ๆ ท่านท่ีได ้ ร ่ ว ม บุ ญ ใ ห ญ ่ ใ น ก า ร เ ป ็ น ส ่ ว น ห นึ่ ง ในการสถาปนาอุโบสถพระไตรปิฎก ของวัดพระธรรมกายในวันอาทิตยท์ ี่ ๗ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ (วนั ที่ ๗ เดอื น ๗) อนั ถือว่าเป็นอุโบสถพระไตรปิฎกแห่งแรกของโลกที่ได้ยกเร่ืองราวของธรรมกายที่ปรากฏในคัมภีร์ พระพุทธศาสนาเถรวาทขึ้นมาสร้างไว้เป็นอนุสรณ์ให้พุทธศาสนิกชนทั้งปัจจุบันและอนาคต ได้เขา้ มาศกึ ษาเรียนรู้ ซงึ่ นบั เปน็ บญุ ใหญอ่ กี บญุ หนงึ่ ทเ่ี ราชาวพุทธควรปลม้ื ปีตใิ จร่วมกนั ส�ำหรับในเดือนนี้ ต้องถือว่าเป็นเดือนที่ส�ำคัญอีกเดือนหน่ึงของพวกเราผู้เป็นลูกศิษย์ หลานศษิ ยแ์ หง่ วชิ ชาธรรมกาย เนอ่ื งจากวนั ที่ ๒๗ สงิ หาคม ของทกุ ปนี นั้ เปน็ วนั คลา้ ยวนั ทร่ี ะลกึ ถงึ การก้าวเขา้ สรู่ ่มผ้ากาสาวพสั ตรข์ ององคพ์ ระผู้สถาปนาสถาบันวิจยั นานาชาติธรรมชัย (DIRI) ซ่ึงกน็ ับว่าเปน็ นิมิตหมายที่ดียิ่งที่ในเดอื นอนั เป็นมงคลนี้ ทางคณะทำ� งานของสถาบนั ฯ กไ็ ด้พบ “หลกั ฐานธรรมกาย” อกี ชน้ิ หนงึ่ ซงึ่ มคี วามสำ� คญั และสามารถเชอื่ มโยงไปถงึ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละ วถิ วี ฒั นธรรมทางพระพทุ ธศาสนาทส่ี ำ� คญั ไดอ้ กี หลาย ๆ มติ ิ รวมถงึ เรอื่ งของการปฏบิ ตั ดิ ว้ ย ซงึ่ จะต้องมีการศึกษาวจิ ัยกนั อย่างละเอียดลกึ ซง้ึ ต่อไป จากในฉบับท่ีแล้ว ผู้เขียนได้ทิ้งท้ายไว้ถึงเรื่องค�ำอธิบายความอันน่าสนใจจากเอกสาร งานวจิ ัยเรื่อง “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับแนวคิดเร่อื งพทุ ธในเอกสารลา้ นนา” ของอาจารย ์ บำ� เพ็ญ ระวนิ ซ่งึ ได้กล่าวถึงความสำ� คญั ของพระรตั นตรัยไวอ้ ยา่ งละเอยี ด มีการตีความถึงท่มี า และสาระส�ำคัญของพระรัตนตรัยตามที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกออกมาให้เราเห็น ทั้งยังมี การอธิบายเรื่อง “พทุ ธภาวะ” ที่อยู่ในองคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ องค์ปัจจบุ ัน เพ่ือยืนยัน ถงึ การมอี ยจู่ รงิ ของพระองคท์ า่ นไวด้ ว้ ยอยา่ งชดั เจน ซงึ่ ในจดุ นเี้ อง ผวู้ จิ ยั (คอื ทา่ นอาจารยบ์ ำ� เพญ็ ระวนิ ) กไ็ ดช้ ใ้ี หเ้ ราเหน็ ถงึ คณุ คา่ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง “เวลาของการดำ� รงความเปน็ พทุ ธะ” กับความย่ังยนื ถาวรของ “ธรรมกาย” หรือพทุ ธภาวะอันเป็นนิรันดรวา่ เป็นส่ิงท่ีสอดแทรกอยใู่ น วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนามากมาย โดยเฉพาะในวรรณกรรมลา้ นนานน้ั กล็ ว้ นปรากฏใหเ้ หน็ 42 อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

โดยทว่ั ไป การศกึ ษาวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในผนื แผน่ ดนิ ลา้ นนานน้ั เปน็ หนทางหน่งึ ท่ี จะทำ� ใหเ้ ราไดพ้ บองคค์ วามรแู้ ละความจรงิ อนั ลกึ ซง้ึ เกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนาและพระรตั นตรยั ไดอ้ กี มากมายไมร่ จู้ บ ในเวลาหลายปที ่คี ณะทำ� งานของสถาบนั วจิ ัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ลงพนื้ ที่เก็บ ขอ้ มลู ศกึ ษาวจิ ยั เรอื่ งราวหลกั ฐานธรรมกายในพนื้ ทภี่ าคเหนอื มานนั้ คณะทำ� งานกไ็ ดม้ โี อกาส พบปะกบั บรรดาครภู มู ปิ ญั ญา รวมทงั้ นกั ปราชญท์ อ้ งถน่ิ ดา้ นพระพทุ ธศาสนาหลายแขนง รวมทง้ั ครภู มู ิปัญญาท่ีมคี วามรู้ในดา้ นจารึก “อกั ษรตวั๋ เมอื ง” หรืออกั ษรธรรมล้านนาเปน็ จำ� นวนมาก ซึ่งจากข้อมูลท่ีคณะท�ำงานของเราได้รับ ท�ำให้ได้ทราบว่าท่านอาจารย์สิงฆะ วรรณสัย น้ัน ก็เป็นครูภูมิปัญญาด้านอักษรตั๋วเมืองและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาอีกท่านหน่ึงท่ีเรา ควรให้ความเคารพและศกึ ษาถงึ ประวัตแิ ละการทำ� งานของท่านใหล้ ะเอยี ดลกึ ซึ้งตอ่ ไป ท่านอาจารย์สิงฆะ วรรณสยั นน้ั ถือวา่ เปน็ บคุ คลสำ� คญั ท่านหนึง่ ในแวดวงการศึกษา วรรณกรรมล้านนาท่ีมีความเอาใจใส่ต่อการศึกษา คน้ ควา้ และอนรุ กั ษว์ รรณกรรมลา้ นนา มาอยา่ งยาวนาน ทา่ นเรมิ่ ตน้ เสน้ ทางสายนด้ี ว้ ยการศกึ ษาพระบาลใี นระหวา่ งบวชเปน็ สามเณร โดยไปศกึ ษาทว่ี ดั พระธาตหุ รภิ ญุ ไชยจนสามารถสอบได้เปรยี ญธรรมต้ังแตป่ ระโยค ๑-๔ ตาม ล�ำดบั กอ่ นทจี่ ะเขา้ มาศึกษาต่อท่ีกรุงเทพฯ ในขณะเดยี วกันกบั ท่ีทา่ นกำ� ลังศกึ ษาเพมิ่ เตมิ เพื่อ สอบเปรยี ญธรรมประโยค ๕ นัน้ ท่านอาจารย์สิงฆะกไ็ ดร้ บั มอบหมายจากอาจารย์ของทา่ น ให้เป็นผู้สอนสามเณรรุ่นหลัง ๆ ให้เข้าสอบเปรียญธรรมประโยคต้น ๆ เรื่อยมาจนกระท่ัง ทา่ นไดอ้ ปุ สมบทเปน็ พระภิกษแุ ล้ว กย็ ังคงสอนอยเู่ ป็นเวลาอีกหลายปี ด้วยอุปนิสัยของการเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนของ ทา่ นอาจารยส์ งิ ฆะเองทต่ี ดิ ตวั ทา่ นมาตง้ั แตเ่ ยาวว์ ยั แม้เม่ือท่านได้ลาสิกขาออกมาเพ่ือดูแลบิดามารดา ในช่วงเวลาต่อมา แต่ท่านยังมีความวิริยอุตสาหะ ในการเดินทางไปศึกษาค้นคว้าความรู้ต่าง ๆ อยู่ ตลอดเวลา ในภายหลังเมื่อท่านได้เข้าท�ำงานเป็น ครูประชาบาลจนถึงได้รับต�ำแหน่งเป็นครูใหญ ่ ก็ย่ิงเป็นโอกาสอันดีท่ีท�ำให้ท่านได้ไป “ลงพ้ืนที่” ศึกษาค้นคว้าความรู้ตามโรงเรียนรอบนอก ไป คน้ ควา้ หาคมั ภรี ต์ ามวดั วาอารามตา่ ง ๆ โดยทว่ั ไป อยู่เสมอ จนท�ำให้ท่านได้พบกับคัมภีร์เก่าแก่ อาจารย์สงิ ฆะ วรรณสัย  ทส่ี ามารถนำ� มาคดั ลอกไว้ หรอื หาชาวบา้ นทม่ี คี วามรู้ ปราชญ์คนส�ำคัญของจงั หวดั ลำ� พูน พออ่านออกเขียนได้มาคัดลอกไว้ได้มากมาย ซ่ึง (Picture Source : http://www.thaistudies. chula.ac.th/2018/12/17/ เหน็ ไดช้ ดั วา่ ทา่ นอาจารยส์ งิ ฆะ วรรณสยั คอื บคุ คล ประวตั ิและผลงาน-อาจารย/์ ) สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 43 www.kalyanamitra.org

ทสี่ ่ังสมไว้ซึ่งอปุ นิสัยของ นักวจิ ยั เชงิ คุณภาพและมานุษยวทิ ยาวัฒนธรรม (Ethnography and QualitativeResearcher) อยา่ งแทจ้ รงิ ทา่ นหนงึ่ อกี ทงั้ เปน็ ผมู้ วี สิ ยั ทศั นท์ ย่ี าวไกลในการอนรุ กั ษ์ คมั ภีรโ์ บราณมาตงั้ แตต่ ้นอยา่ งชัดเจน ย่ิงในภายหลังเม่ือท่านอาจารย์สิงฆะได้ลาออกจากการเป็นครูใหญ่แล้วย้ายมาสอน ดา้ นภาษาและวรรณกรรมลา้ นนาทคี่ ณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ กย็ งิ่ ทำ� ใหป้ ระตู ของการส่งเสริมและอนุรักษ์วรรณกรรมล้านนาของท่านยิ่งเปิดกว้างมากขึ้น ในช่วงเวลาน้ัน ทา่ นอาจารย์สิงฆะไมเ่ พยี งเรยี บเรียงต�ำราวรรณกรรมลา้ นนาขน้ึ เท่านัน้ ท่านยงั พยายามฟื้นฟู และเผยแพร่ “อักษรตวั๋ เมอื ง” ลา้ นนาออกไปอย่างแพรห่ ลายด้วย เพ่ือหวงั ให้คนรนุ่ ต่อ ๆ มา สามารถอา่ นออกเขยี นได้ โดยไมใ่ หถ้ กู จ�ำกดั อยแู่ ตเ่ พยี งภาษาพดู อยา่ งเดยี ว ซง่ึ จงั หวะกา้ วน ี้ ถือเป็นจังหวะก้าวท่ีส�ำคัญที่มีคุณูปการอย่างยิ่งต่อการศึกษาคัมภีร์โบราณล้านนาของนักวิจัย รุน่ ตอ่ ๆ มาโดยตรง พระธรรมนันทโสภณ (มนต์ คณุ าธาโร ป.ธ.๓) เจา้ อาวาสวดั ชา้ งค้�ำ จ.น่าน (ซา้ ยบน) ศาสตราจารยฮ์ าราล ฮุนดอิ สุ ศาสตราจารยฮ์ าราล ฮนุ ดิอสุ (Prof. Dr. Harald Hindihus) (ขวาบน) (Prof. Dr. Harald Hindihus) อาจารยอ์ บุ ลพรรณ วรรณสยั (ขวาล่าง) การด�ำเนินการศึกษาและอนุรักษ์ อาจารยส์ มเจตน์ วิมลเกษม (ซา้ ยล่าง) คัมภีร์โบราณล้านนาของท่านอาจารย์สิงฆะ และนอกนิบาต พระไตรปฎิ ก คมั ภรี ์บทสวด วรรณสัย ท�ำให้วรรณกรรมล้านนาสามารถ ส�ำคัญ ๆ จ�ำนวนมาก ซง่ึ ลว้ นแตม่ คี ณุ คา่ กา้ วออกไปยงั แวดวงนกั วชิ าการตา่ งประเทศ ต่อการคงไว้ของพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง ด้วย โดยศาสตราจารย์ฮาราล ฮุนดิอุส แม้ว่าท่านอาจารย์สิงฆะ วรรณสัย (Harald Hindihus) ชาวเยอรมัน ก็เป็น จากไปนานแลว้ แตท่ ายาทของทา่ นคอื อาจารย์ หนึ่งในน้ัน ซึ่งในภายหลังท้ังอาจารย์สิงฆะ อบุ ลพรรณ วรรณสยั กย็ งั เปน็ ผู้สืบสานงาน วรรณสยั และศาสตราจารยฮ์ าราล ฮุนดอิ สุ ของท่านอาจารย์สิงฆะต่อมา ทั้งในด้าน มีโอกาสท�ำงานวิจัยร่วมกันเป็นจ�ำนวนมาก การอนรุ กั ษ์คมั ภีร์ (การถ่ายภาพไมโครฟิลม์ เช่น โครงการส�ำรวจคัมภีร์ใบลานในเขต เกบ็ ไวเ้ พอ่ื ใชใ้ นการอา่ นและปรวิ รรต) การอา่ น ๘ จงั หวดั ภาคเหนอื ทำ� ใหไ้ ดพ้ บวรรณกรรม คัมภีร์ตั๋วเมือง ตลอดจนการน�ำคัมภีร์ท่ี ล้านนา วรรณกรรมชาดกท้ังในนิบาต ถ่ายไมโครฟิล์มไว้มาพัฒนาเป็นการถ่าย 44 อยู่ในบุญ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ในระบบดิจิทัล เป็นต้น ซ่ึงได้ชว่ ยใหเ้ สน้ ทางของการศกึ ษาเทยี บเคยี งความถกู ตอ้ งของคมั ภรี ์ ทพี่ บตามวดั วาอารามตา่ ง ๆ นนั้ มคี วามชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ ถกู ตอ้ งมากยง่ิ ขนึ้ ทใี่ นทส่ี ดุ แลว้ ไดท้ ำ� ให้ อาจารยอ์ บุ ลพรรณ วรรณสยั ไดพ้ บกับหลกั ฐานชิน้ สำ� คัญช้นิ หนึง่ ก็คือ บทสวดเกา่ แกใ่ นพบั สา ทีม่ ชี อ่ื ว่า “นมสั การธรรมกาย” นั่นเอง อาจารยอ์ บุ ลพรรณ วรรณสัย ไดเ้ ล่าใหค้ ณะ ท�ำงานฟังว่า การพบบทสวดในพับสานี้ถือเป็นเรื่อง อัศจรรย์เร่ืองหนึ่ง เพราะโดยทั่วไปแล้วเรื่องท่ีม ี การบนั ทกึ ไวใ้ นพบั สานนั้ “เขาไมค่ อ่ ยจะบนั ทกึ ในเรอ่ื ง เก่ียวกับธรรมะหรือว่าวรรณกรรมมากเท่าไรนัก... เร่ืองท่ีบันทึกไว้ในพับสาส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของ ตัวผู้บันทึกเอง...แต่ในที่สุดก็ท�ำให้ได้มาพบเร่ือง นมสั การธรรมกาย โดยทห่ี นา้ ปกเขยี นไวว้ า่ เปน็ เรอื่ งของ การภาวนา...กพ็ บวา่ มหี ลายวธิ กี ารเกยี่ วกบั การภาวนา เรือ่ งกรรมฐานทัง้ หลาย จนเปิดมาก็เจอ เราก็เปิดมา ในชว่ งทา้ ย ๆ พบั สา เรากเ็ จอ เรอื่ งนมสั การธรรมกาย อาจารยอ์ ุบลพรรณ วรรณสัย ที่มีระบุคำ� ว่า ธรรมกาย อยูห่ ลายแห่ง สว่ นขา้ งบน ผูเ้ ช่ียวชาญด้านล้านนาคดีศกึ ษา เป็นภาษาบาลี ข้างล่างก็จะแปล...”1 อาจารย์อุบลพรรณยังกล่าวอีกว่า บทสวดนมัสการธรรมกายท่ีพบน้ัน มีระบุถึง ชอื่ เจา้ ภาพผสู้ นบั สนนุ การเขยี นไวอ้ ยา่ งเรยี บรอ้ ย มชี อ่ื ผเู้ ขยี น วนั -เวลาทเ่ี ขยี นไวค้ รบถว้ น โดย บทนมสั การธรรมกายน้ี ระบไุ วว้ า่ สามเณรรปู หนง่ึ จากสำ� นกั คณะเชยี งยนั วดั พระธาตหุ รภิ ญุ ชยั - วรมหาวหิ าร จ.ลำ� พนู อายรุ าว ๆ ๑๘-๑๙ ปเี ปน็ ผเู้ ขยี นไว้ อายขุ องพบั สานน้ี า่ จะมคี วามเกา่ แก่ เกิน ๑๒๐ ปแี ลว้ เพราะบันทึกไว้ต้ังแต่ปีจลุ ศกั ราช ๑๒๖๒ (พทุ ธศักราช ๒๔๔๓) ซ่งึ เนือ้ หาที่ ปรากฏในบทนมัสการธรรมกายดงั กลา่ ว เป็นการอธิบายถงึ ความเชื่อมโยงกนั ระหวา่ งธรรมะ ของพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ กบั พระวรกายของพระองคโ์ ดยตรง ตงั้ แต่พระโมฬี (มนุ่ พระเกศา) ลงมาจนถงึ ปลายพระบาท โดยในสว่ นสดุ ทา้ ยของคำ� นมสั การธรรมกายนย้ี งั มกี ลา่ วถงึ อานสิ งส์ ของการสวดภาวนาบทนีไ้ ว้ด้วยวา่ หากวา่ ใครหมนั่ ภาวนา หรือปรารถนาพุทธภมู ิ พทุ ธภาวะ คือความเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต หรือว่าปรารถนาท่ีจะเอานิพพานเป็นเป้าหมายก็จะสม ความปรารถนา และยงั มอี านสิ งสอ์ กี สว่ นหนงึ่ คอื หากผใู้ ดหมน่ั ภาวนา(บทนมสั การธรรมกาย) นอี้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งกจ็ ะสง่ ผลมไิ ดไ้ ปตกอบายภมู ิ (คอื มแี ตส่ คุ ตเิ ปน็ ทไี่ ปโดยสว่ นเดยี ว) ทงั้ นเี้ ชอื่ วา่ บทนมสั การธรรมกายนน้ี า่ จะมกี ารนำ� ไปคดั ลอกและปรวิ รรตใหเ้ ปน็ สำ� นวนทสี่ อดคลอ้ งไปตาม 1สมั ภาษณ์ อาจารย์อุบลพรรณ วรรณสัย บตุ รสาวของทา่ นอาจารย์สิงฆะ วรรณสัย ครภู ูมิปัญญาด้านจารกึ อกั ษรตวั๋ เมอื งลา้ นนา, เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 45 www.kalyanamitra.org

แตล่ ะพนื้ ที่ ทางลา้ นนากจ็ ะเปน็ สำ� นวนทางลา้ นนา ทางภาคกลางกเ็ ปน็ ของภาคกลาง ทาง อีสานกเ็ ป็นของอีสาน แต่สว่ นทเ่ี ป็นสาระสำ� คัญกน็ ่าจะเหมอื นหรือคล้ายคลงึ กนั 2 ดังจะไดย้ ก บางสว่ นของบทนมสั การธรรมกายมาเสนอไว้ในท่ีนี้ ดังนี้  “...พทุ โฺ ธ อนั วา่ พระพทุ ธเจา้ ตนทร่ี ยู้ งั สัจจธัมม์ท้ัง อติวิโรจติ ก็รุ่งเรืองงามย่ิงนัก อญฺเสํ เทวมนุสฺสานํ กว่าคนและเท (ว) ดาทล้าฝูงอื่น ยสฺส ตมุตฺตมงฺคาทิาณํ อนสุ รติ พพฺ นฺติ อมิ ํ ธมมฺ กายํ อนั ว่าหมูธ่ มั ม์ อันนี้ สพฺพญูตาทิกํ อันมีพระยาสัพพญูต- ญาณเป็นตน้ ตํ าณํ อันว่า ประยาอันน้ัน อุตฺตมงฺคาทิ..องค์อันประเสริฐมีหัวเป็นต้น ยสฺส ตถาคตสฺส อันพระพุทธเจ้าตนไดย อธิคตํ หากได้เถิงแลว้ วรํ นเมตํ โลกนายกํ อหํ อนั วา่ ขา้ นเมมวา นมามิ กน็ อ้ มไหว้ บดั นี้ วดั พระธาตหุ รภิ ญุ ชยั วรมหาวหิ าร ตํ พทุ ธฺ ํ ยงั พระพุทธเจา้ ตนน้นั วรํ อันเปน็ พระอารามหลวง จ.ล�ำพนู ตนประเสรฐิ อตุ ตมฺมํ โลกนายกํ อันน�ำยังสตฺตโลก ออกจากสงสาร หอื้ ไดเ้ ขา้ สนู่ พิ พาน อมิ ํ ธมฺมกายํ ยงั พระธมั มกายอันน้ี พุทธฺ ลกขฺ ณํ เป็นลกั ขณแหง่ พระพทุ ธเจา้ โยคาวจรกลุ ปุตฺเตน อนั กลุ บตุ รตนประกอบดว้ ยเพยี ร ตกิ ขฺ าเณน อนั มปี ระยาอนั กลา้ คม ปตเฺ ถนเฺ ตน อนั ปรารถนา สพฺพญฺญูพุทฺธภาวํ ยังอันเป็น สัพพัญญูพุทธภาวะนั้น อนุสริตพฺพํ เพิงระนึกเถิงตาทิคุณ แห่งพระพุทธเจ้า ปุนปฺปุนํ ไจ้ย ๆ คือว่าข้ึนปากข้ึนใจได้แล้วเพิงจ�ำเริญ สวาทธิย...ไหว ้ พระเจ้าชูวันอย่าขาดก็อาจเป็นปรไจย..กวยาตนในภวอันน้ี (แล) อันหน้าพุ้น ได้เถิงมัคคผล นพิ พานก็มดี ้วยประการดงั กล่าวมานแ้ี ล ธัมมกายมที ง้ั ฝ่ายนมสกานมที ง้ั เคลา้ แล้ว...”3 การค้นพบบทสวดนมัสการธรรมกายข้างต้นน้ี นับได้ว่าเป็นสิ่งที่ช่วยยืนยันถึงวิถี วัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีส�ำคัญอันหน่ึงท่ีน่าสนใจ (ดังท่ีคณะท�ำงานของสถาบันวิจัย นานาชาตธิ รรมชยั ไดเ้ คยนำ� เสนอไวห้ ลายครง้ั กอ่ นหนา้ น)้ี นน่ั กค็ อื วฒั นธรรมการสวดเพอ่ื สรา้ ง ความศักด์ิสิทธิ์ให้แก่พระพุทธรูป หรือการสร้างพระพุทธรูป ดังปรากฏในต�ำราการสร้าง พระพุทธรูปเมืองพะเยา ก็ด้วยแนวคิดดั้งเดิมท่ีมีมาแต่โบราณว่า เมืองพะเยาเป็นเมืองแห่ง พระเจา้ ตนหลวง (วดั ศรีโคมคำ� ) และเป็นเมืองแหง่ สกลุ ชา่ งท่แี กะสลกั “พระพทุ ธรปู หินทราย” 2สัมภาษณ์ คุณก�ำพล ฟูค�ำ ผู้ช่วยเก็บข้อมูลพ้ืนฐานการอนุรักษ์คัมภีร์โบราณของอาจารย์อุบลพรรณ วรรณสัย, เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ 3คัดจากบางส่วนของบทนมัสการพระธรรมกาย อ่านเป็นภาษาล้านนา 46 อยู่ในบญุ สิงหาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org

ส่วนหน่ึงของพับสาว่าด้วยเรอื่ งภาวนา มีปรากฏระบคุ �ำวา่ “ธรรมกาย” (ในกรอบสแี ดง) อยู่หลายแห่ง อาทิ ธมฺมกายพทุ ฺธลกฺขณํ อันมํธมฺมกายํ อมิ ํ ธมฺมกายํ เป็นต้น ท่ีเรียกว่า “สกุลช่างพะเยา”4 ซ่ึงนักวิชาการทางพระพุทธศาสนา โบราณคดีหลายท่านได้ม ี การศกึ ษาและสำ� รวจตำ� ราการสรา้ งพระพทุ ธรปู ตา่ ง ๆ กนั ไวอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง จนทำ� ใหไ้ ดพ้ บเอกสาร ต�ำราดังกล่าวฉบับหนึง่ เรยี กว่า “ต�ำนานสรา้ งพระเจ้า (พระพุทธรปู ) ฉบบั วดั เชียงหม้นั ” ซ่งึ ตำ� นานน้ี เปน็ เอกสารโบราณเขยี นบนั ทกึ ไวใ้ นพบั สา เรยี กวา่ “พบั กอ้ ม” เนอื้ ในบนั ทกึ ความรู้ หลายเร่ือง นบั แตก่ ารแจงลกั ษณะสำ� คัญของพระพทุ ธรูป สดั ส่วนของพระพทุ ธรูป ตลอดจน พระคุณสมบัตสิ ำ� คญั เรียกวา่ ธรรมกาย การสรา้ งพระพุทธรปู ดงั กล่าวน้ี ถอื เปน็ สือ่ ใหร้ ำ� ลึกถงึ กายธรรมของพระองค์ เมอื่ กราบไหว้ ใหส้ วดคำ� สรรเสรญิ พทุ ธคณุ นอ้ มเขา้ ในใจของตน  เชน่ เดยี ว กบั การสรา้ งสว่ นตา่ ง ๆ ของพระพทุ ธรปู นบั แตพ่ ระโมลลี งมาถงึ พระบาท กม็ บี ทสรรเสรญิ พทุ ธ แตล่ ะอยา่ งใหเ้ ขยี นลงในวสั ดตุ า่ ง ๆ เชน่ แผน่ เงนิ แผน่ ทองคำ� ทองแดง เหยี ก(ตะกว่ั ) เปน็ ตน้ ตามแต่หาได้ ส่ิงทีจ่ ดั หามานีไ้ ด้ใส่พุทธคุณไว้แตล่ ะบท เรยี กว่า “สรา้ งกายธรรม” แลว้ นำ� ไป บรรจตุ ามสว่ นตา่ ง ๆ ของพระพทุ ธรปู บอกวธิ สี รา้ งหวั ใจพระพทุ ธรปู กำ� หนดขนาดของอวยั วะ ภายในตา่ ง ๆ เช่น หวั ใจ ตบั ปอด ม้าม เอาไวช้ ดั เจน และช้แี จงพิธีการสวดพทุ ธาภิเษก เอาไว้ด้วย ซึ่งก็ตรงกับทัศนะของ “องค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย” ท่ีท่านได้ เคยกล่าวไว้ว่าคุณลักษณะของพระธรรมกายนั้นมิได้เป็นแต่เพียงองค์ธรรมหมวดหมู่ค�ำสอน เท่าน้ัน แต่เป็นประดุจด่ังพระวรกายที่แท้จริงภายในเลยทีเดียว ซึ่งทางคณะท�ำงานวิจัยของ สถาบันวจิ ยั นานาชาติธรรมชยั กำ� ลังศึกษาวจิ ัยอย่างละเอยี ดและจะได้นำ� เสนอต่อไป (อ่านต่อฉบับหน้า) 4อ้างอิงจากต�ำราการสร้างพระพุทธรูปจากคัมภีร์โบราณ http://phil-re4you.blogspot.com/2016/03/ blog-post_23.html สิงหาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ 47 www.kalyanamitra.org

ดบั ไฟใต้ เร่อื ง : มาตา เราจะละเลยเรอ่ื งนี้ ได้อย่างไร เมื่อเอ่ยถึงการก่อการร้ายใน ๔ จังหวัดภาคใต้ คนไทยส่วนใหญ่ล้วนเคยได้ยินข่าวนี้ แตถ่ า้ พดู ถงึ การชว่ ยเหลอื พระภกิ ษแุ ละชาวพทุ ธทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณ์ มสี กั กคี่ นทร่ี ู้ พธิ ถี วายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ ๓๒๓ วัด และ พธิ ีท�ำบุญอุทิศสว่ นกศุ ลแด่ผู้วายชนม์ จากเหตุการณค์ วามไมส่ งบใน ๔ จงั หวัดภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส และ ๔ อำ� เภอ ใน จ.สงขลา) เปน็ พธิ ที จี่ ดั ขน้ึ เพอื่ ใหก้ ำ� ลงั ใจพระภกิ ษสุ งฆแ์ ละพนี่ อ้ งชาวพทุ ธทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ จากการก่อการร้าย และทส่ี �ำคัญเพื่อชว่ ยต่อลมหายใจพระพุทธศาสนาบริเวณด้ามขวานทอง เอาไว้ไม่ใหข้ าดห้วงลง 48 อยู่ในบญุ สงิ หาคม ๒๕๖๒ www.kalyanamitra.org