คมู่ ือผ้ฝู ึกสอนกฬี าฟุตบอล ถา้ ทราบเรอ่ื งนอ้ี าจคำ� นวณไดว้ า่ เขาเสยี เกลอื ไปเทา่ ใดและกำ� หนดใหก้ นิ เขา้ ไปทดแทนเพยี งใดในขณะที่ ตอ้ งอาศยั เปรยี บเทยี บ กบั การปฏบิ ตั ใิ นทอ่ี นื่ ไปกอ่ นในสหรฐั อเมรกิ าระหวา่ งฤดรู อ้ นและแขง่ ขนั ฟตุ บอล (แบบอเมริกา) ในหน้าร้อนเขาก�ำหนดให้ทุกคนกิน โซเดียมคลอไรด์ วันละ 0.5 กรัม ต่อน�้ำหนักตัว 50 ปอนด์ (เท่ากับ 25 มก. ต่อ กก. โดยใกล้เคียง) และระหวา่ งหยุดพักระหว่างครึ่งเวลาใหด้ ม่ื นำ�้ ผสม 0.9% โซเดยี มคลอไรด์ 5% กลูโคสและกรดซิตรคิ (พอมีรสเปร้ยี ว) โดยไม่จำ� กัด เกลอื แร่ทต่ี อ้ งนกึ ถงึ อีกอย่างหน่ึงคือ แคลเซียม ในคนที่ด่ืมน้�ำนมเป็นประจ�ำ น�้ำนมเป็นต้นตอส�ำคัญของธาตุนี้แต่ในคน ที่ไม่คอ่ ยชอบดมื่ เช่นคนไทย ควรค�ำนงึ ถงึ “ปลาเลก็ ปลานอ้ ย” ทีเ่ รากินหมดตวั ตลอดจนกา้ งดว้ ย ส�ำหรับ วิตามินควรแก้ความเข้าใจผิดซึ่งมีอยู่ในหมู่ประชาชนส่วนมากวา่ กินวิตามิน “มากๆ” ท�ำให้อ้วนหรือแข็งแรง วิตามินไม่ใช่อาหาร จึงไม่ท�ำให้อ้วน และก็ไม่ใช่แหล่งพลังงานจึงไม่ท�ำให้อ้วน และกไ็ มใ่ ชย่ าชกู ำ� ลงั จงึ ไมท่ ำ� ใหแ้ ขง็ แรง แตถ่ า้ คนผอมหรอื คนออ่ นเพลยี เพราะสาเหตขุ าดวติ ามนิ การกนิ วติ ามินยอ่ มจะแก้ภาวะน้ันๆได้ ส�ำหรบั นักกฬี าถ้ากินอาหารอยา่ งคนท่ัวๆไป รวมท้ังมีผกั สดและผลไม้ สดพอสมควร กไ็ มน่ า่ จะขาดวติ ามนิ อยา่ งใด แตเ่ พอื่ เปน็ การเผอื่ ขาด ควรจะเพม่ิ เตมิ วติ ามนิ พวก “บ-ี รวม” ให้มากข้ึนเนื่องด้วยพวกนี้มีความส�ำคัญเกี่ยวกับการท�ำงานของกล้ามเน้ือและประสาท โดยเฉพาะ อย่างย่งิ วิตามนิ บี-หน่งึ (ไธอะมนี ) เป็นส่งิ จ�ำเปน็ สำ� หรับการทำ� งานของกลา้ มเนอื้ จึงตอ้ งจัดใหไ้ ดเ้ กนิ ความตอ้ งการไว้ ยงิ่ มกี ารออกกำ� ลงั กายมากกย็ งิ่ มคี วามตอ้ งการมากขน้ึ หากคำ� นวณตามปรมิ าณ แคลอรี ในจ�ำนวน 3,000 ถึง 4,500 แคลอรี อาจต้องการวิตามิน บี-หนึ่ง ประมาณ 4-5 มิลลิกรัมต่อวัน แต่ถงึ แม้จะได้รับมากกวา่ น้สี ักสิบเทา่ กไ็ มเ่ ปน็ ผลรา้ ยแตป่ ระการใด ข้อสุดท้ายท่ีควรค�ำนึงในเรื่องอาหารคือการแบ่งส่วนแคลอรีออกไปตามเวลาท่ีกินอาหารซ่ึงควร จะเป็นส่วนเท่ากันหรือเกือบเท่ากันสามหรือส่ีเวลา ส่ิงท่ีไม่ควรท�ำคือการกินอาหารเช้าเพียงเล็กน้อย แล้วไปบรรจุเต็มทใ่ี นมอ้ื เยน็ แมจ้ ะเพ่ิงตืน่ นอนมาใหม่ๆ รา่ งกายกต็ อ้ งการอาหารส�ำหรบั การออกกำ� ลัง กายเช่นกันการฝกึ ซอ้ มกฬี าซ่งึ มักทำ� ในเวลาเช้า การซ้อมในภาวะท้องว่างอาจเปน็ เหตใุ หป้ ระสิทธภิ าพ ตกตำ่� และอาจมโี รคทางเดนิ อาหารแทรกซอ้ นไดง้ า่ ย สว่ นการกนิ อาหารในมอื้ เยน็ มากเกนิ ไปนนั้ กอ็ าจมี เวลาน้อยไปส�ำหรับการยอ่ ยกอ่ นถึงเวลาเข้านอนทำ� ใหอ้ าหารถกู ย่อยไปหมด เกดิ ทอ้ งขนึ้ ทอ้ งเฟ้อ และ ฝนั รา้ ยนอนไมส่ นทิ เปน็ ผลเสยี ตอ่ ไป ดงั นน้ั ในระหวา่ งการฝกึ ซอ้ มกฬี าจงึ สมควรปรบั ปรงุ นสิ ยั ในการกนิ อาหารไปเสียดว้ ย ถ้าจัดไดด้ ังกลา่ วน้กี ารใช้ยายอ่ ยอาหารกค็ งไม่มคี วามจ�ำเปน็ 143
คูม่ ือผฝู้ ึกสอนกฬี าฟุตบอล บทที่ 8 ส่ิงน่าร้สู ำ� หรบั ผู้ฝึกสอน วตั ถปุ ระสงค์ของการฝกึ 1. กระตุน้ ให้ผเู้ ล่นมีการต่นื ตัวอยู่ตลอดเวลา 2. กระตุน้ ใหเ้ กดิ ความฉับไวในการคิดและการตอบโต้ 3. สง่ เสริมการเลน่ แบบสลบั ตำ� แหนง่ และหน้าทีข่ องผู้เล่นในระหว่างการเลน่ 4. เนน้ ให้ผเู้ ล่นตระหนกั ถึงความส�ำคญั ของจังหวะ และการประสานงานกนั ในทมี 5. สอนใหผ้ เู้ ลน่ พัฒนาวธิ กี ารใช้พื้นทีข่ องสนามใหเ้ กิดประโยชน์ สง่ิ ต่างๆ เหล่าน้ีจะชว่ ยเสริมสร้างความเข้าใจ และเพ่ิมพูนความสามารถทั้งในดา้ นเฉพาะตัวของ ผเู้ ล่นและของทีมใหด้ ขี ้ึน หลกั การในการเรียนรทู้ กั ษะการเลน่ ฟตุ บอล อะไรคอื ปจั จยั ของทักษะในการเลน่ กีฬาฟตุ บอล ความสามารถในการมที กั ษะในการเลน่ รว่ มกบั เพอ่ื นรว่ มทมี อกี 10 คน และเลน่ กบั ผเู้ ลน่ ฝา่ ยตรงขา้ มอกี 11 คน ในการเลน่ ฟตุ บอลสภาพทกั ษะมคี วาม ยุ่งยากและท�ำนายได้ยาก ผู้เล่นจ�ำเป็นต้องควบคุมและผ่านลูกได้แม่นย�ำเพราะบุคคลเป้าหมาย (เพื่อ ร่วมทีม) และท่ีส�ำคัญกว่านั้น ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามสามารถเข้ากีดขวางการใช้ก�ำลังแย่งลูกและอ่ืนๆ ได้ ตลอดเวลา การถา่ ยทอดทฤษฎีการฝึก หากผู้ฝกึ สอน ตอ้ งการให้สภาพการฝึกมปี ระสิทธิภาพท่สี ดุ แล้ว จะต้องสร้างสภาพใหค้ ลา้ ยคลงึ กับการแข่งขันจริงๆ มากที่สุด ดังน้ันในการฝึกทุกคร้ังเพื่อให้ได้มากซ่ึงการศึกษาทักษะอย่างมี ประสิทธภิ าพ ควรจะมีปัจจัยสำ� คญั ของการแข่งขันจริงๆ ซึง่ ไดแ้ ก่ 1) กฎกตกิ า ผู้เล่นและผู้ฝึกสอนต้องเข้าใจกฎกติกาเพ่ือใช้ในกลยุทธ์และทักษะการเล่น (เช่น อย่าตกหลมุ พรางการล�้ำหน้าและอืน่ ๆ ) 2) คูต่ ่อสู้ ผเู้ ลน่ จะตอ้ งตดั สนิ ใจใชเ้ ทคนคิ และทกั ษะ โดยคำ� นงึ ถงึ ตำ� แหนง่ ของคตู่ อ่ สหู้ รอื ผู้เลน่ ฝ่ายตรงข้าม 3) เพื่อร่วมทีม ผู้เลน่ ต้องเรยี นรกู้ ารเลน่ ประสานกับเพื่อนร่วมทมี 4) ทศิ ทาง จกั ตอ้ งมเี ปา้ หมาย (เพอื่ นรว่ มทมี หรอื ประตู ฯลฯ) หรอื ทศิ ทางสำ� หรบั ฝา่ ยรบั และรกุ 144
คู่มอื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟตุ บอล 5) การแข่งขนั การถา่ ยทอดในสภาพการฝึกจะท�ำได้น้อยมาก ถา้ ผูเ้ ล่นไมเ่ รยี นรู้การ เลน่ ดว้ ยทักษะในสภาพการแข่งขนั จรงิ ๆ 6) การสง่ ลกู เขา้ ใหเ้ ล่น สามารถควบคุมและใช้ได้หลายๆ วิธีตามความหนักเบาของการฝึก ควรหลกี เลี่ยงการใชเ้ ครื่องกลชว่ ย วธิ ีการฝกึ สอน จดุ มุ่งหมายของผู้เป็นโคช้ คอื หาวิธีการทเี่ ร็วและมปี ระสิทธภิ าพทส่ี ดุ ในการทำ� ใหผ้ ้เู ลน่ หรือกลมุ่ ผเู้ ล่นสามารถเล่นฟตุ บอลได้ดีข้นึ ในทกุ ๆ แงข่ องการเลน่ บรรดาผ้เู ล่นต่างก็แตกตา่ งกนั ในแต่ละบคุ คล ในขณะที่ผู้เล่นคนหนึ่งอาจมีปฏิกิริยาในทางบวกต่อวิธีการฝึกสอนแบบหน่ึงแต่ผู้เล่นอีกคนหน่ึงอาจ ไม่เป็นเช่นนั้น โค้ชต้องมีความรู้เก่ียวกับวิธีการฝึกสอนที่แตกต่างออกไปและรู้ว่าควรจะใช้วิธีไหนตาม สถานการณท์ ่เี กดิ ขน้ึ (1) หยดุ การเลน่ เมื่อโค้ชบอกให้หยุดการเล่นในสถานการณ์หน่ึงสถานการณ์ใด ซึ่งทุกคนสามารถเห็นได้ ชัดเจนวา่ ท�ำอะไรผดิ พลาด ซง่ึ โค้ชสามารถบอกหรอื แนะน�ำวธิ กี ารอน่ื ๆ ให้กับผเู้ ล่นได้ (2) การสาธติ ผฝู้ กึ สอนสาธติ เกยี่ วกบั หวั ขอ้ เรอื่ งทกี่ ำ� ลงั ฝกึ ฝนกนั อยโู่ ดยใชต้ วั เอง หรอื ผเู้ ลน่ 2-3 คน โดย ผเู้ ลน่ ทเ่ี หลือจะเปน็ ผู้สังเกตการณ์ การสาธติ อาจท�ำในรูปแบบ “เปดิ ขั้นตอน” หรือ “แสดงท่าช้าๆ” (3) การสร้างเงื่อนไข ผฝู้ กึ สอน อาจกำ� หนดเงอ่ื นไขเพอื่ กำ� จดั นสิ ยั ไมด่ ใี นการเลน่ หรอื เนน้ ความสำ� คญั ของหวั ขอ้ เรื่องด้วยการอธิบายซ�้ำ กติกาพนื้ ที่ในสนามอาจนำ� มาใช้ และใหค้ ะแนนสำ� หรับการเลน่ ท่ดี แี ละประสบ ความส�ำเร็จในหวั ขอ้ เรอื่ งท่ีเกย่ี วข้อง (4) การใหค้ ำ� แนะน�ำกอ่ นเลน่ ผู้ฝึกสอน จะคอยตะโกนให้ค�ำแนะน�ำหรือข้อมูลแก่ผู้เล่นในขณะก�ำลังเล่น เพื่อช่วยให้ผู้ เลน่ อา่ นเกมออกหรอื มองเหน็ สถานการณก์ อ่ นทจี่ ะเกดิ ขนึ้ บางครงั้ โคช้ อาจตดิ ตามผเู้ ลน่ ไปรอบๆ สนาม ดว้ ยระหวา่ งฝกึ ซ้อม (5) เลน่ แบบบบี บังคบั วิธีการนี้อาจใช้เพื่อเพิ่มพูนความแข็งแรงของร่างกายหรือทักษะโดยการเพ่ิมความรวดเร็ว ของการสง่ ลกู บอลให้ เพอ่ื เพมิ่ และเสรมิ แรงเทคนคิ ของเกม นอกจากนที้ กั ษะการถกู บงั คบั ดว้ ยการจำ� กดั บริเวณเล่นให้แคบลง หรอื เพ่ิมจำ� นวนผ้เู ล่นหรือทำ� การฝึกให้มีลกั ษณะเหมือนการแข่งขนั มากขึ้น (6) เทคนิคของค�ำถามและคำ� ตอบ การฝึกสอนคอื การสื่อสารระหว่างผฝู้ ึกสอนและผเู้ ลน่ บังคับใหผ้ ู้เลน่ ตอ้ งคดิ เก่ียวกบั เกม 145
คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล ด้วยการทา้ ทายให้ผ้เู ลน่ หาคำ� ตอบมาแกป้ ญั หาตา่ งๆ ตามทเ่ี ราตง้ั ขนึ้ อยา่ เพยี งแตบ่ อกให้ผเู้ ลน่ ทำ� อะไร แตค่ วรบอกพวกเขาวา่ ท�ำไมเขาจงึ กำ� ลังท�ำเชน่ น้ัน (7) ความรูส้ กึ ทางรา่ งกาย เทคนิคที่ดีอันหน่ึงที่จะใช้กับผู้เล่นบางคนได้ดีก็คือ พยายามให้เขาต้ังใจสังเกตว่าการกระท�ำ อยา่ งหนงึ่ นน้ั จะใหค้ วามรสู้ กึ ทางรา่ งกายอยา่ งไร และทำ� ใหพ้ วกเขาจดจำ� และนำ� ไปใชส้ มอง และอวยั วะ สมั ผสั ทม่ี อี ยใู่ นกลา้ มเนอื้ ของรา่ งกาย เพอื่ ใหร้ สู้ กึ ถงึ การเคลอ่ื นไหว (เชน่ ผา่ นลกู โดยไมต่ อ้ งมองลกู ฯลฯ) (8) วธิ กี ารของการฝกึ สอน สามารถใช้ไดห้ ลายวิธี เชน่ การเลน่ แบบบีบบงั คบั เทคนคิ ของแตล่ ะบุคคล เล่นเกมใชท้ ักษะ เบาๆ สนามเลก็ ๆ สรา้ งสมรรถภาพทางกาย ฯลฯ เทคนิคการฝึกสอนและการสอน ก่อนทกี่ ารฝึกสอนท่มี ปี ระสทิ ธิภาพจะเกิดข้นึ ไดน้ ้นั ตัวผู้ฝกึ สอนเองจะตอ้ งมีความตระหนกั และ ความรใู้ นเรอื่ งเทคนคิ การสอน ซงึ่ ทง้ั สองสว่ นนเ้ี ปน็ ปจั จยั สำ� คญั ของการฝกึ สอน การสอนเปน็ ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งครกู บั กลุ่มผ้รู บั การฝกึ สอน ในแงข่ องการกระทบกนั ระหว่างอุปนสิ ัยสว่ นบุคคลตา่ งๆ ลักษณะ ของผฝู้ กึ สอนอาจแสดงออกถงึ ความมปี ระสทิ ธภิ าพและความตง้ั ใจตอ่ กจิ กรรมทเ่ี ขากำ� ลงั กระทำ� ซงึ่ อาจ จะช่วยในด้านความสัมพันธ์ระหว่างตัวเขากับกลุ่มผู้รับการฝึกความประทับใจคร้ังแรกอาจจะยากที่จะ ลบเลอื นได้ จึงควรพยายามเริ่มต้นใหด้ ี สรปุ แลว้ ลักษณะและการปฏิบตั ติ วั ของโคช้ ควรมีลักษณะเป็นคนสนกุ สนาน กระตือรือรน้ และ สร้างสรรค์ เสียง เปน็ สง่ิ สำ� คญั ของการตดิ ตอ่ กบั กลมุ่ ผรู้ บั การฝกึ ปจั จยั สำ� คญั ๆ ตอ่ การใชเ้ สยี งอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไดแ้ ก่ (ก) ความดังของเสยี ง ปรบั ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ (ข) ความเร็ว พดู ให้ชา้ เพอ่ื ให้ได้ยินไกลขนึ้ (ค) การออกเสยี ง/ความชดั เจน เพอ่ื ให้ได้ยินชัดเจน (ง) แสดงความรสู้ กึ ในเสียงพูด มีเสยี งสงู ต่ำ� แลพะยายามดึงดูดความสนใจ ค�ำศัพท์ โปรดจำ� ไวว้ า่ การกระทำ� ยอ่ มเขา้ ใจไดด้ กี วา่ การพดู และจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ตวั โคช้ เองโดยเฉพาะ ผู้ท่ชี อบคุยโม้ ดังน้นั โคช้ ควรใช้คำ� ศพั ท์ (ก) สั้น (ข) มคี วามหมาย (ค) เข้าจุด (ง) ตัดถอ้ ยค�ำทไี่ รส้ าระ 146
คู่มอื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าฟุตบอล การถามปัญหา เนอ่ื งจากการสอนหรอื การโคช้ เปน็ กระบวนการสอ่ื สอนสองทาง เพอื่ ใหม้ ปี ฏกิ ริ ยิ าตอบสนองจาก กลมุ่ ผรู้ บั การฝกึ กโ็ ดยตงั้ คำ� ถามทตี่ ระเตรยี มไวอ้ ยา่ งดี ซงึ่ จะทำ� ใหก้ ลมุ่ ผรู้ บั การฝกึ เขา้ มามสี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ทางดา้ นความคิดเหน็ ตลอดจนช่วยทำ� ให้มคี วามสนใจมากขนึ้ การสาธติ เปน็ การชว่ ยเสริมในภาคบรรยาย และทำ� ให้เกิดความเข้าใจมากข้ึน ควรสาธติ ซำ�้ หลายๆครง้ั จน กระทั้งกลมุ่ ผรู้ ับการฝกึ สามารถมองเห็นภาพไดเ้ ม่อื หลับตา ซึง่ จะช่วยให้ผ้ทู ่มี คี วามร้สู กึ สามารถเรยี นรู้ ไดร้ วดเร็ว การสาธิตทั้งหลาย ท่นี บั วา่ มปี ระสิทธิภาพจะต้องทำ� ให้ดีและกระจ่างแจง้ ซ่งึ นำ� ไปส่ปู ระเด็น ท่เี กย่ี วข้อง การจัดการ คอื การใชพ้ ้นื ท่ี เวลา และสงิ่ อำ� นวยความสะดวกท่มี ีอยูใ่ ห้เป็นประโยชนม์ ากทสี่ ดุ เพ่อื เสริมการ สอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ โดยพยายามให้กล่มุ เห็นการสาธิตอยา่ งชดั เจน ผู้เลน่ จ�ำนวนเลขคใี่ นกลมุ่ เล็กๆ จะท�ำใหท้ กุ คนสนใจกิจกรรมอยตู่ ลอดเวลาและรว่ มปฏบิ ตั กิ จิ กรรมได้ท่วั ถงึ ต�ำแหนง่ ตำ� แหนง่ การสอนของผฝู้ กึ สอนกบั กลมุ่ ขณะทโ่ี คช้ กำ� ลงั พดู กเ็ ปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทงั้ ผฝู้ กึ สอนและกลมุ่ ควรจะมองเหน็ หนา้ ซง่ึ กนั และกนั และอาจจะประหยดั เสยี งไดด้ ว้ ยการยนื อยตู่ รงกลางเพอ่ื ใหค้ รอบคลมุ ไปถงึ รอบๆ กลมุ่ และผทู้ อ่ี ยไู่ กลสดุ ทงั้ สองดา้ นตา่ งกไ็ ดย้ นิ อยา่ งชดั เจนนอกจากนคี้ วรคำ� นงึ ถงึ เรอื่ งอากาศ ซง่ึ อาจกระทบกระเทอื นตำ� แหนง่ ของโคช้ กบั กลมุ่ ได้ ตวั อยา่ งเชน่ พยายามหลกี เลยี่ งมใิ หก้ ลมุ่ และตนเอง ต้องถกู แสงแดดส่องเขา้ หน้า ความรู้สึก เพ่ือให้กลุ่มนักกีฬาหรือบุคคลสามารถตอบสนองโดยการต้ังใจฟังและสังเกตดู พร้อมท่ีจะปรับ หรอื ดดั แปลงตารางการฝกึ สอนใหเ้ หมาะสม และพยายามหลกี เลย่ี งมใิ หก้ ลมุ่ นกั กฬี าเกดิ ความเบอื่ หนา่ ย หรือไม่สนใจ การเตรยี ม ถงึ แมว้ า่ การตระเตรยี มจะไม่ใช่สิง่ ทีท่ �ำให้เปน็ ครูทดี่ ีไดเ้ สมอไป แต่ผูท้ ่ีคดิ เก่ียวกับโปรแกรม และ พยายามคาดคะเนปญั หาต่างๆ ทีอ่ าจจะเกิดขนึ้ มโี อกาสท�ำใหก้ ่อนเป็นผู้ฝกึ สอนประสบผลสำ� เรจ็ ได้ 147
คู่มอื ผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล จติ วิทยากบั การแขง่ ขัน การแขง่ ขนั ไมเ่ พยี งแตจ่ ะตอ้ งมคี วามพรอ้ มทางรา่ งกายเทา่ นน้ั ความพรอ้ มทางจติ ใจเปน็ สงิ่ ทสี่ ำ� คญั มากๆดว้ ย และอาจจะมากกวา่ ทางรา่ งกายดว้ ยซ�้ำ เพราะถ้าใจลองไมส่ ้แู ล้วทุกอย่างกจ็ บกนั นักกีฬาทุกคนท่ีลงแข่งขันจะต้องมีความเครียด ความวิตกกังวลไม่มากก็น้อย นักกีฬาที่เจน ประสบการณม์ าก ยอ่ มไดเ้ ปรยี บในแงก่ ารปรบั สภาพจติ สภาพอารมณ์ จนสามารถนำ� ความเครยี ดความ ตน่ื ตวั ทพี่ อเหมาะมาชว่ ยเสรมิ ความสามารถทางกายของตนเอง จนมสี มรรถภาพสงู ขน้ึ กวา่ กอ่ น การฝกึ ซอ้ ม ตรงกนั ขา้ มนกั กฬี าขาดความมนั่ ใจหรอื วติ กกงั วล จะทำ� ใหค้ วามสามารถลดนอ้ ยลงไปไดม้ ากๆ จน แทบไมน่ า่ เชอ่ื เรอ่ื งจติ วทิ ยากบั การแขง่ ขนั จงึ เปน็ เรอ่ื งทไี่ มค่ วรมองขา้ มไป เพราะรา่ งกายกบั จติ ใจมนษุ ย์ เปน็ สิ่งท่ีไมส่ ามารถจะแยกกันไดอ้ ยู่แลว้ ผมู้ ีปัญหาดา้ นจิตใจย่อมสง่ ผลถึงสภาวะร่างกายไมม่ ากก็นอ้ ย จติ วทิ ยากับการแขง่ ขันแบ่งง่ายๆ เปน็ 3 ระยะ ไดด้ ังนี้ 1. จติ วทิ ยากอ่ นการแขง่ ขนั 2. จิตวิทยาระหว่างการแข่งขันหรือขณะทล่ี งสนาม 3. จติ วิทยาหลังการแข่งขัน 1. จติ วิทยากอ่ นการแขง่ ขัน จิตวิทยาก่อนการแขง่ ขัน ยงั สามารถแบ่งเป็นระยะตา่ งๆ ไดอ้ กี เชน่ ชว่ งการฟติ ซอ้ มใหญล่ ะช่วง การปรบั ตวั (ในกรณที ี่มีการเดินทาง) ช่วงระยะใกลว้ ันแข่งขันจะไม่ขอกล่าวรายละเอยี ดเพียงแตอ่ ยาก เรียนใหท้ ราบวา่ แตล่ ะชว่ งก็จะมคี วามเครียดและสภาพจติ ใจทีแ่ ปรปรวนแตกต่างกันออกไป จติ วทิ ยา กอ่ นการแขง่ ขนั นบั วา่ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั มากๆ เพราะเปน็ ชว่ งเวลาทย่ี าวนานกวา่ ชว่ งอน่ื เรยี กวา่ จะแพ-้ ชนะ กม็ ปี ัจจยั จากชว่ งน้ีเป็นเร่ืองสำ� คญั จะขอพูดถึงปจั จัยย่อยที่เป็นส่วนทคี่ วรใหค้ วามสนใจมากๆ ในเรือ่ ง จิตวทิ ยาก่อนการแข่งขัน กล่าวคอื 1.1 ก�ำลงั ใจ กำ� ลังใจเปน็ ส่งิ สำ� คัญมาก อาจจะมากกว่าความสามรถทางกายดว้ ยซ�้ำเพราะ ถ้าใจลองไมส่ หู้ รอื ไม่อยากเล่นแลว้ การจะฝกึ ได้อย่างหนักอย่างซ�ำ้ ๆ ซากๆ เปน็ เดอื นเป็นปยี อ่ มจะต้อง อาศัยก�ำลงั ใจท่ีเข้มแข็ง การมีผู้ใหก้ �ำลงั ใจ ไม่วา่ จะเป็นคนรกั ญาตพิ น่ี อ้ ง ฝูงชนที่ศรัทธาหรือสือ่ มวลชน ทส่ี นบั สนุนยอ่ มท�ำให้มีกำ� ลังใจทีจ่ ะเอาชนะใหไ้ ดไ้ มว่ ่าจะเหนอ่ื ยยากแคไ่ หน เมอ่ื มกี ำ� ลงั ใจยอ่ มตามมาดว้ ย การฝกึ ซอ้ มทด่ี แี ละผลทไี่ ดค้ อื ความเชอื่ มนั่ ในตนเองวา่ จะชนะ เมอ่ื มีประสบการณ์ร่วมดว้ ยแลว้ กท็ ำ� ใหจ้ ุดมุ่งหมายเป็นจริงข้ึน คือ สูตรแหง่ ความส�ำเรจ็ การจะฝกึ และรกั ษากำ� ลงั ใจใหค้ งไวว้ ธิ หี นง่ึ คอื การตง้ั เปา้ หมายทงั้ ระยะสนั้ และระยะยาว โดยเปา้ หมายระยะ สนั้ ซงึ่ เปน็ แตล่ ะชว่ งใหก้ า้ วไปถงึ เปา้ หมายระยะยาวนน้ั ตอ้ งเปน็ เปา้ หมายทสี่ ามารถเหน็ ผลไดโ้ ดยไมย่ ากเกนิ 148
ค่มู ือผูฝ้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล ไปนกั เมอื่ บรรลเุ ปา้ หมายระยะสน้ั แตล่ ะชว่ งจะไดเ้ กดิ กำ� ลงั ใจฮกึ เหมิ ขน้ึ เรอื่ ยๆ จนบรรลถุ งึ เปา้ หมายหลกั 1.2 อารมณต์ า่ งๆ โดยเฉพาะความวติ กกงั วล ความเครยี ด ความกลวั ซง่ึ ทจ่ี รงิ สง่ิ ตา่ งๆ เหลา่ นก้ี ไ็ มไ่ ดเ้ ลวรา้ ยไปหมดทเี ดยี ว เพราะความกงั วลและความเครยี ดพอเหมาะกจ็ ะเปน็ แรงกระตนุ้ ใหต้ อ่ สู้ และท้าทายจนประสบความส�ำเร็จ ถ้าไม่มีความตื่นเต้นเลยก็จะดูเป็นการแข่งขันที่จืดชืดไป แต่ความ กลัว วิตกกังวล ถ้ามากเกินไปแล้วก็เป็นปัญหาการบกวนการฝึกซ้อม และการแข่งขันได้มากๆ ท�ำให้ ความสามารถทางกฬี าของเราลดลงจากความเปน็ จรงิ จนพา่ ยแพ้ไดง้ า่ ยๆ ดังกลา่ วข้างตน้ อาการต่างๆ ทช่ี วนใหส้ งสยั วา่ นกั กฬี ามคี วามเครยี ดความกงั วลมากผดิ ปกติ เชน่ มอี าการแนน่ หนา้ อก หายใจไมอ่ อก ทอ้ งเสีย อ่อนเพลยี หงุดหงดิ ปวดศีรษะ นอนไมห่ ลบั หรือนักกฬี าหญงิ มีประจ�ำเดอื นผิดปกติ ย่งิ ใกล้ วันแข่งขนั เทา่ ใดอารมณ์เครยี ดก็มากเป็นเงาตามตวั ในนักกีฬาท่ีประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันประเภทนั้นๆ แล้ว และต้องลงแข่งขันอีกไม่มาก ก็น้อยที่เร่ิมมีอารมณ์ความรู้สึกกลัว ไม่สบายใจเกิดข้ึนได้บ่อยๆ เพราะกลัวว่าตนเองจะเล่นได้ไม่ดี เหมือนเดิม กลัวว่าคู่ต่อสู้จะเก่งกว่า ย่ิงในรายที่ตนเองเป็นความหวังของประเทศชาติมากๆ แล้ว อารมณ์หวนั่ วิตก กย็ งิ่ มากขึน้ สภาพอารมณข์ องนกั กฬี าเปน็ เรอื่ งแปรปรวนผดิ ปกตไิ ดบ้ อ่ ยๆ เชน่ มปี ญั หาทางดา้ นการเรยี น ดา้ น การเงนิ ด้านพ่อแม่ พ่-ี น้อง หรอื ทางด้านคู่รกั ภรรยาหรือบุตร ถา้ ตราบใดทปี่ ัญหานน้ั ยงั ไม่ได้รับการ แกไ้ ข หรือระบายออกใหผ้ ู้อ่ืนทราบ นักกฬี าก็จะมีอารมณก์ ลดั กลุ้มไดม้ ากๆ จนท�ำให้การฝกึ ซ้อมและ การแขง่ ขนั ล้มเหลวอยา่ งส้นิ เชงิ เรอ่ื งของอารมณแ์ ละกำ� ลงั ใจมคี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งยากยง่ิ ทจ่ี ะแยกออกจากกนั อารมณท์ กี่ ลดั กลมุ้ มากๆ ย่อมท�ำให้ขาดกำ� ลงั ใจ อย่าว่าแต่การฝึกซ้อมเลยแมแ้ ตเ่ ร่อื งกินอยหู่ ลบั นอนก็ยากท่ีจะทำ� ใหป้ กติ ไดย้ ามมีปัญหา การฝกึ จิตใจเพ่ือเอาชนะอารมณ์ต่างๆ ก่อนการแข่งขนั ทำ� ได้หลายวธิ ี กลา่ วคอื - สอนใหเ้ ขาเกิดความมนั่ ใจโดยค�ำนึงถึงความส�ำเร็จตา่ งๆ ท่เี คยประสบมาแลว้ ในการแขง่ ขนั - สอนให้เขาเอาจิตใจออกจากเหตุการณ์ท่ีเขาคิดหมกมุ่นเกินไป หรือให้ลดความต้ังใจ ความทะเยอทะยานในการเอาชนะลงบา้ ง (จติ ใจทยี่ ดึ มน่ั หมกมนุ่ มากเกนิ ไป บางครง้ั กเ็ ปน็ ผลรา้ ย) - สอนใหเ้ ขาควบคมุ สติ อารมณ์ โดยวธิ ตี า่ งๆ เชน่ สะกดจติ ตวั เอง ฝกึ โยคะ ทำ� สมาธิ ฟงั สยี งเพลง การนวด เลน่ ดนตรี ดู ทีวี และอ่ืนๆ อกี นกั กฬี าควรหาวธิ เี หมาะกบั ตนเอง แลว้ ฝกึ จนเกดิ ความมน่ั ใจวา่ สามรถเอาชนะไดโ้ คช้ ไมค่ วรปลอ่ ย ใหน้ ักกฬี ามคี วามวติ กกังวล หรือความเครยี ดมาก เพราะอาจทำ� ให้เจบ็ ปว่ ยเกิดการถ่ายทอดความรู้สกึ กงั วลไปส่บู ุคคลอน่ื ๆ ได้ แพทย์ (โดยเฉพาะจติ แพทย์) อาจจ�ำเป็นเพื่อช่วยเขา โดยพยายามหาสาเหตุเมือ่ มคี วามแนใ่ จว่า เขาเกิดความผดิ ปกติทางจติ ข้นึ โดยอาจจะตอ้ งใช้เวลานานพอควรกวา่ จะสบื รู้ขุดคยุ้ ออกมาได้ เพราะ 149
คู่มอื ผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล ความกังวลในการแข่งขันท�ำให้สมรรถภาพลดลง บางทีสาเหตุซับซ้อน เช่น นักกีฬาบางคนกลุ้มใจที่ สอบไลต่ ก ท�ำแฟนทอ้ ง กลัวออกจากงาน มปี ญั หาทางครอบครวั เช่น พ่อแมท่ ะเลาะกัน หรือหงดุ หงิด กังวลจากการขาดเพศสมั พันธ์ซงึ่ ตนเองชอบอยู่ ในรายที่มปี ัญหาทางสภาพอารมณ์มาก นอกจากแพทย์จะให้ค�ำแนะนำ� ต่างๆ แลว้ บางครง้ั อาจ ตอ้ งให้ยาบางชนิด เชน่ ยากล่อมประสาทเขา้ ชว่ ยด้วยเป็นบางกรณี บางครงั้ โคช้ หรอื ผจู้ ดั การทมี อาจจะหารายการบนั เทงิ และตารางการพกั ผอ่ นตา่ งๆ ใหแ้ กน่ กั กฬี า ดว้ ย เพอ่ื กอ่ ให้เกดิ ก�ำลังใจ ความอบอนุ่ ใจ และคลายเครยี ด ซ่ึงจะมผี ลดีต่อสุขภาพจติ ของนักกีฬามาก 1.3 การกินอยู่ หลับนอน การไปแข่งขันในสถานที่ซ่ึงต่างออกไป ย่ิงเป็นคนละประเทศ ซ่ึง มธี รรมเนยี มประเพณี ภมู อิ ากาศ และการกนิ อยคู่ นละแบบ เวลาหลบั นอนคนละเวลาดว้ ยแลว้ บางครง้ั ก็ก่อให้เกิดปัญหาได้มากๆ เพราะลองว่ากินอาหารไม่ค่อยได้ นอนไม่ค่อยหลับ และเป็นอยู่ขณะซ้อม ไมม่ สี ุขแล้ว สภาพจิตใจกจ็ ะถูกรบกวนไปได้มากๆ จนสมรรถภาพลดลงอย่างเหน็ ไดช้ ดั การกินอาหารท่ีต่างรสชาติไป ซึ่งไม่ชินนั้นควรระวัง อาหารบางอย่างกินแล้วท�ำให้ท้องอืดท้อง เฟ้อ ท้องเสยี หรืออาหารทีก่ นิ ไปถา้ กนิ มากๆ น้�ำหนกั จะขึ้นได้มาก จนท�ำให้รา่ งกายไมพ่ รอ้ มพอท่ีจะ แขง่ ขัน ผูท้ ่ีกินอาหารไม่คอ่ ยได้ ดจู ะเปน็ พวกมีปญั หามาก ซง่ึ ผู้ฝึกสอนและผู้จัดการทีมควรเอาใจใส่ ความเป็นอยู่ ภูมิอากาศหนาวรอ้ นที่ตา่ งไป ความช้ืน ความกดดนั บรรยากาศทผ่ี ดิ ไป (เช่น เม่ือ ไปแขง่ ขนั ทเ่ี มก็ ซโิ ก ซงึ่ มคี วามสงู กวา่ ระดบั นำ้� ทะเล) และแมแ้ ตท่ อ่ี ยบู่ า้ นชอ่ ง ขนบธรรมเนยี ม วฒั นธรรม และภาษาที่พดู กันไมร่ ้เู ร่อื ง ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาไดท้ ง้ั สิ้น การไปก่อนให้นานพอสมควรเพ่อื ใหร้ ่างกายปรับ ตวั ไดจ้ ึงเป็นสง่ิ จำ� เปน็ การนอนหลับ เร่อื งนอนหลบั เปน็ เรอื่ งใหญเ่ รือ่ งหนง่ึ นกั กีฬาสว่ นใหญจ่ ะเคยมีประสบการณ์กนั มาแลว้ ทงั้ สนิ้ นกั กฬี าทไ่ี มเ่ คยมปี ระสบการณเ์ มอ่ื ไปตา่ งทม่ี กั นอนไมห่ ลบั การนอนหลบั ไมเ่ พยี งพอ (ปกติ ควรนอน 6-7 ช่ัวโมงเป็นอย่างน้อย) หรือหลบั ไมส่ นิท หลับๆ ตืน่ ๆ จะรบกวนจิตใจได้มาก วธิ แี กก้ ารนอนไม่หลบั - ฝึกการหายใจเขา้ และออก อย่างชา้ ๆ พร้อมทั้งผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ท�ำใจใหส้ งบใหม้ สี มาธิ - เปดิ เพลงเบาๆ แลว้ ฝนั วา่ ตนเองอยทู่ า่ มกลางปยุ เมฆ หรอื นอนเลน่ ลอยตวั อยกู่ ลางนำ้� สะกดใจ ตวั เองว่าขณะนรี้ ่างกายเบาโหวงแทบไม่มีน้ำ� หนัก - ออกกำ� ลงั กายใหเ้ หน่อื ย อาบนำ้� ให้สบายแล้วนอน - ถ้าทำ� อย่างไรกน็ อนไม่หลบั ควรจะรบี ปรึกษาแพทย์ หรอื โค้ช จะเห็นว่าการนอนหลับบางคร้ังเป็นเร่ือยุ่งยากมาก บางคนต้องการเร่ืองกามอารมณ์เข้ามา เก่ียวข้องด้วยจึงจะหลับ บางท่านต้องการความสงบ แต่บางครั้งก็ไม่ได้ตั้งใจ อีกส่ิงซึ่งควรระวัง โดย เฉพาะเมอื่ ไปแข่งต่างถิน่ คอื อย่าไปเทย่ี วผจญภัยมากเกินไป หรอื ดภู าพยนตร์ หรือรายการโทรทศั นท์ ่ี 150
คู่มือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล นา่ หวาดกลวั จนทำ� ใหจ้ ติ ไมส่ งบ อยา่ ลมื วา่ ความสงบและการหลบั นอนพกั ผอ่ นใหเ้ ตม็ ทช่ี ว่ งนส้ี ำ� คญั มาก เรื่องกามอารมณ์ คืนก่อนการแข็งขัน ไม่เป็นเรื่องเสียหาย แต่ต้องระวังอย่าให้มากเกินไป และ ระวงั อยา่ นำ� โรคตดิ มา (ถา้ ไดค้ ขู่ าตนเองเปน็ ดที ส่ี ดุ ) กามอารมณก์ อ่ นการแขง่ ขนั นนั้ ชว่ ยสภาพจติ ใจของ นักกีฬาบางคนได้มาก บางคนถึงกับกล่าวว่า เป็นการช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของร่างกายและ จติ ใจไดอ้ ยา่ งวิเศษ อย่างไรก็ดี ขอใหน้ อนหลบั อยา่ งสนทิ เพียงพอตามท่ีตอ้ งการดว้ ย 1.4 การเตรียมใจและฝึกใจให้พร้อม รวมทัง้ การหดั ผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดการเตรยี มใจ ให้พรอ้ มที่จะแขง่ ขันเป็นสง่ิ สำ� คญั มากเช่นกนั โดยทั่วไปเรามกั จะนึกถึงการเตรียมทางรา่ งกายก่อนการ แข่งขนั เช่น เร่อื งอาหาร เรอ่ื งฝกึ ซอ้ ม ทางจติ ใจกเ็ ช่นเดียวกัน ตอ้ งการการเตรียมให้พร้อมและควรฝกึ ซอ้ มทางจติ ใจไปดว้ ยกบั การฝกึ ซอ้ มทางกาย นอกจากนนั้ ยงั อาจจะตอ้ งหาวธิ ฝี กึ ซอ้ มทางจติ ใจตา่ งหาก ในบางกรณีวิธกี ารเตรยี มจิตให้พรอ้ มเพอ่ื การแขง่ ขัน กล่าวคือ ท�ำจิตให้มีภาวะเครียดใกล้เคียงกับภาวะเครียดจริงๆ ท่ีจะได้รับเม่ือเวลาแข่งการฝึกสนามจริงๆ ทจ่ี ะแขง่ การมปี ระสบการณจ์ ะชว่ ยไดม้ ากในเรอ่ื งนี้ หลายคนจะเลน่ ไดด้ เี มอื่ มเี สยี งเชยี รห์ รอื คนดมู ากๆ แต่ผู้ไมเ่ จนสนามย่อมตนื่ เตน้ คุมสติไมอ่ ยู่ จนแขง่ ไมไ่ ด้ดเี ท่าทคี่ วร วางแผนทางจิตรวมทัง้ ทบทวนเทคนคิ และรายละเอียดต่างๆ ของการแขง่ ขันจนขึน้ ใจ นอกจาก ทางโค้ชจะวางแผนการซ้อมให้เราแล้ว เราควรวางแผนบางอย่างให้เหมาะสมกับตัวเราด้วย โดยฝึก ทบทวนถึงเทคนิคและรายละเอียดปลีกย่อยท่ีจะเป็นในวันแข่งขันจริงๆ จนข้ึนใจจนเหมือนกับบันทึก เป็นวีดีโอเทปเอาไว้ที่สนามจะนึกเห็นภาพแต่ละช่วงออกมา เช่น จะวิ่งแข่งอย่างไร จะเร่งช่วงไหน ทมุ่ น�้ำหนักเท่าใด กระโดดไกล ก้าวจงั หวะไหน นอกจากนี้ ยังมกี ารเตรยี มใจปรับสภาพใจ (และรา่ งกาย) ให้เข้าไดก้ บั สภาพดินฟ้าอากาศ ใหเ้ ขา้ ได้กบั การฝกึ ซ้อมรว่ มกบั ผอู้ ืน่ และเข้าไดก้ บั สนามแข่งขัน อปุ กรณ์ตา่ งๆท่อี าจไมเ่ คยชนิ รวมทงั้ สภาพ แวดลอ้ มทแี่ ปลกแตกต่างออกไป (โดยเฉพาะในรายทไี่ ปแขง่ ขนั ตา่ งประเทศ) การหัดผ่อนความตึงเครียด ความประหม่า กลัว หวั่นวิตก และอารมณ์ต่างๆ เป็นการเตรียมใจและ ฝึกใจให้พร้อม เพราะควรฝึกหัดไว้ว่าเมื่อเราประหม่าตึงเครียด จะใช้วิธีแก้วิธีใดจึงเหมาะสมและ ไดผ้ ลเรว็ ท่ีสดุ ซ่ึงรายละเอียดเรอ่ื งการหดั ผอ่ นคลายอารมณแ์ ละความตึงเครียดได้กลา่ วไว้แลว้ ในหัวขอ้ “อารมณ์ตา่ ง” วิธีผ่อนคลายความเครียดน้ัน วิธีหนึ่งท่ีนิยมปฏิบัติในต่างประเทศ คือในช่วงก่อนการแข่งข้ัน ประมาณ 1-2 สัปดาห์ จะมีการอนญุ าตใหน้ กั กีฬากลับไปพักผอ่ นที่บ้านระยะหนึ่ง เป็นการสร้างความ อบอนุ่ ใจใหแ้ ก่นักกีฬา เร่อื งจติ วทิ ยากอ่ นการแขง่ ขันนัน้ เป็นเร่อื งทสี่ ำ� คญั มากๆ ถา้ นกั กีฬาใจไม่ส้เู สยี อย่างแล้วก็เปน็ อนั จบกนั ทมี นกั ฟตุ บอลไทยเมอื่ แขง่ ขนั กบั เกาหลใี ต้ กไ็ ดท้ ราบวา่ มนี กั กฬี าหลายคนทไ่ี มย่ อมแขง่ ไมว่ า่ โคช้ จะเคย่ี วเขญ็ ขบั กลอ่ มกนั อยา่ งไรกต็ าม นกั มวยไทยทม่ี ชี อ่ื เสยี งหลายทา่ น (ถา้ จำ� ไมผ่ ดิ แมแ้ ตโ่ ผน กงิ่ เพชร 151
คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกฬี าฟุตบอล ก็เคยเป็น) กเ็ คยขยาดกลวั ทจ่ี ะพบคู่ชกบางคนจน “หายตัวไป” เล่นเอาตอ้ งตามกนั จ้าละหวนั่ และโค้ช ตอ้ งเกลี้ยกลอ่ มกันเปน็ การใหญ่ นกั ยกนำ�้ หนักไทยบางคน ยกได้ดีเมื่ออยู่เมืองไทย แตเ่ มอ่ื ไปพอคปู่ รับ เก่าทตี่ นเคยพา่ ยแพ้มา กป็ อดจนไมอ่ ยากลงแข่งขนั ด้วย นักกรีฑาไทยบางท่านท่ีมีชอ่ื เสยี งมากๆ กอ็ าจ เกิดความหวาดกลัวขนึ้ ได้ กลวั จะท�ำไดไ้ มด่ เี หมือนคราวๆก่อน กลัวว่าคแู่ ข่งขนั เกา่ จะฟิตซอ้ มมาดีกวา่ ยงิ่ เปน็ ความหวงั ของทมี หรอื ของประเทศชาตมิ ากเทา่ ใด ความวติ กกงั วลเหลา่ นนั้ กย็ งิ่ มมี ากเปน็ เงาตามตวั ย่ิงถา้ นกั กฬี าที่เกิดการเจบ็ ป่วยกอ่ นการแขง่ ขนั แลว้ ก�ำลงั ใจและขวัญของนักกฬี าคนนั้นก็จะลด ลงไปอยา่ งมาก เรยี กวา่ “ปอด” ตง้ั แตย่ ังไมล่ งแข่งเสยี แล้ว ซึ่งเปน็ เรอื่ งทนี่ า่ เหน็ ใจมใิ ชน่ ้อย เพราะการ แขง่ ขนั แตล่ ะครง้ั “ความสมบรู ณท์ ง้ั ทางกายและทางใจ” ความฟติ ซอ้ มและประสบการณเ์ ปน็ สงิ่ จำ� เปน็ มากอยา่ งขาดไมไ่ ด้ การเจบ็ ปว่ ยเลก็ ๆนอ้ ยๆ ในชว่ งใกลก้ ารแขง่ ขนั จงึ เปน็ เรอื่ งใหญเ่ สมอสำ� หรบั นกั กฬี า และผู้ฝึกสอน 2. จิตวิทยาระหว่างการแขง่ ขนั การแข่งขัน นักกีฬาจะมีความเครียด แตกต่างกันออกไป ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับปัจจัยทางด้ายภายใน (Internal Factor) และปัจจัยทางด้านภายนอก (External Factor) ซึ่งปัจจัยมีความส�ำคัญด้วยกัน ทง้ั สนิ้ กลา่ วคอื ก. ปัจจัยทางดา้ นภายใน ปจั จยั นี้ได้แก่ ปัจจยั ทางตัวนกั กฬี าเองซ่งึ แบ่งย่อยไปอีกไดเ้ ปน็ 1. ความสมบรู ณห์ รอื ความพรอ้ มทางกาย ซง่ึ กรณนี ไ้ี ดแ้ ก่ ความสมบรู ณห์ รอื ฟติ ซอ้ มของรา่ งกาย ไม่มีโรคหรือภาวะบาดเจ็บท่ีจะเป็นอุปสรรค ในสตรี ถ้าอยู่ในช่วงที่ไม่มีประจ�ำเดือนก็จะดีว่าการเกิด ประจำ� เดอื นในชว่ งทแี่ ขง่ เพราะมปี ญั หาความไมส่ ะดวก และบางรายจะมสี ภาพสมบรู ณต์ กตำ�่ ลงไป บา้ ง กจ็ ะมกี ารปวดทอ้ ง ปวดศรี ษะ หรอื รสู้ กึ ไมส่ บายขณะมปี ระจำ� เดอื นนนั้ (แตใ่ นปจั จบุ นั ปญั หาเรอื่ งนนี้ อ้ ย ลงไปมาก เพราะมยี าเลอื่ นประจ�ำเดือนชว่ ย) บางรายก็มีความสมบรู ณ์ดี แต่พอไปถึงต่างประเทศ เกิด โรคภูมิแพ้ โรคท้องเดิน หรือไข้หวัด เพราะไม่ชินกับสภาพอากาศก็เลยเกิดปัญหาตามมาได้ ถ้าความ สมบรู ณ์หรอื ความพรอ้ มทางกายไมด่ ีพอแลว้ กจ็ ะท�ำให้นักกฬี าขาดความมนั่ ใจไป เรือ่ งเล็กๆ น้อยๆ ที่ เกิดข้ึนในชว่ งการแขง่ ขนั จึงอาจเป็นเร่อื งใหญข่ องนกั กฬี าได้เสมอ 2. ความสมบูรณห์ รอื ความพร้อมทางใจ ถา้ นักกฬี ามีกำ� ลงั ใจขณะท่ลี งแขง่ ขนั ดีเยยี่ มกจ็ ะเปน็ ข้อ ไดเ้ ปรยี บอยา่ งมาก ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ การแขง่ ขนั ภายในประเทศของเรากบั นกั กฬี าตา่ งชาตนิ น้ั นกั กฬี า เราอาจเล่นหรือแข่งขนั ไดด้ ีเป็นพเิ ศษ เนือ่ งจากมีกำ� ลงั ใจนีเ่ อง ก�ำลงั ใจหรอื ความพรอ้ มทางใจระหวา่ ง แข่งขันก็เกิดจากความไม่มีภาวะห่วงกังวลต่างๆ เช่น ไม่มีปัญหาเร่ืองงาน การเล่าเรียน เร่ืองทางด้าน ครอบครัว เรื่องคู่รักหรือลูกเมีย ซ่ึงถ้ามีเร่ืองต่างๆ ดังกล่าวน้ันแล้ว ในระหว่างท่ีมีการแข่งขันหรือลง แขง่ ขนั พอมสี งิ่ สะกดิ ใจใหค้ ดิ ถงึ กจ็ ะเกดิ การกงั วลพะวา้ พะวงั และเสยี สมาธไิ ด้ เชน่ บางคนขณะแขง่ ขนั ทราบวา่ ภรรยาทต่ี งั้ ทอ้ งอยเู่ กดิ แทง้ ลกู ไมส่ บาย กจิ การคา้ ขาดทนุ หรอื พอ่ แมป่ ว่ ยหนกั กย็ อ่ มทำ� ใหห้ มด 152
ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล กำ� ลงั ใจ ขาดสมาธจิ นลงแขง่ ขนั ไมไ่ ด้ หรอื เลน่ ไดก้ ผ็ ดิ ฟอรม์ ไปเลย บางคนเปน็ หว่ งลกู มาก พอลงแขง่ ขนั ไดย้ ินเสยี งคล้ายเด็กรอ้ ง ก็เกดิ ความคิดถึงนกึ ไปถงึ ลกู ท�ำใหเ้ สยี สมาธไิ ปกม็ ี เรอ่ื งความเชอ่ื ความศรทั ธากเ็ ชน่ เดยี วกนั นกั กฬี าจำ� นวนไมน่ อ้ ยทตี่ อ้ งมพี ระ หรอื เครอื่ งรางแขวน หรอื หอ้ ยอยู่เสมอ ถา้ ของดงั กลา่ วเกดิ หายไปในวันทตี่ อ้ งลงแขง่ ขันกจ็ ะท�ำใหเ้ สยี ก�ำลงั ใจ หรือหงุดหงิด ได้มากๆ บางคนแม้แต่เชือกที่ห้อยเคร่ืองรางขาด ก็รู้สึกเป็นลางสังหรณ์ของการแพ้แล้ว นอกจากนี้ บางคนกเ็ ชอ่ื เรอื่ งโชค ดวง หรอื จงั หวะชวี ติ (Biorhythm) ของตนถ้าเขาแน่ใจว่าดวงดี ดวงจะชนะแลว้ ให้สู้ขาดใจก็ยอม นอกจากนน้ั ยงั มเี ร่อื งความกดดนั ต่างๆ อีก ซง่ึ มีผลต่อดา้ นจติ ใจและการลงแข่งขนั ของนักกฬี า มาก กลา่ วคอื อาจมปี ญั หาจากโคช้ ผจู้ ดั การทมี มาขอใหล้ ม้ มวยหรอื ใหแ้ กลง้ แพเ้ พอ่ื ใหอ้ กี ฝา่ ยชนะ โดย มรี างวัลให้ บางครงั้ ก็เปน็ อทิ ธิพลจากเบื้องบนทสี่ ูงขน้ึ ไปก็มี เพราะเร่อื งกฬี านน้ั มเี ร่อื งของการเมืองเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งพอสมควร ถ้าเกิดเรื่องดงั กล่าวขนึ้ จะทำ� ใหน้ ักกฬี าพะว้าพะวังและเสยี กำ� ลังใจไดม้ ากๆ อย่างไรก็ดี ตวั นักกฬี าเองน้นั แหละเปน็ คนสำ� คัญที่สดุ วา่ จะสหู้ รอื หนี บางคนนัน้ พอมาประจันหน้า กบั คู่แข่งที่เคยปราบตนมาแล้วเทา่ น้ันก็เกิดอาการไม่สู้ ตรงขา้ มกบั นักกีฬาบางคนที่สู้ยบิ ตา แม้ว่าขณะ นั้นตนจะบาดเจบ็ อยู่ หรือปว่ ยไข้ ไม่สบายอยูก่ ็ตาม จนบางครั้งถงึ กับเสียชีวติ ไปเลยกม็ ี 3. ทักษะ ประสบการณ์และการฝึกซ้อม เร่ืองน้ีเป็นเรื่องที่ข้ึนอยู่กับประสบการณ์การฝึกซ้อม และความมานะบากบั่นพยายามมาก ซ่ึงบางครั้งต้องสะสมเป็นเวลาปีๆ หรือหลายสิบปีจึงเป็นส่วน ประกอบส�ำคัญอันหนึ่งของตัวนักกีฬา และเป็นเร่ืองซ่ึงไม่ค่อยจะเปล่ียนแปลงมากยกเว้นนักกีฬาขาด ก�ำลังใจ ประมาท หรอื สภาพรา่ งกายไมเ่ อือ้ อำ� นวย ข. ปจั จยั ภายนอก (External Factor) ปจั จยั ภายนอกนเ้ี ป็นสง่ิ ผนั แปรไปได้มากพอสมควร คอื ไม่คอ่ ยแนน่ อน เชน่ บางคร้งั นักกฬี าของไทยฝึกซ้อมมาอยา่ งดีเยีย่ ม แตต่ ้องไปพบกับค่แู ขง่ ท่ียังมี ความสามารถมากกว่า เหนือชั้นขึ้นไปอีก (คู่แข่งบางคนเราไม่เคยเห็นฝีมือมาก่อนด้วย) ท้ังยังมีภาวะ เร่ืองดินฟ้า อากาศ ผู้ด-ู ผูช้ ม, ผู้ตดั สนิ และอน่ื ๆ อีก (เชน่ เรือ่ งของโชค ดวง ซ่งึ บางครง้ั เข้ามาเกยี่ วขอ้ ง มใิ ชน่ ้อย) 1. คตู่ ่อสคู้ แู่ ขง่ ขัน ดงั ไดก้ ลา่ วแล้ววา่ มีฟา้ แลว้ ยงั เหนอื ฟา้ สงู ขน้ึ ไปอกี เร่ือยๆ ไม่มีท่สี น้ิ สดุ ค่แู ข่ง บางคนนั้นพอรู้ฝีมือกันอยู่ แต่บางคนก็ไม่เคยเห็นฝีมือกันเลย ท้ังคู่แข่งขันบางคนมีจิตวิทยาในการข่ม ขวญั คูต่ อ่ สู้ค่อนข้างมาก ซึง่ อาจท�ำให้นกั กฬี าผูร้ ว่ มแขง่ “ปอด” หรอื “กลวั ” ตัง้ แตเ่ รม่ิ แรก บางคนกม็ ี วธิ กี ารยวั่ ยใุ หฝ้ า่ ยตรงขา้ มโมโห หรอื เสยี สมาธิ ดงั นนั้ นอกจากฝมี อื ในการเลน่ แลว้ เรอื่ งของจติ วทิ ยาและ ความฉลาดกย็ งั มปี ระโยชนค์ อ่ นขา้ งมาก ศกั ดศ์ิ รขี องแชมเปย้ี น หรอื ความเปน็ เจา้ เหรยี ญทองทคี่ รองอยู่ ก็มีอำ� นาจพอทจ่ี ะข่มขวัญคตู่ อ่ ส้ใู หเ้ สียขวัญ หรือ “ปอด” ไปตง้ั แต่ก่อนจะลงแขง่ เสยี แลว้ 2. ผตู้ ดั สนิ , ผกู้ ำ� กบั เสน้ และบคุ คลทที่ ำ� หนา้ ทตี่ ดั สนิ ชข้ี าดในการแขง่ ขนั เปน็ ผซู้ ง่ึ ทรงอำ� นาจมใิ ช่ นอ้ ย แตก่ ม็ หี ลายครง้ั ทบ่ี คุ คลดงั กลา่ ว มไิ ดต้ งั้ อยบู่ นความบรสิ ทุ ธย์ิ ตุ ธิ รรมคอื มกี ารลำ� เอยี งฝา่ ยหนงึ่ ฝา่ ย 153
คูม่ อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล ใดมิได้ ซงึ่ ถา้ นักกฬี าคนใดประสบเขา้ กบั ตนเองแลว้ อาจจะโมโหจนควบคุมอารมณไ์ ว้ไม่อยู่ ทำ� ให้การ เล่นรวน หรอื พานก่อเหตุทะเลาะวิวาทกม็ ี ผูต้ ัดสินหรือผ้กู �ำกับเสน้ จึงมผี ลโดยตรงต่อเกมแขง่ ขนั และ มีผลทางออ้ ม คอื ด้านอารมณ์สติสัมปชญั ญะของนกั กีฬา 3. สภาพภมู อิ ากาศ ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ สภาพภมู อิ ากาศมคี วามสำ� คญั ไมใ่ ชน่ อ้ ยเพราะนกั กฬี าบาง คนทไ่ี มช่ นิ กบั สภาพอากาศ เมอ่ื ไปถงึ กอ็ าจจะเรมิ่ ปว่ ยไขจ้ นสภาพความสมบรู ณข์ องรา่ งกายตกตำ่� ไป ใน การแข่งขันโอลิมปิกท่ีประเทศเม็กซิโกน้ันพบว่า เร่ืองความกดดันของอากาศมีอิทธิพลเข้ามาเก่ียวข้อง มาก เพราะประเทศนอ้ี ยสู่ งู กวา่ ระดบั นำ้� ทะเลมาก นกั กฬี าทม่ี าใหมๆ่ จงึ เลน่ เสยี ฟอรม์ กนั ไปหมด เพราะ ร่างกายยังไม่เคยชนิ และปรบั ตัวไม่ได้ สภาพภมู อิ ากาศมผี ลโดยตรงตอ่ กฬี าทแ่ี ขง่ ขนั กลางแจง้ เชน่ อากาศทห่ี นาวจดั ลมพดั แรง มหี มิ ะ ตก มหี มอกมาก หรือฝนตก ซึ่งสภาวะตา่ งๆ กล่าวถ้าไม่เคยชินแล้ว ย่อมเสียเปรยี บอย่างไมม่ ปี ัญหา เรอ่ื งของผ้ชู ม เปน็ ส่วนท่ีสำ� คญั ทีท่ �ำให้จิตใจขณะแข่งขันปรวนแปรได้ ทัง้ ทางบวกและลบ เสยี ง เชยี รห์ รือเสียงโหร่ ้องชน่ื ชม กับเสียงตะโกนด่า ขบั ไล่หรอื สาปแชง่ จะมีผลต่อการเล่นกีฬาไม่มากกน็ อ้ ย นักกฬี าบางคนอาจจะมมุ านะเล่นได้ดขี ึ้น เพ่อื เอาชนะคำ� สาปแชง่ นัน้ แตอ่ ีกหลายๆ คนอาจเลน่ ไดเ้ ลว ลง เพราะโมโห หรอื เกดิ อารมณ์ และบา้ งกเ็ ลน่ ดว้ ยความปอดๆ กลวั วา่ จะมวี ตั ถุ ปลวิ หลน่ ลงมาใสศ่ รี ษะ ผดู้ ผู ชู้ มจงึ มผี ลดา้ นจติ ใจตอ่ นกั กฬี าอยเู่ สมอ จะมากหรอื นอ้ ยกเ็ ทา่ นนั้ จนบางคนกลา่ ววา่ เสยี งผดู้ -ู ผชู้ ม อาจเปน็ “เสยี งสวรรค”์ หรอื “เสยี งนรก” สำ� หรบั นกั กฬี ากไ็ ด้ ซง่ึ แสดงวา่ เสยี งของผดู้ ผู ชู้ มนน้ั มอี ทิ ธพิ ลจรงิ ๆ เรอื่ งอนื่ ๆ นอกจากเรอ่ื งตา่ งๆ ดงั กลา่ วแลว้ บางครงั้ กย็ งั มเี รอื่ งของโชค-ดวง เขา้ มาเกยี่ วขอ้ งเพราะ บางคร้ังมันแปลกแต่จริงว่าเล่นดีเพียงใดก็ตามก็ยังแพ้เหมือนกับค�ำกล่าวท่ีว่า “ไม่ได้พกดวงมาเล่น” และในทางตรงข้ามบางพวกเล่นกีฬาไม่ได้เรื่องเลย แต่ก็พบลูกฟลุคชนะจนได้ ก็คงจะจริงกับค�ำท่ีว่า “ดวงใคร-ดวงมนั ” ในการแข่งขันกีฬานน้ั มกี ฬี าหลายประเภท หลายรปู แบบ บางอยา่ งแข่งขันและเสรจ็ ส้นิ ภายใน พริบตาเดียว เชน่ ว่ิง 100 เมตร ยกน้ำ� หนัก เป็นต้น บางอย่างก็แขง่ ขันกนิ เวลาเปน็ ชั่วโมงๆ หรืออาจจะ เป็นวนั ๆ ซง่ึ ในเรื่องของจติ วิทยาเองแล้ว ถือวา่ ในการแข่งขนั ระยะสั้นน้นั ถา้ เกิดความเครยี ด ความตื่น เตน้ ทมี่ ากเกนิ ไปแลว้ โอกาสในการปรบั ตวั หรอื ปรบั จติ ใจนน้ั คอ่ นขา้ งยาก หรอื แทบไมม่ เี ลย ตรงกนั ขา้ ม กบั กฬี าทม่ี ชี ว่ งการแขง่ ขนั คอ่ นขา้ งนาน ซง่ึ จติ ใจสามารถปรบั ตวั เองได้ เพราะเมอื่ เรม่ิ เหนอ่ื ย ความเครยี ด ความต่นื เต้นก็จะลดน้อยลงไปเอง และในการแข่งขนั ที่กนิ ระยะเวลานานเป็นวันๆ หรือมชี ่วงให้พกั เป็น ชว่ งๆ มโี อกาสทจี่ ะสามารถสงบสต-ิ อารมณ์ หรอื คดิ หาวธิ แี กไ้ ขจดุ ออ่ นของตนเองไดด้ ขี น้ึ แตใ่ นทางตรง ข้ามถ้าหากพักช่วงนานเกนิ ไป หรือนานกวา่ ท่ีควรจะเปน็ ฝมี อื การเล่นจะตกลงไปไม่ดีเท่าทค่ี วรจะเปน็ เพราะเคร่ืองทก่ี �ำลังรอ้ นอย่นู นั้ (กำ� ลงั พร้อมทั้งกายและใจ) เร่มิ คลายสภาพลงไปตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดก็ เช่นกีฬายินนาสตกิ ซง่ึ มีการแข่งขันเป็นชว่ งๆ โดยตอ้ งรอสญั ญาณจังหวะให้กรรมการเรียกตัวเสยี ก่อน ถา้ นกั กีฬารอบางช่วงนานเกนิ ไปการเลน่ มกั ไม่ดีเท่าท่คี วร 154
ค่มู ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล เร่ืองของการควบคุมความประหม่าต่ืนเต้นในระยะที่จะเร่ิมการแข่งขันต่างถิ่น เป็นส่ิงท่ีนักกีฬา ควรสนใจเพราะมีโอกาสเกิดกับตัวเองได้ โดยเฉพาะเม่ือเดินทางไปแข่งขันต่างถิ่น หรือเม่ือรู้ว่าต้องไป พบคู่ต่อสู้ท่ีเหนือชั้นกว่า การควบคุมความต่ืนเต้นที่ดีอันหน่ึงคือ การอบอุ่นร่างกาย (warn up) อยู่ บริเวณข้างๆ สนามจนรู้สึกคลายความประหม่า การพยายามควบคุมจังหวะการหายใจเข้า-ออก โดย หายใจเข้า-ออก ให้ชา้ แตล่ กึ เข้าไว้ และรักษาจังหวะให้สม�ำ่ เสมอ การหยิกตวั เองให้เจ็บใหบ้ รเิ วณต่างๆ หรอื ใชก้ ลไกแกค้ วามประหมา่ โดยทำ� ใหต้ นเองเจบ็ บา้ ง จะเปน็ การคลายความประหมา่ ความตน่ื เตน้ ลง ได้ อยา่ งไรกด็ ี นกั กฬี าแตล่ ะคนกอ็ าจมกี ลวธิ ขี องตวั เองในการรกั ษาสภาพจติ ใจของตนเองไมใ่ หห้ วน่ั ไหว ตน่ื เตน้ อย่แู ลว้ การเตรยี มตนเองมาอย่างดี และมีความพรอ้ มพอในการแข่งขนั แตล่ ะครงั้ จะชว่ ยใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจและบางคนแทบจะไมม่ คี วามประหม่า ต่ืนเต้นเหลอื อยเู่ ลย การใชส้ มาธอิ ยา่ งมากๆ ในบางชว่ งของการแขง่ ขนั เชน่ ฟงั เสยี งสญั ญาณในการปลอ่ ยตวั วงิ่ , วา่ ย นำ้� โดดน้ำ� ยกน�ำ้ หนัก ยมิ นาสติก หรืออนื่ ๆ นนั้ จะใชส้ มาธมิ ากในช่วงส้นั ๆ ทง้ั ส้นิ ในกีฬาท่มี ีความตอ่ เน่อื งเปน็ ระยะเวลาอนั ยาวนานพอ แต่มีการขอ “เวลานอก” ไดน้ ั้นบางครง้ั ก็ ช่วยกู้สถานการณ์ไว้ได้มากๆ ดังเราจะพบเห็นเสมอว่า การแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลหรือวอลเลย์บอล นนั้ บางครง้ั ฝา่ ยหน่ึงน�ำไปมากๆ แล้ว แตพ่ อโคช้ ขอเวลานอกพดู กับนกั กีฬาสักพักก็ปรากฏว่า การเลน่ กลับเป็นการพลิกความคาดหมายได้ เพราะผ่ายแพ้คะแนน (บางครั้งแพ้มากๆ) กลับเป็นฝ่ายน�ำและ เอาชนะไปไดใ้ นทสี่ ุด ซึ่งตามหลักจิตวทิ ยาแลว้ เมือ่ มกี ารหยดุ พกั ใหน้ กั กีฬาต้ังสตแิ ละรวมกำ� ลงั ใจใหม่ กจ็ ะแกส้ ถานการณบ์ างอยา่ งได้ โดยบางครงั้ คฝู่ กึ สอน อาจจะพดู คยุ ใหเ้ กดิ กำ� ลงั ใจ หรอื พดู ใหส้ ตเิ ทา่ นน้ั อาจจะไมไ่ ดพ้ ดู วางแผนแกเ้ กมอะไรมากมายกม็ เี รอ่ื งของจติ วทิ ยาการแขง่ ขนั จงึ เปน็ ใหญม่ ากทมี่ องขา้ ม ไปเสยี ไม่ได้ สว่ นการแขง่ ขนั ทร่ี ะยะยาว ซง่ึ ผทู้ เี่ ขา้ แขง่ ขนั บางครง้ั จะรสู้ กึ เหนอ่ื ยใจมากกวา่ เหนอื่ ยกายเสยี ดว้ ย ซ้�ำ แตถ่ ้ามีผู้ดู ผู้เชยี ร์ ให้กำ� ลังใจตลอดระยะทางทแ่ี ขง่ ขนั ก็จะชว่ ยใหภ้ าวะจติ ใจดีข้นึ ได้ สรุปแล้วจิตวิทยาระหว่างการแข่งขันเป็นส่ิงส�ำคัญ เพราะจะท�ำให้ได้เปรียบหรือเสียเปรียบคู่ แข่งขนั การสรา้ งความเช่อื มัน่ ของตนเอง ปลุกกำ� ลงั ใจโดยใช้การกระตุ้นทเ่ี หมาะสม การฝึกสมาธิ และ การแข่งขนั ทต่ี ้องตอ่ สปู้ ะทะกันโดยตรง การขม่ ขวัญคู่ตอ่ สู้ใหห้ วาดกลัว ยวั่ ยใุ ห้ฝ่ายตรงขา้ มโมโห หรอื เสยี สมาธกิ เ็ ปน็ สง่ิ ทพี่ อเหน็ ไดเ้ สมอ โดยเฉพาะกฬี ามวยหรอื มวยปลำ้� ซงึ่ บางทเี ราจะเหน็ นกั กฬี าบางคน มีทา่ ทกี วนๆ แปลกๆ การจอ้ งตา จอ้ งหนา้ ข่มขวญั หรือยว่ั ยุฝ่ายตรงขา้ มใหโ้ กรธนกั กฬี าท่ฝี ึกมาดจี ะ สามารถควบคมุ สตอิ ารมณไ์ ดต้ ลอดการแขง่ ขนั แมว้ า่ จะโดยคตู่ อ่ สรู้ วน หรอื แกลง้ เอา กย็ งั รกั ษาอารมณ์ ไดเ้ สมอ ไมโ่ กรธตอบไมร่ วนและยงั เลน่ กฬี าตอ่ ไปอยา่ งสขุ มุ ตงั้ ใจ บคุ คลเหลา่ นลี้ ว้ นเปน็ ผทู้ น่ี า่ ยกยอ่ งทง้ั สน้ิ ตัวอย่างเช่น จอห์น บอรก์ เปเล่ เป็นต้น จึงไมน่ ่าแปลกใจเลยทนี่ กั กฬี าบางคนแมจ้ ะเล่นแพ้ แต่ก็ ชนะใจคนดตู รงขา้ มนกั กฬี าบางคนแมจ้ ะชนะเกมการแขง่ ขนั แตโ่ ดนผดู้ -ู ผชู้ ม เกลยี ดหรอื สาปแชง่ เอากม็ ี 155
ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล 3. จติ วทิ ยาหลงั การแข่งขัน เมื่อการแข่งขันส้ินสุดลง ผู้ท่ีก�ำกับเส้นชัยซ่ึงมีเพียงไม่ก่ีคนเท่านั้นจะเป็นผู้ที่มีความสุข มีความ ปรดี าปราโมทย์ สว่ นทเี่ หลอื นอกจากนน้ั ลว้ นตอ้ งพอกบั ความผดิ หวงั มากบา้ ง นอ้ ยบางแตกตา่ งกนั ออก ไปจนมีบางท่านกลา่ ววา่ กีฬาเพือ่ การแขง่ ขันนน้ั ก็คอื “Joy for one, tear for the other” ความเป็น ผู้พ่ายแพ้ จะมีสาเหตมุ ากมาย ไม่วา่ จะสมควรแพ้ หรอื ไม่สมควรแพ้ แพเ้ พราะความผดิ พลาดพล้งั เผลอ ไปเพยี งเลก็ นอ้ ย หรือบา้ งก็วา่ ถูกโกง อย่างไรกด็ ี การยอมรบั ความพ่ายแพน้ นั้ ดูจะเป็นหนทางทด่ี ที ี่สุด อนั หนงึ่ ของหลกั จติ วทิ ยา และตวั โคช้ หรอื ครฝู กึ สอนควรชว่ ยเหลอื นกั กฬี าของเขาใหส้ ามารถทำ� ใจหรอื เอาใจออกไปเสยี จากเหตกุ ารณเ์ ศรา้ อนั นนั้ อยา่ ปลอ่ ยใหเ้ ขาเสยี ใจ หรอื คดิ ฟงุ้ ซา่ นอยนู่ าน (แตถ่ า้ เขาเปน็ ผู้ชนะ ก็ปล่อยให้เขาภูมใิ จกับความส�ำเร็จไปนานเทา่ นาน) ผฝู้ กึ สอนเปน็ ผทู้ ม่ี จี ติ วทิ ยาพอ เขาจะไมส่ นใจในชยั ชนะนกั แตท่ ส่ี ำ� คญั กวา่ คอื การเอาชนะตนเอง ของนักกฬี า การเอาชนะสถติ ิเดมิ ของตนเอง การแขง่ ขันท�ำใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของตน ซ่ึงเป้าหมายนั้น แมจ้ ะไมม่ ากพอจนทำ� ใหเ้ ปน็ ผกู้ ำ� ชยั ชนะของการแขง่ ขนั แตถ่ า้ เปน็ สงิ่ ทพี่ สิ จู นถ์ งึ ความสามารถของตนเอง วา่ ดีกวา่ เดมิ สามารถท�ำไดต้ ามเป้าหมายท่ีวางไวก้ ็เปน็ สิ่งที่ควรภมู ใิ จกว่ามิใช่หรอื นกั กฬี าบางคนเมอื่ เลน่ กฬี าแพห้ รอื ไมไ่ ดด้ งั ใจ กเ็ กดิ ภาวะเครยี ดจนถงึ เปน็ โรคประสาทไปกม็ ี เชน่ บางรายแนน่ ง่ิ คลา้ ยหมดสติ บา้ งกร็ อ้ งไหเ้ สยี ใจไมย่ อมหยดุ บางคนกม็ กี ารหายใจเรว็ และชกั เกรง็ ทำ� ทา่ เหมือนกบั ขาดใจยิ่งเคยนกึ หวังไวม้ ากเพยี งใด ก็ยงิ่ ผิดหวังรุนแรงเทา่ น้ัน และถา้ เปน็ การพา่ ยแพท้ ่ีไมน่ ่า จะแพ้อันเกิดจากความประมาท หรือจากโชคไม่ดีก็ย่ิงท�ำให้เจ็บรุนแรงยิ่งข้ึน ว่าที่จริงแล้วการแสดง อารมณ์ที่ไม่เหมาะสม ก้าวรา้ ว หยาบคายหรอื ทอ้ แท้ ร้องไห้อย่างมากมาย เป็นสง่ิ ที่ไมถ่ กู ต้อง เพราะ การเล่นกฬี านน้ั มีแพ้ มีชนะเปน็ เรือ่ งธรรมดา เรอ่ื งของนำ้� ใจนกั กฬี านนั้ เปน็ สิง่ ทีส่ ำ� คัญกว่า สรปุ แลว้ เรอื่ งจติ ใจเปน็ เรอื่ งทเ่ี ขา้ ใจยากเหลอื เกนิ เราไมส่ ามารถกำ� หนดเปน็ สตู ร หรอื หลกั เกณฑ์ ใหป้ ฏบิ ตั ไิ ดเ้ หมอื นกนั ไปหมดอยา่ งตายตวั ตอ้ งดแู ลว้ แตก่ รณๆี ไป บางสงิ่ ทำ� ใหน้ กั กฬี าบางคนใจสู้ มมุ านะ ตรงขา้ มกับท�ำให้อกี คนหนึ่งกลัว ทอ้ แท้ หมดกำ� ลังใจ การมีความเขา้ ใจเร่ืองของจติ วิทยาดงั กล่าวจงึ มี ความส�ำคัญมาก จะได้หาแนวทางย่วั ยุ กระตุน้ หรือแก้ไขนกั กฬี าได้ทนั ท่วงที ดงั ที่เราทราบกันดีอย่แู ล้ว วา่ ระหวา่ งรา่ งกายกบั จติ ใจนน้ั จติ ใจเปน็ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั กวา่ มพี ลงั มากกวา่ เพราะถา้ ใจลองไมส่ เู้ สยี แลว้ เปน็ อนั วา่ จบทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งจงึ เปน็ ความจรงิ ทท่ี กุ คนคงเหน็ ดว้ ยกบั คำ� กลา่ วทว่ี า่ “จติ เปน็ นาย กายเปน็ บา่ ว” นา่ เสยี ดายทป่ี จั จบุ นั นกั กฬี าทจี่ ะไปแขง่ ขนั ยงั ไมม่ กี ารตรวจสอบสภาพจติ ใจกนั ซงึ่ ทจ่ี รงิ แลว้ ควรมกี าร ตรวจเชค็ เชน่ เดยี วกบั สภาพรา่ งกายเชน่ กนั เพอ่ื จะไดแ้ นะนำ� และแกไ้ ขใหน้ กั กฬี ารจู้ กั ใชจ้ ติ วทิ ยาใหเ้ หมาะ สม และไม่มีพฤติกรรมไมส่ มควร มิฉะน้ันแล้วข้อผดิ พลาดดงั กลา่ วก็จะเกิดขึ้นซำ้� ๆ ไปเรอื่ ย ในบางคน แก้ไขไม่ตกเสยี ที จนทำ� ใหน้ ักกีฬาบางคนกลายเปน็ ตัวตลกไป หรือเสยี ฟอรม์ -เสียมวยไปเลย แตถ่ า้ เขา มีจิตวทิ ยาในการแขง่ ขันทีด่ ีถกู ตอ้ งแลว้ โอกาสท่ีจะเปน็ ผู้ประสบความส�ำเร็จก็จะมมี ากขึน้ เร่อื ยๆ 156
คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกฬี าฟุตบอล บรรณานุกรม ชาญวิทย์ ผลชีวนิ ค่มู อื การฝกึ สอนฟุตบอลสมัยใหม.่ กรมพลศึกษา 2529. นิพนธ์ กติ กิ ุล, หลักการเล่นฟุตบอลสมัยใหม.่ ภาควชิ าพลศกึ ษาคณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พิทกั ษ์อกั ษรกรุงเทพฯ, 2525. ประโยค สุทธิสง่า, ต�ำราฝกึ และการตัดสนิ ฟุตบอล. มหาวิทยาศรีนครินทรวโิ รฒ บางแสน ไทยวฒั นาพานิช จำ� กดั , 2528. เอกสารประกอบ - ความสัมฤทธิ์ผลในการเปน็ ผฝู้ กึ กีฬา ภาควชิ าพลศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2528 - หลกั การเป็นผ้ฝู ึกสอนกฬี าใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 2531 - การบาดเจบ็ ทางการกีฬา การกฬี าแห่งประเทศไทย, 2527 หนังสือภาษาองั กฤษ - Federation International de Football Association. Technical Report. Mexico 1983 - Federation International de Football Association. The FIFA/Co CA-COLA International Academy Part I-II. 1982-1984 - Prof. Manuel espezim neto, Brazilian football Academy Books. II, III, VI, Brazil 1984 - George Beim, Principle of Modern Soccer, Boston, 1977 - German Football Association, Football Coaching Part I, 1982 157
คมู่ ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล ที่ปรึกษา คณะผจู้ ัดท�ำ นายสกล วรรณพงษ ์ ผู้ว่าการการกฬี าแหง่ ประเทศไทย นายมนตร ี ไชยพนั ธ ์ุ รองผู้วา่ การการกฬี าแหง่ ประเทศไทย (ฝา่ ยกีฬาเป็นเลศิ และวทิ ยาศาสตร์การกฬี า) นายสังเวียน บญุ โต รองผู้วา่ การการกฬี าแหง่ ประเทศไทย (ฝา่ ยบรหิ าร) นางสาวแจ่มจันทร ์ เจยี มใจสว่างฤกษ ์ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายสารสนเทศและวชิ าการกีฬา เรียบเรยี งโดย ดร.ชาญวทิ ย ์ ผลชีวนิ กองบรรณาธิการ ผ้อู ำ� นวยการกองวิชาการกีฬา นางรุง่ ทิวา รอดโพธิ์ทอง นายวชั ระ คำ� เพง็ หวั หน้างานพฒั นาองค์ความรู้ นางรวีวรรณ อรรถอินทรยี ์ นักวชิ าการ 6 นางสาวหน่ึงฤทัย แสงกาศนยี ์ นกั วชิ าการ 6 นางสาวกรรณกิ า จีนพวด ผชู้ ่วยปฏบิ ัติงานฯ นางสาวอรณุ วรรณ แพทย์ปรีชา ผชู้ ว่ ยปฏบิ ัติงานฯ นายสวุ ทิ ย์ สขุ เลศิ ผูช้ ว่ ยปฏิบัตงิ านฯ นายปารย์ฐาเนกษ ์ โศภศิ ภัทรพร ผู้ชว่ ยปฏบิ ตั ิงานฯ นายนรตุ ภ์เดชษ ์ งามแสง ผู้ช่วยปฏิบตั งิ านฯ นายศาตรา เอื้อเฟ้ือ ผูช้ ว่ ยปฏบิ ัติงานฯ 158
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166