ค่มู ือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล รปู แบบการป้องกนั ของเซนเตอรฮ์ าล์ฟตวั สุดทา้ ย 43
ค่มู ือผู้ฝึกสอนกฬี าฟตุ บอล โดยหนา้ ที่การเล่นของ Libero ในแดนกลางของการป้องกนั ควรจะฝกึ หัดในพ้นื ทแ่ี ดนนดี้ ้วยแต่ สง่ิ สำ� คญั สง่ิ หนง่ึ ซงึ่ จะตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจถงึ ความแตกตา่ งของการปอ้ งกนั แบบมตี วั กวาด (Sweeper) ก็ คอื หนา้ ทข่ี อง Libero Libero นนั้ คือการเลน่ ทอี่ สิ ระหรือตวั ฟรบี างครงั้ อาจอยตู่ ำ� แหน่งของแนวกอง หลังท่ีทำ� หนา้ ที่ป้องกนั แบบตัวตอ่ ตัว บางครั้งอาจอยู่ด้านหนา้ เพ่อื ตดั ลกู บอลโดยไมต่ ้องค�ำนงึ ถงึ การส่ง ลกู บอลกลับหลงั หมายถึงการดงึ เกมให้ชา้ ลง ตวั อยา่ ง เช่นเมือ่ เขา้ ตัดลูกไดพ้ ยายามทีจ่ ะส่งลูกไปด้าน หน้าเพือ่ ทำ� เกมรุกแบบฉบั พลนั (Counter attack) เขาจะต้องการเพอ่ื น (Partner) ในแดนกลางที่เขา สามารถจะส่งลูกบอลไปให้ได้ และเขาจะเคลื่อนท่ีไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วในที่ว่างแดนหน้าเพื่อรับ ลกู บอลจากคูข่ าและพยายามยงิ ประตู ผู้ที่ทำ� หนา้ ที่ Libero ไดด้ ที ี่สุด และเป็นท่รี ู้จักกนั ดคี อื แบคเคน บราว ทมี ชาตเิ ยอรมนั ตะวนั ตกในอดตี ซงึ่ เปน็ ตวั อสิ ระในการเลน่ บางครง้ั เขาจะอยดู่ า้ นหลงั สดุ ของกอง หลังเพื่อท�ำหน้าท่ีกวาดหรือคอยสอดแนวหลังท้ังหมด (Sweeper) บางครั้งเข้าจะขึ้นมายืนด้านหน้า ของกองหลังเพ่ือตัดลูกบอล และเร่ิมเกมรุก ไปข้างหน้าด้วยการส่งลูกบอลให้เพ่ือนร่วม ทีมในแดนกลาง และเคล่ือนท่ีไปท่ีว่างด้าน หน้าเพื่อให้เพ่ือนร่วมทีมส่งลูกบอลให้ท�ำ ประตทู ่เี ป็นลกั ษณะของ Libero 44
คมู่ อื ผู้ฝึกสอนกฬี าฟุตบอล อกี อยา่ งหนง่ึ จำ� นวนของผเู้ ลน่ ในบรเิ วณหนา้ ประตจู ะตอ้ งเปน็ ระบบ และมปี ระสทิ ธภิ าพรจู้ กั หนา้ ท่ี โดยมี Libero เป็นตัวประสานงาน การป้องกันแบบตัวต่อตัวเป็นส่ิงท่ีส�ำคัญที่สุดในบริเวณพ้ืนท่ีหน้า ประตู Libero จะตอ้ งมีความเฉลยี วฉลาดและมปี ระสบการณ์สงู ตลอดจนทักษะในการเล่นทีแ่ นน่ อน แมน่ ยำ� คดิ และตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เหมาะสมกบั สถานการณพ์ น้ื ทว่ี า่ งในแดนกลางเลก็ นอ้ ยพอทจี่ ะ หาชอ่ งวา่ งในการฉวยโอกาสเปดิ เกมรกุ ไดจ้ ะตอ้ งทำ� ในทนั ทซี งึ่ เปน็ งานทหี่ นกั พอสมควรของ “Libero” รูปแบบการป้องกันแบบคุมพน้ื ทว่ี า่ ง (Space-marking) 45
คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล การคุมพ้ืนท่ีว่าง (Space – marking) วธิ กี ารฝกึ การประสานงานการเลน่ แบบนี้ ลกั ษณะการเลน่ ยงั คงเหมอื นเดมิ จดุ มงุ่ หมายของการ ฝกึ เพอื่ ใหเ้ รยี นรกู้ ารคมุ พน้ื ทวี่ า่ งและการคอยสอด (Cover) ซงึ่ ขน้ึ อยกู่ บั ตำ� แหนง่ ของลกู บอลเปน็ สำ� คญั แต่จากการฝกึ เรามักจะฝกึ หัดจากทางดา้ นปีกทง้ั 2 ขา้ ง ซึง่ มีหลกั สำ� คญั ทวั่ ๆ ไปดังน้ี ผู้เล่นฝ่ายป้องกันท่ีอยู่ใกล้ลูกที่สุดเป็นผู้เริ่มการป้องกันโดยการเข้าหาผู้เล่นฝ่ายรุกที่ครอบครอง ลกู บอล ในขณะทผี่ เู้ ลน่ ฝา่ ยปอ้ งกนั อกี คนทอี่ ยใู่ กลท้ ำ� หนา้ ทค่ี มุ พน้ื ทว่ี า่ ง และคอยสอด (Cover) ลกั ษณะ เชน่ น้ีจะท�ำให้เกดิ แนวทแยงมมุ เลก็ ๆ ขน้ึ ส�ำหรบั ฝ่ายปอ้ งกัน ในการพัฒนาขนั้ ตอนการป้องกันเหล่าน้ี จะฝึกหัดด้วยความเข้าใจโดยเฉพาะบริเวณ พน้ื ทหี่ นา้ ประตซู งึ่ เปน็ พนื้ ทที่ อี่ นั ตราย จะตอ้ ง เน้นและประสานงานกันเป็นพิเศษในขณะที่ เป็นฝ่ายป้องกันโดยเฉพาะการเคลื่อนที่เข้า สกัดกั้นและการคุมพ้ืนท่ีว่าง แนวของการ ป้องกันจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซ่ึงขึ้นอยู่ กับต�ำแหน่งของลูกบอลของฝา่ ยรุก 46
คู่มอื ผูฝ้ ึกสอนกฬี าฟตุ บอล ในข้นั สุดท้ายการฝึกจะเหมอื นกับสถานการณ์แขง่ ขันจริงมากขนึ้ โดยการเล่นเปน็ กล่มุ (Group tactic) มีผู้เล่นฝ่ายรุก 4 คน ฝ่ายป้องกัน 4 คน ก�ำหนดจุดมุ่งหมายของการฝึกการป้องกันแบบคุม พ้นื ทีว่ ่าง (Space – marking) การพฒั นารปู แบบของการปอ้ งกนั 47
คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ บอล การพฒั นารปู แบบของการปอ้ งกนั การฝกึ ความสมั พนั ธใ์ นการพฒั นาการปอ้ งกนั สำ� หรบั ตวั กวาด (Sweeper) เมอ่ื ไดร้ บั ลกู สง่ คนื หลงั เพื่อการครอบครองลูกบอล จะมีผู้เลน่ ฝ่ายปอ้ งกันอกี คนหนึง่ เข้ามาชว่ ย รบั ลกู บอลเพื่อดึงเกมให้ชา้ ลง และจะหาโอกาสส่งลูกบอลออกไปในลักษณะทแยงมุมทางด้านข้างของปีกท้ัง 2 ข้าง เมื่อผู้เล่นฝ่าย ป้องกนั อกี คนหน่งึ เคลอ่ื นท่ีไปยงั ทวี่ ่างเพอ่ื รับลูกจากการสง่ เพ่ือสร้างเกมรุกตอ่ ไป ข้ันต่อไปฝึกลักษณะที่เป็นการแข่งขันจริง โดยการส่งลูกบอลจากฝ่ายรุกเข้ามาท่ีหน้าประตูรูป แบบของการปอ้ งกนั จะตอ้ งสมั พนั ธก์ นั อยา่ งดี ถงึ การคมุ คน (man-marking) การคมุ พน้ื ทว่ี า่ ง (Space- marking) หรอื การเลน่ ในลักษณะของตวั กวาด (Sweeper) หรอื ตวั ฟรอี สิ ระ (Libero) จะถกู น�ำมาใช้ โดยผูฝ้ ึกสอนจะเป็นผ้เู นน้ ถึงจุดมงุ่ หมายของการป้องกัน การฝึกการรุกของฝ่ายปอ้ งกนั บรเิ วณพื้นท่ีวา่ งด้านขา้ งปีกเปน็ การท�ำหนา้ ทค่ี ล้ายกนั กับปกี เพยี ง แต่ควรระมดั ระวังดังน้ี 1. รกุ หลังจากท่ไี ด้ท�ำเกมให้ช้าลงและรกุ อยา่ งรอบคอบระมัดระวัง 2. ใช้พ้นื ทีว่ า่ งด้านข้างของปกี 3. เตรียมการรุกทางดา้ นปกี เอาไว้ให้พร้อม 4. มองดคู ู่ขาหรือเพ่อื นร่วมทมี ในแดนกลางในขณะที่เปน็ ฝ่ายรุก 48
คมู่ ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล รูปแบบของผู้เลน่ กองกลาง (Formation of the midfield) ปัจจุบันพื้นท่ีแดนกลาง มีความส�ำคัญอย่างมากในการเล่นฟุตบอล ผู้เล่นกองกลาง (Midfield) จงึ มีบทบาทในการเลน่ ฟุตบอล เราสามารถแยกผเู้ ล่นกองกลางออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื เม่ือเปน็ ฝ่ายรุก เมอ่ื เปน็ ฝา่ ยปอ้ งกนั ผเู้ ลน่ กองกลางเมอ่ื เปน็ ฝา่ ยปอ้ งกนั จะตอ้ งเรยี นรเู้ มอื่ ลกู บอลอยไู่ กล ใหใ้ ชว้ ธิ กี ารคมุ พ้ืนที่ (Space-marking) และเมอ่ื ลกู บอลอยูใ่ กลใ้ หใ้ ช้วธิ ีคมุ คน (man-marking) ใชห้ ลักการดงั น้ีแลว้ ผู้เล่นกองกลางพยายามท่ีจะไม่ให้มีพ้ืนท่ีว่างในการเข้าโจมตีของฝ่ายรุกพ้ืนที่ของการป้องกันนั้น เราสามารถแบ่งแยกออกได้ 3 แดน คือ แดนหน้า แดนกลาง และแดนหลัง ในการแขง่ ขนั ฟุตบอลบาง ครั้งมผี เู้ ลน่ ในแดนกลางอยู่ 3 คนข้นึ ไป บางทีมมีถึง 6 คน เพ่ือคุมโซนหรอื คมุ พืน้ ทหี่ นา้ ประตูและผสม ผสานกับการคุมคน โดยดูจากสถานการณ์ของเกมการแข่งขัน และความสามารถของทีมฝ่ายตรงข้าม บางคร้งั เราจะเหน็ การเลน่ ของกองกลางทมี่ ีประสิทธิภาพสูง ทง้ั ในการป้องกันและการรุก ต้องการขนึ้ ไปสนับสนุนผเู้ ล่นกองหนา้ และหาทีว่ า่ งข้ึนไปทำ� ประตู 49
คมู่ ือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล กองกลางในการป้องกัน (Midfield in defence) การเลน่ ฟุตบอลของกองกลาง จะมีหน้าทเี่ ล่นในพ้ืนท่ดี ้านหน้าของผเู้ ล่นกองหลงั เมอ่ื คตู่ อ่ สู้เขา้ โจมตี และพยายามปอ้ งกนั พน้ื ทสี่ ว่ นหนา้ ของเขตโทษทอ่ี นั ตรายไว้ โดยยดึ ลกั ษณะการปอ้ งกนั แบบรปู กรวย มีแนวความคิดอยู่ 2 ประการ ในสิ่งน้ี เขาจะต้องไม่เปิดพื้นที่ว่างในส่วนหน้าของเขตโทษและ พยายามเคลือ่ นทีอ่ ยา่ งรวดเรว็ ในการปอ้ งกันท่วี ่างด้านข้างปีกเม่อื ถูกโจมตี ตอนนจ้ี ะกล่าวถงึ การป้องกันโดยการใช้ตัวอิสระ (Libero) คุมพ้นื ทใ่ี นระบบปอ้ งกันโดยการคลุม พน้ื ท่ีอยา่ งใกลช้ ดิ อยู่ทางดา้ นหลังแนวการป้องกันคตู่ ่อสู้ท่เี ปน็ ฝ่ายรุกตวั อิสระเป็นสงิ่ ทีจ่ ะจำ� เป็นมาก ควรจะเนน้ ความสำ� คญั ในหลักของการเลน่ ในการสรา้ งพ้นื ท่วี า่ งและให้หาประโยชน์ของการเปิด พ้นื ที่ว่าง การเลน่ ของฝ่ายปอ้ งกัน การคลมุ พน้ื ท่ขี องการเล่น ตอ้ งการความเขา้ ใจของผูเ้ ล่นภายใตแ้ นวคดิ เดยี วกนั ของการฝึก และการแข่งขัน การฝกึ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ ผเู้ ลน่ จะตอ้ งทำ� อยา่ งไรเกย่ี วกบั เทคนคิ การเลน่ ภาย ใต้สภาพของการแข่งขนั ทีส่ ามารถน�ำมาปฏบิ ัติ โดยเนน้ การฝกึ แบบการแข่งขนั จริงแนะนำ� จดุ มงุ่ หมาย ของแบบฝึกใหผ้ ู้เล่นกองกลางเข้าใจ ขอบเขตของกองกลาง ท่ลี งมาปอ้ งกนั แดนหลัง จำ� ไว้ว่าต้องเตรียมพร้อมสำ� หรบั การกลบั ไปเปน็ ฝา่ ยรกุ ซง่ึ สามารถเปลย่ี นแปลงสถานการณไ์ ดต้ ลอดเวลาเม่อื เป็นฝา่ ยไดค้ รอบครองลูกบอล ข้อส�ำคัญอีกส่ิงหนึ่งในการเริ่มต้นของการรุกท่ีดี จะข้ึนอยู่กับการสนับสนุนและการส่งผ่านลูก ของกองกลางไปใหก้ องหนา้ เพือ่ ทำ� ประตู ผเู้ ลน่ กองกลางสว่ นใหญ่จะสนบั สนุนในการรกุ และเข้าประตู เม่ือมโี อกาสทีด่ ี 50
คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟุตบอล ระบบของการปอ้ งกนั จดุ สำ� คญั อยา่ งหนง่ึ คอื การคมุ คนและคมุ พน้ื ท่ี ดงั นนั้ ผเู้ ลน่ กองหนา้ จะพบ วา่ ในทนั ทที ฝ่ี า่ ยปอ้ งกนั ทม่ี ผี เู้ ลน่ ฝา่ ยรกุ อยหู่ นา้ ประตู จะถกู ประกบดว้ ยอยา่ งใกลช้ ดิ ตามพน้ื ฐานทฤษฎี ของการประกอบตัว ฝ่ายป้องจะต้องใช้หลักของการป้องกัน หน้าที่คือถ่วงเกมการเล่นของคู่ต่อสู่ที่จะ เตรียมโจมตีผสมกับการประกบตัว ดังนั้นผู้เล่นในแดนกลางจะต้องใช้วิจารณญาณในการอ่านเกมถึง สถานการณ์ท่ีเกิดขึน้ กอ่ นว่าสถานการณ์ใดควรจะถ่วงเกมรุกใหช้ า้ ลงหรอื ใชก้ ารประกบตวั การเลน่ ในปจั จบุ นั พ้นื ทแ่ี ดนกลางจะมผี ้เู ล่นอยู่เปน็ จำ� นวนมาก ไม่น้อยกว่า 3 คน หลายทมี ใช้ ผเู้ ลน่ 2 คน ในแดนหนา้ 2 คนนจี้ ะเปน็ หวั หอกของการโจมตี โดยอาศยั การครอบครองลกู ทเี่ หนยี วแนน่ เคลอื่ นทอ่ี อกไปทางดา้ นปกี เพอื่ เปดิ ทวี่ า่ งตรงกลางใหก้ องกลางขน้ึ มาสนบั สนนุ สง่ิ สำ� คญั ในการปอ้ งกนั ของกองกลางท่ีส�ำคัญอีกอย่างหน่ึง คือ การช่วยสนับสนุนการป้องกันของกองหลังทางด้านแบค ท้ัง 2 ขา้ ง หรือตรงกลางกลางบรเิ วณหนา้ ประตใู นตำ� แหน่งเซนเตอร์ฮาล์ฟ 51
คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล สง่ิ เหลา่ นี้ จะตอ้ งไดร้ บั การฝกึ ทถ่ี ูกต้องและมีประสิทธภิ าพ ตลอดจนค�ำแนะน�ำอย่างใกล้ชิดจาก ผ้ฝู กึ สอน หนา้ ท่ขี องกองกลางในการป้องกนั 1. เมอ่ื เสียการครอบครองลกู ผ้เู ล่นทุกๆ คน จะต้องมีความรับผิดชอบในการปอ้ งกนั 2. พยายามผลักดันคตู่ อ่ สู้ออกจากแดนกลางหนา้ ประตู 3. การคุมพน้ื ที,่ คุมคน กองกลางในเกมรกุ พ้ืนฐานทางกลยุทธ์ของทีมอยู่ท่ีการครอบครองลูกบอล และทันใดน้ันโจมตีอย่างรวดเร็วจะต้อง ใชผ้ เู้ ล่นกองกลางทีม่ ีสมรรถภาพทางกายดีขึน้ มาสนับสนุนหาโอกาสรับลกู จากการส่งกลบั หลังของกอง หนา้ และทม่ี จี งั หวะทจี่ า่ ย โจมตไี ปยงั ทว่ี า่ งดว้ ยความเรว็ สงู สดุ ในปจั จบุ นั น้ี การฝกึ ความเรว็ จำ� เปน็ เทา่ ๆ การฝึกความอดทน การเลน่ ในแดนกลาง ไมว่ า่ จะเปน็ แบบเกา่ หรอื แบบใหม่ การเลน่ ในแดนกลางเปน็ สงิ่ ทสี่ ำ� คญั อยา่ งยงิ่ รูปแบบของการเล่นในแดนกลางในสมัยเก่า จ�ำเป็นที่จะต้องใช้ผู้เล่นกองกลางที่ว่ิงไม่รู้ จักเหน็ดเหน่ือยดว้ ยระบบการเลน่ ทมี่ ีตัวกลาง 4 คน (Magic square) คือ ในซา้ ย-ขวา 52
คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกฬี าฟุตบอล และฮาลฟ์ ซา้ ย-ขวา หรอื ในระบบการเลน่ 4-2-4 ซง่ึ จดุ มงุ่ หมายของแตล่ ะทมี กเ็ พอื่ ทจี่ ะคลมุ พนื้ ที่ กลางสนามใหไ้ ดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด แตก่ ารเลน่ สมยั ใหมจ่ ะใชผ้ เู้ ลน่ จำ� นวนมากกวา่ ในการเลน่ กลางสนาม เพอื่ จะเปดิ พนื้ ทก่ี วา้ งในการโจมตแี ดนหนา้ การครอบครองลกู อนั ดบั แรกของกองกลาง จะตอ้ งไดร้ บั การฝกึ ดา้ นเทคนคิ เปน็ อยา่ งดี และเปดิ เกมรกุ โดยการสง่ ลกู สนั้ ทางดา้ นกวา้ งหรอื สง่ ลกู ยาวไปดา้ นหนา้ ใหผ้ เู้ ลน่ กองหนา้ โดยอาศยั จังหวะความแม่นยำ� หรือเลย้ี งทะลทุ ะลวงขน้ึ ไปในแดนหน้า เราไม่สามารถทีจ่ ะกำ� หนดแน่นอนลงไปได้ว่า เทคนิคแบบใดที่กองกลางตอ้ งการมากทส่ี ดุ ในการ เลน่ แตส่ ง่ิ ทสี่ ำ� คญั คอื การสรา้ งและใชป้ ระโยชนจ์ ากทวี่ า่ ง บางครง้ั กองกลางจะตอ้ งครอบครองลกู บอล รอใหแ้ บคขน้ึ มาสนบั สนนุ ทางดา้ นขา้ ง ในขณะทผ่ี เู้ ลน่ กองหนา้ และกองกลางคนอนื่ ๆ ถกู ประกบตวั จาก จดุ มุ่งหมายอันนีจ้ ะประกอบด้วยพ้นื ฐานความเร็วที่ซำ้� ๆ ในการวงิ่ ไปขา้ งหนา้ อย่างรวดเรว็ มากขน้ึ และ มากขน้ึ (ความเร็ว/ความอดทน) และสิ่งนี้ คอื สงิ่ จ�ำเปน็ สำ� หรบั ผู้เล่นสมัยใหม่ เพือ่ ใหส้ ว่ นน้ีสมบรู ณ์ สมรรถภาพทางกายจำ� เปน็ ทีส่ ุดทีผ่ ูฝ้ ึกสอนจะต้องแนะน�ำผ้เู ล่นแบคทง้ั 2 ข้าง ใหเ้ หน็ วา่ ระยะทางที่ไกลในการวิง่ ขน้ึ ไปข้างหน้าตามแนวเส้นขา้ ง เพื่อสนบั สนนุ การรกุ ความแตก ตา่ งกนั ของความเรว็ ในการวง่ิ ทจ่ี ะเปน็ ผลสำ� เรจ็ ของแบคตอ้ งใชค้ วามเรว็ และความอดทน ซงึ่ จะครอบคลมุ พ้นื ท่ีมากกว่าผู้เล่นกองกลาง ผเู้ ล่นกองกลางจะต้องวิ่งอยา่ งเรว็ ในระยะทางประมาณ 30 เมตร แตแ่ บค จะตอ้ งวงิ่ อยา่ งนอ้ ย 60 เมตร ทั้งไป-กลับ สิ่งนจ้ี งึ เปน็ เทคนคิ ทส่ี ำ� คัญของกองหลงั ทว่ี ิง่ ขนานเสน้ ขน้ึ ไป สนับสนุนการรุก และจะต้องมีความสามารถในการเปิดลูกไปท่ีตรงกลางประตูได้อย่างดี และมี ประสิทธิภาพอกี ด้วย จากการเล่นแบบนี้ จะใช้ผู้เล่นกองหน้าท่ีจะท�ำให้ ประตู อย่างนอ้ ย 2 คน คนแรกจะคลุมพื้นท่ีบริเวณหนา้ ประตขู องคตู่ อ่ สู้ คนท่ี 2 จะตอ้ งใชก้ ารเคลอื่ นทตี่ ลอดเวลา เพ่ือหนีจากการประกบตัว โดยการดึงตัวลงมาต่�ำสู่แดน กลางหรอื วิ่งทแยงไปเปดิ ที่ว่างทางด้านปกี เมอื่ ไม่สามารถ ใชป้ ระโยชนจ์ ากผเู้ ล่นกองกลาง หรือกองหลังคนอืน่ ๆ ได้ การเล่นแบบน้ีจะน�ำมาใช้ส�ำหรับการโจมตีอย่าง รวดเร็ว ท่มี าจากกองหลัง 53
คู่มือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟุตบอล การรกุ กับการยิงประตู “ประตู” (Goal) เป็นสง่ิ ท่ีทีมฟตุ บอลทุกทีมใฝ่ฝันทีจ่ ะไดก้ นั ทงั้ นัน้ เพอ่ื จุดม่งุ หมายอยา่ งเดยี วกนั คือชัยชนะ แต่ประตูท่ีจะได้มานั้นไม่ใช่ของง่ายหรือยากเย็นเกินกว่าท่ีคิด หากมีการฝึกที่ดีถูกต้องจาก ความสามารถ เป็นกลุ่ม จนกระท่ังถงึ การเล่นเปน็ ทีม ผสมผสานกับการฝกึ ทม่ี แี บบแผน ทำ� ให้เกมการ รกุ มปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ขน้ึ โอกาสที่ไดป้ ระตจู ะมีมากและสามารถคว้าชยั ชนะมาครองในทส่ี ดุ การรุก มากไปดว้ ยศลิ ปะ ข้นั ตอน และวธิ กี ารต่างๆ ดังตวั อยา่ ง การฝกึ การรุกและการปอ้ งกนั 4 x 4 รปู แบบการฝึกการรกุ และการป้องกนั แบบ 4 x 4 น้นั มขี ัน้ ตอน และการพฒั นาการเล่นมากมาย ซ่ึงจะต้องดดั แปลงใหเ้ ขา้ กบั หลักของการรุกและการปอ้ งกนั ฝา่ ยรุก 4 คน ประกอบดว้ ย ตัวท�ำประตู 3 คน 1 คน จะทำ� หน้าทีเ่ ป็นกองกลางในการจา่ ยลกู และคอยสนบั สนุนการรุก ฝา่ ยรบั 4 คน ประกอบดว้ ย ผู้เลน่ ท่ที �ำหน้าท่คี มุ คน และคมุ พน้ื ที่อยใู่ นแนวดา้ นหลัง 1 คน จดุ มงุ่ หมายของการฝกึ เปน็ การฝึกแบบเขม้ ข้น ซงึ่ ผสมกนั ระหว่างสมรรถภาพทางกายทต่ี ้องใช้ ความเร็ว และความอดทน ประกอบกับเทคนิคในการเล่นและกลยุทธ์ในการเข้าโจมตีและการป้องกัน โดยอาศยั พนื้ ฐานของหลกั การรกุ และหลกั การปอ้ งกนั ทม่ี แี บบแผนเปน็ ไปตามขนั้ ตอนโดยผฝู้ กึ สอนจะ ตอ้ งเปน็ คนแนะน�ำอย่างใกล้ชดิ ในสถานการณก์ ารฝกึ ท่เี หมือนกบั การแขง่ ขนั จรงิ จากการฝึก 4 x 4 น้ี ผฝู้ กึ สอนสามารถท่จี ะปรบั ปรงุ และดัดแปลงจาก 4 x 4 เป็น 5 x 5, 6 x 6, 8 x 8 จนกระทง่ั เป็นทมี ที่ สมบูรณ์แบบ ยงั มีรูปแบบการฝึก 4 x 4 อีกมากมาย 54
คมู่ ือผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล การรุกกบั การยิงประตู การรกุ แบบฉบั พลนั ทางดา้ นปกี เยอรมนั ตะวนั ตก กบั อลั จเี รยี (1 : 2) เบล ลอมม่ี (อลั จเี รยี ผยู้ งิ ประต)ู 55
คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกีฬาฟตุ บอล ฮลอูกนชดิง่ รู (ัสW-สAเLปLนP(A1:S1S) , DOUB LE PASS ) หบรนา้าซปิลร-ะนติวูซ(แีCลEนNดT์ R(4E:)0) ซโี ก้ (บราซิลผู้ยิงประต)ู ซลี ายา (ฮอนดูรสั ) ผยู้ ิงประตู การส่งลกู กลับหลัง (BACK-PASS) การยงิ ประตูลกั ษณะพลกิ แพลง (ARTISTIC) โปแลนด์-เบลเยียม (3:0) โบเนียก (โบแลนดผ์ ยู้ ิงประต)ู เยอรมนั ตะวันตก-ฝรัง่ เศส (3:3) ฟสิ เซอร์ (เยอรมันตะวนั ตก ผ้ยู ิงประต)ู ลกู ทมุ่ (THROW-IN) อังกฤษ-ฝรง่ั เศส (3:1) ร็อบสนั (องั กฤษ ผยู้ งิ ประตู) 56
คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล หลักการรกุ และหลกั การป้องกัน หลักการรุกและหลักการป้องกันน้ัน ผู้ฝึกสอนสามารถแยกออกเป็นขั้นตอนต่างๆ ได้อย่างดีใน การฝึกโดยอาศัยการฝึกซ้อมที่มีแบบแผน 2 ส่ิงนี้เป็นพื้นฐานทางกลยุทธ์ที่ต้องสร้างข้ึนด้วยความ ระมดั ระวงั แตส่ ง่ิ สำ� คญั ในการฝึกนป้ี ระสบผลสำ� เรจ็ คือ เน้นเรอ่ื งของการท�ำประตูเป็นหลักใหญ่ เพื่อให้การฝึกบรรลุเป้าหมาย ผู้ฝึกสอนจะต้องก�ำหนดจ�ำนวนคนในการฝึกโดยเร่ิมจากจ�ำนวน ฝา่ ยรกุ ท่มี ากกวา่ ฝ่ายปอ้ งกัน เชน่ 5 x 3, 6 x 4 หรือ 7 x 5 หลงั จากน้นั ให้เพิม่ จำ� นวนฝา่ ยปอ้ งกนั ให้ ใกล้เคยี งกัน เทา่ กัน และมากกวา่ โดยท่ีผูฝ้ กึ สอนจะตอ้ งคอยให้คำ� แนะนำ� ทีละขั้นตอนท้งั ฝา่ ยรกุ และ ฝ่ายปอ้ งกนั เพ่อื พฒั นารปู แบบการเลน่ ให้เข้ากบั หลกั การท่ีมีอยู่ 57
คู่มอื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล หลกั ส�ำคญั ของการรกุ (PRINCIPLE OF ATTACK) 1. การเล่นลูกทางด้านกว้างของสนาม การใชค้ วามกว้างของสนามก็เพ่อื ท่ีจะดงึ ใหฝ้ า่ ยป้องกนั เปิดพ้ืนที่ช่องว่างขึ้น ควรฝึกให้มากถึงจุดประสงค์ในการฝึกข้ันน้ี และพัฒนาไปอย่างถูกต้อง แน่นอน มีประสทิ ธิภาพตามแนวความคิดทมี่ ีอยทู่ ่ัวๆ ไป ผฝู้ กึ สอนทกุ คนกอ่ นทำ� การแขง่ ขนั จะเรยี กนกั กฬี าทกุ คนมาใหค้ วามรแู้ ละแนะนำ� ถงึ แบบแผนวธิ ี การเลน่ เชน่ “พยายามเลน่ ลกู ทางปกี ทงั้ 2 ขา้ ง” ความหมายนมี้ กี ารซกั ถามกนั มากในหมนู่ กั กฬี า เพราะ ในการฝกึ ซอ้ มนนั้ นอ้ ยครงั้ มากทผี่ ฝู้ กึ สอนจะหาแบบแผนการฝกึ การโจมตฝี า่ ยปอ้ งกนั ดว้ ยปกี มาฝกึ นอก เหนอื จากการผ่านลกู บอลไปทว่ี ่างแลว้ ใหป้ กี วิง่ เร็วๆ ไปรับลกู และผ่านมาหน้าประตู จากเทคนคิ การเลน่ ฟตุ บอลสมยั ใหม่ นกั ฟตุ บอลตอ้ งมที งั้ เทคนคิ และทกั ษะในการเลน่ ลกู ทดี่ เี ยย่ี ม ในการครอบครองลกู ไวก้ บั ตวั และใชเ้ ทคนคิ ในการสง่ ลกู แบบสเี่ หลยี่ ม หรอื การสง่ ขวางสนาม (SQUARE PASS) ทแี่ นน่ อนและแมน่ ยำ� เพอ่ื เปดิ การโจมตฝี า่ ยปอ้ งกนั และทำ� ใหเ้ กดิ ทวี่ า่ งทจ่ี ะพาลกู บอลเขา้ ไปเลน่ ผเู้ ลน่ ฝา่ ยรกุ จะตอ้ งใชค้ วามกวา้ งของสนามใหเ้ ปน็ ประโยชน์ การเลน่ แบบนต้ี อ้ งการเพยี งความสามารถ ในการท่จี ะครอบครองลูกไว้กับทีมทำ� เกมให้ชา้ ลงและทำ� การรกุ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. การทะลทุ ะลวงการตั้งรับของฝ่ายป้องกนั (PENETRA TION) จากหลกั การข้นั ตน้ เมือ่ เปดิ ช่องวา่ งในการโจมตไี ด้แลว้ แบบแผนข้นั ต่อไปคอื การสง่ ลูกผา่ นแบบทะลทุ ะลวงแนวป้องกนั ของฝ่าย ปอ้ งกนั เข้าไป และหาจงั หวะในการยงิ ประตหู รือใช้ความพยายามอืน่ ๆ ในการทำ� ประตู เทคนิคที่ต้องการส�ำหรับการผ่านลูกทะลุทะลวงเข้าไปโจมตีน้ีจะแตกต่างจากการเล่นพ้ืนที่ทาง ดา้ นกวา้ ง คอื จะตอ้ งผา่ นลกู ทรี่ วดเรว็ และแมน่ ยำ� หลงั จากทไี่ ดด้ งึ เกมรกุ ใหช้ า้ ลงเพอ่ื ความแนน่ อนในการ รุก โดยที่ฝา่ ยป้องกันคาดการณไ์ ม่ถึง ส่วนมากจะใชก้ ารสง่ ลกู ทรู (THROUGH PASS) และการสง่ ลูก ทแยงมา (DIAGONAL PASS) 58
คมู่ อื ผู้ฝึกสอนกฬี าฟตุ บอล 3. การเคล่ือนท่ีเพื่อให้ฝ่ายป้องกันสับสน (MOBILITY) การเคล่ือนท่ีอย่างรวดเร็วเป็นหลัก ส�ำคัญท่ีทำ� ใหก้ ารปอ้ งกนั ของคตู่ อ่ สแู้ ตกหรอื หละหลวม เทคนคิ ในการเคลอื่ นทน่ี ม้ี จี ดุ มงุ่ หมายของมนั อยู่ ในตวั คอื 3.1 การเคลื่อนทเี่ พอ่ื ให้เกิดท่วี ่างในการโจมตี 3.2 การเคลื่อนท่เี พื่อหนีจากการถูกประกบตัวจากคูต่ ่อสู้ 3.3 การเคลื่อนทเ่ี พื่อการสับเปลี่ยนต�ำแหนง่ ท�ำให้ฝ่ายป้องกันสับสน การเคล่ือนท่ีอย่างรวดเร็วพร้อมกับลูกหรือไม่มีลูกทั้งสองอยา่ งเป็นส่ิงท่ีส�ำคัญในข้ันน้ีแต่การ เคลอื่ นที่โดยไม่มีลูกควรจะมคี วามเร็วทส่ี ูงกว่า การเคลื่อนท่ีของผู้เล่นทุกคนในทีมในขณะที่ทีมได้ครอบครองลูก สามารถดัดแปลงหลักส�ำคัญ ของการสรา้ งรปู แบบของการเปดิ เกมรกุ ในพน้ื ทช่ี อ่ งวา่ งไดอ้ ยา่ งดจี ากเทคนคิ ในขน้ั นกี้ ารเลยี้ งลกู ไปทาง ขวาจะทำ� ใหเ้ กดิ พน้ื ทว่ี า่ งทางซา้ ยขน้ึ ซง่ึ ทำ� ใหผ้ เู้ ลน่ อกี คนไดเ้ ขา้ มาโจมตที างพนื้ ทว่ี า่ งน้ี อกี อยา่ งทคี่ ลา้ ย กับการเลี้ยงลูกไปทางด้านหน้าจะท�ำให้เกิดพ้ืนที่ว่างทางด้านหลังท�ำให้สามารถเปิดเกมในท่ีว่างได้โดย ผเู้ ลน่ อกี คน การเลน่ ฟตุ บอลปจั จบุ นั ไดใ้ ชพ้ น้ื ทวี่ า่ งเหลา่ นใ้ี นการรกุ อยา่ งมากทสี่ ดุ ในการทผ่ี เู้ ลน่ คนอนื่ ๆ จะตามขึ้นมาสนับสนุน การเคลื่อนที่น้ีต้องอาศัยสมรรถภาพเฉพาะพิเศษ โดยเฉพาะความเร็วหลายๆ รูปแบบทต่ี อ้ งสร้างขน้ึ เพอ่ื ให้ฝ่ายปอ้ งกนั คาดคะเนไม่ถูก 59
คู่มือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล 4. ปรับปรุงให้ดีข้ึนหรือการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสร้างความประหลาดใจให้ฝ่ายป้องกัน (IMPROVISATION) จากขน้ั ตอนทก่ี ลา่ วมาสามารถนำ� มาแกไ้ ขปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ้ ไดท้ งั้ หมด โดยความพยายามในการฝกึ ตลอดจนการน�ำข้ันตอนต่างๆ เช่ือมโยงกันให้มีประสิทธิภาพและมีระดับสูงขึ้น การรุกนั้นมากไปด้วย ศลิ ปะและตอ้ งมคี วามเขา้ ใจอยา่ งแจม่ แจง้ บางครง้ั ตอ้ งอาศยั ไหวพรบิ และความฉลาดทม่ี อี ยใู่ นตวั ผเู้ ลน่ แต่ละคนด้วย บางครั้งอาศัยการเล่นท่ีฝ่ายรับคาดการณ์ไม่ถึงหรือเล่นอย่างรวดเร็วฉับพลัน ฉะนั้น จุดมุ่งหมายในขั้นตอนน้ีคือการท�ำประตูในเม่ือมีโอกาสไม่ว่าการท�ำประตูน้ันจะเกิดข้ึนจากการยิงด้วย ข้างเท้าด้านในหรือข้างเท้าด้านนอก หลังเท้า ศีรษะ การเล้ียงเข้าประตู หรือการชิ่งลูก ท้ังหมดนั้น เปน็ ผลส�ำเรจ็ จากการรุกทั้งสิน้ หลักส�ำคัญๆ ในการรุกทั้งหมดต้องอาศัยผู้เล่นที่มีทักษะและเทคนิคที่ดีและได้รับการฝึกฝนมา ตามข้ันตอนและมีระบบแบบแผน โดยเฉพาะความสามารถพิเศษ ส�ำหรับผู้เล่นกองหน้าซ่ึงจะต้อง พิจารณาเปน็ พเิ ศษดว้ ย หลักของการปอ้ งกัน (PRINCIPLE OF DEFENCE) จากการแยกแยะหลกั สำ� คญั ในการรกุ ในแตล่ ะขน้ั ตอนมาแลว้ ในทน่ี จี้ ะแนะนำ� หลกั สำ� คญั ๆ ของ การป้องกันโดยทั่วไปก่อน ส�ำหรับการป้องกนั ทัว่ ไปนน้ั กลา่ ววา่ “ลกู อยไู่ กลตัวพื้นที่อนั ตรายให้ปอ้ งกัน โดยการคุมพื้นท่ี ถ้าลกู อยใู่ กล้ใหป้ ้องกนั โดยการคมุ คน” ตอ่ ไปนีจ้ ะเปน็ หลกั สำ� คัญๆ ของการปอ้ งกนั 60
คมู่ ือผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล 61
คมู่ อื ผูฝ้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล 1. ท�ำใหก้ ารรุกชา้ ลง (DELAY) คือการดงึ เกมรุกของคตู่ อ่ สใู้ หช้ ้าลง จุดมุ่งหมายทจ่ี ะทำ� ให้เกม รกุ ของคูต่ อ่ สไู้ ม่ประสบผลสำ� เร็จได้งา่ ยๆ ข้นั ตอนแรก เม่อื เราสญู เสียการครอบครองลกู และเปน็ ฝา่ ย รบั เทคนิคอนั แรกท่จี ะนำ� มาใชค้ ือผเู้ ลน่ ทอี่ ยใู่ กลล้ ูกจะท�ำหน้าท่ีเขา้ หาลูกทนั ทเี พ่อื หยดุ ยัง้ การรุกของคู่ ตอ่ สไู้ ดโ้ ดยการบบี บงั คบั ใหฝ้ า่ ยรกุ สง่ ลกู กลบั หลงั หรอื สง่ ลกู ออกดา้ นขา้ งไปไมใ่ หท้ ำ� การรกุ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ อย่างไรก็ตามถ้ามีโอกาสที่จะตัดลูกหรือแย่งลูกกลับคืนมาได้ให้กระท�ำทันทีแต่จะมีโอกาสน้อยมาก จงนึกเสมอวา่ ขัน้ นี้เป็นการดงึ เกมรุกใหช้ า้ ลงเท่าน้นั 2. สร้างความสมดุล (BALANCE) ข้ันตอนน้ีต้องผสานกลมกลืนกับข้ันตอนแรกในขณะท่ีฝ่าย รุกผนึกก�ำลังเพื่อเข้าโจมตี ผู้เล่นฝ่ายรุกจะต้องพยายามเพิ่มจ�ำนวนให้มากกว่าฝ่ายรับ ฉะนั้นใน สถานการณบ์ างคร้ังผเู้ ลน่ ฝ่ายรับนอ้ ยกว่าและลกู ได้ถูกลำ� เลียงเข้าไปในแดนของฝ่ายรบั ฝ่ายรบั จะต้อง พยายามปอ้ งกนั และสรา้ งความสมดลุ ขนึ้ มาใหมอ่ ยา่ งรวดเรว็ โดยอาศยั หลกั สำ� คญั ขน้ั ตน้ คอื การถว่ งเกม รกุ ใหช้ า้ ลง เพอ่ื รอผเู้ ลน่ ทอ่ี ยแู่ ดนคตู่ อ่ สลู้ งมาชว่ ยในการปอ้ งกนั และสรา้ งความสมดลุ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในขณะ เดียวกันต้องกลับเข้ามาอยู่ในต�ำแหน่งที่เหมาะสมเป็นระบบแบบแผนของการป้องกันอีกด้วย ซ่ึงตาม หลกั การปอ้ งกันทดี่ นี ้นั จะตอ้ งมผี เู้ ลน่ ฝา่ ยรบั มากกวา่ ผ้เู ล่นฝา่ ยรกุ 3. มคี วามม่ันใจ มสี มาธิ (CONCENTRATE) เมอื่ การรุกของคูต่ อ่ สู้เข้ามาถึงบริเวณครงึ่ สนาม นั่นหมายถึงอันตรายที่ก�ำลังจะเกิดข้ึน ฝ่ายป้องกันต้องพยายามผลักดันไม่ให้การรุกคืบหน้าเข้ามาใน พ้ืนทีอ่ ันตรายหน้าประตูได้และพยายามท่จี ะหาโอกาสแยง่ ลกู กลับมาครอบครอง ในขั้นตอนน้ีสมาธิเป็นส่ิงส�ำคัญท่ีสุดผู้เล่นฝ่ายรับต้องหันหน้าเข้าหาผู้เล่นฝ่ายรุกติดตามการเล่นอยู่ ทกุ ขณะ และใชไ้ หวพรบิ ความสามารถในการเล่นใหม้ าก รวบรวมพลังกันในการป้องกันใหเ้ ตม็ ท่ี 4. ควบคุม (CONTROL) จากหลกั ส�ำคัญทส่ี ามเมื่อลูกผ่านเขา้ มาในเขตอนั ตราย (บริเวณหน้า ประตู) การป้องกันข้ันต่อมาคือการคุมคน (MAN-MARKING) หรือการประกบตัวจะต้องถูกน�ำมาใช้ เพราะเป็นบริเวณพื้นที่อันตรายที่ฝ่ายรุกสามารถจะยิงประตูหรือส่งลูกบอลผ่านให้ฝ่ายเดียวกันเข้ายิง ประตู ฉะน้นั การป้องกนั ทด่ี จี ะไม่ปลอ่ ยโอกาสใหฝ้ ่ายรกุ ได้เลน่ ลูกเปน็ อันขาดจงพยายามสกดั กัน้ ทุกวิถี ทางตามกติกาเพ่อื ไม่ใหฝ้ ่ายรุกมีโอกาสยิงประตูหรอื ส่งลกู ผ่านใหเ้ พื่อนร่วมทมี ได้ การปอ้ งกนั ขนั้ นตี้ อ้ ง ใชเ้ ทคนคิ ทงั้ การสกดั กน้ั ฝา่ ยรกุ เพอื่ แยง่ ลกู มาครอบครองการไลต่ ดิ ตาม การประกบตวั ดงั นน้ั ผเู้ ลน่ ฝา่ ย รับจะตอ้ งมคี วามสามารถในการใช้เทคนคิ และกลยุทธ์ได้อย่างครบถ้วน มีการประสานงานที่ดแี ละตอ้ ง ไม่ลืมท่จี ะคุมพ้ืนทีด่ ้วย การสรา้ งสมรรถภาพในขน้ั ตอนทผี่ เู้ ลน่ ฝา่ ยรบั จะตอ้ งมคี วามเรว็ ความคลอ่ งตวั และความอดทนที่ ดีจากหลักส�ำคัญตา่ งๆ ในการรับนี้ ผ้เู ล่นฝา่ ยรับสามารถท่จี ะแย่งลูกกลบั มาครอบครองไดแ้ ละใช้ความ สามารถทม่ี อี ยรู่ กุ กลบั แบบฉบั พลนั ได้ (COUNTER ATTACK) เชน่ เดยี วกนั แนวความคดิ บางอยา่ งมกั จะ สวนทางกบั หลกั การเลน่ ฟตุ บอลสมยั ใหมท่ ต่ี อ้ งการจะฝกึ ฝนใหผ้ เู้ ลน่ มวี ธิ กี ารเลน่ ทม่ี แี บบแผนและระบบ การเล่นท่ีดี ไม่ใช่อาศัยแต่เพียงประสบการณ์เท่านั้น วิธีการพัฒนาการเล่นสมัยใหม่จะพัฒนาการเล่น 62
คมู่ อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล ตั้งแต่ 1 ต่อ 1 จนกระทง่ั ถงึ 11 ตอ่ 11 และมีความตอ้ งการอย่างยิง่ ท่จี ะนำ� หลักการรุกและหลักการรับ มาใช้ สว่ นรายละเอียดปลกี ยอ่ ยอนื่ ๆ ในแต่ละขั้นตอนจะเกิดขึ้นมาจากการฝึกในทุกๆ ขน้ั ตอน เกมพ้นื ฐานของการรกุ และการรบั เกม 3 : 1 (ฝ่ายรุก 3 ฝ่ายปอ้ งกัน 1) ฝา่ ยรกุ 3 คน จะฝกึ หดั การรกุ โดยการเลน่ ลกู ทางดา้ นกวา้ งของสนาม 2 คน จะทำ� หนา้ ทปี่ ระคอง (Support) คนท่คี รอบครองลกู เทคนคิ ท่ีใชส้ ง่ ลูกทางด้านขวางสนาม (Square pass) เพื่อเป็นการเปดิ แนวการตั้งรับของฝ่ายป้องกัน ฝ่ายป้องกัน 1 คน จะฝึกหัดการท�ำหน้าที่พยายามถ่วงเกมรุกให้ช้าลง เพอื่ รอให้เพื่อร่วมทีมลงมาชว่ ยเพราะเสียเปรียบมาก บางครั้งอาจจะหาโอกาสเข้าแยง่ ลูกในขณะทฝ่ี า่ ย รกุ ส่งผดิ พลาด หรอื เสยี การครอบครองลูก 63
คู่มือผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล เกม 4 : 2 (ฝา่ ยรกุ 4 – ฝ่ายปอ้ งกัน 2) ฝา่ ยรกุ 4 คน ฝกึ หดั การเลน่ ลกู ทางดา้ นกวา้ งเหมอื นเดมิ เหมอื นเกมแรกเมอื่ เปดิ แนวการปอ้ งกนั ของฝา่ ยรบั ไดแ้ ลว้ ใหส้ ง่ ลกู ทะลทุ ะลวงทนั ที (Through pass) ฝา่ ยรกุ ในเกมนจี้ ะเนน้ การสง่ ลกู ทรนู น่ั เอง ฝา่ ยปอ้ งกนั 2 คน ฝกึ หดั การสรา้ งความสมดลุ ใหเ้ กดิ ขนึ้ ในขณะทม่ี ผี เู้ ลน่ ฝา่ ยรกุ มากกวา่ คนทอี่ ยู่ ใกลล้ ูก จะทำ� หนา้ ที่ชะลอเกมรุกใหช้ ้าลงเหมือนเกม 3 : 1 อีกคนจะคอยสอด (Cover) และตัดลกู ไมใ่ ห้ ฝา่ ยรกุ ส่งลูกทะลุทะลวงผา่ นได้ ข้อแนะน�ำฝา่ ยป้องกนั ทัง้ 2 คนจะตอ้ งเคลือ่ นที่ด้วยความเร็ว เกม 3 : 2 (ฝ่ายรกุ 3 – ฝา่ ยป้องกนั 2) ฝา่ ยรุก 3 คน ในสถานการณน์ ้จี ะตอ้ งประสานงานกนั มากขึ้น โดยการเคลื่อนทพ่ี รอ้ มกับลูก และ เคล่อื นท่ใี นขณะทีไ่ มม่ ลี ูกเพอ่ื ให้เกิดที่ว่าง เพ่ือใหเ้ กดิ การสับสนของฝา่ ยปอ้ งกนั ผ้เู ลน่ ฝ่ายรกุ ทงั้ 3 คน พยายามเปิดเกมทางดา้ นกวา้ งของสนามและหาทางส่งลกู ผา่ นในลักษณะลกู ทรูประกอบกันดว้ ย ฝ่ายปอ้ งกัน 2 คน ในสถานการณเ์ ช่นน้ีจะต้องประสานงานกันมากขน้ึ เชน่ เดียวกนั ต้องมสี ามาธิ และรวบรวมพลังในการปอ้ งกนั (concentration) ในการแย่งลูกบอล ตัดลูก, ติดตามลูก และใชห้ ลัก ของการชะลอเกมรกุ และการสรา้ งความสมดุลดว้ ย 64
คมู่ อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล เกม 3:3 (ฝา่ ยรกุ 3 – ฝา่ ยป้องกนั 3) เป็นรูปแบบของเกมที่เน้นส�ำหรับการฝึกการเล่น โดยให้จ�ำนวนผู้เล่นท้ังฝ่ายรุกและฝ่ายป้องกัน เทา่ ๆ กนั โดยผ้เู ล่นฝา่ ยรกุ จะต้องอาศยั ไหวพริบและความฉลาด ประกอบกับความสามารถเฉพาะตัว (Improvisation) ทจี่ ะเอาชนะผเู้ ลน่ ฝ่ายปอ้ งกนั ที่ประกบตัวอยู่ จะตอ้ งอ่านสถานการณ์ใหอ้ อกว่าควร จะสง่ ลกู หรอื ควรจะเลย้ี งผา่ น รวมทงั้ ใชว้ ธิ กี ารเลน่ ลกู บอลทางดา้ นกวา้ ง การสง่ ทะลทุ ะลวง การเคลอ่ื น ทดี่ ว้ ย 65
คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล ฝา่ ยปอ้ งกนั ทงั้ 3 คน ตอ้ งประสานงานในการปอ้ งกนั ใหด้ เี ยย่ี มโดยใชห้ ลกั การควบคมุ (Control) และคมุ พน้ื ทใี่ นบางโอกาสและอา่ นสถานการณใ์ หอ้ อกวา่ เมอ่ื ใดจะคมุ คน (Man-marking) เมอื่ ใดจะคมุ พน้ื ที่ (Space-Marking) โดยอาศยั หลกั ทวี่ า่ “ถา้ ลกู บอลอยไู่ กลประตใู หค้ มุ พน้ื ที่ ถา้ ลกู บอลอยใู่ กลป้ ระตู ใหค้ มุ คนและพื้นทท่ี ่อี ันตราย” ควรพจิ ารณาสถานการณ์ท่เี ป็นไปได้ การแบง่ ส่วนต่างๆ ที่สำ� คญั ของการรุกและการป้องกันในพนื้ ฐานขั้นต้นเพือ่ ทจี่ ะไดเ้ ห็นชดั เจนใน การฝึกหัด ซึ่งต้องการมากในการเตรียมทีม แบบแผนที่สร้างข้ึน และธรรมชาติในการแข่งขันจะต้อง สอดคล้องกันเป็นอย่างดี กลยุทธ์ในการเล่นเกมต่างๆ เหล่าน้ีจะต้องมีการเพ่ิมเติมอยู่ตลอดเวลาและ ระมัดระวัง การเล่นเกมเหล่าน้ีอาจจะจัดพ้ืนที่ในการเล่นที่จ�ำกัดในรูปแบบของการแข่งขันจริง เช่น บรเิ วณด้านข้างของสนาม บรเิ วณหน้าประตบู ริเวณแดนกลางของสนาม ฯลฯ เพ่อื ทีผ่ ฝู้ ึกสอนจะได้เพมิ่ เติมกลยทุ ธพ์ ิเศษเข้าไปอกี กอ่ นจบบทน้ี การเล่น 5 : 3, 6 : 4, 7 : 5 ก็เปน็ แบบที่เหมาะสมเช่นกนั เพอื่ ทจ่ี ะพฒั นาการรุก และป้องกันอย่างเป็นข้ันตอน และมีระบบแบบแผน เป็นการส่งเสริมให้ผู้เล่นฝ่ายรุกท่ีมีมากกว่าสร้าง เกมเขา้ ไปทำ� ประตู ในขณะเดยี วกนั ก็สร้างสรรคเ์ กมรบั ของฝา่ ยปอ้ งกันดว้ ยเชน่ เดียวกนั กลยุทธใ์ นการเลน่ ลกู ตาย (Stationary Tactics) ลูกเรมิ่ เลน่ – (Start of Play) การเตะลูกโทษ – (Free Kick) การเตะลูกโทษ ณ จดุ เตะโทษ – (Penalty) ลกู ทุ่ม – (Throw-in) เตะจากประตู – (Goal Kick) ลกู เตะมุม – (Corner Kick) 66
คมู่ ือผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล 67
คูม่ ือผู้ฝึกสอนกฬี าฟุตบอล กลยทุ ธ์ในการเล่นลูกตาย (STATIONARY TACTICS) การเตะเรมิ่ เลน่ (KICK-OFF) โดยท่ัวๆ ไปการเตะเร่ิมเล่นจะยัง ไม่น�ำกลยุทธ์มาใช้ในการเล่น จึงท�ำให้ ไมม่ กี ารฝกึ เพอื่ พฒั นาการเตะลกู เรมิ่ เลน่ ท่ีมีประสิทธิภาพอย่างไรก็ดีการเน้นการ ครอบครองลกู บอล เป็นยทุ ธวธิ ที ่มี ีความ จำ� เปน็ ของการเตะเรม่ิ เลน่ อยา่ งมาก เมอื่ มกี ารเตะเริ่มเล่นเกิดข้นึ ทมี น้ันจะเริม่ ได้ เปรียบการเล่นทันทีในเรื่องของการ ครอบครองลกู บอล แต่ส่ิงน้ีจะเกิดความ สมดุลกับฝ่ายตรงข้ามซึ่งผู้เล่นทุกคนอยู่ ในแดนของเขา จดุ มงุ่ หมายของทมี ในการ ครอบครองลูกบอลต้องท�ำให้เกิดความ คิดสร้างสรรค์ในการเปิดท่ีว่างเพ่ือใช้ใน การรุกเข้าโจมตี ดังน้ันการรักษาการ ครอบครองลูกบอลอาจจะช่วยให้ทีมมี การรวมก�ำลัง และท�ำให้เกิดความมั่นใจ ในตนเองและในทมี ในสถานการณเ์ ชน่ นี้ เหมอื นกบั การเลน่ หมากรกุ ซง่ึ ตอ้ งศกึ ษา การเปิดเกมการเล่นพ้ืนฐานของเกมการ แข่งขันการเตะเริ่มเล่นท่ีดีจะสามารถ ท�ำให้คู่ต่อสู้ตื่นตะลึงโดยการเล่นลูกยาว ท่ีเขาคาดไม่ถึง และเป็นฝ่ายเริ่มท�ำก่อน ในการรุกแต่สิ่งนี้ก็อาจจะเป็นไปได้ที่ทีม ต้องสูญเสียการครอบครองลูกบอลและ ถกู โจมตกี ลบั โดยฝ่ายคตู่ อ่ สู้ เมอื่ การเลน่ ไมส่ ัมฤทธิผ์ ล การประเมนิ ผลขน้ึ สุดทา้ ย เปน็ สงิ่ ทยี่ ากมากๆ วา่ จำ� นวนครง้ั ของการ 68
คูม่ ือผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล เตะเร่ิมเล่นจะส�ำเร็จหรือล้มเหลวมากน้อยเพียงใด อารมณ์และสภาพจิตใจของผู้เล่นเป็นสิ่งจ�ำเป็น เมื่อใช้ กลยทุ ธ์พเิ ศษในการเตะเรม่ิ เลน่ การเตะลูกโทษ (FREE-KICK) ตามธรรมชาตกิ ารเลน่ ของกองหนา้ จะมวี ธิ เี ลน่ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ ในการดงึ เกมใหช้ า้ ลงและ พยายามหลอกลอ่ ใหฝ้ า่ ยคตู่ อ่ สกู้ ระทำ� ผดิ กตกิ าเพอื่ จะไดเ้ ตะลกู โทษ ซงึ่ จากสถติ ขิ องการแขง่ ขนั ฟตุ บอล โลกแสดงใหเ้ ห็นว่าบางทีมการไดเ้ ตะลกู โทษเปน็ สง่ิ ท่สี �ำคัญโดยใชเ้ วลาในการฝกึ อย่างหนกั ในท่ีนี้จะกล่าวถึงหลักของการโจมตแี ละการป้องกันในเรือ่ งของการเตะลูกโทษ คอื การเตะลกู โทษกับการป้องกัน - การสร้างก�ำแพง การเตะลูกโทษกบั การโจมตี - รปู แบบต่างๆ ของการเตะลกู โทษ การเตะลกู โทษกบั การปอ้ งกนั กอ่ นอน่ื ใดทงั้ หมดสง่ิ ทสี่ ำ� คญั กค็ อื กฎทว่ั ๆ ไปทจ่ี ะประยกุ ตเ์ พอ่ื จดั รปู แบบของการต้งั ก�ำแพง ในสถานการณ์พเิ ศษนอ้ี าจจะแตกต่างจากรูปแบบธรรมดา ก) ต�ำแหนง่ ของลูกบอล ผเู้ ลน่ คนแรกของกำ� แพงและเสาประตูจะต้องอย่บู นเสน้ ตรงเดยี วกัน ข) จำ� นวนผเู้ ลน่ ในกำ� แพงจะขน้ึ อยกู่ บั ตำ� แหนง่ ของลกู บอลแตส่ ามารถกำ� หนดจำ� นวนผเู้ ลน่ ตง้ั แต่ 2-6 คน ค) ผู้เล่นคนหนึ่งต้องยืนอย่างถูกต้องต่อจากผู้เล่นคนอื่น เพ่ือป้องกันการเตะลูกโทษพิเศษจาก ช่องวา่ งและรวมทง้ั ปิดช่องวา่ งระหว่างก�ำแพงกับผู้รักษาประตู 69
คูม่ อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ บอล ง) ผู้รักษาประตูอยู่ระหว่าง 2/3 ของเส้นประตู เพื่อคุมพ้ืนท่ีทางด้านใกล้และท�ำให้ตัวเขามอง เห็นก�ำแพงและคนเตะ จะเป็นการได้เปรียบถ้าจะยืนในต�ำแหน่งที่จะเคล่ือนที่ไปข้างหน้ามากกว่าการ ต้องถอยหลงั รับลกู บอล จ) หลกั การปอ้ งกนั ทส่ี �ำคญั อกี ขอ้ หนึง่ คือ ตอ้ งมผี เู้ ลน่ ฝ่ายปอ้ งกนั มากกว่า 2 คน ประยุกต์ใชก้ ฎ ของความลกึ ในการคลมุ พนื้ ทวี่ า่ งหลกั กำ� แพง ซง่ึ ถา้ ใชก้ ารยนื แบบนต้ี อ้ งมผี เู้ ลน่ 9 คน ทเี่ กยี่ วขอ้ งโดยตรง ในการปอ้ งกันการเตะลกู โทษ การเตะลูกโทษกับการโจมตี ต้องฝึกการเตะลูกโทษหลายๆ คร้ังช่วยให้เกิดความคิดใหม่ๆ ว่า “การเตะลกู โทษพเิ ศษ” ทฝ่ี กึ อยนู่ นั้ สามารถเปน็ ไปไดแ้ ละเปน็ ไมไ่ ดม้ ากนอ้ ยเพยี งใดโดยการฝกึ แบบลอง ผิด ลองถกู นน่ั เอง ตัวอยา่ งท่แี สดงใหเ้ หน็ ในรูปนี้เปน็ เพียงตวั อย่างหน่งึ ในหลายๆ แบบทส่ี ามารถเป็นไปได้ ซง่ึ หาก มีผู้เลน่ ที่สามารถเตะโดยตรงให้เขา้ ประตู ก็ไม่จ�ำเป็นตอ้ งใช้กลยุทธ์พิเศษนี้ ก) ผเู้ ลน่ คนหนง่ึ ของฝา่ ยรกุ ยนื อยหู่ นา้ กำ� แพงและอยหู่ า่ งจากลกู บอลนอ้ ยกวา่ 10 หลา ซงึ่ แนน่ อน ว่าเขาจะไม่ถูกประกบตัว หน้าท่ีของเขาก็คือส่งลูกบอลไปให้ผู้เล่นพิเศษในทีมซ่ึงเป็นผู้ได้เปรียบใน ต�ำแหน่งทีจ่ ะยงิ ประตู ข) ผ้เู ล่นทจ่ี ะเตะลูกบอลตอ้ งให้สัญญาณกับคนสง่ ว่าผเู้ ล่นคนใดจะเป็นคนเล่นลูกบอล ค) ผู้เลน่ ทีจ่ ะรบั ลูกบอล ตอ้ งเตรียมตัวให้พรอ้ มในตำ� แหนง่ ทถี่ กู ต้อง เช่น ถ้าจะเตะดว้ ยเท้าขวา ต้องยนื ทางดา้ นขวา และอกี คนหนึ่งก็ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเดยี วกนั ในดา้ นซา้ ย 70
คมู่ อื ผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล การเตะลกู โทษท่ีจะเตะโทษ (PENALTY-KICK) ส่ิงท่ีจ�ำเป็นในการฝึก ได้แก่ ก�ำแพงยิงประตู ธงและผ้า และจุดโทษ ปัจจุบันกติกาการแข่งขัน เม่ือผลการแข่งขันเสมอกันมักจะจบการแข่งขันด้วยการเตะลูกโทษ จึงเป็นส่ิงส�ำคัญที่ผู้ฝึกสอนจะต้อง ให้ผู้เลน่ ได้รบั การฝึกดว้ ย ในแบบจ�ำลองของการฝึกไมเ่ พยี งแต่ใชก้ ลยทุ ธ์/เทคนิคเทา่ นนั้ ยงั จำ� เป็นตอ้ งใชจ้ ิตวิทยาเขา้ มามี ส่วนร่วมดว้ ยอย่างมาก การเตะลูกโทษที่จะเตะโทษ แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ การเตะลูกด้วยความรุนแรงโดยใช้พลงั ในการเตะลูกบอล และลักษณะของการเตะวางต�ำแหน่งของลูกบอลในทิศทางที่แม่นย�ำโดยใช้ความ แนน่ อนและความสามารถในการหลอกลอ่ ผ้รู ักษาประตโู ดยไมผ่ ดิ กติกา ท้ังสองลักษณะน้ีมีข้อได้เปรียบและเสียเปรียบ ซึ่งจะเป็นแรงกดดันต่อตัวผู้เล่น ดังนั้นผู้ฝึกสอน จะตอ้ งไมไ่ ปกา้ วกา่ ยหรอื รบกวนสมาธขิ องผเู้ ลน่ โดยปลอ่ ยใหเ้ ขาไดใ้ ชส้ ญั ชาตญาณตามธรรมชาตอิ ยา่ ง เตม็ ท่ี เมอ่ื ตอ้ งการฝึกการเตะลูกโทษทีจ่ ุดเตะโทษสามารถกระท�ำได้ 2 ลักษณะ คอื ฝึกอยา่ งสม�ำ่ เสมอ หรือฝึกก่อนการแขง่ ขัน ผ้เู ล่นที่จะเตะลูกโทษ ตอ้ งเปน็ ผทู้ ่ีตอ้ งการจะเตะในสถานการณบ์ บี บังคบั ผ้ฝู ึกสอนต้องตัดสินใจ ใหแ้ นน่ อนในการก�ำหนดตวั ผเู้ ลน่ ทจ่ี ะเตะ โดยใช้หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาคอื ก) ผู้เล่นทถี่ กู กระท�ำฟาล์วไม่ควรเตะลูกโทษ ข) ผเู้ ลน่ ทบ่ี าดเจบ็ หรอื ผเู้ ลน่ ทีเ่ ล่นผดิ ฟอรม์ ในวันนน้ั ไม่ควรให้เตะลูกโทษ 71
คู่มอื ผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟตุ บอล ผู้เล่นท่ีจะเตะลูกโทษที่จุดเตะโทษจะต้องรักษาจิตใจให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และผู้ฝึกสอน ต้องเตรียมผเู้ ลน่ ไว้อยา่ งน้อย 6 คน ทีจ่ ะฝกึ การเตะลูกโทษทจ่ี ดุ เตะโทษ การทุ่มลกู เขา้ เล่น (THROW-IN) การทุ่มลูกในการรุกจะได้เปรียบในกติกาของการล�้ำหน้าที่ไม่สามารถน�ำมาใช้ได้การทุ่มลูกสามารถ ปฏบิ ตั ิได้เหมอื นกบั การเลน่ ในสถานการณ์ทวั่ ๆ ไป ความได้เปรยี บท่ีเป็นไปได้ดว้ ยการหลอกลอ่ ซงึ่ ต้อง แน่ใจว่าจะไม่เปน็ การเสยี โอกาส หลักการฝึกการทุ่มลูกนีจ้ ะเป็นไปตามทฤษฎขี องการแข่งขนั การเรมิ่ ตน้ ด้วยการฝกึ ขัน้ พน้ื ฐานกบั คู่ ตอ่ สู้และเพื่อนร่วมทีม ไปจนถงึ การฝึกเป็นทีมที่สมบรู ณ์ เพอ่ื พฒั นาความเข้าใจในกลุ่มการให้สญั ญาณ จ�ำเปน็ ตอ้ งใช้ในการฝกึ นี้ สญั ญาณน้วิ หวั แมม่ ือเปน็ สง่ิ ท่ใี ชไ้ ด้สะดวกมาก 72
คู่มือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล ก) น้วิ หวั แม่มือช้ขี นึ้ -ให้ทมุ่ ลูกข้ามศีรษะ ข) นวิ้ หวั แมม่ อื ชลี้ ง-ใหท้ มุ่ ลกู บอลลงขา้ งหนา้ ค) นว้ิ หัวแม่มือช้ีไปทางขวา/ซา้ ย การเตะลกู จากประตู (GOAL-KICK) ทีมท่ีเตะลูกจากประตูต้องก�ำหนด จุดมุ่งหมายของเขาไปให้ผู้เล่นที่ไม่ถูก ประกบและเปิดท่ีว่างดังนั้นเมื่อมีการเตะ เกิดข้ึนเขาสามารถรับลูกบอลภายใต้ความ กดดันเพียงเล็กน้อยเทา่ ท่จี ะเปน็ ไปได้ การสร้างท่ีว่างทฤษฎีการเตะเริ่ม เล่นถูกเลือกน�ำมาใช้อีกครั้งหนึ่งผู้เล่นทุก คนจะตอ้ งเคลอื่ นที่ ผู้เล่นท่ีอยู่ใกล้ลูกบอลต้องเป็นตัว ประคอง คนอนื่ ทอ่ี ยไู่ กลใชป้ ระโยชนใ์ นการ เปิดท่วี า่ งทีม่ กี ารสร้างข้นึ จากผลและระบบเคลอ่ื นทเี่ ปน็ ไปได้ 3 ประการท่ีจะเปิดทางส�ำหรับผู้รักษา ประตู 1. ประคองบรเิ วณเขตโทษ 2. ส่งโดยตรงไปให้ผู้เล่นท่ีไม่ถูก ประกบในกลางสนาม 3. ติดตามการส่งกลับหลังจากการ เตะลูกสั้น เขาสามารถส่งไปให้ผู้เล่นศูนย์ หนา้ แบบฝึกหัดท่แี สดงใหเ้ ห็นความแตกตา่ งหลายระดบั ทจ่ี ะพัฒนาและทัง้ ยงั เสนอใหเ้ ห็นดงั รูป 73
คูม่ ือผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ บอล การเตะจากมุม (CORNER-KICK) การศึกษาถงึ สถิตขิ องการท�ำประตใู นฟุตบอลโลก ค.ศ. 1972 ที่ประเทศสเปน แสดงให้เห็นอยา่ ง ชดั เจนวา่ ประตหู ลายๆ ประตเู ปน็ ผลจากการเตะจากมมุ ทมี จากประเทศอเมรกิ าใตแ้ สดงใหเ้ หน็ อกี ครง้ั วา่ เหนอื กวา่ ทีมจากประเทศยโุ รป รวมทั้งทีมจากประเทศเอเชยี , แอฟรกิ า และทมี จากประเทศอเมริกา กลาง ในการเตะจากมมุ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ ในการเลน่ ลูกสั้นท่มี มุ สนามหรือการเตะผา่ นมายังหน้าประตู โดยตรง เชน่ เดียวกบั การเตะลกู โทษ การเตะจากมุมสนามมีหลักการฝา่ ยป้องกนั และฝา่ ยโจมตี ดังนี้ 1. การเตะจากมุม สามารถเตะด้วย “เท้าที่ตรงกันข้าม” (ใช้เท้าขวาเตะทางมุมด้านซ้ายและ กระท�ำกลบั กนั ในมมุ ตรงกันขา้ ม) ก) สภาพกฎขอ้ นค้ี อื การเตะจากมมุ สามารถทำ� ประตไู ดโ้ ดยตรง แตส่ ง่ิ นเ้ี ปน็ สง่ิ ทลี่ ำ� บากทจี่ ะเปน็ ไปได้ ถ้าปราศจากลกู บอลทโ่ี ค้งเขา้ หาประตู กระทบลูกบอลดว้ ยเทา้ ทต่ี รงกันข้ามกับมุมท่เี ตะ ข) ในการเตะลกู โคง้ เข้าหาประตู ตอ้ งการสนบั สนุนเพยี งเล็กน้อยจากผู้เล่นกองหนา้ และในทนั ที ทีเ่ ตะลูกบอล โคง้ มาหนา้ ประตู กจ็ ะว่งิ ไปในพ้นื ทอ่ี ันตราย ค) ในการเตะลูกโค้งออกจากประตูจะช่วยในการป้องกนั ของฝ่ายตรงข้าม รปู ภาพ 74
คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟตุ บอล 2. ทกั ษะของผเู้ ลน่ มคี วามสามารถทจ่ี ะเตะลกู บอลไดด้ ว้ ยขา้ งเทา้ ดา้ นใน ขา้ งเทา้ ดา้ นนอก หลงั เท้าในการส่งลูกเลยี ด โดง่ หรอื การเล่นลูกส่งสน้ั ๆ 3. ต�ำแหน่งท่ีดีที่สุดส�ำหรับผู้โจมตี คือ แนวเส้นสมมุติ ซึ่งลากจากจุดมุมสนามไปยังมุมตรงกัน ขา้ มของเขตโทษ ผ้เู ล่นคนหน่ึงอยใู่ กลก้ ับมมุ ของเขต 6 หลา ผเู้ ล่นคนทีส่ องอยู่ทีจ่ ดุ เตะโทษ และคนท่ี 3 อยู่ท่มี ุมไกลของเขตโทษ 4. เส้นทแยงมมุ เส้นที่ 2 ของผู้โจมตี คอื ตำ� แหนง่ ท่ไี กลออกไปตรงพื้นทก่ี ลางสนามตอ้ งพรอ้ มที่ จะเล่นลกู สน้ั หรือ ลูกท่ีส่งกระดอนออกมา ตอ่ ไปนีเ้ ราสามารถจะใหต้ ำ� แหน่งพนื้ ฐานของการป้องกนั พ้ืนทใ่ี กล้ท่ีประตู รวมทั้งต�ำแหนง่ ของผ้รู กั ษา ประตู ดงั นี้ 1. พ้ืนฐานแรกผู้เล่นฝ่ายป้องกันคนหนึ่งจะต้องคลุมการต่อสู้การเล่นลูกสั้นจากมุม (ในด้านที่มี การเตะจากมมุ ) 2. ผรู้ ักษาประตูจะอยู่ 2 ใน 3 ตามขวางของประตู ไมใ่ ช่ยืนอยู่บนเส้นประตูแตอ่ ยู่บนเส้นสมมตุ ิ จากเสาประตดู า้ นใกลไ้ ปยังมุมตรงข้ามของเขต 6 หลา ซ่ึงสิ่งน้ีจะช่วยให้เขาเห็นลกู บอลที่เตะมา และ เมอื่ จ�ำเป็นท่ีจะตอ้ งเคลอ่ื นท่ไี ปขา้ งหน้า ข้างหลงั หรอื ออกไปชว่ ยปอ้ งกันในเขตโทษ 3. ผู้เล่นคนอื่นๆ ท่ีคลุมพ้ืนที่ จะยืนไกลออกไปบนเส้นทแยงมุมเดียวกันกับผู้รักษาประตูโดย พิจารณาจากสถานการณ์ และการเตรียมพร้อมที่จะครอบครองคู่ต่อสู้ และการเตะมุมด้วยลูกไกลให้ ออกไปจากเขตอนั ตราย 4. ผู้เล่นฝ่ายป้องกันคนหนึ่งจะยืนอยู่ห่างอย่างน้อย 10 หลา จากลูกบอล และพยายามท่ีจะ ป้องกันการเตะลกู บอลไปท่หี นา้ ประตู รวมทงั้ กระเตะมุมโดยการเลน่ ลูกส้นั 75
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล 76 การรับ กลางสนาม การบุก
คูม่ อื ผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล บทที่ 4 การฝกึ เทคนคิ (TECHNICAL TRAINING) เทคนิค คือ ความสามารถพิเศษในการท�ำบางส่ิงบางอย่างในการฝึก โดยอาศัยการฝึกพ้ืนฐาน (Basic) มาประสานกลมกลนื กนั เชน่ การโหม่งลูก, การเลยี้ ง, การส่งลกู ฯลฯ การพฒั นาเทคนคิ เพยี งอย่างเดียว ต้องมปี ัจจัยท่ีจะท�ำได้ 1. ลูกบอล 1 ลกู /1 คน 2. เปา้ หมาย (เพือ่ นร่วมทีม ประตู ก�ำแพง จ�ำนวนลูกผา่ น ฯลฯ) 3. สถานทเี่ ล่น ตัวอยา่ งการฝกึ เทคนิคการผ่านลูกยาว จะเก่ยี วข้องกบั ปัจจัย 3 ประการ คือ 1. การเข้าหาลกู บอล อ้อมลกู บอลทางด้านขา้ งเพ่อื การเหวย่ี งขาไดม้ ากเมอื่ เตะลกู บอล 2. แรงปะทะ คุณควรเตะสว่ นไหนของลูกบอล เชน่ ต้องการลกู โด่ง ควรเตะใต้ลกู ฯลฯ 3. การสง่ แรงตาม ควรใหแ้ นใ่ จเรื่องความแม่นย�ำและความรวดเรว็ สว่ นการพฒั นาทกั ษะน้นั ต้องมปี ัจจัยดังน้ี 1. คตู่ อ่ สู้ 2. ผเู้ ลน่ สนบั สนุน 3. เป้าหมาย หรือทิศทางสำ� หรบั ลกู บอล ตัวอย่างการฝกึ การส่งลูกและการครองลูกให้กับผู้เล่นกล่มุ หนึง่ มีบางส่งิ ท่ีตอ้ งพิจารณาคือ 1. จะใช้เทคนิคอะไร 2. จะใช้เมือ่ ไร 3. การเคลื่อนไปสตู่ �ำแหนง่ ใหม่-เป็นส่งิ จำ� เปน็ หรอื ไม่ 4. ต�ำแหนง่ สนับสนุนทดี่ ีสดุ คอื ต�ำแหนง่ ใด 77
คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล 5. เมอ่ื ไรที่ควรจะเข้าไปอย่ใู นต�ำแหน่งใหม่ 6. ท�ำไมต�ำแหนง่ น้ีจึงดีกว่าตำ� แหนง่ ท่เี คยอยมู่ าก่อน การโค้ชฟุตบอล โค้ชและผู้เล่นต้องเก่ียวข้องกับการตัดสินใจ การเป็นผู้เล่นท่ีมีประสิทธิภาพได้ น้ัน ตอ้ งสามารถตัดสนิ ใจไดถ้ กู ตอ้ ง ในเวลาทถ่ี กู ต้องและใช้เทคนิคที่ถกู ต้องในเวลาท่ีเหมาะ การฝกึ ทางดา้ นนี้ ตอ้ งอาศยั การฝกึ ขนั้ พนื้ ฐานมากอ่ นมกี ารฝกึ อยา่ งถกู ตอ้ งและถกู วธิ โี ดยการฝกึ ช้าๆ ปิดจังหวะ รู้จักจังหวะของลูกฟุตบอล การใช้อวัยวะทุกส่วนของร่างกายในการเคลื่อนไหวและ การสัมผัสกับลกู บอล ทา่ ทางตา่ งๆ ทถ่ี กู จัดขึน้ อยา่ งเหมาะสมและไดส้ ดั ส่วน โดยสามารถแยกออกเปน็ ประเภทของการฝกึ ได้ดังน้ี เทคนิคการเตะ (KICKING) - การเตะลูกไซ้โคง้ ด้วยขา้ งเทา้ ด้านใน และดา้ นนอก (BANANA KICK) - การเตะลูกชิบ (SHIP) - การเตะลกู ด้วยหักเกือก - การเลน่ ลกู สนั้ เทคนคิ การเลี้ยงลูกบอล (DRIBBLING) - เล้ยี งเพื่อครอบครองลกู บอล - เลย้ี งเพ่ือหลบหลีก - เล้ียงเพื่อขึ้นไปยดึ พื้นท่วี า่ ง เลย้ี งไปด้วยความเร็วเพอ่ื ท�ำประตู 78
คู่มอื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟตุ บอล เทคนคิ การสง่ (PASSING) 1. การสง่ ลูกทแยงมุม (DIAGONALPASS) 2. การส่งลูกทรู (THROUGH PASS) การส่งโดยการทะลุ ทะลวงไปขา้ งหนา้ เพอ่ื กนิ พนื้ ทหี่ รอื เพอ่ื เจาะแนวฝา่ ยรบั เขา้ ทำ� ประตู 3. การสง่ ลกู กลับหลัง (BACK PASS) ในขณะทไี่ มส่ ามารถสง่ บอลไปดา้ นหนา้ ไดใ้ หส้ ง่ กลบั หลงั หรอื ในโอกาสทฝ่ี า่ ยรกุ บกุ ไป ถึงเส้นแนวประตู จะส่งลูกบอลกลับหลังท่ีเรียกกันว่าลูก 90 องศา ออกมาเพอื่ ยิงประตู 4. การส่งลูกทางด้านขวางสนามหรอื ทางด้านกว้างของสนามในลกั ษณะมุมฉาก (SQUARE PASS) เคลอื่ นทสี่ ง่ ลูกบอล ทางซา้ ย - ขวา รับลูกบอลจากการส่งลูกบอล ไปทวี่ ่างแล้วสง่ กลบั ไปหาคู่ สง่ ลูกบอลแลว้ วิ่งไปทว่ี ่างดา้ นหนา้ - ฝกึ คอนโทรลลูกบอล เคลื่อนทส่ี ่งลกู บอลกลบั - จงั หวะเดยี ว จังหวะเดียว 79
คมู่ อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ บอล สง่ ลกู บอลกลับหาคจู่ งั หวะเดยี ว ลกู ชงิ่ (WALL PASS) คนทมี่ ลี กู ครอบครอง ส่งลูกบอลให้คู่แล้ววิ่งไปรับลูกบอลที่ว่าง ดา้ นหนา้ (คขู่ าสง่ ลกู บอลจงั หวะเดยี ว) การคอนโทรลลกู บอล (CONTROLING THE BALL) เทคนคิ ในการควบคมุ ลกู บอลนนั้ มมี ากมาย โดยใชอ้ วยั วะทกุ สว่ นของรา่ งกายทไี่ มผ่ ดิ กตกิ าบงั คบั ลูกบอลไปในทศิ ทางที่ตอ้ งการ โดยอาศยั จงั หวะ คอนโทรลลกู บอลไปท่วี า่ ง โดยให้คู่เตะลูกบอลส่งให้จากระยะหา่ งกันประมาณ 20 เมตร เลน่ ลกู บอลจงั หวะเดยี วดว้ ย เทา้ กลบั ไปหาคหู่ รอื ดว้ ยการ โหมง่ 80
คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล เทคนคิ การโหม่ง (HEADING) การโหมง่ เปน็ เทคนคิ อกี อยา่ งทส่ี ำ� คญั มากในการเลน่ ฟตุ บอลจะเหน็ ไดว้ า่ ตลอดระยะเวลาการเลน่ 90 นาทนี น้ั ทกั ษะการโหมง่ จะถกู นำ� มาใชต้ ลอดเวลาเราสามารถแบง่ แยกการโหมง่ ไดห้ ลายลกั ษณะ ดงั นี้ - การยืนโหม่ง - การโดดโหม่ง - วง่ิ โหม่ง - พุ่งโหม่ง เทคนิคนี้ผูฝ้ กึ สอนควรจดั โปรแกรมการฝกึ ไว้ดว้ ย 81
คมู่ ือผูฝ้ กึ สอนกฬี าฟุตบอล เทคนคิ การยิงประตู (SHOOTING) เป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดส�ำหรับเกมการแข่งขันฟุตบอล และมีแบบฝึกในการยิงประตูอยู่มากมายจะ ยกตวั อย่างบางแบบฝกึ เทา่ น้นั รูปภาพ ฝกึ การสง่ ลกู บอลระยะไกลให้ ฝกึ การชิง่ ลกู บอล 2 ครั้งแลว้ เลย้ี งลูกบอลเขา้ มายิง ประตู ผเู้ ลน่ กองหนา้ ทยี่ นื อยู่ 2 คน เขา้ ยงิ ประตู เลน่ ลกู บอลจงั หวะเดยี ว คนทผี่ า่ นลกู บอล วิ่งเขา้ ประตู เลี้ยงลูกบอลทแยงมมุ จากด้านขา้ งเข้ามายิงประตู ฝกึ การสง่ ลกู บอลจงั หวะเดยี วกลบั หลงั ใหค้ นทสี่ ง่ แลว้ เขา้ ยงิ ประตู คน ส่งส่งให้ผู้เล่นท่ีอยู่ด้านหน้าส่งลูกบอลกลับหลังและหาท่ีว่างท�ำติดต่อ กัน 3 ครั้ง แลว้ เข้ายิงประตู 82
คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล เทคนคิ การเป็นผู้รกั ษาประตู การเป็นผรู้ ักษาประตทู ี่จะต้องเรยี นรู้ ดังน้ี 1. การรับลูกบอลในทา่ ทางต่างๆ และลักษณะต่างๆ 2. ตำ� แหน่งในการป้องกนั 3. การชกหรือปดั ลกู บอล 4. การข้างลูกบอล 5. การออกมาสกดั กัน้ ฝกึ ความเร็ว และการออกมารบั ลูกของผูร้ ักษาประตู ฝึกรับลกู บอล โดยการกระโดดรับทปี่ ระตู ฝกึ การกระโดดรับลูกบอล ฝกึ ผู้รกั ษาประตูออกมารับลกู บอล ผฝู้ ึกสอนโยนขา้ มศีรษะ หน้าประตโู ดยผ่านลกู บอลมา ผู้รกั ษาประตูถอยหลังกระโดดปดั ลูกบอลใหข้ ้ามคานประตู จากดา้ นขา้ ง 83
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล ฝึกการชกลูกบอล 2 มือ ใน ขณะที่ไม่สามารถรับลูกได้ผู้รักษา ประตูอีกคนท�ำหน้าที่คอยกันไม่ให้ ผูร้ ักษาประตรู บั ลูกงา่ ย ฝึกการกระโดดรับด้านข้างผู้ ฝึกสอนส่งลกู บอลใหท้ างซ้าย-ขวา 84
คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟตุ บอล บทที่ 5 การฝึกสมรรถภาพ (CONDITION TRAINING) การฝกึ ซอ้ มเพ่ือเตรยี มทีมแข่งขัน การฝกึ ซ้อมฟุตบอลนน้ั ประกอบดว้ ยองค์ประกอบที่ส�ำคญั ดังน้ี 1. การฝกึ ทางด้านสมรรถภาพ (Condition Training) สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื การสรา้ งสมรรถภาพทว่ั ไป คอื การฝกึ ในลกั ษณะเตรยี มความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกายทว่ั ๆ ไป เพอ่ื ทจี่ ะเปน็ พน้ื ฐานในการฝึกขน้ั สงู การสรา้ งสมรรถภาพสำ� หรับนกั ฟุตบอล เป็นสิ่งท่ีจำ� เปน็ อยา่ งยิง่ กฬี าฟุตบอลเปน็ กีฬาทีม่ กี าร เคล่อื นไหวในรปู แบบตา่ งๆ มากมาย และใช้เวลาในการแข่งขนั นานพอสมควร นักกีฬาจะต้องฝึกซอ้ ม มาเป็นอย่างดี ปัจจุบันนักกีฬาฟุตบอลได้อาศัยวิทยาศาสตร์ทางการกีฬาเข้ามาช่วยมาก ได้มีการวิจัย การทดสอบในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับโครงสร้างของร่างกาย สรีระ เพ่ือเป็นแนวทางในการเสริมสร้าง สมรรถภาพของร่างกายและได้น�ำข้ันตอนในการออกก�ำลังกายมาใช้ให้ถูกหลักและถูกวิธีการของกีฬา แตล่ ะประเภทดว้ ย ดงั นนั้ การสรา้ งสมรรถภาพสำ� หรบั ฟตุ บอลจงึ ตอ้ งอาศยั ขน้ั ตอนและวธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ ง เช่นเดยี วกนั เพอ่ื ใหน้ กั ฟุตบอลมสี มรรถภาพทางด้านร่างกายดที ี่สดุ พรอ้ มท่ีจะแขง่ ขนั ขั้นตอนการสร้างสมรรถภาพประกอบด้วยการอบอุ่นรา่ งกาย การอบอุ่นร่างกาย (Warm-up) การอบอุ่นร่างกายเป็นสิ่งที่นักกีฬาต้องท�ำก่อนฝึกซ้อมหรือแข่งขัน ซึ่งนอกจากจะท�ำให้การฝึก ซอ้ มหรอื แขง่ ขนั ไดผ้ ลเตม็ ทแี่ ลว้ ยงั ชว่ ยปอ้ งกนั การบาดเจบ็ ของกลา้ มเนอื้ ขอ้ ตอ่ และเอน็ เชน่ ขอ้ แพลง กลา้ มเนือ้ ฉีกได้อกี ดว้ ย 85
คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล การอบอ่นุ รา่ งกาย ผลดขี องการอบอุน่ รา่ งกายต่อสมรรถภาพในการเล่นกีฬามีอยู่ 3 ประการ คือ 1. ทำ� ใหก้ ารประสานงานระหวา่ งกลา้ มเนอื้ และประสาท และระหวา่ งกลมุ่ กลา้ มเนอื้ ดว้ ยกนั เปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ งและราบรื่น การปฏิบตั ิตามเทคนคิ จะท�ำไดด้ ี 2. เพ่มิ อุณหภมู ิในกล้ามเน้อื ทำ� ใหก้ ลา้ มเนอ้ื หดตัวไดป้ ระสิทธภิ าพสูงสุด 3. ปรบั การหายใจและการไหลเวยี นเลอื ดใหเ้ ขา้ ใกลร้ ะยะคงที่ (Steady State) เปน็ การยน่ ระยะ การปรับตวั (Adaptation Period) ในระหว่างการฝึกซอ้ มหรอื แข่งขนั ในการอบอุ่นร่างกายจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงอุณหภูมิแวดล้อมด้วย ถ้าอากาศร้อนการอุ่นร่างกาย อาจใชเ้ วลานอ้ ย แตถ่ า้ อากาศหนาวจำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ วลามากกวา่ หลกั ปฏบิ ตั คิ อื การทำ� ทา่ ทางทต่ี อ้ งใชใ้ น การเลน่ กฬี าช้าๆ แลว้ คอ่ ยๆ เพิม่ ใหเ้ ร็วขน้ึ ทำ� จากเบาแลว้ คอ่ ยๆ เพมิ่ ความหนักข้นึ การฝึกกายบรหิ าร (Gymnastics) จุดม่งุ หมายของการฝกึ การบริหาร น้ัน คือความคล่องแคลว่ วอ่ งไว ดงั นั้น ส่งิ ต่อไปนี้จะตอ้ งถกู แยกอย่างชัดเจนจากการฝึกท่ีให้เกิดความแข็งแรง อาจจะเป็นความต่อเน่ืองของกระบวนการอบอุ่น ร่างกายหรือการฝึกที่ต่อเน่ือง พฤติกรรมของการอบอุ่นร่างกายถูกก�ำหนดขึ้นมาเพื่อเร้าหรือกระตุ้น ระบบการไหลเวียนทุกระบบ ที่จุดมุ่งหมายของการฝึกยิมนาสติกก็คือ เพื่อท�ำให้กล้ามเน้ือท้ังหลาย ท�ำงานอยา่ งราบร่ืนแขง็ แรง 86
ค่มู ือผ้ฝู ึกสอนกฬี าฟตุ บอล รูปแบบการอบอ่นุ ร่างกาย 87
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล การยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื 88
คู่มอื ผ้ฝู กึ สอนกีฬาฟุตบอล ท่ากายบรหิ าร 89
คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟตุ บอล การยดื เหยียดกล้ามเนอ้ื (Stretching) การเตรยี มรา่ งกายส�ำหรบั เกมกีฬาหาใช่ของงา่ ยไม่ ใครที่ไมร่ ้อู าจมองข้าม หรืออาจคดิ อยา่ งคนรู้ นอ้ ยกวา่ การเตรยี มตวั ใหก้ ลา้ มเนอื้ ใหย้ ดื หยนุ่ และเกดิ การอบอนุ่ นนั้ เปน็ เรอ่ื งเหลวไหลไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใสใ่ จ อะไรมากมายนกั แทท้ จี่ รงิ แลว้ การเตรยี มตวั ใหร้ า่ งกายพรอ้ มสรรพสำ� หรบั ภาระอนั หนกั หนว่ งในเกมกฬี าแตล่ ะทา่ แต่ละชนิดนั้นมีความหมายยิ่งใหญ่นักส�ำหรับนักกีฬาแต่ละคน เพราะหมายถึงผลงานท่ีจะตามออกมา และการเตรยี มรา่ งกายใหพ้ รอ้ มกอ่ นเรม่ิ ฝกึ ซอ้ มหรอื แขง่ ขนั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพออกมานน้ั จะทำ� ใหร้ า่ งกาย ตนื่ ตวั และสามารถหลีกเลย่ี งอาการบาดเจ็บท่ีพบเหน็ อยเู่ ป็นประจ�ำได้เป็นอยา่ งดี การยืดเหยียดกล้ามเน้ือ คือการวอร์มอัพส�ำหรับเตรียมร่างกายอีกวิธีหน่ึงท่ีสร้างผลงานให้ต่ืน ตะลึงไปทั่วโลกมาแลว้ แหลง่ ก�ำเนดิ ท่ีเกดิ ของการยดื เส้นยดื สายสร้างความอบอุน่ ให้กล้ามเนื้อลักษณะ นีม้ ีขน้ึ ทอ่ี เมรกิ า ด๊อกเตอร์ ฮันสว์ ลิ เฮลม์ มุลเล่อรโ์ วห์ลฟารท์ นายแพทย์ประจำ� ทีมของ “เสือใต้” บาเยิรน์ มวิ นคิ และเจอรเ์ กน้ โมนทาก ครูฝกึ สอนการอบอุน่ รา่ ยกาย ชือ่ กอ้ งของเยอรมันไดพ้ รอ้ มใจกนั ทำ� “โปรแกรม การฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อ”ข้ึนมาส�ำหรับให้ผู้สนใจได้น�ำไปฝึกซ้อมและน�ำไปฝึกซ้อมและน�ำไปปฏิบัติ ก่อนการแข่งขัน จึงขอแนะน�ำการฝึกหัดและเตรียมร่างกายลักษณะน้ีส�ำหรับนักกีฬาทุกคน เพราะจะ ท�ำให้สามารถหลีกเล่ียงอาการบาดเจ็บได้อย่างดีเลิศ แพทย์ประจ�ำทีม “เสือใต้” เปิดใจให้ความเห็น ส�ำหรบั การฝกึ ยดื เหยยี ดกอ่ นทีจ่ ะเรม่ิ เล่นกีฬา ตัวอย่างนักกีฬาผู้หันมาใช้วิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ก่อนวิ่งลงสนามหรือลู่และลานแข่งขันก็มี เชน่ สโมสรเจา้ บญุ ทมุ่ คอสมอส นวิ ยอรค์ สโมสรมหาเศรษฐจี ะลงทนุ เชา่ หอ้ งโถงในโรงแรมทพ่ี กั ใหน้ กั เตะ ฝึกยืดเหยียดกล้ามเนือ้ กันกอ่ นก�ำหนดแขง่ ขนั หนงึ่ ชัว่ โมง ทกุ ๆ ครง้ั “เยี่ยมครบั …เป็นการเตรียมตัวทีด่ ี จรงิ ๆ” ฟรา้ นซ์ เบ๊คเคนบาวร์ อดีตลิเบอ่ โรช่ ่อื กอ้ งโลกท่ีไปสรา้ งชื่อเสียงและท�ำรายได้ดใี นการเปน็ นกั ฟุตบอลอาชพี ในอเมรกิ าใหท้ รรศนะส�ำหรบั การฝกึ ยดื เหยยี ดกล้ามเน้อื ซโิ ก,้ เอเดอ้ ร์ และ เซอรจ์ นิ โอ ตา่ งกย็ อมรบั กบั การเตรยี มรา่ งกายลกั ษณะนกี้ นั ทงั้ นน้ั … “ในบราซลิ พวกเราก็ใช้วธิ ีนีอ้ บอุ่นร่างกายก่อนลงซ้อม หรือลงสนามแข่งขัน” การฝกึ ยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ มใิ ชจ่ ะมแี ตใ่ นวงการลกู หนงั กบั กจิ กรรมกฬี าประเภทกรฑี าการเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมสำ� หรับการแข่งขัน วิธนี กี้ ม็ ีคนนำ� ไปใชอ้ ยา่ งไดผ้ ล… คารล์ เลวสิ ยอดนกั กรฑี าชน้ั เยย่ี มของโลกชาวอเมรกิ นั กห็ นั มาใชก้ ารฝกึ ยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ กอ่ น ทเี่ ขาจะวิ่งลงลู่ “ผมเตรียมตัวด้วยการฝกึ ยืดเหยยี ดกลา้ มเน้ือ ขณะท่คี นอน่ื ๆ วงิ่ เหยาะ และสปรนิ๊ ท…์ ” คารล์ เลวิส จะใช้มาตรการฝกึ ยดื เหยียดกล้ามเนอ้ื เตรียมรา่ งกายใหพ้ ร้อมเต็มทีก่ อ่ น ก่อนทีเ่ ขาจะลงลู่ ควา้ ชยั ชนะในการแขง่ ขัน 90
คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล คา่ ย “เสอื ใต้” บาเยริ น์ มิวนิค กร็ ับเอาการเตรียมตวั ดว้ ยการฝกึ ยดื เหยียดกลา้ มเนื้อมาใชก้ ่อนท่จี ะ ลงวง่ิ ฝึกซ้อมหรือลงสนามแข่งขัน การฝกึ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมผี ลอย่างไรต่อรา่ งกาย ด๊อกเตอร์มุลเล่อร์โวห์ลฟาร์ทของ “เสือใต้” ได้ขยายความไว้อย่างชัดเจนว่า การฝึกยืดเหยียด กล้ามเนือ้ จะทำ� ใหก้ ลา้ มเนอื้ และเส้นเอ็น โดยเฉพาะบริเวณข้อตอ่ เกดิ ความยดื หย่นุ สามารถรับสภาวะ ขณะทรี่ า่ งกายจะตอ้ งทำ� งานใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพเตม็ ทไี่ ดอ้ ยา่ งดเี ลศิ “หากกลา้ มเนอื้ ไมไ่ ดร้ บั การเตรยี มตวั ท่ีเหมาะสมจะท�ำให้ไม่สามารถรับภาระขณะที่ร่างกายท�ำงานอย่างเต็มท่ีไม่ได้… ผลที่ตามมาคือ การบาดเจ็บ” การฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อจะช่วยให้เกิดการหมุนเวียนของโลหิตในกล้ามเน้ือได้เป็นอย่างดีและ จะส่งผลท�ำให้กล้ามเนื้อเกิดความอบอุ่น พลังความร้อนจากกล้ามเนื้อนี้ก็จะช่วยให้เกิดอาการยืดหยุ่น ในตัวของมันอีกทีหน่ึง ผลจากการท�ำงานกล้ามเนื้อลักษณะน้ีจะท�ำให้กล้ามเน้ือมีความหยุ่นตัวสูงขึ้น และมคี วามคลอ่ งแคลว่ ในตวั และขณะเดยี วกนั การทำ� งานของระบบขอ้ ตอ่ กจ็ ะมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ การฝกึ ยดื เหยียดกลา้ มเน้อื จะเปน็ สง่ิ เพิ่มพนู ประสทิ ธิภาพการทำ� งานของกลา้ มเนอื้ ท�ำให้นกั เตะ สามารถใชค้ วามคลอ่ งตวั ทมี่ อี ยนู่ นั้ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ และทสี่ ำ� คญั ยง่ิ คอื การ ฝึกยืดเหยียดกลา้ มเนือ้ สามารถชว่ ยให้นักเตะหลีกเล่ียงอาการบาดเจ็บไดเ้ ปน็ อย่างดี “โดยเฉพาะอาการกลา้ มเนอ้ื ฉกี นน้ั สามารถหลกี เลย่ี งได้ หากไดเ้ รยี นรแู้ ละฝกึ หดั วธิ กี ารยดื เหยยี ด กลา้ มเน้อื เปน็ ประจำ� ” การฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อมีหลายวิธีและ หลายรปู แบบ แตใ่ นทนี่ จี้ ะขอนำ� เฉพาะแบบฉบบั ของดอ๊ กเตอรม์ ลุ เลอ่ วโ์ วหล์ ฟารท์ มาวา่ กนั เทา่ นนั้ เพราะสามารถทำ� ไดด้ ว้ ยตวั เอง โดยไมต่ อ้ งมคี ฝู่ กึ หรอื เคร่อื งชว่ ยแต่อย่างใด “การฝึกยืดเหยียดกล้ามเน้ือจะต้องลงมือ ทำ� ดว้ ยความตง้ั ใจ ผฝู้ กึ ซอ้ มจะตอ้ งรบั รคู้ วามรสู้ กึ อาการตึงของกล้ามเนื้อด้วยตนเอง ค่อยๆ ยืด ค่อยๆเหยียด อย่าให้เกิดอาการเจ็บปวดขณะ ปฏบิ ัต”ิ 91
ค่มู ือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล การยดื และเหยยี ดควรคอ่ ยๆ ทำ� พยายามใหเ้ วลาแกก่ ลา้ มเนอื้ อยา่ งเพยี งพอ เพอ่ื ปรบั ตวั รบั สภาวะ การยืดหยุ่น ระยะแรกๆ ควรจะฝึกทา่ ตา่ งๆ ในชว่ งเวลา 10-15 วินาที พอฝกึ ฝนได้สัก 10-14 วัน แลว้ จงึ เพิ่มเวลาในแตล่ ะทา่ ออกเป็น 20-30 วินาที การฝกึ ซอ้ มแต่ละท่าควรทำ� ซ้ำ� ๆ กนั สัก 2-3 คร้ัง ขณะทฝี่ กึ หดั เหยยี ดหรอื ยดื นน้ั จงพยายามตง้ั สมาธใิ หแ้ นว่ แน่ อยา่ วอกแวก พยายามสดู ลมหายใจ เข้าออกใหส้ มำ่� เสมอ และเป็นจังหวะ ขอ้ แนะนำ� ทสี่ ามารถนำ� ปฏบิ ตั คิ วบคขู่ ณะฝกึ ซอ้ มคอื หดั นบั เปน็ จงั หวะจบั เวลา 10 วนิ าที หรอื นบั หน่ึงถึงสบิ ช้าๆ ข้อส�ำคัญส�ำหรับโปรแกรมการฝึกน้ีคืออย่าได้เลือกท�ำเฉพาะท่าปฏิบัติที่ชอบหรือถนัดเท่าน้ัน เพราะในสนามฟตุ บอลนน้ั จำ� เปน็ ตอ้ งใชก้ ลา้ มเนอื้ ทกุ กลมุ่ ไมว่ า่ จะเปน็ บรเิ วณหลงั , สะโพก, โคนขา ตระ เตรยี มใหพ้ รงั่ พรอ้ ม พอๆ กนั ทงั้ หมด อยา่ ฝกึ แตน่ อ่ ง กลา้ มเนอื้ ทกุ สว่ นจะตอ้ งไดร้ บั การฝกึ อยา่ ฝกึ เพยี ง ทา่ สองทา่ แลว้ เลิก ข้อควรระวังท่ีจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกคนต้องรู้คือ การฝึกซ้อมการยืดเหยียดกล้ามเน้ือโปรแกรมนี้ ตอ้ งอยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ และดแู ลของผรู้ แู้ ละการปฏบิ ตั แิ ตล่ ะทา่ ตอ้ งพยายามทำ� ดว้ ยความระมดั ระวงั ไมห่ กั โหมจนเกนิ ตวั เพราะจะท�ำใหเ้ กิดอาการบาดเจ็บได้งา่ ย การฝึกและท�ำยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการฝึกซ้อมประจ�ำวันหรือก่อนการแข่งขันควรท�ำในช่วย ประมาณ 15-20 นาทกี พ็ อ แต่ก่อนอ่ืนกค็ วรจะเล่นกายบรหิ ารเอาเหงือ่ กอ่ นสัก 5-10 นาที ส�ำหรับการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อโปรแกรมท่ีจะเอามาแนะน�ำนี้จะเน้นหนักกับกล้ามเนื้อขา เพราะว่าจากสถติ ทิ เ่ี ห็นอย่ทู ุกๆ วนั นน้ั อาการบาดเจ็บของนกั ฟุตบอลจะเป็นทีข่ าถงึ 90% 1. ทา่ ปฏบิ ตั ิส�ำหรับยดื กล้ามเนอื้ บรเิ วณนอ่ งและเอ็นร้อยหวาย อยู่ในท่าเตรียม เท้าท้ังสองข้างวางขนานห่างกันพอประมาณ ส้นเท้าทั้งสองข้างกดแน่นติดกับพ้ืน จงเน้นความรู้สึกที่จุดส้นเท้าทั้ง สองขา้ งนส้ี ว่ นเขา่ ยอ่ งอไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย คอ่ ยๆ ยอ่ ตวั ลงจนรสู้ กึ ตงึ ทกี่ ล้ามเนอ้ื นอ่ ง และบริเวณเอน็ ร้อยหวายขณะทปี่ ฏิบัติทา่ น้ี ร่างกาย ทอ่ นบนตอ้ งตง้ั ตรงสายตามองไปขา้ งหนา้ จะใชแ้ ขนทง้ั สองขา้ งจบั เอว เพื่อเปน็ การทรงตัวพยายามนับ “หน่งึ ถงึ สิบ” ชา้ ๆ ขณะทีย่ ่อตัวเสร็จ แลว้ กย็ นื ตามสบาย 3-4 วนิ าที แล้วเรม่ิ ทวนใหม่ ทำ� เชน่ น้ซี ้ำ� ๆ กนั สัก 2-3 ครัง้ ขอ้ ควรระวงั ในขณะปฏบิ ตั ติ อ้ งอยา่ ใหห้ วั เขา่ เลยปลายเทา้ เพอ่ื เปน็ การป้องกันการบาดเจ็บที่เข่า 92
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166