Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างคุณภาพีวิต

การสร้างคุณภาพีวิต

Description: การสร้างคุณภาพีวิต

Search

Read the Text Version

คณุ กภาราสพร้าชงวี ติ อ. วศิน อินทสระ  อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ

อ. วศนิ  อนิ ทสระ บรรยายครง้ั แรกท่ธี นาคารกรุงเทพ จ�ำกดั ส�ำนักงานใหญ่ ถนนสีลม วันท่ี ๒๗ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๓๐ เวลา ๑๓.๓๐-๑๖.๐๐ น.

ชมรมกลั ยาณธรรม หนังสือดลี ำ� ดับท ี่ ๑ ๙ ๗ การสรา้ งคุณภาพชวี ติ อ. วศนิ  อนิ ทสระ พิมพ์ครั้งท ่ี ๑  ตุลาคม ๒๕๕๕  จ�ำนวนพมิ พ์  ๔,๐๐๐ เล่ม จัดพมิ พ์โดย ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ต�ำบลปากน้ำ�   อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท ์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓  และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ออกแบบรปู เลม่  คนขา้ งหลงั   ชว่ ยแกค้ ำ�  อะตอ้ ม  พสิ จู นอ์ กั ษร เจา้ แกม้     เพลต บรษิ ทั นครแผน่ พมิ พ ์ จำ� กดั  โทร. ๐-๒๔๓๘-๘๔๐๘ พมิ พโ์ ดย บริษัทสำ� นกั พมิ พส์ ภุ า จ�ำกัด ๑๑๘ ซอย ๖๘ ถนนจรญั สนทิ วงศ์ เขตบางพลัด กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐-๒๔๓๕-๘๕๓๐ สัพพทานัง ธัมมทานัง ชนิ าติ การให้ธรรมะเป็นทาน ยอ่ มชนะการใหท้ ัง้ ปวง www.kanlayanatam.com

ขอมอบเป็น ธรรมบรรณาการ แด่ จาก

คํ า อ นุ โ ม ท น า ชมรมกลั ยาณธรรมโดยทนั ตแพทยห์ ญงิ อจั ฉรา กลนิ่ สวุ รรณ ์ ผเู้ ปน็ ประธานชมรม ไดข้ ออนญุ าตพมิ พ์ หนังสือเรื่อง การสร้างคุณภาพชีวิต ข้าพเจ้าอนุญาต ดว้ ยความยินดยี ่งิ หนังสือเรื่องน้ี เดิมทีเดียวเป็นโครงร่างของ ปาฐกถาธรรมหรอื คำ� บรรยายธรรม ทธ่ี นาคารกรงุ เทพ ส�ำนักงานใหญ ่ ถนนสีลม เม่ือวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยช่ือว่า “การสร้างคุณภาพชีวิตและ การงานทดี่ ”ี  ไดพ้ มิ พม์ าหลายครงั้ แลว้  โดยสำ� นกั พมิ พ์ 4 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี วิ ต

ธรรมดาบา้ ง รวมอยใู่ นเรอื่ ง “เพอ่ื ความสขุ ใจ” พมิ พแ์ จก ในงานสวดศพของสมเด็จพระพุทธชินวงศ ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร) วัดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพฯ บ้าง บัดน้ี ชมรมกัลยาณธรรมได้เห็นคุณค่าของ หนังสือเรื่องน้ี จึงได้พิมพ์ออกแจกเป็นธรรมทานแก่ ผู้สนใจในธรรมและการด�ำเนินชีวิต ข้าพเจ้าปล้ืมใจ ยิง่ นัก เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้บรรจุอยู่ ๔ เรื่อง คือ เร่ืองความอ่อนน้อมถ่อมตน เรื่องการรู้จักตัดตอน เรอ่ื งการกลา้ ตอ่ สกู้ บั ความทกุ ขย์ าก และเรอ่ื งการพง่ึ ตนเอง ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ และการงานท่ีดีโดยปริยายหนึ่ง คุณภาพชีวิต คือ ชีวติ ท่ีมีคณุ ภาพด ี มคี วามสขุ พอสมควรแก่อัตภาพ อ . ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 5

ข้าพเจ้าหวังว่าหนังสือเร่ืองน้ีจะเป็นประโยชน์ แกท่ า่ นผอู้ า่ นพอสมควร ขออนโุ มทนาตอ่ ชมรมกลั ยา- ณธรรมและผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง ทช่ี ว่ ยใหห้ นงั สอื เลม่ นส้ี ำ� เรจ็ ออกมาอย่างที่ท่านเห็นอยู่น่ี ขอให้ทุกท่านจงประสบ แตค่ วามสขุ สวสั ด ี และประสบความสำ� เรจ็ ในการสรา้ ง คุณภาพชีวิตตามควรแก่ความสามารถ ตลอดกาล ทุกเมอ่ื ดว้ ยความปรารถนาดอี ยา่ งยิง่ ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๕๕ 6 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

คํ า นํ า ข อ ง ช ม ร ม กั ล ย า ณ ธ ร ร ม ชมรมกัลยาณธรรมได้กราบขออนุญาตท่าน อาจารยว์ ศนิ  อนิ ทสระ เพอื่ จดั พมิ พห์ นงั สอื เรอ่ื ง การ สร้างคุณภาพชีวิต ซ่ึงเคยเป็นบทหน่ึงในหนังสือท่ีมี การตพี มิ พซ์ ำ�้ ในชอื่ เลม่ ตา่ งกนั ในวาระตา่ งๆ แตเ่ นอ้ื หา สาระที่ชวนอ่านก็ยังคงงดงามทันสมัยชวนให้ทุกท่าน เกิดแรงบันดาลใจที่จะสร้างคุณภาพชีวิตและการงาน ใหด้ ขี นึ้ ตามกศุ โลบายอนั แยบคายทที่ า่ นอาจารยเ์ มตตา อ . ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 7

ช้ีแนะ ในการจัดพิมพ์ครั้งน้ีได้รับความกรุณาจาก ทมี งานอาสาสมคั รของชมรมฯ ชว่ ยจดั รปู เลม่ ใหง้ ดงาม กะทัดรัดน่าอ่าน ท�ำให้หนังสือเล่มน้อยนี้เหมาะท่ีจะ เป็นของขวัญสำ� หรบั ตนและคนท่ีเรารักเปน็ อยา่ งดี เราทุกคนอยากมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยากมีการ งานท่ีราบรื่นรุ่งเรือง แต่บางครั้งก็จับต้นชนปลาย ไม่ถูก เพราะชีวิตเป็นส่ิงใกล้ชิดมากเหมือนขนตา ของเราเองจงึ ทำ� ใหม้ องเหน็ ไดไ้ มช่ ดั  การถอยออกมา มองย้อนกลับไปดูชีวิต หรือทางลัดกว่าน้ันคือฟังค�ำ แนะนำ� ของกลั ยาณมติ รผรู้ ู ้ ซึ่งท่านผา่ นโลกและชวี ิต มากอ่ น ยงิ่ กลั ยาณมติ รทเี่ ปน็ ครผู แู้ จง้ ในธรรมยงิ่ เปน็ สิ่งวิเศษช่วยทุ่นเวลาในการจัดการชีวิตให้มีคุณภาพ ได้อยา่ งราบรน่ื โดยไมเ่ หลอื วสิ ยั 8 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี วิ ต

ชมรมกัลยาณธรรมขอกราบขอบพระคุณท่าน อาจารย์วศิน อินทสระ ท่ีเมตตาอนุญาตให้จัดพิมพ์ หนังสือ การสร้างคุณภาพชีวิต หวังว่าท่านผู้อ่านจะ ได้รับประโยชน์และมีความรื่นรมย์ในธรรม สมตาม เจตนารมณข์ องชมรม ขอบญุ กศุ ลแหง่ ธรรมทานน ้ี จง เปน็ พลงั บรสิ ทุ ธกิ์ ลบั มาอภบิ าลรกั ษาทา่ นอาจารยว์ ศนิ อินทสระ ให้มีชีวิตทุกวันคืนท่ีสงบเย็นเป็นสุข เป็น ชวี ติ ทมี่ คี ณุ ภาพเปย่ี มคณุ คา่ เพอ่ื ตนและสงั คม รวมทงั้ พระศาสนาตราบนานเทา่ นาน กราบขอบพระคุณและอนโุ มทนายงิ่ ทพญ. อัจฉรา กลนิ่ สุวรรณ์ ประธานชมรมกัลยาณธรรม อ . ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 9

๑๓ เกริน่ น�ำ ๒๓ ๔๕ ๑  ความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน ๒ การรจู้ ักตดั ตอน และนิยมยกย่องผู้อื่น

ส า ร บั ญ ๕๙ ๖๗ ๓ กล้าต่อสู้ ๔ รู้จักชว่ ยเหลือตวั เอง ความทุกข์ยาก และพึง่ ตัวเองกอ่ น

ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

เกริน่ นำ� ท่านผมู้ เี กียรตทิ ี่เคารพ ผมรสู้ กึ ยนิ ดที ไี่ ดม้ โี อกาสมาคยุ กบั ทา่ นทง้ั หลาย ในทน่ี ซี้ ง่ึ เปน็ ทท่ี ผี่ มไดฟ้ งั ทางวทิ ยใุ นวนั หนง่ึ เรว็ ๆ นเี้ องวา่ เปน็ สถานทที่ มี่ รี ะบบการปอ้ งกนั อบุ ตั ภิ ยั ดที สี่ ดุ  หมาย โดยเฉพาะถงึ อคั คภี ยั  แตน่ นั่ เปน็ ภยั ภายนอก สว่ นภยั ภายในซงึ่ เกดิ จากเพอื่ นรว่ มงานและจากจติ ใจของเรา อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ

เองน้ัน จะมีระบบการป้องกันแก้ไขอย่างไรในหมู่คน ทอี่ ยกู่ นั จำ� นวนมาก กเ็ ปน็ เรอื่ งทน่ี า่ สนใจศกึ ษาอยมู่ ใิ ช่ นอ้ ย เพราะไฟภายใน คอื  โลภะ โทสะ และโมหะนน้ั มนั เผาอยขู่ า้ งในใจของเราเอง ทำ� ใหเ้ ราเรา่ รอ้ นอยเู่ สมอ การยงุ่ เรอื่ งงานไมท่ ำ� ใหส้ ขุ ภาพจติ ของเราเสยี  แตก่ าร ยุ่งเร่ืองเพ่ือนร่วมงานและอารมณ์อันยุ่งเหยิงย้ัวเยี้ย ในใจของเรานั่นแหละท�ำให้สุขภาพจิตเสียมาก เม่ือ สุขภาพจิตเสียแล้ว การงานก็จะพลอยเสียหรือด้อย คุณภาพไปด้วย ในการมาพูดคราวนี้ ผมรู้สึกเป็นห่วงผู้ฟังอยู่ เหมอื นกนั วา่  ทา่ นจะสมหวงั หรอื ผดิ หวงั ในการฟงั  เกรง ไปวา่ ทา่ นอาจไมไ่ ดส้ ง่ิ ทต่ี นคาดหมายวา่ จะได้ แตช่ วี ติ ของคนเรานน้ั  ถา้ ไมต่ ง้ั ความหวงั ไวม้ ากเกนิ ไป ความ ผดิ หวงั กจ็ ะมไี มม่ ากนกั  ถา้ ตง้ั ความหวงั ไวส้ งู มาก เมอ่ื 14 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

ผิดหวังก็จะเจ็บมาก เหมือนตกจากที่สูง โดยเฉพาะ ความหวังที่เราคาดว่าจะได้จากคนอื่น อาจท�ำให้เรา ผดิ หวงั ไดเ้ สมอ โลกตกอยใู่ นกระแสแหง่ ความเปลยี่ น แปลง ธรรมชาตทิ ง้ั ปวงเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ มนษุ ย์ เปน็ สง่ิ หนงึ่ ในธรรมชาตจิ งึ เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา เชน่ กนั  แมแ้ ตเ่ ราเองยงั ไมอ่ าจใหเ้ ปน็ ไปตามทห่ี วงั ไว้ เสมอไป ไฉนเล่าผู้อื่นสิ่งอื่นเหตุการณ์อ่ืนจะเป็นไป อย่างที่เราหวังไว้ ส่ิงท้ังหลายย่อมเป็นไปตามท่ีมัน ควรจะเปน็  คอื เปน็ ไปตามเหตปุ จั จยั  (ยถาปจจฺ ย ํ ปวตฺ ตนตฺ )ิ  ขอ้ นถี้ อื วา่ เปน็ หลกั ส�ำคญั แหง่ พระพทุ ธศาสนา อยา่ งหนง่ึ  ตามหลกั นพ้ี อจะกลา่ วไดว้ า่  เหตดุ ยี อ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ผลด ี เหตรุ า้ ยยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ผลรา้ ย เหตดุ ปี นชว่ั ย่อมก่อให้เกิดผลทั้งดีท้ังชั่ว มนุษย์เราส่วนมากยัง วา่ ยวนอยใู่ นวฏั จกั รแหง่ ดบี า้ ง ชว่ั บา้ ง ดปี นชว่ั บา้ ง อยู่ อย่างน ้ี จึงมิอาจพน้ ทกุ ข์ไปได้โดยสน้ิ เชงิ อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 15

สำ� หรบั ความหวงั ทเี่ รามตี อ่ ผอู้ นื่ นน้ั  ขอใหน้ กึ ไว้ เสมอว่า จะหาใครเหมาะใจที่ไหนเล่า ตวั เราเองยงั ไมเ่ หมาะใจเราหนา อนจิ จงั  ทุกขงั  อนัตตา รลู้ ่วงหนา้ เสยี ก่อนไมร่ อ้ นใจ (พระศาสนโสภณ-แจ่ม จตั ตสัลโล) แตม่ นษุ ยเ์ รากอ็ ดหวงั ไมค่ อ่ ยได ้ ความหวงั สมั พนั ธ์ อยกู่ บั ชวี ติ เหมอื นดอกไมต้ ดิ อยกู่ บั ตน้  อยา่ งไรกต็ าม ความหวังนั้นเอง ท�ำให้เราล้มเหลวบ้าง รุ่งโรจน์บ้าง เราไม่เคยล้มเหลวในสิ่งท่ีเราไม่หวัง ไม่ปรารถนา ไมต่ อ้ งการ ทำ� นองเดยี วกบั เราไมค่ อ่ ยนอ้ ยใจกบั คนท่ี เราไม่รัก ถ้าเกิดความล้มเหลวขึ้นในเรื่องใดให้ถือว่า เปน็ เรอ่ื งปกต ิ คนจะรงุ่ เรอื งไดก้ เ็ พราะอดทนตอ่ ความ 16 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

ลม้ เหลวไดแ้ ละตงั้ ตน้ ใหม ่ ขณะเดยี วกนั พยายามรกั ษา ความสงบใจไวใ้ หไ้ ด ้ เพราะสขุ ภาพจติ ทด่ี สี ำ� คญั ทส่ี ดุ ตอ่ ความสขุ ในชีวติ ประจ�ำวนั ของเรา ถ้ามีเทพประทานพรใหท้ า่ น ๓ อย่างคือ ๑  ราํ่ รวย ๒  ร่างกายแขง็ แรงไม่เจ็บปว่ ย ๓  ความสุขใจ ทา่ นตอ้ งเลอื กเอาเพยี งอยา่ งเดยี ว ทา่ นจะเลอื ก อะไร หลายคนอาจนกึ ตอบวา่ ขอใหไ้ ดท้ กุ อยา่ ง ถา้ ได้ ทกุ อยา่ งกว็ เิ ศษแน ่ แตม่ เี งอื่ นไขอนั แนน่ อนวา่ ใหเ้ ลอื ก เอาอย่างเดียว คนส่วนใหญ่จะเลือกสิ่งท่ีตัวขาด เรา อาจท�ำนายได้ว่าเขาขาดอะไรจากสิ่งที่เขาเลือก หรือ มิฉะน้ันเขาก็เห็นความส�ำคัญของสิ่งน้ัน คือเขาไม่ได้ อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 17

ขาดแต่เขาเลือก แต่สุขภาพกายกับสุขภาพจิตน้ัน มี ค ว า ม สั ม พั น ธ ์ กั น อ ย ่ า ง ใ ก ล ้ ชิ ด   จ า ก ข ้ อ มู ล ข อ ง โรงพยาบาลของมหาวิทยาลัยเยล (Yale) ในสหรัฐ อเมริกาได้ค้นพบว่า ๗๖% ของคนไข้ทั้งสิ้นท่ีมารับ การรักษาที่นั่น เป็นโรคที่มีสมุฏฐานมาจากความ เครยี ดทางอารมณ์ (Emotional Tension)๑ สถติ ดิ งั กลา่ วเมอ่ื  ๓๐ กวา่ ปมี าแลว้  อาจลา้ สมยั ไปแลว้  ปจั จบุ นั นา่ จะมมี ากกวา่ นนั้  เพอ่ื ใหค้ วามผดิ หวงั ไม่เป็นพิษแก่จิตใจของเรา ขอให้สร้างนิสัยเป็นนัก- ศึกษาขึ้น คือมองเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนแก่เรา ในแงข่ องการศกึ ษาเรยี นรเู้ พอ่ื ประโยชนต์ อ่ การพฒั นา ชีวิต จะสังเกตได้ว่าเหตุการณ์เดียวกันถ้ามองใน แง่ร้ายอาจให้ความทุกข์แก่เราอย่างมาก แต่ถ้ามอง ๑ สมคั ร บรุ าวาศ, พทุ ธปรชั ญา ๒๕ ศตวรรษ, หนา้  ๒๐๗, พ.ศ. ๒๕๐๐ 18 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

ในแง่ดีและในแง่ของการศึกษาเรียนรู้แล้ว อาจให้ ความสขุ ความพอใจแกเ่ รากไ็ ด้ สองคนยลตามชอ่ ง คนหน่ึงมองเห็นโคลนตม คนหนง่ึ ตาแหลมคม มองเห็นดาวอยพู่ ราวพราย เพราะฉะนั้นขอให้พยายามสร้างนิสัยนักศึกษา ขนึ้ ในตนคอื มองสง่ิ ตา่ งๆ ในแงข่ องการศกึ ษาวา่  สงิ่ นี้ ให้ความรู้และประสบการณ์อะไรแก่เราบ้าง ชีวิตจะ ต้องเดินทางผ่านประสบการณ์เป็นอันมาก ความรู้ ความเขา้ ใจในชวี ติ นน้ั เปน็ วทิ ยาการอนั สงู เยย่ี มยงิ่ กวา่ วทิ ยาการใดๆ เมอ่ื เขา้ ใจชวี ติ ดแี ลว้ จะเปน็ ผมู้ ชี วี ติ อยา่ ง มที ุกขน์ อ้ ยทส่ี ุด หรือไม่มีทุกขท์ างใจเลย อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 19

ความทุกข์เป็นส่ิงท่ีบุคคลพยายามหลีกเล่ียง ส่วนความสุขเป็นส่ิงท่ีทุกคนแสวงหา แต่ท�ำไมเล่า มนุษย์ส่วนมากจึงพบแต่สิ่งที่ตนพยายามหลีกเล่ียง และรู้สึกว่าได้น้อยเหลือเกินซ่ึงส่ิงที่ตนพยายาม แสวงหา อาจเปน็ เพราะเราตอ้ งการมากเกนิ ไปหรอื ไม่ หรือว่าเราแสวงหาผิดวิธีเหมือนไปรีดเอาน้�ำมันจาก เม็ดทราย หรือรีดนมจากเขาโค แม้จะใช้ความเพียร พยายามสักเท่าไรก็คงไม่ได้อยู่ดี อันที่จริงความสุข เราไม่ต้องแสวงหามากก็ได้ เพียงแต่หาวิธีลดความ ทกุ ขล์ งเท่านัน้  ความสขุ กจ็ ะเกดิ ขึ้นเอง เหตุแห่งทุกข์อย่างส�ำคัญประการหนึ่งของคน ในสงั คมของเรากค็ อื  การคอยเปรยี บเทยี บตนกบั ผอู้ น่ื ท�ำให้เกิดปมด้อยบ้างปมเขื่องบ้าง ไม่เป็นตัวของ ตัวเอง เพ่อื ความสงบสุขของชีวิตตอ้ งพยายามลดปม 20 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

ให้ได้ ไมม่ ีท้งั ปมดอ้ ยและปมเข่อื ง เป็นตวั ของตวั เอง ใจก็จะเป็นอสิ ระ มีความสงบสขุ เพอื่ ความสงบสขุ แหง่ ชวี ติ  เราควรปฏบิ ตั ติ นอยู่ ในหลกั ต่อไปน้ี ๑  อ่อนน้อมถอ่ มตนและนยิ มยกยอ่ งผูอ้ ่ืน ๒  การรู้จักตัดตอน ๓  กลา้ ต่อสูค้ วามทกุ ข์ยาก ๔  รู้จักชว่ ยเหลือตนเองและพึง่ ตนเองก่อน อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 21



๑ ความอ่อนน้อมถอ่ มตน และนิยมยกย่องผูอ้ น่ื มนุษย์เราทุกคนไม่ชอบคนเย่อหยิ่งจองหอง แต่ ชอบคนอ่อนน้อมถ่อมตน ถ้าอยากให้เขาเกลียดชังก็ จงเยอ่ หยงิ่ จองหองยกตนขม่ ผอู้ นื่  ถา้ อยากใหเ้ ขารกั ก็ จงออ่ นนอ้ มถอ่ มตนตอ่ คนทกุ ประเภท วางตนเหมาะสม แกค่ นทกุ ชน้ั  ทกุ เพศ ทกุ วยั  พยายามวางตนเสมอตน้

เสมอปลายไมส่ ามวนั ดสี ว่ี นั รา้ ย หรอื ประพฤตติ อ่ ผอู้ นื่ ตามอารมณ์ตน คิดแต่จะให้ผู้อื่นเข้าใจตนโดยท่ีตน ไมต่ อ้ งเขา้ ใจใคร ไมม่ ใี ครเกลยี ดชงั ผทู้ อ่ี อ่ นนอ้ มถอ่ มตน ยง่ิ เราออ่ นนอ้ มเขายง่ิ ยกยอ่ ง เรากระดา้ งยกตน เขา ยงิ่ อยากจะขม่ ลง ควรฝกึ ตนใหเ้ หมอื นนำ�้  ทำ� ประโยชน์ ทุกอย่างแล้วไหลลงต�่ำ อ่อนโยนละมุนละไม แต่มี อานุภาพย่ิงนัก คนยิ่งมีความดีมากก็ย่ิงอ่อนน้อม ถอ่ มตน ไม่เยอ่ หย่งิ อวดดี คุณสมบัติที่จะตามมาของผู้อ่อนน้อมถ่อมตน ก็คือการนิยมยกย่องผู้อ่ืนด้วยความจริงใจ จึงเป็นที่ สำ� ราญใจของอกี ฝา่ ยหนง่ึ เปน็ อยา่ งยง่ิ  เขาจะจำ� ตดิ อยู่ ในใจเปน็ เวลานานแสนนาน ๑๐ ป ี ๒๐ ป ี ผา่ นไปแลว้ แต่ค�ำยกย่องนั้นยังสดใสอยู่ในความทรงจ�ำของผู้ฟัง ฯลฯ 24 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

เรือ่ งประกอบ ดเู ถดิ  ดเู ดก็ นอ้ ยทน่ี อนแบเบาะ รา่ เรงิ สดใส มี ชีวิตชีวาย่ัวยวนชวนเชิญให้ใครอยากเข้าใกล้จุมพิต และชมเชยอย่างไม่รู้เบื่อ เนื้อตัวอ่อนนุ่มเม่ือสัมผัส รดั รงึ กอ่ ความรนื่ รมยใ์ จ เปน็ นมิ ติ หมายวา่ เขาจะเจรญิ เติบโตต่อไปอีกมากและยาวนาน แต่ดูน่ันซิ คนตาย นอนแข็งท่ือ ไม่กระดุกกระดิก ไม่รับรู้ใดๆ ท้ังส้ิน ทกุ คนเหน็ แลว้ หวาดกลวั  เขา้ ใกลด้ ว้ ยความจำ� เปน็ และ อดึ อัด อยากใหห้ า่ ง แม้คนท่ีเคยรกั กก็ ลับหน่าย ในสัตว์และพืชก็เช่นเดียวกัน ล�ำต้นและกิ่งใบ ของไมท้ มี่ ชี วี ติ  มองดอู อ่ นชอ้ ย นมุ่ นวล สบายตา สว่ น ล�ำต้นและกิ่งของไม้ท่ีตายแล้ว ดูแข็งกระด้าง เปราะ หกั งา่ ย คนทง้ั หลายอยากจะโคน่ แลว้ โยนทง้ิ ใหพ้ น้ ตา อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 25

ในหมมู่ นษุ ยก์ ท็ ำ� นองนน้ั  คนมคี ณุ ธรรมจะเปน็ คนนมุ่ นวลออ่ นนอ้ มถอ่ มตน เปน็ เครอื่ งบง่ บอก “ความ มชี วี ติ สดใสอยภู่ ายใน” เปน็ สญั ลกั ษณว์ า่ เขาจะเจรญิ เติบโตต่อไปภายหน้าอีกมาก เป็นผู้มีสัมผัสนุ่ม คือ ใครคบเข้าสบายใจ เหมือนผ้าเน้ือดี นุ่มเนียนนุ่งห่ม สบาย ไม่หยาบกร้านและระคายตัว ส่วนคนชั่วไร้ คุณธรรมมักประพฤติหยาบคาย กระด้างอวดดี ก่อ ความรำ� คาญใจแกผ่ เู้ ขา้ ใกล ้ เรยี กไดว้ า่ เปน็ ผมู้ สี มั ผสั หยาบเหมือนผ้าเน้อื หยาบ ดนู น่ั ซ ิ รวงขา้ ว...รวงเตม็  ลำ� ตน้ ออ่ นชอ้ ยประหนง่ึ วา่ นอบน้อมแก่ผู้ผ่านไปมาทุกคน ใครๆ มองดูด้วย ความรู้สึกนิยมชมชอบ บางคนนั่งลงยื่นมือไปสัมผัส เพยี งแผว่ เบา องุ้ มอื รองรวงอยา่ งถนอมดว้ ยเกรงเมลด็ จะรว่ งหลน่  ดเู ถดิ  ดอู านภุ าพแหง่ ความออ่ นนอ้ มของ 26 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

ธรรมชาติดึงคนสูงให้น้อมตัวลงหรือน่ังลงด้วยความ เต็มใจ กใ็ นหมูค่ นเลา่  มไิ ด้เป็นอยา่ งน้ันดอกหรอื ส่วนข้าวรวงลีบหมดท้ังรวงน้ัน ไม่มีเนื้อรวงจึง แขง็ กระดา้ งไมม่ ใี ครสนใจ มแี ตเ่ ขาจะถอนทง้ิ  มนษุ ย์ ทเี่ ปน็ เหมอื นขา้ วรวงลบี กม็ อี ยมู่ ใิ ชน่ อ้ ยในสงั คมน ี้ เขา ทำ� ตวั ของเขาเอง มนษุ ยก์ ำ� หนดวถิ ชี วี ติ ของตนเอง จะ โทษใครไดเ้ ลา่  จรงิ อย ู่ สงั คมกม็ สี ว่ นอยไู่ มน่ อ้ ยในการ ก�ำหนดทางดำ� เนนิ ชวี ติ ของคน แต่นั่นส�ำหรับคนธรรมดาต่างหากเล่า หาใช่ ผู้มปี ัญญาไม่ อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 27

ผมู้ ปี ญั ญายอ่ มด�ำเนนิ ชวี ติ ตามความเหมาะสม แก่ตน ประดุจดวงดาวโคจรไปตามวิถีแห่งตน มิใช่ ใบไมร้ ว่ ง ทส่ี ดุ แลว้ แตล่ มจะพดั พาไป คนทเี่ ปน็ ประดจุ ใบไม้ร่วงนี้มีอยู่มากในโลก ส่วนคนที่เป็นประดุจ ดวงดาวนนั้ มอี ยนู่ อ้ ย แตม่ กั ประสบความสำ� เรจ็ ยงิ่ ใหญ่ และมีปจั เจกภาพอนั เปน็ ท่เี คารพยกย่องของโลก เลอื กเอาเองเถดิ จะเปน็ ดง่ั ใบไมร้ ว่ งหรอื ดวงดาว ความถอ่ มตน จะคอยเตอื นบคุ คลใหร้ สู้ กึ ตนเอง ยงั ดไี มพ่ อ ยงั มีความรคู้ วามสามารถไม่พอ จงึ มิกลา้ ยอมรบั ความยกยอ่ งสรรเสรญิ จากผใู้ ดอยา่ งล�ำพองใจ แตจ่ ะนอ้ มรบั คำ� ตกั เตอื นตเิ ตยี นจากผอู้ นื่ ดว้ ยใจคารวะ และพรอ้ มที่จะปรับปรงุ แก้ไขตนเองให้ดีขน้ึ 28 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

ความถ่อมตนนั้น ตรงกบั ความเปน็ จริงอยูแ่ ล้ว คือในโลกนี้มนุษย์ที่เป็นปุถุชนอยู่ ใครเล่าเป็นผู้มี ความดอี นั สมบรู ณ์ ลว้ นแตย่ งั มขี อ้ บกพรอ่ งอยทู่ ง้ั สน้ิ แมค้ นอน่ื ไมเ่ หน็  ตนนน่ั แหละยอ่ มรดู้ ว้ ยตนเอง ความดี ของปถุ ชุ นจงึ ยงั เปน็ ความดสี มั พทั ธ ์ (Relative good) อย ู่ คอื ดกี ับคนทีเ่ ขาดกี ับตวั  ใครรา้ ยกบั ตัว อาจร้าย ตอบเป็น ๒-๓ เท่าก็ได้ คราวใดกิเลสครอบงำ� อย่าง รนุ แรง ตกอยใู่ นอำ� นาจของกเิ ลส อาจทำ� ความไมด่ ไี ด้ มากๆ พระอรหันต์ที่ส้ินกิเลสแล้ว ไม่ถูกกิเลสชักจูง แลว้  จงึ จะเรยี กไดว้ า่ ดโี ดยสมบรู ณ์ ดว้ ยเหตนุ ปี้ ถุ ชุ น จงึ ไมค่ วรทะนงตนวา่  “เราดแี ลว้ ” หรอื  “ดกี วา่ ผอู้ น่ื ” โดยประการทงั้ ปวง ดูนั่นซิ แม้แต่ขุนเขายังพังทลายได้ ด้วยแรง ธรรมชาตบิ า้ ง ดว้ ยแรงมนษุ ยบ์ า้ ง จะกลา่ วไยถงึ มนษุ ย์ อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 29

น้อยๆ อย่างเราเล่า ซึ่งเปรียบไปก็เหมือนธุลีหน่ึง อันล่องลอยอยู่ในสุริยจักรวาลอันย่ิงใหญ่หาขอบเขต ไม่ได้น้ี ประโยชน์อะไรเล่ากับความทะนงตน เม่ือใจ ไดร้ บั ความถอ่ มตนไวเ้ ปน็ สมบตั แิ ลว้  ดวงหนา้  แววตา และกิริยาท่าทีของเขาผู้น้ันก็จะทอประกายแสงแห่ง ความถอ่ มตนใหผ้ อู้ นื่ เหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน นสิ ยั อนั ดงี าม ซ่ึงสืบเนื่องจากการถ่อมตนนี้จะช่วยส่งเขาให้รุ่งโรจน์ ในการงานที่เขาท�ำ และเป็นที่รักที่ย�ำเกรงของผู้เข้า ใกล้ แมจ้ ะแพรวพราวดว้ ยสรอ้ ยสงั วาลเพชรแตเ่ ตม็ ไปดว้ ยความทระนง กห็ าดงู ามไม ่ ยงิ่ จะประกาศความ อัปยศมากขึ้น ส่วนผู้ประดับตนด้วยความอ่อนน้อม ย่อมดูงามกว่า ชื่อว่าได้สวมมงคลวิเศษอย่างหนึ่ง ซึ่งจะอ�ำนวยแต่ความสขุ ความรม่ เยน็ ใหแ้ กช่ วี ติ 30 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

ค�ำพูดเหล่าน้ี วรัญญาได้ยินครั้งแล้วคร้ังเล่า จากคุณพ่อ ต้ังแต่เธอเป็นเด็กอายุ ๑๐ ขวบ จวบจน เธอเป็นสาวอายุ ๒๐ คุณพ่อได้มอบสร้อยรวงข้าวให้ สวมใสเ่ มอ่ื อาย ุ ๑๗ มคี วามหมายเปน็ เครอื่ งเตอื นใจ ใหอ้ อ่ นนอ้ มถอ่ มตน ประดจุ รวงขา้ วทเ่ี มลด็ เตม็  คณุ - สมบตั ขิ อ้ นม้ี อี านภุ าพเปน็ มหาเสนห่ ค์ ลอ้ งใจผเู้ ขา้ ใกล้ ใหร้ ักใคร่นิยมนบั ถอื ไม่จืดจาง วรญั ญาปฏบิ ตั ติ ามคำ� สอนของคณุ พอ่ ดว้ ยความ เตม็ ใจ ดว้ ยการเห็นคณุ ค่า ปฏิบตั ิอย่างสม�่ำเสมอใน วัยเรียน วรัญญาจึงปรากฏประหนึ่งเพชรเม็ดงามที่ สกุ สกาวอยใู่ นความรสู้ กึ อนั ลกึ ลำ�้ ของครอู าจารย ์ และ เพ่อื นฝูงแทบทกุ คน อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 31

เมอื่ จบการศกึ ษาแลว้ ออกทำ� งาน วรญั ญารสู้ กึ วา่ เธอก้าวเข้าสู่โลกใหม่อีกโลกหนึ่ง โลกของผู้ใหญ่ที่ ดูยาก เข้าใจยาก มักปกปิดความรู้สึกที่แท้จริง เอา นำ�้ ขนุ่ ไวใ้ นน�้ำใสไวน้ อก ซงึ่ มองในแงห่ นงึ่ กด็ ที ไ่ี มต่ อ้ ง ทะเลาะววิ าทกนั อยา่ งเดก็  แตม่ องอกี แงห่ นงึ่ กน็ า่ กลวั เหมือนความเงียบของป่า ไม่รู้ว่าอันตรายแอบแฝง ซอ่ นเรน้ อยทู่ ใ่ี ด ความอดกลนั้ นนั้ เปน็ ความด ี ถา้ เปน็ ความอดกลัน้ ท่จี ริงใจสจุ ริตเท่ยี งตรง ในรอยยม้ิ อนั พรมิ้ เพราและพรม้ิ พรายของผใู้ หญ่ น้ัน มีความหมายตรงกับรอยย้ิมนั้นหรือไม่ มีอะไร แฝงเร้นอยู่เบ้ืองหลังบ้าง วรัญญารู้สึกไม่แน่ใจ เห็น บางคนนนิ ทาเขาอยหู่ ยกๆ แตพ่ อเขาเดนิ มากย็ ม้ิ ยอ่ ง ผ่องใส ทักทายอย่างสนิทสนมเหมือนไม่มีอะไร เกิดขึ้น 32 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

การดูถูกดูหมิ่นเหยียดหยามกันมีอยู่ท่ัวไป ทงั้ โดยสายตา คำ� พดู  และกริ ยิ าอาการ เพราะทรพั ย์ บ้าง ยศบ้าง ฐานะของตระกูลบ้าง การศึกษาและ สถาบนั บา้ ง ยกตนขม่ ผอู้ นื่  สอ่ เสยี ด (ยยุ งใหแ้ ตกกนั ) เสียดสี ก้าวร้าว วางแผนท�ำลายอีกฝ่ายหน่ึง ริษยา เห็นใครได้ดีทนไม่ได้ โอ้อวดมารยา ต้ังกลุ่มนินทา สโมสร สอดรู้สอดเห็นเรื่องของคนอื่น เยาะเย้ย ถากถางทงั้ ดว้ ยสายตาและคำ� พดู เพอ้ เจอ้ ไรส้ าระ แลง้ นำ�้ ใจ สนใจเปน็ พเิ ศษแตเ่ รอื่ งกนิ เรอ่ื งเทย่ี ว ชา่ งนา่ กลวั จรงิ ๆ แต่ท่ามกลางผู้คนมีโทษลักษณะดังกล่าวนี้ ก็ ยังมีมนุษย์ท่ีมีใจสูงประกอบด้วยคุณลักษณะนานา ประการ เหมือนดอกบัวท่ามกลางหยากเย่ือหรือ ท่ามกลางโคลนตม มีจิตอ่อนโยนเมตตาปรานี เอื้อ อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 33

อาทรต่อความทุกข์ความเดือดร้อนของผู้อื่น สุภาพ สำ� รวม แมห้ วั เราะกย็ งั ระวงั  (หวั เราะสภุ าพ) เกรงอก เกรงใจผอู้ นื่  ออ่ นนอ้ มถอ่ มตน ดงู า่ ย เปดิ เผย พดู ตรง กบั ใจ จรงิ ใจ สจุ รติ  ยตุ ธิ รรม เสยี สละ อดทน เคารพ นบั ถอื เพอื่ นมนษุ ย์ ยกยอ่ งใหเ้ กยี รตคิ นทคี่ วรยกยอ่ ง เห็นใจและเข้าใจในความผิดพลาดบกพร่องของผู้อื่น และให้อภัย ให้ก�ำลังใจเพ่ือด�ำเนินชีวิตในภายหน้า อย่างมน่ั คง เขา้ ใจชวี ิตอยา่ งลึกซึ้ง เปน็ ทป่ี รึกษาและ พกั พงิ ทางใจของผมู้ ที กุ ข ์ มอี ดุ มคตอิ นั สงู เยย่ี ม ฉลาด รอบรแู้ ตไ่ มโ่ ออ้ วด คงประพฤตถิ อ่ มตนอยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย ทำ� ไมมนษุ ยจ์ งึ แตกตา่ งกนั มากถงึ ขนาดน ี้ ทง้ั ๆ ที่ อยใู่ นสงั คมเดยี วกนั  ทำ� งานอยใู่ นกรมกองเดยี วกนั  ใน บริษทั เดยี วกนั  หรือแม้แต่ในครอบครวั เดยี วกนั 34 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

วรญั ญานำ� ปญั หานม้ี าปรกึ ษาพอ่  คณุ พอ่ ตอบวา่ เหตทุ ท่ี ำ� ใหม้ นษุ ยแ์ ตกตา่ งกนั ถงึ ขนาดน้ี กเ็ พราะคน พวกหนง่ึ ตง้ั ใจฝกึ ฝนตนเอง ขดั เกลาตนเองคมุ้ ครองตน และมีสติ ต้องการพัฒนาตนให้ข้ึนสู่ระดับสูงโดย คุณธรรม อาศัยหลักธรรมแห่งพระศาสนา เป็นทาง ด�ำเนิน อบรมศีล อบรมกาย อบรมจิต และอบรม ปญั ญาอยเู่ นอื งนติ ย ์ จงึ ปรากฏเหมอื นดอกบวั ทา่ มกลาง โคลนตม รุ่งเรืองอยู่ด้วย ศีล สมาธิ และปัญญา สว่ นคนอกี พวกหนง่ึ ไมส่ นใจในเรอื่ งเหลา่ นเ้ี ลย สนใจแต่ เรอ่ื งกนิ  เรอ่ื งเทยี่ ว เรอ่ื งสนกุ สนานตา่ งๆ แมจ้ ะทำ� งาน ก็ท�ำเพียงเพ่ือหาเงินมากิน มาเท่ียว มาสนุกสนาน หรอื แสวงหาชอ่ื เสยี งเกยี รตยิ ศโดยอาศยั หนา้ ทกี่ ารงาน กเิ ลสจงึ พอกพนู ขนึ้ ในสนั ดานอยทู่ กุ วนั  ยง่ิ นานวนั ยงิ่ พอกพนู  เหมอื นสนมิ กดั กนิ เหลก็ ยงิ่ นานวนั ยง่ิ ลกุ ลาม อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 35

อนั ทจ่ี รงิ ตน้ เดมิ ของมนษุ ยเ์ ราเปน็ อยา่ งเดยี วกนั มาแตกต่างกันภายหลังเพราะการกระท�ำ และส่ิงท่ี สงั่ สมอนั แตกตา่ งกนั  ดงั ทพี่ ระศาสดาตรสั วา่  “คนจะ ดีหรือเลวเพราะชาติตระกูลก็หาไม ่ แต่จะดีหรือเลว กเ็ พราะการกระท�ำของตน” มีบ่อยคร้ังท่ีวรัญญารู้สึกสลดหดหู่ใจท้อแท้ เมอ่ื นกึ ถงึ ความเปน็ ไปในสงั คมมนษุ ย์ เธอปรารภกบั ตวั เองบอ่ ยๆ วา่ ทำ� ไมหนอมนษุ ยเ์ ราจงึ ฝกึ ไดย้ ากจรงิ ๆ เมอ่ื ถามคณุ พอ่ ถงึ เรอื่ งน้ี คณุ พอ่ ตอบวา่  เพราะ มนษุ ยเ์ รามคิ อ่ ยสนใจในการฝกึ ฝนตนเอง ไมพ่ ยายาม เอาชนะตนเอง สนใจแตเ่ รอ่ื งฝกึ ผอู้ นื่  และเอาชนะผอู้ น่ื แมแ้ ตพ่ วกนกั กฬี าทรี่ อ้ งเพลงปลกุ ใจกนั อยทู่ วั่ ประเทศ วา่ กีฬาเป็นยาวเิ ศษ แก้กองกเิ ลสทำ� คนให้เป็นคนน้นั 36 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

ก็เล่นกีฬามุ่งมั่นแต่เร่ืองเอาชนะผู้อ่ืนกลุ่มอื่นสีอ่ืน ใหไ้ ด ้ มไิ ดเ้ ลน่ กฬี าเพอื่ กฬี า เพอ่ื สามคั คธี รรม แตเ่ พอ่ื เอาชนะ ชนะไดก้ เ็ ปน็ ศตั รกู นั  ทะเลาะววิ าทกนั  แตก สามัคคีกันแทบทุกนัด ทุกสนาม ตลอดไปถึงกีฬา ระหวา่ งชาต ิ เชน่ กฬี าโอลมิ ปกิ  เปน็ ตน้  มนั จงึ ไมอ่ าจ แก้กองกิเลสได้ มีแต่จะเพิ่มพูนกองกิเลส ท�ำคน ไม่ให้เป็นคน แต่ท�ำพวกเขาให้เป็นยักษ์เป็นมาร คอยประหัตประหารกัน มีความสุขด้วยการท�ำร้าย ผอู้ น่ื  ยงิ่ การชกมวย ซงึ่ มาในนามกฬี าเหมอื นกนั แลว้ ยิ่งไปกันใหญ่ มันเป็นการท�ำร้ายร่างกายกัน เป็น ฆาตกรรมที่สังคมช้ีน�ำให้เห็นเป็นกีฬา มวยปล้�ำของ ฝรั่งย่ิงเป็นการทารุณกรรมอันย่ิงใหญ่ที่โลกพากัน ตืน่ เตน้ ยินดี อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 37

คุณพ่อบอกว่าเก่ียวกับเรื่องเหล่านี้ มนุษย์ได้ ตง้ั จติ ไวผ้ ดิ  มคี วามดำ� รผิ ดิ เปน็ ทางดำ� เนนิ เหมอื นรถไฟ ทเี่ จา้ หนา้ ทส่ี บั รางผดิ  รถแลน่ ไปในรางทผ่ี ดิ  จงึ ชนนนั่ ชนนย่ี งุ่ ไปหมด ถา้ แลน่ ไปในรางทถี่ กู กป็ ลอดภยั  และ ถึงจุดหมายปลายทางโดยไมย่ าก มนุษย์เราส่วนมากชอบฟังเสียงแห่งมารมาก กว่าเสียงแห่งธรรม ไม่สนใจฟังธรรมของพระอริยะ สนใจฟังเสียงแห่งปิศาจซ่ึงหลอกให้หลงทาง แล้วมา ตโี พยตพี ายในตอนหลงั วา่  “ทกุ ขห์ นอ ทกุ ขห์ นอ” ถงึ กระนั้นก็ยงั หาทางไมถ่ ูก ยังหลงทางอยู่นนั่ เอง พอมี ผู้ช้ีทางท่ีถูกให้ก็เบือนหน้าหนี เป็นเวรกรรมของเขา แทๆ้  ชว่ ยไมไ่ ดจ้ รงิ ๆ “สตั วโ์ ลกมกี รรมเปน็ ของของตน ทางใครทางมนั ” คณุ พอ่ ยำ�้ คำ� นอ้ี ยา่ งหนกั แนน่  แตม่ แี วว แหง่ การปลงตกตอ่ การด�ำเนนิ ชวี ติ ของคนทงั้ หลายวา่ 38 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

เป็นไปตามก�ำลังแห่งกรรมของตนจริงๆ มนุษย์ได้ สร้างทางแห่งชีวิตของตนข้ึนมา แล้วด�ำเนินไปตาม ทางน้ัน (อตฺตา ห ิ อตตฺ โน คต)ิ ชะตาชวี ติ ของคนเราเปน็ สงิ่ ซบั ซอ้ นยง่ิ นกั  ยาก ทจี่ ะกำ� หนดได ้ นอกจากทา่ นผไู้ ดบ้ รรล ุปพุ เพนวิ าสา- นสุ สตญิ าณ (การระลกึ ชาตไิ ด)้  ทพิ พจกั ษญุ าณ หรอื จุตูปปาตญาณ (การรู้จุติและอุบัติของสัตว์ท้ังหลาย) จงึ จะก�ำหนดได้ง่ายข้ึน ตรวจสอบไดเ้ ปน็ รายๆ ไป อย่างไรก็ตามชะตาชีวิตย่อมเป็นไปตามการ กระทำ� และความตงั้ ใจของเรา โชคชะตาหาไดก้ ำ� หนด อนาคตของมนษุ ยไ์ ม ่ แตก่ ารกระทำ� ของมนษุ ยน์ น่ั เอง ไดก้ ำ� หนดชะตาชวี ติ หรอื อนาคตใหแ้ กเ่ ขา รางวลั และ การลงโทษเป็นสิ่งที่มนุษย์ท�ำกันข้ึนมาเอง ภัยจาก อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 39

ธรรมชาตนิ ้นั มนี ้อยกวา่ ภัยจากมนุษย์ด้วยกนั ถา้ ชะตาชวี ติ จะเปน็ สง่ิ ทม่ี อี ยจู่ รงิ  ชะตาชวี ติ นนั้ ก็คือส่ิงที่เราท�ำไว้ในอดีต ซ่ึงเรานึกย้อนไปไม่ถึง แต่ มันมีบทบาทก�ำหนดวถิ ีชวี ิตของเราใหเ้ ปน็ ไปต่างๆ ในการสร้างสรรค์ชีวิตให้ดีงามน้ัน จะต้องมี ความพากเพยี รและความอดทนเปน็ อยา่ งมากปราศจาก คุณธรรมสองอย่างน้ีแล้ว ย่อมไม่อาจท�ำให้ส�ำเร็จได้ ความอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นคุณลักษณะส�ำคัญอีก ประการหนงึ่ ทที่ ำ� ใหบ้ คุ คลเจรญิ เตบิ โตไดม้ าก เหมอื น พนั ธไ์ุ มซ้ ง่ึ มแี กน่ อยภู่ ายใน ยอ่ มเจรญิ เตบิ โตไดม้ ากกวา่ ไม้ที่มีแก่นหรือความแข็งอยู่ภายนอก เช่นไม้ไผ่ เปน็ ตน้  คนกระดา้ ง เยอ่ หยง่ิ  อวดด ี ทะนงตน ไมร่ จู้ กั อ่อนน้อมถ่อมตน เจริญได้น้อย เจริญขึ้นชั่วคราว 40 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

ก็มักจะเส่ือมลงโดยเร็ว แม้จะเจริญอยู่ได้บ้างด้วย ความม่ังมีหรือยศศักด์ิที่บรรพบุรุษมีมาให้ แต่ก็เป็น ท่ีเกลียดชังของคนท้ังหลาย ไม่อบอุ่นใจ ต้องคอย ระแวงอันตรายอยู่เสมอ ส่วนผู้ท่ีมีใบหน้าอันทอประกายแสงแห่งความ ถ่อมตน ย่อมเป็นท่ีรัก เป็นที่พอใจของคนทั้งหลาย เหมือนดวงจันทร์วันเพ็ญอันมีแสงสีนวล เยือกเย็น ฉะนนั้  ความถอ่ มตนเปน็ การเปดิ โอกาสแกต่ นเองให้ ไดร้ บั คำ� แนะนำ� สง่ั สอนอนั มคี า่ จากทา่ นผรู้  ู้ ทา่ นผรู้ จู้ ะ หลง่ั ความรใู้ หอ้ ยา่ งไมเ่ บอ่ื หนา่ ยจดื จาง เพราะเขาทำ� ตนเป็นเหมือนภาชนะท่ีใหญ่และดี ในการรองรับ ค�ำสอนที่ดี คนกระด้างอวดดีจะไม่ได้รับโอกาสเช่น น้ัน อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 41

ความอ่อนน้อมถ่อมตน เมื่อฝึกฝนอย่างดีแล้ว จะหย่ังรากลึกลงไปในอุปนิสัยสันดานของเขา เป็น เสมอื นรากแกว้ ของตน้ ไม้ เมอ่ื รากแกว้ หยง่ั ลงดนิ ลกึ แลว้  รากเลก็ รากนอ้ ยกจ็ ะแผอ่ อกยดึ ดนิ รอบๆ บรเิ วณ นน้ั  ลำ� ตน้ กเ็ จรญิ เตบิ โตขน้ึ  แผก่ งิ่ กา้ นออกไปไพศาล มีดอก มีผลเป็นร่มเงา เป็นประโยชน์แก่มนุษย์และ สตั วพ์ ชื ทง้ั หลาย ความออ่ นนอ้ มถอ่ มตนเปน็ รากแกว้ แห่งคุณธรรมของมนุษย์ เมื่อมีคุณธรรมข้อนี้แล้ว ขอ้ อืน่ ๆ ก็ย่อมจะเกิดตามขน้ึ มา คุณพ่อได้ย้อนกลับมาพูดเร่ืองความอ่อนน้อม ถ่อมตนให้วรัญญาฟังอีกเป็นเวลานานและพูดต่อไป รสู้ กึ ทา่ นมคี วามสขุ เมอื่ ไดพ้ ดู เรอ่ื งน ี้ เตอื นใหว้ รญั ญา เจียมกาย เจียมวาจา และเจียมใจในการเก่ียวข้อง กับผู้อ่ืน ค�ำพูดเพียงค�ำสองค�ำอาจส่อให้เห็นอุปนิสัย 42 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

อันดีหรือเลวของผู้พูด ท�ำนองเดียวกับสายบัวเป็น เครื่องวัดน้�ำ ต้นหญ้าเหี่ยวหรือสดช่ืนเป็นเครื่องวัด แผน่ ดนิ  กริ ยิ าวาจาเปน็ เครอื่ งวดั คณุ ธรรมและปญั ญา เพราะฉะน้ันควรเป็นผู้ฝึกฝนตนให้เป็นคนมีกิริยา ออ่ นนอ้ ม วาจาออ่ นหวาน และจติ ใจออ่ นโยนอยเู่ สมอ ประเมินค่าของตนตามท่ีเป็นจริง ให้น้อยไว้หน่อย ยงิ่ ด ี ไมอ่ วดยศศกั ดห์ิ รอื อวดความสามารถใหเ้ กนิ ตวั แมจ้ ะอยใู่ นหมคู่ นทเี่ ตม็ ไปดว้ ยความเยอ่ หยงิ่  ทะนงตน กใ็ หเ้ ขาทะเลาะกนั ไป เราอยา่ เปน็ ไปอยา่ งนนั้ เสยี ดว้ ย ตัวอย่างท่ีดีของเราอาจช่วยผ่อนคลายคนท่ีเย่อหย่ิง ทะนงตน ใหล้ ดความเปน็ เช่นนั้นลงได้บา้ ง อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 43



๒ การรู้จักตัดตอน มนุษย์เราผู้ท่ียังมีกิเลสอยู่ ย่อมท�ำดีบ้างชั่วบ้าง ตามอ�ำนาจของคุณธรรมและกิเลสท่ีเกิดข้ึนเป็น ครงั้ คราว คนทไ่ี ดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ คนด ี กต็ อ้ งเคยทำ� ความชว่ั หรอื อยา่ งนอ้ ยกม็ อี ยใู่ นใจ คนทใี่ ครๆ พากนั เห็นว่าเป็นคนช่ัวก็คงเคยท�ำความดีมาบ้าง ภายหน้า อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ

อาจเปน็ คนดมี ากๆ กไ็ ด ้ ผมู้ ปี ญั ญาจงึ ไมค่ วรดว่ นตดั สนิ คนดว้ ยเหน็ การกระทำ� เพยี งครงั้ เดยี วสองครง้ั ของเขา แลว้ ตดั สนิ วา่ เขาจะเปน็ เชน่ นน้ั ไปตลอดชวี ติ  บณั ฑติ ต้องรู้จักตัดตอน คนท่ีเคยชั่วเม่ือเขาส�ำนึกช่ัวแล้ว มใิ ชว่ า่ จะกลบั เปน็ คนดไี มไ่ ด ้ ควรใหโ้ อกาสแกเ่ ขาเพอ่ื จะได้กลับตัวเป็นคนดี ตระหนักอยู่เสมอว่าตอนนั้น กับตอนน้ีอาจไม่เหมือนกัน มนุษย์เปลี่ยนแปลงอยู่ เสมอตามส่ิงแวดล้อมและคุณธรรมในใจ ไม่พึงด่วน แตกจากมติ ร ไม่พงึ ผูกเวรกบั ใครๆ ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต

เรอ่ื งประกอบ เสียงค้อน เสียงชะแลง ดังเป็นจังหวะๆ จาก เชิงผา ภูเขาลูกน้ันสูงชัน ประชาชนผู้จ�ำเป็นในการ สัญจรผ่านภูเขานั้นจะต้องปีนป่ายขึ้นไปและลงอีก ดา้ นหนง่ึ ดูนั่นซี... หนุ่มใหญ่วัยกลางคน ท่าทางบึกบึน แข็งแรงสูงใหญ่ สมเป็นซามูไรในอดีต เขาใช้ค้อน ทุบหิน ใช้ชะแลงเจาะทะลวงภูเขาลูกนั้น เพื่อให้เป็น ทางสัญจรของมหาชน เหง่ือโทรมกายแต่ดวงหน้า และแววตาแสดงถึงความสุขและความหวังอันสดใส หวงั ถงึ ความสำ� เรจ็ แหง่ งานทเี่ ขาตงั้ ใจทำ� ดว้ ยเชอ่ื มน่ั วา่ “ความยากย่อมเอาชนะได้ด้วยความเพียรอันเป็นไป อยา่ งตดิ ต่อสมำ�่ เสมอ” อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 47

เขาท�ำงานเจาะภูเขาเฉพาะกลางคืน กลางวัน หาเลย้ี งชพี  เขาเจาะภเู ขาเปน็ อโุ มงคก์ วา้ ง ๖ วา สงู  ๕ วา ใชเ้ วลาเจาะนานถงึ  ๓ ปี ไดเ้ ส้นทางลกึ  ๕๗๐ วา แต่ช่องทางยังเหลืออยู่อีกจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย ๒ ป ี จงึ จะทะลุเขาใช้เป็นเส้นทางสัญจรได้ เขานง่ั พกั เหนอ่ื ย ยกมอื ขนึ้ ปาดเหงอ่ื ทหี่ นา้ ผาก บัดน้ีอายุของเขาย่างเข้าสู่วัยชราแล้ว ขณะนี้ดวงจิต ของเขาย้อนค�ำนึงถึงอดตี สมยั เมอื่ ยงั หนุ่ม เขาเกิดในตระกูลซามูไร เม่ือได้ศึกษาวิชาการ และจรยิ ธรรมของซามไู รจบแลว้  ไปทำ� งานเปน็ เจา้ หนา้ ที่ อารกั ขาขนุ นางผหู้ นึง่  เขารปู งาม สภุ าพออ่ นโยน แต่ เขม้ แขง็ เดด็ เดยี่ วอยา่ งชายชาตร ี จงึ เปน็ ทต่ี อ้ งตาตอ้ งใจ ของภรรยาขนุ นาง เธอทอดสะพานให ้ ความงามความ 48 ก า ร ส ร ้ า ง ค ุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต

ออ่ นหวาน และความมีนำ�้ ใจเกอ้ื กลู ของนางไดผ้ ูกมัด ใจของซามูไรหนุ่มอย่างเหนียวแน่น ท้ังสองลืมตัว ลืมหน้าท่ี ลอบรักได้เสียกัน น�้ำผ้ึงแห่งความรักยัง ไมท่ นั จดื จาง ขนุ นางผเู้ ปน็ สามจี บั ได ้ ซามไู รหนมุ่ จงึ ใช้ ดาบซามไู รฆา่ ขนุ นางผนู้ น้ั เสยี  แลว้ พาภรรยาของเขา หนไี ป เร่ืองของโลกมักเปน็ อยา่ งนี้ คนทำ� ผดิ ครั้งท ี่ ๑ ถ้าไม่รีบกลับตัวเสียก็มักท�ำผิดคร้ังท่ี ๒ เพ่ือกลบ เกล่ือนความผิดคร้ังที่ ๑ และท�ำผิดครั้งที่ ๓ เพื่อ กลบเกลอ่ื นความผดิ ครง้ั ท ่ี ๒ และตอ่ ๆ ไป ไมค่ อ่ ยจะ สน้ิ สดุ ลงไดง้ า่ ย เม่ือน�้ำผ้ึงแห่งความรักเริ่มจางลง ท้ังสองต่าง มองเห็นความผิดของตนอย่างชัดเจน เป็นเหตุให้ อ .  ว ศ ิ น  อ ิ น ท ส ร ะ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook