กระแสจิตฝา ยชัว่ โสฬสจิต ๑. สราคจิตต จิตเจอื รัก ๒. สโทสจิตต จติ เจอื ชงั กระแสจติ ฝา ยดี ๓. สโมหจิตต จติ เจอื หลง วตี ราคจิตต จติ หายรกั วตี โทสจติ ต จิตหายชงั กระแสจติ ฝายชัว่ วตี โมหจติ ต จิตหายหลง ๔. สังขิตตจติ ต๑ จติ หดหู กระแสจติ ฝา ยชั่ว กระแสจติ ฝา ยดี วกิ ขติ ตจติ ต จิตฟุงซาน ๕. มหัคคตจติ ต จติ กวา งขวาง ๖. อนุตตรจติ ต จิตยิ่งใหญ กระแสจิตฝายชวั่ ๗. สมาหติ จติ ต จิตตง้ั มั่น อมหคั คตจิตต จติ คบั แคบ ๘. วิมุตตจิตต จติ อิสระ สอตุ ตรจติ ต จติ ไมย่งิ ใหญ อสมาหติ จิตต จิตซัดสา ย อวิมตุ ตจิตต จิตตดิ ขดั . หมายเหต:ุ นเี้ รยี งลําดบั ตามมหาสตปิ ฏฐานสตู ร. จะอธบิ ายลักษณะจติ ๑๖ น้นั พอเปนทส่ี ังเกตของผศู ึกษาตอ ไป แตจะอธบิ ายฝา ยดกี อน จติ หายรัก หายชงั หายหลงน้ัน เปนจติ ทจ่ี างจากความรัก ความชัง และความหลง กลับคืน สสู ภาพเดมิ แทของจติ จึงจัดไวใ นฝายดี ตามธรรมดาปถุ ุชนทุกคนยอมมกี ิเลสเปน ปกติ แตก เิ ลส น้ันมิไดแสดงตัวใหปรากฏชัดๆ เสมอไปจะแสดงตัวใหปรากฏชัดกต็ อ เมือ่ มอี ารมณมาสมั ผัส ยั่วยวน กอ กวนข้ึนเทา น้ัน โดยปกตกิ ิเลสจงึ เปนเพยี งอนุสัย คอื นอนเนอ่ื งอยูในจติ ของปุถุชนอยางมิด เมย้ี นเหมอื นไมมกี เิ ลสอะไรเลย ลกั ษณาการตอนน้แี หละทเี่ รียกวา ปกตจิ ิตชนิดหนง่ึ เปนจิตปกติ ของปุถชุ น แตมิใชป กตจิ ติ ของพระขีณาสพ เพราะจิตของพระขีณาสพไมมอี นสุ ยั จิตปกตขิ อง ปถุ ชุ นนมี้ ีลักษณะไมรอน ไมรายแตป ระการใด คอ นไปทางลักษณะเยน็ เสยี ดว ยซํ้า เหมอื นนํ้าทม่ี ี ตะกอนนอนอยูภายใต เมือ่ นํ้าน้ันไมกระเพอื่ ม ยอ มมีลักษณะใส แตย งั มีตะกอนจมนอนอยู จงึ ไม เปน นํ้าใสสะอาดแท ขออปุ มานี้ฉันใด จิตใจทีห่ ายรัก หายชงั หายหลงก็ฉันนน้ั เพราะจิตยังไม ปราศจากกิเลสอยางเดด็ ขาด ยงั มสี วนแหงกิเลสเจืออยู เปนแตก เิ ลสไมฟ ุง จติ จงึ ใสในสภาพปกติ ของตนเทานน้ั อาจจะกลบั ขนุ ข้นึ เมอ่ื ไรกไ็ ด ในเม่อื ถูกกระเทอื น ฉะน้ัน จติ ปกติชนิดนี้จงึ หมายถึง จติ ทีย่ งั มกี เิ ลสอยู แตก ิเลสนอนไมฟ ฟู ุง ขน้ึ ครอบคลุมจิต จติ ในลักษณะสภาพเชน น้นั ยอมมกี ระแส ปกติไมรอนไมรา ย คอ นขา งมกี ระแสเยน็ สวนจิตเจือราคะ โทสะ โมหะ เปนจิตผดิ ปกติ คอื แปร สภาพไปสูค วามรกั ความชัง ความหลง ถกู ความรัก ความชงั ความหลง ครอบงํา ทําใหม ลี ักษณะ รอนรมุ กลัดกลมุ ลมุ หลงและขุนมวั เหมอื นน้ําเจือสีหรอื สงิ่ สกปรก ถกู กระทบกระเทือนเปนระลอก กระฉอกกระฉอ น ยอมขุนขน ไมผ องใส แลดูเงาไมเห็นฉะนั้น. จติ เจือความรัก ความชงั และความ ทิพยอาํ นาจ ๑๐๑
หลง เปน จติ รา ย มีลักษณะรอนตางๆ กัน คอื จิตเจือราคะมลี ักษณะรอนอบอนุ จิตเจือโทสะมี ลักษณะรอ นแผดเผา จติ เจอื โมหะมลี ักษณะรอ นอบอาว. สงั ขิตตจติ ต จติ ยอ หยอน หมายเอาจิตซึง่ ไมม อี ารมณรอน อารมณเ ย็นมายว่ั ยวนกอ กวน แตถ กู อารมณมดื อารมณมัวมารบกวน จิตปุถุชนนั้นเมือ่ ถูกอารมณมาสัมผัสยอมแตกกระจายซัด สายฟฟู ุงไปตามลกั ษณะของอารมณ เหมือนปุยนนุ หรอื สําลีทถ่ี ูกลมพดั ฉะนั้น จติ ที่ฟงุ ไปตาม อารมณเ ปนจิตเสยี ปกติ ยอ มมีกระแสรอ นรมุ ตามลักษณะของอารมณหรอื กิเลสทส่ี ัมปยุตตน้นั ๆ ถาสัมปยุตตดวยราคะก็คิดพลา นไปในกามารมณ ถาสมั ปยตุ ตดวยโทสะกค็ ิดพลา นไปในเร่อื ง หงุดหงิดขัดเคอื ง ถา สมั ปยตุ ตดวยโมหะอยางแรงก็คิดพลานไปในเรอ่ื งสงสัย ทําใหเ กิดอาการลังเล ใจ หวาดระแวงไปตา งๆ นานา แตถาอยูก ับโมหะทอ่ี อ นก็มืดกห็ ดตวั เปน จติ ออนกําลังซบเซาเซื่อง ซึมมืดมวั ยอ หยอน ไมป ราดเปรยี วกระฉับกระเฉงแขง็ แรง จิตใจตามสภาพธรรมดายอ มมีลักษณะ หดหเู ปนพักๆ สวนจติ ฟงุ ซานเปนจติ พลุงพลาน ไมดํารงตนเปนปกติ สมั ปยตุ ตไปดว ยอารมณ วนุ วายและกิเลส จึงจดั เปนฝา ยชัว่ มกี ระแสผดิ ปกตเิ ปน กระแสรอนอบอุน แผดเผา และอบอา ว อยางใดอยางหนงึ่ ตามลักษณะกิเลสท่ีเจือน้นั . มหัคคตจิตต จิตกวา งขวาง เปนจิตมีคุณธรรมเจือ คือ เปน สมาธิขน้ั อปุ จาระ มกี ระแสจิต แผกวางเปน ปรมิ ณฑลโดยรอบๆ ตัว มากนอยตามกาํ ลงั สมาธ.ิ ผูฝกหดั สมาธแิ บบนเี้ ม่อื จิตสงบลง ยอ มแผกระจายจิตออกไปโดยรอบๆ ตัว กาํ หนดเขตช่ัวรมไมห นง่ึ บรเิ วณวัด บริเวณหมูบา น ตําบล อาํ เภอ จังหวดั โดยลําดับไปจนสุดสามารถทจ่ี ะทาํ ได ทา นเรียกสมาธชิ นดิ น้วี า มหัคคตเจโตวิมตุ ติ จติ หลุดพนจากลักษณะคบั แคบ ถงึ ความใหญโ ตกวางขวาง คลา ยอปั ปมญั ญาเจโตวิมตุ ติ จิตหลดุ พน จากความชัง ถึงความรักในสรรพสัตว ไมมีเขตจาํ กัด ครอบคลุมโลกท้ังสนิ้ หมด มหัคคตจติ ตนี้ มีอาการแผจติ ออกไปกวา งเปน ปรมิ ณฑลโดยรอบ มใิ ชแผเ มตตาในสรรพสัตว จุดหมายของม หัคคตจติ ตอยทู ีต่ องการกาํ จัดความรูส กึ คับแคบองจิตเปนสําคญั จิตคบั แคบนนั้ เปนจิตเจอื ดว ย โทษ เปน ท่ีตง้ั แหงความเหน็ แกตวั มีความรสู กึ เศรา หมองไมเ บิกบาน เมือ่ ทําการเจรญิ จิตแบบแผ กวาง ยอมแกโทษดังกลาวลงได. อน่งึ จติ ในข้นั อุปจารสมาธแิ บบทวั่ ไปมีลกั ษณะกวางขวาง แก ความคบั แคบไดเชนเดยี วกัน เปนแตไมมีปริมณฑลกวา งไกลดังท่ีต้งั ใจทาํ ฉะนน้ั มหัคคตจิตตจงึ หมายเอาจติ เปน สมาธิขนั้ อุปจาระ มกี ระแสสงบและสวางเปนปรมิ ณฑลโดยรอบๆ ตวั มากนอ ย ตามกาํ ลงั ของการกระจายออก สว นอมหคั คตจติ ตเปน จิตตรงกันขา ม มีลักษณะคบั แคบ ไมมี กระแสสวาง เปน จิตซอมซอ เศราหมอง. อนตุ ตรจิตต จิตยงิ่ ใหญ เปนจิตมคี ุณธรรมเจือ คอื เปนสมาธขิ ้ันอัปปนาถึงความเปน เอกภาพ มีอํานาจในตัวเอง เปนอิสระในการงานของตน ไมร สู กึ วา มีอะไรเปน นายเหนือตนในขณะ อยใู นสมาธนิ ้นั จึงจดั วาไมมอี ะไรยงิ่ ใหญกวา จิตในฌานต้งั แตช้ันปฐมฌานขึ้นไปจนถงึ ช้ันสญั ญา- เวทยิตนโิ รธ ไดนามวา อนุตตรจิตตทง้ั หมด เพราะจติ ในฌานท้ังหมดเปน เอกภาพ ยิ่งในฌานช้ันสูง ย่งิ มเี อกภาพสมบูรณ จติ ที่เปน เอกภาพยอมมีลกั ษณะองอาจกลา หาญ ไมค ร่ันครา มตอ อะไร หาย หวาดหายกลัวหายสะดุง มกี ระแสหนกั แนนและสวา งไสว สวนจติ ใจท่ีไมเ ปนเอกภาพยอ มรสู กึ เหมอื นเปนทาสของสิ่งตา งๆ อยูโ ดยปกติ มหี วาดมีกลวั มีสะดงุ สะเทือนใจอยเู นืองๆ จึงเรยี กวา ทิพยอํานาจ ๑๐๒
สอุตตรจติ ต จติ ท่ีไมย่ิง โดยความก็คอื จติ เปนทาส ไมเปนไทยแกต วั ยอมมลี กั ษณะออนแอ อาจถกู ปน ถกู หมุนไปไดทกุ ๆ ทาง มีกระแสเบาๆ ไมหนักแนน และไมส วางไสว. สมาหิตจติ ต จติ ตงั้ ม่นั เปน จติ เจือดวยคณุ ธรรม คอื ถงึ ความเปน อเนญชา เพราะไดรับการ ฝก ฝนอบรมดว ยคณุ ธรรมตางๆ มีสตปิ ญ ญาสามารถดํารงรกั ษาตวั ไดด ี ไมห วัน่ ไหวตออารมณห รือ กิเลสใดๆ ท่มี าสมั ผัส มีอุเบกขาธรรมในส่ิงน้ันๆ เสมอไปท่ที า นกลา วไววา อเนญชจิตต ๑๖ ประการ เปน เคามลู ของฤทธ์ิ ดังกลา วในบทที่ ๕ แลว จติ ดังกลา วน้มี ีลักษณะมั่นคง เทย่ี งตรง ไมเอนเอียง ไมหวัน่ ไหวและแจม ใสเสมอ มีกระแสหนกั แนนดูดดื่มซาบซง้ึ และเยน็ ๆ สวนอสมาหติ จติ ต จิตไม ตัง้ ม่ันน้ันมลี ักษณะตรงกนั ขามทกุ ประการ คอื เปนจิตกลับกลอกเปน จิตใจท่ีไมดี เสียคณุ ภาพ ไม เปนตนของตน ตกเปนทาสของอารมณและกิเลส มลี กั ษณะมดื มัว วูบวาบไปมา. วมิ ตุ ตจติ ต จติ เปนอสิ ระ เปนจติ เจือดว ยคณุ ธรรมสงู คอื หลุดพนจากสง่ิ ขดั ของ ถึงความมี อิสระแกตัว อยูไดตามใจประสงค ไมตองพะวงวาจะมใี ครมาขมเหง ตองการอยสู บายดวยวิหาร ธรรมใดๆ กอ็ ยูไดต ามใจประสงค น้ีกลา วหมายถึงวิมุตตจติ ตช้ันสูง สว นการพนจากกเิ ลสของจติ ใจ เพยี งช่ัวขณะกด็ ี ขมปราบไวนานๆ ก็ดี พน เพยี งบางสวนกด็ ี กย็ อ มทาํ ใจใหร สู ึกปลอดโปรง เปน อิสระตามสมควรแกความพนนัน้ ๆ ซ่ึงตรงกันขามกบั จติ ขดั ขอ ง ตดิ ขัดในส่ิงตา งๆ ใหร สู กึ วา ตนไมม ี อิสรภาพแกตวั ไมเปนตนของตน ตอ งคอยฟงบงั คับบญั ชาของนายคือกเิ ลสหรอื อารมณอยเู สมอ ความเปน อสิ ระของจิตเปนคณุ ธรรมท่ีดี เปนทีพ่ ึงปรารถนาในพระพทุ ธศาสนา พระบรมศาสดา ทรงวางวิธีการปฏิบัติไวโ ดยอเนกปริยายกเ็ พอ่ื ใหบรรลถุ งึ ความมอี สิ ระของจิตน่ีเอง ผบู รรลุถงึ ข้ัน อิสระสูงสดุ แลว ยอ มรูสกึ ตวั วาพนจากอํานาจถวงใหจ มด่ิงลงสเู หวนรกแลว โลง ใจ เบาใจท่สี ุด พระพทุ ธองคเม่อื ทรงบรรลถุ ึงภูมิอิสรภาพเต็มทนี่ ้ีแลว ทรงยับยัง้ อยูดว ยความสงบเปนเวลานานถงึ ๗ สปั ดาห ทเ่ี รยี กวา เสวยวมิ ุตติสขุ ไมปรากฏวาเสวยพระกระยาหารเลยตลอดเวลาที่พกั สงบอยู น้ัน จนถึงสัปดาหสุดทา ยในวันคํารบ ๗ จงึ ทรงรับขาวสตกู อ น-สตผู งของสองพาณิช คือ ตปสุ สะ และ ภัลลิกะ ซง่ึ บังเอิญเดนิ ทางไปคาขายไปพบเขา เกิดความเลอื่ มใสศรทั ธาปฏญิ าณตนเปน อบุ าสกแรกท่ีสดุ ในพระพุทธศาสนา จติ ใจที่บรรลุถงึ ขน้ั อสิ รภาพสูงสุดยอมมีลักษณะสวางสดใส ที่สุด ดุจดงั แกวมณโี ชติฉะนนั้ และมกี ระแสดึงดูดอยางแปลกประหลาด สามารถโนมนาวจิตใจของ ผไู ดพ บเหน็ ใหออนโยนลงไดง าย สวนจิตทม่ี ลี ักษณะติดขดั ไมเ ปน อสิ ระแกต ัวนั้น ยอมมีกระแสให รสู ึกอึดอดั ในใจ ไมปลอดโปรงในใจ มีกระแสมัวซวั . บุคคลผมู เี จโตปรยิ ญาณ ตองผา นการฝก ฝนอบรมจิตตามหลกั จิตตานุปสสนาสตปิ ฏ ฐาน ดงั กลา วมานี้ เมอ่ื สามารถตามรตู ามเห็นจติ ใจของตนทุกๆ อาการท่ีเปล่ยี นแปลงไปซง่ึ ลกั ษณะ ใหญๆ ๑๖ ลกั ษณะนน้ั แลว แมลักษณะปลีกยอ ยออกไปกจ็ ะรูเ ห็นไดท กุ ลักษณะไป เมื่อรจู กั จิตใจ ของตนดีแลว ยอ มรูจ ติ ใจของผูอ น่ื ไดดเี ชนเดียวกนั เพราะจิตมีกระแสกระจายออกจากตวั เปน ปริมณฑลโดยรอบดงั กลา วมาแลว ผฝู ก จติ ใจไดดแี ลวยอมเหมอื นสรางเครื่องรบั วิทยุไวร บั กระแส เสียงทีก่ ระจายมาตามอากาศฉะน้ัน บคุ คลผูไมฝกฝนอบรมจติ ใหด แี ตตอ งการรูจิตใจของผูอ่ืนนั้น ยอมมิใชฐ านทจ่ี ะเปนได เหมือนไมมเี ครอื่ งรับวิทยุ หรือเคร่ืองรบั วทิ ยุเสยี แตตอ งการฟง เสียงซึ่ง กระจายมาตามอากาศจากระยะไกลเกินวสิ ยั หธู รรมดานัน้ ยอมมิใชฐานะทจี่ ะเปนไปไดฉะนัน้ เหตุ ทพิ ยอาํ นาจ ๑๐๓
น้นั ผตู องการรจู ติ ใจผอู นื่ พึงฝก หดั สงั เกตจิตใจตนเองใหทราบชดั ทกุ ลักษณาการเสยี กอน ตามหลัก จิตตานุปสสนาสติปฏ ฐาน แกไขปรับปรุงลักษณาการทไ่ี มดขี องจติ ใจเสยี ใหม ใหกลายเปนจติ ใจมี ลักษณะดี สงเสริมสว นท่ีดใี หดียิ่งข้ึนไปจนถึงทีส่ ุดเปนจติ ตวมิ ุตติ หลดุ พนจากความเปน ทาส ถงึ ความเปน ไทย มอี สิ รภาพเต็มท่ี มคี วามเปนตนของตนทกุ เมอ่ื มีอํานาจเหนือกเิ ลสและอารมณท ุก ประการกจ็ ะบรรลุถงึ ทพิ ยอาํ นาจ คือเจโตปรยิ ญาณสมดังความประสงค. ตามทบี่ รรยายมานี้ วา โดยเจโตปริยญาณอยา งสูง เม่อื จะกลาวโดยปรยิ ายอยา งต่าํ ผฝู กฝน อบรมจิตใจไดค วามสงบใจแมเพียงชนั้ อปุ จารสมาธิ ก็สามารถกาํ หนดรูกระแสจิตของผอู ื่นในช้ัน เดียวกนั และตาํ่ กวาลงไปได โดยนยั นี้ไดค วามวา ผฝู ก ฝนจิตยอ มมเี จโตปริยญาณเปนบําเหน็จ ความชอบเรอ่ื ยไปจนถึงชน้ั สูงสุด ไมตอ งทอ ใจวาเปน สงิ่ เกนิ วสิ ยั ของคนธรรมดา คนสามัญธรรมดา ก็สามารถมไี ด ถา เอาใจใสส งั เกตใจตนเองอยูบอ ยๆ ความขอนี้พึงเห็นเชน คนเราเมื่อแรกพบปะกนั ยอ มรูสึกชอบหรอื ชงั กันได ทั้งๆ ทย่ี ังมิไดแสดงกริ ยิ าอาการหรือการกระทาํ ใหเปน ท่นี าชอบหรอื นา ชัง ทงั้ นเี้ ปนเพราะจติ ยอ มรจู ักจติ อยโู ดยธรรมดาแลว บคุ คลทมี่ ีกระแสจิตไมดเี มือ่ เราพบเห็นเขา เราจะรสู กึ ไมชอบขึน้ มาทนั ที สวนผมู กี ระแสจิตที่ดเี มอ่ื เราพบเห็นเขาเราจะรูส กึ ชอบข้ึนมาทนั ที เหมือนกัน สวนผูมกี ระแสจติ ปกติไมดีไมรายนนั้ เม่ือเราพบเห็นเขา เรากร็ สู กึ ปกตเิ ฉยๆ ไมเ กลียด ชัง ทง้ั ไมร ูสึกชอบดวย แตผูศกึ ษาอยา ลืมวา ความรูส กึ ชอบ ไมชอบ หรอื เฉยๆ นเ้ี กดิ จากกิเลสของ ตัวเองกม็ ี ทจ่ี ะรไู ดแนว ามใิ ชเกิดจากกเิ ลสของตวั เองก็ตอ งสังเกตรปู กตจิ ติ ของตนอยูเสมอ ซงึ่ รับรองตวั เองไดวา ความรูส กึ ที่เกิดขนึ้ นนั้ มไิ ดเกดิ จากกิเลสของตัว เปน ความรูส ึกทางกระแสสัมผสั ท่ีผา นมาสมั ผสั กบั จิตใจของตนเขาเทา น้ัน. การรจู กั จิตใจของผอู นื่ นอกจากรไู ดทางกระแสสัมผสั อนั เปน วิสยั ของเจโตปรยิ ญาณ โดยเฉพาะแลว ยอมรูไดทางทพิ พจกั ษซุ ง่ึ จะกลาวขางหนา เพราะวา จิตใจของคนเราเปนธาตชุ นดิ หนง่ึ ซึ่งมีความรูเปนลักษณะ เรยี กวามโนธาตุ แปลวา ธาตรุ ู ธาตุรนู ี้ประกอบดว ยแสงสีและกระแส ธรรมดาวาแสงยอมมลี ักษณะตา งๆ กัน สวางมากนอยตางกัน แสงยอ มมสี ีประกอบเปน ลกั ษณะอีก ดว ย เหมือนแสงไฟยอมเจอื ดว ยสอี นั เกิดจากเช้อื ตางกันฉะนน้ั เทวดารจู ักกนั วามศี ักดานุภาพมาก นอ ยกวากนั ดวยสังเกตแสงสขี องจิตนี่เอง เพราะทวยเทพไมมีรางหยาบเปน เครอื่ งปดบัง แสงสขี อง จิตยอมปรากฏชัด นอกจากแสงประกอบดว ยสีแลว ยงั ประกอบดวยกระแสดังกลาวมาแลว อกี ดว ย ถา เราสงั เกตใหด จี ะทราบไดว า ในขณะทีเ่ ราไดสัมผัสกับแสงนั้นๆ เราจะรูร สสมั ผสั ข้ึนตา งๆ กัน เชน แสงสวางสนี วลใหเกิดความรูส ึกชืน่ ใจ เบิกบานใจเปนตน ฉะนั้นจติ จงึ ประกอบดว ยแสงสีและ กระแสดังกลาวแลว ผมู ที ิพพจกั ษเุ หน็ แสงจติ ประกอบดวยสีชนิดใดๆ แลวยอ มลงความเห็นไดวา เปน จติ ชนดิ ใด เจอื ราคะหรอื โทสะโมหะประการใด โดยอาศัยความสังเกตแสงสีจติ ของตนเอง เชนเดยี วกนั ขอนีจ้ ะไดก ลาวละเอยี ดในบทวาดวยทิพพจกั ษขุ า งหนา. การกําหนดรูจ ติ ใจของผูอ ืน่ น้ัน เม่อื วา โดยลักษณะของเจโตปรยิ ญาณท่แี ทจ ริงแลว รูไดท าง กระแสสมั ผสั ทางเดียว แตธ รรมดาผฝู ก ฝนจิตใจยอมเกดิ ญาณความรูหลายประการดวยกนั จึงอาจ รูแมโ ดยประการอ่ืนดว ยอาํ นาจความรูอื่นๆ กไ็ ด พระอาจารยภ ูริทตั ตเถระ (ม่ัน) อาจารยของ ทิพยอํานาจ ๑๐๔
ขา พเจา ไดใหข อ สังเกตไวว า ญาณความรทู ่ีเกิดข้นึ ในการกําหนดรเู หตุการณ อปุ นิสัยใจคอของผูอ่ืน นน้ั มี ๓ อยา ง คือ ๑. เอกวธิ ัญญา รโู ดยสวนเดียว หมายความวา เกดิ ความรสู กึ ข้นึ ทางใจทเี ดียว เชนรวู า จะมี เหตุการณอ ยา งนั้นๆ ในวันนนั้ วันนี้ หรอื เมอื่ นั้นเมอื่ โนน แมเ หตกุ ารณท ก่ี ลา วมาแลวแตค รงั้ ไหนๆ ซง่ึ คนในสมัยปจ จุบนั ลืมกนั หมดแลวกเ็ ชนเดยี วกัน สว นอปุ นิสัยจติ ใจของคนก็รไู ดทางใจข้นึ มา เฉยๆ เชนเดียวกัน. ๒. ทวุ ธิ ัญญา รโู ดยสว นสอง คอื มภี าพนิมติ ปรากฏข้ึนมากอ น แลว จึงรคู วามหมายของ นิมติ น้ันอกี ท.ี ๓. ตวิ ธิ ัญญา รูโดยสว นสาม คอื มีภาพนมิ ติ ปรากฏขึ้นกอ นแลว แลวตองกําหนดถามในใจ เสยี กอ นเขาสคู วามสงบจนถงึ ฐีตจิ ิต ถอยออกมาถงึ ข้ันอุปจาระ จึงสามารถรูเรอ่ื งตามนมิ ิตที่ปรากฏ นน้ั . ตามลักษณะความรู ดงั ทที่ านอาจารยใหขอสงั เกตไวนี้ มิใชรดู วยญาณเพียงอยางเดยี ว เปน การรูดวยญาณหลายอยา ง มที ั้งเจโตปริยญาณ มที ัง้ ทพิ พจักษุญาณประกอบกนั นอกนั้นกม็ ญี าณ เล็กๆ นอยๆ ท่ีทานเรยี กวา อนาคตังสญาณ และอตตี งั สญาณ เปนตน ซง่ึ ญาณความรตู า งๆ นัน้ ยอมเกดิ แกผมู ีจติ ใจผอ งแผวเสมอ เมือ่ จะกลา วถึงจดุ รวมของญาณตางๆ ก็ไดแ กจ ิตใจบริสทุ ธิ์ผอง ใสนัน่ เอง เมือ่ ฝก ฝนอบรมใจใหบริสทุ ธ์ิผอ งใสแลว มใิ ชแตเจโตปรยิ ญาณเทา น้ันจะเกดิ ขึ้น แม ญาณอ่ืนๆ กจ็ ะเกิดข้ึนดวยตามสมควรแกก าํ ลงั วาสนาบารมี และประโยคพยายาม จิตใจทีบ่ รสิ ทุ ธ์ิ ผองใสน้ันถาจะสมมติชือ่ ข้นึ ใหมใ หส มกับลักษณะทแ่ี ทจริงแลว กอ็ าจสมมตไิ ดว า ใจแกว เพราะมี ลกั ษณะใสเหมือนแกว มณโี ชติ ถา ฝกฝนใจถงึ ชัน้ ใจแกว แลว ภาพเหตกุ ารณท ่ผี านมายอมแสดงเงา ขน้ึ ทใ่ี จแกวเสมอไป เหมอื นเงาปรากฏที่กระจกเงาฉะนัน้ ใจแกว จึงเปนจดุ ศูนยร วมของญาณทกุ ประการ ผตู องการญาณพิเศษตา งๆ พึงฝก ฝนจิตใจใหบริสทุ ธผ์ิ ดุ ผอ งเหมือนแกวมณีโชติ กจ็ ะ สาํ เร็จดังมโนรถทุกประการ. วธิ ีปลกู สรา งเจโตปริยญาณ ไมม ีอะไรดีวิเศษไปกวาจิตตานุปสสนาสติปฏ ฐานดังกลา วแลว ฉะนน้ั จงึ เปนอันวาจบเร่อื งท่ีกลาวในบทนี้แลว ผูศกึ ษาทต่ี องการเจโตปริยญาณพงึ ฝกหดั ตามหลกั จติ ตานุปส สนาสติปฏฐานน้นั เถิด จะสมหวงั โดยไมยากเยน็ เลย. ทิพยอาํ นาจ ๑๐๕
บทท่ี ๘ วธิ สี รา งทพิ ยอาํ นาจ ทพิ พโสต หทู พิ ย ทพิ ยอํานาจขอนี้ หมายถึงความสามารถรับฟงเสยี ง ๒ อยาง คือ เสยี งทิพยและเสยี งมนษุ ย ได ทั้งในทใ่ี กล ทง้ั ในทไ่ี กล ดว ยโสตธาตทุ พิ ยอนั บริสุทธ์เิ กินกวา โสตธาตุของมนุษย ทา นเรียกชอื่ ทิพยอํานาจขอ นว้ี า ทิพพโสตธาตุญาณ แปลวา ความรทู างโสตธาตุญาณทพิ ยบ รสิ ทุ ธิบ์ า ง เรยี ก สั้นๆ ดงั ตง้ั เปนหัวขอ ขา งบนนี้บา ง รวมใจความเขา ก็คอื หทู พิ ยน ั่นเอง. ธาตุวเิ ศษในรางกายมนุษย ซ่ึงสามารถรบั รสู ่งิ ที่เปน วิสัย ทา นจดั ไว ๖ ประการ คือ ๑. จักขธุ าตุ ธาตุตา มีความสามารถในการเห็นรูป. ๒. โสตธาตุ ธาตุหู มีความสามารถในการฟง เสยี ง. ๓. ฆานธาตุ ธาตจุ มูก มคี วามสามารถในการดมกล่นิ . ๔. ชิวหาธาตุ ธาตุล้นิ มีความสามารถในการลม้ิ รส. ๕. กายธาตุ ธาตกุ าย มีความสามารถในการรบั สัมผัสสิ่งซง่ึ มาสัมผสั และ ๖. มโนธาตุ ธาตใุ จ มคี วามสามารถรบั รูธ รรม คอื สงิ่ ท่ีเกิดข้ึนทางใจ. ธาตเุ หลา นท้ี า นเรยี กวา อินทรยี ธาตุ แปลวา ธาตุคอื อินทรยี หรือธาตุท่ีเปนใหญ ทา นวา เปน ผลของกรรมท่ีทาํ ไวแตช าตกิ อ น ผทู าํ บุญไวกไ็ ดธาตุเหลานสี้ มบรู ณดี ผูทาํ บาปไวก ไ็ ดธาตุเหลาน้ี บกพรอ ง ธาตุทงั้ ๖ น้ีจงึ มีดีเลวตามลกั ษณะของบุญบาป ซ่งึ เปนผูแตง อารมณอันเปน วิสัยของ ธาตทุ ั้ง ๖ นั้น ทา นก็จดั ไว ๖ ประการเชน เดยี วกัน คือ ๑. รปู ธาตุ ธาตุรปู อันเปนวสิ ัยของตาจะพึงเห็น ๒. สัททธาตุ ธาตเุ สียง อันเปน วิสัยของหจู ะพังฟง ๓. คนั ธธาตุ ธาตกุ ลิ่น อนั เปน วสิ ัยของจมูกจะพึงดม ๔. รสธาตุ ธาตรุ ส อนั เปนวิสยั ของล้ินนะพงึ ลม้ิ ๕. โผฏฐพั พธาตุ ธาตุทีพ่ งึ ถูกตอง อนั เปนวิสยั ของกายจะพงึ สมั ผัส ๖. ธมั มธาตุ ธาตธุ รรม อันเปนวสิ ัยของใจจะพึงรู. ธาตุทง้ั ๖ นี้ ยอ มมีท้งั ในรางกายตัวเอง ทั้งในรา งกายของผูอ่นื สง่ิ อ่นื เมื่อมาสัมผสั กบั ธาตุ ภายในทัง้ ๖ นั้น จะเกิดเปนกระแสสะเทอื นใจ กต็ อเมือ่ วญิ ญาณธาตุ คือธาตรุ บั รอู ารมณซ ึ่งมี ประจําทวาร ๖ ทาํ หนา ท่ีรับรูเสียกอ น ถา วญิ ญาณธาตุไมท าํ หนาทรี่ บั รูแมจ ะไดเหน็ ไดย นิ เปน ตนก็ สกั วาไดเ หน็ ไดยินเปนตนเทานั้น ไมก อใหเ กิดความรูสึกสะเทือนใจแตประการใด เชน ในเวลาเรา กําลังคดิ อะไรเพลินๆ อยู มีอะไรมาผา นสายตาเราเราก็เห็น แตไมร ูสึกวิเศษข้ึนไปกวาน้ัน ฉะน้ัน วิญญาณธาตจุ งึ เปนสือ่ สําคญั ทใี่ หเ กิดความสะเทอื นใจทีเ่ รยี กวา ผัสสะ วิญญาณธาตนุ ีท้ า นกจ็ ัดเปน ๖ และเรียกช่อื ตามทวาร ๖ เชน จกั ขวุ ิญญาณธาตุเปนตน ๖ คูณดวย ๓ จึงเปน ๑๘ ธาตุนจี้ ดั เปน อารมณของวิปส สนาทพ่ี งึ ทาํ การศึกษาสาํ เหนยี กใหรแู จงเห็นจริง เพ่อื ทาํ ลายรงั ของอวิชชา เพราะวาเม่อื ไมรแู จมแจงธาตุ ๑๘ ประการนแี้ ลว มักหลงใหลใฝฝน และสําคัญผิดในธาตุ ๑๘ นี้ ซ่ึง ทพิ ยอาํ นาจ ๑๐๖
เปน สายชนวนแหงทุกขในสงั สารวฏั สบื ไปไมรูจักสิ้นสุด เม่อื ศกึ ษาใหรจู ริงในธาตุ ๑๘ นี้แลว อวชิ ชาในธาตุ ๑๘ น้ีก็เปนอันถกู ทาํ ลายไป สายชนวนแหง ทกุ ขก็ขาดสะบนั้ ลง เพราะเหตนุ ที้ า นจงึ ใหศึกษาสําเหนียกธาตุ ๑๘ น้ใี หร แู จงเห็นจริงเปนทางเรืองปญ ญา. บรรดาธาตุ ๑๘ ประการนั้น มโนธาตคุ ือธาตุใจหรือธาตรุ ูเ ปนตัวการสําคญั ทสี่ ดุ ในการ กอใหเ กดิ สุขขน้ึ ในตน ถาใจรจู กั ตวั เองดี ใจกไ็ มกอทกุ ขแกต วั ถา ใจไมรจู ักตัวเองดี มักกอ ทุกขใสตวั ฉะน้นั ทางพระพทุ ธศาสนาจงึ สอนหนักในทางใหรูจ ักใจตามความเปน จริง เพราะวา เมอ่ื รูจ ักใจ ตามความเปนจรงิ แลว กจ็ ะรูจักสิ่งอ่นื งา ยขน้ึ ในการฝกเพือ่ ทพิ พโสตธาตนุ ีท้ างพระพทุ ธศาสนาก็ แนะนําใหฝ ก ใจกอ น แลวจงึ ใหหนั มากาํ หนดสําเหนยี กเสยี ง เพื่อรบั ฟง ดว ยโสตธาตอุ กี ทหี น่งึ เหตุ ไรทางพระพุทธศาสนาจงึ นยิ มใหฝกใจกอนฝก ประสาททง้ั ๕ เปนเรอ่ื งควรพิจารณา ทาง พระพทุ ธศาสนาถือวา ใจเปนจุดศนู ยก ลางที่รวมของความดี-ความชว่ั ใจเปนผูท ําดีทําชั่วกอ นสงิ่ อน่ื เมอ่ื ใจดกี บ็ งั คบั กายวาจาใหทาํ ดี เมอ่ื ใจช่วั ก็บงั คบั กายวาจาใหทําชั่ว ใจเองเปน ผูดี-ผูช่ัว และเปน ผู เสวยผลของความด-ี ความชั่วที่ตัวทําไว ฉะนนั้ ใจจึงเปนสิ่งสําคัญทีส่ ุด ควรไดร ับการศึกษาอบรม ใหดที ส่ี ดุ กอนสิง่ อน่ื เม่อื ใจไดรับการอบรมดแี ลว ใจจะเปนท่ีตงั้ แหงทพิ ยภาวะ คือสิง่ เปนทพิ ยทั้ง ปวง จะเกิดมที พิ ยอินทรยี และทิพยอํานาจโดยลําดบั เมอื่ มที ิพยสมบัติเหลา นี้สมบรู ณในใจแลว ยอมสามารถรบั รทู พิ ยวิสัยทัง้ ปวงไดเกนิ กวาทพิ ยโสตเสยี อีก ดวยเหตุน้ที างพระพทุ ธศาสนาจึงนิยม ใหฝ ก ใจกอนฝกประสาท. วธิ ีการฝก ใจเพอื่ ใหเ ปน ทตี่ ง้ั แหงทพิ ยอาํ นาจนี้ ทางพระพุทธศาสนาสอนใหอ าศยั อิทธบิ าท ภาวนา อบรมใจจนไดส มาธิ เขาถงึ ขีดขั้นของฌานท่ี ๔ ดังไดก ลาวมาแลว ต้งั แตบ ทท่ี ๑ ถงึ บทท่ี ๔ ใจทสี่ งบเขา ถึงขดี ข้ันของฌานท่ี ๔ เปนใจที่สมบรู ณด วยทิพยภาวะ ยอ มมีทิพยอนิ ทรียส ามารถรบั รู ทิพยวิสยั ทง้ั ปวง ถานอ มใจไปเพื่อรใู นทางใดกจ็ ะรูใ นทางนัน้ ไดทกุ ทาง คอื นอมใจไปในทางเห็นรปู กจ็ ะเกิดตาทิพยส ามารถเห็นรปู ท้งั รูปทิพยและรปู มนุษยได นอมใจไปในทางฟง เสียงก็จะเกิดหู ทิพยสามารถฟงเสยี งทพิ ยแ ละเสียงมนุษยได นอมใจไปในทางดมกลนิ่ กจ็ ะเกดิ ฆานทิพยส ามารถ สูดดมกล่นิ ทิพยและกล่นิ มนุษยได นอมใจไปทางลมิ้ รสกจ็ ะเกิดชิวหาทิพยสามารถลม้ิ รสทิพยแ ละ รสมนษุ ยได นอมใจไปในทางสมั ผัสก็จะเกิดกายทิพยส ามารถรบั สมั ผสั ทิพยและสมั ผสั มนุษยไ ด ตกลงวา สามารถปลูกสรา งทิพยอินทรยี ข น้ึ ใชไ ดทุกประการ. อน่งึ เมื่อศึกษาอบรมใจจนไดสมาธิเขา ถึงขีดข้ันของฌานท่ี ๔ แลว จะรูวาใจกบั กายเปนคน ละสว น สามารถแยกออกจากกนั ไดเด็ดขาด ความรนู ีเ้ ปน ปจ จยั ใหเ กิดทพิ ยอํานาจ สามารถถอด จติ ออกจากกายไปได เนรมติ รปู กายข้ึนอีกกายหน่ึงตา งหากจากกายเดมิ ซึ่งมีลกั ษณะละมา ย เหมือนกายเดมิ ทสี่ ุด แลว ใชไปบาํ เพ็ญประโยชนในทไ่ี กลได ดังไดก ลาวมาแลวในบทท่ี ๖ คอื มโนมยั ฤทธ์ิ เมื่อใจสามารถไปบาํ เพญ็ ประโยชนใ นทีไ่ กลไดเชนน้ัน ใจกต็ อ งมอี นิ ทรยี ท ุกสวน เชนเดยี วกบั กายนี้ เปน ความรูสาํ หรับเปนปจจัยใหเกิดทพิ ยอํานาจขอน้ี (คอื ทพิ พโสตธาตุ) เม่ือรู วา ใจมีทพิ ยอินทรยี เ ชนนีแ้ ลวยอมสะดวกทจ่ี ะฝกฟงเสยี งในลําดบั ตอไป. อน่ึง เม่อื มโนธาตุ คอื ธาตุใจไดรับการฝก ฝนอบรมดเี ชน น้ัน ขณะเดียวกนั จักขุธาตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิวหาธาตุ และกายธาตุ อนั เปนสว นรูปกาย กพ็ ลอยไดร ับการฝกฝนอบรมไปดวยในตัว ทพิ ยอาํ นาจ ๑๐๗
จะเกดิ เปน ธาตผุ องใสข้ึนกวา ปกติ สามารถรบั รอู ารมณอนั เปนวสิ ัยของตนไดดีกวา ปกตธิ รรมดา คนตาฝาฟางเมอื่ ไดรบั อบรมทางจติ ใจมากขนึ้ จนเปนสมาธิ ตาจะหายฝา ฟาง คนหูตงึ จะเกิดมหี ดู ี ขนึ้ คนจมูกดานก็จะเกดิ จมกู ดีข้ึน คนลิ้นชากจ็ ะเกิดลิน้ ดขี ึ้น คนกายชากจ็ ะเกดิ กายดีขึ้น การ ฝกจงึ เปน ประโยชนแ มแกทางกายดว ยประการฉะน้ี จึงเปน การสมควรอยา งยงิ่ ทจ่ี ะสนใจศกึ ษา อบรมใจใหดี ทางโยคีก็คงจะทราบเหตผุ ลอยางน้เี หมอื นกนั จึงวางวธิ ีฝก เพือ่ ทพิ ยอํานาจไววา การ ต้ังสังยมะในประสาททง้ั ๕ จะบังเกิดผลทําใหป ระสาทท้งั ๕ ผองใส สามารถรับสัมผสั ไดดี และ อาจสามารถรับสัมผัสทพิ ยวสิ ยั ไดดวย ดังน้ี วิธกี ารทางพุทธศาสนาพงุ สจู ดุ ศูนยกลางคอื ใจกอนอนื่ ใหฝ ก ใจใหดีแลว จงึ ฝกกาย สว นวธิ กี ารทางโยคพี งุ ไปตามจดุ ท่ีหมายจะใหเ กิดทพิ ยอาํ นาจประการ นน้ั ๆ ทีเดยี ว ความแตกตา งทางพุทธศาสนากับทางโยคเี ปนเชน นี้ ผศู ึกษาพึงสาํ เหนียกไวด วย. ความสามารถในการฟง เสยี งไกลและเสียงทิพยน้นั เปนวสิ ยั ของทิพยอนิ ทรยี มใิ ชว สิ ยั ของ โสตประสาทธรรมดา ฉะน้ัน โสตประสาทธรรมดาเราจะทาํ ใหส ามารถยิง่ ไปกวา ธรรมดาเกนิ ไป ยอมไมอาจเปน ไปได เพราะประสาทรูปสามญั นนั้ เปนวบิ ากสมบตั ิ สําเรจ็ มาแตกรรมหนหลัง จะให มนั ดวี เิ ศษย่งิ ขน้ึ ไปกวา กาํ ลังกรรมซ่ึงเปน ผตู กแตงสรางกรรมน้ันยอมไมไ ดอ ยูเอง เพยี งแตท าํ ใหดี ขนึ้ กวา ปกติไดบ า งเล็กนอยเทานั้น สวนทพิ ยอินทรียน น้ั เปนส่ิงทเ่ี ราสามารถจะแตงสรา งเพิม่ เตมิ ใหดีวเิ ศษยง่ิ ข้นึ ไปเทาไรก็ได เพราะเปน วิสัยของใจ เปนสงิ่ มใี นใจหรอื เปนสิ่งประกอบกบั ใจ เปน อนิ ทรียท ีเ่ นือ่ งกบั ใจเสมอไป ถาไดร บั การฝก ฝนอบรมดีเปนใจผองใส ทพิ ยอินทรยี ก ผ็ อ งใสไปดว ย ถา ใจไดรับอบรมดียิ่งเปนใจวิเศษเปน แกว ไดแลว ทพิ ยอินทรยี ก ผ็ อ งใสที่สดุ เปนอินทรียแกว ทีเดยี ว ฉะนน้ั จุดของการฝกเพือ่ รับฟง เสยี งไกลและเสยี งทิพยน น้ั จงึ อยทู ีจ่ ิตใจโดยตรง เมอ่ื ฝกจติ ใจใหเปน สมาธิขั้นจตตุ ถฌานไดแลว ชอื่ วาบรรลุถงึ ภมู ทิ ิพย ยอ มมีทิพยภาวะ มีทพิ ยอินทรียส มบรู ณพอทจี่ ะ ฝก เพอื่ ฟงเสยี งตอไปได. จิตใจเปน ธรรมชาติแปลกประหลาด ทีม่ คี วามสามารถทงั้ ในการเห็น การฟงเสยี ง การดม กลิน่ การลิ้มรส การสัมผัส และการรบั รอู ารมณ เทา กับมีอินทรยี ท ง้ั ๖ พรอ มมลู ทด่ี วงจติ น้ันเอง ฉะน้นั เมือ่ จติ ใจบรรลุถึงภมู ทิ ิพยเ มอื่ ไร ทพิ ยอินทรยี ทั้ง ๖ กม็ บี รบิ ูรณขึ้นเมือ่ น้ัน ทานจะฝก อนิ ทรยี ใ นทางเหน็ ทางฟง ก็ยอ มจะสาํ เรจ็ ไดด ังประสงคท กุ ประการ ทีนีม้ ีปญหาตอ ไปวา ทิพย วสิ ยั คอื แดนทพิ ยห รือสงิ่ เปน ทพิ ยน้ันคอื อะไร? มจี รงิ หรือไม? เปนปญหาท่ีควรพจิ ารณาตอ ไป. ทิพยวสิ ยั นน้ั คือ สงิ่ ท่ีละเอยี ดประณตี มองเห็นไมไ ดด ว ยตาธรรมดา ไดยินไมไดดวยหู ธรรมดา ไดกลิน่ ไมไดดวยจมกู ธรรมดา ไดรสไมไดดว ยลน้ิ ธรรมดา รสู กึ สมั ผสั ไมไดด ว ยกายธรรมดา รไู มไ ดด วยใจหยาบๆ เปนวิสยั ที่จะรบั รูไ ดดวยทิพยอินทรียโดยเฉพาะ เปนส่ิงทม่ี อี ยทู ว่ั ไปแมในโลก คอื พิภพท่ีเราอาศยั อยนู ้เี อง หากแตเปนคนละแดน คนละวิสยั จึงไมส ามารถเหน็ กนั ได สวนแดน ทิพยท ่แี ทจ รงิ นั้นอยูหา งไกลจากโลกของเราออกไปในทางสูงมากทีส่ ดุ ประมาณระยะทางไมถ ูกวา เทา ไร คือ อากาศผิวโลกทเ่ี ราอยูนย้ี อ มไดรับแสงสวา งจากดวงอาทิตยแ ละดวงจันทรคนละเวลา คือ พระอาทติ ยสองโลกเวลากลางวนั พระจันทรส อ งโลกเวลากลางคนื แดนที่ดวงจนั ทรดวงอาทิตย สอ งแสงไปถึงไดจัดวาเปนโลกมนษุ ย พอพน รัศมขี องดวงจนั ทรและดวงอาทติ ยไปน้ันจะถึงพิภพมืด อากาศทึบ เปนแดนของราหูอสรุ นิ ทร เปน แดนที่มอี าณาเขตกวา งไกลมใิ ชน อย เมอ่ื พนแดนมดื ไป ทพิ ยอาํ นาจ ๑๐๘
จึงจะถึงแดนทิพย มแี สงสวา งตางสีมีรศั มเี ยน็ ชื่นใจ ไมมคี วามรอ นแผดเผาเหมอื นในแดนมนษุ ย แดนทิพยน ้ีก็กวา งขวางและเปน ชั้นสูงต่ําลดหล่นั กัน มรี ศั มีสีสนั ตางกนั ดว ย ความใหญยิ่งตาํ่ ตอ ย ของเทพเจา ในแดนทพิ ยนีเ้ ขาสงั เกตกนั ไดดว ยรัศมีสีสันนัน่ เอง ยอ มเคารพนบั ถอื ยําเกรงกันดวย ศกั ดานุภาพแหงรัศมีสีสัน มิไดเคารพนบั ถอื ยําเกรงกันประการอื่น ฉะนั้น เราจึงไดท ราบจากพระ ประวตั ิของพระบรมศาสดาวา ถา มเี ทพเจามาเฝา เทพเจาคนใดศกั ดานอ ยกถ็ อยออกไปๆ บางที จนถงึ สุดขอบจักรวาลก็มี การกาํ หนดขอบจักรวาลนมี้ ไิ ดห มายถึงสุดแผน ดิน หมายถึงสดุ รัศมีแหง โลกทแี่ สงจนั ทรอ าทิตยส อ งถงึ เลยนนั้ ไปตองถือวาเปนจกั รวาลอน่ื มิใชจ กั รวาลนี้ โลกทเ่ี ราอยูน้ี ทานเรียกวา มงคลจักรวาล เปนแดนท่ีเจริญ มพี ระพทุ ธเจามาตรัสรูโ ปรดสตั วไ ด สวนจกั รวาลอืน่ ๆ ทานวา ไมม พี ระพุทธเจา ไปตรัสรูโปรดสตั วเ หมอื นในจักรวาลน้ี จะไดตดิ ตามเร่อื งแดนทพิ ยต อ ไป ตอ จากแดนสวรรคไปทางสูงดานเหนือจะพบแดนอกี แดนหนง่ึ ซ่งึ มีแสงสวางแจมจา ยิ่งกวา แดน สวรรค เปนแดนแหงความสงบสุข ปราศจากความโกลาหลวนุ วายดว ยประการใดๆ ท้ังสน้ิ ตางคน ตางอยูดวยความสงบสขุ ปราศจากการววิ าทชิงดีกัน แดนนี้เรียกวา พรหมโลก เมอื่ แดนทพิ ยคือ โลกสวรรคและโลกพรหม อยูในท่หี า งไกลจากโลกมนษุ ยถงึ เพียงน้ี จงึ มใิ ชวสิ ัยทีม่ นุษยธรรมดาจะ สามารถผานไปถงึ ได ทีม่ ผี ูเขียนเรอื่ งถากถางเยาะเยยศาสนาที่พรรณนาวาโลกสวรรคอ ยูบนฟา นัน้ เมอื่ เขาสามารถทาํ อากาศยานผา นไปในฟาได เขาจงึ พดู วา ไมเ หน็ สวรรคว มิ านทไ่ี หนในฟา มแี ต อากาศเวหา เว้ิงวา งวางเปลา เอาอากาศยานผานไปกไ็ มต ดิ ขัด แตความจรงิ อากาศยานไปไดไ มถงึ ครึ่งฟาเสยี ดว ยซ้ํา จะคุยโตวา ผานไปในฟา ไมเ ห็นมีสวรรควิมานเมืองแมนท่ีไหนนั้น เปนการคยุ อยา งคนตาบอดนน่ั เอง ซ่ึงเม่ือคนตาดีไดฟ ง แลว ก็อดขนั ไมไดฉะนั้น. เทพเจา ในแดนสวรรคแ ละแดนพรหม ทรี่ วมเรยี กวาแดนทพิ ยมีจริงหรือไมเ พียงไรนั้น จะช้ี เหตผุ ลไวแ ตโดยสงั เขป ธาตุทีป่ ระกอบกันเขา เปนองคเ ทพเจาน้นั เปนธาตุทพิ ยซึ่งละเอยี ดยิง่ กวา อุตธุ าตุโนโลกมนษุ ยห ลายพนั เทา เม่อื เปนเชนนจ้ี งึ มใิ ชวสิ ยั แหงตาธรรมดาจะพึงเหน็ ได ไมต อ ง พดู ไกลแคแ ตธาตใุ นอากาศนเ้ี อง ตาธรรมดาก็มองไมเหน็ เสียแลว ธาตุในอากาศเปน อุตุธาตุ นักวทิ ยาศาสตรใชก ลองจลุ ทรรศนสอ งดู ก็เห็นอินทรียช นิดหนงึ่ เล็กมาก รูจกั เปน รจู ักตายเหมอื น ชีวะทงั้ หลาย จงึ เรยี กวา จลุ นิ ทรีย เม่อื เปน เชน นเ้ี ราจะอวดอา งเอาสายตาธรรมดามาเปน เคร่อื งวดั วา ม-ี ไมม ี ดวยการเห็น-ไมเห็น ยอมไมไดอ ยูเอง ถาเราไมรูเรายอมรบั วาไมรยู งั ดกี วา ท่จี ะอวดรใู นสิง่ ทต่ี นไมส ามารถรู แลวกลาวปฏเิ สธหรือทบั ถมศาสนา ซง่ึ เปน การละเมิดมรรยาทแหงสุภาพชน. เมอ่ื ธาตุทปี่ ระกอบกนั เขาเปนองคเทพเจาละเอยี ดยงิ่ เชนนั้น องคเทพเจา จึงมใิ ชวิสัยแหง อนิ ทรียธรรมดาจะพึงรับรู เปนวิสยั แหง ทพิ ยอินทรียจะพึงรับรโู ดยเฉพาะ ทนี ลี้ องถอยลงมา พิจารณาดูส่งิ ท่มี ีในผวิ โลกเรานอ้ี ีกที นอกจากมนุษยก ับสตั วดิรจั ฉานท่ีเราเห็นกันอยูแลวมีอะไรอีก อยา งดที ีส่ ุดมนุษยนักวิทยาศาสตรบอกไดแคจ ุลนิ ทรียในอากาศ ซ่ึงคนธรรมดาไมเหน็ แตก ็รบั รอง กันวามีจริง เพราะเชอื่ ภูมขิ องนักวิทยาศาสตร สวนทางศาสนาบอกไดว า มพี วกอทสิ สมานกายซงึ่ มี รูปรา งละมา ยคลา ยคลึงกบั มนุษย มคี วามเปน อยูคลา ยมนุษย และปนเปอยใู นหมมู นุษยก ม็ ี อยหู าง ออกไปจากแดนมนษุ ยก็มี พวกนีม้ ใิ ชพ วกทพิ ยแท เพราะรูปกายหยาบกวา พวกทพิ ย มคี วาม เปนอยตู า่ํ ทรามกวาพวกทพิ ย จะเรยี กวาคร่ึงมนุษยคร่ึงทพิ ยก ไ็ ด ทางศาสนาเรยี กอีกชื่อวาอมนษุ ย ทิพยอาํ นาจ ๑๐๙
แปลวา แมนมนุษย คอื คลา ยคลึงกับมนษุ ยน ั่นเอง คาํ สามัญท่รี ูกันทัว่ ไปสําหรับเรยี กพวกน้วี า ผี คือไมรูวาอะไร ชักใหส งสัยและถามกนั เสมอวา อะไรๆ นัน่ เอง แมพวกนม้ี นษุ ยส ามัญก็ไมคอ ยเห็น มเี หน็ ไดบ างครงั้ บางคราว ผูไดเ ห็นแลว ยอ มปฏิเสธไมไดวา ไมม ีผี แตผูไ มเ ห็นก็ไมอยากเชื่อวามี ถึง อยางน้นั ก็นอยคนทไ่ี มก ลวั ผี ท้งั ๆ ท่ตี นเองปฏเิ สธวาไมมนี น่ั เอง ถาไมเ ชอ่ื ขอ ความน้ี โปรดไปเย่ียม ปาชาในเวลาดกึ สงดั ดบู าง ทานจะเกดิ ความหวาดเสียว ขนลุกเกรียวข้ึนไดอยางประหลาด ทั้งๆ ท่ี ใจของเราไมเ ชือ่ วา มีผี ขา พเจา จะยอมยกใหเฉพาะผไู ดอ บรมจิตใจอยา งดจี นทราบความจรงิ เร่ืองนี้ และกาํ จดั ความขลาดกลัวจากสันดานไดแลว เทานน้ั ที่ไมรูสกึ กลัว ในเมื่ออยใู นปา ชาเปล่ยี วๆ คน เดยี วในเวลาดกึ สงดั มนุษยธ รรมดานอกนี้ตอ ใหใจแข็งเทา แข็งกจ็ ะอดหวาดสะดุงไมไ ดเลย ก็เม่ือใจ ของทา นไมยอมเชอ่ื วา มผี ี ทําไมทานจงึ กลวั ในปาชาเวลาดึกสงัด อะไรทําใหทา นกลวั ? ถา ไมมีอะไร ทา นกลัวทําไม? ปญหาเหลานท้ี านจะตอบไมไดเ ลย จนกวาทานจะรบั รองวามผี จี รงิ ๆ เรือ่ งผีมี หรอื ไม? เปนปญหาประจําโลก ถงึ อยา งนนั้ กม็ มี นุษยไมนอ ยที่ยอมรับวา มีผี และมีการทรงเจา เขา ผี แมใ นตา งประเทศซ่งึ เปน ประเทศที่เจรญิ แลวกย็ ังมกี ารทรงเจา เขา ผี บางประเทศถึงกบั มีสมาคม คน ควาเร่ืองวิญญาณของผูต ายแลว แตหนกั ไปทางทรงเจาเขาผี จงึ ยังไมเ ปนที่เล่ือมใสของ นักวิทยาศาสตรเ ทา ไรนัก ถาสมาคมคน ควาวญิ ญาณนั้นหันมาศึกษาตามหลักพระพทุ ธศาสนาจะ ไดผลดกี วา วธิ ที รงเจา เขา ผอี ยางทท่ี ํากนั อยู แตถาสมาคมน้นั ไดก า วหนาไปในทางท่ีดมี หี ลกั วิชา และเหตุผลดกี วา เดิม ขา พเจาขออภยั ดวย. เมื่อไมน านมานี้ หนงั สือพิมพ “พิมพไทย” ลงขาวผหี วั ขาด เปลงเสียงขอความชวยเหลือใน ยามดึกสงดั ทําใหคนในละแวกน้นั บงั เกดิ ความกลวั ไมกลา โผลห นา ออกนอกบานตลอดคืน ถาผีไม มี อะไรเลา ที่เปลง เสยี งขอความชวยเหลอื ? คลายเสยี งมนุษยท่ีถูกทํารา ย แลว รองขอความ ชวยเหลอื ฉะน้ัน มนษุ ยธ รรมดาสามารถฟงเสียงผไี ดใ นบางคราว เชน ตวั อยางท่ยี กมานี้ สวนผมู ี ทพิ พโสตสามารถฟง เสียงผีไดท ุกเมือ่ ในเมอ่ื จํานงจะฟง ตามเหตุผลและตวั อยางทกี่ ลา วมานี้ พอจะ ทําใหท า นผอู า นไดส ํานึกบางแลววา นอกจากมนษุ ยและดริ จั ฉานแลว ยังมอี มนษุ ยแ ละเทพเจาบน สวรรคแ ละพรหมโลกอกี ดว ย. เสยี งของอมนุษยเปนเสยี งดงั กวาเสยี งทพิ ย ใกลไ ปทางเสียงมนษุ ย เพราะรางของเขาหยาบ และสญั ญาของเขาก็คลายมนษุ ย กระแสเสียงของเขาจึงแรงกวาเสียงทพิ ย หูมนษุ ยธ รรมดาไดยนิ ในบางคราว สว นเสียงทพิ ยเ ปน เสยี งท่ีแผว เบา เพราะรา งกายของเขาประณีต สาํ เร็จขึ้นดว ยใจหรอื ดว ยสญั ญา หมู นุษยธรรมดาฟงไมไดย ิน ตอ งฟง ดวยหูทพิ ยจ ึงจะไดย ิน นอกจากน้ียังมีเสยี งธรรมอกี เปนเสียงแผวเบาย่ิงกวาเสียงทพิ ยห ลายเทา เสียงธรรมนเ้ี ปนเสียงของผูบ รรลุภูมิธรรมอันบริสทุ ธ์ิ ซงึ่ ละอตั ภาพไปแลว ถา จะสมมตชิ อ่ื เรียกเสียใหมวา เสียงแกว กเ็ หมาะดี เพราะเปนวิสัยแหงหแู กว จะฟงไดย ิน แมหูทิพยก ็ฟงไมไดย นิ ไมต องกลา วถงึ หูมนษุ ยธรรมดาจะฟงไดยนิ ทีนี้ลองหันกลับมา สําเหนียกเสยี งมนุษยอ ีกที เสียงมนุษยท่พี ูดจาโดยปกติ ยอ มเปนวสิ ยั ของหูธรรมดาฟง ไดยนิ เวนแต คนประสาทหูพกิ าร เสียงพดู ยอ มมีคอ ยมแี รงแลวแตกรณี ในกรณีทใี่ ชเ สยี งแรงกระแสเสียง สามารถกระจายไปตามอากาศวิถีไดราว ๑๐๐ เสนเปน อยางมาก เชน เสยี งตะโกนอยางสดุ เสียง แตโดยปกติไมถึงกําหนดทวี่ าน้ี สวนเสยี งคดิ ของคนเปนเสยี งแผว เบาคลายเสยี งทพิ ย หธู รรมดาฟง ทพิ ยอํานาจ ๑๑๐
ไมไ ดย ิน ตอ งฟงดวยหทู พิ ยจงึ ไดยิน อยาวา แตเสียงคิดเลยแมเ สียงเตนตบุ ๆ แหงหัวใจ หูมนษุ ย ธรรมดาก็ฟงไมไดยนิ ตอ งอาศัยเคร่ืองขยายเสียงฟงจึงไดย นิ กรณใี นเสยี งมนุษยเ ชนใด ในเสียง ของสตั วดริ จั ฉานก็เชนนั้น พึงทราบโดยเทยี บเคียง ดิรจั ฉานบางจาํ พวกมีฤทธ์ิปด บงั ตัวไดก็มี เชน นาค เราจะไดยนิ แตเสียงของเขา ไมส ามารถเหน็ ตัวเขาได ยังมีนาคบางกําเนิดเปนอุปปาติกะคลาย เทพเจา พวกน้มี ีเสียงคลา ยเสยี งทพิ ย รปู กค็ ลายรูปทิพย เปน วสิ ัยแหงทพิ ยอนิ ทรีย เชนเดยี วกบั รูป ทพิ ย- เสยี งทพิ ยด งั กลา วแลว เมือ่ ไดกําหนดลักษณะเสียงไวพ อเปน ท่สี งั เกตเชนน้ีแลว ก็เหน็ จะ เพียงพอในการท่ีจะสําเหนียกวาเสยี งชนิดใดเปนวิสยั แหง หูชนิดใดแลว ตอ ไปนี้จะไดอ ธบิ ายวธิ ี ปลูกสรางหทู พิ ยเพ่ือรบั ฟง เสยี งทพิ ยด งั กลา วมา ทานแนะวิธไี วใ นปฏิสมั ภิทามรรค ดังตอ ไปนี้ ๑. เบอ้ื งตน พงึ ฝก หดั ทําใจใหเปนสมาธิ โดยอาศยั กําลงั ของอิทธิบาท ๔ ประการ จนได สมาธิถึงข้ันฌานที่ ๔ ท่ีเรยี กวาจตุตถฌาน อันมีลักษณะจิตใจผอ งใสนิม่ นวล ปราศจากเครอ่ื งหมอง มัวแลว. ๒. พงึ เขา สคู วามสงบจนถงึ ฌานท่ี ๔ แลว สาํ เหนยี กฟง เสยี งคน – สัตวดิรัจฉาน หรือเสยี ง ใดๆ ในทศิ ทงั้ ๔ โดยรอบๆ ในระยะใกลๆ ตวั เสยี กอ น แลว จงึ ขยายออกไปโดยลําดับใหไ กลทส่ี ุดที่ จะไกลไดจ นถึงสดุ ขอบจกั รวาลเปน ทสี่ ดุ . ๓. พงึ เขาสคู วามสงบจนถึงฌานท่ี ๔ แลว สาํ เหนยี กฟงเสยี แผว เบา เชน เสียงเตนแหงหัวใจ ของตนเอง เสยี งคลายทิพย เชน เสยี งความคดิ ของตนเองและเสยี งผี เสยี งทพิ ย เชน เสียงเทพเจา ในฉกามาพจรสวรรค ๖ ชนั้ และเสียงพรหมในพรหมโลก. ๔. พงึ เขา สคู วามสงบจนถงึ ฌานที่ ๔ แลวสาํ เหนยี กฟงเสียงแกวดวยหูแกวตอ ไป จน สามารถฟง ไดยนิ ชดั เจนเหมอื นฟงเสยี งคนธรรมดาพดู กัน. คาํ วา สําเหนยี กฟง เสยี งนั้น หมายความวา ทําสตจิ ดจอ ฟง เสียง คอื พุง สติไปรวมอยูท ่ีโสต ประสาท คอยฟงเสยี งท่ีเปนไปอยูโดยธรรมชาตนิ ั้นเอง. โสตประสาทจะคอยๆ ผองขึ้นทลี ะนอยๆ โดยอาศัยสตสิ มาธอิ บรม จะสามารถฟงเสียงไดด ีกวา ปกติข้นึ เมื่อกาํ หนดสาํ เหนยี กโดยนัยน้ีไปไม หยดุ ย้ังเสยี กลางคันกจ็ ะบงั เกดิ ทิพพโสตธาตุข้นึ สามารถรับฟงเสยี งในระยะไกลเกินปกติ และฟง เสียงทพิ ยไ ดโดยลาํ ดบั ทนี ี้พึงผอนกาํ ลงั ของสตทิ พ่ี งุ ไปสูจุดคือโสตประสาทน้ันใหออนลง ชกั เขา มา กําหนดอยู ณ ทามกลางหทยั วตั ถุตอไป กระแสเสียงจะผา นเขาไปสมั ผสั กบั โสตธาตุทพิ ย ณ ดวงใจ โดยตรง ไมต องอาศยั โสตประสาทเปน ทางเขาก็ได แมจะอุดหูไวก็คงไดยินดว ยโสตธาตทุ ิพยอ ยู ตามปกติ ชอ่ื วาสําเร็จโสตธาตุทพิ ยแ ลว มที พิ ยอํานาจในทางฟงเสยี งไดท กุ ชนิด สวนขัน้ หูแกวนั้น พงึ ฝก หัดตอไป ทาํ ใจใหบริสุทธิ์สะอาดยง่ิ ขึ้น จนมลี ักษณะใสดจุ แกวมณโี ชติเปน ปกติ กส็ ามารถรับ ฟง เสียงแกว ได ช่อื วา สาํ เรจ็ หูแกว แตข้ันนี้เปน ข้ันสงู สดุ ตอ งผา นการเจรญิ วิปสสนาญาณดวยจงึ จะ สาํ เร็จผลด.ี ขาพเจารับรองไววา วิธดี ังกลา วมานี้ เปนไปเพือ่ สําเรจ็ หทู พิ ยไดจ รงิ และขอยืนยนั ดว ยวา เปนสิ่งไมเกินวิสัย คนในสมยั ปจจุบนั ก็สามารถสําเร็จได แตไ มอ าจหาพยานบคุ คลมายนื ยนั ได เนือ่ งดวยบุคคลผเู ชนน้ีไมค อยยอมแสดงตนโดยเปดเผยประการหน่ึง กับอกี ประการหนึง่ เปนบคุ คล ท่มี กี ฎขอบงั คบั มิใหแสดงตัวเปดเผยในวิชาประเภทน้ี ผสู นใจพเิ ศษในวชิ าประเภทนยี้ อมจะพบ ทิพยอาํ นาจ ๑๑๑
บคุ คลผสู ําเร็จวชิ าหรอื ทิพยอาํ นาจประเภทตา งๆ ดังท่ีกลา วน้ี ในเมื่อทําตนใหเปน ที่ไวว างใจของ บคุ คลประเภทนี้แลว ถา ยงั มีอะไรๆ แอบแฝงในใจอยู บุคคลประเภทน้ีจะไมแสดงอะไรใหปรากฏ วา สําเร็จในวชิ าประเภทน้ีเลย. ทิพยอาํ นาจ ๑๑๒
บทที่ ๙ วธิ สี รา งทิพยอาํ นาจ บพุ เพนวิ าสานสุ สติ ระลกึ ชาตกิ อ นได ทพิ ยอํานาจขอ น้ี หมายถึงความสามารถในการนกึ ทวนคืนไปในเบ้อื งหลงั เพื่อสืบสาว เรื่องราวของตนเองทเี่ ปนมาแลว ในอดีตกาลนานไกล สามารถรูไดว า ตนเองเคยเกิดเปน อะไรมาแลว บา ง อยา งถวนถ่ีในสาระสําคญั ของชวี ิต เชน กําเนิดอะไร มชี อ่ื และสกุลวากระไร มผี ิวพรรณ อยา งไร มอี าหารอยางไร เสวยสุขทุกขอ ยางไร อยู ณ ท่ีไหน มกี าํ หนดอายุเทา ไร ตายจากน้นั แลว เกิดเปน อะไรตอ มา ฯลฯ ดังน้ี สามารถในการนึกทวนคืนเบอ้ื งหลังนี้ ยอมเปนไปตามสมควรแก กาํ ลงั ของญาณ อนั เนอ่ื งดว ยวาสนาบารมี ต้งั แต ๑ ชาติไปถงึ ๑๐๐-๑,๐๐๐-๑๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ ชาติ จนถึงจํานวนหลายอสงไขยกัป. ความสามารถในการระลกึ ชาตินี้ เปนความรรู บั รองเร่ืองสังสารวฏั คอื การเวียนเกดิ เวียน ตายวาเปนความจริง ผมู คี วามรูในดา นนแ้ี มร ะลึกชาติไดเ พียง ๒ – ๓ ชาติ ก็บรรเทาความสงสยั ใน เรอ่ื งสงั สารวฏั ลงไดเปน กา ยกอง เขาจะไมยอมเชือ่ ในเรือ่ งตายสญู เปน อันขาด ความเห็นผิดใน เรอ่ื งชีพกับสรีระเปน อนั เดียวกันหรอื คนละอนั กับความเหน็ ผดิ ในเร่ืองกรรมท่ที ําไววาจะใหผ ล สบื เนอ่ื งไปในชาติหนาจริงหรอื ไมก็จะถกู บรรเทาลงเชนเดียวกัน ความสงสยั และความเห็นผดิ ดงั วา นจี้ ะถูกกาํ จดั หมดสนิ้ ไปดว ยอํานาจพระอรหตั ตมรรคญาณ. ความสาํ คัญของทิพยอาํ นาจขอนี้ อยูท่ีตวั อนุสสติ คือความนึกลาํ ดบั เหตกุ ารณข องชีวิต อยา งละเอียดลออ สติธรรมดาสามารถนึกทวนเหตุการณในเบ้อื งหลังของชีวิต และทําการควบคุม กริ ยิ าการของชีวติ มใิ หพ ล้ังพลาดไดเพียงในปจจบุ นั เทานนั้ ถงึ กระน้นั กม็ ิไดเ ปนอยางละเอยี ดลออ ผมู ีการอบรมสติดจี งึ จะสามารถนกึ ทวนเหตุการณข องชีวติ ไดล ะเอยี ด ทั้งสามารถควบคุมชวี ิตใน ปจจบุ ันไดด ดี วยสตทิ ส่ี ามารถดังวา น้ี ทา นเรียกวา สตเิ นปก กะ เปนสตทิ ส่ี ามารถรกั ษาตวั ให ปลอดภยั หรือปราศจากความผดิ พลาดไดดี จัดเปนคุณธรรมอนั หนง่ึ ซง่ึ ทําใหไ ดที่พึ่งหรือเปน ตัวที่ พ่งึ ทีเดียว ท้ังในดานการครองชีพ ทง้ั ในดานการประพฤตศิ ีลธรรม สว นสติทมี่ ไิ ดร บั การอบรมดีจะ ไมสามารถนกึ ทวนเหตกุ ารณของชีวติ ไดละเอียดลออ และหยอ นความสามารถในการควบคมุ ชวี ติ มิ ใหผ ิดพลาดดวย สิ่งทท่ี าํ คาํ ทพ่ี ดู แลวแมเ พียงลวงมาปสองปก ็ลมื เลอื นเสยี แลว เชนน้เี ปน สติที่มิได รับการอบรม สว นสตทิ ี่ไดร ับการอบรมจะสามารถนึกได ถงึ สง่ิ ท่ีคิดกจิ ทท่ี าํ คาํ ที่พดู แลว แมลวงมา ตั้งนานปดีดกั ก็ไมล ืมเลือน บางคนนึกไดดจี นถงึ ความเปน ไปในวัยเดก็ ออนเพยี ง ๓ – ๔ ขวบ ความสามารถเชนนี้มีไดนอยคน. สตนิ ี้ นกั ปราชญสมยั ปจจุบนั เรยี กวา ความสํานึก เปน สิ่งควบคุมจติ ใหอ ยูใ นระเบียบ เขา แบงเขตของจติ ออกเปน ๓ เขต คอื (๑.) จติ ในสาํ นึก (๒.) จติ ก่ึงสาํ นึก (๓.) จิตนอกสํานกึ ทพิ ยอํานาจ ๑๑๓
เขาใหอ รรถาธบิ ายตอ ไปวา จิตในสาํ นึกเปน จติ ในขณะมีความสาํ นึกรสู กึ ตัวเต็มที่ อยา งใน ปกติเวลาตืน่ อยู จติ ก่ึงสํานกึ ไดแกจติ ในขณะครึ่งหลบั ครงึ่ ตนื่ สว นจติ นอกสาํ นกึ หมายถึงจติ ในขณะหลับสนทิ ซ่ึงปราศจากสาํ นึกรสู ึกตัว. จติ ในสาํ นึกมสี มองและประสาททัง้ ๕ เปนเคร่ืองมือในการรับรสู ่ิงตางๆ และคดิ อาน วนิ จิ ฉัยเหตกุ ารณ เมอ่ื ชินตอ การใชเคร่ืองมืออันมีความสามารถนอยเชนนี้ จึงมกั คิดวา ตวั ไมม ี ความรูสามารถพิเศษอะไรยง่ิ ขน้ึ ไปกวาปกติ ปราชญท างสรรี ศาสตรจึงทึกทกั เอาวา จิตคอื สมอง หรือสมองเปนจิต ความจริงสมองเปน เพียงเครอ่ื งมือในการคดิ อา นวินิจฉัยอารมณหรอื เหตกุ ารณ เทา น้นั มใิ ชต วั จิต สวนตัวจิตท่ีแทจริงคอื อะไรจะอธิบายตอ ไป จิตกง่ึ สาํ นึกซึง่ ไดแกจ ิตในขณะคร่งึ หลบั คร่งึ ต่นื นั้น อยใู นความควบคมุ ของสตเิ พยี งกึง่ เดยี ว รสู กึ ตวั ไมเ ตม็ ที่ จิตในขณะนร้ี ูอ ะไรๆ อยางเลอื นราง ทาํ การคิดอา นไมได ไมม ีความรูสึกทางสมอง แมใ นทางประสาทก็ออนเตม็ ที แทบ จะไมร บั รูอะไรอยแู ลว สว นจิตนอกสํานึกอันไดแ กจ ิตใจในขณะหลับสนทิ นัน้ ไมรบั รอู ะไรๆ เลยแต ก็ปฏเิ สธไมไ ดว า ไมม จี ติ อยูใ นขณะนัน้ ทกุ คนจะรับรองเปนเสยี งเดียวกนั วา มจี ติ อยูในขณะหลบั ถา สามารถทาํ สตติ ิดตามควบคุมจิตไดท กุ ขณะแมกระท่งั ในขณะหลบั จะสามารถรับรูอ ะไรตา งๆ ไดดี และจะรูวา จติ เปน คนละสวนกบั สมอง การฝกจิตใหเ ปนสมาธเิ ปน การทาํ สตอิ ยา งวิเศษ ความ ไพบูลยแหงสตนิ ่นั เองเปนปจ จยั ใหจิตเปน สมาธอิ ยางดี สมาธิคอื ฌานท่ี ๔ มสี ติไพบูลยเตม็ ที่ ทาํ การควบคุมจติ ใหด ํารงม่ันคง มีความรูสึกเปนกลางๆ ไมรูสกึ การหายใจ ถา จะเทยี บก็จะเทา กบั คน นอนหลบั ธรรมดา ผดิ กันแตวา คนหลับไมร ูส ึกตวั คนเขาสมาธิมีความรูสกึ ตัว สวนสมาธชิ น้ั สูงสดุ คอื สญั ญาเวทยติ นโิ รธ ดบั ความรูสึกกาํ หนดหมายและสุขทกุ ขเ ด็ดขาด แตยงั มสี ติควบคุมจิตอยู รูอยู ณ ภายในนั่นเอง ถาจะเทียบจะเทากบั คนสลบปราศจากสตสิ มปฤดี ผิดกันแตคนเขา นิโรธยงั มีสติ หากแตไมรับรูอ ะไรทงั้ หมดอันเปนสวนนอกจากจิต คนสลบไมมีสตเิ ลย ตามท่ีกลา วมานีส้ อ แสดงวา จิตกับกายเปน คนละสวนจริงๆ สามารถแยกออกจากกันได ดังไดกลา วมาแลว ในบทที่ ๖ เร่อื งมโนมยั ฤทธ์ิ. จิตเปนธรรมชาตริ ู และรองรบั ความรูต างๆ อันเกิดจากการศึกษาอบรมทกุ ประการ ทาง พระพทุ ธศาสนาไดรคู วามจรงิ ขอ น้ี จึงสอนใหอบรมจิตดว ยประการตา งๆ เพอื่ ใหจิตรดู ีรูชอบยิง่ ขน้ึ กวาพ้นื เพเดิม ความรทู เ่ี กิดจากการศกึ ษาอบรมเปน สมบัติวิเศษประจาํ จิต สบื เนอ่ื งไปถึงในชาติ ตอ ๆ ไป ฉะนั้น คนเกดิ มาจึงมพี ืน้ ความรทู างจิตไมส มํ่าเสมอกนั เด็ก ๗ ขวบ มีความรดู ีเทา เทยี ม กบั ผใู หญท่ผี า นวัยมานาน ไดรบั การศกึ ษาดกี วากม็ ี ในประเทศพมา ปรากฏขา วมเี ด็กอายุ ๗ ขวบ มคี วามรทู างธรรม สามารถแสดงธรรมไดเ ทา กับผใู หญที่ผา นการศกึ ษาทางพระพทุ ธศาสนามานาน เร่ืองเชนน้ีในสมัยพทุ ธกาลมีมากมาย พระบรมศาสดาของเราพอประสตู ิก็เสด็จดาํ เนนิ ได และตรสั ได ทรงประกาศความเปนเอกบุคคลในโลก เมื่อเปนพระกมุ ารก็ปรากฏวามีพระสตปิ ญ ญาเกนิ คน ธรรมดา สามารถเรยี นและจาํ ไดวองไว ครั้นไดตรัสรเู ปนพระพทุ ธเจาแลว เสดจ็ ไปเผยแผพ ระ ศาสนาในนานาชนบท ปรากฏวามีเดก็ อายุ ๗ ขวบไดบรรลุธรรมอันลึกซึ้งหลายคน เปน ชายกม็ ี เปน หญิงก็มี ฝา ยชายเชน บณั ฑิตสามเณร, สังกจิ จสามเณร, สานุสามเณร เปน ตน ฝายหญิงเชน นางวสิ าขามหาอบุ าสิกา เปนตน การที่เปนไดเ ชนน้ันสอ งใหเห็นความจรงิ วา กายกบั จิตเปนคนละ ทิพยอํานาจ ๑๑๔
สว น จติ ท่ีอยใู นรา งเด็กสามารถรธู รรมลึกซึง้ ไดน ั้น ยอมจะตอ งมีการทองเทย่ี วในสงั สารวัฏมานาน และไดรับการศึกษาอบรมมามากแลว ถาไมมีพน้ื เพแหงจติ ใจสูงมากอ น ตอ ใหมสี มองดวี เิ ศษสัก ปานใด ก็มอิ าจรธู รรมลกึ ซึง้ ในวยั ๗ ขวบไดเ ลย. อน่ึง บุคคลผรู ะลึกชาตไิ ด ในสมัยพุทธกาลมมี าก สมเดจ็ พระผูมพี ระภาคเปน เยย่ี มท่ีสดุ ปรากฏในพระประวตั ิทตี่ รัสเลาเอง ทรงยนื ยันวาระลกึ ไปไดไกลถึงแสนโกฏอิ สงไขยกัป พระ อรหนั ตทัง้ หลายกร็ ะลึกไดอ งคล ะมากๆ เร่อื งราวทป่ี รากฏในอปทานลวนเปนความระลกึ ไดถึงกศุ ล กรรมทเ่ี คยสรางสมอบรมมาในปุเรชาติท้งั น้ัน ทานนาํ มาเลาไวเพอื่ เปนตัวอยางของกุศลกรรมวา สามารถอาํ นวยผลดีแกผ ูท ําตลอดกาลยดื ยาวนาน และเปน บารมเี กื้อหนุนใหจิตใจเลอ่ื นภูมิภาวะ สูงขน้ึ โดยลําดบั ถาจะเลา เร่อื งผรู ะลกึ ชาตไิ ดในสมยั พทุ ธกาลก็จะเปนการเหลือเฟอ เปนพยานไกล เกินไป จะเลาเรื่องผรู ะลึกชาตไิ ดซงึ่ ยังมีชีวิตอยูใ นปจ จบุ ันนีเ้ ปน พยานสกั ๒ – ๓ ราย ดังตอไปนี้ รายท่ี ๑ เปนเดก็ หญงิ ขา พเจา ไดพบต้งั แตเ ขาเปนหญิงแมเ รอื นในชาติกอน เมอื่ เขาตาย แลวไดสกั ๕ ป มเี ด็กหญิงคนหนึ่งเกดิ กบั ลูกสาวของหญิงคนนั้น พอพดู ไดเ ดินได ไดไ ปเยีย่ มตาซ่งึ เปนสามีเดิมของตน แตอยเู รือนอกี หลงั หนึ่ง หา งจากเรอื นท่ีเกิดใหมประมาณ ๑๐ เสน เมือ่ ขน้ึ ไป บนเรือน ไปเที่ยวมองดูโนนมองดูนแ่ี ลวก็รอ งไห ผูใหญถ ามจงึ บอกความจรงิ ใหทราบวา ตนคือ ภรรยาของตานน่ั เอง ไปเกิดกบั ลกู สาว ผูใหญต องการพิสจู นค วามจริงจึงใหบอกสง่ิ ของบางอยาง ซึง่ ผูต ายเปนผูเก็บไว เขากบ็ อกได มีลูกกญุ แจหบี หน่งึ ซึ่งหาไมพบ เขาก็ไปชใี้ หไ ดถึงทซ่ี อ นลูกกุญแจ เมือ่ ขาพเจา ไปทนี่ ัน้ เขาก็จําขา พเจา ได เหมอื นคร้งั เขาเปน หญงิ แมเรือน เวลานย้ี ังมชี ีวิตอยู ณ หมูบานตาลโกน ตําบลตาลเนิ้ง อาํ เภอสวางแดนดิน จังหวดั สกลนคร. รายท่ี ๒ เปน เดก็ ชาย ชาตกิ อ นน้นั เปนพระภกิ ษุในพระพุทธศาสนา ไดม ีตาํ แหนงทางคณะ สงฆ เปนพระอปุ ชฌายะ และเจาคณะตาํ บลชนบท อาํ เภอชนบท จังหวดั ขอนแกน รบั นมิ นตไป บวชนาค เกดิ อุปท วเหตถุ ึงมรณภาพ แลวไปเกดิ ใหม ณ หมบู านแหงหน่งึ ในเขตอําเภอบวั ใหญ จงั หวดั นครราชสีมา ระลกึ ชาติได กลบั มาคนเอาสิง่ ของที่วดั เดมิ ได บรรดาลกู ศิษยล กู หาท่ีเคย เคารพนับถอื มาแตกอ น พอทราบเขา ก็พากนั มาเคารพกราบไหวต ามเดมิ . รายท่ี ๓ เปนหญงิ ช่อื นารี อายปุ ระมาณ ๕๐ ป เวลานแ้ี กบวชเปนชี ไดม าหาขา พเจา เมอื่ ตน ปน ี้เอง แกไดเ ลาอดีตชาติของแกใหฟ งอยา งละเอียดลออวา ชาติกอ นน้ีแกเปนชา ง เกดิ อยูท ่ีเขา สวนกวาง ซงึ่ เปน ทที่ ี่ขาพเจา กําลังน่งั เขียนเร่อื งทิพยอํานาจอยเู ดี๋ยวนี้ แกเลา วา ท่เี ขาสวนกวางน้มี ี พญาชางตัวหนง่ึ เปน นายของชา งทัง้ หมดในเทอื กเขาภพู าน ทุกๆ ๑๕ วัน ชางทง้ั หลายตลอดจนถึง หมูนกจะมาประชมุ ฟง โอวาทของพญาชาง ณ ทีก่ อนหินใกลฝง ลําธาร บนหลงั เขาหา งจากที่ ขา พเจา อยูไปประมาณ ๑๕ เสน สัตวทง้ั หลายฟง ภาษาใจกันออก สว นภาษาปากนน้ั เขาจะใชใน กรณีพิเศษ เชน บอกเหตอุ ันตรายรอ งเรียกหากนั และรอ งดว ยความคกึ คะนองเทานั้น ตามปกติ ธรรมดาพูดกนั ทางใจ แกเลา วาในคราวประชมุ ทุกๆ คร้งั แกกไ็ ดเ ขาประชุม แตเ ปนเวลายงั เด็ก เกินไป ไมไดใสใ จฟง จงึ จดจาํ ไมไ ด ชางท่ีเขา ประชุมทกุ ตวั อยูในระเบียบสงบเงียบ และเคารพ พญาชา งอยา งยิง่ เม่ือฟง โอวาทจบแลวกจ็ ะพากนั เดินผานหนา พญาชางเรยี งกนั ไปทีละตวั เปนการ แสดงคารวะ คลา ยการเดินสวนสนามของทหารฉะน้ัน พญาชางน้ันไปอยตู ัวเดยี วในทีเ่ งยี บ ชาง ทพิ ยอาํ นาจ ๑๑๕
ทงั้ หลายปนวาระกนั ไปปรนนบิ ตั ิคราวละ ๔ – ๕ ตัว พอถึงกําหนด ๑๕ วัน พญาชา งจึงจะมา ปรากฏตัวในทีป่ ระชมุ ใหโ อวาทแกชา งและนกทงั้ หลาย แกเลา เร่ืองเฉพาะของแกตอไปวา เม่ือแก เกดิ มาทีแรก แมพามาอาบน้ําทลี่ ําธารตรงทางขามตอนเหนอื ของทขี่ าพเจา อยูเ ดี๋ยวน้ี รสู ึกหนาว มาก แกมีพีช่ าย ๑ ตวั กาํ ลงั รนุ สวนพอ ไมปรากฏ การปรนนิบัติเลี้ยงดลู กู มีแตแ มเ ทา นั้น ซึง่ เปน ธรรมเนียมของสตั วประเภทน้ี เมอ่ื แกอายุไดป ระมาณ ๓ เดือน มนี ายพรานชางมาคลองเอาแกไป ได เขาผกู ติดกบั คอชา งตอ นาํ ไปบา นนาแอง ในเขตอาํ เภอหนองบวั ลําภู จงั หวดั อดุ รธานี เขาเลี้ยงดู แกอยางลูก ตัง้ ช่ือใหร วู าอีตมุ ชอบเลน กับเดก็ ๆ และสามารถไปสง อาหารท่ีวัดแทนพอ แมไ ด คงจะ ดว ยอานสิ งสไปสงอาหารไดน ี้เองทําใหแกไดม าเกิดเปนมนุษยในชาติปจ จบุ ันนี้ แกเลา ตอวา ตอ มา มีเหตุบงั เอิญทาํ ใหลกู ชายของพอเกิดบาดเจ็บ คือแกพาลอดเฟอยหนาม สําคญั วา พน แลว จึงลุกขึ้น ทําใหหนามครดู ศีรษะของเขาเลอื ดไหลถงึ กบั พลดั ตกจากคอของแก เขาโกรธมาก ไดใชข อสับแก อยางไมป รานีปราศรยั แตแ กวา ไมคอ ยรูส ึกเจบ็ เทาไรนัก ถาเขาสับและงัดดว ยจึงจะรสู ึกเจ็บมาก ไมก ่วี นั แผลทถ่ี กู สบั กจ็ ะหาย พอมาถึงบานเขากบ็ อกพอ จะขายอีตุมทนั ที พอ แมและยา ก็หามปราม วา ไมใ ชค วามผดิ ของอีตมุ มนั เปน ความผดิ ของตนเองทีไ่ มร ะมดั ระวงั ตางหาก เจา ลกู ชายกด็ ันทรุ ัง แตจะขายทาเดียว อยูมาไมนานมีชาวจงั หวัดหลม สกั (เพชรบูรณเดยี๋ วนี้) มาขอซื้อ เขาตกลงขาย ยามคี วามอาลัยสงสารมาก ไดไปขอถอนเอาขนตาไวเปน ทร่ี ะลึก และราํ พนั สงั่ เสยี ดว ยประการ ตางๆ ตวั แกเองก็รสู กึ อาลัยมากเหมือนกัน คร้ันออกเดนิ ทางไป ๑๕ วัน ถึงจงั หวดั เลย เกิดความ อาลัยคิดถงึ พอ แมเ ปน กําลังเลยตาย พอรางลม นนั้ จติ ก็ออก รสู กึ ตัวเปนมนุษยผ หู ญิงทนั ที จงึ ดงึ เอา ไสช า งมาเปน ผาสไบ สว นซิน่ สาํ หรับนงุ มแี ลว ไมทราบไดม าอยา งไร พอออกจากตวั ชา งมากร็ สู ึกวา นงุ ซน่ิ อยูแลว แกเลา วาพอไดผาสไบถือแลว กร็ บี ออกเดนิ ทางกลบั ตามทางทไี่ ปในเวลาประมาณ ๕ โมงเชา มาถึงบานเกา ก็เปนเวลา ๕ โมงเชา เหมือนกนั ไปถามเขาทราบวา พอ ยายไปอยูบานใหม คือบา นสามพรา ว อําเภอเมอื ง จงั หวดั อดุ รธานี แกตดิ ตามไป ผานตวั เมืองอุดรไป เห็นพระกาํ ลงั ฉันเพลอยูอ ีก พวกสนุ ขั เหา หอนกรรโชกไลขบกดั แกอยา งชุลมุ น แกพยายามหลบไปได ไปถึงบาน สามพรา วเปนเวลา ๕ โมงเชา พระกาํ ลงั ฉนั เพลอยเู หมอื นกนั ไดเ ห็นพอ และแมใหม คอื เมียคนใหม ของพอ ไตถามเขาก็ไมพ ดู ดวย แกเอาซนิ่ กบั ผาสไบไปซุกซอ นไวทท่ี างแยกแหง หนึง่ ขุดหลมุ ฝง ไว ลึกแคบ ัน้ เอว มีตนไมต น หนึง่ เปนเครอ่ื งหมาย คิดวา เกดิ แลว จะมาขดุ เอา ในระหวางทยี่ งั ไมไดเ กิด นั้นแกเลาวา ไปอาศยั อยูในวัด ถา พอ แมไปวัดกต็ ิดตามพอแมม าบา น แตขึน้ เรอื นไมไ ด ไปยืนอยู หนาเรือนนัน่ เอง วันหนึ่งเวลาค่ํา พอกินขาวแลวลกุ ออกมานอกชานเรือน กาํ ลงั ยนื ดื่มนํา้ แกเลย ตามนาํ้ เขาไปอยูกบั พอ ตอ มาถูกจดั ใหไ ปอยูในหอ งเล็กๆ หองหนึง่ ช้นั แรกๆ ก็รูสกึ สบายดี ครั้น ตอมาถงึ ๕ – ๖ เดอื นรสู ึกวาหองนอนน้ันคบั แคบ รูสกึ อดึ อดั อยากออก แตกอ็ อกไมได พอครบ ๑๐ เดอื นกค็ ลานออกจากหองได แลวลืมภาวะเกาไปพกั หนง่ึ มารสู กึ ตวั ถึงภาวะเกากต็ อเมอ่ื อายุ ได ๒ – ๓ ขวบ พอพูดจาไดแลว พออายุได ๑๔ – ๑๕ ป ไดไ ปดทู ่ซี อนซน่ิ กับผาสไบ เห็น เคร่อื งหมายตามทท่ี าํ เอาไว แกพยายามขุดหาเทาไรก็ไมพ บสิ่งท่ซี อนไว เห็นแตใ บตองกลว ยท่ใี ชหอ ซ่งึ ผแุ ลว จับเขาก็เปอยหมด เมอ่ื ใหญโตพอมีเหยา มีเรือนแกกม็ เี หยา มีเรอื นไปตามประเพณี บัดน้ี ไดสละเหยา เรือนมาบวชเปนชอี ยสู ํานักชี วดั บา นสามพรา ว อาํ เภอเมือง จังหวัดอดุ รธานี จนถงึ ทิพยอาํ นาจ ๑๑๖
เดีย๋ วน้ี แกวา เร่ืองทไี่ ดผ า นมาในชีวิตชางชว่ั เวลาไมถ งึ ป ยงั จําไดด หี มดทกุ อยา งไมล มื เลือน เรอื่ ง ขบขนั ในเวลาเปนชา งแกกไ็ ดเลาใหฟง หมดแทบทุกเรื่อง กอ นแตแกจะเลาไดใหแกปฏิญาณวา จะไม โกหกแลว จึงใหเลา ใหฟง ฉะน้ันจึงเปน เร่อื งระลึกชาติไดจรงิ ๆ มใิ ชเรอื่ งคดิ ประดิษฐขึ้นเอง. การระลึกชาติไดโดยทาํ นองน้ี โดยมากระลึกไดเพยี งชาติเดยี ว ไมเหมือนการระลึกชาตไิ ด อันเกดิ ขึ้นจากการฝก ฝนอบรมจิต ซงึ่ สามารถระลกึ ไดมาก บุคคลผูฝก ฝนอบรมจติ แลวระลึกชาติได ในสมัยปจ จบุ ันน้ีกม็ ีอยู แตเปนบุคคลทอ่ี ยูในกฎวินยั ซงึ่ ไมค วรจะนํามาเปดเผย แตม ีอยรู ายหน่งึ ซ่ึง ผูนั้นไดลว งไปแลวเมือ่ เร็วๆ น้ี พอจะเปดเผยสูกนั ฟง ได จะเลา แตเ พยี งท่ีรูๆ กันอยู เทา ที่ขาพเจาได ทราบมา ดงั ตอไปน้ี พระอาจารยภรู ิทัตตเถระ (ม่ัน) อาจารยข องขา พเจา ทา นไดป ระพฤตสิ มณธรรมมานาน ต้งั แตอุปสมบทเปนภิกษใุ นพระพทุ ธศาสนา เมอ่ื อายุยา งขนึ้ ปที่ ๒๓ จนถึงวัยชราอายุ ๘๐ ปจ ึงถึง มรณภาพเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๒ ทา นเปนอาจารยสอนธรรมทางวปิ สสนามศี ิษยานศุ ิษยมากหลาย ทาน ไดเลา อดีตชาติของทา นแกส หธรรมกิ บางทาน ซึ่งเปนบคุ คลทที่ า นเคารพนับถือไววางใจ และแก ศษิ ยบ างคน แมข า พเจา กไ็ ดรบั บอกเลา เปน บางตอน. ตามทีไ่ ดเ ลาเร่อื งบุคคลผรู ะลึกชาติได ทงั้ โดยบังเอิญหรือโดยธรรมดา ทง้ั โดยการศกึ ษา อบรมจติ ใจมาเปน ตวั อยา งน้ี ก็พอทีจ่ ะสนั นษิ ฐานไดแ ลว วา การระลกึ ชาตไิ ดน้ันเปนไดจริง ซงึ่ เปน การรับรองสังสารวัฏ ทนี ้จี ะไดก ลา วถงึ เหตุผลของการระลกึ ชาติไดอกี ที่ไดกลา วมาแลว วา การ ระลกึ ชาตไิ ดน ั้น ความสาํ คัญอยูที่ อนสุ สติ คือความนึกลาํ ดบั หรอื ความสํานึกได ซึง่ ไดม ีตดิ ตอ กนั ในทุกขณะของจิตทั้ง ๓ เขต ดังปราชญปจจุบนั แบง ไวท ่ีไดกลา วมาแลว ถา ทาํ ไดตามนัน้ จะเกดิ ผลดีหลายประการ. (๑.) ทาํ ใหม ีสติ เปนสติรักษาตวั อยางเย่ยี ม (๒.) ทาํ ใหม ีอิทธพิ ล สามารถบังคับความหลับและความตื่นได (๓.) ทําใหส ามารถรอู ะไรๆ ไดดีเปน พิเศษ ความหลับหรือความปราศจากสติอันเปน ปฏิปก ษก ับความต่นื ตัว ความสํานกึ ตัวนน้ั มี ๒ ประเภท คือ (๑.) ความหลบั โดยธรรมดา ซง่ึ ไดแกก ารพักผอ นหลับนอนเพื่อบรรเทาความมนึ เม่อื ยของ กายประเภทหนง่ึ กบั (๒.) ความหลับใหลดว ยอํานาจกิเลส ซง่ึ ไดแกค วามประมาทมวั เมา ไมสาํ นกึ ตัว ปลอยตน ไปตามอารมณร ะเริงไปตามเรอ่ื งจนลมื ตนลมื ตวั ประเภทหน่งึ . ความหลับประเภทแรก เปน สิ่งจาํ เปน ของชวี ติ ทุกชวี ิต แมแ ตพระอรหนั ตกจ็ าํ ตอ งพกั ผอน กายในการนอนหลับเหมอื นกัน ถาหลบั มากเกนิ ไปก็ใหโ ทษทาํ ใหช วี ิตเปนหมัน ถา หลบั นอ ยเกินไป กใ็ หโ ทษทําใหร างกายอิดโรยมนึ เมอ่ื ยออนแอ ไมสามารถในการงานทั้งทางกายและทางใจ ถา หลบั พอดยี อ มบรรเทาความมึนเมอ่ื ยของรา งกายได ทําใหรางกายมีกาํ ลงั สามารถในการงานทง้ั ทางกาย และทางใจ ผทู าํ งานหนักตองหลับถึง ๘ ช่ัวโมงจึงจะพอดี ผูท าํ งานเบาหลบั เพยี ง ๔ – ๖ ช่ัวโมงก็ พอ ความหลับถงึ แมจ ะจาํ เปนแกช ีวิตและใหค ุณในเมอ่ื ประกอบพอดกี ต็ าม ปราชญทางจติ ศาสตร ทิพยอํานาจ ๑๑๗
กถ็ ือวาเปนอุปสรรคอันหนงึ่ กั้นกางมใิ หเกิดความรูกระจา งแจง ทางจติ ใจขน้ึ ได จึงหาหนทาง เอาชนะใหไ ด วธิ เี อาชนะความหลับน้ันมหี ลายวธิ ี ดังตอไปน้ี ๑. เอาสติกาํ หนดจดจอ ท่ีจดุ หลับ คือซอกคอใตล กู กระเดือก ผอ นสตใิ หออนลงๆ พอมี อาการเคลม้ิ ๆ ใกลจะหลับ พึงรวมกําลงั สตแิ ลว เลือ่ นขึ้นไปกาํ หนดจดจอ ท่ีจุดต่ืน คอื ตรงหนา ผาก เหนือหวา งคิ้วเล็กนอ ยจะรสู ึกหายงวงทนั ที พอจติ ใจแจมใสหายงว งแลว พงึ กาํ หนดท่ีจดุ หลับอีก คร้ันจะหลับพึงเลือ่ นขึน้ ไปกําหนดท่จี ุดตื่นอกี ทาํ อยางนี้วนั ละหลายๆ เท่ียว ก็จะเกิดอทิ ธพิ ลใน การบังคับความหลับและความตืน่ ของตนไดต ามตองการ ทีนี้เวลาจะหลบั จรงิ ๆ ตองทําสติ กําหนดเวลาตื่นใหแนน อนไว แลวเอาสติกําหนดจดจอตรงจุดหลับ บงั คับดว ยใจวาจงหลบั แลว ทาํ สติตามจิตไปเรอ่ื ยๆ จนกวา จะหลับไป ก็จะหลบั อยา งมสี ติรทู นั ในขณะจะหลบั เม่อื ชํานาญดีก็จะ รูทนั ในขณะหลบั และจะรทู นั ในขณะตื่น ท้ังต่ืนตรงเวลาที่กําหนดไวดว ย เปนอันไดฝกทง้ั สตทิ ั้ง ในขณะตื่นอยู ทั้งในขณะกาํ ลังจะหลับ ท้งั ในขณะหลบั เมือ่ ฝกชํานาญมีสตทิ ันท้ัง ๓ ขณะน้ันแลว ช่ือวา มสี ติตดิ ตอ ตามกํากบั จติ ทุกขณะใหอ ยูในระเบียบอันดี. ๒. หรอื ฝกสตติ ามหลักสติปฏ ฐาน ดงั กลาวแลวในบทท่ี ๔ จนมีสติติดตอ สบื เน่อื งกัน ทนั ความเคล่ือนไหวของกาย, ความรสู ึกสุขทุกขเฉยๆ, จิตท่แี ปรลักษณะไปตามสิ่งสมั ปยตุ ต, และเหตุ ปจจยั ที่ปรงุ แตงจติ ใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงลกั ษณะน้นั ๆ ตามความจริง สติน้ันก็จะมกี ําลงั ใหญเปน มหาสติ สามารถควบคุมความเปนไปของกาย วาจา ใจ ใหอยใู นระเบียบ และใหจติ ใจเกิด คณุ ลักษณะดีเดน ยงิ่ ข้นึ จนถึงดีท่ีสุด หลุดพน จากความเปนทาสของทุกส่งิ ถงึ ความเปนอสิ ระทส่ี ุด ในอวสาน ถา ฝกสติไดดีตามหลกั นีแ้ ลว จะประสพผลสาํ เร็จในทางทิพยอาํ นาจทุกประการ. ๓. หรือฝกสติตามหลักอนุสสติ ๑๐ ประการ มพี ุทธานุสสติ เปนตน ดังกลา วไวในบทท่ี ๓ น้นั ประการใดประการหนึ่ง หรอื หลายประการตามแตจ ะเลอื กใชอันใด ฝกสตใิ หตอ เน่ืองดว ยอาศยั นึกถงึ ส่งิ ทจ่ี ะปลุกเตือนจติ ใจใหส ํานึกตัวเปน เบอ้ื งตน กอน เม่ือจิตใจเกดิ สาํ นึกตวั แลว ดาํ รงอยใู น ความสงบเปน ระเบียบเรียบรอย เปนจติ ใจสะอาดแจม ใส ชอื่ วาไดผ ลในการฝก สติตามแบบนี้ ตอ นั้นพงึ อาศัยจติ ใจอนั บรสิ ทุ ธิ์น้นั เจรญิ ทิพยอํานาจ หรอื เจรญิ วปิ ส สนาญาณตามจิตใจประสงค ก็จะ สําเร็จประสงคน ้นั ทกุ ประการ. เม่อื ปฏบิ ตั ิตามวิธดี งั กลาวมาน้ี รับรองไดวา สามารถเอาชนะความหลบั ไดแนนอน จะเกิดมี อิทธิพลเหนอื ความหลบั จะใหห ลับเวลาใดกไ็ ด ไมใ หห ลับเลยกไ็ ด แมจะรสู กึ งวงแสนงวงถา ตัง้ ใจ จะไมห ลับแลวความงวงจะว่ิงหนที นั ที และในขณะเดยี วกันกบั ทีฝ่ กสตเิ พอื่ เอาชนะความหลับ ประเภทธรรมดาน้ี ก็เปน อันไดเอาชนะความหลบั ประเภทที่ ๒ ไปในตัวดวย ความประมาทซ่ึงเปน ความหลบั ภายในกนิ ลกึ ถงึ ใจนั้น จะถกู กาํ จดั ออกไปจากจิตใจ จิตใจจะเกิดสาํ นกึ ตัว ทาํ สิ่งควรทาํ พูดคําควรพดู คิดเร่อื งควรคดิ บังคับจติ ใจใหอยใู นระเบยี บวินัยอนั ดี ไมม ีการปลอ ยตนไปตาม อารมณส ุดแตใ คร จะรูจักพิจารณาหนาหลงั ย้ังคิดความผิดพลาดใหญห ลวงในชีวติ กจ็ ะมขี ้ึนไมไ ด ดวยอํานาจสตคิ มุ ครอง. จิตใจทีส่ ติ อนุสสตคิ มุ ครองแลวดวยดี จักเปนจิตใจผองใสบรสิ ทุ ธสิ์ ะอาด มพี ละอํานาจ เขม แข็งมเี อกภาพสมบรู ณ เปนจิตใจในระดบั สูงพนจากภาวะตาํ่ ตอย เม่ือตอ งการนึกลาํ ดบั ถึง ทิพยอํานาจ ๑๑๘
เหตกุ ารณข องชวี ติ ทลี่ ว งมาแลว ก็จะนึกเห็นไดตลอดทกุ ระยะทกุ ตอนของชวี ิต เหมือนบุคคลปนขน้ึ ไปอยบู นทสี่ ูง สามารถมองดไู ดไกล แลเห็นอะไรๆ ในที่ต่าํ ไดดฉี ะนั้น จติ ใจอันสมบูรณดว ย คณุ ลกั ษณะดงั กลา วนแ้ี หละสามารถสรางอนสุ สตญิ าณ ระลึกรจู กั ความเปนมาของตนในอดีตหลาย รอยหลายพนั ชาติได ในเม่ือจาํ นงจะสรา งขึ้น ซึง่ มีวธิ กี ารโดยเฉพาะดังจะไดแ สดงตอ ไปขางหนาน้ี. เหตุการณทผ่ี านมาในชีวิต จะประทบั ภาพพมิ พไวท ดี่ วงใจนัน้ เอง ในระยะแรกๆ ภาพนน้ั จะโผลข้ึนในความรสู กึ ใหนึกถึงอยูเนืองๆ ครั้นลว งกาลมานานภาพเหตกุ ารณน้นั ๆ กค็ อ ยจางไป จากความรูสึกนึกเห็น แตไปสถติ ม่นั อยูในดวงจิต เมื่อมีอะไรมาสะกิดกจ็ ะนึกเห็นข้ึนมาไดใหมอ ีก น้ี เปนเรอ่ื งในภายในชีวติ ปจจุบนั ทีนีเ้ ราลองทาํ ความเชอื่ ตอ ไปอกี วาจิตใจเปนธรรมชาติไมร ูจกั ตาย ไดผานการเกิดการตายมาแลว นับครั้งไมถวน เหตุการณท เ่ี ขาไดผ านพบมาในชวี ิตนน้ั ๆ ก็ยอ ม ประทับเปน ภาพพิมพอ ยทู จ่ี ิตใจน้ันเอง ถา มีอะไรมาสะกดิ ใหน ึกขน้ึ ได กจ็ ะสามารถนกึ เห็น เหตุการณของชวี ติ ในชาตกิ อ นๆ น้ัน เชนเดียวกับในชาตปิ จจบุ นั การทคี่ นโดยมากนกึ ถึง เหตุการณแ หง ชวี ติ ในชาตกิ อ นไมไดก ็เพราะถูกชาตปิ จจุบันปกปดไว คอื ในระหวางปฏิสนธใิ นครรภ มารดาเทากบั เขาไปอยใู นท่ีคับแคบมดื ทบึ เปนเวลานานถึง ๑๐ เดือน หรืออยา งนอยก็ราว ๗ – ๘ เดอื น ครนั้ คลอดออกมากต็ องอยูใ นอัตภาพท่ีออนแอขาดความสามารถในการนกึ คิดเปนเวลา หลายป เม่อื เปนเชนนจ้ี งึ ลมื เหตุการณท ตี่ นผา นมาในชีวิตกอ นๆ เสีย อัตภาพซง่ึ เปน ทอ่ี าศัยของ จติ ใจนเ้ี ปนสิ่งหยาบ มดื ทบึ ไมมสี มรรถภาพเพียงพอที่จะใชนกึ ถงึ เหตกุ ารณยอนหลงั ไปไกลๆ ได ความบงั เกดิ ของอัตภาพ พรอ มกับความคิดนึกรสู ึกอันสมั ปยตุ ตในอัตภาพน้นั แหละเรยี กวา ชาติ เปนตัวปดบงั ความรรู ะลกึ ชาตหิ นหลัง หรือจะพดู อีกนัยหนง่ึ ก็วา ปฏสิ นธปิ ดบงั ความรรู ะลึกชาติ หนหลงั ได ถาสามารถทาํ สติใหทะลปุ ฏิสนธไิ ปไดเ มอ่ื ไรเปน ระลกึ ชาติไดเมือ่ นั้น ฉะน้ันจดุ โจมตสี ่ิง ก้นั กางมิใหร ะลึกชาตไิ ด กค็ อื ปฏิสนธ.ิ เมอื่ ไดท ราบจดุ โจมตีในการฝกเพ่อื ระลึกชาตไิ ดเ ชนนี้แลว ควรทราบวธิ โี จมตตี อ ไป ทา นให คําแนะนําแกผฝู ก เพ่อื บพุ เพนิวาสานสุ สติญาณ ไวว า ๑. พงึ ฝกสตอิ บรมจติ ใจตามนัยที่ไดก ลา วมาแลว ดวยอาศยั อทิ ธิบาทภาวนา ๔ ประการ จนไดส มาธติ ามลาํ ดบั ชนั้ ถึงฌานที่ ๔ เปน อยา งนอย พึงใหช าํ นาญในฌานอยางดีดงั กลา วไวในบท ที่ ๒ จนมีเจโตวสี คอื มีอํานาจทางใจเพยี งพอ มีใจบริสทุ ธสิ์ ะอาดนมิ่ นวลเหนยี วแนน ไม เปลี่ยนแปลงไปงาย ควรแกก ารทาํ ความนึกทวนลาํ ดับเหตุการณไ ดตั้งนานๆ หลายชวั่ โมง. ๒. เขา สูทส่ี งัดซ่ึงเปน ทีอ่ ากาศโปรง ปลอดภยั ตนมอี สิ ระท่ีจะอยูไดโดยไมถ กู รบกวนใน ระหวาง นง่ั ในทา ท่สี บายทีน่ ่ังไดท นตามแบบดังกลา วไวในบทที่ ๒ แลว ทําความสงบใจถึงระดับ ฌาน ๔ แลว จึงทําสตินกึ ทวนลําดับเหตกุ ารณแ หงชีวิตประจาํ วัน ถอยคืนไปในเบื้องหลังทผ่ี า นมา ในชว่ั ชีวติ ปจ จุบันนอ้ี ยา งละเอียดถีถ่ วน จบั ตัง้ แตตอนตนเร่มิ น่งั ภาวนานี้คืนไปจนถงึ วันวาน วนั กอน สัปดาหกอ น ปก ษก อน เดือนกอ น ปกอน โดยลําดับๆ จนถึงเวลานอนในครรภมารดา ถา ตดิ ขดั ตรงไหนตอ งหยุดทาํ ความสงบน่ิงนานๆ เสียกอ น แลวจงึ นึกตอไปจนเหน็ สภาพของตนอยูใน ครรภมารดา ตอนน้ีตอ งนกึ ใหเห็นแจม แจงท่ีสดุ นึกแลวนกึ อกี แจมแลวแจมอกี ทกุ ระยะของสภาพ ในครรภนั้นจนทะลุไป คอื เห็นเหตกุ ารณกอ นเขาปฏิสนธใิ นครรภ ชือ่ วาตดี านสําคญั สาํ เร็จแลว . ทิพยอาํ นาจ ๑๑๙
๓. พึงเขาสมาธิถึงฌานที่ ๔ แลวนกึ ทวนเหตกุ ารณข องชวี ิตโดยนยั ขอ ๒ จนทะลุดา น ปฏิสนธิ มองเห็นเหตกุ ารณกอ นเขา ปฏสิ นธิไดแลว พงึ ทําสติทวนตามไปวา กอ นแตจะมาปฏิสนธิ นั้นอยไู หน มีสภาพเปนอยา งไร ก็จะเหน็ เหตกุ ารณต า งๆ เปนภาพชวี ติ ที่ลวงแลวเปนตอนๆ เหมือน ภาพบนจอภาพยนตร ก็จะรูขน้ึ พรอมกับภาพน้ันๆ วาเปน อะไรกบั ตน ถา ไมรูพงึ นึกถามขึ้นในใจ แลว สงบอยู ก็จะรขู ้ึนตามความเปนจรงิ ช่อื วาสาํ เร็จบพุ เพนิวาสานสุ สติญาณสมปรารถนา ตอจากน้นั จะไมเปนการลาํ บากในการระลกึ ชาตหิ นหลัง เม่ือตองการทราบแลว ทาํ ความสงบใจนึก ถามดภู าพชวี ิตในอดีตท่ีตอ งการทราบ ก็จะปรากฏแกต าใจเสมอไป เปนจาํ นวนหลายรอ ยหลายพัน ชาตทิ ีเดียว. บคุ คลผูร ะลกึ ชาติไดดว ยอํานาจการฝกสติอบรมจติ ใจดังกลา วมาน้ี จะระลึกไดห ลายชาติ และรเู หตุการณส ําคัญๆ ในชาติน้ันๆ พรอมทง้ั กรรมท่ีแตงกาํ เนิดใหเกดิ ใหมด วย ยอมจะเกดิ ศรทั ธา ความเชื่อม่ันในสงั สารวฏั และอํานาจกรรม เปน ศรัทธาพละ มีกาํ ลังเหนี่ยวร้ังตนมใิ หป ระมาทพลาด พล้ังในศีลธรรมใหเ กดิ ความขะมกั เขมน พากเพียรในการประพฤติศีลธรรม บาํ เพ็ญกุศลกรรม สรา ง บารมีธรรมย่งิ ๆ ขึ้นไป การระลกึ ชาติไดด วยอาํ นาจเจริญภาวนา มีประโยชนยิง่ ใหญด ังน้ี นอกจาก เปนประโยชนแกต นแลวยงั อาํ นวยประโยชนใหแกผ อู ื่นอีกดวย ผรู ะลึกชาติตนเองไดเชน นยี้ อม ระลึกชาติของผูอืน่ ท่ีเกี่ยวขอ งกบั ตน หรอื คนหา งออกไปก็ไดตามสมควร แลวจะไดช ว ยเหลอื คน นน้ั ๆ ตามความสามารถ คนทีเ่ คยรกั เคยชอบหรอื เคยเคารพเชือ่ ฟงกนั มากอน ถงึ มาเกิดใหมนิสยั นั้นๆ ยอมติดตามมาเหมอื นกัน ถาใหค นผูเขาเคยรักเคยชอบ เคยเคารพนับถอื ไปชวยเหลอื กันเขา จะทาํ ไดด ีโดยงาย ถา เห็นวา ไมมีนิสัยท่ีควรจะทรมานได จะไมพ ยายามใหเสียเวลาหรอื เสยี ประโยชน เวนแตเพื่อตอ ตา นภยั ของสว นรวมซ่ึงจําเปน อยูเ องท่ีผูมีตาดีแลว จะเพกิ เฉยละเลยเสยี มิไดในเมอ่ื พจิ ารณาแลวเห็นวา สามารถตอ ตานได ถา เหน็ เหลือวสิ ัยจงึ จะวางอเุ บกขา รวู าคราว วบิ ตั ิมาถงึ แลว ไมด้ินรนขวนขวายใหลาํ บากเหน่อื ยยากเปลา ๆ. สงั สารวัฏคอื การเวียนเกดิ เวยี นตายเปนชาตกิ ําเนดิ ตางๆ ทฝี่ กอนสุ สตเิ พือ่ รูระลกึ ไดน ั้นเปน สวนใหญ เหมอื นจกั รตัวใหญฉ ะนั้น ยังมสี งั สารวฏั ซง่ึ เปนสวนเลก็ ละเอยี ดซง่ึ เปรียบเหมือนจกั รตวั เลก็ ทห่ี มนุ เรว็ จ๋ยี งิ่ กวาจกั รตวั ใหญน้ันอีก ทานกําหนดไวด ังน้ี ๑. กิเลสวัฏฏะ ไดแ กกเิ ลสคอื ความรูส ึกฝายช่ัว ซงึ่ เกดิ ขึน้ กบั ใจโดยอาศัยส่ิงย่วั เยาหรือเรา ใจใหเ กดิ ขนึ้ มีอวิชชาความรไู มแจม ทําใหเ กิดความเห็นผดิ คิดผิด และพดู ผดิ ทาํ ผิดขน้ึ เปนตัวตน เปนรากแกว ของกิเลสแหง ใจทัง้ มวล เมอ่ื มีอวชิ ชาเปนตวั เหตุฝงอยใู นจิต ครั้นอารมณม าสมั ผัสรบ เรา ขนึ้ กเ็ กดิ ราคะความกาํ หนัด โทสะความขัดเคอื ง โมหะความหลงใหลไปตามลกั ษณะของสงิ่ เรา น้ันๆ เปน เคามูลของบาปอกุศลขึ้นในใจ อันนี้เปน จักรตัวเลก็ ๆ แตสําคัญท่ีสดุ ในบรรดาจกั ร ทที่ าํ ใหเ กดิ การหมุนเวียนเกิดตายในโลก. ๒. กัมมวฏั ฏะ ไดแกกรรมคอื การจงใจทาํ พดู คิด ดวยอาํ นาจกิเลสรบเราดลใจใหทาํ เปน กรรมดบี าง เลวบาง เม่อื ทาํ ไปแลวยอมเปนภาพพิมพใ จอยางลกึ และมีกําลงั แรงสามารถหมนุ จติ ใจ ไปในลกั ษณะดหี รอื เลวตามลักษณะกรรมนั้นๆ อันนี้กเ็ ปนจักรตัวเลก็ ๆ ตัวหนงึ่ แตส ําคัญทีส่ ดุ ใน การกอกาํ เนดิ และผลกั ดันจิตใจในดานดีหรือเลว. ทพิ ยอํานาจ ๑๒๐
๓. วปิ ากวฏั ฏะ ไดแกผ ลกรรมคือความดีเลว ความสุขความทุกข ไดดตี กยาก อันเปนผล สืบเนื่องมาแตก รรมดีเลวทีต่ นทาํ ไว คือกรรมดแี ตงความดี คอยอุปถมั ภบาํ รงุ ใหไดรับความสุขความ เจริญ กรรมชั่วแตงความเลว และคอยสงผลใหไ ดร บั ทุกขลําบากเดือดรอ นเรอื่ ยไป คอยบนั่ รอน ความสขุ ในเม่อื กรรมดีแตง ความดแี ลว เมื่อผลกรรมปรากฏขึ้นแลว จิตผูเสวยผลกรรมยอมรูสึกตดิ ใจหรือเกลียดชงั ผลกรรมนนั้ ๆ เกดิ เปน กิเลสสบื เนอื่ งไปอีก ผลกรรมกจ็ ัดเปน จักรตัวเลก็ ๆ ตัวหนงึ่ ซ่ึงมีความสําคัญในอันหมนุ จิตใหวง่ิ ไปในโลก. สังสารจกั ร ๓ สว นนี้แล เปนจกั รตวั ในทม่ี ีความสําคัญย่งิ การเกดิ ดถี ึงสขุ ตกทุกขไดย ากใน ชาติกาํ เนิดตางๆ นั้น ยอ มเปน ไปตามจกั ร ๓ ตวั นี้ ผูร ะลกึ ชาติไดด วยอาํ นาจอนุสสตญิ าณแลว ยอ มเกดิ ความเชื่อมั่นในสังสารวฏั และอาํ นาจกรรม เมือ่ ทาํ การพจิ ารณาใหซงึ้ ลงไปอีก ก็จะพบ สังสารจกั ร ๓ ตัวนี้อันเปนไปในภายในจิตใจอีกทหี นง่ึ แลวจะเกิดญาณรแู จงขึ้นในเรอ่ื งสังสารวฏั อยางทะลุปรุโปรง ตัดความสงสยั ในเรือ่ งตายเกิดตายสญู เสยี ได และตดั ความสงสยั ในเรอ่ื งอาํ นาจ กรรมเสียไดด วยพอสมควร นี้เปน ผลสงู สุดทีจ่ ะพงึ ไดจ ากการระลกึ ชาติได ฉะนน้ั สาธชุ นผู ปรารถนาทิพยอํานาจขอ นี้ พงึ ฝกฝนเอาตามวธิ ีท่ีกลาวมา กจ็ ะสาํ เรจ็ สมความปรารถนา. ทพิ ยอํานาจ ๑๒๑
บทที่ ๑๐ วธิ สี รา งทพิ ยอาํ นาจ ทพิ พจกั ขุ ตาทพิ ย ทิพยอาํ นาจขอนี้ หมายถงึ ความสามารถในการเหน็ รูปทิพย เห็นเหตกุ ารณ หรือความ เปนไปของสรรพสัตว และเห็นสงิ่ ล้ลี บั ไดดว ยอาํ นาจตาทพิ ย อนั บริสทุ ธิ์เกนิ กวา ตามนษุ ยธ รรมดา ทา นเรียกทพิ ยอํานาจขอ นว้ี า ทพิ พจกั ขุญาณ แปลวา รูเห็นดว ยตาทพิ ยหรอื เห็นดวยตาทิพย เรยี ก สัน้ ๆ ดงั ตงั้ เปนชื่อขางบนน้ีบาง. สง่ิ ทส่ี ามารถในการเหน็ หรือมีลักษณะเห็นไดดังตา ทานเรยี กวา จักษุท้งั นนั้ จะประมวลคํา ชื่อจักษุทท่ี า นกําหนดไวในที่ตางๆ มาไวใ นท่นี ้ี พรอ มกับอธบิ ายลกั ษณะความหมายไวพอเปน ที่ สงั เกต ดังตอไปนี้ ๑. มงั สจกั ษุ ตาเน้ือ ไดแกตาธรรมดาของสามญั มนุษย ซ่งึ สามารถมองเหน็ รูปวตั ถุทั้งปวง และสิง่ ซึ่งเน่ืองดว ยรปู วตั ถุ เชน พยบั แดดและแสงสวา งเปนตน ความสาํ คญั ของตาเน้ืออยูท่ีจักขุ ประสาท หรือท่ีเรยี กวาแกวตา มิไดอ ยทู ี่เนอื้ ตาทงั้ หมด หากแตเปนสิ่งเนอ่ื งกัน เมอื่ สวนประกอบ ของดวงตาเสียไปแมประสาทจกั ขุหรือแกวตายงั ดกี ็จะทําใหร ูส กึ มัวฝา ฟาง มองดูอะไรไมคอย เหน็ ชัด. ๒. ปญญาจักขุ ตาปญญา ไดแ กค วามรูความเห็นเหตุผลและความจรงิ สวนสามัญ อนั สาธารณะท่วั ไปแกวญิ ชู นทง้ั ปวง ผูม ีปญญาดียอ มมองเหน็ เหตผุ ลและความจรงิ อันเปนสวน สามัญไดง าย คลายมองเหน็ ดว ยตาธรรมดา ผูมปี ญ ญาทรามยอมมองเห็นเหตผุ ลและความจรงิ สวน สามัญไดย าก เหมือนคนตาฟางมองเหน็ อะไรไมถนัดชัดเจนฉะน้ัน. ๓. ฌานจักขุ ตาฌาน ไดแกก ารเห็นสรรพนมิ ติ ในฌานของผูบําเพญ็ ฌาน คลา ยเห็นดว ยตา ธรรมดาเปน ที่รูกันอยูใ นหมพู ทุ ธศาสนิกชนวา ตาใน นั่นเอง ตาชนิดน้ีกส็ ามารถมองเหน็ เหตกุ ารณ ในอดตี อนาคต และปจจบุ นั ได คลา ยคลงึ กับตาทิพย เปน แตย ังไมบรสิ ุทธเ์ิ ทาเทยี มตาทิพย เห็นได แตส่งิ หยาบๆ และเหน็ ไดในระยะใกล คือถา เปน สว นอดตี ก็เปนอดตี ใกล ถาเปน อนาคตก็เปน อนาคตใกล ถา เปนสว นปจจุบันก็เปน ปจ จบุ นั ใกล. ๔. ทิพพจักขุ ตาทิพย ไดแกตาของเทพเจา หรือบุคคลผูเ จริญฌานสมบูรณดวยทพิ ย อนิ ทรีย มีภาวะทางใจเสมอดวยเทพเจาแลว ตาทิพยย อ มสามารถเหน็ ทพิ ยรปู ท้ังปวง เห็น เหตุการณหรือความเปน ไปของบุคคลในระยะไกล ท้ังในสวนอดีต อนาคต และปจจบุ นั และ สามารถเหน็ สง่ิ ซ่ึงลลี้ บั มีอะไรปกปดกาํ บัง กับมองทะลไุ ปในส่ิงกีดขวางท้งั ปวงได เกินวสิ ัยตามนษุ ย ธรรมดาหลายลา นเทา ตาทพิ ยนี้เปนทิพยอํานาจทม่ี งุ หมายจะอธบิ ายในที่น้ี. ๕. ธมั มจกั ขุ ตาธรรม ไดแกว ิปส สนาญาณของพระอรยิ โสดาบัน ซ่งึ มองเหน็ ทะลุความจรงิ ในดานโลกวา ทุกส่ิงทมี่ ีเกิดตองมดี ับ และมองเห็นทะลคุ วามจริงในดานธรรมวา ทกุ สง่ิ ไมม เี กดิ ตอง ไมม ีดับ หมายความวา เหน็ โลกและธรรมทะลแุ ลว เช่ือม่นั วา มีธรรมชาติไมม ที ุกข ซ่งึ ตรงกันขามกบั ทิพยอาํ นาจ ๑๒๒
โลกซึง่ เปนธรรมชาติมที ุกข เปน ผูหย่ังลงสกู ระแสธรรม ดาํ เนินตรงไปสดู านปราศจากทุกขไ ดอ ยา ง ไมยอมถอยหลงั มีหวงั บรรลุภูมิทีป่ ราศจากทกุ ขไดแ นนอนแลว . ๖. ญาณจกั ขุ ตาญาณ ไดแกป รชี าสามารถหยัง่ รหู ย่งั เหน็ เหตผุ ล และความจริงสวน วสิ ามญั ท้งั ในดา นโลกและดา นธรรมยิ่งๆ ขึ้นของพระอรยิ บุคคลช้ันสูงกวาพระโสดาบัน ต่าํ กวา พระ อรหันต สามารถบรรเทาราคะ โทสะ โมหะ ใหเบาบางไปจากขนั ธสนั ดานไดมากย่ิงกวา ภูมพิ ระ โสดาบัน ไตรลักษณญาณเกอื บจะแจมแจงทกุ ประการแลว ความเห็นลกั ษณะความไมเท่ยี ง และ ความเปน ทกุ ขข องโลกแจม แจงแกใ จแลว แตค วามเห็นลกั ษณะความเปนอนัตตาของโลกยงั ไมแจม แจงแกใ จ ยังมัวซวั ในบางส่ิง อวิชชาจึงยังเหลืออยใู นขนั ธสนั ดาน เปนเหตใุ หม อี ุปาทานในทกุ ขเ ปน บางสว น. ๗. พทุ ธจักขุ ตาพทุ ธะ ไดแกปรีชาญาณท่สี ามารถมองเหน็ โลกและธรรมตามความเปน จริงไดหมดทกุ แงทุกมมุ แลว สามารถสังหารอวิชชาขาดเดด็ จากขันธสันดาน บรรลถุ ึงภูมพิ ระ นิพพาน ดับทุกขโ ศกโรคภัยไดห มดแลว ถึง “ความเปน แกว” ดวงหนึ่งในจํานวนแกว ๓ ดวง คือ พทุ ธรตั นะ ธรรมรตั นะ และสังฆรัตนะ ผูบรรลุถึงภมู ินี้เรียกวา พระอรหันต มีจติ ใจบรสิ ุทธด์ิ จุ แกว มณีโชติ เปนผตู ่นื ตัวเต็มทแ่ี ลว หายละเมอเพอ ฝน แลว เมอ่ื ใจบริสทุ ธดิ์ ุจแกว มณีโชติ แมป รีชาญาณ ของทานกบ็ รสิ ทุ ธิ์ดจุ แกวเชน เดยี วกันฉะนั้น เม่อื จะสมมติใหเขา ใจงาย ขาพเจา จึงพอใจเรียกวา ตาแกว เปน ตาของทานผูตน่ื ตัวเตม็ ที่แลวจําพวกเดยี ว เปนตาท่สี ามารถมองเห็น “พระแกว” คือ “วิสุทธิเทวา” บรรดาทีป่ รินพิ พานไปแลว ท้งั สามารถฟงเสียงพระแกวไดด ว ย เปนตาทด่ี ีวเิ ศษ ประเสรฐิ สงู สง กวา ตาทพิ ย เพราะเทพเจา ธรรมดาซง่ึ มตี าทิพยไมสามารถมองเหน็ พระแกว คอื พระ อรหนั ต และไมสามารถไดยนิ เสยี งของทานดว ย เวนแตเ ทพเจา ผูบรรลถุ ึงภูมิพระแกว บางพระองค เทา นน้ั . ๘. สมันตจักขุ ตารอบดา น ไดแกพ ระสัพพญั ุตญั ญาณ พระอนาวรญาณ พระทศพลญาณ และพระเวสารชั ชญาณ ของพระบรมศาสดาจารยส มั มาสมั พุทธเจา ซง่ึ เปนพระญาณครอบสากล โลกสากลธรรม สมดวยคํายอพระเกยี รติพระองควา โลกจกั ขุ โลกนั ตทสั สี ทรงเห็นโลก ทรงเหน็ ทสี่ ุดโลก คนธรรมดาอยูในโลกแตไ มเห็นโลก จงึ กระทบกระท่ังกับโลกร่าํ ไป สวนพระบรมศาสดา ทรงเห็นโลกแลวจึงไมกระทบกระทงั่ กบั โลก นกั ธรรมสามัญทง้ั หลายแมศ กึ ษาธรรม ประพฤติธรรม แตก ็ยังไมเห็นธรรมถูกถวนทกุ แงทกุ มุม จงึ กระทบกระท่ังกบั ธรรมรา่ํ ไป สวนพระบรมศาสดาทรง เหน็ ธรรมถกู ถวนทุกแงท กุ มุม จึงไมก ระทบกระทั่งกบั ธรรม ทรงเปน อันหนึง่ อันเดยี วกบั ธรรมเสมอ ไป พระเนตรคอื พระปรีชาญาณของพระองคแจมใสทสี่ ุด สามารถมองเหน็ ไดก วางไกลท่สี ุด โดยรอบทุกทิศทุกทาง มองทะลไุ ปทั่วสากลจักรวาล ย่ิงกวาตาของทาวพันตาหลายลา นเทา ยิ่งกวา ตาของทา วมหาพรหมผเู ปน ประชาบดใี หญย งิ่ ในหมูประชาสตั วหลายแสนเทา ทรงมองเห็น เหตุการณเ บื้องหลังท่ีผานมาแลว ไดไ กลประมาณแสนโกฏิอสงไขยกัป ทรงเห็นเหตกุ ารณเบื้อง หนา ทีจ่ ะมาถึงไดไ กลประมาณแสนโกฏอิ สงไขยกปั เชนเดยี วกัน ทรงเหน็ เหตกุ ารณจําเพาะหนาได ถว นถี่ทกุ ประการ และทรงเห็นเหตุผลไดล ะเอียดถี่ถวนทส่ี ุด จึงทรงสามารถบัญญตั ิพระธรรมวนิ ัย ไวเ ปน หลกั ศกึ ษาแกพทุ ธเวไนยไดป ระณีตบรรจง สมบูรณด ว ยอรรถพยัญชนะ พรอ มพรง่ั ดวยเหตุ ทิพยอํานาจ ๑๒๓
และผล ทนตอการพิสูจนข องนักปราชญ ไมมีใครอาจคานติงได สมกับคํายอพระเกยี รตวิ า สมนั ต- จกั ขุ พระผูมจี กั ษุรอบดานแทเ ทียว. บรรดาจักขุดังไดกลาวมา มังสจกั ขเุ ปนตาธรรมดาของสามัญมนษุ ย สาํ เร็จมาแตกุศลกรรม ทท่ี าํ เอาไวแตบ ุพเพชาติ มิใชวสิ ัยทจ่ี ะพึงแตง สรา งเอาไดใ นปจ จบุ นั หากจะฝก หดั ใหดบี า งกเ็ พยี ง เล็กนอ ยคือทาํ ใหจกั ษปุ ระสาทผองใส ใชการไดดกี วาปกตบิ า งเล็กนอ ย แตจ ะใหมงั สจกั ขกุ ลายเปน ทิพยจกั ขนุ ั้นเปน การเกนิ วิสยั มิใชฐานะทจี่ ะเปน ไปได, ปญญาจกั ขเุ ปนตาปญญาท่ีสาธารณะแก สามัญชนอาจแตง สรา งใหดีวิเศษขน้ึ ไดด วยการศึกษาสาํ เหนียกคําสอนของนกั ปราชญด วยการคิด อานเหตผุ ลตนปลายของสิ่งทง้ั หลาย และดวยการอบรมใจใหผ องแผวหายขุนมวั , ฌานจกั ขเุ ปนตา ในของผูเจริญฌาน รเู ห็นเหตกุ ารณไดบ างเปน บางประการ เปนส่งิ สามารทําใหเ กดิ มขี น้ึ ได ไมใ ชส งิ่ เกนิ ความสามารถของสามัญมนษุ ย, ทิพพจักขุเปน ตาใจทีแ่ จมใส มองเห็นรปู ทิพยและเหตุการณ ไดด วี เิ ศษ เปนสิ่งเน่อื งกบั ใจ สามารถสรางข้ึนได ไมเ กนิ วิสยั สามญั มนุษยเ หมอื นกนั , ธรรมจกั ขเุ ปน ตวั วิปส สนาญาณทปี่ ระหารกเิ ลสข้ันตน สาธชุ นผไู มป ระมาทอาจทาํ ใหเกดิ ข้ึนได ไมเปนส่งิ เกินวสิ ัย เชน เดยี วกนั , ญาณจกั ขเุ ปนตวั วิปสสนาญาณขั้นสูงข้ึนไป อนั อรยิ ชนผบู รรลุภูมธิ รรมขั้นตน แลว พึง ขวนขวายสรางสืบตอขึ้นไป, พทุ ธจักขุเปนตาแกว ของพระอรหันตผ ูเสรจ็ กจิ กําจัดกิเลสแลว อยูเ ยน็ ใจ ไมเปน ส่งิ เกินวสิ ัยทีจ่ ะกา วไปถงึ เหมือนกัน เพราะผูเปนพระอรหันตท านกเ็ ปนปุถุชนมากอน มิใชเ ปนพระอรหันตแ ตก ําเนดิ , สวนสมนั ตจกั ขุนน้ั เปน วสิ ัยของทานผมู บี ารมใี หญย ิง่ จะพึงไดพงึ ถึง มิใชวสิ ยั ของสามัญชน เมอื่ ไดทราบลักษณะจักขตุ างๆ พอสมควรฉะนแ้ี ลว ควรเร่มิ ศกึ ษาทพิ พ จักขุโดยเฉพาะได ฉะนั้น จะไดกลา วถงึ ทพิ พจกั ขุตอ ไป การที่จะเขาใจทิพพจกั ขุไดงายนน้ั ตอง เขา ใจกาํ เนดิ ทิพยท ีม่ ที ิพพจักขโุ ดยกําเนิดพอสมควร ฉะนั้น จะไดอธบิ ายกําเนิดทพิ ยและทพิ พจกั ขุ โดยกําเนิดกอ น แลว จงึ จะอธบิ ายลักษณะทพิ พจกั ขุท่ีทําใหเกิดขน้ึ ตอ ไป. เทพเจา เปนพวกกําเนดิ ทพิ ย มที ิพยอินทรยี ส มบรู ณท ุกประการ มที ่ีอยคู ือฉกามาพจรสรรค และพรหมโลก ดังกลา วแลวในบทวาดวยทิพพโสต ยังมีพวกทเี่ ปน ทิพยแ ละคลายทพิ ยบ นพ้ืนโลก ใกลๆ กับแดนมนษุ ยน ี้อีก พวกท่เี ปน ทิพยน้ันเปนเทพเจา ชั้นภาคพ้นื ดินและอากาศบางจาํ พวก สว นพวกคลา ยทิพยนั้นเปนพวกอทิสสมานกาย หรอื อมนุษย มคี วามเปน อยูคลายคลงึ กบั มนุษย เปนแตรางของเขาละเอียดและเบากวา รา งของมนษุ ย ไปมาไดวอ งไว คนทั้งหลายรูจ กั พวกนใี้ นชื่อ วา พวกลบั แลบา ง พวกบงั บดบาง พระภมู ิเจาที่บา ง อยางตาํ่ คือคําวาผี พวกนม้ี ีตาดกี วามนษุ ย ธรรมดามาก มองเหน็ ทะลุเคร่อื งกดี ขวางได และมองเหน็ ไดไกลเกินตาปกติของมนษุ ยหลายรอ ย หลายพนั เทา เชน เขาอยูกรงุ เทพฯ มองไปเห็นถึงยโุ รปและอเมริกา ตาชนดิ น้ีเรียกวา ตาทพิ ย โดย กาํ เนิดของพวกทพิ ยห รอื พวกคลายทิพย ทีนเี้ ราลองหนั มาดจู ําพวกสัตวด ริ ัจฉานบาง ซง่ึ มนั อยู ใกลๆ กับมนษุ ย มีรปู ระกอบขน้ึ ดวยธาตุหยาบๆ เหมอื นมนษุ ย แตมันมีตาดกี วามนษุ ยห ลายเทา เชน สุนัข ไก เห็นผไี ด สัตวปาหากินกลางคืนมันเห็นอาหารท่ีมนั ตองการได เห็นอันตรายของมันได เชน เสือเปนตน มดมองทะลุส่งิ กดี ขวางได เคยมผี ูท ดลองเอาน้าํ ตาลวางไวในทปี่ ราศจากมด ช่ัว เวลาไมถงึ ช่ัวโมงมดจะยกโขยงกนั มาจากทไ่ี กล มากนิ นํ้าตาลนนั้ ภายหลงั ทดลองใหม เอานาํ้ ตาล วางไวใ นทมี่ ีนํ้ากั้นโดยรอบ มดจะไมม าเลยสกั ตัวเดียว แสดงวา มันมองเห็นวา มีอะไรกน้ั ซึ่งไม ทิพยอํานาจ ๑๒๔
สามารถเขา ไปกินนํ้าตาลได มนั จึงไมม า ถาจะวามนั มาครั้งแรกเพราะไดก ลิ่น ครงั้ ท่ี ๒ ซง่ึ เอาน้าํ หลอไวก็คงจะสงกล่นิ ไปไดเชนกัน ทาํ ไมมันจึงไมม ากิน การทีม่ ันไมมาในครง้ั ท่ี ๒ จงึ สอ แสดงวามัน มีตาทพิ ย มองเหน็ สิ่งกดี ขวางในระยะไกลเกนิ สายตาธรรมดา เรอื่ งน้แี มข าพเจากไ็ ดทดลองและ ประจกั ษผลเชน ท่เี ลานเี้ หมอื นกนั ทีน้หี ันมาดใู นหมูมนุษยเ ราบาง คนท่มี ีตาดวี เิ ศษเกนิ คนธรรมดา ด่ังมดหรือเทพเจามบี า งหรือไม? ไดเ คยอา นเรอื่ งคนทมี่ องเห็นเหตกุ ารณอ นาคตในตา งประเทศ ที่ มีผูน ํามาเขียนเลาไวม ากราย จาํ ไมไดต ลอด จึงไมอ าจเลาไวในท่ีนไ้ี ด ทงั้ เห็นวา เปนพยานไกล เกินไป อยากจะไดพ ยานใกลๆ กวา น้ีสักหนอย นกั ดาราศาสตรส ามารถคาํ นวณเวลาจันทรคราส สุริยคราสไดถ กู ตองแมนยาํ ทั้งวนั เวลาเขา ออก นักอตุ ุนิยมศาสตรสามารถพยากรณอากาศ เมฆ ฝน พายุ ไดแ มนยํา นักโหราศาสตรสามารถพยากรณเหตกุ ารณข องโลกและเหตุการณเฉพาะ บคุ คลไดถกู ตองเปนสวนมาก และนกั จติ ศาสตรส ามารถพยากรณเหตุการณข องโลกและของบคุ คล ไดแ มน ยําเหมือนตาเห็น ท่ีเปนไดท ั้งนี้แมมิใชทพิ พจักขุโดยตรงก็เปน เรอื่ งใกลเ คยี ง พอจะ สนั นิษฐานไดวา ทพิ พจักขอุ าจมีไดเชนกัน นักศาสตรต างๆ ดงั กลา วมานีเ้ ขาอาศยั ปญ ญาจกั ขุ รู เหตุผลกฎเกณฑข องสงิ่ น้ันๆ แลว คํานวณคาดคะเนเหตุการณใ นอนาคตได ปญ ญาจักขเุ ปน ส่งิ เนอ่ื งดว ยจติ ใจ แมท ิพพจกั ขกุ ็เปน สิง่ เนอื่ งกับจติ ใจไฉนจึงจะมีไมไ ด นักฝก ฝนจติ ใจใน พระพุทธศาสนาสมยั ปจ จบุ นั แมจะมไิ ดรบั สมัญญาวานักจิตศาสตร ก็มใิ ชปราศจากความรทู าง จิตใจ เปนแตไมไดแสดงความรูท างดานนี้ใหป รากฏแกโลกอยางผาดโผน คนทงั้ หลายจงึ ไมรวู า ชาว พุทธเปน นกั จิตศาสตร สมยั พทุ ธกาลชาวพทุ ธมชี ื่อเดน ในทางจติ ศาสตร มคี วามสามารถทาง ทิพยอํานาจหลายประการ พระบรมศาสดาจารยท รงเปน เยยี่ มทสี่ ดุ ทรงสามารถในทิพยอาํ นาจทกุ ประการ พระอคั รสาวกซา ย-ขวาเปนเย่ยี มรองลงมา พระอนุรทุ ธเถระทรงเปนเยย่ี มทางทพิ พจักขุ โดยเฉพาะ ในสมยั พระบรมศาสดาเสดจ็ ปรินพิ พานน้นั ทานทรงทราบไดดวี า เสดจ็ ปรนิ พิ พานแลว หรอื ยัง คือในวาระที่ทรงเขา สคู วามสงบตามลําดบั และทวนลําดบั อยูนั้น ถา ดูดวยตาธรรมดาก็วา เสดจ็ ปรินิพพานแลว แตพ ระอนุรทุ ธเถระบอกวายังไมเ สดจ็ สปู รนิ ิพพาน เปนแตท รงเขาฌาน สมาบัติ เมื่อพระบรมศาสดาทรงยับยง้ั อยูในฌานพอสมควรแลว จงึ เสด็จปรินพิ พานในระหวา ง แหงฌานที่ ๔ และที่ ๕ ทันทีนั้นพระอนุรทุ ธเถระจึงบอกวาเสดจ็ ปรินพิ พานแลว พทุ ธบรษิ ัทจึงได จดั การพระบรมศพ เม่อื พระบรมศาสดาเสดจ็ ปรินิพพานลว งมาไดประมาณ ๒๓๖ ปเศษ พระมหา โมคคัลลีบตุ รตสิ สเถระเล็งดูกาลอนาคตของพระพทุ ธศาสนา เห็นวา ตอไปชมพทู วปี จะไมเปน ที่ตัง้ ของพระพทุ ธศาสนาๆ จะไปเจริญรุงเรอื งในทวีปอ่ืน จึงไดถ วายพระพรพระเจา อโศกมหาราชขอ อปุ ถัมภ เพอ่ื จดั สงพระเถรานเุ ถระเปนคณะไปเผยแผพระพุทธศาสนายังนานาประเทศนอกชมพู ทวีป ดานใตถ งึ เกาะลังกา ดา นตะวนั ตกถงึ เปอรเซีย ดา นเหนือถึงประเทศแถบเชงิ เขาหมิ าลยั ดา น ตะวนั ออกถงึ สวุ รรณภูมิ เหตกุ ารณก ็สมจรงิ ดังคาด พอพระพุทธศกั ราชประมาณ ๑,๑๐๐ ปเศษ พระพุทธศาสนาก็อนั ตรธานจากชมพทู วีป ไปเจรญิ รงุ เรืองยงั นานานประเทศจรงิ ๆ สวุ รรณภมู ิ คือ แหลมทองซึ่งหมายถึงผืนแผน ดนิ ต้งั แตอาวเบ็งกอลมาถึงทะเลญวนไดเปน ท่ีรบั รองพระพทุ ธศาสนา มาต้งั แตพ ระพุทธศกั ราชประมาณ ๒๓๖ ปเ ศษ มีโบราณวตั ถุสมยั พระเจา อโศกมหาราชเปนสักขี พยานในโบราณสถานนัน้ ๆ เชน พระปฐมเจดีย ที่จังหวัดนครปฐม มวี งลอ ธรรมจกั รทาํ ดว ยศิลา ทพิ ยอํานาจ ๑๒๕
ขนาดใหญโ ตมาก ซง่ึ เปนท่ีนยิ มในสมยั น้ัน เพราะยังไมเกดิ ประเพณีสรา งพระพทุ ธรูป ทเี่ มอื งเสมา (รา ง) ในจงั หวัดนครราชสีมากม็ ีวงลอ ธรรมจักร ทาํ ดวยศิลาขนาดเดียวกนั กบั ทนี่ ครปฐม และที่ ตาํ บลฟาแดดสูงบาง จงั หวัดกาฬสินธุมีภาพสลกั ศิลาเปน เรอื่ งพทุ ธประวัติ ซง่ึ เปน พยานวา พระพทุ ธศาสนาไดเ จรญิ รงุ เรือง ณ แหลมทอง โดยเฉพาะที่นครปฐมและนครราชสีมาในสมัย เดียวกัน ประมาณวา ในราวพุทธศตวรรษท่ี ๔ การท่พี ระมหาโมคคัลลีบุตรติสสเถระสามารถคาด เหตุการณไดถกู ตองเปนระยะไกลถงึ เกือบพนั ปเ ชนนี้ ยอมตอ งมที ิพพจกั ขแุ จม ใสจรงิ ๆ แนน อน เมอ่ื ทราบแลวทา นกด็ ําเนินการแกว ิกฤตการณไ วล ว งหนาทนั ที ผลดีท่เี กดิ ข้ึนคือ พระพทุ ธศาสนา แพรห ลายและดาํ รงอยไู ดในนานานประเทศนอกชมพูทวปี มาจนถึงปจ จบุ นั ชมพูทวปี คอื อินเดยี ซ่งึ เปน ทีก่ าํ เนิดของพระพทุ ธศาสนาไดว างเปลาจากพระพุทธศาสนามานานประมาณพันปแลว เพ่งิ จะ มีพระภกิ ษจุ ากลังกา พมา และอาหม เขาไปทาํ การเผยแผพระพุทธศาสนาในชมพูทวปี อีกเมอื่ ประมาณ ๖๐ ปมานเ่ี ทานน้ั ถึงกระน้ันกย็ ังหวงั ความเจริญรงุ เรืองเหมอื นในสมยั พุทธกาลไดย าก เพราะสภาพเหตกุ ารณข องบา นเมืองและประชาชนเปลยี่ นแปลงไปจากเดิม ลัทธิศาสนาอ่นื ไดฝ ง รากแทนท่ีพระพุทธศาสนามานาน บุคคลผจู ะนําพระพทุ ธศาสนาไปปลูกฝง ลงยงั อินเดยี ไดอกี จะตองเปน ผมู ีบญุ ญาภสิ มภาร และอทิ ธาภินิหารเปน ท่อี ศั จรรย ย่งิ กวาเจาลทั ธคิ ณาจารยใ นถิน่ น้ัน อยา งมาก คาํ ทาํ นายโบราณชิ้นหน่ึงไดเ ปนทตี่ ่ืนเตนสนใจกัน เมอ่ื ประมาณ ๑๐ กวา ปมาน้มี วี า เมือ่ พระพุทธศาสนาถึงกึ่ง ๕,๐๐๐ ปน บั แตพทุ ธปรนิ พิ พานมา พระพทุ ธศาสนาจะกลับ เจรญิ รุงเรอื งถึงขีดสงู สุดคลา ยสมัยพุทธกาล พระมหาเถระโพธิสัตวผ มู ีบญุ ญาภสิ มภาร มีอิทธาภนิ -ิ หาร เชีย่ วชาญทางอภิญญาในสุวรรณภมู ิ จะไดเ ปนประธานาธิบดสี งฆ ทําการเผยแผ พระพุทธศาสนาไปยงั นานาประเทศ เร่ิมตนท่อี นิ เดีย ไปยโุ รปและอเมริกา ประชาชนชาวโลกจะหนั มานบั ถือพระพทุ ธศาสนามากมาย คนทง้ั หลายจะนิยมในการฝก ฝนอบรมจิตใจในทาง พระพทุ ธศาสนา ประเทศชาติบา นเมืองก็จะรม เยน็ เปนสขุ ดว ยรม เงาของพระพทุ ธศาสนา ดังน้ี บดั นี้กจ็ วนจะถงึ สมัยกงึ่ พระพุทธศาสนาแลว๑ เงาเจรญิ แหงพระพุทธศาสนาเริม่ ปรากฏแลว ชาว อศั ดงคตประเทศกําลังหันมาสนใจในพระพทุ ธศาสนามากขึ้น แตใ ครเปนตัวการตามทาํ นายน้ัน ยงั มไิ ดเ ปนทีป่ รากฏแกวงการพระพทุ ธศาสนา ขอใหคอยดูตอไปวาจะจริงเท็จแคไหน ถา คาํ ทาํ นาย เปนจรงิ ขนึ้ ก็แปลวา ชาวพทุ ธผใู หคําทาํ นายไวน ้ันมที ิพพจกั ขวุ เิ ศษทส่ี ุดไดแนๆ ทเี ดยี ว และตวั การ ในคําทํานายนน้ั จะเปนบุคคลที่นา อัศจรรยท ีส่ ดุ ของโลกสมัยใหมดว ย. ทนี ล้ี องหันไปพิจารณาเหตกุ ารณตามพุทธทาํ นายดูบา งวาเปน จรงิ เพียงไร จะไดนํามาให พิจารณาเฉพาะขอ ทีพ่ อจะมองเห็นความจริงได คําทาํ นายน้นั ปราชญทางภาคอิสานประพนั ธเ ปน คําโคลงและใชโ วหารเปนปริศนาโดยมาก ตองแปลความหมายถกู ตอง จึงจะทราบวาคําทาํ นายน้นั ถกู ตองกับความจริง คาํ ทาํ นายเรมิ่ ตนวา เมื่อพระพทุ ธศาสนาลวงไปถงึ ๒,๐๐๐ ปเ ม่ือไร เหตุการณต า งๆ แปลกประหลาดจะเกิดขน้ึ ในโลก คือภิกษใุ นพระพุทธศาสนาจะเกดิ นยิ มสะสมเงิน ทองซอ้ื จา ยขายกิน ลกู ศิษยจ ะไมยําเยงเกรงกลัวครูบาอาจารย คนแกค นเฒา จะถูกเดก็ ๆ เยาหยอก .......................................................................................................................................................... ๑. ถึงแลว คอื พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๑๖. ทพิ ยอํานาจ ๑๒๖
เลน ดั่งเพอ่ื นๆ หญงิ ชายอายุ ๑๓ ปส ามารถมีลูกได, ฟองนา้ํ จะกลายเปน รูปชางแผดเสยี งไปตาม ลําแมนํา้ หมายถงึ เรือยนตก ลไฟ, หินกอ นเบอ เรอ จะฟูน้าํ และไหลไปตามนํา้ ได หมายความวา จะมี วัตถุทาํ ดว ยหินลอยน้ําได หรอื อกี นยั หน่ึงคนซงึ่ เคยเปนผหู นกั แนน ในศลี ธรรมจะกลายเปนคนใจ เบา ผันแปรไปตามกระแสกเิ ลสซึ่งเปรียบดว ยหนองนํ้า, นักปราชญจ ะทําการทดน้ําตามหว ยหนอง คลองบึงบางตา งๆ จนทําใหนาํ้ ไมไหลเหมอื นแตก อน ในท่สี ุดที่ขังนา้ํ น้ันๆ กจ็ ะขาดเขินน้ําแหง ผาก ไป, คางคกจะรอ งขัดฝน๑ หมายความวามนุษยจ ะประดิษฐเ คร่ืองทําฝนเสียเองไมตองงอธรรมชาติ, ไสเ ดือนและปลากงั้ จะบนิ หมายความวาจะเกดิ มีสายโทรเลข โทรศัพท ซ่งึ มีลักษณะเหมอื น ไสเดือน และจะเกิดมีอากาศยานซงึ่ มีรปู ลักษณะคลา ยปลากัง้ บนิ บนได, หนจู ะทําฤทธิใ์ หแมวกลัว หมายความวาคนจําพวกหน่งึ ซงึ่ เคยออ นนอ มยอมกลัวผมู อี าํ นาจยิ่งใหญ จะเกิดความฮกึ หาญทาํ การใหค นผูย ่ิงใหญยอมกลวั ได, หมาจง้ิ จอกจะเหา ชา ง หมายความวา บคุ คลจาํ พวกหนงึ่ ซึ่งมี ลกั ษณะเหมือนหมาจงิ้ จอกจะเกิดหาญ กลา วตเิ ตยี นบุคคลผูม ีลกั ษณะเหมอื นชา ง, กุง จะกุมกนิ ปลาบึก หมายความวาคนโกงจะโกงกนิ คนดมี ีศลี ธรรม, ปลาซวิ จะไลก ดั จระเข จระเขจ ะหนไี ปซอน อยตู ามเงือ้ มผา หมายความวา คนใจเบาเหมอื นปลาซวิ จะทาํ การขับไลคนโตซ่ึงเปรียบเหมือนจระเข ใหตอ งหลบหลีกปลกี ตัวไปหลบซอนอยตู ามหุบผา ฯลฯ ลองพิจารณาดูซวิ า เปน จริงหรอื ไมใ น ปจจุบนั น้ี ทีน้ลี องหันมาพจิ ารณาดคู ําทํานายของบคุ คลยุคใหม ซึ่งพอจะรเู รอ่ื งกันไดอ ยูบาง คอื พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั รชั กาลที่ ๑ แหงกรงุ เทพฯ นี้ไดท รงพยากรณวา ความสุขสมบรู ณ ของพระราชวงศของพระองค จะดาํ รงอยูแค ๑๕๐ ป พอครบกําหนดกเ็ กดิ การปฏวิ ตั ิเปลย่ี นแปลง การปกครองเปน แบบประชาธปิ ไตย กษัตริยอ ยภู ายใตร ัฐธรรมนูญ ซ่ึงเปน กฎหมายสูงสุดของ ประเทศทันที เจา พระคณุ พระอุบาลคี ณุ ูปมาจารย (สิรจิ ันทเถระ จันทร) เมือ่ ไปสรา งวดั เขาพระ งาม ที่จงั หวัดลพบุรี สรา งพระพทุ ธรปู ไวบนไหลเขา ใหนามพระวา กึง่ ยคุ คือ ทานคิดวาในสมยั ก่ึง พระพทุ ธศาสนานัน้ พระพทุ ธศาสนาจะเจรญิ รุงเรอื งคลา ยกับสมัยพทุ ธกาล ทานพจิ ารณาดูชวี ติ ของทา นจะไมไดอ ยูเ ห็นสมยั นั้น แตคิดอยากทําอะไรไวเปนท่ีระลกึ สาํ หรบั กึ่งยคุ บา ง จงึ คิดคํานวณ นบั แตว ันตรัสรูมาจนถงึ เวลาทที่ า นสรา งพระพทุ ธรูปใหญนน้ั ครบ ๒,๕๐๐ ปพ อดี จงึ ไดจัดการ ฉลองและขนานพระนามพระพุทธรูปน้ันวา พระกึง่ ยคุ ในคราวมงี านฉลองวดั และพระพุทธรปู ใหญ นน้ั มีผูตอวาทา นวา มาสรางวัดไวในปาในดงใหญโ ต ตอไปจะมใี ครมาดูแลรกั ษา ทาํ เสยี เงนิ เสยี ทองไปเปลาๆ ทา นจึงกลาวตอบเปนคาํ ทํานายวา ตอ ไปไมนานสถานท่ีนจี้ ะมีบา นเมอื งคนอยูเต็ม มี ไฟฟาใชสวา งไสวทว่ั ไปแมกระทงั่ ในวัดน้ี ดังนี้ บัดน้เี หตุการณก ็เปนจรงิ ดงั ท่ีทา นทาํ นายไวทุก ประการ ทานเหลา นี้ตองมอี นาคตังสญาณอนั เปนสว นหนง่ึ ของทพิ พจักขุญาณแนๆ จงึ สามารถ ทราบเหตุการณล ว งหนา ไดเ ชนนน้ั . ชาวประมงที่ลงหาปลาในทะเล ขณะทเ่ี ขาลงดําน้ําหาปลาน้ัน ถาจะมีภัยจากปลาใหญ เชน ปลาฉลามหรอื ปลาหมอ เขาสงั เกตเหน็ คลื่นใตน้ําเปนทางมากอน ถา รีบข้ึนจากนาํ้ เสยี ทันทกี ็พน ภัย โดยนยั เดียวกันเหตกุ ารณใ หญๆ ทีจ่ ะมมี าในอนาคตยอมมเี งามากอ น ผมู ีตาดียอมสงั เกตเหน็ และ .......................................................................................................................................................... ๑. ฝนเทียม ทพิ ยอาํ นาจ ๑๒๗
คาดการณถ ูกตองดงั ตวั อยางท่ีใหไวแลว สว นเหตกุ ารณใ นอดตี ไกลน้ันยอมท้งิ เงาหรอื รองรอยไวใน วัตถุสถาน หรอื พน้ื ท่ีน้ันใหค นตาดีหย่งั ทราบไดเชนเดยี วกัน นักปราชญทางโบราณคดีผมู ีความรู เชยี่ วชาญ หยบิ วัตถุโบราณขึน้ มาช้ินหนง่ึ พิจารณาดอู ยคู รูเดียวกบ็ อกไดวาเปน ของทาํ ในสมยั ไหน ชนชาตใิ ดเปนคนทาํ การท่ีนักโบราณคดีทราบไดเ ชนน้นั นอกจากรปู ลกั ษณะและความนานของ วัตถุน้ันเปนเครื่องบอกแลว กระแสจติ ของผสู รางวัตถนุ น้ั ซง่ึ ยังตราติดอยกู ับวัตถุนั้นเปนเครื่องบอก อกี ดว ย คือพอสมั ผัสวัตถนุ ้ันเขา กระแสจติ อันตราติดอยกู ับวตั ถุก็แลนเขาสมั ผสั กับจติ ใจของผจู บั ตอ งทนั ที นักโบราณคดีซ่งึ เปนผูละเอียดลออ มีสมาธแิ นว แน จงึ สามารถรับทราบสัมผสั กระแสจิต น้นั มองเหน็ ภาพความเปนไปในอดตี อาจวาดภาพพสิ ดารกวางขวางไดดวย เราจึงรสู ึกแปลกใจใน การท่นี กั โบราณคดวี าดภาพเหตุการณข องบานเมืองในอดีตไดเปนคุง เปนแคว คลา ยไดเ ห็นมาดวย ตาตนเองฉะนนั้ ศาสตราจารยย อรชเซเดส ไดไปสํารวจเมืองอูทอง แรมคืนในที่น้ันเพยี งคืนเดยี ว เขาสามารถบรรยายภาพเหตุการณข องเมืองอูทองสมัยยงั ดี กบั สมยั เมืองแตก ใหเราฟง อยางกะ เขาไดเ ห็นกะตาของเขาเอง การทเี่ ปนไดเชนน้ันก็เน่ืองดวยความมีสมาธแิ นว แนของเขา สามารถ รับสมั ผสั กับกระแสจติ ของคนในอดตี ได ท้งั มองเห็นภาพทางใจคลา ยเหน็ ดวยตาธรรมดาอกี ดว ย เขาจงึ สามารถบรรยายภาพเหตกุ ารณในอดีตไดด ี และมสี ว นถูกตองตรงกบั ความจริงเปนสวนมาก ดังเปน ที่ยอมรบั รองความจริงทางประวตั ศิ าสตรน ั้นแลว นอกจากความรเู หน็ เหตุการณในสวนอดตี และอนาคตแลว ยังมีความรเู ห็นเปนสว นปจ จุบนั เฉพาะหนาอกี ดวย ผูมีจิตใจเปนสมาธิแนวแน จะสามารถรูเห็นเหตุการณอ ันจะเกิดขึ้นในวนั หนึง่ ๆ ไดล ว งหนากอ นที่เหตุการณน ั้นจะมาถงึ คลา ย ชาวประมงรจู กั คลนื่ ภยั จากปลาใหญใ นทะเลฉะน้นั เหตกุ ารณประจําวนั โดยมากเปน เหตกุ ารณ เล็กนอ ยไมสลักสําคญั ถา เปน เหตกุ ารณใ หญโ ตสลกั สําคญั จะมีเงามาปรากฏลวงหนา นานๆ ผมู ี ญาณจะเหน็ ภาพเหตกุ ารณน่ันลว งหนาแตเวลาเน่ินๆ ญาณทงั้ ๓ สวนนี้แหละเปนสวนประกอบ ของทิพพจกั ขุญาณ ฉะนั้น จะไดก ําหนดลักษณะญาณ ๓ ประการนไ้ี วพ อเปน ทสี่ งั เกตของผสู นใจ ศึกษา ดังตอ ไปนี้ ๑. อตีตังสญาณ ปรชี าหย่งั เห็นเหตกุ ารณในสวนอดีตกาลนานไกล มลี ักษณะใหม องเห็น ภาพเหตกุ ารณท ีล่ ว งมาแลวขึ้นในมโนทวาร แลวรวู า เปน เหตกุ ารณอ ะไร แตครง้ั ไหน บคุ คลผมู ี ญาณชนิดนเี้ ม่ือไปท่ีไหนจะทราบเร่อื งราวของท่ีนัน้ ในสมัยอดตี ตามความเปนจริง เหมือนตนเองได เห็นมา ถา เปน นกั ประวัติศาสตรจ ะสามารถเขยี นบรรยายเหตกุ ารณบ า นเมอื งนั้นๆ ในสมัยอดีตไดด ี เปนท่ีนา อัศจรรย เหตกุ ารณท ล่ี วงมาแลวนบั ตัง้ หลายพนั ป หรอื ยิง่ กวา ก็ตาม ภาพของเหตกุ ารณ น้นั ๆ ยงั เหลือตดิ อยูกับท่นี ั้นไมลบเลอื นไปตามกาลเวลา จิตใจของคนผูอยูอาศัยสถานที่น้นั ในสมยั น้นั เปนอยางไรก็ยอ มทิง้ กระแสใหตราตดิ อยกู บั วัตถุสถานหรอื พื้นภูมนิ ้ัน ไมลบเลือนไปงายๆ เชน เดียวกนั อนง่ึ บุคคลผเู คยอยูอาศยั สถานทีน่ ั้น แมตายไปแลว ตง้ั นานๆ วญิ ญาณของเขากย็ งั เฝา แฝงอยู ณ ทน่ี ้ันกม็ ี สง่ิ เหลานท้ี าํ ใหผ มู ีญาณสามารถเหน็ และรูส ึกทางมโนสัมผัสได จึงสามารถรู เรอ่ื งราวขนึ้ ได ขาพเจาขอใหขอ สงั เกตสําหรบั ผไู ดอ บรมจติ ในทางสมาธิเพ่ือกาํ หนดรูเหตุการณใ น อดตี ดงั ตอไปน้ี ทิพยอาํ นาจ ๑๒๘
ถาทา นไปพกั ณ ท่ีใด ถา ท่ีนัน้ เปน ท่ีซึ่งทานเคยอยอู าศยั หรอื เคยเกิดตายมาแลว เมอื่ ทา น ทําความสงบใจแมเ พียงขั้นอุปจารสมาธเิ ทา นั้น ภาพเหตกุ ารณในอดีตจะมาปรากฏเกิดขน้ึ ในมโน ทวาร เหมอื นภาพบนจอภาพยนตรฉะน้ัน แลว จะเกิดญาณหย่ังรูต ามภาพน้นั ข้ึนในลําดบั ถาไมร ู พึงกาํ หนดถามในใจวา เปนภาพอะไรเมื่อไร แลว ทาํ ความสงบตอ ไปใหเขา ถึงขีดขน้ั ของฌานท่ี ๔ แลว เคลือ่ นจิตออกมาเพียงขนั้ อุปจารสมาธิ กจ็ ะเกิดญาณหยัง่ รูขนึ้ ตามเปนจริง ถาทา นเปน ผเู ชี่ยวชาญทางจติ จะกินเวลาเพียงไมกีน่ าทกี ็ทราบเรื่องตลอด ถาท่ีน้ันมไิ ดเกย่ี วของกับชวี ิตของ ทา นในกาลอดีตมาเลย จะไมมีภาพเชน น้ันปรากฏขึ้นเอง ถาทานอยากทราบวา ในอดีตที่น้ันเคย เปนอะไร พงึ ทําความสงบใจถงึ ขนั้ อปุ จารสมาธิ แลวกาํ หนดถามในใจวา ท่นี ้ีเคยเปนอะไร แลวทํา ความสงบใจตอไปจนถึงขีดขั้นของฌานท่ี ๔ ย้งั อยใู นฌานพอสมควรแลว จึงเคลอื่ นจิตถอยออก มาถึงขั้นอปุ จารสมาธิ ภาพเหตกุ ารณในอดีตก็จะปรากฏขน้ึ ตามเปนจรงิ ถา ที่น้นั เคยเปนอะไรมา กอ นกจ็ ะปรากฏภาพ และจะเกิดญาณหย่งั รขู ้นึ ถา ยังไมรกู พ็ งึ ปฏบิ ตั โิ ดยนัยกอ นก็จะรูเรอ่ื งได. เพอื่ เปนประโยชนแกนักโบราณคดี และนักประวัตศิ าสตร จะไดสงั เกตและคน ความาเขียน เรอื่ งราวในสมยั ดกึ ดําบรรพของแหลมทองสูก ันฟง ประดับสตปิ ญ ญา จะวาดภาพแหลมทองในสมยั ๔,๐๐๐ ปก อนโนน ไว ดงั ตอ ไปนี้ นบั ถอยหลงั คืนไปจากปจจุบนั นี้ ประมาณ ๔,๐๐๐ ป แผน ดนิ ที่รกู นั วา สุวรรณภูมนิ ี้ มี อาณาเขตตัง้ แตฝ ง ตะวันออกของอาวเบ็งกอลไปจดฝง อาวตงั เกย๋ี ดา นเหนือสดุ จดถงึ เทอื กเขา หิมาลยั ดา นตะวนั ออกดา นใตจดถงึ ชวามลายู ดนิ แดนภายในเขตทกี่ ําหนดน้เี ปน ทอี่ ยูของชนชาติ เผาผิวเหลอื งหรอื ขาวใส รูปรา งสนั ทัดหนา รูปไข ผวิ พรรณละเอียดเกลี้ยงเกลามชี อ่ื เรยี กวา มงเกา คือชาติมงคลเกาน่นั เอง บาลีเรยี กวาอริยกชาติ เรียกเสยี ใหมว าอารยนั เกา ก็ได เพราะมีอารยนั ใหม เกิดข้นึ ทางอินเดียแลว แตเดิมน้ันชนชาตินมี้ ภี มู ิลําเนาอยแู ถบเชิงเขาหิมาลัย ดา นตะวันออก ตรง เหนอื อา วเบง็ กอล เมื่ออารยนั ใหมคอื ชนชาติผวิ ขาวหลง่ั ไหลลงมาจากดานเหนอื เขาหมิ าลยั ขาม ตรงที่ลาดต่าํ ของเขาหิมาลยั ดา นตะวันตก ยกเขา ครอบครองผนื แผนดินเหนอื อานเปอรเซยี แลวรน มาทางตะวนั ออกจนถึงใจกลางชมพูทวปี รุกไลเ จาของถิ่นเดมิ คอื ชนชาติผวิ ดําใหร นลงไปทางใต สุดของชมพทู วีป และรุกเบยี ดชาตมิ งเกา ใหร ดุ หนา มาสูสวุ รรณภมู ิย่งิ ข้นึ เม่ือชาติมงเกาเขามา ครอบครองสุวรรณภมู กิ ็ไดครองความเปน เจา เปนใหญทั่วไป เพราะมีวัฒนธรรมดกี วาเจา ของพืน้ ท่ี ซ่ึงเปน ชนชาตปิ า เถอื่ นท่ัวไป ไดม กี ารปกครองกันโดยระเบียบเรียบรอย เปนอาณาจักรหลาย อาณาจกั ร คือผนื แผนดนิ ท่ีเปน ประเทศพมามอญเดี๋ยวนี้ ดานตะวันตกจดอา วเบ็งกอล ดาน ตะวันออกจดถึงเขาธงไชย ดา นใตจดถงึ ฝง ทะเล ดา นเหนอื จดถงึ แดนภตู ันตะ เชิงเขาหิมาลยั มี ช่ือเรียกในครงั้ นัน้ วาสธุ รรมวดี มนี ครหลวงชือ่ สธุ รรมนคร ตงั้ อยูฝง ทะเลใตป ากอา วเบง็ กอลลงไป ท่เี รียกในบัดน้ีวา เมืองสะเทมิ ผืนแผน ดินทเี่ ปนแหลมยน่ื ลงไปในทะเล ต้งั แตเหนอื จงั หวดั นครปฐม ลงไปจนถึงชาวมลายอู าณาจกั รหน่ึง มีชื่อเรียกในครั้งนนั้ วา ศรีวชิ ัย มีนครหลวงชอื่ นครชัยศรี ตั้งอยู ท่ีฝง ทะเลตรงจังหวัดนครปฐมเดี๋ยวนี้ เปนเมืองทาคา ขาย ผนื แผนดินแถบเขาบรรทดั ดา นใต ตง้ั แต สดุ แหลมทองตะวันออกไปจนจดเขาธงไชยทางตะวนั ตก ดา นเหนอื ถงึ ทตี่ ้ังจงั หวัดอุตรดิตถเ ดย๋ี วน้ี ดานใตจ นเขตศรีวิชยั ราวเมอื งสุพรรณบุรี เปนอาณาจกั รหน่ึงมีชื่อเรียกในครงั้ นั้นวา ทวาราวดี มี ทพิ ยอาํ นาจ ๑๒๙
นครหลวงชือ่ สุรบุรี ตง้ั อยูฝง อา วทางตะวนั ออกใตพระพทุ ธบาทสระบรุ ีลงไปหนอ ยหนงึ่ เมอื งลพบุรี เวลานั้นเปนเมืองปากอา วภาคเหนือของประเทศไทยในปจ จุบนั และเลยข้นึ ไปจนถงึ ดินแดนท่ี เปนมหรฐั ตุงคราศรีเด๋ยี วนี้ เปนอาณาจกั รหนงึ่ มชี ือ่ เรียกในครงั้ นนั้ วาโยนก มีนครหลวงชือ่ ชยเสนะ ต้ังอยฝู งแมน ํ้าโขงตอนเหนือภาคอิสานของประเทศไทยในปจจบุ ัน และดินแดนทเี่ ปนประเทศลาว บัดน้ี เปนอาณาจักรหน่งึ มีชอื่ เรยี กในคร้ังนั้นวาพนม มีนครหลวงช่ือโพธิสาร ตัง้ อยูบนเกาะใน ทะเลสาบตรงท่เี ปน เมอื งสกลนครเดยี๋ วนี้ ผนื แผน ดินในท่ีลุม ราบของแมน้าํ โขงตอนบนดาน ตะวนั ออกเขาหมิ าลยั มที ะเลสาบใหญ ๒ แหง คอื หนองแส และกาหลง ดานเหนือจดเขาลา นชาง ดา นใตจดเขาลา นชอ ง ดานตะวันออกจดเขาอวายลาว ดา นตะวันตกจดแดนภูตันตะเปนอาณาจกั ร หนง่ึ มีช่อื เรยี กในครง้ั น้ันวา แถน มีนครหลวงช่อื เมอื งหนองแส หรือเมอื งแถน ตัง้ อยรู ิมทะเลสาบ หนองแส ภายหลังมาแยกเปนสองอาณาจักร ตอนใตเรียกชื่ออาณาจกั รวาแมน ตงั้ อยูฝง ทะเลสาบ กาหลง แมน ้ําสําคญั ของสองอาณาจกั รนี้ นอกจากแมน ํา้ โขงซึง่ ไหลผา นจากเหนอื ลงใตท างดา น ตะวนั ตกของอาณาจกั รแลว อาณาจกั รแถนมแี มน า้ํ ลูกยางไหลผา นไปตะวันออก ตกทะเลจีน สว น อาณาจักรแมนมีแมนา้ํ บง้ั ลมกบั บ้งั ไฟ ออกจากทะเลสาบกาหลงใหลไปตกทะเลกวางตุง อีก อาณาจกั รหนง่ึ ซ่ึงเปน ของชนชาตเิ ผา ผวิ เหลืองเหมือนกัน ต้ังอยูตรงผนื แผนดนิ สวุ รรณภูมดิ า น ตะวันออก มแี มนํา้ สาํ คัญคือแมนํ้าดําและแมน ํ้าแดง ออกจากเขาลานชองไหลไปตกทะเลตงั เกีย๋ ผืนแผน ดนิ ยาวไปตามชายทะเลจากเหนอื ลงใตถงึ ที่เปนประเทศเขมรบัดน้ี เรียกชอื่ อาณาจกั รใน คร้ังน้ันวาจลุ ลณี หรอื ณีเฉยๆ มนี ครหลวงช่อื อารวี หรอื วีเฉยๆ สมัยหลงั ตอ มาเรยี กเมอื งหลานาํ้ ประชาชนชาตเิ ผา ผวิ เหลืองในอาณาจักรดงั กลาวท้งั หมดนพี้ ูดภาษาเปนคาํ พยางคเ ดียวโดดๆ แต ละคํามีความหมายตายตวั เปนถอยคาํ ฟง เขา ใจงายและไพเราะสละสลวย มีหลกั ภาษาเปน ระเบยี บ แบบแผน เปนภาษาเดยี วกนั กบั ชนชาติเผา ผวิ เหลอื ง ซึง่ ยงั อยู ณ ดินแดนเดมิ แถบเชิงเขาหมิ าลยั เหนอื อา วเบ็งกอลขึน้ ไป ในสมัยพุทธกาลหมอชวี กโกมารภจั จไปทลู ลาพระผมู ีพระภาคเจา ไปอยใู น ราชสํานักพระเจากรุงศรีวิชยั ในสุวรรณภูมนิ านถงึ ๑๒ ป ครั้นกลบั ไปกรุงราชคฤห ประเทศมคธ แลวไดไ ปเฝา พระผูมพี ระภาคเจากราบทลู สนทนาดว ยภาษาชาวสุวรรณภมู ิ ซง่ึ พระผูมพี ระภาคเจา ก็ตรัสดวยไดอ ยา งสนกุ สนาน หมอชีวกหลากใจจงึ กราบทลู ถาม ตรสั ตอบวาเปนภาษากาํ เนดิ ของ พระองคเ อง ชาวศากยะพูดกนั ดว ยภาษานี้ หมอชีวกจึงกราบทูลชมวาเปน ภาษาไพเราะสละสลวย ฟง เขา ใจงา ย แตละคํามคี วามหมายตายตวั หลังพุทธปรนิ พิ พานตอ มาประมาณ ๓๐๐ ปเ ศษ พระ โสณเถระกบั พระอุตรเถระเปนหัวหนา คณะ ถกู จดั สงมาทาํ การเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาในสวุ รรณ ภูมิ ทา นขามอา วเบ็งกอล ข้นึ บกทีเ่ มอื งสธุ รรมนคร ประเทศสธุ รรมวดี เดนิ มาสูนครชัยศรี ประเทศ ศรีวิชัย แลว เลยี บอา วขึ้นมาลพบุรี สรุ บุรี ประเทศทวาราวดี ขน้ึ เหนือไปโดยลาํ ดับถงึ ประเทศโยนก ซ่งึ มเี มืองชยเสนะเปนราชธานี ที่ทราบกันในภายหลงั นวี้ า เมืองเชยี งแสน แลว ลอ งลงไปตามลํา แมน้ําโขงถึงประเทศพนม ซึ่งมีเมอื งโพธิสารเปนราชธานี ไดยับยงั้ ทําการอยปู ระเทศนี้นาน พระพทุ ธศาสนาเจริญรงุ เรอื งในประเทศนี้มาก ไดจ ัดสง ปราชญแหงประเทศนีไ้ ปทําการเผยแผ พระพทุ ธศาสนายงั อาณาจักรแถน แมน และจลุ ลณี จนถงึ อาณาจกั รจนี เปนทีส่ ดุ พระพุทธศาสนา ไดหยง่ั รากฐานลงในดินแดนสวุ รรณภูมิต้งั แตพ ทุ ธศตวรรษที่ ๔ เปนตนมาจนถงึ ปจจุบันบัดน้ี ทิพยอํานาจ ๑๓๐
ประชาชนเผาผิวเหลืองดเู หมอื นจะถอื วา เปนพระศาสนาของพระมหามนุ ี แหง เชือ้ ชาตขิ องตนเอง ซ่งึ จะละทงิ้ เสยี มิไดท ีเดียว. ๒. อนาคตงั สญาณ ปรชี าหยง่ั เห็นเหตกุ ารณใ นอนาคตไกล มลี กั ษณะมองเหน็ ภาพ เหตุการณอนั จะมใี นอนาคตซึง่ ปรากฏชดั ในมโนทวาร แลวหยั่งรวู าเปนเหตกุ ารณอะไร จะเกิดขนึ้ เมอ่ื ไร ณ ที่ไหน บุคคลผูมีญาณชนดิ น้ีสามารถพยากรณเหตุการณอนาคตไดแ มน ยําดจุ ตาเห็น ดัง สมเดจ็ พระบรมศาสดาทรงพยากรณวา บา นปาฏลีจะเปน ทแ่ี กห อสนิ คา ในอนาคต และจะเปนมหา นครเจรญิ รุง เรือง ซง่ึ ตอมาไมนานกเ็ ปนจรงิ ดังพยากรณ ทุกวันนกี้ ็ยังคงเปนเมืองทาทส่ี าํ คัญแหง หน่ึงของอนิ เดยี คอื ปฏนา ซ่งึ แตก อ นเรยี กวาเมอื งปาฏลบี ุตร เปนนครหลวงของอินเดีย รุง เรอื ง ที่สดุ ในสมยั พระเจาอโศกมหาราชครองชมพทู วีป ไดทรงพยากรณว า พระอานนทจ ะทรงบรรลุภมู ิ พระอรหันตใ นวันเร่มิ ทาํ ปฐมสังคายนา กส็ มจรงิ ดงั ทรงพยากรณ ไดทรงพยากรณเหตุการณ เก่ยี วกบั พระศาสนาของพระองคไวห ลายเรอื่ งหลายตอน ระบุช่อื บุคคลผูจ ะเปน หวั หนา ทํา สงั คายนาไวถูกตอ งหมดทุกคร้งั ท้งั ๓ ครง้ั ท่ีทําในชมพูทวปี ทรงพยากรณเ หตกุ ารณของพระ ศาสนาในสมัย ๒,๐๐๐ ปไวก ็ถกู ตอ ง และทรงพยากรณเ หตกุ ารณข องโลกไวก ถ็ กู ตอ งมาแลวเปน สว นมาก ดังไดเลา ไวในเบือ้ งตนของเร่อื งนี้ พระมหาโมคคลั ลบี ุตรตสิ สเถระเลง็ เห็นวา ตอไปเบือ้ ง หนา พระพุทธศาสนาจะอนั ตรธานจากชมพูทวีป ขอพระบรมราชูปถมั ภจัดสง พระเถระไปทําการ เผยแผพระพุทธศาสนายังนานาประเทศ เหตกุ ารณกเ็ ปน จรงิ ตามนัน้ ในเมอ่ื พระพุทธศกั ราชลวงได พันปเ ศษ ประเทศอินเดียตองสูญจากพระพทุ ธศาสนามาประมาณเกอื บพันป เราตองเปนหน้ีปรีชา ญาณสว นนีข้ องพระมหาโมคคัลลีบตุ รตสิ สเถระอยา งมากมาย มคี ําทาํ นายวา สมยั กงึ่ พระพทุ ธศาสนาจะมขี ึ้นถงึ ขีดสงู สดุ คลายสมัยพุทธกาล จะมีผูบรรลุมรรคผลนพิ พานถงึ ภูมพิ ระ อรหันต เชย่ี วชาญทางอภญิ ญา และพระมหาเถระโพธสิ ตั วผ มู ีบญุ ญาภนิ หิ ารในสุวรรณภมู ิจะไดร ับ เกียรตเิ ปนประธานาธบิ ดสี งฆส ากล จะทาํ การเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาไปทว่ั โลก ต้งั ตนทีอ่ ินเดียไป ยุโรปและอเมรกิ า มหาชนชาวโลกจะหันมานับถือพระพทุ ธศาสนาเปน อันมาก โลกจะรม เย็นเปน สุขดว ยรม เงาของพระพุทธศาสนา ดงั นี้ ขา พเจา ไดเรยี นถามพระอาจารยภรู ทิ ตั ตเถระ (มั่น) วาคํา ทาํ นายโบราณนจี้ ะเปนจริงไหม ทานวา เจาพระคุณพระอุบาลีคณุ ูปมาจารย (สริ จิ ันทเถระ จันทร) บอกวาจรงิ เม่ือขาพเจา ถามถึงความเห็นเฉพาะตัวของทาน ทา นก็บอกวาเปน จรงิ เวลานีก้ ็จวนถงึ แลว เราคอยดตู อ ไป. วธิ ีการกําหนดรูเหตกุ ารณใ นอนาคต สําหรบั ผูอ บรมจติ ใจน้นั เปน ดงั นี้ เมื่อตอ งการอยาก ทราบเหตุการณในอนาคตของโลก ของพระศาสนา หรอื ของตนเอง พงึ ทําความสงบใจถงึ ขน้ั อปุ จารสมาธิ แลว นกึ ถามข้นึ ในใจวาจะมเี หตกุ ารณอ ะไรเกดิ ข้ึนแกโลก แกพระศาสนา หรอื แก ตนเอง แลวพึงทาํ ความสงบตอ ไปจนถึงขดี ขนั้ ของฌานท่ี ๔ แลว พึงเคลือ่ นจติ ถอยออกมาถงึ ข้ัน อปุ จารสมาธิ ถาเหตุการณอะไรจะมีข้ึนก็จะปรากฏภาพเหตกุ ารณน ้นั ขึน้ ในมโนทวาร จะเกิดญาณ หย่งั รูขน้ึ ในลําดบั นน้ั ดว ย แตถา ไมรพู งึ กาํ หนดถาม แลวเขาสูความสงบดังวธิ ที ่กี ลา วแลว ในขอ อตตี ังสญาณนั้น ก็จะทราบได ทานผูเชีย่ วชาญทางจติ ใจอาจรเู หน็ ไดโดยมิตอ งทาํ การกาํ หนดรูดังที่ วาน้ี เพราะจติ ใจของทานบริสุทธ์แิ จม ใสประดจุ กระจกเงาบานใหญ เหตุการณอะไรจะเกิดขึน้ ที่ ทพิ ยอํานาจ ๑๓๑
ไหน เมือ่ ไร จะมีเงาปรากฏทจ่ี ิตใจของทา นเสมอไป บางทานอาจใชว ิธอี ธิษฐานไววา ถาจะมี เหตกุ ารณอะไรเกิดขึ้นขางหนา จงปรากฏใหทราบลว งหนา เมอื่ ถงึ เวลาใกลเหตุการณจ ะเกดิ ขึน้ เงา ของเหตกุ ารณจ ะมาปรากฏท่จี ติ ใหท า นทราบดังนี้ก็มี แตบางทานเกรงวา การกาํ หนดรกู ด็ ี การ อธิษฐานไวก ็ดี จะทําใหเ กดิ สัญญาลวงขนึ้ ได จึงไมย อมทาํ อะไรอยา งอืน่ นอกจากการทําการชําระ จิตใจใหบ ริสุทธิ์ผอ งใสไวป ระดุจเงาบานใหญ ใหเ งาเหตุการณม าปรากฏขนึ้ เอง. ๓. ปจจุปนนงั สญาณ ปรชี าหยงั่ รหู ย่ังเหน็ เหตุการณในปจ จุบัน มลี กั ษณะใหม องเห็นภาพ เหตกุ ารณอ ันจะเกิดขึน้ ในระยะกาลใกลๆ และรไู ดวา เปนเหตกุ ารณอ ะไร จะเกดิ ขน้ึ ท่ีไหน อยา งไร กบั มลี กั ษณะใหม องเหน็ เหตุการณจ ําเพาะหนาไดแ จม แจง มีปฏภิ าณทนั เหตกุ ารณน ั้นๆ ดว ย บคุ คลผูมีญาณชนิดน้จี ะสามารถนาํ ชีวติ ผา นเหตุการณทีน่ าหวาดเสียวไปไดอยางนาอศั จรรย ซึ่งไม นกึ ไมฝ น วา จะเปน ไปได จะมปี ฏิภาณทนั กบั เหตุการณท กุ ครั้งไป เหตุการณท จ่ี ะมขี ึ้นในชวี ิต ประจําวนั ยอมปรากฏเปนภาพนิมติ ในขณะหลบั หรอื ในขณะทําสมาธิ มลี ักษณะที่พึงสาํ เหนียก ดังตอไปน้ี (๑.) กามคุณ คือลาภผลสกั การะ มักจะปรากฏภาพนมิ ติ เปน ภาพสตรี เดก็ ดอกไม มือ อจุ จาระ นํ้าหลาก ข้นึ ในมโนทวารขณะทําความสงบใจ หรอื มิฉะน้ันกใ็ นขณะหยงั่ ลงสคู วามหลับ ถา ภาพท่ีเห็นเปนสง่ิ ประณีตบรรจง ลาภผลสักการะท่ีจะบงั เกิดกป็ ระณีตบรรจง ถาเปน ภาพส่งิ สกปรกลามก ลาภผลสักการะท่ีจะบงั เกดิ ก็สกปรกเศราหมอง ถาเปนภาพน้ําหลากจะเกิดลาภผล สกั การะเหลือเฟอ ถาในขณะท่ภี าพนมิ ิตปรากฏนัน้ ใจสะเทือน แสดงวา จะเกิดความยนิ ดียินรายใน ลาภผลสักการะ ถาใจเฉยๆ ก็จะมอี เุ บกขาธรรมในอารมณค ือลาภผลสักการะนนั้ . (๒.) นนิ ทา ปสงั สา คือความนินทาและสรรเสรญิ เม่ือจะเกดิ ข้นึ มักจะปรากฏเปนภาพชาง เย่ยี มหนา ตา ง สองกระจก หรือมองเห็นหนา ตาตวั เอง ขึ้นในมโนทวารขณะทาํ ความสงบใจหรือ ขณะหยงั่ ลงสูค วามหลับ ถา ปรากฏวา ใจสะเทือนตอภาพนมิ ติ นนั้ แสดงวาจะเกิดความยนิ ดยี ินรา ย ในนินทาหรอื สรรเสริญนั้น ถาใจเฉยๆ แสดงวาจะมอี เุ บกขาธรรมในนินทาและสรรเสรญิ . (๓.) สุขัญจทุกขงั คือความสุขและความทกุ ขจ ะเกิดข้นึ มักจะปรากฏภาพนมิ ติ เปน อากาศ โปรง ที่อยสู วยงาม นํา้ พุพงุ เปน ฝอย แสดงวา จะอยูเย็นเปนสุขสบาย ถาภาพนมิ ิตปรากฏเปน ภาพ ลุยโคลนตม เดินทชี่ ื้นแฉะ นอน แตงตัวดวยอาภรณใ หมๆ ปลงผม กินอาหาร แสดงวา จะเกิด เจ็บปว ยไมผ าสกุ สบายขึ้น ถาปรากฏวา ใจสะเทือนตอ ภาพนิมิตแสดงวาจะเกดิ ความยนิ ดยี ินรายใน สุขและทกุ ข ถา ใจเฉยๆ แสดงวา จะมอี เุ บกขาธรรมในสุขและทกุ ขน ้นั . (๔.) กิจจากจิ จงั คือการทาํ ส่งิ เปนประโยชนแ ละไรประโยชนจ ะเกิดขึน้ มักจะปรากฏภาพ นิมติ เปนภาพเดนิ บนสะพาน เหน็ รั้วเห็นสะพาน เหน็ กาํ แพง ขา มรั้วกาํ แพง มสี ิ่งขวางหนา แสดง วา จะไดทํากจิ เปน ประโยชนหรือไรประโยชนตามลกั ษณะนิมติ นัน้ ถา ใจสะเทอื นในขณะภาพนิมติ ปรากฏแสดงวาจะเกดิ ความยนิ ดยี ินรา ยในการทํากิจ ถาใจเฉยๆ แสดงวา จะมีอุเบกขาธรรมในขณะ ทาํ กจิ นนั้ ๆ. (๕.) ยสายสงั คือความมยี ศและความไรยศจะเกดิ ขึ้น มักปรากฏภาพนมิ ิตเปน ภาพไตภูเขา ปน ที่สงู ขั้นบันได ขึ้นปราสาท ขึ้นเจดีย แสดงวาจะไดย กยองเชิดชูไวในตําแหนง หรือเกียรติ ถา ทพิ ยอํานาจ ๑๓๒
ปรากฏภาพวา ไตปา ยปนหรือขนึ้ ท่ีนน้ั ๆ ดว ยความลําบากและล่นื ไถลพลัดตกลง แสดงวา จะเสอ่ื ม ความยกยอ งในตําแหนงหรือเกยี รติ หรอื ถึงกบั เสียยศเสยี ศกั ดิท์ เี ดียว ถา ใจสะเทือนในขณะปรากฏ ภาพนมิ ติ จะเกิดความยนิ ดียินรา ยในยศหรอื อยศน้นั ถาใจเฉยๆ กจ็ ะมอี เุ บกขาธรรมในยศหรืออ ยศทีเ่ กิดขนึ้ น้ัน. (๖.) ชยาชยัง คอื ความมีชยั -ปราชยั จะเกิดขึ้น มักจะเกดิ ภาพนิมิตเปน ภาพพายเรือในนาํ้ หรอื บนบก ลอยคอในนาํ้ ถา พายเรือในนํา้ จะปราชยั ถา พายเรอื บนบก หรือลอยคอในน้ําจะไดชยั ชนะ ถา ในขณะปรากฏภาพนมิ ิตนนั้ ใจสะเทอื นก็จะเกิดความยนิ ดยี ินรายในชัยชนะหรอื ปราชยั ถาใจเฉยๆ กจ็ ะมีอุเบกขาธรรมในชัยชนะหรอื ปราชยั นัน้ . ไดน ําลักษณะภาพนมิ ติ และการตคี วามหมายมาไวใหสงั เกตเพยี งบางสว น ผสู นใจพึงศกึ ษา สาํ เหนยี กดวยตนเองก็จะทราบไดด ี ขอสําคญั อยา ตง้ั ความรงั เกยี จและอยา ติดนิมติ อันเกดิ ข้นึ พึง วางใจเปนกลางแลวศกึ ษาสาํ เหนยี กเพ่อื รูเทาทนั ก็จะเกิดญาณในสว นปจจุบันอยา งดใี นกาลตอไป. เม่ือไดทาํ ความเขา ใจลกั ษณะญาณในกาลทัง้ ๓ กาลอนั เปนสว นประกอบทิพพจักขญุ าณ ฉะนี้แลว พึงทําความเขาใจลกั ษณะทิพพจกั ขญุ าณโดยเฉพาะตอ ไป ทิพพจกั ขญุ าณมีลกั ษณะเห็น รูปทพิ ยท้ังปวง คอื เหน็ เทพเจา ตง้ั แตภาพพืน้ ดนิ ขึ้นไปจนถงึ พรหมโลก เหน็ สิง่ ในระยะไกล คือมอง ทะลไุ ปในสากลจักรวาล เห็นสิง่ ลี้ลับคือสิง่ มอี ะไรกาํ บัง เหน็ สภาพจติ ใจของบุคคลอนื่ สตั วอ ื่น มี รายละเอยี ดดังตอไปนี้ ๑. เหน็ รูปทิพย คอื เทพเจา นนั้ มีลกั ษณะการเห็นเชนเดยี วกับเห็นดวยจักษธุ รรมดา เม่ือ เทพเจามาหารอื วาไปพบเขา ณ ทใ่ี ดๆ ผมู ที ิพพจกั ขยุ อ มเห็นและพูดจาสนทนากับเขาได เชนเดยี วกบั เห็นคนและพูดจาสนทนากบั คนไดฉะน้ัน สว นการเห็นผีน้ัน แมผ มู ีฌานจกั ษุกอ็ าจเหน็ ได ไมต องถงึ มีทพิ พจกั ข.ุ รปู ทพิ ย เปนรูปทผี่ องแผว ใสสะอาดเหมอื นแกว และเบาวอ งไว มีรศั มีสวา งรงุ เรืองเปน ปริมณฑล ท่ีเรียกวา สวา งท่ัวทศิ ในสํานวนบาลี เพราะเปนรูปสาํ เรจ็ ดวยใจหรือสญั ญาของเขา ผมู ี ทิพพจกั ขทุ ่บี ริสุทธิ์ผอ งใสเทา นัน้ จงึ จะเหน็ รปู ทพิ ยไ ด ขณะทเ่ี ทพเจา มาปรากฏกายเฉพาะหนา น้นั จะมรี ศั มสี วา งรงุ เรืองมากอน ครนั้ แลว ก็จะเห็นเทพเจา โดยรปู ลักษณะสสี ันวรรณะตาม บญุ ญานุภาพของเขา เหมอื นเห็นคนในท่เี ฉพาะหนา ฉะนัน้ เม่อื เขามีกิจธรุ ะอะไร เขาก็จะรบี บอก ใหทราบ เพราะเขาอยไู มน าน และอยากจะทราบอะไรจากเขา หรือมกี จิ ธุระอะไรทีจ่ ะพูดกบั เขาก็ ตองรบี พูด พดู เสรจ็ ธุระเขาจะลาและหายวับไปทันที การท่ีเทพเจา ไมสามารถยง้ั อยไู ดน านในแดน มนุษย ก็เพราะทนกล่ินไมไ หว แตถา มาหาผูมีศีลบริสทุ ธ์แิ ลวคอ ยยังชัว่ เพราะกลิน่ ศลี กลบกลนิ่ สาบของมนษุ ยไดบาง ดังคําวา สลี คนฺโธ อนุตฺตโร กลนิ่ ศลี เยี่ยมกวากลน่ิ ทง้ั หลาย มจี ันทนแ ละ กฤษณาเปนตน เพราะหอมทวนลมไปไดไกล แลว มานมสั การและฟง ธรรมตามเวลาอนั ควร ดังเทพ เจา ไปเฝา ฟงพระธรรมเทศนาหรือถามปญ หากะพระบรมศาสดาฉะนัน้ วธิ ีฝก ฝนจติ เพื่อใหเกิด ญาณทสั สนะรเู หน็ เทพเจา ไดน้ัน ตรัสเรียกวา อธเิ ทวญาณทสั สนะ และตรัสยนื ยนั วา เมอ่ื อธิเทว ญาณทัสสนะของพระองคย ังไมบรสิ ุทธแ์ิ จมใสเพียงใด ยังไมทรงปฏิญาณวาตรัสรูพระอนตุ ตรสัมมา สัมโพธญิ าณเพียงนัน้ ตอ เม่ืออธิเทวญาณทัสสนะของพระองคบ ริสุทธผ์ิ อ งใสดแี ลว จงึ ทรงปฏญิ าณ ทิพยอาํ นาจ ๑๓๓
วา ตรสั รพู ระอนตุ ตรสัมมาสมั โพธญิ าณ จะไดน าํ วธิ ฝี ก เพอ่ื อธเิ ทวญาณทัสสนะมาตง้ั ไวพ อเปน แนวทางปฏบิ ัติของผูใครปฏิบัติ ดังตอไปน้ี พระผมู ีพระภาคเจา เม่อื คราวประทับตาํ บลคยาสสี ะ ไดต รสั เลา วธิ ีฝก สมาธเิ พือ่ อธิเทว- ญาณทสั สนะไวว า (๑.) เมอ่ื พระองคย งั เปน โพธสิ ัตวกอนหนา ตรสั รู ไดรูจักโอภาส (คอื แสงสวางทางใจ) แตไ ม เห็นรปู ทง้ั หลายได จงึ ทรงต้ังความมงุ หมายเพ่ือเห็นรูป. (๒.) เมือ่ พากเพียรไป ไดเห็นรปู ดังพระประสงค แตไ มสามารถยับย้งั สนทนาปราศรัยกับ เทพเจา ได จึงทรงต้งั ความมงุ หมายเพ่ือสามารถยับย้ังสนทนาปราศรัยกับเทพเจา. (๓.) เมอ่ื พากเพยี รไป ไดสามารถยบั ยัง้ สนทนาปราศรยั กบั เทพเจา ได แตไ มท ราบวา เทพ เจาเหลาน้ันมาจากเทพนิกายใด จึงทรงตงั้ ความมงุ หมายเพ่อื ทราบ. (๔.) เม่อื พากเพยี รไป ไดทราบเทพเจา เหลา น้ันวามาจากเทพนกิ ายนี้ เทพนิกายโนน สม ปรารถนา แตไมท ราบวา ไดเปนเทพเจา ดวยกรรมอะไร จึงทรงตงั้ ความมงุ หมายเพอ่ื ทราบ. (๕.) เม่อื พากเพยี รไป ก็ไดท ราบตามความมุงหมายขอ ๔ แตยังไมทราบวา เทพเจาเหลา นั้น มอี าหารอยา งไร เสวยสุขทกุ ขอยา งไร จงึ ตั้งความมงุ หมายเพือ่ ทราบ. (๖.) เมอื่ พากเพยี รไป ไดทรงทราบตามความมุงหมายขอ ๕ แตย งั ไมทราบวาเทพเจา เหลานนั้ มอี ายุเทาไร จะดาํ รงอยนู านเทาไร จึงทรงต้ังความมงุ หมายเพ่ือทราบ. (๗.) เมอ่ื พากเพียรไป ไดท ราบความมุงหมายขอ ๖ แตยังไมทราบวาเทพเจา เหลา นั้นเคย อยรู ว มกับพระองคม าหรือไม จึงทรงตง้ั ความมุง หมายเพ่ือทราบ. (๘.) เพอ่ื พากเพียรไป ก็ไดท รงทราบตามความมงุ หมายขอ ๗ น้ันสมดังปรารถนา. แลวตรสั ย้าํ ในท่ีสุดวา ภกิ ษทุ งั้ หลาย! อธเิ ทวญาณทัสสนะมปี รวิ ัฏ ๘ ประการน้ียงั ไมบริสุทธ์ิ ดีเพยี งไร เราก็ยังไมไดต รสั รูพระอนตุ ตรสัมมาสัมโพธิญาณเพยี งนน้ั เมือ่ ใดอธเิ ทวญาณทัสสนะมี ปริวฏั ๘ ประการนี้บรสิ ุทธด์ิ ีแลว เมอ่ื นั้นเราจึงไดต รสั รพู ระอนุตตรสมั มาสมั โพธญิ าณแจง ชัด ญาณทัสสนะไดเกดิ แกเ ราวา เจโตวมิ ตุ ตขิ องเราไมกําเรบิ ชาตนิ ้ีเปน ชาติสดุ ทาย ภพใหมไ มม อี กี ดังน้ี รวมใจความของวธิ ีตามท่ีตรสั น้ีไดวา ก. ทําใหเกดิ โอภาส คือแสงสวาง โดยวธิ ีดังจะกลาวขา งหนา. ข. ดํารงสมาธิไวใ หไดนานท่สี ุดที่จะนานได. ค. สาํ เหนยี กเพอื่ รูเรือ่ งควรรูเกี่ยวกบั เทพเจานนั้ จนรูหมดทุกประการ. เมอื่ มีอธเิ ทวญาณทัสสนะ ๘ ประการนีแ้ ลว ชือ่ วา มีทิพพจกั ขุ เห็นรปู ทพิ ยได. ๒. เห็นสิง่ ในระยะไกลนั้น ไดแกมคี วามสามารถแผรัศมคี วามสวางทางใจ ไปทวั่ สากล จกั รวาล แลว มองเหน็ สิ่งทม่ี ีอยภู ายในรศั มแี สงสวา งนั้น โลกธาตุมอี ยู ณ ท่ีใดๆ กม็ องเห็นหมด รูปลกั ษณะสณั ฐานของโลกเราน้ีกม็ องเหน็ ไดช ัด เหมอื นมองเห็นสงิ่ เลก็ นอ ยบนฝามอื ไดฉะน้นั สภาพบา นเมือง ถนนหนทาง ถ้ําภูเขาเลากาหรอื พ้นื ภมู ิประเทศซึง่ ยังไมเ คยไปเห็นเลยก็จะมองเห็น ตรงกบั สภาพที่เปนจรงิ ทกุ ประการ พระบรมศาสดาเสดจ็ ไปท่ีไหนไมตองตรสั ถามทาง และไปถกู ก็ ดว ยญาณชนดิ น้ี พระกมั มฏั ฐานรนุ เกา พวกหนง่ึ ฝกหัดเดินธุดงคไปในที่ตา งๆ ไมยอมถามถึงหนทาง ทพิ ยอาํ นาจ ๑๓๔
ท่ีจะไป ใครจ ะไปท่ีไหนกก็ ําหนดในใจแลวไป ชั้นแรกจะหลงทางวนเวียนปว นเปยนไปมา แตก ็ อดทนเอา ในที่สุดก็จะเกดิ ญาณทางดวงใจ รจู ักทางไปกําหนดทิศทางไดแ มนยาํ เดนิ ลดั ตดั ตรงไปสู ท่ีหมายปลายทางไดด กี วา คนธรรมดาท่ชี ํานาญทางในทางนั้นเสียอีก จนถงึ บางทา นมีคนเลา ลือวา ยนหนทางได ซง่ึ เปนฤทธ์ิประการหนงึ่ แตความจริงเปนเพยี งรจู ักทางลดั ตัดตรงเทาน้นั . ๓. เหน็ สงิ่ ลล้ี บั ไดน้นั คอื สามารถมองทะลเุ ครอ่ื งกดี ขวางกําบังได เชน ฝา กาํ แพง ภเู ขา หรอื วัตถใุ ดๆ ก็ตาม แลวมองเหน็ ส่งิ ซ่งึ ตอ งการเหน็ อันซอ นเรนปดบังในภายในเครอื่ งกาํ บงั นั้นๆ ความสามารถในการนส้ี ําเร็จขึ้นไดดว ยอํานาจใจบริสทุ ธ์ผิ ดุ ผอง ปราศจากเครอ่ื งหมองมวั ในภายใน ใจเชนน้ันยอ มเปนที่ตั้งแหงทิพยอนิ ทรียอ ยา งดี ธรรมชาตใิ จยอ มไปไดใ นทที่ งั้ ปวง ไมม ีติดขดั เม่อื ไปไดในทท่ี ้ังปวงไมต ดิ ขัด กย็ อมเห็นไดในทท่ี ง้ั ปวงไมตดิ ขัดเชนเดยี วกัน ฉะนัน้ จึงสามารถเห็นสิง่ ล้ี ลบั ไดในเมอื่ ประสงคจะดู แตธรรมดาผกู า วข้นึ สูภูมิศีลธรรมอันดีจนถงึ มที ิพพจกั ขนุ ้ี ยอ มไม ปรารถนาดซู อกแซกไปในสง่ิ ท่ไี มค วรดูควรเห็น ไมเ หมือนคนธรรมดาผูไมมตี าชนิดน้ี มักจะ ปรารถนาเหน็ ในส่งิ ทไ่ี มควรเห็น เหมอื นเด็กๆ ชอบดูอะไรตออะไรซอกแซก แตครั้นบรรลคุ วามเปน ผใู หญแ ลวนสิ ยั ชอบดอู ยางเด็กๆ น้ันกห็ ายไปฉะนนั้ . ๔. เหน็ จติ ใจของคนอื่นได คือสามารถมองเหน็ ลกั ษณะสภาพจิตใจของคนอื่น สัตวอ ื่น ถกู ตองตรงกบั ความจรงิ จิตใจของบุคคลธรรมดายอ มประกอบดวยรูปลกั ษณะแสงสี๑ และกระแส อนั เปนวสิ ยั แหงทิพพจกั ขไุ ดด ังนี้ ก. จติ สัมปยุตตดวยราคะ มีรปู ลกั ษณะยัว่ ยวน ประกอบดว ยสแี ดงสดหรือสเี หลอื งสม มี กระแสสมั ผสั อบอุน ยวนใจ. ข. จติ สมั ปยตุ ตดวยโทสะ มรี ูปลกั ษณะนากลวั ประกอบดวยสีแดงเขมหรอื เหลอื งแก มี กระแสสมั ผสั เรารอน กดขม ใจ. ค. จิตสัมปยุตตดวยโมหะ มีรูปลกั ษณะนาเกลียด ประกอบดว ยแสงสีมวั สีดาํ หรอื สเี มฆ มี กระแสสัมผสั รอนอบอา ว อดึ อัดใจ. ฆ. จิตสมั ปยตุ ตดวยคุณธรรม มีศรัทธา ศีล เปนตน มีรปู ลกั ษณะนานิยม ประกอบดว ยแสง สสี วางสดใส มีกระแสสัมผสั ชนื่ ๆ เยน็ ๆ เบาใจ. ง. จติ สัมปยุตตดว ยสมาธิ มีรูปลกั ษณะนา เคารพเกรงขาม ประกอบดวยแสงสวางเปน ประกายสดใส มีกระแสสัมผสั ดดู ดมื่ ชุมช่ืน เย็นใจ. จ. จิตสมั ปยุตตด ว ยปญญา มรี ปู ลกั ษณะนาบชู า ประกอบดวยแสงสวางเปน ประกายแวว วาว มกี ระแสสัมผสั จงู ใจ โปรง ใจ. ฉ. จติ สมั ปยตุ ตดวยวมิ ุตติ มรี ูปลกั ษณะนา ทศั นา ประกอบดว ยแสงสวา งแจม จา เปน ประกายผอ งแผว มกี ระแสสัมผัสซาบซา น เฟอ งฟูใจยง่ิ . รูปลกั ษณะ แสงสี และกระแสของจิตใจตามท่ีกลาวนี้เปน เพยี งสังเขป กําหนดไวพ อเปน แนวสงั เกตศึกษาของผูสนใจในทิพพจักขญุ าณ ผูมที พิ พจักขุญาณมองเห็นจติ ใจของคนของสตั วโ ดย .......................................................................................................................................................... ๑. จิตใจแทๆ ไมมีสี แตจ ติ ใจของคนมกี เิ ลสปรากฏมสี ี แกผ ูมที พิ พจักษ.ุ ทพิ ยอํานาจ ๑๓๕
รปู ลกั ษณะแสงสี และรสู กึ กระแสสัมผสั ทางใจเชนนั้นแลว ยอ มวนิ ิจฉัยไดถ กู ตองวา คนนนั้ สัตวน้ัน มจี ติ ใจอยางไร ควรไดร ับการสงเคราะหด ว ยวธิ ใี ดหรือไม ทงั้ นก้ี เ็ ปนดวยไดอบรมจติ ใจตนเอง ได สังเกตรูปลักษณะแสงสี และกระแสจติ ของตนเองเปนอยางดแี ลว เม่ือประสบกบั จิตใจของผูอ่ืนจงึ รู เห็นได เชนเดยี วกับรเู หน็ จิตใจของตนเอง ดังกลา วไวในเจโตปริยญาณน้ันแลว. นอกจากตาทพิ ยทีส่ ามารถเห็นรูปทิพยเปนตน ดงั กลาวมาแลว ยงั มตี าชั้นสูงอีกชนิดหน่ึง ที่ ขา พเจา สมมติเรียกวา ตาแกว ยอ มสามารถเหน็ พระแกว คือวิสทุ ธิเทวา ซ่งึ ไดแ กพ ระอรหันต ตา ชั้นนี้เปนของพระอรหันตผตู ่ืนเต็มท่ีแลว ไมป ระสงคจะกลา วพสิ ดารในท่ีนี้ เพยี งเยืองความไวใ ห ทราบนิดหนอยเทานั้น. เมือ่ ไดท ราบลกั ษณะทพิ พจกั ขพุ อสมควรเชนนี้ ยอมเปนการเพียงพอทจี่ ะทราบวิธีปลูก สรา งทิพพจกั ขตุ อ ไป ไดกลาวไวห ลายแหง แลว วา ท่ตี งั้ ของทพิ ยอนิ ทรยี น้ันคอื จิตใจ เม่ือบรสิ ทุ ธิ์ ทพิ ยอนิ ทรยี กบ็ รสิ ทุ ธ์ิเชนเดยี วกัน ฉะนัน้ จุดของการปลูกสรางทิพพจักขุคอื จติ ใจ ในการฝกจติ เพ่ือใหเ กดิ ทิพพจกั ขุ มีลาํ ดบั ขนั้ ดังตอไปน้ี ๑. อาศยั อิทธบิ าทภาวนา เปนกําลงั ฝกจติ ใจใหไ ดสมาธิถงึ ฌานที่ ๔ เปนอยางตํา่ ทําการ เจริญฌานน้นั ใหชาํ นิชํานาญดว ยขั้นทงั้ ๕ ของฌานจนไดเ จโตวสี มีอาํ นาจทางใจ ดังกลาวไวในบท ท่ี ๒. ๒. เจรญิ กสิณ อนั เปนเครอื่ งนาํ ทพิ พจักขุโดยเฉพาะ ช่ําชองจนเปนปฏิภาคนมิ ติ กสิณ อนั เปนเคร่อื งนาํ ทิพพจักขนุ ้มี ี ๓ ประการ คอื (๑) เตโชกสณิ . (๒) โอทาตกสิณ. (๓) อาโลกกสณิ . วธิ ีปฏบิ ัตกิ สณิ ไดก ลา วไวแ ลวในบทท่ี ๓ ในบรรดากสิณ ๓ ประการ พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสวา อาโลกกสณิ เปนเยีย่ มทสี่ ุด ปราชญฝร่ังนิยมใชลกู แกวหรือนํา้ ใสๆ เปนเคร่ืองนําทพิ พจักขกุ ็ นาจะเขากนั ได เพราะแสงสวางกับแกวยอมคลา ยคลึงกนั ขา พเจาไมขอแนะนาํ ในการเพง ลกู แกว และนาํ้ ตามวธิ ฝี ร่งั เพราะไดม ีผเู ขยี นไวแลว ผูตองการจะหาอา นได. ๓. เมื่อไดก สิณอันเปนเครื่องนาํ ทิพพจกั ขุประการใดประการหน่งึ แลว ถา เปนเตโชกสิณ และโอทาตกสิณพึงเจริญใหย ่ิง จนปรากฏดวงกสณิ เปน สขี าวใสบรสิ ุทธก์ิ อน จงึ จะฝก เพือ่ ทพิ พจักขุ ได ถา เปน อาโลกกสิณเมอ่ื ไดแ มเ พียงขนั้ อุคคหนมิ ิตปรากฏกเ็ ปนแสงใสพอควร เมอื่ จติ สงบถงึ ขั้น อปั ปนา กจ็ ะเปนแสงใสบรสิ ุทธิ์ เปน ที่ตั้งแหงทิพพจกั ขไุ ด ตอน้ันไปพึงฝกทพิ พจกั ขุโดยวธิ ี อธิเทวญาณทสั สนะ ดงั กลา วมาแลว คอื (๑.) ทาํ โอภาสใหมีประมาณมาก และใหเปนแสงใสบรสิ ทุ ธไ์ิ ดเทาไรยงิ่ ดี แผรศั มโี อภาสไป เปนปรมิ ณฑลรอบๆ ตัวใหไดก วางขวางทสี่ ดุ . (๒.) สาํ เหนียกในใจเพ่ือเห็นรปู ทิพยไวเสมอ เม่อื เห็นแลว พึงพยายามยั้งอยใู นสมาธอิ ันมี สมรรถภาพใหเ ห็นรปู ทพิ ยไดน้ันใหนานทีส่ ุดเทา ท่จี ะนานได พงึ ศกึ ษาสาํ เหนยี กเหตใุ หส มาธิ ทพิ ยอํานาจ ๑๓๖
เคล่อื น ดงั ทตี่ รสั แกพ ระอนรุ ทุ ธเถระน้ันใหดี แลวพยายามกาํ จัดเหตุเชนน้ันใหหายไป เหตุใหสมาธิ เคล่อื นทตี่ รัสแกพ ระอนุรุทธะ มีในอุปก กิเลสสูตร ตรสั ไว ๑๐ อยา ง คอื (๑) วจิ กิ จิ ฉา ความสงสยั (๒) อมนสิการ ความไมเอาใจใส (๓) ถนี มิทธะ ความทอแทซบเซา (๔) ฉมั ภติ ัตตะ ความหวาดสะดงุ (๕) อมุ พิละ ความต่นื เตน (๖) ทุฏลุ ละ ความหยาบกระดา ง (๗) อัจจารทั ธวริ ิยะ ความเพียรเกนิ ไป (๘) อติลีนวริ ิยะ หยอ นความเพยี รเกินไป (๙) นานตั ตสญั ญา ใสใ จมากอยา งย่ิง (๑๐) อตชิ ฌายติ ัตตัง รปู านงั เพงรูปมากเกนิ ไป (๓.) พึงสําเหนียกเพอื่ รูเรอ่ื งเกยี่ วกับเทพเจาทไ่ี ดพ บเห็นนั้นใหรเู รอื่ งตลอด อนุโลมตามวธิ ีท่ี ขาพเจากลา วไวใ นขอ วา ดว ยอตีตงั สญาณ และอนาคตังสญาณ น้ันเรอ่ื ยๆ ไป. ๔. เพอื่ ปองกนั มิใหหลงตนลมื ตัว พงึ เจริญอภภิ ายตนะ ๘ ประการ ตอ ไปนีด้ ว ย คือ (๑) เมื่อทา นใสใ จรปู ธรรมอันใดอันหน่ึง ณ ภายในจนจิตใจเปนหนึง่ จะเกดิ เห็นรูปกาย ภายนอกเพียงนิดหนอย ซ่งึ มพี รรณะดีหรือเลวแลว พงึ กําหนดใจไวเ สมอวาเราเปน ผรู ูเห็นครอบงํา รปู เหลา นั้นดงั นีเ้ สมอไป. (๒) ทําดงั ขอหน่ึง ไดเหน็ รูปกายภายนอกมากมายมีพรรณะดีหรอื เลวแลว พงึ กาํ หนดใจไว ดังในขอ ๑ เสมอไป. (๓) เม่อื ทา นใสใจอรปู ธรรมอันใดอันหน่งึ ณ ภายในจนใจเปน หน่ึง เกิดเห็นรูปกายภายนอก นิดหนอย มพี รรณะดหี รือเลวแลว พงึ กําหนดใจไวดังในขอ ๑ เสมอไป. (๔) ทาํ เหมือนขอ ๓ ไดเหน็ รูปภายนอกมากมาย มีพรรณะดีหรอื เลวแลว พึงกาํ หนดใจไว ดังในขอ ๑ เสมอไป. (๕-๘) ทาํ เหมือนขอ ๓ ไดเหน็ รปู ภายนอกประกอบดวยสีตางๆ คือ เขยี ว เหลือง แดง ขาว ผาสีเขียว เหลอื ง แดง ขาว และเครอ่ื งประดับสเี ขียว เหลือง แดง ขาว แลว พงึ กําหนดใจไวเสมอไป วา เรารูเห็นครอบงาํ รปู เหลา น้นั ดงั น้ี ความหลงตนลืมตวั ก็จะถูกกําจดั ไป เปนไปเพอื่ รูย ง่ิ เหน็ จริง สิง่ ควรรคู วรเห็นย่งิ ขึ้น ไมต ิดอยใู นส่งิ ไดรูไดเ ห็นน้นั ๆ หรือไมหลงไปวา ส่งิ นนั้ ๆ เปนตัวเปนตนของ ตน หรอื เปนของๆ ตน. ๕. เมือ่ เจรญิ กสณิ อนั เปนเครือ่ งนําทพิ พจักขุโดยเฉพาะประการใดประการหนง่ึ จนถึงช้ัน ฌานที่ ๔ ก็ดี เจรญิ กรรมฐานอันใดอันหนึ่งอ่ืนๆ จนไดฌานที่ ๔ ก็ดี นับวาไดบรรลภุ มู อิ นั เปนทต่ี ้งั แหง ทพิ ยอํานาจแลว เมอื่ จะนอมไปเพ่ือทิพพจกั ขุตอ ไปพงึ สาํ เหนยี กกอนวาฌานท่ี ๔ นน้ั จติ ใจใส สะอาดปราศจากราคีแลว มีรศั มีสวางแลเหน็ กายและใจตนเองไดชดั เจนแลวพึงฝกแผร ัศมสี วางนนั้ ใหเ ปน ปรมิ ณฑลออกไปรอบๆ ตวั ใหก วางขวางไกลท่ีสุดจนสดุ ขอบจักรวาลไดย ่งิ ดี และพึงอยดู วย ทพิ ยอํานาจ ๑๓๗
อาโลกสญั ญานน้ั ท้งั กลางคืนและกลางวันเนอื งๆ ทาํ ใจใหเ ปด เผยทกุ เมื่อ อยายอมใหความรสู ึกทที่ ํา ใจใหหอเหีย่ วมัวซวั มาครอบงาํ เปน อันขาด จิตใจเมอ่ื ไดรบั อบรมดวยแสงสวา งอยูอ ยางน้ี ยอมเปน ใจบรสิ ุทธผ์ิ อ งใส มีรัศมแี จมใสย่ิง เปรียบดงั แกวมณีโชติฉะนั้น เม่ือน้ันทิพพจกั ขอุ นั บรสิ ุทธิเ์ กินกวา จกั ขสุ ามัญมนษุ ยก ็เกิดขน้ึ ได รเู ห็นอะไรๆ เกินวสิ ัยสามญั มนุษยด ังกลา วมาแลว ถา ปุถุชนไดท พิ พ จกั ขุมกั จะลาํ บากเม่ือเหน็ สง่ิ นา กลัว เชนยกั ษ ใจหวาดสะดุงแลว สมาธยิ อมเคลื่อน ทพิ พจกั ขยุ อ ม หายไปฉะน้ัน เม่อื ไดแลวอยาพึงวางใจ พึงเจรญิ ธรรมยิ่งๆ ข้ึนไป. ทิพยอํานาจ ๑๓๘
บทท่ี ๑๑ วิธสี รา งทพิ ยอาํ นาจ จตุ ปู ปาตญาณ รสู ัตวเ กดิ ตาย ไดด ตี กยาก ดว ยอาํ นาจกรรม ทิพยอํานาจขอนี้ หมายถึงความสามารถในการเห็นสรรพสตั ว ซ่งึ กําลังเกิดตายไดด ตี กยาก และรูดว ยวาเปนเพราะกรรมที่เขาทาํ ไวน่นั เอง ความสามารถดังนปี้ ระกอบดวยญาณ ๒ ประการ คือ ทพิ พจกั ขุญาณดงั กลาวแลวในบทกอน และยถากัมมปู คตญาณ รวู า สรรพสัตวเ ปน ไปตามกรรม ท่เี ขาทําไวเ อง มใิ ชดวยอาํ นาจสงิ่ อนื่ ซงึ่ จะกลาวในขอ น้ี การที่ยกบทน้ีขึน้ เปนทิพยอาํ นาจประการ หนงึ่ ก็เพราะเปน วชิ ชาสําคัญในพระพทุ ธศาสนา ความรเู รือ่ งอํานาจกรรมเปนความรอู นั สําคัญยง่ิ ใน พระพทุ ธศาสนา บรรดาพระธรรมเทศนาท่ีพระบรมศาสดาทรงส่ังสอนไมพนไปจากจากหลกั กรรม ทรงส่ังสอนใหละกรรมเลว ใหประกอบกรรมดี และใหช ําระจติ ใจใหผองใส ซงึ่ ทงั้ ๓ นี้เปน หลักการ สง่ั สอนทท่ี รงมอบไวแกเ หลา พทุ ธสาวกในคราวทรงประชุมสาวกครั้งใหญย งิ่ อนั เปนประวตั ิการณ ของพระพุทธศาสนา เมื่อแรกเรม่ิ ทรงตงั้ หลักพระพทุ ธศาสนา ณ นครราชคฤห ประเทศมคธ. หลกั กรรมเปน หลักแหงพุทธปรชี าอนั ใหญยิ่งในพระพทุ ธศาสนา เพราะพระผมู พี ระภาคเจา ทรงเปน กรรมวาที ทรงยืนยนั วา กรรมเปนสงิ่ มีอํานาจใหญย ิ่งในการเกิดตาย ไดดตี กยากของสรรพ สตั ว ดงั เปนท่ีรับรองในหมูพ ุทธบริษทั วา “แรงใดสแู รงกรรมไมม ี” พระมหาโมคคลั ลานเถระได บรรลุภูมพิ ระอรหันตแ ลว นาจะพน จากอาํ นาจกรรมโดยประการท้งั ปวง ถึงอยางนั้นกย็ ังตองรับ สนองผลกรรมท่ีมันใหผ ลสืบเนือ่ งกนั มาแตห ลายชาติ ยังไมขาดกระแส ถูกพวกโจรทุบตีถงึ ตอง ปรินิพพาน แมพระบรมศาสดาจารยผโู ลกยกยองเปน เอกบุคคลแลว ก็ยงั ตอ งทรงรับสนองผลกรรม ในบางกรณี ผมู ีความรูดใี นเรอื่ งอํานาจกรรม ยอมอดทนในเมือ่ ตอ งเสวยผลของกรรม ไมยอมใหมนั เราใจใหเ กดิ กิเลสสบื ตอไป ใหมันส้ินกระแสลงเพียงเทานนั้ ไมเหมือนสามญั สตั วเ มอ่ื ไดเสวยผลของ กรรมทตี่ นทําไวเ อง แทนที่จะรูสํานึกและยอมรบั เสวยผลแตโดยดี ก็กลบั รสู ึกไมพ อใจ แลว ทํากรรม ใหมเพิม่ เติมลงไปอีก เปนเวรสืบเนอื่ งกันไปไมข าดสายลงได อาจตง้ั อยตู ั้งกปั ต้งั กัลป ดังเวรของกา กับนกเคา และงเู หา กับพังพอน ซ่ึงมีมานานและมอี ยูกระทง่ั ทกุ วันนี้ เมอื่ พบปะกันเขาเขาไมเ วนที่ จะประทุษรา ยกันและกัน พระบรมศาสดาไดท รงทราบความจริงเร่อื งกรรมซัดพระทยั แลว จึงตรสั สอนมใิ หสืบตอกรรมเวร ใหอดทนเสวยผลของกรรมไปฝายเดียว แลว เวรจะระงับไมเ วียนไปอีก ดัง พระบาลที ่เี ปนหลักในความขอน้วี า น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กทุ าจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนตฺ โน. แปลวา ในกาลไหนๆ เวรในโลกน้ี ยอ มไมระงับดวยเวรเลย แตจ ะระงับไดด วยไมท าํ เวร ธรรมคือวธิ รี ะงบั เวรดวยไมสบื เวรน้ี เปนวธิ ีเกาแก ดังน้ี. ทพิ ยอํานาจ ๑๓๙
กรรมทีส่ ัตวท าํ ไว ซึง่ มอี ํานาจใหผ ล ทานแบงออกเปน ๒ ประเภทคอื กุศลกรรม ๑ อกุศลกรรม ๑ กศุ ลกรรมน้นั เปนกรรมทที่ ําดวยความฉลาด เปน ความดที ี่มีอํานาจบงั คบั ความชว่ั และลา งความชวั่ ได ทานจงึ เรียกวา กัลยาณธรรมและบุญกรรม สว นอกศุ ลกรรมเปน กรรมท่ีทาํ ดวย ความโง เปน ความช่ัวทม่ี ีอาํ นาจเผาลนใหรอ นรุม ดังถกู ไฟเผา ทานจึงเรียกวาบาปกรรม และมี ลักษณะทาํ ใหสกปรกเศรา หมอง ทานจึงเรยี กวาอบญุ ญกรรม เมอื่ เรยี กส้นั ๆ ทา นเรียกกรรมฝายดี วา กศุ ล, กัลยาณะ, บญุ , เรียกกรรมฝายช่ัววา อกศุ ล, บาป, อบญุ ในพระบาลอี นั เปน หลกั บาง แหงตรสั เรียกกรรมดีวา สุกกะ=ขาว ตรัสเรยี กกรรมช่ัววา กณั หะ=ดาํ ซึง่ ทําใหม องเหน็ ลกั ษณะ ของความดีและความชั่วไดแจมใสยิง่ ขึ้น คือ ความดมี ีลักษณะขาวสะอาด ผอ งใส สดสวย ความชว่ั มีลกั ษณะดาํ สกปรก เศรา หมอง หยาบกระดา ง และตรัสเหตทุ ี่ทาํ ใหสกปรกวา โอกะ = น้าํ ซงึ่ หมายถึงกิเลสอันมีลักษณะเหมือนนา้ํ ท่ไี มสะอาด ทาํ ใหเ ศรา หมองได แลวตรัสสอนใหอาศัยสิ่งมใิ ช น้ํา ละกามคือความกําหนัด แลว ยนิ ดีในพระนิพพานอันเงยี บสงัด ซง่ึ ยากท่ีสามญั สัตวจ ะยินดนี น้ั ตอ ไปจะไดยกพระบาลนี ั้นมาตั้งไว เพ่ือเปนหลักพิจารณาดังตอไปนี้ กณหฺ ํ ธมมฺ ํ วิปฺปหาย สกุ ฺกํ ภาเวถ ปณฺฑโิ ต โอกา อโนกมาคมฺม วเิ วเก ยตฺถ ทรู มํ ตตฺราภริ ติมิจเฺ ฉยฺย หติ วฺ า กาเม อกิจฺ โน. แปลวา บณั ฑิตพงึ ละธรรมดําเสีย พงึ เจรญิ ธรรมขาว พงึ อาศยั สง่ิ มใิ ชน ้ํา ออกจากน้ําแลว ละกาม ท้ังหลาย หายกงั วลแลว ยนิ ดีในพระนพิ พานอนั เงยี บสงัด ยากทีส่ ตั วจ ะยนิ ดนี ้นั ดังนี้. กิเลสอนั เปน ตัวเหตุเรา ใหสตั วทํากรรมใสตัวนน้ั ทา นเปรยี บดว ยนํ้า ธรรมดานา้ํ ยอ มทาํ ให เปยก ผา ท่ีเปยกนาํ้ ยอมเปรอะเปอน หมน หมองงา ยที่สุด ไมเหมอื นผาแหงซึ่งถึงจะมลี ะอองฝุนปลิว มาเกาะกส็ ลัดออกไดง ายๆ ไมต ิดสกปรกเหมือนผาเปยก จติ ใจของสตั วเ ปนทก่ี ําเนิดบุญและบาป เมื่อจติ ใจไมเ ปย กดวยกิเลสยอ มสง่ั สมบญุ ใสตวั กเิ ลสเปน เหตุใหทาํ ความชัว่ เปนตวั เหตสุ าํ คญั ณ ภายใน เหมือนน้ําชุมแชอยูในจิตใจ จงึ สอนใหท ําความดเี พื่อทําใจใหแหงหายสกปรก แลวใหออก จากนา้ํ เสยี เลย ไปอยูในพระนิพพานซึง่ เปน ภมู ทิ ี่พน น้ําเดด็ ขาด ท่ีเรยี กวา อโนกะ=ไมใ ชน้ํา คือ ตรงกนั ขา มกับน้ํานั่นเอง ธรรมชาติแหงความรูส กึ ในจติ ใจของคน เม่ือพิเคราะหใหถีถ่ วนแลวจะ เหน็ ลกั ษณะเดน ๆ ๒ ลกั ษณะคอื ลักษณะท่ีทาํ ใหเ ปยกเหมอื นนํา้ ๑ ลกั ษณะทท่ี ําใหแหง ผาก ๑ สวนลกั ษณะทไ่ี มเ ดน น้ันเปน ความรสู กึ กลางๆ ความรูสึกทมี่ ลี กั ษณะทาํ ใหเ ปยกเหมือนนา้ํ น่นั แหละ คอื กิเลสท่ีแทรกซึมอยใู นจิตใจ ความรสู ึกท่ีมีลักษณะทําใหแหงผากนั้นคอื คณุ ธรรมซงึ่ เปน คณุ ชาติประจาํ จติ ใจ ตรัสสอนใหอาศยั คุณธรรมนี้เองออกจากนาํ้ คือกเิ ลส แลว ใหย ินดยี ิง่ ในพระ นพิ พาน ซ่งึ เปน ภมู พิ น นํา้ เด็ดขาด มแี ตคุณชาติประจําจติ ใจทีม่ ใิ ชส ิ่งที่มลี กั ษณะเหมือนนา้ํ อันจะ ทําใหจติ ใจเปยกปอนตอไป เม่ือพจิ ารณาโดยนัยนี้ยอมไดความวา กรรมท่ีทําดวยอาํ นาจกเิ ลสคือ ความรสู กึ ที่มลี ักษณะทําใหใ จเปยก เปน บาปคือดาํ สกปรก สว นกรรมทีท่ ําดว ยคณุ ธรรมคอื ความรูสกึ ทีม่ ลี กั ษณะทําใหใจแหง ผากเปนบญุ คอื ขาวสะอาด ผยู นิ ดใี นบาปจึงเทา กับยนิ ดีใน ความสกปรกโสมมมดื ดํา ผยู ินดีในบุญจงึ เทา กบั ยนิ ดีในความสะอาดขาวผอ ง ผูยินดีในกรรมทง้ั ๒ ฝายคือบุญกท็ ํากรรมกส็ ราง จึงเปน บคุ คลทเี่ รียกวา กําดาํ กําขาว มที ้ังคราวดีและคราวช่วั สว นผู ทิพยอํานาจ ๑๔๐
ยินดีในบุญเกลียดหนายบาป ยอ มเลกิ ละบาปทาํ แตบุญ จึงเปนบุคคลทีเ่ รียกวา กาํ ขาว มีแตค ราว ทําดแี ละดเี รือ่ ยไป เปนบุคคลท่ีนา ไววางใจเชื่อถือได เปน บุคคลที่นาคบคา สมาคม นานิยมนับถอื และนาเคารพบชู าสกั การะยิ่ง. เมอื่ ไดร จู ักตวั เหตุใหทาํ กรรมเชนนี้แลว ยอมเปนการงายทีจ่ ะรูจกั ตัวการผูทํากรรม เพราะ เมอ่ื พดู ถงึ ความรูสกึ เราก็ยอมทราบแลว วาเปนกริ ิยาของจิตใจน้ันเอง เมื่อเปนเชนน้ี จติ ใจจงึ เปน ตัวการทาํ กรรม สมกับพระพุทธดาํ รสั วา เจตนาหํ ภิกขฺ เว กมมฺ ํ วทามิ ภกิ ษทุ ั้งหลาย! เรากลาววา เจตนาเปนกรรม หมายความวา ความจงใจทาํ พูด คดิ เปน กรรม เจตนาเปนกิรยิ าการของจิตใจ ขนั้ ที่สองคือ เมอื่ จิตใจถกู อารมณเราเกดิ มีความรสู ึกฝายกิเลสหรอื คณุ ธรรมขึ้นเปนขนั้ ท่ี ๑ แลวจงึ เกิดมีความจงใจทําพดู คดิ ตามความรูสกึ นั้นเปนข้นั ที่ ๒ เมอ่ื เปนเชนน้ีกรรมจึงเปนการกระทําของ จติ ใจ จติ ใจจึงตองรับผิดชอบการกระทําของตัวเอง จะปด เสยี ไมยอมรบั ผิดชอบยอ มเปนไปไมได ฉะนน้ั กรรมจึงเปนสิง่ เนือ่ งกบั ตวั เหมอื นเงา ผลซงึ่ ผลิข้นึ จากกรรมกย็ อมเนอ่ื งกบั ตัวเชนเดียวกนั ตนทาํ กรรมแลวจะหลีกเลย่ี งไมย อมรบั เสวยผล จึงเปนสิ่งเปนไปไมได เม่อื ไดท ราบวา กรรมคอื ตวั เจตนา ความจงใจเชนนี้ ยอมเปนการงา ยที่จะกําหนดลักษณะกรรมตางอยา งตางประการ ซ่ึงจะได กลา วตอ ไป. ธรรมดา เจตนาในการทํา พดู คดิ ยอ มมีน้าํ หนักตางๆ กนั ตามกําลงั ดันของความรสู ึก ถา มี ความรสู กึ แรงทสี่ ุดเจตนาก็ยอมแรงทสี่ ดุ ถามคี วามรูสึกแรงพอประมาณเจตนากย็ อ มแรง พอประมาณ ถามคี วามรูส กึ เพลาเจตนาก็ยอมเพลาตามกัน ฉะน้ันทานจึงกาํ หนดกรรมหนักเบา ดว ยอาํ นาจเจตนาและความรสู กึ กรรมจะใหผลเรว็ หรอื ชา กย็ อมอาศยั กาํ ลังของเจตนา และ ความรสู กึ เปนสว นประกอบดว ยเชนกนั ตามหลกั ธรรมดา สิง่ ใดมอี าํ นาจผลกั ดนั แรงส่ิงนน้ั ยอ ม ปรากฏในลกั ษณะรุนแรงและเร็ว โดยนยั เดยี วกัน กรรมที่ทําดวยเจตนาและความรูสึกแรง เวลา ใหผลกย็ อ มปรากฏในลักษณะรุนแรงและเร็ว เชน อนันตริยกรรมทง้ั ๕ มีการฆา บดิ ามารดาของตน เปน ตน คนที่จะทํากรรมบาปหยาบชา เชนน้ันไดลงคอจะตอ งมคี วามรสู กึ ฝา ยกเิ ลสรนุ แรง และ เจตนาท่ีทําก็จะตองรุนแรงเชนกัน กรรมน้ันจงึ ใหผ ลเร็วและรุนแรงทีส่ ุดดว ย ทานกลา ววา ใหผ ล ในลาํ ดบั ทีท่ ําน้ันเอง คอื เกิดความรุมรอ นขึน้ ในกายในใจ จนไมส ามารถจะดํารงชวี ติ อยไู ดกม็ ี ท่ี แรงถงึ ทส่ี ุดทานวา ถูกธรณสี บู ทันทกี ม็ ี เม่ือตายแลวตองไปทนทกุ ขท รมานในสถานลําบาก คอื นรก แดนเปรต พวกกายใหญโต (อสรุ กาย) และกาํ เนดิ ดิรัจฉานอีก กวา จะพนกรรมก็กินเวลานานนบั กัปนับกัลป สว นกรรมทแ่ี รงในฝา ยกุศลทานเรยี กวา สมนันตรกิ กรรม หรอื อนันตรกิ กรรม ไดแ ก สมาธิชนั้ สงู คอื ฌานสมาบตั ิ ยอ มใหผ ลทนั ทเี หมอื นกัน เมอ่ื ตายแลวยงั อํานวยผลใหไ ปเสวยสุข สมบตั ใิ นสถานทสี่ ุขสบาย คอื โลกพรหม โลกสวรรค และโลกมนุษย เปน เวลานานหลายกัปหลาย กัลปเ ชนเดยี วกนั กรรมที่มีกําลังแรงพอประมาณอาจใหผ ลในชาตปิ จจบุ นั น้ี สว นกรรมทีก่ าํ ลัง เพลายอมคอยใหผ ลในชาติหนาตอ ๆ ไป สุดแตจ ะไดชองเม่ือไร เมือ่ ไมไดชอ งเลยก็อาจสน้ิ กําลงั เลิกใหผ ลก็ได แตโดยเหตุที่คนและสตั วยอ มทํากรรมไวห ลายหลากมที ้ังดีมีทง้ั ชวั่ กรรมจงึ มี ลักษณะพิเศษข้ึนอกี คือ สนับสนนุ กัน เบยี ดเบียนกัน ตัดรอนกัน เพราะกรรมดกี บั กรรมช่วั ยอ ม เปน ปฏิปก ษก ันอยใู นตวั เหมือนนา้ํ กับไฟเปนปฏิปกษกันโดยธรรมชาติฉะน้ัน เมอ่ื เปนเชนนีก้ รรม ทพิ ยอํานาจ ๑๔๑
จึงอาจใหผลสับสนกัน ถา ไมพ ิจารณาถึงหลักเหตุผลและความจริงอนั ถอ งแทแลว อาจเขา ใจผิดไป ได หลกั เหตผุ ลที่ควรถือเปนหลกั ในการพจิ ารณากรรมน้นั คือ เหตกุ บั ผลมลี กั ษณะเหมือนกนั เหตุ ดีผลตองดี เหตุช่ัวผลตอ งชวั่ ทาํ ดีไดด ี ทําช่ัวไดช ่วั เปนหลักเหตุผลทต่ี ายตวั ไมมีเปล่ยี นแปลง เปน ความจรงิ ทยี่ นื หยัดอยูตลอดอนันตกาลทเี ดยี ว พระบรมศาสดามิไดทรงสรางกฎน้ขี ้ึน เปนแตทรง ทราบกฎของกรรมน้ตี ามเปนจรงิ แลว ทรงบญั ญัตชิ ้ีแจงแสดงออกใหแ จม แจง เพอ่ื เวไนยชนจะได เช่ือถอื และปฏบิ ัตกิ ําจดั บาปออกจากตวั ทําดใี สต วั และชําระตัว คือจติ ใจอนั เปนท่ีสิงสถติ ของ กิเลสเปน ทีเ่ กิดบุญบาปนั้น ใหบรสิ ทุ ธ์ผิ ดุ ผอ งปราศจากกเิ ลสอนั เปนตวั เหตเุ ราใหทํากรรม เม่ือหมด กรรมหมดกิเลสแลว กเ็ ปนอสิ ระแกต วั เตม็ ท่ี พระมหามนุ ีทรงยาํ้ นักย้ําหนาในการท่ีจะทําตวั ใหเ ปน อสิ รภาพนี้ พระองคม ิใชผ ูประกาศิตโลกใหเ ปน ไปตามพระทัยประสงค ทรงประกาศความจริงให เวไนยชนไดค วามสวางใจ หายหลงงมงายท่ีเช่ืออํานาจซงึ่ ไมอ าจมีไดตา งหาก เม่อื เวไนยชนได ความเชื่อถกทางแลว เขายอ มจะไมเชอื่ อาํ นาจอื่น นอกจากอํานาจกิเลสและกรรมช่ัวของตัวเอง ทํา ตัวใหท กุ ขยากลําบากเดอื ดรอนในโลกไหนๆ โดยนัยเดียวกันเขากไ็ มเชอ่ื อาํ นาจอนื่ นอกจาก คณุ ธรรมและกรรมดขี องตัว จะสรา งตัวใหเจรญิ สขุ สําราญบานใจในโลก และเขาจะเชือ่ ตอ ไปอกี วา เมื่อใจมกี เิ ลสและกรรมได กอ็ าจทาํ ใหส้ินกเิ ลสและกรรมได เม่ือไมมีกเิ ลสและกรรมบงั คบั แลว ก็ชื่อ วา เปน อิสรภาพเต็มที่ น้คี ือทางสิน้ ทุกขในสังสารวัฏแนนอน. เมื่อไดท ราบหลกั เหตผุ ล เปนเครอ่ื งวินิจฉัยกรรมเชนน้ีแลว จงึ ควรทราบประเภทแหงกรรม ตามทท่ี า นจําแนกไว ดังตอ ไปนี้ ๑. ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม เปน กรรมทส่ี ามารถใหผ ลในปจ จบุ นั ชาตินี้ ทีเ่ รยี กวาใหผลทัน ตา โดยมากเปนกรรมประเภทประทษุ รา ยผูทรงคณุ เชน มารดาบิดา พระอรหันต แมแ ตเ พียงการ ดา วา ตเิ ตยี นทา นผูทรงคุณเชนนนั้ ก็เปนกรรมท่แี รง สามารถหา มมรรคผลนพิ พานได ท่ีทา น เรียกวา อริยุปวาทกรรม การเบียดเบยี นสัตว ทรมานสตั วบ างจาํ พวกก็มกั ใหผ ลในปจจุบนั ทนั ตา เหมือนกัน เชนการเบียดเบยี นแมวเปนตน สว นฝา ยกุศลทส่ี ามารถใหผลในปจ จุบันทันตา นาจะ ไดแ กพรหมจรรยในพระพทุ ธศาสนา ดงั ทต่ี รสั ไวใ นสามัญผลสูตรวา “ผปู ระพฤตพิ รหมจรรยน ี้ (๑) ไดร บั การอภวิ าทกราบไหว. (๒) ไดรับการยกเวนภาษอี ากรจากรฐั บาล. (๓) ไดร บั การคุมครองจากรัฐบาล. (๔) ไดรบั ปจจยั ท่ีเขาถวายดวยศรัทธา เลย้ี งชีพเปน สุขในปจ จุบนั . (๕) ไดร ับความไมเ ดอื ดรอนใจ เพราะมีศลี บริสุทธิ์. (๖) ไดร บั ความเงยี บสงัดใจ ความแชม ชื่นเบกิ บานใจ ความสขุ กายสบายใจ เพราะใจสงบ เปนสมาธิ. (๗) ไดฌานสมาบัติ. (๘) ไดไ ตรวิชชาหรอื อภิญญา สิ้นอาสวะในปจ จุบนั ชาติน.้ี (๙) ถายงั มกี ิเลสอยู ก็จะเขาถงึ โลกทม่ี สี ุขในเมื่อตายไป”. ทิพยอาํ นาจ ๑๔๒
ในอรรถกถาธรรมบท ทา นเลาถึงพราหมณค นหน่งึ ซ่ึงเปน คนยากจนขนแคน อยากบําเพญ็ ทาน เพราะสํานกึ ไดวา ท่ีตนยากแคน ในปจจุบันเพราะไมไ ดบ ําเพญ็ ทานไวในชาติกอน จงึ ตดั สนิ ใจ บรจิ าคผา สไบผนื เดยี วที่ตนกบั ภรรยาใชรวมกันอยูอ อกบาํ เพญ็ ทาน ถวายแดพ ระบรมศาสดา ซึ่ง เปนบุญเขตอันเลิศ ไดรบั ผลตอบแทนในปจจุบัน คือ พอแกบรจิ าคออกได แลรูสกึ โลง ใจและปต ิ เหลือประมาณ จงึ เปลงอทุ านขึ้นในทันทีนั้นวา เราชนะแลว บงั เอิญพระเจา ปส เสนทิโกศลกเ็ สด็จ มาฟง ธรรม ณ ที่นั้นดวย เม่ือไดทรงสดับจึงรับส่ังใหถามดู ทรงทราบแลวทรงอนโุ มทนาดว ย แลว พระราชทานผา ใหพราหมณ ๒ คู เพือ่ เขาคหู น่งึ เพือ่ ภรรยาคูห น่งึ เขายงั มีศรัทธานอ มเขา ไปถวาย พระบรมศาสดาเสยี อีก พระเจาปส เสนทิโกศลจงึ พระราชทานเพ่มิ ใหท วขี ้นึ ในท่สี ดุ ทรง พระราชทานสิง่ ละ ๑๖ แกพราหมณ เขาไดร ับความสขุ เพราะกุศลกรรมของเขาในปจจุบันทนั ตา ดังนี้ แมเรอ่ื งอนื่ ๆ ทํานองนี้ก็มีนยั เชน เดียวกัน. ๒. อปุ ปชชเวทนยี กรรม เปนกรรมทีส่ ามารถใหผ ลตอ เมือ่ เกดิ ใหมในชาติหนา ในกาํ เนิด ใดกําเนิดหน่ึง ถาเปนกุศลกรรมกอ็ าํ นวยผลใหม คี วามสุข ตามสมควรแกก รรมในคราวใดคราวหน่งึ ถา เปนอกศุ ลกรรมก็ใหผ ลเปนทุกขเดือดรอนตามสมควรแกก รรมในคราวใดคราวหนึง่ ตวั อยา ง สมมติวา เมือ่ ชาตปิ จจบุ นั นีเ้ ราเกิดเปนมนษุ ย ไดทํากรรมไวห ลายอยางทั้งบุญและบาป ตายแลว กลบั มาเกิดเปนมนษุ ยอกี ดวยอํานาจกศุ ลอยางหน่ึง ซ่งึ สามารถแตงกาํ เนดิ ไดในชัว่ ชีวติ ใหมน้ี เรา ไดร ับสขุ สมบูรณเปน ครัง้ คราว น่ันคือกุศลกรรมในประเภทนีใ้ หผ ล เราไดร ับทกุ ขเดอื ดรอนเปน บางครงั้ นั่นคอื อกุศลกรรมในประเภทน้ใี หผล การใหตัวอยา งสมมติไวก เ็ พราะหาตวั อยางท่เี ปน จริงมาแสดงไมไ ด. ๓. อปราปรเวทนยี กรรม เปนกรรมท่ีสามารถใหผ ลสบื เน่ืองไปหลายชาติ ตวั อยา งในขอน้ี มมี าก ฝา ยกศุ ลกรรมเชน พระบรมศาสดาทรงแสดงบุพพกรรมของพระองคไ วว า ทรงบาํ เพญ็ เมตตาภาวนาเปน เวลา ๗ ป สงผลใหไ ปเกดิ ในพรหมโลกนานมาก แลว มาเกิดเปนพระอนิ ทร ๓๗ ครั้ง เกิดเปน มนษุ ย เปนพระเจา จกั รพรรดิ ๓๗ ครงั้ ฯลฯ ฝา ยอกศุ ลกรรม เชน พระมหาโมคคลั ลาน-เถระ ในอดีตชาตหิ ลงเมยี ฟง คํายยุ งของเมยี ใหฆามารดาผพู กิ าร ทานทําไมลง เพยี งแตทําให มารดาลาํ บาก กรรมน้ันสงผลใหไ ปเกดิ ในนรกนาน คร้ันเกิดมาเปนมนษุ ยถูกเขาฆาตายมา ตามลาํ ดบั ทุกชาติ ถงึ ๕๐๐ ชาตกิ ับทงั้ ชาติปจ จุบันที่ไดเปนพระอรหันต อรรคสาวกเบอ้ื งซา ยของ พระบรมศาสดา. ๔. อโหสิกรรม เปน กรรมที่ไมม โี อกาสจะใหผ ล เพราะไมม ีชองทจี่ ะเขา ใหผ ลได เลยหมด โอกาสสิน้ อาํ นาจสลายไป ในฝายอกศุ ลกรรมเชน พระองคุลีมาลเถระไดหลงกลของอาจารย เพราะ ความโลภในมนต ไดฆ า คนจํานวนถงึ พันเพื่อจะนาํ ไปขึน้ ครูเรียนมนต พระทศพลทรงเห็นอุปนิสยั แหงพระอรหัตผลมอี ยู ทรงเกรงวา จะฆา มารดา แลวจะทาํ ลายอุปนสิ ยั แหงอรหตั ผล จงึ รีบเสดจ็ ไป โปรด ทรงแสดงทูเรปาฏิหาริยแ ละตรสั พระวาจาเพยี งวา “หยุดแลว คือทรงหยุดทําบาปแลว สว น ทานซิยงั ไมหยุดทําบาป” ทา นเกดิ รูสึกตัว เขาเฝา ขอบรรพชาอปุ สมบท ทรงประทานอุปสมบทแลว พาไปฝก ฝนอบรมจนไดบรรลุพระอรหัตผล สนิ้ ภพสนิ้ ชาติ กรรมบาปซึ่งมีอาํ นาจจะใหผ ลไปใน ทิพยอาํ นาจ ๑๔๓
ชาตหิ นาหลายแสนกลั ปกเ็ ลยหมดโอกาส ใหผ ลเพยี งเลก็ นอยในชาตนิ ี้ สวนฝา ยกุศลกรรมไมอ าจ หาตัวอยา งได. ๕. ชนกกรรม เปนกรรมทสี่ ามารถแตง กําเนดิ ได กําเนดิ ของสัตวใ นไตรโลก มี ๔ คอื (๑) ชลาพุชะ เกิดจากนํา้ สมั ภวะของมารดาบดิ าผสมกันเกิดเปนสตั วในครรภ แลวคลอด ออกมาเปนเด็ก แลวคอ ยเจรญิ เติบโตขึ้นโดยลําดบั กาล ฝายดไี ดแ กกาํ เนดิ มนุษย ฝายไมด ไี ดแก กาํ เนิดดริ จั ฉานบางจําพวก. (๒) อัณฑชะ เกิดเปนฟองไขกอนแลว จงึ เกิดเปน ตัวออกจากกะเปาะฟองไขแลวเจริญเตบิ โต โดยลาํ ดบั กาล ฝายดีไดแกกาํ เนดิ ดิรัจฉานมีฤทธ์ิ เชน นาค ครฑุ ประเภทอณั ฑชะฝายชัว่ ไดแก กาํ เนดิ ดริ จั ฉาน เชน นกสามญั ท่วั ไป ฯลฯ. (๓) สงั เสทชะ เกดิ จากสิ่งโสโครกเหงือ่ ไคล ฝายดีเชน นาคและครฑุ ประเภทสงั เสทชะฝาย ช่วั เชน กิมิชาติ มหี นอนที่เกิดจากน้ําคราํ เปน ตน และเรือด ไร หมัด เล็น ทเี่ กิดจากเหง่อื ไคล หมักหมมเปน ตน. (๔) อปุ ปาตกิ ะ เกิดผุดขึ้นเปนวิญูชนทีเดยี ว ฝายดีเชน เทพเจา ฝายช่วั เชน สัตวนรก เปรต อสรุ กาย กรรมดีแตงกําเนิดดี กรรมชัว่ แตงกาํ เนิดชวั่ น้ีเปนกฎแหง กรรมท่ตี ายตัว ไม เปลย่ี นแปลงเปนอ่ืนไป. ๖. อปุ ปต ถมั ภกกรรม เปนกรรมทีค่ อยสนบั สนุนกรรมอน่ื ซง่ึ เปนฝายเดียวกัน กรรมดี สนบั สนนุ กรรมดี กรรมช่วั สนับสนุนกรรมชั่ว เชน กรรมดแี ตงกําเนิดดีแลว กรรมดีอืน่ ๆ ก็ตามมา อุดหนนุ สง เสริมใหไ ดร บั ความสขุ ความเจรญิ ย่งิ ขนึ้ กรรมชวั่ แตงกําเนดิ ทรามแลว กรรมชวั่ อ่ืนๆ ก็ ตามมาอุดหนนุ สงเสรมิ ใหไดรับทุกขเ ดอื ดรอนในกําเนิดนน้ั ยิง่ ๆ ขึ้น หาตวั อยางทเี่ ปนจริงมาแสดง ไมได. ๗. อปุ ปฬ กกรรม เปน กรรมทเ่ี ปนปฏิปก ษก ับกรรมอื่นที่ตา งฝายกบั ตน คอยเบียดเบียน ทาํ ใหฝ า ยตรงกันขา มมีกําลงั ออนลง ใหผลไมเต็มเมด็ เตม็ หนว ย เชน กรรมดแี ตง กาํ เนิดเปนมนษุ ย แลว กรรมชั่วเขา มาขดั ขวางรอนอาํ นาจของกรรมดีน้ันลง ทําใหเ ปน มนษุ ยท ี่ไมส มบูรณ หรอื ขาด ความสขุ ในความเปนมนุษยทคี่ วรจะไดไป ในฝายช่ัวก็นัยเดียวกัน เชน กรรมชวั่ แตงกาํ เนดิ ทราม แลว กรรมดเี ขามาขัด ถงึ เปนสตั วก ็มผี เู มตตากรุณาเลีย้ งดูมิใหไ ดร ับความลําบาก เปน ตน. ๘. อุปฆาตกกรรม เปนกรรมที่เปนปฏปิ ก ษก ับกรรมอ่ืน ท่ีตา งฝายกับตนเชนขอ กอ น แตม ี กําลงั แรงกวา มใิ หอ าํ นวยผลสบื ไป แลวตนเขา แทนทใ่ี หผ ลเสียเอง ตวั อยา งในฝายอกุศล เชน กรรมดแี ตง กาํ เนดิ เปนมนุษยม าแลว กรรมฝา ยชวั่ ท่มี ีกําลงั เขา สังหาร เชนไปทาํ กรรมรายแรงข้ึนใน ปจจบุ นั หรือกรรมชว่ั รายแรงในอดตี ตามมาทันเขา ใหผ ลแทนที่ คนน้ันเสยี ความเปนมนษุ ยไปใน ทันทีทันใด กลายรางไปเปนยักษห รอื ดิรจั ฉานไปเลย หรอื เพศเปล่ียนไป เชน เดมิ เปนบุรุษเพศ กลายเปนสตรเี พศไป ดังโสเรยยเศรษฐีบตุ รฉะนั้น ในฝายกศุ ล กรรมชัว่ แตง กําเนิดทรามแลว กรรมดเี ขาสังหารกาํ ลงั ของกรรมทรามนน้ั ใหสนิ้ กระแสลง แลว เขาแทนที่ใหผ ลเสยี เอง เชน เปรต ไดร บั สวนบญุ แลว พน ภาวะเปรต กลายเปนเทวดาทันทที ันใด เปนตน . ทพิ ยอาํ นาจ ๑๔๔
๙. ครกุ รรม เปน กรรมท่ีหนักมาก สามารถใหผลทันทที ันใด ฝา ยกุศลไดแกฌ านสมาบัติที่ ทานเรยี กวาอนันตรยิ กรรม ฝายอกุศลไดแกอนนั ตริยกรรม ๕ มีฆา มารดาบิดาเปน ตน บคุ คลจะ ทาํ กรรมช่ัวมามากมายสักเพียงไรกต็ าม ถารูสกึ สาํ นกึ ตวั แลว กลบั ตวั ทําความดี มคี วามสามารถทาํ ใจใหสงบเปน สมาธิ และเปนฌานสมาบัตไิ ดแ ลว กรรมน้ีจะแสดงผลเรื่อยๆ ไปตั้งแตบ ัดนั้นจนกวา จะสิ้นกระแสลง กรรมอ่นื ๆ จงึ จะไดช องใหผล บคุ คลทํากรรมดีไวมากมายแลวสมควรจะไดม รรค ผลขน้ั ใดขนั้ หนงึ่ ในชาตปิ จจุบนั แตไ ปเสวนะกับคนพาลเกดิ ประมาททําความช่ัวรายแรงข้ึน เชนฆา พระอรหันต ฆา มารดาบิดาเปนตน กรรมนจ้ี ะเขา ใหผลทนั ทที ันใด อปุ นิสัยแหง มรรคผลกเ็ ปน อัน พบั ไป ตอ งเสวยผลกรรมชั่วน้ันไปจนกวาจะส้นิ กําลงั กรรมอ่นื ๆ จงึ จะมชี อ งใหผ ลสบื ไป. ๑๐. พหุลกรรม หรอื อาจณิ ณกรรม เปน กรรมที่ทาํ มาก ทําจนชนิ เปน อาจิณ เปน กรรม หนกั รองครกุ รรมลงมา สามารถใหผ ลกอ นกรรมอื่นๆ ในเมื่อไมม ีครกุ รรม เชน บุคคลบําเพ็ญทาน หรอื รกั ษาศลี หรือเจริญภาวนา มเี มตตาภาวนาเปน ตนเปน อาจิณ แตไ มถ งึ กบั ไดฌานสมาบตั ิ กรรมดีน้จี ะเปน ปจ จยั มกี ําลังในจติ อยเู สมอ สามารถใหผลสบื เนอื่ งไปนาน ถา บุคคลนั้นไมประมาท ในชาตติ อ ๆ ไป ทาํ เพมิ่ เติมเปนอาจิณอยูเรอ่ื ยๆ กรรมดกี ็จะใหผลทวแี ละสบื เน่อื งเรื่อยๆ ตัดโอกาส ของกรรมอ่ืนๆ เสียได ในฝายอกศุ ลก็นยั เดียวกัน เชน พรานเน้ือหรือชาวประมงทาํ ปาณาตบิ าต เปนนิตย ถงึ แมไ มห นกั หนาเทาครกุ รรม แตเ พราะเปน กรรมตดิ เนื่องกบั สนั ดานมาก จึงสามารถ อาํ นวยผลสืบเน่ืองไป ไมเปด ชองใหกรรมอน่ื มโี อกาสอาํ นวยผลได ทานยกตวั อยา ง เชน คนฆาโค ขายเนือ้ ทุกวัน เวลาจะตายรอ งอยา งโค พอสิน้ ใจก็ไปนรกทันที คนฆาสุกรขายเปนอาชพี เวลาจะ ตายรองอยา งสุกร พอขาดใจกไ็ ปนรกเชนเดยี วกนั . ๑๑. อาสันนกรรม เปน กรรมทีท่ าํ เวลาใกลตาย แมจ ะมีกําลังเพลากไ็ ดชอ งใหผ ลกอน กรรมอ่ืน ในเมื่อไมมีครุกรรมและพหลุ กรรม ตัวอยางในฝา ยดี เชน พวกสําเภาแตกไดส มาทานศลี กอ นหนามรณะเพียงเลก็ นอย ตายแลว ไดไปเกดิ ในสวรรค มีนามวา สตลุ ลปายิกาเทวา ในฝาย อกุศลเชน ภิกษรุ ปู หนง่ึ ในพระศาสนาของพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจา ตองอาบตั เิ พราะพรากภูต คาม คือทาํ ใบตะไครน้ําขาด ประมาทวา เปนอาบัตเิ ลก็ นอยไมแสดงทนั ที ตอมาไมนานเกิดอาพาธ พอใกลมรณะกน็ กึ ขึ้นไดวาตนมีอาบัติติดตัวจะแสดงกห็ าภกิ ษุรบั แสดงไมได เสียใจตายไป ไดไปเกดิ ในกําเนดิ นาค มาในพุทธกาลนีไ้ ดฟง พระธรรมเทศนา และตงั้ อยูใ นพระไตรสรณคมน ถามใิ ชเพราะ อยูในกําเนิดดิรจั ฉานแลว จะบรรลภุ มู พิ ระโสดาบนั ในครั้งฟง พระธรรมเทศนาน้นั ทีเดียว เพราะมี กุศลไดส่ังสมมามากพอสมควร ในคราวประพฤตพิ รหมจรรยใ นพระศาสนาของพระกสั สป สมั มาสัมพทุ ธเจา อีกเรื่องพระนางมัลลิกาเทวี มเหสีของพระเจาปส เสนทิโกศล เปน คนมีศรัทธาใน พระศาสนาของพระบรมศาสดา ตอ มาพลง้ั พลาดในศลี ธรรมเล็กนอ ย พระสวามตี อวากลับโกหก และหาอบุ ายลวง และดาพระสวามีดวย ตอ มามินานเกิดประชวร ทวิ งคต ไดไปสูนรกถึง ๗ วัน จงึ ไดไ ปสวรรค อาสนั นกรรมสาํ คญั เชน น้ี คนโบราณจึงนยิ มใหพ ระไปใหศีลคนปวยหนกั หรือบอก พระอรหังใหบ รกิ รรมเพอื่ ชวยใหไดไปสูสุคตบิ า ง. ๑๒. กตตั ตากรรม หรอื กตตั ตาวาปนกรรม เปน กรรมที่เพลาที่สดุ ทาํ ดวยเจตนาออนๆ แทบจะวาไมม ีเจตนา เชนการฆา มดแมลงของเด็กๆ ทีท่ ําดวยความไมเดียงสา ไมรวู า เปนบาปกรรม ทพิ ยอํานาจ ๑๔๕
ในฝา ยกศุ ลก็เชนกัน เชนเด็กๆ ท่ไี มเดยี งสาแสดงคารวะตอ พระรัตนตรัยตามที่ผใู หญส อนใหทาํ เด็กจะทาํ ดวยเจตนาออ นที่สดุ จึงชอื่ วาสักวา ทาํ ถาไมม กี รรมอนื่ ใหผ ลเลย กรรมชนิดนก้ี จ็ ะให ผลไดบาง แตไ มม ากนกั มที างจะเปนอโหสิกรรมไดม ากกวาทีจ่ ะใหผ ล เพราะกําลังเพลามาก. เมอื่ ไดรจู กั ประเภทกรรม ซง่ึ มีลกั ษณะสามารถใหผลตางขณะตา งวาระตางกรรมเชนนีแ้ ลว แมไดเ ห็นสตั วไ ดดีตกยากซึง่ เปนไปในลกั ษณะสับปลบั เชน ผูท าํ บาปในชาติน้ีแลว พอตายไดไปเกิด ในสวรรค หรอื ผทู าํ บุญในชาตินอ้ี ยแู ทๆ แตพอตายไดไปสนู รกเปนตน กจ็ ะไมเขาใจผิดไปตามความ สับสนนัน้ คงเหน็ ถกู รูถูกตามหลกั วนิ จิ ฉัยกรรมอยูเสมอไป จดั เปนความรูเ ห็นทถี่ องแทได. อนึ่ง กรรมที่สัตวท ําไว ยอมใหผ ลตามลกั ษณะตางๆ กนั ดังตอ ไปนี้ ๑. กรรมคอื การฆาสัตว สงผลใหไปสูอ บาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก ครั้นมาสูความเปน มนุษยก็ เปน คนมอี ายนุ อ ย สวนกรรมคอื การไมฆ า สัตว มเี มตตาปรานีในสรรพสัตว อาํ นวยผลใหไปสูสคุ ติ โลกสวรรค คร้ันมาสูความเปน มนุษยก เ็ ปนคนมอี ายยุ ืน. ๒. กรรมคือการเบียดเบยี นสัตว ดวยการตบตีขวา งปาแทงฟน สงผลใหไปสูอบาย ทคุ ติ วินิบาต นรก ครน้ั มาสคู วามเปนมนษุ ยก ็เปนคนอาพาธมาก สว นกรรมคือการไมเ บยี ดเบียนสตั ว ดวยการตบตขี วางปาแทงฟน อาํ นวยผลใหไปสสู คุ ตโิ ลกสวรรค คร้ันมาสคู วามเปนมนุษยก็เปนคนมี อาพาธนอ ย. ๓. กรรมคือความมกั โกรธ มากดว ยความคับแคน ถูกวา เล็กนอยก็โกรธพยาบาทปองราย แสดงความโกรธความดุรา ยความนอ ยใจใหปรากฏออก สงผลใหไ ปสอู บาย ทคุ ติ วินบิ าต นรก ครั้นมาสคู วามเปน มนษุ ยก็เปนคนผวิ ทราม สว นกรรมคอื คอื ไมม กั โกรธตรงกันขามกบั ทีก่ ลาวแลว อาํ นวยผลใหไปสสู ุคตโิ ลกสวรรค คร้ันมาสคู วามเปน มนุษยก ็เปนคนผิวงามนาเลือ่ มใส คือเปนคน ผิวผุดผองเกลย้ี งเกลา. ๔. กรรมคือความมีใจรษิ ยา อยากได เขาไปขดั ขวางในลาภสกั การะ ความเคารพนบั ถอื นบไหวบูชาของคนอืน่ สงผลใหไ ปสอู บาย ทุคติ วินบิ าต นรก ครั้นมาสคู วามเปน มนษุ ยกเ็ ปนคนมี ศกั ดานอ ย สวนกรรมคอื ความไมม ใี จรษิ ยาอยากได ไมขัดขวางลาภสักการะ ความเคารพนับถือ นบไหวบูชาของผอู ื่น อาํ นวยผลใหไ ปสูสุคตโิ ลกสวรรค ครั้นมาสคู วามเปนมนษุ ยก ็เปนคนมศี ักดา ใหญ. ๕. กรรมคือการไมใหข า ว นํ้า ผา ยานพาหนะ ดอกไม ของหอม เครื่องลบู ไล ทอี่ าศัยหลบั นอน เครอื่ งเก้ือกลู แกแสงสวางแกสมณะหรือคนดี สงผลใหไ ปสูอบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก ครนั้ มาสู ความเปนมนษุ ยก็เปน คนมโี ภคะนอ ย สวนกรรมคอื การใหว ัตถุดงั กลา วนั้นแกส มณะหรอื คนดี อํานวยผลใหไ ปสสู ุคติโลกสวรรค ครนั้ มาสูความเปนมนษุ ยก ็เปนคนมโี ภคะมาก. ๖. กรรมคือความกระดางถอื ตัว ไมไหวคนควรไหว ไมลุกรับคนควรลกุ รบั ไมใหอ าสนะแก คนควรไหว ไมห ลีกทางแกค นควรหลีก ไมสกั การะคนควรสักการะ ไมเ คารพคนควรเคารพ ไมนับ ถอื คนควรนับถอื ไมบูชาคนควรบูชา สงผลใหไปสูอ บาย ทุคติ วินิบาต นรก คร้ันมาสคู วามเปน มนษุ ยก็เปน คนเกิดในตระกูลตาํ่ สว นกรรมคือความไมกระดา ง ไมถ ือตัวโดยนัยตรงกันขา มจากท่ี กลาวแลวนน้ั อาํ นวยผลใหไปสูสคุ ตโิ ลกสวรรค คร้ันมาสูความเปนมนษุ ยกเ็ ปนคนเกดิ ในตระกลู สงู . ทพิ ยอาํ นาจ ๑๔๖
๗. กรรมคือการไมเ ขาหาศึกษาไตถามสมณพราหมณ ถึงกศุ ล-อกศุ ล สิง่ มีโทษ-ไมมีโทษ สิง่ ควรเสพ-ไมควรเสพ กรรมทีเ่ ปน ไปเพอ่ื ทกุ ขอันไมเ กือ้ กลู ตลอดกาลนาน และกรรมที่เปนไปเพ่อื สุข เกอ้ื กลู ตลอดกาลนาน สงผลใหไ ปสอู บาย ทุคติ วนิ บิ าต นรก คร้ันมาสูความเปนมนษุ ยก ็เปนคนโง เขลาเบาปญ ญา สว นกรรมคอื การเขา หาศึกษาไตถ ามสมณพราหมณถึงส่งิ ตา งๆ ดังกลา วมานนั้ อํานวยผลใหไ ปสสู ุคติโลกสวรรค ครน้ั มาสคู วามเปนมนษุ ยก ็เปน คนมีปญญามาก. เมือ่ ไดร ูลักษณะกรรมแตละชนดิ ทใ่ี หผลตา งๆ กนั ตามสมควรแกก รรมนั้นๆ ดังนี้แลว เม่ือ เหน็ สตั วเกิด ตาย ไดดี ตกยาก ผวิ งาม ผิวทราม ดวยตาทพิ ยอ นั บรสิ ทุ ธิ์แลว ยอ มรูตามความเปน จริงวา สัตวเปน ไปตามกรรมของตนมนั่ คงในหลักทวี่ า สตั วทั้งหลายมกี รรมเปน ของตน เปน ผูรับ สนองผลกรรมทต่ี นทําไวก ําเนิดแตก รรม ผูกพนั ในกรรม พึง่ กรรมของตนเอง กรรมยอมจาํ แนกสัตว ใหเ ลวหรือประณตี ตามควรแกกรรมน้ันๆ ดังนี.้ ความรูเห็นเกย่ี วกบั สัตวถูกตองกับความเปน จรงิ น้ี แล ทานเรยี กวา จุตปู ปาตญาณ ญาณชนิดน้เี ปนตัววิปส สนา ท่ีรเู ห็นเหตปุ จจัยแหงชวี ะตามความ เปนจริง ท้งั มพี ยานในการเกิดตายในสงั สารวฏั อยา งดีดว ย ผูมญี าณชนิดน้ยี อมมั่นใจในการเวียน เกดิ เวียนตายวาเปน จริง และยอ มรแู นช ัดวา กรรมเปนตวั ปจ จัยใหส ตั วไ ดด ีตกยากในระหวา งเกดิ ตายในสงั สารวฏั น้ัน จึงสามารถถอนความเหน็ ผดิ ในเร่ืองสงั สารวัฏ และเรือ่ งอํานาจของสิง่ ท่ี บันดาลความสุขทกุ ขแ กสรรพสตั วไดเดด็ ขาด เมอ่ื วปิ สสนาญาณแกกลาสามารถเหน็ เหตุปจจยั ของ ชีวะถกู ตองได ความมั่นใจเชนน้ีช่อื วาขา มเหวแหง ความสงสยั เสยี ได วิปสสนาญาณกม็ ีแตจ ะ เจรญิ กาวหนา ย่งิ ขึน้ ไป วธิ ีเจริญวปิ ส สนาญาณจะไดก ลา วพสิ ดารในขอ วาดว ยอาสวกั ขยญาณ ขา งหนา วธิ กี ารเจรญิ จุตูปปาตญาณมนี ยั ดงั การเจรญิ ทิพพจักขุญาณท่กี ลา วมาแลว จึงเปน อัน หมดขอ ความท่ีจะพงึ กลาวในบทนเี้ พียงน้.ี ทิพยอํานาจ ๑๔๗
บทที่ ๑๒ วธิ สี รา งทพิ ยอาํ นาจ อาสวกั ขยญาณ รจู กั ทาํ อาสวะใหส น้ิ ไป ทพิ ยอาํ นาจขอ น้ี หมายถงึ ปรชี าญาณสงู สุด ซง่ึ สามารถรจู กั มลู เหตุของทุกขถูกถว น และ รูจักวธิ ีทําใหส้ินไปอยางเด็ดขาด เปน ความรูสามารถปลดปลอยจิตใหห ลุดพนจากอํานาจของกิเลส และกรรม บรรลถุ ึงภูมทิ ่มี ีอิสรภาพทางจิตใจเต็มที่ มเี อกราชโดยสมบูรณ ถึงความเปน ไทยอยาง เตม็ เปยม. ความรชู ้นั นจ้ี ัดเปนพระพุทธปรีชาสงู สุดในพระพทุ ธศาสนา ผจู ะกา วขนึ้ สภู ูมิพระพุทธปรชี า สูงสดุ นี้ไดตอ งไดผานการเจริญวิปสสนาญาณมาตามลาํ ดับข้นั อยา งละเอยี ดลออ ที่เรียกวา เจริญ ญาณทสั สนะ ฉะนัน้ จะแสดงวิธีเจริญวิปสสนาไวในเบอ้ื งตน แลวจึงจะแสดงวธิ เี จริญอาสวกั ขย- ญาณในเบ้อื งปลาย พอเปนแนวทางของผูปฏิบตั ิ. ผูจ ะปฏบิ ัตพิ ึงแกปญหาขนั้ ตน ใหต กเสยี กอ น มิฉะน้ันจะเกดิ ความลังเลสองจติ สองใจใน ขณะท่ีปฏิบัตริ ํ่าไป ปญหาขนั้ ตนน้ันคอื จะดําเนินชีวติ ไปตามทางทุกข หรือจาํ ดําเนนิ ชวี ติ ไปตาม ทางสขุ หรอื จะดําเนนิ ชวี ิตไปตามทางกลาง ซ่งึ เปน ทางสิ้นสุดของสุขและทกุ ขในอวสาน ขาพเจา จะช้ีลักษณะทางทงั้ ๓ นี้พอมองเหน็ เพ่อื สะดวกในการพิจารณาตัดสินใจ เมอื่ เรามองดูชีวิตอยา ง กวา งๆ และถวนถ่จี ะพบวา ทุกชีวิตลวนแตประสบสิ่งไมสมหวงั หรือสงิ่ ไมปรารถนา ไมวาชีวติ นนั้ จะอยใู นรปู ลกั ษณะดปี ระณีตเพยี งไรก็ตาม ความไมส มหวังก็คืบคลานเขามาสชู ีวิตร่าํ ไป ส่งิ น้ันคือ ความแก ความเจ็บ ความตาย ความโศกเศรา เห่ียวแหง ใจ ความพไิ รราํ พัน ลาํ บากกาย ความคับใจ แคนใจ ไมม ีชวี ิตใดปราศจากสง่ิ เหลา นไี้ ปไดสักชีวิตเดียว เมอื่ สบื สาวราวเรอื่ งดอู ยางละเอียดก็จะ เห็นไดว า ทกุ ขหรือสง่ิ ไมพงึ ปรารถนาเหลา นี้ ยอ มมมี าแตช าตคิ ือกาํ เนดิ กายขึ้นเปน ตัวตนนั่นเอง ถา ไมมีกําเนิดกายแลว สง่ิ เหลา นี้กไ็ มมีท่ีปรากฏ เมื่อสบื สวนตอ ไปวา ชาติมาจากอะไร? กจ็ ะทราบ วามาจากกรรมดงั กลา วไวใ นจตุ ูปปาตญาณนน่ั เอง สัตวจะเกดิ ขึ้นเปน รูปกายในกาํ เนิดใดๆ ยอม อาศยั กรรมเปน ผแู ตงท้ังสน้ิ กรรมดแี ตง กําเนิดดี กรรมเลวแตงกําเนิดเลว เมอ่ื สืบสวนตอไปอกี กจ็ ะ ทราบวา กรรมยอมกําเนดิ จากความรูส ึกแหงใจ ความรูส กึ แหง ใจนนั้ มี ๓ ประเภทคือ ๑. ความรสู ึกฝายกเิ ลส. ๒. ความรูสึกฝา ยคณุ ธรรม. ๓. ความรสู กึ กลางๆ. ความรสู ึกเหลา น้ีเกดิ จากความเรา ของอารมณ คอื เมื่ออารมณมาสัมผสั จะเกดิ ความรูสกึ และสะเทือนใจข้ึนเปน สุข ทกุ ข หรือเฉยๆ แลวเรา ใจใหเ กดิ กเิ ลสหรอื คุณธรรมข้นึ อกี ทีหนงึ่ เม่อื ดําเนินตามทางของกเิ ลสยอมกอกรรมเลวขน้ึ ใสตวั ไดร บั ทกุ ขเ ปนผลสืบเนอ่ื งไป เมอ่ื ดาํ เนินตาม ทางของคุณธรรมยอมกอกรรมดใี สตัว ไดสขุ เปนผลสืบเน่ืองไปในกําเนิดฝายดี ซ่งึ มที ุกขโ ดย ธรรมชาตเิ จอื ปน ไมพ นไปจากทกุ ขเ ด็ดขาดได เมื่อดําเนนิ ไปตามทางกลางคือทางแหงความรสู ึก เปนกลาง ยอ มไมก อกรรมใดๆ ใสตัว เปนทางสน้ิ สุดแหงสุขและทุกขใ นอวสาน ตรงจุดศนู ยกลาง ทิพยอํานาจ ๑๔๘
คอื ใจนัน่ แหละมีทางสามแยกอยแู ลว เราจะเดนิ ไปทางไหนก็จงรบี ตดั สนิ ใจแลวเดินไป ตง้ั ตนจาก จดุ ศนู ยกลางนน่ั เองเร่อื ยไป จติ ใจเปนจุดศูนยก ลางและเปนจุดตั้งตนของทางทกุ ข ทางสขุ และทาง นพิ พาน หรือจะวาเปน จดุ ตง้ั ตนของทางนรก ทางสวรรค และทางนพิ พานกไ็ ด ถาจะเปรยี บทาง ทุกขเ หมอื นทางซาย ทางสขุ เหมือนทางขวา และนพิ พานกเ็ ปนทางกลาง มอี ยูแลวทีจ่ ุดศูนยก ลาง คือจิตใจ พระบรมศาสดาทรงพบวา ทางกลางเปน ทางตรงไปสคู วามปราศจากทุกขเด็ดขาดในบน้ั ปลาย จงึ ทรงบัญญตั ขิ อ ปฏิบัตเิ พ่ือบรรลจุ ดุ หมายน้นั ขนึ้ เรยี กวา มชั ฌิมาปฏปิ ทา เมื่อรวมกาํ ลงั ใจ ดาํ เนินเปนกลางในทางสายกลางเร่อื ยไป กจ็ ะบรรลถุ ึงปลายทางคือสภาวะไมมที กุ ข ทเ่ี รียกวา พระ นพิ พาน ในอวสาน บรรดาทาง ๓ สายน้ี ทานจะเดินตามทางสายไหนจงรบี ตัดสินใจแตบัดนี้ ถา ทา นตัดสนิ ใจเดินตามทางสายทุกข ทานก็จะดงิ่ ไปสูนรก ขา พเจา ไมมีคําแนะนําใหไ ด ถา ทาน ตดั สนิ ใจเดนิ ตามทางสายสขุ ทานก็จะตรงไปสสู วรรค ขา พเจา ไดก ลาวแนะนําไวม ากแลว ถา ทาน จะตัดสนิ ใจไปตามทางสายกลาง ทานกจ็ ะตรงดงิ่ ไปสสู ภาวะไมม ที ุกขใ นเบือ้ งปลาย ขา พเจาพรอม ท่จี ะใหคาํ แนะนําตอ ไปนีท้ ีเดยี ว กอ นแตจะใหค าํ แนะนาํ ในวธิ เี ดินทางสายกลาง ขา พเจา จะวาด ภาพพระนพิ พานอันเปนภูมิทีส่ ดุ ทุกข และจะวาดภาพทางสายกลางอันเปน ทางดําเนินไปสพู ระ นพิ พานนัน้ พอใหนกึ เห็นภาพไวบ าง ดงั ตอไปน้ี ณ ทสี่ ุดแหง ทางสายกลางน้นั บริบูรณไ ปดว ยสภาวะสมปรารถนาทกุ ประการ เมอ่ื ประมวล แลว เปน ดงั น้ี คอื (๑) เอกภาพไพศาล ไดแ กม ีความเปนเอกราชสทิ ธ์ขิ าดในการประกอบกรณียะทุกประการ ไมมีอาํ นาจอน่ื ใดเขา มาสอดกา วกายได (๒) เสรีภาพสมบรู ณ ไดแ กมสี ทิ ธอิ์ ํานาจในการดาํ รงอยูตามใจประสงคข องตนอยา งเต็มที่ ไมม กี ฎหมายหรืออาํ นาจใดจํากดั สิทธ์ิไดแมแตประการใด. (๓) อสิ รภาพเตม็ เปยม ไดแกม คี วามเปนตนของตนเตม็ ที่ พน จากอาํ นาจของกเิ ลสและ กรรมเด็ดขาด กิเลสและกรรมไมม อี าํ นาจบังคบั บัญชาไดอ กี ตอ ไป. (๔) สมภาพไพบลู ไดแ กม ีความเสมอภาคเทาเทียมกันในความเปนแกว (=รตั นภาวะ) ไมมี ความเหล่อื มล้ําต่ําสงู ในลักษณะทเ่ี รียกวา ขา จาว บา ว นาย แมแตป ระการใด. (๕) เอกภี าพไพบูล ไดแ กความเปน อันหนึง่ อันเดยี วกนั จรงิ ๆ ไมมคี วามแตกตา งระหวาง แกว ดวยกัน ไมมีความรูสกึ แกงแยง แขง ดีใคร ไมมีการเอารดั เอาเปรียบใคร ไมม คี วามรูสกึ รษิ ยาใคร มีน้ําใจพรอ มทีจ่ ะอภยั และใหโอกาสแกผ อู ่ืนเต็มที่ ไมข ัดขวางใคร ในกรณยี ใ ดๆ มคี วามรักอยา ง เปน ธรรมในสรรพสตั ว มีความเปน สภุ าพชนเต็มที่ พรอมท่จี ะชวยเหลือผตู กทุกขไ ดยากทกุ เม่อื และมใี จเทยี่ งธรรม ไมน าํ ความลาํ บากเดอื ดรอนมาสตู นและคนอ่ืนสัตวอ ่นื โดยประการใดๆ. (๖) สนั ตภิ าพถาวร ไดแ กม ีความสงบราบคาบ ไมมเี หตุทําใหเ กดิ การปนปวน ไมมีความ โกลาหลวนุ วายประการใด เพราะเปนสันตบคุ คล ผบู ริบูรณด วยความเกลยี ดกลัวบาป มีความ ประพฤติทางกายวาจาใจขาวสะอาด มีความเปน คนดีพรอมทุกประการ และมัน่ อยูในสนั ติธรรมทกุ เมื่อ ถึงความเปนเทพเจา ผบู ริสุทธ์แิ ลว. ทิพยอาํ นาจ ๑๔๙
(๗) เอกันตบรมสขุ ไดแกมีความบรมสุขสว นเดียว ปราศจากสภาวะที่เรียกวา เกดิ แก เจ็บ ตาย ทุกขกายคบั แคนใจ และร่าํ ไรรําพันเพอโดยประการทัง้ ปวง มีแตสภาวะตรงกันขามกับ ทุกขดงั กลาวน้นั มีความอิ่มเต็มส้ินหิวกระหายแลว มคี วามสมปรารถนาทุกประการแลว สภาวะ ดงั กลา วมาโดยสงั เขปน้ี มใี นท่ีใด ที่นน้ั แหละเรียกวา พระนิพพาน เปนจดุ หมายสงู สดุ ตามหลักทาง พระพทุ ธศาสนา. สวนปฏปิ ทาเพอ่ื บรรลุถึงจดุ หมายสงู สุดน้นั เรยี กวามัชฌิมาปฏิปทา เม่ือจะวาดภาพพอให มองเห็นเปนแนวทาง ก็จะเปน ดงั นี้ คอื (๑) เปนทางสวางไสว ไมม ืดมวั ไมค ดคอ ม เปนทางตรงลวิ่ แลสดุ สายตา. (๒) เปนทางปลอดโปรง ปราศจากเสยี้ นหนามหลักตอ. (๓) เปนทางสะอาด ปราศจากสิง่ สกปรกโสมม. (๔) เปน ทางราบเรียงเดินสบาย. (๕) เปน ทางลาดสงู ขน้ึ ไปโดยลาํ ดบั . (๖) เปนทางรมร่ืนปลอดภยั จากแดดฝนและสตั วราย. (๗) เปนทางทีม่ อี ากาศสดชื่นมดี อกไมนานาพันธสุ งกลิน่ ตลบอบอวล มผี ลไมโ อชารสนานา ชนิด มีสุธาโภชนะรสเลศิ ตา งๆ พอไดก ล่ินกห็ ายหิวทนั ที มีประกายแสงสวา งรุงเรืองสดใส ทาํ ให รสู ึกเบกิ บานใจยง่ิ ขึน้ ในเมอ่ื จวนถงึ ทส่ี ดุ ทาง มัชฌมิ าปฏปิ ทามีลักษณะดงั ภาพท่วี าดขน้ึ นี้ เปนทาง ท่นี าดาํ เนินทส่ี ุด และจะไมเ ปนทางดว นซง่ึ ทําใหผ ูดําเนนิ ผิดหวงั แตประการใด เม่อื ไดท ราบ ลกั ษณะสภาพของพระนพิ พานและทางกลางพอสมควรเชนน้แี ลว สมควรท่จี ะเตรียมพรอมเพ่อื ดําเนนิ ตอ ไป. ความลงั เลใจมกั จะเกิดข้ึนแกผ ูจะไปสทู ิศทีไ่ มเคยไป วาจดุ หมายท่มี ุงจะไปใหถ งึ น้ันมีแน หรือ? ฉันใด บุคคลผูจะไปสพู ระนิพพานก็มกั จะลังเลใจฉันนนั้ เหมอื นกนั เพอ่ื ชว ยใหผูจะไปเกิด ความม่ันใจ แนใจวา พระนพิ พานมีจรงิ จึงวางหลักอนมุ านและอปุ มาไวพอเปนหลกั คิดดงั ตอ ไปน.้ี หลกั อนมุ าน คอื ทกุ สิ่งยอ มมีสภาวะตรงกันขามเสมอ เชน มีนอกยอ มมใี น มหี นา ยอมมี หลงั มีซา ยยอมมีขวา มีเย็นยอ มมีรอ น มมี ดื ยอมมีสวา ง มไี มแ นยอมมีแน มที กุ ขยอมมีปราศจาก ทกุ ข มอี นัตตาคือความไมเปนตนของตน ยอ มมีอัตตาคือความเปนตนของตน มีความไมส ม ปรารถนา ยอมมีความสมปรารถนา มีสขุ ไมส มบรู ณ ยอ มมีสขุ สมบูรณ มีกิเลสยอมมีปราศจาก กเิ ลส ฯลฯ เปนสภาพท่ีตรงกันขา มเสมอไป พระบรมศาสดาไดทรงใชหลักอนุมานนี้ ทาํ ความแน พระหฤทัยในการเสาะแสวงหาพระนพิ พานมาแลว เปน หลกั ท่ีไมนาํ ไปสูค วามผิดหวัง แมความเห็น ของผกู า วขึ้นสทู างกลางจริงจังข้ันแรก คอื พระโสดาบนั ก็ตรงกบั หลักอนมุ านน้ี คือเหน็ วา ทุกสงิ่ มี เกิดตองมีดับ ไมมหี นทางใดจะฝา ฝนกฎธรรมดานี้ได และในนัยตรงกันขา มทานก็เห็นชัดอีกวา ทุก สิ่งเม่อื ไมม เี กดิ ก็ตอ งไมม ีดบั ไมม หี นทางใดจะไปบังคบั ใหเ ปล่ียนแปลงกฎความจรงิ อันนี้ได เชนเดยี วกนั ผูเหน็ แจงชดั เชน นีย้ อมมน่ั ใจวา พระนพิ พานคือภมู ิพนทกุ ขเดด็ ขาด ไมม เี กิดดับน้ันมี แนน อน จึงเกิดอตุ สาหะยง่ิ ขึน้ เดินตามทางสายกลางนน้ั ไปโดยไมยอมถอยหลงั เลยแมแ ตกา วเดียว ทิพยอํานาจ ๑๕๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180