แลวก็บรรลุถึงภูมิพนทุกขเ ด็ดขาดเขา จริงๆ ในอวสานดว ย ผูเดินทางสดุ สายแลวยอมยนื ยนั เปน เสยี งเดยี วกันวา พระนพิ พานมจี รงิ . สว นหลกั อุปมาคอื ธรรมดาไฟเผาไหม ณ ที่ใด ยอ มทําที่น้ันใหรอ น เมอ่ื ดับไฟ ณ ท่นี ้ันแลว ทนี่ น้ั ยอ มหายรอ นกลายเปนท่เี ย็นฉันใด ธรรมดากเิ ลสเผาลนใจยอ มทาํ ใจใหรอน เมือ่ ดับกเิ ลสท่ใี จ ไดแ ลว ใจยอ มหายรอนกลายเปน ใจเยน็ ฉนั นนั้ น้ําที่หลัง่ ไหลมาตามลาํ ธารจากทส่ี งู ถงึ ทต่ี าํ่ ยอ มมี ตน น้ําคือแหลง ขงั นาํ้ ฉันใด ความสขุ หรอื ความทุกขทีป่ รากฏแกค นเราอยทู กุ วนั น้ี ก็ยอมมตี นคือ แหลง ทเ่ี กดิ ฉนั นัน้ กิเลสและทกุ ขยอ มแสดงตัวอยทู ่ีจติ ใจ เมื่อดบั กิเลสอันเปนตัวเหตุแหงทุกขได แลว ใจกป็ ราศจากกเิ ลสและทกุ ข กลายเปนใจเย็น มีสขุ สมบรู ณส มปรารถนา มชั ฌมิ าปฏปิ ทา ยอ มกลมกลนื กบั พระนิพพาน คือมคี วามเปนกลางในทางกลางเรอ่ื ยไป กจ็ ะถงึ สภาพทเ่ี ปน กลาง ทีส่ ดุ คือพระนพิ พานในอวสาน ไมม ีทง้ั ทุกขไมม ที ้งั สุขในลกั ษณะโลกในพระนิพพานนน้ั แตเ ปนสขุ ในลักษณะที่ไมม ีอะไรกอ ความเดือดรอ นใหแ มแตประการใดๆ มแี ตดาํ รงอยใู นสภาพทเี่ รียกวาสขุ สมบูรณหรอื สขุ โดยสว นเดยี วจรงิ ๆ ความขอน้ที านพระธรรมเสนาบดีสารีบุตร ไดก ลาว เปรียบเทยี บใหเห็นวา คนทสี่ มบูรณไปดวยกามสุขทุกส่งิ น้ัน ยอมมที ุกขเกิดขึน้ มาแทรกทําใหเสยี ความสุขไป คนผูเขาฌานตง้ั แตช้ันตํา่ ๆ ขึ้นไปจนถึงชัน้ สูงสุดยังมีปจจนิกธรรมเกิดแทรกขดั ขวาง ความสุขในฌานนั้นๆ เนืองๆ สว นผบู รรลุถงึ อาสวักขัยแลวจะไมม ีทกุ ขเ กดิ แทรกแซงประการใด จงึ เปน อันวาพระนิพพานเปน บรมสขุ จรงิ แท ในเม่อื เปรียบเทยี บกบั ความสขุ ในดานอ่ืนๆ แลว เม่ือ พิจารณาตามหลักอุปมาน้ยี อมไดความชดั วา ใจท่ปี ราศจากกิเลสสิน้ เชิงนัน่ แหละพระนิพพาน เมอ่ื เปนเชน นพี้ ระนิพพานจงึ มใิ ชสถานที่ หรือภมู ิจิตใจชั้นต่าํ แตเ ปนภูมจิ ิตใจชัน้ สงู สดุ ซง่ึ ไมมีทางท่จี ะ ข้นึ สงู ไปกวา นไี้ ดอกี ภูมจิ ิตใจอันสงู สดุ นี้มผี ูบรรลุถึงมาแลว จึงมใิ ชภ ูมิท่ีเกนิ วิสัยสามารถของ มนษุ ย เปน ภูมิทม่ี นษุ ยอาจปฏบิ ัตบิ รรลไุ ด ธรรมชาตทิ ี่เปนกลางและอาจทําใหเปนกลางไดกค็ อื จติ ใจ ทกุ คนกม็ ีจติ ใจอยแู ลว จึงไมเปนการยงุ ยากท่ีจะไปคนหา ลงมอื ปฏิบตั ิอบรมใจของตนไปให ดีทีส่ ุดจะดีได ก็จะประสบลกั ษณะทเี่ ปน กลางเขา เอง เม่อื ลกั ษณะเปนกลางปรากฏเดน ทใี่ จเมื่อไร ช่ือวา พบทางพระนพิ พานทแ่ี ทจ รงิ เมือ่ น้นั เมอื่ ดําเนินตามทางน้นั ไปไมห ยุด กย็ อ มจะถงึ ท่ีสดุ ของ ทางเขาสักวนั หนึ่ง เมือ่ ถึงท่สี ุดทางแลวยอมหมดปญหาท่จี ะถามวา อะไรคือพระนพิ พาน และพระ นิพพานอยทู ่ีไหน? ภมู ิท่หี มดสงสัยนั่นแหละคือพระนพิ พาน โบราณาจารยพ ดู ไวว า “สวรรคอยู ในอก นรกอยูในใจ พระนิพพานอยทู ไี่ หน ก็ที่ใจนนั่ เอง” ดังนี้ ก็เพือ่ ยตุ ปิ ญ หาทว่ี าพระนิพพานอยู ไหนนั่นเอง และเพื่อปลดเปล้อื งความเขา ใจผิดทีว่ า “พระนิพพานเปน บา นเปนเมอื งที่เจรญิ รงุ เรือง มสี ขุ สมบูรณสมปรารถนาทกุ ประการ ผปู ฏิบตั ิทางพระนิพพานตายแลวจงึ จะไปอยูอยา งมีชีวิตชีวา เสวยสุขารมณในพระนิพพานนั้น” ซงึ่ เปนความเขาใจผดิ กบั ความจรงิ อยา งลบิ ลบั ราวฟา กบั ดนิ ทเี ดยี ว. ยังมีปญ หาสืบไปวา เม่อื พระนพิ พานหมายถึงภูมิจติ ใจอันสูงสุด หรือจิตใจอนั บรสิ ทุ ธิ์ ปราศจากกิเลสโดยประการทง้ั ปวงเชนน้ีแลว เม่ือชีวิตยังมีอยกู ไ็ มเ ปนปญหาอะไร แตเ ม่ือรา งกายนี้ สลายแลว จติ ใจเชนนั้นเปน อยางไรตอ ไป? ปญ หานเ้ี ปนปญหาใหญย ่ิงทสี่ ุดในหมพู ทุ ธบริษัท แมใน สมยั พุทธกาลปญหานี้ก็ไดม แี ลวเหมอื นกนั . ทิพยอาํ นาจ ๑๕๑
พระบรมศาสดาตรัสวา คน ๒ จําพวกไมเหน็ พระนพิ พาน คอื พวกติดภพ ยนิ ดใี นภพ พอใจในภพ อาลยั ในภพ เมือ่ ไดฟงธรรมวา พระนพิ พานคอื ธรรมชาตดิ ับภพ ไมมภี พ ยอ มถอยหลังไมต ิดใจในพระนพิ พาน โดยเขา ใจวาเม่ือไมม ีภพจะมสี ขุ ได อยางไร พระนิพพานกค็ อื ความสูญเปลา น่ันเอง. อีกพวกหนึง่ คือพวกแลน เลยไป เมอื่ ไดฟงวาพระนพิ พานคอื ธรรมชาตดิ บั ภพดบั ชาตกิ ็ เขาใจไปวา เมอื่ ตายแลว กส็ ิ้นเรอื่ งกันแคน้นั สภาวะท่ไี มมอี ะไรอกี นนั้ เปนสภาวะสงบประณตี จริงแท พวกนี้เขา ใจวา ความไมมอี ะไรเปนพระนพิ พาน คนเกิดมาเพยี งชาตเิ ดียว ตายแลวกจ็ บเรือ่ งทกุ ข รอ นเพียงน้ัน พวกเหน็ วาตายสญู นเ้ี ปนพวกเลยธง ไมพบพระนิพพานท่จี ริงแท. พวกตดิ ภพกไ็ มเห็นพระนพิ พาน พวกเลยธงก็ไมเห็นพระนพิ พานเชนกัน สว นพวกท่ีเหน็ พระนิพพานไดคือ พวกมตี า รูวาอะไรเปนภพและมิใช ตามความเปนจรงิ เม่ือไดฟงวา พระนพิ พาน เปน ธรรมชาตดิ ับภพ ยอมเขา ใจถกู เหน็ ถูกวาพระนิพพานเปนธรรมชาตปิ ราศจากทกุ ข ปลอยวาง ความอาลยั ติดพนั ในภพไดเด็ดขาด แลว พอใจดาํ เนินทางปลอยวางเรอ่ื ยไป กบ็ รรลุถึงสภาวะที่ ปราศจากทกุ ขส มประสงค จิตใจยอ มดาํ รงอยูในสภาพปราศจากทุกขเ รือ่ ยไป เมอ่ื รา งกายยังดํารง อยู จิตใจก็ดาํ รงอยูในสภาพตางหากจากกายแลว แมเ ม่อื ตายไป จิตใจก็ยอ มดาํ รงอยตู างหากจาก กายไดเชนเดยี วกัน ความเปนพระอรหันตมิใชรูปกายและนามกาย ซง่ึ เปน สง่ิ เกดิ จากเหตุปจจยั และสลายเปน เลย จิตใจอันบรสิ ทุ ธิ์น่นั ตางหากเปนพระอรหันต สงิ่ นน้ั ไมสลาย เมอ่ื กายสลายแลว เทวดาและมนษุ ยส ามัญยอมไมเห็น แตผ บู รรลุถึงภมู ิสูงสุดดวยกันยอมเห็นกันไดเสมอไป จติ ใจที่ พน พเิ ศษเชนน้นั แลว ยอมไมเปนอยางอื่นอกี ยอ มดํารงความเปน เชนน้ันตลอดไป เปนภมู ทิ ี่ ปราศจากทุกขชว่ั นริ ันดร สมกับคําที่วา พระนิพพานเปน อมตํ คอื ตายไมเ ปน เที่ยงแทถาวร ตรงกนั ขา มกับโลกโดยประการทั้งปวง. ทนี ีย้ ังมปี ญหาขอ หนึง่ ซึ่งมักมาเปนอารมณข ดั ขวางผูจะเดินทางพระนิพพานเสมอๆ ถา เกิดขึน้ ในใจตนเองกเ็ ปนไปในรูปทวี่ า การดาํ เนินทางพระนิพพานมเิ ปน การตดั ชองนอยเอาตวั รอด ไปหรอื ? ถา เกิดขนึ้ ในใจผูอ ่นื กจ็ ะมาถงึ ผดู าํ เนนิ ทางพระนิพพานในรูปลักษณะคําขูข วญั เหมือนคํา พญามารขพู ระบรมศาสดาคราวตดั สินพระทัยจะเสดจ็ ออกบรรพชา แสวงหาโมกขธรรมคอื พระ นพิ พานวา “ทา นเปนคนเห็นแกต วั เอาเปรยี บเพอ่ื นมนษุ ย ไมชว ยเหลอื ผอู ืน่ เอาแตตัวรอด ไมเหน็ แกผอู ืน่ ไมเหน็ แกหมคู ณะ ฯลฯ แตบางทีกม็ าในรปู ลักษณะคาํ ลวง เปน ตน วา รอกอ น ยังไมถึง เวลาจะรบี รอ นไปไหน สมบตั ิวเิ ศษหรือยศศักด์อิ ยา งนนั้ ๆ กําลงั รอทานอยู มชิ ามินานกจ็ ะมาถงึ เสวยสมบัติเห็นปานน้นั ใหอ่มิ หนําสาํ ราญกอ นเถิด จึงคอ ยไป ฯลฯ” เพอื่ แกปญ หาขอ งใจอนั นี้ให ตกไป ขา พเจา จะเยืองความใหเหน็ เหตุผลพอเปนแนวคิดดงั ตอ ไปน้ี. การชวยเหลือเพอ่ื นมนษุ ยหรือชว ยหมคู ณะ ยอมมีทางหลายทางมใิ ชทางเดยี ว แมผูปฏิบตั ิ ทางพระนิพพานกท็ าํ ได และอาจทําไดดกี วาเสียอีก ไมเ หน็ จะขัดของท่ีตรงไหน มนษุ ยยอมตอ งการ ความชว ยเหลือในสง่ิ ซง่ึ เขามองไมเหน็ มากกวา ในสิ่งท่ีเขามองเห็น ทางขางหนานั้นมนุษยส ว นมาก มองไมเห็น จําเปน ตอ งขอความชวยเหลอื จากผูมีตามองเห็น แมแ ตใ นระยะชว่ั ชวี ิตหนึ่งเขากต็ อง พง่ึ ผูมีตา อยา งตา่ํ กว็ ่ิงไปหาหมอดใู หช วยทาํ นายทายทักให ไฉนเลา ในกรณยี ท่ไี กลกวาน้ันเขาจงึ จะ ทิพยอํานาจ ๑๕๒
ไมพึง่ ผูมตี า เปน การแนนอนทส่ี ดุ ทม่ี นุษยจะตองพง่ึ พาอาศัยผูม ีตาวนั ยงั ค่าํ ผูดาํ เนินทางพระ นิพพานนัน้ เปนบุคคลผูม ีตา ยอ มรูจ กั ขางหนา ขา งหลงั และปจจุบนั ไดด กี วาคนสามญั ธรรมดา จงึ อาจชว ยเหลอื เพื่อนมนษุ ยใ นดา นนี้ไดดี ในทางแนะนําใหเขาประกันภยั ภายหนาของเขาเอง และ ในบางคราวก็อาจตอ งนําเขาออกจากภัยภายหนา น้ัน แผค ุณความดีใหเ ขา ดังพระผเู ปนเจา ธรรม เสนาบดดี ว ยกรสารีบตุ ร ไดชว ยเปรตใหพน จากความเปน เปรตมาแลวเปนตัวอยาง สว นในการ ชวยเหลอื หมคู ณะท่ีตนมีสวนสัมพันธอ ยนู ั้นเลา กย็ อมทําไดเ ชนเดียวกัน แมจะอยหู างไกลกันตั้ง แสนโยชนกอ็ าจชว ยเหลอื กนั ได ไมจ าํ เปน จะตองคลุกคลีในหมูค ณะเสมอไป พระมหากัสสปเถระ ถอื อยปู าเปนวัตร ทานก็สามารถนาํ หมคู ณะในทางพระธรรมวนิ ัยไดดี เม่อื พระผมู พี ระภาคเสดจ็ ปรนิ พิ พานแลวทานกไ็ ดเ ปนหวั หนา ทําปฐมสังคายนาพระธรรมวนิ ยั เปนแบบฉบับทยี่ ่งั ยืนมาถงึ ทกุ วนั นี้ พระโมคคัลลบี ตุ รติสสเถระหลบหนีจากความวุนวายไปอยใู นถํ้าแหง อโธภาคบรรพต ปากนํา้ คงคาเปนเวลานานถึง ๑๒ ป เมือ่ คราวจําเปน แหงพระพทุ ธศาสนา หมคู ณะตอ งการตัวทานมาเปน หัวหนาทําการสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั ทา นก็ไปทําไดเ ปนอยางดี และดําเนินการเผยแผ พระพทุ ธศาสนาใหแ พรหลายไปยังนานาประเทศนอกชมพทู วีป สวุ รรณภมู ิ คือแหลมทองก็ไดรบั พระพทุ ธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติบานเมอื งมาแตครัง้ นั้น ทานที่ออกนามมาแลวกป็ ฏบิ ตั ิทาง พระนพิ พาน ปลกี ตนออกหางจากหมทู วี่ ุน วาย ทําไมทา นจึงทาํ ประโยชนชว ยเหลือเพ่ือนมนุษย และหมูคณะไดเลา? ทา นทาํ ไดด กี วาผวู นุ วายเหลา นั้นมใิ ชหรอื ? สวนขอ ท่ีมารลวงดวยคาํ หวาน หวานลอ ม ไมมีเหตผุ ลอะไรท่จี ะพดู มาก ถาทานยังอาลัยอยูในกามสมบัติคือยศศกั ดิ์ศฤงคาร บริวารลาภสักการะทา นกป็ ฏิบตั ติ ามทางพระนพิ พานไมได เพราะทางพระนิพพานกบั ทางใหเกดิ ลาภยศเปนคนละสาย มิใชท างเดยี วกัน ทานควรพิจารณาและตัดสินใจเองวาจะเอาความสุขช่ัว แลน หรือความสขุ ถาวร ถา จะเอาความสขุ ช่วั แลน ก็จงทําตามคําของมาร แตถา ตองการความสขุ ถาวรกจ็ งเดินไปตามทางพระนิพพาน อยาอาลัยในลาภยศเพียงชว่ั แลน นัน้ เลย ถาเราทาํ ดเี ปนคน ดที ่หี มคู ณะตองการแลว ลาภยศมมี าเอง แมไมป รารถนากต็ องไดอยูด ี จะไปอาลัยตายอยากเอา อะไรกัน เทา ท่เี ยอื งความใหเห็นเหตุผลมาเพยี งเทานค้ี งเพียงพอท่ีจะพจิ ารณาวนิ จิ ฉัยปญ หาขอ นี้ ได ตอไปนกี้ ็หมดปญ หาทีจ่ ะแกไ ข ควรเตรียมพรอ มเพ่ือรบั คาํ แนะนาํ ในวิธเี จรญิ วปิ สสนา เพ่อื ญาณทัสสนะทีถ่ ูกตอ งตอ ไป. วิปสสนาญาณ หยง่ั รากฐานลงบนความบรสิ ทุ ธสิ์ ะอาดของจิตใจ ความบรสิ ุทธิส์ ะอาดของ จติ ใจนน้ั ยอมมเี ปนขั้นๆ ตามลาํ ดบั กัน ความบริสุทธิ์ข้ันตนคือศลี ความบริสุทธิ์ขน้ั ที่ ๒ คอื สมาธิ ความบริสุทธ์ขิ ้นั ท่ี ๓ คือปญญาหรอื ญาณทัสสนะ ซึง่ คอ ยสุขมุ ประณีตไปโดยลําดบั จนถงึ ญาณทัสสนะท่ปี ระณตี ท่สี ดุ สามารถฉดุ ถอนตนออกจากโลกวุน วายไปสภู าวะที่บริสุทธิส์ ะอาดทสี่ ุด ในอวสาน ปญญาญาณในขน้ั ตางๆ น้ันมีถงึ ๕ ขั้นมีชื่อเรียกตา งๆ กันตามลกั ษณะของความรูนั้นๆ. การทว่ี า วิปสสนาญาณหยัง่ รากฐานลงบนความบรสิ ุทธ์ินนั้ อาศัยหลกั เหตผุ ลในทางอปุ มานี้ วา น้าํ ใสบริสุทธ์สิ งบน่ิงยอมสอ งดูเงาหนา ชัดเจนฉันใด จิตใจบริสุทธใ์ิ สสะอาดและสงบนิ่งก็ยอ ม สอ งเห็นเหตผุ ลและความจริงไดถกู ตอ งตามความเปนจริง ฉะน้ัน ดว ยเหตุผลขอนพ้ี ระผูมพี ระภาค จงึ ตรัสวา สมาธึ ภกิ ฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ภิกษทุ ง้ั หลาย! เธอทงั้ หลายจงเจริญ ทิพยอาํ นาจ ๑๕๓
สมาธิ เพราะผมู ีจิตเปนสมาธิยอมรูต ามความเปน จรงิ ไดดังน.ี้ สมาธดิ ีเดนไดด ว ยอาํ นาจศลี ธรรม ปญญาแหลมคมดวยอํานาจสมาธอิ บรม จติ รูจบส้นิ อาสวะไดเพราะปญ ญาบม สมดวยพระพทุ ธ ภาษติ วา สลี ปรภิ าวโิ ต สมาธิมหปผฺ โล โหติ มหานสิ โํ ส, สมาธปิ ริภาวิตา ปฺ า มหปผฺ ลา โหติ มหานสิ ํสา, ปฺ า ปริภาวิตํ จติ ตฺ ํ สมมฺ เทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ เสยยฺ ถีทํ กามาสวา ภวาสวา อวชิ ฺชา- สวา สมาธิอันศีลอบรมแลวมผี ลานสิ งสมาก ปญญาอันสมาธอิ บรมแลวมีผลมีอานสิ งสมาก จติ อัน ปญ ญาอบรมแลว ยอ มพน จากอาสวะ คือ กาม ภพ อวชิ ชา ดวยเหตุดังวามานที้ า นจึงวางข้ันของ การอบรมจิตใจใหบ ริสทุ ธิ์ตามลาํ ดับตอไปน้ี วสิ ุทธิ ๗ ประการ ๑. สีลวสิ ทุ ธิ ศลี บรสิ ุทธิ์ ไดแกมคี วามประพฤตทิ างกาย ทางวาจา และทางใจ บรสิ ุทธ์ิ สะอาด ปราศจากโทษนาติเตียน ตนเองก็ติเตียนตนเองไมได ผรู ูใ ครครวญแลว กต็ เิ ตียนไมไ ด มี ความเยน็ ใจ นึกถึงคราวไรกเ็ กิดปต ิปราโมทย ทําใหเกิดความสขุ กายสบายใจ และมคี วามสงบใจ ใกลตอ ความเปน สมาธิยง่ิ ขึ้น. ๒. จติ ตวสิ ทุ ธิ จติ บรสิ ทุ ธ์ิ ไดแกจ ิตใจเปนสมาธขิ น้ั ใดขนั้ หนงึ่ มกี ําลังพอเปน ท่ตี ั้งแหง ยถาภูตญาณทสั สนะได สมาธิท่ีจัดวามกี ําลงั เพยี งพอเพื่อเปน ทต่ี ง้ั แหง ยถาภูตญาณทสั สนะไดนนั้ คือ ฌาน ๔ ซึง่ มลี ักษณะจติ ใจใสสะอาด มคี วามรูสกึ เปนกลางๆ มสี ติและความบริสทุ ธค์ิ วบคมุ กาํ กับ เปนจติ ใจปราศจากกิเลสเคร่ืองทําใหห มองมวั มคี วามนิ่มนวลมั่นคงมกี ําลงั เพยี งพอทจ่ี ะพจิ ารณา สภาวะอนั สขุ ุมได. ๓. ทฏิ ฐวิ สิ ุทธิ ทฤษฎีบรสิ ทุ ธิ์ ไดแ กป ญญาจกั ษุมกี ําลังสามารถทาํ ลายอัตตานทุ ิฏฐิเสียได มคี วามรูเหน็ เหตุผลวา นามรปู เปน สิง่ เกิดจากเหตุปจ จัยจะตอ งเปน ไปตามเหตุปจจยั ของมัน ตกอยู ในลักษณะไมเ ทยี่ ง เปนทุกข และเปนอนัตตา ใครจะปรารถนาใหเปนไปตามใจประสงคยอมไมไ ด ไมอยใู นอํานาจและความปรารถนาของใคร ความรูเหน็ ตามไตรลกั ษณเชนนเี้ ปน เครือ่ งชําระ ความเห็นใหบริสทุ ธิ์ เปนยถาภตู ญาณทัสสนะขน้ึ รูเห็นชดั วารา งกายประกอบดวยธาตุ ๔ อาศยั สมั ภวธาตขุ องบดิ ามารดาผสมกนั มีกรรมเปน ผูต กแตง เจรญิ เติบโตดวยอาหารมวี ญิ ญาณอยู ณ ภายใน เปน ท่ีรวมแหง ความรูส กึ ซ่งึ สืบตอ ไปดว ยอายตนะและผสั สะเสมอ น้เี ปน เรม่ิ แรกแหง วปิ ส สนาญาณ. ๔. กังขาวิตรณวิสุทธิ ปญ ญาบริสทุ ธิส์ ามารถขามความสงสยั ได ไดแ กวิปสสนาญาณ เล็งเหน็ เหตุปจจัยปรงุ แตง นามรูปอนั สําเร็จมาเปนตัวตนในปจ จุบนั ซึ่งเปนท่ตี ง้ั แหงความเขา ใจผิด คิดวาเปนตัวตนแกน สารของตนจริงๆ เล็งเหน็ ชดั วา อวิชชา ตัณหา อปุ าทานและกรรมเปนตัวเหตุ แหงนามรูป เมื่อนามรปู เกิดข้ึนมาแลวยอมอาศยั อาหาร อายตนะ และผัสสะเปนปจจัยสืบตอให เจริญเตบิ โตและดาํ รงอยูสืบไป เม่ือเหตุและปจจัยแหง นามรปู ยังสืบตออยูเ พียงใดนามรูปกต็ องสบื ตออยูเพียงน้นั นามรปู ในอดตี ในอนาคต และในปจจุบัน ยอมอาศัยเหตุปจจยั เชนเดียวกนั แมใ น ภพกาํ เนดิ ทีป่ ระณีตสักเพยี งไร ท่จี ะพนไปจากนามรปู มไิ ดมี เมอื่ มีนามรปู อยยู อ มจะประสบความ ไมส มหวัง คือ แก เจ็บ ตาย ฯลฯ เสมอไป. ทิพยอํานาจ ๑๕๔
๕. มัคคามัคคญาณทสั สนวิสทุ ธิ ญาณบรสิ ุทธสิ์ ามารถรูจกั ทางผดิ ทางถกู ได คือวาเมื่อได รเู หน็ เหตุปจจยั ของนามรูปแจง ชดั แกใจเชนนัน้ จะเกิดอารมณวิเศษขึ้นในจิตใจอยางใดอยางหน่งึ ทท่ี า นเรียกวา วิปส สนูปกิเลส คอื (๑) โอภาส ความสวางแจมจาในจติ มองเหน็ ทุกทิศทางเหมอื นบรรลถุ งึ อาสวกั ขยญาณแลว ฉะนน้ั . (๒) ญาณ ความรเู ฉยี บแหลมคมคายกวา เดิมหลายเทาพนั ทวี มีความรเู ห็นเหตุผลทะลปุ รุ โปรงไมม ตี ิดขัด คลายอรหตั ตมรรคญาณฉะนั้น. (๓) ปต ิ ความอมิ่ เอบิ ชมุ ชื่นกายใจ มกี าํ ลงั เหลอื ประมาณ ทําใหจิตใจมปี ระกายแวววาว คลา ยพนจากอาสวะเดด็ ขาดแลว. (๔) ปส สัทธิ ความสงบ ไดแ กค วามเขาระงบั พกั อยู ไมเจริญปญ ญาตอ ไป ตดิ อยใู นความ สงบนน้ั ดว ยความสาํ ราญแชมชน่ื ไมสามารถจะทง้ิ ความสงบนนั้ . (๕) สขุ ความสบายใจ ปลอดโปรงใจ เปน ไปอยา งประณตี สุขุมและสมาํ่ เสมอ ประหน่ึงพน ทุกขเดด็ ขาดแลว . (๖) อธิโมกข ตามรูปศพั ทแ ปลวา ความพน ของจติ ใจปรากฏเดนชดั ย่งิ นกั คลา ยกบั พน เดด็ ขาดจากกเิ ลสอาสวะแลวฉะนนั้ แตโ ดยความ หมายเอานอ มใจเช่อื ในเรื่องทปี่ ระสบน้ัน โดย ปราศจากญาณ. (๗) ปคคาหะ ความเพียรกลา หาญเด็ดเด่ียว ประคองจติ ไวในระดับสงู ไมใหจติ ใจตกลงสู ภวังคเลยแมแ ตนอย. (๘) อปุ ฏฐาน สตดิ าํ รงม่ันคงแขง็ แรงกํากับจติ ใจเปนนิตย ไมมีพลง้ั เผลอ คลา ยกบั มีสติ ไพบูลยแลวฉะน้นั . (๙) อุเบกขา ความวางเฉยในอารมณ และมีใจเปนกลางเที่ยงตรงอยางยงิ่ ประหนงึ่ บรรลุ ภูมิทีม่ ีฉฬงั คเุ บกขาในอารมณ. (๑๐) นกิ นั ติ ความรสู ึกพอใจในความเปนไปของจติ ขณะนน้ั อยา งซ้ึงๆ รูสึกหย่งิ ในใจนดิ ๆ หรอื ภูมใิ จหนอยๆ วา ตนพนจากอาํ นาจของมารแลว เมื่อไดประสบกบั ภาวะทางจติ ใจเชน น้ีแลว หยั่งทราบวา เพียงเปน ผลวิปส สนาญาณขัน้ ขา มความสงสัย มใิ ชผลสูงสดุ ของวปิ สสนาญาณท่ี แทจรงิ จงึ มิหยดุ ย้งั ความเพยี รเพียงน้ัน ประคองจติ ใจท่ีเห็นแจง นั้นในทางแหงวปิ สสนายิง่ ข้ึน ไม ยอมใหเ ขวไปนอกทางแหงวปิ ส สนา. ๖. ปฏปิ ทาญาณทัสสนวสิ ุทธิ ญาณบรสิ ทุ ธส์ิ ามารถรูเหน็ ทางดาํ เนินท่ีถกู ตองของจติ ใจ และดําเนนิ จิตใจไปตามทางนั้นอยา งถกู ตองดวย คอื รวบรวมความรทู างวปิ ส สนาใหป รากฏแจม แจงแกใจทุกๆ ขนั้ ไปท้งั ๙ ขนั้ อยางละเอยี ดลออ ไดค วามรูเห็นแจมกระจางในทางเหตผุ ลตนปลาย ของสงั ขารอยางดี จนมใี จดํารงเปนกลางเท่ียงตรงอยางย่งิ . ๗. ญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ญาณทัสสนะบรสิ ทุ ธิ์ คือเกิดความรู ความเห็นอริยสจั ธรรมแจม แจงขึ้นในใจ สามารถทาํ ลายกเิ ลสออกจากใจไดเดด็ ขาด ขาดเปนข้ันๆ ไปตามกําลงั ของญาณทัส- สนะนนั้ ๆ รสู กึ โลง ใจเบาใจย่ิงข้นึ ตามลําดับไป และรไู ดด วยวา กิเลสอะไรถกู กาํ จดั ไปแลวงอกขึ้นอีก ทิพยอํานาจ ๑๕๕
ไมได เพราะมูลรากของมนั ถูกขจดั แลวอยางเดด็ ขาด ความรูความสามารถขนั้ นเี้ ปนขั้นสงู และ เดด็ ขาด มอี าํ นาจเหนอื กเิ ลสอนั เปนปจจนกึ ของตนๆ ความรคู วามสามารถขั้นสูงสุดนั้นทาํ ลายอา สวะไดส ิน้ เชิงเด็ดขาด สิ้นชาตสิ ้นิ ภพจบกจิ พรหมจรรย หมดกรณยี ะทจ่ี าํ เปนตอ งทาํ แลว ความรู เหน็ เชนนี้แหละเรยี กวา ญาณทสั สนะบริสุทธิ์ เปนพระพุทธปรีชาสูงสดุ ของพระพุทธศาสนา. ทานกลาววา วสิ ทุ ธิ ๗ ประการน้ยี อ มเปน ปจจยั สงตอผปู ฏิบตั ิ ไปสภู ูมพิ น ทุกขเด็ดขาดใน อวสาน เปรียบเหมอื นรถโดยสาร ๗ ระยะ ตา งสง ทอดผโู ดยสารไปสูท ่ีสดุ ของทางฉะน้นั เมอ่ื จะ พดู ใหเ ขาใจงายกค็ อื วสิ ุทธิ ๗ นีเ้ ปนข้นั ของการปฏิบัติ ๗ ขั้น คอยๆ สงู ขึ้นไปโดยลาํ ดับ ขั้นท่ี ๗ เปนขั้นสูงสุดยอดของการปฏบิ ัติ การปฏิบตั ิต้ังแตขน้ั ท่ี ๓ เปน ตนมาถึงขั้นท่ี ๗ ลวนเปนขน้ั ของ การเจรญิ ญาณทสั สนะ เพอื่ รจู ริงเห็นแจง ทาํ ลายรงั ของกิเลสท้ังสน้ิ ทา นเรียกวธิ กี ารปฏบิ ตั ินั้นวา วปิ ส สนาวิธี เมือ่ ดําเนินไปตามทางของวปิ สสนาถกู ตองจะเกิดปญญาญาณขึน้ ตามลาํ ดับขน้ั เรียกวา วิปส สนาญาณ มีกาํ ลงั พอแกก ารประหารอาสวะในข้ันนน้ั ๆ เรือ่ ยไป จนถึงข้นั สูงสดุ สามารถทําลาย อาสวะไดเด็ดขาด มอี ํานาจเหนอื กิเลสทท่ี ง้ั ปวงเรียกวาอาสวักขยญาณ วิปส สนาญาณมี ๙ ประการ ดงั ตอไปนี้ วปิ ส สนาญาณ ๙ ประการ ๑. อุทยพั พยานปุ สสนาญาณ ปรชี าญาณเลง็ เห็นนามรูปมีลกั ษณะเกิดขึน้ เสือ่ มไปเสมอๆ เหมือนฟองนํ้าและพยบั แดด ที่ต้ังขน้ึ จากเหตปุ จจยั แลว แตกดับไปฉะนัน้ . ๒. ภังคานปุ สสนาญาณ ปรชี าญาณเลง็ เห็นนามรปู ท่ีมีลกั ษณะเคลือ่ นไปสลายไป เหมือน กระแสนํา้ ไหลตอ กนั ไปเร่ือยๆ ฉะนั้น มองดูความเกดิ กับความตายแลวเหน็ เปน ลกั ษณะเดยี วกนั คอื แปรจากสภาวะอยางหนึ่งไปสูสภาวะอีกอยา งหนง่ึ สืบเนอ่ื งกันไปเปน ทอดๆ. ๓. ภยตปุ ฏ ฐานญาณ ปรชี าญาณเลง็ เห็นนามรูปเปนสง่ิ นาสะพรึงกลวั ปรากฏประหนึง่ เสอื หรือราชสหี เพราะเปน สิง่ มีภัย ประกอบไปดว ยภัยนานาชนิด เมือ่ มีนามรูปข้ึนมาแลวทีจ่ ะหวงั ปราศจากภัยน้ันเปนไปไมได นามรปู จึงเปนตัวภยั อันนาหวนั่ กลัวทีส่ ดุ . ๔. อาทีนวานปุ ส สนาญาณ ปรชี าญาณเลง็ เห็นนามรปู เตม็ ไปดวยโทษทน่ี า เบ่ือหนา ยท่สี ดุ เปน ที่ประชมุ ของโรคาพาธนานาชนิด เปน ทีก่ อ ใหเกิดความคับใจแคน ในนานาประการ นา ระอดิ ระอาใจ เตม็ ไปดวยสง่ิ ปฏกิ ูล เปนสง่ิ เปอ ยเนาผุพงั สงกลนิ่ เหมน็ คละคลุง อยูเสมอ ไมน า ภริ มยย นิ ดปี ระการใด. ๕. นพิ พทิ านุปสสนาญาณ ปรีชาเล็งเหน็ นามรูปเปนส่ิงนา เบอ่ื หนา ยย่งิ ขึ้น จนถงึ ถอนกาม ราคะออกจากนามรูปได รูสึกเบอ่ื รสู กึ หนายนามรปู เปนกําลงั . ๖. มุญจิตกุ ัมยตาญาณ ปรีชาญาณเล็งเห็นเหตผุ ลวา เมอ่ื ไมม นี ามรูป ภัยอันตรายสิ่งนา เบ่ือหนา ยท้งั หลายยอ มไมม ี จงึ เกิดความพอใจใครจ ะพน ไปจากนามรูปนั้น. ๗. ปฏสิ ังขานปุ สสนาญาณ ปรชี าญาณเลง็ เห็นเหตุผลเปนเคร่ืองปลดปลอ ยตนจากนามรูป คอื เห็นเหตปุ จจัยปรุงแตงนามรปู แจมแจงตามความเปน จรงิ เมื่อเหตปุ จ จยั ของนามรูปยังมอี ยู จะ ปรารถนาใหนามรปู ดับไปยอมเปนอฐานะ เมือ่ ใดกําจดั เหตุปจ จยั ของนามรปู ไดแ ลวเมอื่ นั้นนามรูป ทพิ ยอาํ นาจ ๑๕๖
ยอมดับไป อวิชชา ตณั หา อปุ าทาน กรรม เปนเหตุแตง สรางนามรูปขึ้น อาหารเปนปจ จัยสืบตอรปู กายใหเปนไป อายตนะและผสั สะเปน ปจ จัยสืบตอ นามกายใหเ ปนไป เมื่อพิจารณาเห็นเหตผุ ล เชน นจี้ ิตใจยอมมีกาํ ลังมัน่ คง ดาํ เนินไปในแนวทางเพื่อกาํ จัดเหตปุ จ จัยของนามรปู ยิ่งข้นึ . ๘. สังขารุเปกขาญาณ ปรชี าญาณเลง็ เห็นเหตผุ ลวา นามรปู เปนไปตามเหตปุ จจัยของมัน และมีธรรมดาท่ตี อ งเปล่ยี นแปลงไป เปน สง่ิ บบี คั้นและไมอยูใ นความหวงั ของใคร จะไปฝาฝน ธรรมดาของมนั ยอ มไมค วร แลว วางใจเปน กลางในนามรปู ไมดีใจไมเ สียใจ ในความเปล่ยี นแปลง แปรไปของสังขาร มีญาณรเู ทาทันเสมอไป. ๙. สัจจานโุ ลมิกญาณ ปรีชาญาณเลง็ เห็นอรยิ สจั ธรรม ๔ ประการ แจงชัดตามกาํ ลังของ ญาณทัสสนะนัน้ ๆ แลว กาํ จัดกิเลสใหข าดไปตามกําลงั ของอรยิ มรรคญาณ ทเ่ี กิดขึน้ ถึง ๔ ข้นั ตามลาํ ดบั กนั ข้นั สุดทา ยสามารถทําลายอาสวะใหขาดเด็ดไปจากขันธสนั ดานสิน้ เชิง ผูบรรลุถึงขั้น สูงสดุ น้ีเปน พระอรหนั ตในพระพทุ ธศาสนา บรรลถุ ึงยอดของพระพทุ ธปรชี าคืออาสวักขยญาณ. อารมณของวิปส สนา บรรดากิเลสอนั เกดิ ข้ึนครอบงําจิตใจของบุคคลยอ มมีอวชิ ชาเปนเหตุ มอี ารมณเปน ปจ จยั มีทอี่ าศัยคอื สภาวธาตุในภายในรา งกายและจิตใจ เม่ือไมรจู ริงซ่ึงสภาวะธาตภุ ายในและอารมณ เพียงใดยอมเปนเหตแุ ละเปน ปจ จยั ใหเกดิ กิเลสเพยี งน้ัน ฉะน้ัน การเจริญวิปสสนาจึงหมายถงึ การ พจิ ารณาสภาวธาตุภายในรางกายจิตใจและอารมณท ม่ี าสัมปยุต ใหร เู ห็นแจมแจง ตามความเปน จริง เพ่อื ทําลายรงั ของอวชิ ชา สภาวธาตุและอารมณท คี่ วรพิจารณานัน้ มดี ังตอไปนี้ ๑. ขันธ ๕ = (๑) รปู ขันธ ไดแ ก ส่ิงประกอบดวยธาตุ ๔ (๒) เวทนาขันธ ไดแก ความรรู สผสั สะ (๓) สญั ญา ขันธ ไดแก ความจาํ อารมณแ ละรสผสั สะ (๔) สังขารขันธ ไดแ ก ความคิดอานอารมณ (๕) วญิ ญาณขนั ธ ไดแก ความรูจกั อารมณ ๒. อายตนะ ๑๒ = (๑) อายตนะภายใน ๖ มีจกั ขุ เปนตน (๒) อายตนะภายนอก ๖ มรี ปู เปน ตน ๓. ธาตุ ๑๘ = (๑) จักขุธาตุ ไดแก จกั ขุประสาท มหี นา ทีเ่ หน็ (๒) โสตธาตุ ไดแ ก โสตประสาท มีหนา ทฟ่ี ง (๓) ฆานธาตุ ไดแก ฆานประสาท มีหนาที่สดู ดม ทิพยอาํ นาจ ๑๕๗
(๔) ชวิ หาธาตุ ไดแก ชิวหาประสาท มหี นาท่ีล้มิ (๕) กายธาตุ ไดแก กายประสาท มหี นา ที่สมั ผัส (๖) มโนธาตุ ไดแ ก ธาตรุ ูคอื จติ ใจ มีหนาที่รับรู (๗) รปู ธาตุ ไดแ ก ส่งิ ที่เปนรูปรางท้งั ปวง (๘) สัททธาตุ ไดแก สงิ่ ทีเ่ ปนเสียงท้งั ปวง (๙) คนั ธธาตุ ไดแ ก สิ่งท่ีเปนกลิน่ ท้งั ปวง (๑๐) รสธาตุ ไดแ ก สงิ่ ทงั้ ปวงท่เี ปนรส (๑๑) โผฏฐพั พธาตุ ไดแ ก ส่ิงสมั ผัสไดท ้ังปวง (๑๒) ธัมมธาตุ ไดแก สิ่งเกดิ กบั ใจท้งั ปวง (๑๓) จักขวุ ิญญาณธาตุ ไดแ ก ธาตรุ อู ารมณท างจักขปุ ระสาท (๑๔) โสตวญิ ญาณธาตุ ไดแก ธาตุรอู ารมณทางโสตประสาท (๑๕) ฆานวญิ ญาณธาตุ ไดแก ธาตรุ ูทางฆานประสาท (๑๖) ชวิ หาวญิ ญาณธาตุ ไดแก ธาตุรูทางชวิ หาประสาท (๑๗) กายวญิ ญาณธาตุ ไดแ ก ธาตุรทู างกายประสาท (๑๘) มโนวิญญาณธาตุ ไดแก ธาตุรูทางมโน ๔. อินทรยี ๒๒ = หมวดท่ี ๑ อินทรยี ๖ คอื (๑) จกั ขนุ ทรีย ไดแ ก จกั ขปุ ระสาท มหี นา ทีเ่ ห็น (๒) โสตนิ ทรีย ไดแก โสตประสาท มีหนา ทฟ่ี ง (๓) ฆานนิ ทรีย ไดแก ฆานประสาท มีหนา ทสี่ ดู ดม (๔) ชวิ หนิ ทรีย ไดแ ก ชิวหาประสาท มหี นา ทลี่ ิ้ม (๕) กายนิ ทรีย ไดแ ก กายประสาท มหี นาทีส่ มั ผสั (๖) มนนิ ทรีย ไดแก มโน มีหนาทรี่ ู หมวดที่ ๒ อนิ ทรยี ๓ คอื (๑) อิตถินทรยี ไดแ ก ความเปนสตรี (=อติ ถภี าวะ) (๒) ปุรสิ ินทรีย ไดแ ก ความเปนบุรษุ (=ปุริสภาวะ) (๓) ชีวติ ินทรยี ไดแก ความมีชีวิต (=ชีวภาวะ) หมวดท่ี ๓ อินทรีย ๕ คอื (๑) สุขินทรยี ไดแก สภาวะเปน สุข (๒) ทกุ ขนิ ทรยี ไดแ ก สภาวะเปนทุกข (๓) โสมนัสสนิ ทรีย ไดแก สภาวะเปนความดีใจ (๔) โทมนัสสนิ ทรยี ไดแ ก สภาวะเปนความเสยี ใจ (๕) อเุ ปกขนิ ทรีย ไดแก สภาวะเปน ความเฉยๆ ทพิ ยอํานาจ ๑๕๘
หมวดท่ี ๔ อนิ ทรีย ๕ คอื (๑) สทั ทนิ ทรีย ไดแก สภาวะเปนความเช่ือ (๒) วิริยนิ ทรยี ไดแก สภาวะเปน ความเพียร (๓) สตนิ ทรีย ไดแก สภาวะเปน ความสาํ นึก (๔) สมาธินทรีย ไดแก สภาวะเปน ความม่ันใจ (๕) ปญญินทรยี ไดแก สภาวะเปน ความรู หมวดท่ี ๕ อนิ ทรีย ๓ คอื (๑) อนญั ญตั ตัญญสั สามีตินทรยี ไดแก ความเปนพระโสดาบนั (๒) อญั ญินทรยี ไดแก ความเปนพระอรหันต (๓) อญั ญาตาวินทรยี ไดแ ก ความเปนพระอริยบุคคลชน้ั สกทิ าคามมิ รรคข้ึนไป จนถึงช้นั พระอรหัตตมรรค ๕. อริยสัจ ๔ = (๑) ทกุ ข ไดแกส กั กายะอนั ประกอบดวยความลาํ บาก มีอนั แปรผันไปตามเหตุ ปจจัยของมนั บีบค้ันเผาลนจติ ใจ ไมเ ปน ไปตามความหวังของใครๆ. (๒) ทกุ ขสมุทยั ไดแกตัณหา ความทะยานอยาก ซง่ึ มอี วิชชาเปนรากแกว เปนตัว เหตกุ อ ทุกขเผาลนใจ เปนตัวเหตุใหเกดิ ตาย สืบเนือ่ งไปในกาํ เนดิ และภพตางๆ สูง บางต่ําบา ง. (๓) ทกุ ขนโิ รธ ไดแกพ ระนิพพานอันเปน ทป่ี ราศจากตัณหาพรอมทั้งอวิชชา เปนท่ี ดับสนทิ ของทกุ ข. (๔) ทุกขนโิ รธคามนิ ีปฏิปทา ไดแกขอ ปฏิบัติเปนกลาง ซ่ึงมสี มรรถภาพไปสูพระ นิพพาน เปนท่ดี บั ทุกขเด็ดขาด ทีพ่ ระบรมศาสดาทรงบญั ญัตวิ า อรยิ มรรค ประกอบดวยองค ๘ คือ สัมมาทิฏฐิ ความเหน็ ชอบ คือเหน็ อรยิ สัจ ๔ ถกู ตอ ง สมั มาสังกัปปะ ความคิดชอบ คอื มโนสจุ ริต สัมมาวาจา พูดชอบ คือวจสี จุ รติ สมั มากัมมนั ตะ การงานชอบ คือกายสุจรติ สมั มาอาชวี ะ เล้ียงชวี ติ ชอบ สัมมาวายามะ เพียรพยายามชอบ คือเพยี รละบาปบาํ เพ็ญบญุ สมั มาสติ สํานกึ ชอบ คือสติปฏฐาน ๔ ประการ สัมมาสมาธิ ความสงบใจชอบ คอื ฌานมาตรฐาน ๔ ประการ หมวดที่ ๖ ปฏิจจสมปุ บาท คอื (๑) อวิชชา ไดแก ความรไู มแ จม แจง ตามความเปนจริง (๒) สงั ขาร ไดแ ก ความคดิ อานปรงุ แตงทางใจ ทิพยอํานาจ ๑๕๙
(๓) วิญญาณ ไดแก ธาตุรู ซึ่งไปถอื ปฏสิ นธใิ นรปู ธาตุตามความคดิ (๔) นามรูป ไดแ ก รา งกายคอื รปู กายและนามกาย (๕) สฬายตะ ไดแก อายตนะ ๖ มีจักขปุ ระสาทเปนตน ซงึ่ เกิดมีในรูปกายดวย อํานาจกศุ ลากศุ ลกรรมตามความจํานงของใจ (๖) ผัสสะ ไดแ ก ความกระเทือนใจตออารมณ (๗) เวทนา ไดแ ก ความรรู สผัสสะ (๘) ตัณหา ไดแ ก ความชอบไมช อบรสผสั สะ (๙) อุปาทาน ไดแก ความผกู ใจไวใ นสิ่งที่ชอบท่ีชัง (๑๐) ภพ ไดแก การกอ เรอ่ื งตามความประสงค เปนรูปเปนรางขึ้นในจิตใจ คอื โครงสรางของกรรม (๑๑) ชาติ ไดแก ความปรากฏของเบญจขันธ (๑๒) ชรามรณะ ไดแก ความแก และความตาย ตลอดถงึ ทกุ ขอื่นๆ อันเปน ผลทั้ง มวล ซ่ึงปรากฏขึ้นแกสกั กายะ คือเบญจขนั ธ เมื่อไมร ูเทา ก็เปน ปจ จยั แกส ังขาร วิญญาณวนไปอกี เกิดเปนวงกลมข้ึน นีเ่ ปนฝา ยสมุทัยวาร ฝายนโิ รธวารก็มีการดับ สบื เนื่องกันเปนทอดๆ นับแตด ับอวิชชาตวั ตนแลว ปจจยั อืน่ ๆ ก็พลอยดับตามกัน ไปจนหมด เปนอนั วา กองทกุ ขท ้ังสิ้นไดดบั ไป. วิธเี จริญวิปสสนา ตามทก่ี ลา วมาแลวในตอนตนน้ี เปนการกลาวตามหลกั ปรยิ ัตธิ รรม เพ่ือเปน แนวทางทําการ เจริญวปิ ส สนาใหเ ปน ไปตามลําดบั ทีนี้จะกลา วโดยทางปฏิบัตจิ รงิ ๆ สบื ไป วิธีเจรญิ วปิ สสนามี ๒ วธิ ี คือ ๑. เจรญิ วปิ สสนาอยางพสิ ดารเพื่อญาณทสั สนะ หรือทพิ ยอํานาจหลายประการตามแตจะ ประสงค. ๒. เจรญิ วปิ สสนาอยา งลดั ตดั ตรงไปเพื่ออาสวักขยั โดยสว นเดียว จะอธบิ ายวิธีทง้ั สองนไ้ี ว พอเปนตัวอยา ง ดงั ตอ ไปนี้ วิธีเจริญวิปสสนาอยางพิสดาร๑ วธิ ีเจริญวปิ ส สนาแบบน้ี ผูเ จรญิ มงุ หมายใหมคี วามรูความเหน็ แตกฉานหลายดานหลายมุม หรือมุง ใหม ที พิ ยอํานาจหลายประการ เพ่ือเปนเครอ่ื งมือใชบาํ เพ็ญประโยชนชวยเหลือผูอ ่ืน ในเมอ่ื บรรลุถงึ ประโยชนส ูงสดุ สาํ หรบั ตนแลว จงึ ดาํ เนนิ การวิปสสนาอยางกวางขวางละเอียดลออเปน ขน้ั ๆ ไปคือ (๑) เจรญิ สมาธิใหถ ึงฌานมาตรฐาน คอื ฌานที่ ๔ เปนอยา งตา่ํ ใหชํ่าชองชํานิชาํ นาญใน .......................................................................................................................................................... ๑. ประมวลวิธีท่ีอาจเปนไดส าํ หรบั ผูมีบารมใี หญและอตุ สาหะมากเทาน้ัน มิใชวิธที จ่ี ะสาธารณะแกผูบําเพ็ญทุกๆ คน ทพิ ยอาํ นาจ ๑๖๐
ฌานอยา งยิง่ เพ่อื เปน ฐานในการเจรญิ ญาณทสั สนะและทพิ ยอํานาจนนั้ ๆ อยางดี. (๒) เพ่ือปองกนั มิใหห ลงตนลืมตัวในเม่อื พบเห็นอะไรๆ อนั เปนสวนภายนอกทม่ี าปรากฏใน มโนทวาร ในขณะเขาฌานนน้ั ๆ พงึ เจรญิ อภิภายตนะ ๘ ประการดงั กลา วแลวในบทวาดวยทิพพ จักขญุ าณ. (๓) เพือ่ ปองกนั ความเห็นผิด อันเปนเหตยุ ดึ ถือในอัตตา พงึ เจริญยถาภตู ญาณทสั สนะ ดงั น้ี เขา ฌานถึงข้ันที่ ๔ แลวพิจารณากายอนั ปรากฏแกญาณจักษใุ นขณะนัน้ ใหเ ห็นตามเปน จริงวา เกิดจากสมั ภวธาตขุ องบดิ ามารดาผสมกนั มกี รรมเปนเหตุ มีวิญญาณธาตุเขา ถือปฏสิ นธิ แลวเจรญิ เตบิ โตจนคลอดออกมา อาศยั อาหารหลอเล้ียง อาศัยอายตนะและผัสสะปรนปรอื จงึ ดาํ รงสืบตอ กันไป เปน ส่ิงเปลีย่ นแปลงไปตามเหตปุ จ จัย เปนของเปอยเนาผุพังไมจ รี ังยง่ั ยืนเปน ทกุ ข บบี ค้ัน ไมเปนไปตามความปรารถนาของใครๆ คือตกอยูใตอ าํ นาจของไตรลักษณเ สมอ เมอ่ื รเู ห็น อยูโดยนยั น้ี อัตตานทุ ฏิ ฐิก็ไมมีที่อาศัย ช่ือวา ไดก าํ จดั ทิฏฐาสวะใหตกไป. (๔) เจริญทิพยอาํ นาจประการนนั้ ๆ ดังกลาวมาในขอวาดว ยการเจริญทพิ ยอํานาจนน้ั ๆ แลว จนไดความรูเหตุผลตน ปลายของสิ่งทัง้ หลาย และมที พิ ยอาํ นาจตามความประสงค มตี นเอง เปน พยานในธรรมน้ันๆ ไดดี. (๕) เจรญิ เพ่อื ปฏิสมั ภทิ า ๔ ประการ คือทําการกําหนดพจิ ารณารูความจริงแหงธรรม อนั เปน ไปอยูปรากฏอยูในภายใน คือ (๑) ความยอหยอนของจติ (๒) ความสงบอยภู ายในของจิต (๓) ความฟงุ ไปภายนอกของจติ (๔) เวทนาท่ีเสวยอยู กาํ ลงั เกิดขั้น ต้งั อยู ดบั ไป (๕) สญั ญาทีก่ ําลังเกิดขนึ้ ตง้ั อยู ดับไป (๖) วิตกทกี่ าํ ลงั เกดิ ขึ้น ตง้ั อยู ดบั ไป (๗) นิมิตคือเครื่องหมายในธรรมทง้ั หลาย ไดแกส บาย ไมส บาย เลว ประณีต ดาํ ขาว พรอ มดว ยสว นเปรยี บของนิมติ นน้ั ๆ. ทําการกําหนดรใู สใ จใครครวญ สอบสวนทวนดูจนรูทะลปุ รุโปรงแลวทุกประการ จะเกิด ปฏสิ มั ภิทาญาณ ๔ ประการ คือ ก. ธมั มปฏิสัมภทิ าญาณ รูแตกฉานในธรรม คือ ตัวเหตุปจ จัยของสิ่งทั้งหลายและหลกั ธรรม น้ันๆ. ข. อัตถปฏสิ ัมภทิ าญาณ รูแตกฉานในอรรถ คอื ตวั ผลของเหตปุ จจยั ไดแกส ิง่ ท่เี ปนไปตาม เหตุปจ จัยและความหมายทแี่ นน อนของหลักธรรมน้ันๆ. ค. นริ ุตติปฏสิ มั ภิทาญาณ รแู ตกฉานในสภาวะและภาษาที่จะใชบญั ญตั สิ ภาวะนนั้ ๆ ใหไ ด ความแนชัดตายตัวลงไป เปน ท่ีฟง เขา ใจกนั ไดในหมูชนชาตภิ าษาเดียวกัน. ฆ. ปฏิภาณปฏสิ ัมภทิ าญาณ รแู ตกฉานในการกลา วธรรมโดยปฏิภาณ คือความผองแผว ของจติ ใจ สามารถมองเหน็ เหตุผลและความจริงไดว องไวทนั ทีทนั ใด. ทิพยอํานาจ ๑๖๑
(๖) เจรญิ เพื่ออาสวักขยญาณ คอื เขา ฌานชน้ั ใดชัน้ หนง่ึ ตั้งแตฌานที่ ๑ ถึงเนวสัญญานา- สญั ญายตนะ ตลอดถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ (ถา ได) แลว พจิ ารณาส่ิงทถ่ี งึ ความเปนรูป เปน เวทนา เปนสังขาร เปนวญิ ญาณ ในฌานน้ันๆ ใหเ ห็นโดยไตรลกั ษณะอยางถี่ถว น เห็นแลวเห็นอกี จนจติ วางอปุ าทานในสิ่งนน้ั ๆ ได ก็ชอ่ื วา บรรลถุ ึงอาสวกั ขยญาณ จะรขู นึ้ ในขณะนั้นเองวา สิ้นชาติ สน้ิ ภพ จบพรหมจรรย เสรจ็ กิจที่ตองทาํ อีกแลว เฉพาะสมาบัตสิ องประการ คอื เนวสัญญานาสัญญายตนะ และสญั ญาเวทยติ นโิ รธน้ันเปน สมาบตั ิประณตี เกินไป จะเจรญิ วปิ ส สนาภายในสมาบตั ินน้ั ไมไ ด ทานวาพึงเขาและออกเสยี กอน ในลาํ ดบั ทีอ่ อกจากสมาบัตินนั้ พึงรีบทาํ การเจริญวปิ ส สนาทนั ที โดยยกเอาสญั ญาเปน เคร่อื งกาํ หนดนั้นมาเปนอารมณ หรือสิง่ ใดๆ มาปรากฏแกจติ ใจในขณะออก จากฌานใหมๆ น้นั ก็พึงยกเอาส่งิ นน้ั ๆ มาพิจารณาโดยไตรลักษณใ หเห็นชัดแจง แลวๆ เลาๆ จติ ใจก็ จะถอนความยดึ ม่ันในสงิ่ ท้ังปวงได. ๒. วิธีเจรญิ วิปส สนาอยางลัด วิธีเจรญิ วิปส สนาแบบน้ี ผปู ฏิบตั มิ งุ ทาํ ลายอาสวะใหเดด็ ขาดเลยทเี ดยี ว ไมพะวงถงึ คณุ สมบตั ิสวนอ่นื ๆ โดยเชื่อวา ถา มีวาสนาเคยสั่งสมมาเม่อื บรรลถุ ึงอาสวักขยั แลว คณุ สมบตั นิ ั้นๆ จะมมี าเองตามสมควรแกว าสนาบารมี และเชือ่ วา คณุ สมบตั พิ เิ ศษนัน้ เปนผลรายทางของการ ปฏิบตั ิ เมอื่ เดนิ ตามทางอยา งรบี ลดั ตดั ตรงไปถึงท่ีสุดแลวกจ็ ะตอ งไดคณุ สมบตั ินน้ั ๆ บางพอสมควร ไมจาํ เปนตอ งไปหวงใยใหเ สียเวลา รีบรุดหนาไปสูเปา ประสงคส ูงสดุ ทีเดียว มวี ิธีปฏบิ ัติดังตอ ไปน้ี ๑. อาศยั สมาธิชน้ั ใดชัน้ หนง่ึ เปนฐานทําการพจิ ารณาอารมณข องวปิ สสนาไปตามลาํ ดับๆ จนไดความรกู ระจางแจงในอารมณนนั้ ๆ เปนอยา งๆ ไป สมาธทิ ี่มีกําลงั เพียงพอคอื ฌานท่ี ๔ ถา ตํ่า กวานนั้ จะมกี าํ ลงั ออน จะไมเห็นเหตุผลแจม ชดั จะเปน ความรกู วัดแกวง ไมม ีกําลังพอจะกําจัด อาสวะได ผูม ีภมู สิ มาธิชั้นตาํ่ พงึ ทําการเขา สมาธสิ ลบั กับการพจิ ารณาเรื่อยไปจงึ จะไดผล อยา มีแต พจิ ารณาหนาเดยี ว จติ จะฟุงในธรรมเกนิ ไป แลวจะหลงสญั ญาตวั เองวาเปนวปิ สสนาญาณไป. ๒. ตีดานสาํ คญั ใหแตกหกั คอื ทาํ การพจิ ารณาขนั ธ ๕ อันเปน ทอ่ี าศัยของอาสวะน้ันใหเหน็ แจง ชัดโดยไตรลักษณะ แจมแลว แจมอกี เรอื่ ยไปจนกวาจะถอนอาลยั ในขันธ ๕ ไดเดด็ ขาด จติ ใจจงึ จะมีอํานาจเหนือขันธ ๕ รูเทา ทนั ขันธ ๕ ตามเปนจรงิ อาสวะก็ตั้งไมต ดิ จิตใจก็บรรลถุ งึ ความมี อิสระเตม็ เปย ม ชอ่ื วา บรรลอุ าสวักขยญาณดว ยประการฉะนี้. พระไตรลักษณญาณ การเจริญวปิ ส สนา ไมวาวธิ ใี ดและข้นั ใด จะตอ งมีพระไตรลกั ษณญาณเปน เครือ่ งตัดสนิ ช้ี ขาดเสมอไป จงึ จะเปน วิปสสนาญาณทถี่ กู ตอง ถาไมมพี ระไตรลกั ษณญาณเปนเครอื่ งชีข้ าดแลว วิปสสนาญาณนั้นๆ ไมสมบูรณ อาจเปนไปเพ่ือความหลงได เม่อื มีพระไตรลกั ษณญาณกาํ กบั อยู แลวเปนอันรับประกนั ไดวาจะไมหลงทางไปได แมว ิปส สนปู กิเลสเกิดข้นึ กไ็ มห ลงสาํ คัญวาเปน ภูมิ ธรรมสงู สุด แลว จะยบั ย้ังชั่งตรองวาธรรมที่ปรากฏข้ึนนัน้ อยใู นลกั ษณะของพระไตรลักษณหรอื ไม ถา ยงั อยใู นลักษณะพระไตรลักษณแลว ชื่อวา ยงั เปนสงั ขาร มิใชวิสังขาร ธรรมชาติของสังขารยอ ม ทพิ ยอาํ นาจ ๑๖๒
ไมเที่ยง เปน ทุกข และเปน อนัตตาเสมอไป สว นวิสงั ขารยอมพนอาํ นาจของพระไตรลกั ษณ คอื เปน สภาวะเทย่ี งแทแ นนอนไมท ุกข และเปนตนของตน พระไตรลักษณญาณนั้น คอื ๑. สพฺเพ สงขฺ ารา อนิจฺจาติ อนิจฺจลกฺขณาณํ รูลกั ษณะไมเทย่ี งวา สิ่งทีเ่ กดิ จากเหตุ ปจ จัยท้ังหมดเปน สิ่งไมเที่ยง มลี กั ษณะผันแปรไปตามเหตปุ จ จยั ของมันนั่นเอง สังขารทุกชนิดท้ัง อยา งหยาบ อยา งกลาง และอยา งละเอยี ด ท้ังภายในตัว ท้งั ภายนอกตัวท่วั ไตรโลกธาตุ ยอมตกอยู ใตอ าํ นาจของความไมเท่ียงทัง้ สิน้ เมือ่ มเี กดิ ยอมมีตาย เปน คูกนั เสมอไป ส่ิงใดไมเกดิ สง่ิ นน้ั จึงจะไม ตาย ความรเู ชนนี้แลเรยี กวา อนิจจลักษณญาณ. ๒. สพเฺ พ สงขฺ ารา ทกุ ฺขาติ ทกุ ฺขลกฺขณาณํ รูในลักษณะทุกขวา สิ่งที่เกิดจากเหตปุ จ จัย ท้ังหมดเปนสิ่งมที ุกข มลี ักษณะเผาลนบบี ค้นั และผันแปรไปตามเหตปุ จ จยั ของมันน่นั เอง สังขาร ทุกชนดิ ทัง้ อยา งหยาบ อยา งกลาง และอยา งละเอียด ทงั้ ภายในตวั ท้ังภายนอกตวั ทัว่ ไตรโลกธาตุ ยอมตกอยใู ตอ าํ นาจของความทุกขท ง้ั สิ้น สงั ขารทีเ่ ทย่ี งแทม ิไดม ี ขนึ้ ชื่อวา สังขารแลวตอ งมที ุกข เสมอไป เหมือนไฟแมเพียงนอยนิดก็รอ นฉะนนั้ จะหาความสุขทแ่ี ทจรงิ ในสงั ขารยอ มหาไมได เหมือนจะหาความเย็นในไฟยอมไมไ ดฉะนนั้ ความรูเชน นี้แลเรียกวา ทกุ ขลกั ษณญาณ. ๓. สพเฺ พ ธมฺมา อนตตฺ าติ อนตตฺ ลกฺขณาณํ รใู นลักษณะอนตั ตาวา ส่งิ ทัง้ ปวง คอื ตวั เหตุ และปจ จยั ทั้งหมดเปนอนตั ตา คอื เปนสง่ิ ดํารงอยู และเปนไปตามลกั ษณะของมันเองเชนน้ัน เมอ่ื มันเปนตวั เหตหุ รือตัวปจ จัยปรงุ แตง ใหเกิดเปนส่งิ สงั ขารใดๆ ข้ึนมา ใหต กอยใู นลกั ษณะไมเ ทีย่ ง และเปน ทุกขแ ลว ตัวมันเองก็ตอ งไมเที่ยงและเปน ทุกขเ ชนเดียวกัน เพราะเหตุกับผลยอ มเปนส่ิง คลายคลึงกันเสมอไป เหตเุ ทีย่ งผลตอ งเทย่ี ง เหตุทุกขผ ลตอ งทกุ ข เหตมุ ิใชตัวตนผลก็มใิ ชตัวตน เชน เดียวกัน สิ่งใดเปนไปตามสภาพของมนั อันใครๆ จะไปฝา ฝน ขดั ขนื มิได สิง่ นั้นชอื่ วา อนัตตา ทั้งส้ิน ความรเู ชนนแี้ ลเรียกวา อนตั ตลกั ษณญาณ. ขอควรสงั เกตของผูปฏบิ ตั ิ คอื พระไตรลกั ษณค รอบงาํ ไปถงึ ไหน ที่น้ันยงั มิใชภูมิพนทกุ ขจ รงิ ภมู พิ นทุกขจรงิ แทน ั้น ตองพน จากอาํ นาจของไตรลักษณเ ด็ดขาด ไตรลักษณห มดอาํ นาจทีจ่ ะ ครอบงําถึง ภูมิจิตใจอันพน จากอาํ นาจของไตรลกั ษณนั้นมีไดอ ยางไร เปน สิง่ จะตอ งรูเ องเห็นเอง โดยสวนเดยี ว เมือ่ ไดรเู ห็นภมู ิอันพน อาํ นาจไตรลกั ษณแลว ทา นพนทกุ ขเดด็ ขาดแลว เย็นใจได ทีเดียววา ทานจะไมมวี นั กลับมาสูอ ํานาจของไตรลักษณอ ีกตอไปตลอดนริ ันดรกาล. พระอาสวกั ขยญาณ ความรวู า อาสวะส้นิ ไปแลว หรือยงั อยูอยางไรเปนความรสู าํ คญั ในชนั้ สูงสุดของ พระพุทธศาสนา ฉะน้นั จงึ ควรรูจกั หนาตาของอาสวะใหเ ปน ขอ สังเกตในข้ันพิจารณาดงั ตอ ไปน้ี อาสวะคือธรรมชาติที่หมักดองจิตใจ ทําใหจ ิตใจแปรสภาพเปน สิง่ เศราหมองบดู เหม็น เปน ทุกขเดือดรอ น และกอทุกขเ ดอื ดรอ นเพม่ิ ใหมแ กตวั เปน ทวีคุณ ทานจําแนกไว ๔ ประการคอื ๑. ทฏิ ฐาสวะ อาสวะคอื ทฏิ ฐิ ไดแกความเห็นเปนเหตุใหยดึ ถือสิง่ ใดสง่ิ หนึง่ วาเปน อัตตา ตวั ตน เปน แกนสาร ทิฏฐิที่เปน เหตุใหย ดึ ถอื ตัวตนนั่น ไดแ กภ วทฏิ ฐิ คือเห็นวา มแี น ไดแ กเห็นวา อัตตา=ตวั ตน เปน สง่ิ แนน อน แลว แลวยดึ ถอื เอาสง่ิ ทต่ี นเห็นอันใดอันหนึง่ เปน อัตตา แลวประพฤติ ทิพยอํานาจ ๑๖๓
เพ่ือความมอี ตั ตาตามทตี่ นปรารถนา ฝายหน่ึงเห็นวาไมม ีอัตตาโดยประการทง้ั ปวงเรยี กวาวิภวทิฏฐิ คอื เห็นวาไมม ีแน ไดแ กเห็นวา ขาดสูญ ตายแลว ก็สิน้ เรอ่ื งทกุ ขร อ นเพียงน้ัน ความเหน็ ท้ังสอง ประเภทนี้ยอ มเปนไปเพื่อกอทุกขดว ยกัน จึงจดั เปน ความเห็นผิดอันควรกาํ จัด เมื่อปฏบิ ตั ิเจรญิ วิปสสนาเหน็ ขันธ ๕ โดยไตรลักษณเ ม่ือใด ทฏิ ฐเิ ชนนี้กถ็ กู กําจัดไปเมือ่ น้นั . ๒. กามาสวะ อาสวะคือกาม ไดแกค วามตดิ ใจในกามารมณ คอื รูป เสียง กลนิ่ รส และ โผฏฐพั พะ (สิง่ สมั ผสั กาย) ท่เี รยี กวา กามราคะบาง กามฉันทะบา ง มคี วามพอใจตดิ พัน หมายมงุ ลมุ หลงในกามวัตถุ ครั้นไมส มหวังหรอื ไดส ิ่งไมพึงใจ ยอ มเกิดความโกรธแคน เกลียดชังหนายแหนง ครั้นไดส มหวังยอมเพลดิ เพลนิ มวั เมาในสิ่งเหลา นัน้ จนหลงตนลมื ตัวไป ความรูสกึ ๒ ฝา ยเนอ่ื ง ดว ยกามารมณนีแ้ ล เรียกวากามาสวะ เปนเคร่ืองหมักดองใจใหเศราหมอง แสดงตัวออกเปนกเิ ลส อยา งหยาบ คอื โลภะ ความเห็นแกได และกามราคะ ความใครในทางรวมประเวณี ทร่ี ุนแรงคือ กามมิจฉาจาร อยางกลางคือ กามฉันทะ ความพออกพอใจในกามารมณสามญั ทั่วไป มลี กั ษณะให อาลัยหว งใยในส่ิงทต่ี นพอใจน้นั ๆ. ๓. ภวาสวะ อาสวะคอื ภพ ไดแ กภวราคะความพอใจอาลยั ในภพ คอื ภาวะที่เปน นนั้ ๆ ภายในจติ ใจของตน ท่ีเรยี กวา รูปราคะ๑ ความติดใจในรปู ฌาน แสดงตวั ออกเปนกเิ ลส อยาง หยาบคือภวตณั หา ทะยานอยากไปเกดิ ในภพทต่ี นพอใจ อยางกลางคอื โสมนัสความดีใจในเม่ือ สมหวงั โทมนัสความเสียใจในเมอ่ื ไมส มหวัง อยางละเอยี ดคืออุเบกขาสขุ ในตติยฌานภูมิ และ มานะความถอื ตัว. ๔. อวชิ ชาสวะ๒ อาสวะคืออวิชชา ไดแกความรไู มแจม แจง ซ่งึ สิง่ นนั้ ๆ เปนเหตุใหหลงและ สาํ คัญผิดเขาใจผิดเหน็ ผดิ ไปตางๆ แสดงตัวออกเปนกเิ ลสอยา งหยาบคือมิจฉาทฏิ ฐติ างๆ และ วิภวตัณหา อยากดบั สญู ไมอ ยากเกิดอกี โดยความเขาใจผิดไปวา ตายแลวสิน้ เรื่องเพยี งนัน้ อยา ง กลางคือ อรปู ราคะความตดิ ใจในอรูปฌาน อยางละเอยี ดคืออุทธจั จะ ความฟุงของจติ หรือความ สะเทอื นใจตืน่ เตนในธรรมคอื ภาวะทเ่ี ปนไปในจิตชั้นสูง ที่ทา นเรียกวา ธรรมอุทธจั จะ และตัว อวิชชาเอง. วัตถอุ นั เปนท่ีตั้งของอวิชชา มี ๘ ประการ คอื ทกุ ข ทุกขสมุทยั ทกุ ขนโิ รธ ทกุ ขนโิ รธคามนิ ี ปฏปิ ทา อดีต อนาคต ปจ จุบนั และปฏจิ จสมุปบาท (=ปจจยาการ ๑๒) เม่ือยังไมร ูแจมแจงวตั ถทุ ้งั ๘ นี้ ตามเปน จริงเพียงไร อวิชชาสวะยังมีอยเู พยี งน้ัน เมอื่ แจม แจงในวัตถุ ๘ ประการนี้แลว อวชิ ชายอมดับไปส้ินเชงิ อวิชชาอนั เปนรากแกว ของกเิ ลสท้ังหลายถูกกําจดั ใหดับไปแลว กิเลส ทั้งหลายยอ มถกู กาํ จดั ไป เมอื่ กเิ ลสถกู กําจดั แลว กรรมอันเปนตัวเหตกุ อ นามรปู ในกาํ เนิดตา งๆ ก็ ถูกทาํ ลาย ทกุ ขท ั้งหลายอันเปน ผลของกิเลสและกรรมก็สน้ิ สุดลง เม่ือนามรปู ปจจบุ นั อนั เปน วิบาก ขนั ธยังมอี ยูก็เสวยผลของมนั ไปจนกวามนั จะสลายไป เมอ่ื นามรปู ปจ จบุ นั สลายแลว นามรูปใหมก็ ไมม อี ีก เปน อันหมดสง่ิ ตอ งเกิดตายเพียงน้ัน ตอ นั้นไปก็มีแตสภาวะท่ปี ราศจากทกุ ขโดยสวนเดียว .......................................................................................................................................................... ๑. ในพระสูตรวา ความพอใจในรูปภาพวิจิตร เปน รปู ราคะ. ๒. อวิชชาเปนพาหนะของกเิ ลสท้งั หลาย ทา นเปรียบเหมือนชางครี ีเมขลาสีหมอก. ทิพยอํานาจ ๑๖๔
ดํารงอยใู นสภาพปราศจากทุกขตลอดกาลนริ นั ดร. เมอื่ รูจ กั อาสวะ ๔ ประการน้ีตามความเปนจรงิ รเู หตเุ กิดอาสวะเหลา นัน้ รจู กั ทสี่ ิ้นอาสวะ และรูจ ักทางใหสิ้นอาสวะไดแลว ยอมสามารถทาํ ลายอาสวะเดด็ ขาดได ช่ือวา ไดบ รรลุอาสวักขย- ญาณ ดว ยประการฉะน.ี้ วธิ ีเจริญอาสวักขยญาณอยา งรวบยอด สาํ หรับผปู ฏิบตั ิจริงๆ คือ เขาฌานอนั เปนที่ต้ังของ วิปส สนา ทําใจใหบ ริสทุ ธิ์สะอาดผอ งแผว แลว กาํ หนดสําเหนยี กสิง่ ท่ีปรากฏในจติ ใจขณะนั้นโดย ไตรลักษณ เมือ่ เกดิ ความรูเห็นโดยไตรลกั ษณแ จมแจง ขน้ึ จติ ก็ผอ งแผว พน อาสวะทนั ที การ สาํ เหนียกพจิ ารณาในฌานเชนนจี้ ะเปนไปโดยอาการสุขมุ ประณตี แผว เบา ไมรสู ึกสะเทือนทาง ประสาทเลย ไมเหมอื นการคิดการอา นโดยปกตธิ รรมดา ซง่ึ ตอ งใชป ระสาทสมองเปนเคร่อื งมอื ฉะนัน้ ผปู ฏบิ ัตพิ งึ ทุม เทกาํ ลังใจลงในการเจรญิ ฌานมาตรฐานใหไ ดหลักฐานทางจติ ใจกอ นแลว จงึ สาํ เหนยี กไตรลกั ษณด งั กลาวแลว จะสาํ เรจ็ ผลเร็วกวา วิธีใดๆ. สญั โยชน ๑๐ ประการ กเิ ลสอนั เปนเหตผุ ูกมัดสัตวไ วในวัฏฏสงสาร ๑๐ ประการ ทา นเรียกวา สญั โยชน พงึ กําหนดรลู กั ษณะของมันไว ดังตอไปน้ี ๑. สกั กายทิฏฐิ ความเห็นผดิ ในกายของตนเองท่ีแยกออกเปน ๕ สว นวาเปน อัตตาตัวตน หรือวาตน คือสิ่งเหลา น้ัน หมายความวา ยังไมเ ห็นอนัตตา ยงั ตดิ อัตตาอย.ู ๒. วิจกิ ิจฉา ความไมแ นใจวา พระนพิ พานมีจริง เปนเหตุใหส องจติ สองใจ ไมก ลาปฏบิ ัติ ทางพระนิพพานอยา งจริงจัง โดยใจความก็ไดแ กย ังไมเหน็ อนัตตาแนชัดน่นั เอง. ๓. สีลพัตตปรามาส ขอนแ้ี ยกออกเปน ๒ บทคือ สีลวตั ตะ บทหนึง่ , ปรามาสะ บทหนึง่ สีลวตั ตะนน้ั ทา นแยกออกเปน ๒ อกี คือ เปนศลี อนั ใด วตั รอนั น้ันอยางหนงึ่ ศีลอนั ใดไมใชวตั รอัน นนั้ หนึ่ง ศลี ๕ นั้นเปน ศีลอนั ใดวตั รอันน้ัน คอื เปนศีลดว ยเปนวัตรดวย สวนอริยมรรคขอ อ่ืน เชน สมั มาสติไมใชศ ลี อันใด วัตรอันน้นั คือเปนแตวตั ร ไมใชศีล. คําวา ปรามาสะ นน้ั แปลวาการลบู คลําหรือการคลาํ หา ยังเควง ควา งอยู พระโสดาละสญั - โยชนขอนไี้ มใชละศีลวัตร ทานละการลูบคลาํ ซึ่งศีล ๕ ซงึ่ เปน ศลี ดวยเปนวัตรดว ยนั้น หมายความ วาทานไมต อ งถอื ศลี ๕ เพราะมศี ลี ๕ แลว และไมต องไปแสวงหามรรคธรรมในศาสนาอื่นอกี เปน อนั รูท างท่ีจะดาํ เนนิ ขึน้ สอู รยิ ผลเบอื้ งบนแนนอนแลว เปนแตจะบําเพญ็ ข้ึนไปอีกเทานนั้ . ๔. กามราคะ ความกาํ หนัดในกามคณุ ติดใจในกามารมณ ความอยากไดใครดีในอารมณ นั้นๆ. ๕. ปฏิฆะ คาวมคบั ใจ แคนใจ หงุดหงิดในใจ เนื่องดว ยประสบอารมณนาโกรธเคือง บาง แหงเรียกพยาบาทก็ม.ี ๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปฌาน หรอื ในรูปธรรม อันเปนอารมณข องจิตใจสูง. ๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปฌาน หรือในอรูปธรรม อันเปนอารมณข องจิตใจช้นั สูง. ทิพยอาํ นาจ ๑๖๕
๘. มานะ ความสาํ คัญตนผดิ ไปจากความเปน จรงิ ในทนี่ ี้คงหมายเอาความเคยชินทีเ่ คยถอื มาแลวแตกอน เหลอื ติดอยู ทา นเปรียบเหมือนผา ท่ีฟอกสะอาดจากสงิ่ โสโครกแลว แตก ล่นิ นํา้ ดาง ยงั ติดเหลอื อยทู ีผ่ า จะตอ งอบใหห มดกลิน่ นาํ้ ดางนัน้ อีกชัน้ หนงึ่ . ๙. อทุ ธัจจะ ความฟงุ ไมส งบราบคาบ เปนเหตุใหเห็นธรรมไมแจม แจง ได ความต่ืนเตน สะเทือนใจในภาวะของจติ ใจบางประการ ตลอดถงึ ความมุง พยายามเรงจะกา วหนาเล่ือนชั้นขึน้ ไป อุทธัจจะในสัญโยชนไ มเ หมอื นอุทธจั จะทเี่ ปนนวิ รณ. ๑๐. อวิชชา ความรูไมแจมแจงซ่งึ สิ่งทั้งหลาย เปน เหตหุ ลงและสําคญั ผดิ ไปจากความจรงิ . สญั โยชน ๑ – ๓ พระโสดาบนั ละไดข าด พระสกทาคามลี ะสญั โยชน ๓ นน้ั ได และทําราคะ โทสะ โมหะ ใหเ บาบางลงไดดว ย สัญโยชน ๑ – ๕ พระอนาคามีละไดเดด็ ขาด สญั โยชนทง้ั ๑๐ พระอรหนั ตล ะไดท งั้ หมด. ความจริงเมือ่ อรยิ มรรคญาณเกิดข้ึนกําจดั กเิ ลสสวนใดแลว อริยผลญาณยอมเกดิ ขึ้นใน ลาํ ดบั ใหห ยงั่ รวู ากเิ ลสสวนนน้ั จะไมงอกขึ้นอกี เม่ือบรรลุถงึ อาสวกั ขยญาณแลว ยอ มเกดิ ญาณหยัง่ รูข ้นึ เองในลาํ ดับน้ันทันทีวา ชาตสิ ้ินแลว อยจู บพรหมจรรย คอื ปฏบิ ัตมิ รรคเสรจ็ แลว กิจทคี่ วรทํา ไดทําเสรจ็ แลว กจิ อืน่ เพือ่ เปน อยางน้ีไมมอี ีก ดังนี้ ผปู ฏิบตั ิยอมรเู องไมต อ งถามใคร และไมตอ ง สอบสวนกบั แบบแผนอะไรดวย ถา ยังตองทาํ ชื่อวา ยงั มีสงสยั ญาณตัดสนิ ใจไมม ี ไมช ือ่ วา บรรลุอาส วกั ขยญาณ การที่นําสัญโยชนมาตั้งไวใ นทน่ี ี้ เพียงเพ่อื เปนขอ สังเกตกําหนดของผปู ฏิบตั ใิ นการ กําจัดกิเลสนั้นๆ เทา นน้ั ผูบรรลุอาสวักขยญาณอยา งแทจริงแลวยอ มมีธรรมเปนเคร่อื งอยู ซงึ่ ทําให สงั เกตไดว าเปนพระอรหนั ต ธรรมเครือ่ งอยนู ้ันเรยี กวา อริยวาส ดงั ตอไปน้ี อรยิ วาส ๑๐ ๑. ปญจงั คปหโี น๑ ละองค ๕ แหงนวิ รณไดแลว . ๒. ฉฬงั คสมนั นาคโต ประกอบดวยองค ๖ คอื มอี เุ บกขาในอารมณท้งั ๖. ๓. เอการกั โข มอี ารักขาเอก คือ สติไพบูลย. ๔. จตุราปสเสโน มธี รรมเปน ทีอ่ ิงอาศยั ๔ ประการ เหมือนกบั มีเสนาปอ งกนั ๔ ดานคือ (๑) พจิ ารณาแลว เสพ (๒) พจิ ารณาแลว รบั (๓) พจิ ารณาแลวเวน (๔) พจิ ารณาแลวบรรเทา ๕. ปนนุ นปจเจกสัจโจ๒ บรรเทาความเห็นผิดตามที่สมณพราหมณเปน อนั มากเห็นและถอื มน่ั กนั อยไู ดแ ลว . .......................................................................................................................................................... ๑. หมายความวา บรรลฌุ านแลว. ๒. ความเห็นเขา ขา งตัว เห็นวาทศั นะของตนถูก ของผูอน่ื ผดิ ยกทัศนะของตนข้นึ ขมฝายตรงขามเสมอ. ทพิ ยอํานาจ ๑๖๖
๖. สมวยสัฏเฐสโน ละการแสวงหากามและภพไดแลว การแสวงหาพรหมจรรยก็สงบ ระงบั ลงแลว. ๗. อนาวิลสังกปั โป ละความคดิ ในทางกาม ความคิดพยาบาท และความคิดเบยี ดเบียนได แลว เปน ผมู ีความคิดผอ งแผวอยูเ สมอ. ๘. ปส สัทธกายสงั ขาโร มกี ายสังขารระงบั แลว คือบรรลฌุ านที่ ๔ ซง่ึ ละสุข ทุกข โสมนสั โทมนัส ไดมอี เุ บกขา สติ และความบรสิ ทุ ธิ์กํากบั ใจอยเู สมอ. ๙. สวุ ิมตุ ตจิตโต๑ มีจติ พนดแี ลว จากราคะ โทสะ โมหะ. ๑๐. สวุ ิมุตตปญโญ๒ มีความรวู าพนดแี ลว กิเลสคือ ราคะ โทสะ โมหะ ท่ลี ะไดแลว ถกู ตด รากเหมือนตาลยอดดวน มีอีกไมไ ด ไมเกดิ ขึน้ ไดอกี ตอ ไป. อริยวาส ๑๐ นี้ เปนทอ่ี ยูข องพระอริยเจา ทั้งหลาย ในอดีตและปจจุบนั จักเปนท่ีอยขู อง พระอริยเจาท้งั หลายในอนาคตอีกดวย. อินทรียแ กว กอ นจบบทน้ี จะพดู ถงึ อินทรยี แกว ซง่ึ ไดพูดแยมไวหลายแหง มาแลว พอเปนแนวศึกษา คนควาของนกั ศึกษาพระพุทธศาสนา หวังวาจะเปน เรอื่ งทีส่ นใจอยากทราบเปนแน. ปกรณฝายมหายานหรืออุตตรนิกาย เขาแบงภาคพระพทุ ธเจา เปน หลายช้นั เชน (๑) พระอาทพิ ทุ ธเจา เปน พระพทุ ธเจา เทย่ี งแท มีพระรศั มรี ุงเรอื งท่สี ดุ หาเขตจํากัดมิได ไม มเี บือ้ งตนและเบอื้ งปลาย เปนอยูช ่วั นิรันดร. (๒) พระฌานิพทุ ธเจา ไดแ กพระนิรมานกาย ที่ทรงเนรมติ บิดเบือนขึ้นดว ยอํานาจฌาน สมาบัติ มีพระรศั มีรุงเรือง มิใชพระพทุ ธเจา ทม่ี าตรัสรโู ปรดสตั วใ นโลก. (๓) พระมานุสีพุทธเจา ไดแกพ ระพทุ ธเจา ซึ่งมาตรัสรโู ปรดสัตวในโลก มีพระกายในความ เปนมนุษยอยางสามญั มนษุ ยท ั้งหลาย แตเปน พระกายดีวิเศษกวาของมนุษยส ามัญ มพี ระ ฉพั พรรณรงั สพี ระกายแผซา นออกขางละวา. สวนปกรณข องฝา ยทกั ษณิ นิกาย หรือเถรวาท (คือฝา ยเรา) ทา นโบราณาจารยก ็แบง พระ กายของพระพุทธเจาเปน ๓ ภาคเชน เดียวกัน แตเรียงลาํ ดับจากตํา่ ไปหาสูง เมอ่ื เทยี บดแู ลว ก็จะ เหน็ วาคลายคลึงกัน คอื (๑) พระรปู กาย เปน พระกายซึง่ เอากําเนิดจากพระพทุ ธบิดา-พระพุทธมารดา ทีเ่ ปน มนุษย ธรรมดา ประกอบดวยธาตุทงั้ ๔ เหมือนกายของสามัญมนษุ ย เปนแตบรสิ ทุ ธสิ์ ะอาดสวยงาม พระ ฉวีวรรณเปลง ปล่งั เกล้ียงเกลากวากายของมนษุ ยสามญั เปน วบิ ากขันธส าํ เรจ็ แตพ ระบญุ ญาบารม.ี .......................................................................................................................................................... ๑. มีจติ ใจปลอดโปรง. ๒. มีปญ ญาแจม ใส. ทิพยอํานาจ ๑๖๗
(๒) พระนามกาย ไดแ กก ายชน้ั ใน ปราชญบ างทานเรียกวา กายทิพย และวาเปนกายทม่ี ี รูปรา งสัณฐานเหมอื นกายช้ันนอก เปนแตวองไวกวา และสามารถกวา กายชน้ั นอกหลายรอยเทา สามารถออกจากรา งหยาบไปในทไี่ หนๆ ไดตามตอ งการ เมื่อกายหยาบสลายแลว กายช้ันนยี้ งั ไม สลาย จงึ ออกจากรา งไปหาที่เกดิ ใหมต อ ไป นามกายเปนของมีท่วั ไปแมแตส ามัญมนุษย แตดเี ลว กวา กนั ดวยอาํ นาจกศุ ลากศุ ลทต่ี นทาํ ไวกอน สวนพระนามกายของพระพุทธเจาทา นวา ดีวเิ ศษยง่ิ กวา ของสามัญมนษุ ยด วยอํานาจพระบญุ ญาบารมี ทที่ รงบาํ เพ็ญมาเปน เวลาหลายอสงไขยกัป. (๓) พระธรรมกาย ไดแ กพระกายธรรมอันบริสทุ ธ์ิ ไมสาธารณะทวั่ ไปแกเ ทวาและมนุษย หมายถึงพระจิตที่พน จากอาสวะแลว เปน พระจิตบรสิ ุทธิผ์ ุดผอง มพี ระรัศมแี จม จา เปรียบเหมอื น ดวงอาทิตยอ ทุ ัยไขแสงในนภากาศฉะนั้น พระธรรมกายนเี้ ปนพระพุทธเจาทจ่ี ริงแท เปน พระกายท่ี พนเกิด แก เจบ็ ตาย และทกุ ขโ ศกทง้ั หลายไดจริง เปน พระกายท่เี ที่ยงแทถาวรไมสญู สลาย เปนอยชู ่ัวนิรันดร เปน ทร่ี วมแหง ธรรมทง้ั ปวง แตท านมิไดบอกใหแ จงชัดวา พระธรรมกายนี้มี รูปพรรณสัณฐานเชนไรหรือไม. ความเชอื่ วา พระอรหนั ตนิพพานแลวยังมีอยูอีกสว นหนึ่ง ซึ่งเปน พระอรหนั ตแ ท ไมสลายไป ตามกาย คือความเปนพระอรหันตไ มสญู ๑ ความเปนพระอรหนั ตนี้ทา นกจ็ ดั เปน อินทรียชนิดหนง่ึ เรียกวาอัญญนิ ทรีย พระผมู พี ระภาคเจา คงหมายเอาอินทรียนเ้ี อง บญั ญตั ิเรียกวาวสิ ุทธิเทพ เปน สภาพทคี่ ลายคลึงวิสทุ ธาพรหมในสทุ ธาวาสช้นั สงู เปนแตบ ริสุทธยิ์ งิ่ กวา เทา น้ัน เมอื่ มีอินทรียอ ยูก็ ยอมจะบาํ เพ็ญประโยชนไ ด แตผ จู ะรับประโยชนจ ากทา นได กจ็ ะตอ งมีอินทรียผ องแผว เพยี ง พอท่ีจะรบั รรู ับเห็นได เพราะอนิ ทรียของพระอรหนั ตป ระณีตสุขุมท่สี ดุ แมแตตาทพิ ยข องเทวดา สามญั ก็มองไมเ หน็ ๒ มนษุ ยส ามญั ซึง่ มีตาหยาบๆ จะเหน็ ไดอ ยา งไร อินทรยี ของพระอรหนั ตนนั้ แหละเรยี กวาอนิ ทรียแกว ตา หู จมกู ลน้ิ กาย และใจของทานเปน แกว คอื ใสบริสุทธ์ดิ จุ แกวมณี โชติ ผบู รรลถุ ึงภมู แิ กวแลว ยอมสามารถพบเหน็ พระแกว คือพระอรหันตทนี่ พิ พานแลวได. ความรเู ร่อื งน้ี เปน ความรูลกึ ลบั ในพระธรรมวนิ ัย ผูสนใจพึงศึกษาคน ควา ตอ ไป ถา รไู มถ งึ อยา พึงคาน อยาพงึ อนโุ มทนา เปน แตจดจําเอาไว เมือ่ ใดตนเองไดศกึ ษาคนควา แลวไดค วามรู ได เหตุผลที่ถูกตองดีกวา เมื่อนน้ั จงึ คาน ถาไดเหตผุ ลลงกันจึงอนโุ มทนา ถารูไมถึงแลวดว นวิพากษ วิจารณ ตเิ ตยี น ผพู ูดเร่ืองเชนน้ี จะเปน ไปเพ่อื บอดตาบอดญาณตนเอง ปกติตาไมด ีญาณไมโปรง อยู แลว ถา ดวนตเิ ตยี นในเมอ่ื ตนเองรูไมถงึ ก็ชอื่ วาบอดตาบอดญาณตนเองย่ิงจะซํ้ารายใหญ ขา พเจา นําเรือ่ งน้ีมาพดู ไว ดว ยมคี วามประสงคจ ะใหน ักศกึ ษาพระพุทธศาสนาชวยกนั คนควาความรูสวน ลึกลับของพระพทุ ธศาสนาตอ ไป. .......................................................................................................................................................... ๑. พระยมกะ เมื่อยังไมบ รรลุอรหตั ตผล ไดแ สดงความเห็นวา พระอรหนั ตต ายแลว สูญ ถกู พระสารีบุตรสอบสวน เม่อื บรรลุ พระอรหัตตผลแลวจึงเห็นตามความเปนจรงิ วา “สิ่งทปี่ จจยั ปรงุ แตงยอมเปนไปตามปจ จยั ” คือสลายไป สว นพระอรหันตม ิใช ส่งิ ทีป่ จจัยปรงุ แตงจึงไมส ลายไป แปลวาไมต าย. ๒. โดยปกติ เทวดาสามัญและมนุษยืไมเห็นวสิ ุทธิเทพ แตถาทานเนรมิตใหเ หน็ อาจเหน็ ได บาลวี า “มารานํ อทสสฺ นํ” หมายถึง พระนิพพานประณีตท่ีสดุ มารจึงมองไมเห็นพระนพิ พาน ท้งั ไมเห็นผูบรรลพุ ระนพิ พานดวย. ทพิ ยอํานาจ ๑๖๘
บทที่ ๑๓ วธิ รี กั ษาทพิ ยอาํ นาจ บทกอนๆ ไดแสดงวิธีสรา งทพิ ยอาํ นาจ ดงั ที่ทา นผูอา นไดผ า นมาแลว ถาจะจบลงเพยี งนน้ั ก็ จะเปนเรือ่ งไมสมบรู ณ เพราะธรรมดาที่มีอยู สง่ิ ใดเกิด สง่ิ นนั้ ตอ งตาย สิง่ ทเี่ กิดแตเหตปุ จจยั ยอ ม เปน ไปตามอาํ นาจของเหตุปจจัย เมื่อเหตุปจ จยั ยงั เปนไปสิ่งน้นั ก็ยงั เปนไป เม่อื เหตปุ จ จยั สลายไป สง่ิ น้นั กย็ อมสลายไป ทิพยอาํ นาจกย็ อมเปนไปตามหลักธรรมดานั้น เพราะเกิดแตเหตปุ จ จัย เหมอื นกนั เวน แตท พิ ยอาํ นาจชนั้ สงู เทาน้ันทีเ่ มอื่ บรรลุถึงแลว เปน อํานาจที่มนั่ คง ดํารงยั่งยืน ตลอดไป เพราะมอี าสวักขยญาณเปน ประกัน ทพิ ยอาํ นาจอื่นๆ เม่อื มอี าสวักขยญาณเปนประกัน ยอมพลอยเปนอาํ นาจม่ันคงไปดว ย เพ่ือประโยชนแกการรักษาทพิ ยอํานาจทีไ่ มม่นั คงใหด าํ รง ย่ังยนื ใชประโยชนไดด ี จะไดแสดงวธิ รี ักษาไวใ นบทน.ี้ ผศู กึ ษาทิพยอํานาจคงยังจําไดวา ทพิ ยอาํ นาจต้ังอยูบ นรากฐาน ๒ ประการคือ ฌาน และ กาํ ลงั ใจอนั มัน่ คง ดังกลา วไวใ นบทที่ ๑ ซึง่ วาดว ยท่ตี งั้ ของทพิ ยอาํ นาจ และบทท่ี ๕ ตอนวา ดวย อิทธิวธิ ิฤทธ์ิตา งๆ นั้นแลว เมือ่ ทพิ ยอาํ นาจขน้ึ อยกู ับฌานและกาํ ลังใจอนั มน่ั คงเชนนี้ การรกั ษา ทิพยอํานาจจงึ สาํ คญั ที่การรักษาฌานและจติ ใจ ฉะนั้น จะไดแสดงวธิ รี กั ษาฌานและจติ ใจ ดังตอ ไปน.ี้ ส่งิ ซึ่งเปนเครื่องก้ันกางมิใหบ รรลคุ วามสงบแหงจติ ใจ และคอยเสยี ดแทรกทาํ ใหเ กดิ ความรูสกึ คับใจ ไมปลอดโปรง ใจนั้น ไดแก กามคุณทง้ั ๕ คอื รูป เสยี ง กล่ิน รส และโผฏฐพั พะ (สมั ผัส) ทน่ี า ปรารถนา นาใคร นา พอใจ นารกั ยียวนชวนกาํ หนดั พระบรมศาสดาตรัสวา สิง่ ทงั้ ๕ มอี าํ นาจเหนือจิตใจไดอยา งแปลกประหลาด ทําใหคลาดแคลว จากการบรรลธุ รรมอนั เกษมได รปู เสยี ง กลิน่ รส และโผฏฐพั พะของสตรี ก็มีอาํ นาจเหนือจติ ใจของบรุ ษุ รูป เสยี ง กลนิ่ รส และ โผฏฐพั พะของบุรษุ กม็ อี าํ นาจเหนอื จิตใจของสตรี ผตู กอยูภ ายใตอ ํานาจของสง่ิ ท้ัง ๕ น้ียอ มเศรา โศกไปนาน มิใชเ พยี งสงิ่ ทัง้ ๕ นนั้ โดยตรงเทา นั้นท่มี ีอํานาจเหนือจิตใจได แมก ริ ิยาอาการของเพศ ตรงกนั ขาม เชน การเดิน ยืน น่ัง นอน หัวเราะ พดู จา ขบั รอ ง รอ งไห ถูกฆา และตาย ก็ยอม ครอบงาํ จิตใจของเพศตรงกันขามไดอยางแปลกประหลาด ควรเรยี กไดอยา งถูกตอ งวา “บว งมาร” ทีเดียว เม่อื เพศทงั้ สองไดม โี อกาสคลุกคลีกันเขา ยอ มอดที่จะลวงละเมดิ อธิปไตยของกันและกัน ไมได แมมารดากบั บตุ รกย็ อ มรว มประเวณกี นั ได ในเม่อื มีชอง และความมดื หนาบงั เกิดขน้ึ ฉะนน้ั พระบรมศาสดาจงึ ตรสั วา “ความใกลช ิดมาตคุ าม เปนหนามของพรหมจรรย” นี่เปนดานทต่ี รัส สอนบุรุษ สว นดา นสตรีกน็ ยั เดยี วกนั คือ ความใกลชดิ บุรุษเปนหนามของพรหมจรรยเชนเดยี วกนั พระอานนทเถรเจา คงเปนหวงใยในอนาคตของบรรพชติ หลงั พทุ ธปรินพิ พาน จงึ กราบทูลถามถงึ วิธี ปฏิบัติตอ มาตคุ ามไว ตรัสแนะวา ไมดไู มแลไดเปนดี ถาจําเปน ตอ งพบปะกอ็ ยาพดู ถาจาํ เปน ตอง พดู ก็อยาพูดมาก ใหพ ดู เปนธรรมเปนวินยั น้ีเปนวิธีปฏิบตั ติ อมาตุคามของบรรพชติ ฝายภิกษุ ใน เพศตรงกันขา มก็พึงเทยี บเคยี งปฏิบัตโิ ดยนัยเดียวกัน แมค ฤหัสถชนผูมุงประพฤตศิ ีลธรรมใหดงี าม ทพิ ยอํานาจ ๑๖๙
ตองการใหม ีทพิ ยอํานาจ ก็พงึ ประพฤติปฏิบตั ิโดยนัยเดยี วกัน ผูท ่ตี กอยูใตอ ํานาจของกามคุณ ละเมดิ ศลี ธรรมอนั ดเี พราะกามคุณเปนเหตุแลว จะหวังความมที พิ ยอํานาจดีเดนไมได ทม่ี ีการเชื่อ วาสามารถมไี ด เชน รสั ปูติน นั้นเปนการเชอื่ ที่ไรเหตุผล เพราะธรรมชาตขิ องคนยอมเปนดังท่รี ูกัน อยแู ลว เมื่อมเี ลห ผ ูกมดั จิตใจกันไดแ ลว จะเปน ส่ิงนา อศั จรรยอ ะไรในการสามารถอยางรัสปูตนิ การคลอยตามอํานาจของกามคณุ เปนส่ิงงา ยดายเหมอื นพายเรือตามนาํ้ สวนการฝน ทางของกาม คณุ เพื่อความสงบใจนนั้ เปน การยากลําบาก เหมอื นพายเรอื ทวนนาํ้ เมอื่ ทาํ สาํ เรจ็ ไดจงึ เปนการนา อศั จรรยกวาหลายลานเทา . นิวรณ ๕ ประการ คอื กามฉนั ทะ กําหนัดในกามคุณทั้ง ๕ นน้ั , พยาปาทะ ความแคนใจ เจบ็ ใจใครป ระทุษรา ย หรือทําความฉบิ หายแกผทู ตี่ นไมช อบ, ถนี มิทธะ ความทอ ใจและซึมเซา ของจติ ใจ, อทุ ธจั จกุกกจุ จะ ความฟุงซานของใจและความหงดุ หงิดราํ คาญใจ, และวจิ ิกิจฉา ความ สองจิตสองใจ ไมเชอื่ แนในทางแหงพระนิพพาน หรือความไมปลงใจลงไปในการใดการหน่งึ โดยเฉพาะ ทัง้ ๕ ประการน้ีเปน ตวั กิเลสแหง ใจทร่ี า ยกาจ มอี ํานาจครอบงําใจ และทาํ ใหเ สยี กาํ ลัง ปญญาไป ถา ปลอยใหมันมีอาํ นาจเหนอื ใจอยตู ราบใด จะหวงั รปู ระโยชนต น ประโยชนผอู นื่ หรอื ประโยชนท ง้ั สอง หรือจะหวังทาํ ญาณทสั สนะอนั วิเศษใหเกิดขึ้นน้ันยอ มเปนไปไมไดตราบนั้น เหมอื นแมนํ้าเชยี่ วชันไหลหลัง่ ลงมาจากเขาแตไ กล เมอ่ื ปด ปากทางทั้ง ๒ ขางเสียแลว กระแสนํ้า ถูกตัดขาดตรงกลางแลว ยอ มไมไหลเชีย่ วมาแตไกลไดฉ ันใด ผไู มล ะนิวรณ ๕ กเ็ ปน ฉนั นนั้ เม่อื ใด ละนิวรณ ๕ ไดแ ลว เมอื่ นั้นจกั รูจ กั ประโยชนและทําญาณทัสสนะอันวเิ ศษใหเกิดได เหมอื นเปด ปากทางของแมน้ําที่มีกระแสไหลเชี่ยวไหลหลัง่ มาแตไ กล ปลอยกระแสใหไปตามทางของมัน กระแสน้าํ นั้นยอ มไหลเชยี่ วฉันใด ผลู ะนวิ รณ ๕ ไดแลวกฉ็ ันน้ัน นิวรณ ๕ น้ีเมอ่ื จะเรียกใหถ ูกตอ ง ตามความจรงิ ตอ งเรยี กวา กองอกศุ ล เพราะเปน กองแหง อกุศลท้งั หมด. กามคณุ และกองอกุศล อันตรายของฌานอยางเอก เปนส่ิงทต่ี องละและบรรเทาใหสงบ เงียบลงใหได จึงจะไดความสงบใจ ปฐมฌานมีอาํ นาจสงบสง่ิ เหลา น้ไี ด ทาํ ใหเ กิดความวเิ วกในใจ หายวุนวาย มคี วามปลอดโปรงโลง ใจขึน้ แทนท่ี. ภูมิปลอดโปรง โลง ใจน่แี หละ ทา นเรยี กวา โอกาสาธิคม ชั้นตนๆ ยงั มเี คร่ืองคับใจท่เี รียกวา สมั พาธ คอยเสียดแทรกอยู คือ ภมู ทิ ี่ ๑ ยังมวี ิตกวิจารคอยเสยี ดแทรกใหค ับใจ ภมู ทิ ่ี ๒ ยงั มปี ต คิ อยเสยี ดแทรกใหคับใจ ภมู ทิ ี่ ๓ ยงั มีอเุ บกขาสขุ คอยเสียดแทรกใหคบั ใจ ภมู ทิ ี่ ๔ ยังมลี มหายใจคอยเสียดแทรกใหคับใจ ภูมิที่ ๕ ยังมรี ูปสัญญาคอยเสยี ดแทรกใหคับใจ ภมู ิที่ ๖ ยงั มอี ากาศสญั ญาคอยเสยี ดแทรกใหคับใจ ภูมิที่ ๗ ยังมีวญิ ญาณสญั ญาคอยเสียดแทรกใหค บั ใจ ภูมิที่ ๘ ยังมีมโนสัญญาคอยเสยี ดแทรกใหคับใจ ทพิ ยอาํ นาจ ๑๗๐
ภมู ิท่ี ๙ ดบั สัญญาเวทนาหมด รเู ทา ทันดวยปญ ญา ทําลายรังของอวิชชา กําจัดอาสวะสน้ิ แลว ช่ือวา หมดความคับใจ บรรลถุ ึงภมู ิปลอดโปรงโลง ใจถึงท่สี ุด ภมู ิสดุ น้จี งึ พน อํานาจของกามคณุ และอกศุ ลเดด็ ขาด เปนภูมิทีเ่ ย็นใจได ถายังไมบ รรลุภูมินแ้ี ลวอยา พึงนอนใจ พึงระมดั ระวังอยาง ย่ิงยวดทีเดียว วิธีระวังอันตรายจากกามคุณและอกศุ ลธรรมน้ัน ก็คือ ระวงั อินทรียทงั้ ๕ ซ่ึงเปน ชองทางผา นของกามคุณ และเกดิ อกุศลนนั่ เองเปน ประการตน, ประการที่ ๒ ตอ งรจู กั ประมาณ ในการกนิ อาหาร, ประการท่ี ๓ ตอ งประกอบความพากเพยี รใหต น่ื ตวั อยูเสมอ ถา จะหลบั ก็ตอง หลับอยา งมีสติ ไมปลอ ยใหหลบั ใหลไปเฉยๆ เมือ่ ตื่นขึ้นก็ตองรบี ลุกประกอบความพากเพยี รตอ ไป, ประการท่ี ๔ ตองเจรญิ วิปส สนา เพอ่ื รแู จงเห็นจริงซงึ่ กศุ ลธรรม, ประการท่ี ๕ ตอ งเจรญิ โพธิ- ปก ขิยธรรม ทง้ั ตน ราตรี ทัง้ ปลายราตรี โพธปิ กขยิ ธรรมน้ันคือ สตปิ ฏ ฐาน ๔ สมั มปั ปธาน ๔ อทิ ธบิ าท ๔ อนิ ทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ อริยมรรค ๘ ดังกลาวมาแลวในบทท่ี ๔ ซ่งึ วา ดว ยอปุ กรณแหงทิพยอาํ นาจ เมอื่ ปฏบิ ัติอยูโดยทํานองดังกลาวนเี้ ปนอนั หวงั ไดว าจะไมตกไปสู อํานาจของกามคณุ และอกศุ ลธรรม จะมีแตค วามปลอดโปรง ใจ ฌานสมาบตั ทิ ี่ไดไ วแลว กจ็ ะไม เส่ือมเสียไป มแี ตจะเจรญิ กาวหนา ยง่ิ ขน้ึ . อกี วิธหี นง่ึ พึงเจริญสมั มาสมาธิ ประกอบดว ยองค ๕ เสมอ ดังนี้ ๑. เขาปฐมฌาน โสรจสรงกายดวยปต สิ ุขอันเกดิ แตว ิเวก แผปต สิ ุขไปทวั่ กายใหตลอดหมด ทุกสวนของกาย อยา ใหเ หลอื สวนใดสว นหนึ่งของกายเลย. ๒. เขาทุตยิ ฌาน โสรจสรงกายดวยปติสุขอันเกดิ แตสมาธิ แผป ตสิ ุขไปท่ัวกายทงั้ หมด มิให เหลือไวแ มแ ตส วนใดสว นหนึ่งของกายเลย. ๓. เขาตตยิ ฌาน โสรจสรงกายดว ยสุขปราศจากปต ิ แผสุขไปท่วั กายท้งั หมด มใิ หเหลือไว แมแตสว นใดสวนหนงึ่ ของกายเลย. ๔. เขา จตุตถฌาน เอาใจอนั บริสทุ ธ์สิ ะอาดผองแผว แผไ ปทว่ั กายทัง้ หมด มใิ หเหลอื สว น หนงึ่ สวนใดของกายไวเ ลย ใหใจอนั บรสิ ุทธส์ิ ะอาดน้ัน แผค รอบคลุมตัวทั้งหมดเหมือนคลุมไวด วย ผา ขาวสะอาดฉะนน้ั . ๕. กําหนดใสใจนิมิต ทปี่ รากฏในมโนทวาร พิจารณาไวด ี พยายามดาํ รงไวใหน าน แลว ทํา การพจิ ารณาสอบสวนดวยปญญาใหท ะลปุ รุโปรง. เมอ่ื เจรญิ สัมมาสมาธิ ประกอบดว ยองค ๕ น้ีอยเู สมอแลว จติ ใจจะมพี ละกําลังย่งิ ใหญ มี อิทธพิ ลมาก จะนอ มไปเพ่อื ทิพยอํานาจใดๆ กไ็ ดด่ังประสงคทกุ ประการ. อีกประการหนงึ่ พงึ ศึกษาสําเหนียกเรอื่ งสมาธนิ ้ีใหเกิดความฉลาดในเรือ่ งของสมาธิ ๗ ประการ คือ ๑. สมาธกิ สุ โล ฉลาดในสมาธิ คือรูจ กั วาจิตขนาดไหน เปนสมาธิขั้นไหน กําหนดไดถ่ีถวน. ๒. สมาธสิ สฺ สมาปตตฺ ิกสุ โล ฉลาดในวิธีเขา สมาธขิ ัน้ นน้ั ๆ เขา ชา ๆ เขาโดยลาํ ดบั เขาทวน ลําดบั เขาสลับสมาธิ และเขาสมาธอิ ยางรวดเรว็ ไดต ามใจประสงค. ๓. สมาธิสสฺ ิติกุสโล ฉลาดในการยง้ั สมาธิ คือจะดาํ รงสมาธิไวใหไดนาน หรือไมนานแค ไหนไดตามตองการ. ทิพยอํานาจ ๑๗๑
๔. สมาธิสสฺ วุฏานกสุ โล ฉลาดในวธิ ีออกสมาธิ คือออกสมาธิชา ๆ กไ็ ด ออกเรว็ ๆ ก็ได ตามตอ งการ. ๕. สมาธสิ สฺ กลลฺ ิตกุสโล ฉลาดในความพรอ มพร่งั ของสมาธิ คอื รจู ักทําสมาธิใหเต็ม บรบิ ูรณต ามองคกาํ หนดของสมาธิข้นั น้ันๆ กาํ หนดองคส มาธไิ ดถ กู ถว นดีทกุ ๆ ขน้ั . ๖. สมาธสิ สฺ โคจรกสุ โล ฉลาดในอาหารของสมาธิ คอื รจู ักอารมณเปนทเ่ี กดิ สมาธิ สองเสพ อารมณนน้ั ๆ เนืองๆ จติ ใจก็เปนสมาธอิ ยเู นืองๆ เพราะไดอาหารปรนปรือเสมอ. ๗. สมาธสิ ฺส อภนิ หิ ารกสุ โล ฉลาดในอภนิ หิ ารของสมาธิ คือรจู กั อาํ นาจแปลกประหลาด อนั เกิดจากสมาธิน้ันๆ สาํ เหนยี กกาํ หนดจดจาํ ไวใ หด ี และฝกใชอภนิ หิ ารนั้นใหเ กิดประโยชนบอ ยๆ. เม่อื ปฏบิ ัตใิ นเร่อื งสมาธิ โดยทาํ นองนีอ้ ยูเนืองๆ แลว จะมีอํานาจบังคบั จติ ใจของตนเองไดด ี สามารถรกั ษาฌานสมาบตั ิท่ีไดไ วแ ลว ใหคงอยู ไมเส่อื มเสยี ไป เมอื่ ฌานสมาบัติดาํ รงอยไู ดดี ทิพย- อํานาจท่ีไดแลว กด็ าํ รงอยดู ี และพรอ มท่จี ะใชท ําประโยชนไดตามใจประสงค. สวนจติ ใจน้นั เมอื่ ไดรกั ษาฌานสมาบัตทิ ่ไี ดแลวมิใหเ ส่อื มเสยี ไป กช็ อื่ วาไดรักษาอยแู ลว แต ถงึ อยางนนั้ ก็ควรสําเหนียกเหตุท่ีทําใหจิตใจเสียกาํ ลัง และคณุ ธรรมทจี่ ะทําใหจติ ใจมีกําลัง สมรรถภาพไวใหด ี และปฏบิ ตั ิหลีกเวนเหตุราย ดําเนินในคุณธรรมได จิตใจจึงจะมีกาํ ลังมั่นคงเสมอ พรอ มทจ่ี ะใชท ําประโยชนไดทนั ทใี นเม่อื ตองการทาํ หรอื มีความจาํ เปน บังคับใหตองทํา ดังตอ ไปน้ี ๑. ความเกียจครา น ทาํ ใหใ จฝอ หอ เหยี่ วได อยายอมใหความเกยี จครานเกิดขึน้ ครอบงาํ ใจ ไดเปนอันขาด ตอ งพากเพยี รในการชาํ ระจิตใจใหบริสุทธอ์ิ ยูเสมอไป. ๒. ความฟุงซา น ทําใจใหฟ ฟู งุ ไปตามอารมณไ มรจู ักยั้ง ทาํ ใหจติ ใจเสียกาํ ลงั อยายอมให มันมามอี ํานาจครอบงาํ ใจได อยา ไปคดิ อะไรๆ ใหเกินกวาจาํ เปน ถาคิดกต็ อ งใหมรี ะเบียบเปน เรอ่ื งๆ ไปพอสมควรแลว ก็หยุด อยาคิดอะไรใหพ ราํ่ เพรือ่ ใหพยายามสงบใหมากท่สี ดุ ทีจ่ ะมากได. ๓. ความกาํ หนัด ทาํ ใจใหรา นรน กระวนกระวาย ใครท ี่จะตกไปสูอาํ นาจของกามคุณ ตอ ง ปอ งกันอยาใหจ ิตเกิดกาํ หนดั เมอื่ มนั เกิดขึ้นตอ งรีบแกไขโดยอุบายท่ีชอบทันที อยาปลอยท้ิงไว นาน สาํ หรับผูไดฌ านตองรบี เขา ฌานใหไ ดถึงขั้นอเุ บกขา กามราคะจะระงบั ทันที อีกอยา งหนึง่ นาํ ใจไปกาํ หนดตั้งไวตรงหวา งค้วิ ราคะกจ็ ะระงบั ไปเหมือนกนั . ๔. ความพยาบาท ทําใจใหพ ลุงพลา น เดอื ดดาลครุกรนุ อยใู นใจ เหมือนไฟสมุ แกลบ ตอง รบี สลดั ความรูสึกเชน นี้ออกจากใจ อยา ยอมใหมันอาศยั อยูนาน การเจรญิ เมตตาเปนอบุ ายทดี่ ีทส่ี ดุ สําหรับระงบั พยาบาท มีประโยชนอ ะไรท่ีเราจะเผาตวั เราเอง ถา มีใครทําความเสียหายใหเ ราก็ให นกึ วาเปน ความชว่ั ของเขา ประโยชนอะไรทจี่ ะขอแบงสว นความช่วั กับเขาดวย เรารกั ษาใจของเรา ใหเย็นไวเปน ดี ดว ยอาํ นาจความเย็นน่ีแหละ เขาผทู ํารา ยทําความเสียหายใหเราจะกลบั รอ นและ แพภัยไปเอง จะประโยชนอ ะไรดวยการไปซ้าํ เติมเขาในเมอ่ื เขาฉิบหายไปดวยความชวั่ ของเขาอยู แลว . ๕. ความเหน็ ผิด เปนตัวมารรายกาจของใจ มันมีกลมารยารอ ยแปดพันประการ ถา สมยอม ใหม นั เปน เจาจิตใจแลว จะเสียทอี ยา งยอยยับ กลับตัวไมทันเอาทเี ดียว ฉะนัน้ อยา ยอมให ความเห็นผดิ เขา ครองใจ ความเหน็ ผิดมนั มมี อื คือ วิจกิ จิ ฉา สอดเขามากุมจติ ใจเราไว ถามันจับมนั่ ทพิ ยอาํ นาจ ๑๗๒
ไวใ นมือไดแลว อยาหวงั วาจะหลดุ จากมือมันงายๆ ฉะน้นั ตอ งรีบแกไข เมอื่ เกิดสงสัยในอะไร อยา ทงิ้ ไวนาน. ๖. จิตใจไมปฏพิ ทั ธในกามคุณ เปนใจงาม รบี ติดตามเจรญิ จติ ใจเชน นน้ั ย่ิงๆ ขน้ึ . ๗. จิตใจหลดุ พน จากกามราคะ เปนใจผองแผว ตอ งรีบเจรญิ จิตใจเชน นั้นใหผองแผว ยิ่งขึน้ . ๘. จิตใจพรากจากกิเลส ไมสมั ปยตุ ดวยกิเลส เปนใจบรสิ ทุ ธิ์ ควรรบี รุดเจรญิ ใหกา วหนา ย่ิงข้ึนทเี ดียว. ๙. จติ ใจไมถ ูกกิเลสปกคลมุ ครอบงํา เปน ใจสะอาดปลอดโปรง เปน เวลามารใหโอกาส ตอ ง รีบฉวยโอกาสทาํ ความปลอดโปรงใจย่ิงขนึ้ จนถึงทส่ี ดุ . ๑๐. จิตใจเปน หน่ึง ไมซ ัดสายไปตามกเิ ลส เปนใจมเี อกภาพ เปน เอกราช ไมอยใู ตอํานาจ ของกเิ ลส ตอ งรีบเจรญิ ใหบรรลุถงึ ภูมเิ อกภาพสมบรู ณ. ๑๑. จติ ใจมศี รัทธา เชื่อแนในกศุ ลธรรม เปนใจมสี มรรถภาพในการปฏิบัติ ตอ งรีบดาํ เนิน ปฏบิ ัตกิ า วหนา . ๑๒. จติ ใจมคี วามเพยี ร กลาหาญในการประกอบกุศลกิจ เปน ใจมอี ิทธพิ ล ตองรีบดําเนนิ ตามทนั ท.ี ๑๓. จิตใจมีสตดิ ี ไมพล้ังเผลอ ช่ือวามีองครกั ษประจําตัว ตอ งรบี รดุ ดําเนนิ ไปสคู วามมีสติ ไพบลู ยย ิ่งข้นึ จนถงึ ความเปนผตู ่ืนตวั เต็มท.่ี ๑๔. จติ ใจมีสมาธิ เปน ใจมัน่ คงแข็งแรง สามารถจะตั้งตัวเปนหลักฐานได จงรีบปฏบิ ัติ เพ่ือใหต ง้ั ตัวไดเตม็ ทตี่ อ ไป. ๑๕. จติ ใจมปี ญ ญาปกครองรักษา เปน ใจมีกองทพั แวดลอ ม พรอ มทีจ่ ะยกเขายํา่ ยีขาศึกได จงรบี ปฏิบตั กิ ารทันที ใหสามารถทําลายรงั ของขาศึกได อยาใหขา ศึกตัง้ ตัวตดิ รบี พชิ ิตขา ศึกคอื กิเลสใหไ ดชัยชนะข้นั สดุ ทา ย. ๑๖. จิตใจสวางไสวหายมดื มัว เปนใจทมี่ ีอาํ นาจเดน ดี มีอิทธพิ ลสูง สามารถกําจดั รากแกว ของกเิ ลสไดแ ลว จงรบี รดุ ขุดรากกิเลสออกใหหมด อยาใหเหลอื เศษแมแตนอ ย กระท่งั รากฝอยก็ อยา ใหเหลือ. เม่ือไดปฏบิ ตั ริ ักษาจติ ใจโดยนยั น้ีอยูเ สมอ ไมล ะโอกาสอนั ดี ในเมอ่ื มกี ําลงั ใจพอสมควรดว ย ประการนน้ั ๆ บํารงุ กําลังใจอนั มัน่ คงไวไ มหยุดย้ัง ยอ มมหี วังบรรลุถงึ ความไพบลู ยดวยทิพยอํานาจ แนๆ ทีเดยี ว. ทพิ ยอาํ นาจ ๑๗๓
บทท่ี ๑๔ วิธใี ชท พิ ยอาํ นาจบาํ เพญ็ ประโยชน ทิพยอาํ นาจทป่ี ลกู สรางขน้ึ ไดแลว เมอ่ื วา โดยลกั ษณะท่แี ทจ ริงของทิพยอาํ นาจประการ นน้ั ๆ ยอมเปนอาํ นาจทคี่ ุมครองรักษาตัว และอํานวยประโยชนแ กต น แกผ ูอืน่ แกโลก และแกพระ ศาสนาอยูแลว โดยธรรมดา ถงึ อยา งน้ันก็ตอ งรจู ักใชจงึ จะสําเรจ็ ประโยชนด ี พระมหาโมคคลั ลาน เถระทานเปนผมู ีฤทธ์ิเลิศอยูแลว แตใ นวิธใี ชฤทธิ์น้นั บางคราวตอ งไดรับพระอุปเทศวธิ ีจากพระบรม ศาสดาจึงใชไดด ี วธิ ใี ชทพิ ยอาํ นาจหรอื วา โดยเฉพาะวธิ ีใชฤ ทธ์ทิ เี่ รียกวาอปุ เทศน้นั มไิ ดท รงสง่ั สอน ไวโ ดยทวั่ ไป ตรสั แนะใหแกผูส มควรเทา น้ัน เพราะทิพยอํานาจมใิ ชเปน สงิ่ สาธารณะ ยอมมีไดแ ก บางคน วิธีใชท พิ ยอาํ นาจจงึ เปนไปโดยเฉพาะบุคคล มไิ ดตรัสไวโดยทัว่ ไป ถาจําเปนตองตรัสไว ก็ ทรงเพยี งเลาเรือ่ งการใชทิพยอาํ นาจเทา น้นั แมเพยี งเทา น้นั ผูม ีอปุ นสิ ยั ในทางใชท ิพยอํานาจก็ เขาใจได และนาํ ไปใชบ ําเพญ็ ประโยชนไ ด เชนทต่ี รสั เลาเรือ่ งไปทรมาน พกาพรหม บนพรหมโลก เปนตน เมอ่ื พจิ ารณาถงึ เน้ือเร่อื งแลวกไ็ มเห็นมธี รรมปฏบิ ัตทิ ีเ่ ปนสาธารณวิสัยอยเู ลย คงเห็นแต วธิ กี ารอนั เปน อสาธารณวิสยั เทาน้ัน พระสตู รทํานองน้ีมีอยูในพระไตรปฎกหลายพระสูตร ท่พี ระ ธรรมสงั คาหกาจารยรวบรวมมารกั ษาไว ทานกค็ งเขา ใจถึงพระพทุ ธประสงคเ ปน อยางด.ี การทพ่ี ระบรมศาสดาไมต รัสสอนวธิ ีใชท พิ ยอํานาจไวโ ดยตรง กเ็ พราะทพิ ยอํานาจเปน สิง่ ไม ทัว่ ไปดงั กลา วแลวประการหนงึ่ อีกประการหน่งึ เพ่ือปองกนั คนอันธพาลมใิ หใชทพิ ยอาํ นาจทาํ ความพินาศฉิบหายแกต ัวเขาเอง ไดเ คยมเี ร่ืองคนอนั ธพาลใชศ ิลปะเพ่ือความฉิบหายแกเขาเอง มาแลว เปน ตัวอยา ง ถึงกับไดตรัสไววา ความรูเกดิ ขนึ้ แกคนพาลกเ็ พียงเพ่ือทาํ ลายคุณธรรมของ เขาเอง และเพอ่ื กําจัดปญญาของเขาดวย ฉะนั้น จงึ ทรงระมดั ระวงั หนักหนาในเร่อื งนี้ ทรงถอื เปน อสาธารณะตลอดมา แมจะมีผอู าราธนาใหท รงแนะนาํ อุปเทศแกภกิ ษุผมู ีฤทธ์ิ เพ่อื ทาํ ฤทธิ์เผย แผพระพุทธศาสนาก็ตาม กม็ ทิ รงอนโุ ลมตาม ตรสั ยืนยนั วาไดประโยชนนอ ย ไมคมุ กบั ความ เสียหายอันจะเกิดข้นึ ในภายหลัง การท่ีขา พเจา จะแนะนาํ วิธใี ชทิพยอาํ นาจนี้กร็ สู ึกหวน่ั ๆ อยู เหมือนกันวาจะเปน การเกินครู แตก็จะพยายามแนะนําวธิ ใี ชบ าํ เพญ็ ประโยชนจริงๆ ซงึ่ จะไมน าํ ความพนิ าศฉิบหายมาสใู นภายหลงั ได คตโิ บราณมอี ยวู า สิ่งทีม่ ีคณุ อนันต กม็ ีโทษมหนั ต ในเม่อื ใช ในทางผิด เชน ดาบเมอ่ื ใชใ นทางถกู ก็ใหคณุ อนันต แตถาใชในทางผดิ ก็ใหโ ทษมหนั ต ทิพยอาํ นาจ กเ็ ชนเดยี วกัน ธรรมดาคนพาลมสี ตแิ ละปญ ญาออนความย้ังคิดและความรอบคอบมีนอ ย ถา มี ทิพยอาํ นาจแลว ก็อาจใชท พิ ยอํานาจในทางผิดได ผลรา ยอันเกดิ จากการใชท ิพยอาํ นาจในทางผิด นั้นยอมตกแกผูใชน ั้นเองเปนสวนมาก ตกแกผอู ่ืนเพยี งสว นนอย ดงั่ พระเทวทัตในสมัยพุทธกาล หรือดงั่ รัสปตู ินในตางประเทศ (รัสเซยี ). การบาํ เพ็ญประโยชนจดั วาเปน ความดีสวนหน่ึงที่ควรบําเพญ็ ตรสั สอนใหบ ําเพ็ญเพอื่ สงเคราะหแกผ ูอ่นื เปน เครือ่ งยึดเหนี่ยวนา้ํ ใจกัน ใหเ กดิ ความรักความนับถือมั่นคงในกันและกนั ทิพยอาํ นาจ ๑๗๔
เรยี กวา สงั คหธรรม พระบรมศาสดากท็ รงบําเพ็ญเสมอ และทรงบาํ เพ็ญไดก วา งขวางดวย ด่งั พระโบราณาจารยไดแสดงพระพุทธจรยิ าในการบําเพญ็ ประโยชนแกผูอ ่ืนไวถึง ๓ ประเภท คือ ๑. โลกตั ถจรยิ า ทรงบาํ เพญ็ ประโยชนแกโ ลก ไดแ กท รงแสดงธรรม ทรงบญั ญัตวิ นิ ยั ไว อยางถีถ่ วนละเอยี ดลออ เพื่อประโยชนแ กส ตั วโลกทั่วๆ ไป. ๒. ญาตตั ถจริยา ทรงบําเพ็ญประโยชนแกพ ระญาติวงศของพระองคโ ดยเฉพาะ เชน ทรง สงเคราะหพ ระญาติ ผูแมเ คยบวชในลัทธิอน่ื มากอ น ใหเ ขาบวชในพระธรรมวินัยของพระองคเอง โดยสะดวก ไมต อ งใหประพฤติตติ ถิยปริวาสกอ น สว นคนผูมใิ ชพระญาตวิ งศของพระองคถ า เคย บวชในลัทธอิ ื่นมากอ นตองใหป ระพฤติติตถยิ ปรวิ าส ถึง ๔ เดือน เมอื่ ลวง ๔ เดอื นแลว ภกิ ษุ ทงั้ หลายพอใจจงึ จะใหบวชได. ๓. พุทธตั ถจริยา ทรงบําเพ็ญประโยชนแ กพทุ ธเวไนย คือผคู วรแกก ารตรัสรู แมจะอยใู นท่ี ไกลแสนไกลกเ็ สด็จไปโปรด และแกผ ูตรัสรูแลว เชน ในเรื่องติตถิยปริวาสน้ัน นอกจากทรงยกเวน แกพ ระญาตวิ งศข องพระองคแ ลว ทรงยกเวนแกผ ูบรรลุธรรมดวย ถาพระอรหนั ตอาพาธหนกั มัก เสดจ็ ไปเยีย่ มและทรงแสดงธรรมบําบัดอาพาธให เชน คราวพระมหาโมคคัลลานเถระอาพาธหนกั เสดจ็ ไปเยี่ยมและทรงแสดงโพชฌงคใ หฟ ง พระมหาโมคคัลลานเถระกห็ ายอาพาธ เหมอื นไดรับ ทิพยโอสถฉะนัน้ . เมือ่ ไดทราบพระพทุ ธจริยาในการบําเพญ็ ประโยชนเชนนแ้ี ลว เราพุทธศาสนกิ ชนก็ควร เจรญิ รอยตามพระบาทยุคลของพระพุทธองคบ าง แตเรายังมีประโยชนตนเองท่ีตอ งบําเพญ็ อยูดวย จริยาของเราจึงเปน ไปท้งั ในประโยชนต นเอง ทงั้ ในประโยชนผูอ ่นื ตลอดถงึ ประโยชนของโลกและ ของพระพุทธศาสนา การบําเพ็ญประโยชนน ก้ี จ็ ะตองพิจารณาอยางรอบคอบ เหน็ วา จะไดผ ลคุม กบั กาํ ลงั ทท่ี มุ เทลงไปจึงทํา ถา จะเกิดโทษในภายหลัง แมจะไดประโยชนบางในปจ จบุ ันก็ควรงด การแนะนําวิธใี ชทิพยอาํ นาจบําเพ็ญประโยชนทขี่ าพเจา จะใหต อไปน้ี ก็จะอนวุ ัติตามเหตุผลนน้ั จะ แนะนาํ เฉพาะวิธที ีม่ ีประโยชนจริงๆ ท้งั แกตนเอง ท้ังแกผ อู ื่น จะเวน วธิ ีทจ่ี ะนาํ ภัยพิบัติมาสผู ใู ช ทิพยอํานาจ หากวาใครอุตรินําทพิ ยอาํ นาจท่ปี ลูกสรา งข้ึนตามวิธที ่ีขาพเจา แนะนาํ ไปใชในทางผิด แลว ก็เปนการทําผดิ เฉพาะตัวผนู ้ัน ขาพเจาไมม ีสวนรับผิด เพราะมิไดจงใจหรอื แนะนาํ ทางนัน้ ไว. การบาํ เพญ็ ประโยชน (๑) ดานประโยชนตน. (๒) ดา นประโยชนผ อู น่ื . มีวิธีใชท ิพยอํานาจ ดงั ตอไปน้ี ๑. ดานประโยชนต น ตนเองเปนแดนเกิดของประโยชนทั้งมวล ถาตนเองไมมคี ุณธรรมและสมรรถภาพ ตนก็ทาํ ประโยชนผูอ ่ืน ประโยชนของโลก และของพระศาสนาไมไ ดอยูดฉี ะนัน้ ประโยชนตนเองจึงเปนส่ิง ควรคํานงึ ถงึ กอ น แตคําวาประโยชนตนมีความหมายกวา งมาก จาํ เปนตอ งจาํ กัดความไวใ นท่ีนใี้ ห ทิพยอาํ นาจ ๑๗๕
แนน อน เพอื่ ปอ งกนั ความเขาใจผิดในการบําเพญ็ ประโยชนตน คาํ วา ประโยชนต นตามความมงุ หมายของขาพเจา หมายถงึ ผลดที ี่พึงทาํ แกต นโดยสว นเดียว ถา การใดสาํ เรจ็ ประโยชนแกตนใน ปจ จบุ นั แตผลสะทอนของการกระทํานัน้ เปนผลรา ยแกต นในภายหลงั ในกรณเี ชนน้ีไมช ่ือวา ประโยชนตน เพราะเปน อันตรายแกตนเอง ถาการใดสาํ เร็จประโยชนแกต นเองในปจจุบัน ผล สะทอนของการนั้นในภายหลงั ก็เปน ผลดีแกต นดว ย ในกรณเี ชนน้ีชอื่ วา ประโยชนตนแทจริง การ กระทําซง่ึ เปนผลสะทอ นในทางรายแกต นน้นั พึงทราบวาเปนการกระทบกระเทือนถึงประโยชน ผูอื่น ทาํ ใหผอู ่ืนเสียหาย จึงไมจ ดั วา เปน ประโยชนตนจริง เพราะเปนไปเพ่ือพอกพูนภยั เวรแก ตนเอง ถึงจะไดประโยชนปจจุบนั กไ็ มคุมกบั ผลรา ยอันจะเกดิ ข้ึนในภายหลัง จัดวาเปนการทําลาย ประโยชนตนเสยี ดว ยซํ้า ฉะนั้น ควรเขา ใจใหถ ูกตองวาประโยชนตนตอ งเปนผลดีแกต นเอง ทงั้ ใน ปจ จบุ ัน ทั้งในภายหนา ไมกระทบกระเทือนประโยชนผ อู ่ืน คือไมท าํ ลายประโยชนผ อู ืน่ ผูเจริญ ทิพยอํานาจกช็ อ่ื วาบาํ เพ็ญประโยชนตนอยูแ ลว เมื่อยังไมสําเร็จถึงขั้นอาสวักขยญาณชอื่ วายังไม สาํ เรจ็ อยา งสมบูรณ เปนภาระท่ีจะตองบาํ เพ็ญอยู สวนผูส ําเร็จทพิ ยอํานาจชั้นสงู สดุ แลว ชื่อวา สําเร็จประโยชนต นอยา งสมบูรณแ ลว ภารกิจในการบาํ เพ็ญประโยชนต นก็ระงบั ไป ยังมีแตภ ารกจิ ในการบําเพญ็ ประโยชนผ ูอ ่นื ทต่ี องทําดวยความกรุณา และดว ยมุงสนองบชู าคณุ ตามวสิ ยั ของคนดี ผลสะทอนจากการบําเพญ็ ประโยชนผูอนื่ น้ัน ถึงจะเปนความดีแกตนก็มิใชผลมุง หมายโดยตรง เปน เพยี งผลพลอยไดข องการทาํ ประโยชนเทานน้ั ในดานประโยชนต นน้ี ขาพเจา มุง แนะนําผทู ่ียังมี ภารกจิ ในการบาํ เพญ็ อยเู ทานัน้ ฉะนั้นจะไดใ หคําแนะนาํ ไว ดงั น้ี วธิ ใี ชทิพยอํานาจคุมครองตน (๑) โลกนบี้ ริบูรณด ว ยภยั นานาชนิด ผูเกิดมาในโลกน้ี จงึ เทา กบั ตกอยูท า มกลางภัย คน โบราณท่รี ูเรอ่ื งโลกดีถึงกบั ขนานนามโลกนว้ี า โลกมาร ผจู ะไดน ามวาอัจฉรยิ บุคคลกเ็ พราะผจญ มารไดช ัยชนะ สามารถบําเพญ็ ประโยชนสําเรจ็ ทั้งที่เปนประโยชนตน ท้งั ทีเ่ ปนประโยชนผอู ่ืน ตลอดถงึ ประโยชนแ กโลกท้ังสิ้น ถา จะพดู ใหถกู ตอ งเรยี กโลกนีว้ า สนามผจญภัย ยอมเหมาะท่สี ุด ภัยในโลกนีม้ หี ลากหลาย เม่อื ประมวลใหส้นั มี ๔ ประเภทคอื ก. ภัยธรรมชาติ ไดแกภยั อันเกิดมีอยโู ดยปกติธรรมดา เชนเกิดจากดินฟา อากาศวิปรติ เกิดแตความเปลีย่ นแปลงของสังขาร ฯลฯ ภยั ชนิดนี้เปน ภยั เหนอื อํานาจ แตก ม็ ที างปองกนั ไดบ า ง. ข. ภยั พาล ไดแกภ ยั อันเกดิ จากคนอนั ธพาล คนจาํ พวกนส้ี ันดานหยาบ มีนิสยั ไมอนุโมทนา ในการทาํ ดขี องผูอ ่นื ชอบขัดขวางตัดรอนการบําเพญ็ ประโยชนของผอู น่ื มกี ารกลาวเสียดสี กลา ว เยาะเยย กลา วถากถาง ทาํ รา ยดวยพลการ หรอื ดว ยอาํ นาจในเมอ่ื เขามอี าํ นาจ ภัยประเภทน้กี ็พอ มีทางหลีกเลี่ยงไดบ า ง แตถ า หลกี ไมพ นก็ตอ งผจญดวยความอดทนทส่ี ุด และดว ยวิธีอันแยบคาย ซ่งึ จะไดแนะนําในท่ีนี้. ค. ภัยมาร ไดแ กภ ัยอันเกดิ จากมารใจบาป มารนี้หมายถึงเทพเจาจําพวกหนึง่ ซ่งึ มนี ิสยั สันดานริษยา ไมอยากใหใครไดดยี ง่ิ กวา ตัว โดยมากเปน ผูพ ล้งั พลาดในการสรางบารมี เกรงวาคน อื่นจะเกนิ หนา ตนไป จึงคอยขัดขวางการสรางบารมีของคนอื่นเสมอ ถาจะทาํ ประโยชนเ พยี งช้ัน ทิพยอํานาจ ๑๗๖
ตาํ่ เขาจะไมข ดั ขวาง เพราะยังอยใู นอํานาจของเขา แตถา จะทําประโยชนอยางสงู เพอ่ื ออกจากโลก เขาจะขดั ขวางเต็มท่ี ภยั ประเภทน้ีจะตองผจญดว ยความฉลาดทสี่ ดุ . ฆ. ภยั เวรกรรม ไดแกภัยอันเกิดจากเวรกรรมของตนเอง ถามันใหผลสบื เนอ่ื งกนั มาแลว หลายชาติมนั ยงั ไมส นิ้ กระแสลง ยอ มเปน ภัยที่หลีกไมพ น ถามันยังไมท ันใหผ ล มที างปอ งกันได ดัง จะแนะนําตอ ไปน้ี ในการคุม ครองตนเพ่ือใหพนภัยดงั กลา วน้ี มีวิธีปฏบิ ัติดังน้ี ก. มีสตคิ มุ ครองอินทรยี เ สมอ ปองกันมใิ หเกดิ บาปอกศุ ลขน้ึ ครอบงําใจ ทําใจใหผอ งใสไว เปนนิตย ใหเหมอื นกระจกเงาทขี่ ัดดีแลว ฉะนั้น. ข. มปี ญ ญาพจิ ารณาเหตุผลตน ปลายของสง่ิ ทง้ั หลายเปน นิตย พจิ ารณาดแี ลวจงึ เสพ พจิ ารณาดีแลว จึงรบั พจิ ารณาแลวจึงบรรเทา พิจารณาดแี ลวจงึ เวน ทําใหปญ ญาเปนเหมอื น กองทพั พิทกั ษรักษาตวั เปนนติ ย. ค. เจรญิ เมตตาฌานเปนนิตย ทงั้ กลางวันกลางคนื แผกระแสจิตประกอบดว ยเมตตาไปยงั สรรพสัตวทุกถว นหนาทั่วโลกธาตุ อยาใหจ ิตมีความรูสกึ วามศี ัตรูแตท่ไี หนๆ ใหร สู กึ วามีมิตรรอบ ดานอยูเสมอ. ฆ. เจริญอสภุ ฌานบอยๆ เพ่อื ปองกนั บวงมาร เพราะมารชอบใช รปู เสียง กลน่ิ รส และ โผฏฐพั พะเปน บว งเครอื่ งผูกมดั เสมอ. ง. มขี นั ติ ความอดทนอยางดียง่ิ เยยี่ งขันติวาทีดาบส ในสมยั ดึกดาํ บรรพฉะนั้น. จ. อยา เปด โอกาสใหเวรกรรมไดช อ งใหผล เมื่อรสู ึกตนวา มเี วรกรรมไดทาํ มาแลว จงม่นั ใน ศลี ธรรมยง่ิ ขึน้ ทุกขณะ ทาํ ใจใหเปน ศีลธรรมทุกเมือ่ อกศุ ลเวรกรรมจึงจะไมไดช องใหผล อาจผอน บรรเทาเวรกรรมเกา ท่ีใหผลสบื ตอ อยูนั้นใหเบาบางไป หรอื เลิกใหผ ลเลยก็ได. ฉ. เขาสมาธิประกอบดว ยองค ๕ ดังกลา วไวใ นวิธรี ักษาทพิ ยอาํ นาจนน้ั เสมอ จะทาํ ใหแ คลว คลาดจากภัยอนั ตรายทุกประการ. ช. เจรญิ วปิ ส สนา เฉพาะอยางยิ่งคือ สญุ ญตานปุ สสนาเปน นิตย ใหเห็นทุกสิง่ วา งโปรง เหมอื นอากาศเสมอไป เปนวธิ ปี องกันภัยอยา งดเี ยยี่ ม ภยั อันตรายเขา ไมถึงตัวไดเลย. เมื่อปฏบิ ตั ิตามวธิ ที ่ีกลา วมานี้ไดท กุ ๆ ประการ เปนอนั หวังความปลอดภยั ไดแนนอน ทีเดียว. (๒) วธิ ีใชท ิพยอาํ นาจกําจดั ภยั อันตรายแกต น เม่ือภัยอนั ตรายไดชอ งเกิดขึ้นแกตนแลว พงึ ปฏิบัติบรรเทาภัยอนั ตรายนั้นๆ โดยวิธอี ันแยบคาย ดังตอ ไปนี้ ก. กําจดั ภยั ธรรมชาติ ใชฤทธิ์ปชชลกิ ภาพเผาตวั หรอื เพงแผดเผากายใหเ กิดความอบอุน ท่วั ตวั หรอื ใชอ ากาสกสณิ เพงขยายใหท ว่ั บรเิ วณทอี่ ยู ในเม่ืออยใู นทอี่ ากาศทบึ หายใจฝด ซึ่งอาจ เกดิ โรคภัยไขเ จบ็ ขนึ้ ได. ข. กําจัดภยั พาล ใชเมตตาฌานเปน ดีท่สี ุด เม่ือรูวา ใครเปนพาลชอบเกะกะระรานแลว พึง พงุ กระแสจิตประกอบดวยเมตตาไปยงั ผนู ั้น จะทําใหเขาเกิดใจออ นโยนลง และเลิกการเปน พาล ทิพยอาํ นาจ ๑๗๗
หันมาเปนมติ รได หากจะใชฤทธอิ์ ยางอน่ื บางกไ็ ดใ นเม่อื จาํ เปน ตองพจิ ารณาเอาเองวา ควรใชฤทธิ์ ชนดิ ไหน ใหเหมาะสมกับเหตุการณ. ค. กําจัดภัยมาร ใชอ สุภฌานแกค วามกําหนัดในเม่ือมผี ูเกดิ กําหนดั ในตน หรือตนเกิด กําหนดั ในผอู นื่ จะเพงตนหรอื คนอ่ืนใหเ ปนอสุภะยอ มไดท ัง้ สองประการ สามารถบรรเทาความ กําหนัดไดอ ยา งดยี ง่ิ ถา เกิดภยั มารอยางรายแรงพงึ ใชส ญุ ญตานปุ ส สนาพจิ ารณากายใหเ หน็ วา ง เปลา เปนอากาศไป หรอื จะใชฤ ทธป์ิ ระการใดประการหนง่ึ อนั เหมาะสมกับเหตุการณก ็ได. ฆ. กําจดั ภัยเวรกรรม เมื่อเกดิ ภยั เวรกรรมขึ้น พึงใชความอดทนอยา งดีเยี่ยม อยายอมให ใจเหออกนอกทางศีลธรรม อยาทํากรรมเวรสบื ตอ ใหย ืดยาว ทําใหม ันส้นิ ลงเสยี เพียงแคน้ันเปนดี ท่สี ุด และพงึ แผก ศุ ลผลบุญไปยังผเู ปนเจา กรรมนายเวรเนอื งๆ เพอื่ ใหเ ขาใจออ นเลกิ จองกรรมจอง เวรกันตอ ไป. ในการกําจัดภัยอันตรายน้ี เม่ือจะใชวธิ ีใดๆ พึงพิจารณาใหแนน อนในใจเสียกอ นวา จะไดผ ล หรอื ไม เม่อื ไดค วามแลวจึงใชวิธีนัน้ ๆ ตอ ไป. (๓) วธิ ีใชทพิ ยอํานาจบําบดั อาพาธแกต นเอง เมือ่ เกิดอาพาธขึน้ พึงพจิ ารณาหาอบุ าย บาํ บดั อาพาธ เมื่อไดอบุ ายอยา งใดพงึ ใชอ บุ ายน้ันบาํ บัด กจ็ ะระงับได เวน แตอ าพาธอนั เกดิ จากเวร กรรม เมอื่ กระแสกรรมยังไมสิ้นสุดลง อาพาธยงั ไมระงับ เม่ือพจิ ารณาไดค วามวา อาพาธเกดิ จาก เวรกรรมอะไรแลว พงึ ปฏบิ ตั ใิ นทางระงบั เวรกรรมดงั กลา วในขอ (๒) ฆ. อาพาธกอ็ าจระงับ หรอื บรรเทาลงไดมาก วิธีทัว่ ไปสาํ หรบั บาํ บดั อาพาธ คือ เขาฌานเปนอนโุ ลมปฏิโลมหลายๆ เที่ยว หรอื เขา ฌานแบบสมาธปิ ระกอบดว ยองค ๕ ดังกลา วไวใ นบทที่ ๑๓ ตอนวา ดวยการรักษาฌานกไ็ ด และตอ งปลกุ กําลังใจใหแข็งแรงทีส่ ดุ ตองนกึ วา ตนเองแข็งแรงไมเจ็บปวยอยูเ สมอ. (๔) วิธีใชอ ํานาจระงบั กิเลสของตน กเิ ลสเปนภัยอนั ตรายภายในทส่ี าํ คัญที่สุด ย่งิ กวาภยั ใดๆ ตอ งปฏิบตั ิในทางปองกันไวเ ปนดีทีส่ ดุ วิธีปอ งกันภยั ชนดิ นกี้ ็ไดแกขอสมั มาปฏิบตั ทิ ัง้ ปวง ดังกลา วไวในบทท่ี ๓-๔ นั่นแลว แตถ าหากมันเกิดขึน้ โดยทีป่ อ งกนั ไมท นั ก็พึงบรรเทากิเลสนั้น ดวยขอ สมั มาปฏิบตั ิตรงกันขา มเสมอไป ทาํ นองหนามยอกเอาหนามบง เชน ราคะเกิดข้ึน พึงเจริญ อสภุ ฌาน โทสะเกดิ ขึ้นพึงเจริญเมตตาฌานเปน ตน กเิ ลสนั้นๆ ก็จะระงับไป อยาปลอยไวนานจะ ละยาก เมื่อมันเกิดขน้ึ ตอ งรีบแกไขทันที แลวตองสงั วรไวใหด .ี ๒. ดานประโยชนผ ูอนื่ ผูอ่นื หมายภายนอกตัวเองออกไป จะเปนคนสตั ว ภตู ผี ปศ าจ หรือเทพเจา กต็ าม เรียกวา ผูอ น่ื สนิ้ ประโยชนใ ดเปนไปเพอื่ ความสุขสวัสดีแกผ ูอื่นน้ัน ประโยชนน ั้นเรียกวาประโยชนผูอ่ืน การบําเพ็ญประโยชนเ พอ่ื ผูอ่ืนกค็ อื ประกอบกิจการหรือประพฤติการอนั จะเปน ผลสะทอนกลับมา หาตนกเ็ พยี งเลก็ นอย ไมคุม กบั กําลงั และเวลาทที่ ุมเทลงไป การบําเพ็ญประโยชนผูอ่ืนนี้ตรสั สรรเสริญและทรงแนะนาํ ใหบําเพญ็ แตถ า ทาํ แตป ระโยชนผ ูอนื่ ละเลยประโยชนของตนกท็ รงติ เตยี น เพราะเขาผูน้นั จะทาํ ลายตัวเอง และผลทส่ี ดุ กจ็ ะทําลายผูอ่นื ดวย จงึ ทรงแนะนําใหบาํ เพญ็ ประโยชนอ นั จะสําเร็จผลดที ้ังแกต นทงั้ แกผูอ่นื เปนการทาํ ท่มี ีผลไพศาล คือการประพฤติสจุ ริต ทพิ ยอํานาจ ๑๗๘
ดวยกาย วาจา ใจ และชกั ชวนผอู ืน่ ในการประพฤติสุจรติ นัน้ โดยวิธีน้ีตนเองก็ไดป ระโยชน ผูอนื่ ก็ ไดรับประโยชนด ว ย ไมเ สยี ผลทัง้ สองฝา ย ผมู ปี ญ ญาชอบบาํ เพญ็ ประโยชนชนิดน้ี แตยังมี ประโยชนบางอยางซ่งึ ตนเองจะตอ งเปนผเู สียสละฝา ยเดียว ผอู ่นื เปน ผูไดรับผล ในกรณเี ชน นี้ทรง แนะนาํ ใหพ จิ ารณาดวยปญ ญา ถา เห็นวา จักไมเ ปนไปเพอื่ ทําลายประโยชนของตนก็พึงทําตาม กาํ ลงั ความสามารถ แตถาเปนไปเพื่อทาํ ลายประโยชนต นเองแลวไมควรทํา ท้งั น้ีมใิ ชสอนใหเ ปน คน ใจแคบ แตทรงสอนใหเปนคนมีประโยชน รจู กั ทาํ ประโยชนไมใ หทาํ ลายประโยชนใดๆ เมือ่ ได ทราบลกั ษณะประโยชนผ อู ่ืน และหลักการบาํ เพ็ญประโยชนผูอืน่ เชนนี้ พงึ ทราบวธิ กี ารดงั ตอ ไปน้ี (๑) วธิ ีใชท ิพยอํานาจคมุ ครองผอู น่ื ในกรณที ่ีผอู ืน่ ไมสามารถจะคุมครองตนของเขาใหป ลอดภัยได ถาเราเปนผูส ามารถปองกัน ภัยไดแ ละเมตตากรุณาแกเขาก็พึงทําการคุมครองเขาดว ยทพิ ยอาํ นาจประการใดประการหนึง่ เชน ก. ทาํ ฤทธก์ิ ําหนดเขตปลอดภัยแกเ ขา. ข. ทําฤทธ์อิ ธษิ ฐานวัตถใุ หเ ปนเครื่องคุม กันภัยแกเขา. ค. แนะนําใหเ ขาระลกึ ถึงพระรัตนตรัย และตนซ่ึงเปนสว นหนึ่งของพระรัตนตรยั ในเวลา หวาดระแวงภยั . ฆ. ทาํ ฤทธิด์ ว ยเมตตาพลกรุณาพล หรอื ประการอ่นื ๆ ปกคลุมไปคมุ ครองเขาในเมือ่ จําเปน. (๒) วธิ ีใชท ิพยอาํ นาจบรรเทาภยั แกผ อู นื่ ในกรณที ผี่ ูอ ่นื ประสบกับภยั อันตรายอยา งใดอยางหนึ่ง เมอ่ื เราเมตตากรณุ าเขาอยู และมี สมรรถภาพพอจะชว ยได ก็พึงชวยดวยทิพยอาํ นาจประการใดประการหนึง่ ซ่ึงเหมาะสมกบั กรณี นัน้ ๆ เชน ก. ทําฤทธ์กิ าํ จดั ภัย ในเมื่อเหน็ วาจาํ เปน ตองทาํ เพราะจะปฏบิ ตั โิ ดยวธิ ีอนื่ ใดไมสําเร็จ. ข. ทาํ บุญอทุ ิศ หรอื อุทิศบุญท่ีมีอยูแ ลว ไปใหแกเขา ผกู ําลงั ตกทุกขไดย ากอยูในปรโลก ให พนทุกขยากไป. ค. ใหคําแนะนําสง่ั สอนอนั ศักดิ์สทิ ธ์ิ เหมาะสมกับภัยทเี่ ขาผจญอยนู ้ัน ใหเขาเกิดกาํ ลังใจ ตอ สูกบั ภยั ดว ยธรรมกิ อบุ าย และแผกระแสจติ ประกอบดว ยอานุภาพไปชว ยเขาตามสมควร. ฆ. ถาเขาเปนผมู ที พิ ยอํานาจพอจะขจัดภัยแกต ัวเองไดอ ยู หากไมฉ ลาดในวิธใี ช พึงแนะ อปุ เทศแหง ทพิ ยอํานาจแกเ ขาตามควร. (๓) วธิ ีใชทิพยอาํ นาจบาํ บดั อาพาธผอู น่ื ในกรณีทผ่ี อู ืน่ เกดิ อาพาธทพ่ี อเยยี วยา หรือผอนบรรเทาทกุ ขเวทนาได กพ็ งึ ชวยเหลอื ตาม สมควรแกก รณี เชน ก. เขาสมาธขิ ั้นปต สิ ขุ ภูมิ แลว แผกระแสปต สิ ขุ นั้นไปให หรือทําอธิษฐานฤทธิ์ก็ได. ทพิ ยอาํ นาจ ๑๗๙
ข. ถา เปนผมู กี าํ ลังใจ ไดเ คยซาบซง้ึ ในพระธรรมอยูแ ลว แสดงธรรมอันวิเศษใหฟ ง กบ็ รรเทา ได. ค. ผอู าพาธเปนผทู ่คี วรสงเคราะหโดยประการทงั้ ปวง พงึ เพง ใหเกดิ เปนทิพยโอสถขน้ึ แลว ใหเขาใชอ าบกิน. (๔) วธิ ใี ชทิพยอาํ นาจปลกู ศรัทธาในศีลธรรมแกผ อู น่ื ในกรณชี วยเหลอื ผอู ื่นใหเ กิดศรัทธาเชื่อม่ันในศีลธรรมน้ัน นอกจากการใหค าํ แนะนําสัง่ สอนตามธรรมดาแลว ในบางกรณจี ะตอ งอาศยั ทพิ ยอํานาจเขาชว ยจงึ จะสําเรจ็ ผล เพราะบางคน มีทฏิ ฐมิ านะกลา ถาไมเ ห็นคณุ นาอัศจรรยประจกั ษต า เขาจะไมเชือ่ ถอื ถอยคาํ ในการแนะนําส่ัง สอน แตถา เขาไดเหน็ คณุ นา อัศจรรยแ ลว เขาจะเช่ือถือถอยคาํ ในการแนะนาํ ส่งั สอนอยางดียงิ่ และทาํ ใหเ ขาม่ันใจในศีลธรรมวา เปนส่ิงดีวเิ ศษกวาสิ่งใดๆ เม่ือเขามัน่ ใจในศลี ธรรมยิง่ ๆ ข้ึนในกรณี ทตี่ อ งใชทพิ ยอาํ นาจนต้ี อ งพจิ ารณาโดยรอบคอบวา ควรใชท พิ ยอํานาจชนิดใดดวย อยา สักวา มี อาํ นาจใชก ็ใชไ ปทีเดยี ว เพราะถาใชไมถ กู วธิ ีก็อาจกลับเปนรา ยได และตอ งสงั วรใหม าก อยาใชพราํ่ เพรอ่ื จะนาํ อนั ตรายมา. อนงึ่ นาค ยกั ษ คนธรรพ ปศ าจ เปรต บางจําพวกมฤี ทธ์แิ ละโหดราย ถาไมใ ชฤทธ์ิทรมานก็ ยอมไมสําเรจ็ อยดู ี ในกรณีทาํ ฤทธิ์ทรมานพวกน้ีพึงพิจารณาดูฤทธ์ิอันจะปราบเขาได เชน นาค ตอ ง ใชฤทธิส์ องประการทรมาน คอื ธมายิกภาพ กับ ปชชลิกภาพ นอกนั้นเพยี งเมตตาฌานก็อาจ ทรมานได ถาใชเมตตาไมลงจึงคอยใชฤทธ์อิ ่ืนๆ ตอ ไปตามสมควร เม่อื ทรมานลงแลว ตอ งส่งั สอน ใหดาํ รงอยใู นพระไตรสรณคมนแ ละศีล ๕ ประการ เสมอไปทุกครง้ั อยาทรมานปลอ ย จะได ประโยชนน อ ย. จบ. ทพิ ยอาํ นาจ ๑๘๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180