ผปู กครองเขตแดนทต่ี นอยูนั้นเปน ผูมีอชั ฌาสยั อํานวยความสะดวกใหตามสมควร ไมเ บียดเบียน ขมเหง หรอื กลาวเสียดสีใหเกิดความขุนหมองใจ. ๓. อาหารสปั ปายะ อาหารเหมาะสม คอื อาหารที่ถกู ธาตุ กินแลว ไมทาํ ใหก เิ ลสฟุง ไมทํา ใหรางกายออ นเพลยี มึนเมอื่ ย งวงซึม ทาํ ใหร างกายมีกําลงั แข็งแรง ทนทานตอ การพากเพยี ร ทาํ ใหจ ติ ใจแจม ไมทอ แทอ อ นแอ ชวนใหท าํ ความเพยี ร. ๔. ธมั มสปั ปายะ ขอ ปฏบิ ตั เิ หมาะแกจริต คอื กรรมฐานที่เลอื กมาเปนขอปฏิบัติเหมาะแก จรติ ขมปราบกิเลสอนั เปนเจาเรอื นลงได ไดฟ งธรรม ฟง วนิ ยั สะดวก และขอ ธรรมขอวินัยท่ีไดฟงก็ ดี อุบายปญ ญาท่ีปรากฏแกใจตนเองก็ดี สามารถขม ปราบกเิ ลสไดดี. สัปปายะ ๔ ประการน้ี ผูเ ปนบรรพชิตสามารถหาใหค รบบริบรู ณได เพราะมชี วี ติ อสิ ระ ไม มธี ุระกงั วล ในการอาชพี ผูกพนั ตนอยเู หมือนผูเปน คฤหสั ถ แตในปจ จบุ ัน ชวี ติ ของบรรพชติ ก็ใกล เขา ไปทางฆราวาสมากแลว โดยท่ตี องอยูรวมเปนหมูในอารามภายในละแวกบาน ทงั้ ยังมีภาระ กังวลในการบริหารหมูอีกดวย สวนผไู มมหี นา ทใี่ นทางบริหารหมโู ดยตรงกร็ ับภารธรุ ะของครูบา- อาจารย ของเจา อาวาสบางประการ เปนภาระผูกพนั ตน เกอื บจะเปนคนหมดอสิ รภาพอยูแ ลว เคราะหดอี ยหู นอ ยที่อารามสวนมากมผี ูศรัทธาปลกู สรา งใหพอเพยี งท่ีจะอยอู ยางไมค ลุกคลีนัก คือ สามารถจะอยไู ดค นละหอง หรอื คนละหลังไดอยา งสบาย พอหายใจสะดวกอยูบ าง เวลากลางคืนก็ เงียบพอสมควร ถาเปน ผไู มป ระมาทกพ็ ออาจหาเวลาทาํ ความเพยี รไดอยู สวนคฤหัสถผ คู รองเรอื น เปนผมู ีชวี ิตคลุกคลี มภี าระผกู พนั ในการอาชีพ ยากทจี่ ะหาสัปปายะใหบริบูรณ แตกม็ ใิ ชจ ะไร โอกาสเสยี ทีเดียว เวลาวางงานและเวลาสงบเงียบกย็ งั มี พอจะปลีกตนปฏบิ ตั กิ จิ อนั ประเสริฐนีไ้ ด มหาบรุ ุษคอื คนนาํ้ ใจใหญ อดทน มเี พียร มีปญญา อัธยาศยั ประณตี มกี ุศลมลู แตงสรางสังขาร จะ เปนบรรพชิตหรอื คฤหัสถก ็ตาม แมจะอยใู นทเี่ ชน ไร ในหมูชนหมูไหน ไดอ าหารถูกธาตุหรือไมก็ ตาม ก็ยอ มมีอุบาย-ปญ ญา ปฏิบัตเิ อาตนพนทกุ ขไ ด เปน แตยากลาํ บากและเนิน่ ชา หนอย ฉะน้ัน เมือ่ ไมไ ดส ัปปายะบริบูรณ กไ็ มควรทอ ถอย พึงอธษิ ฐานใจใหร สู กึ ประหนง่ึ วา ตนคนเดียวอยูในโลก แลวทาํ ความพากเพยี รพยายามเถดิ . ทิพยอํานาจ ๕๑
บทที่ ๔ อปุ กรณแ หง ทพิ ยอาํ นาจ ทา นไดอ า นบทที่ ๑-๒-๓ มาแลว ยอ มทราบวิธปี ฏบิ ัติอบรมจิตใจตามหลกั พระพทุ ธศาสนา พอสมควร หากจะใชวิธีเทา ที่บอกไวใน ๓ บทนั้นเปนเคร่ืองมอื ปลกู สรา งทิพยอํานาจกพ็ อเพียงแลว แตเพ่ือใหสะดวกและงายย่งิ ข้ึน ควรทราบวิธอี ันเปนอปุ กรณแกทิพยอํานาจไว สําหรับปฏิบตั ิ ประกอบกัน ดงั จะกลาวในบทนี้ จิตใจเปนธรรมชาติละเอยี ดออนสขุ มุ าล นอมไปทางดีกไ็ ด นอมไปทางชั่วก็ได หรือพูดฟง กันงายๆ วา เปนท่ีตง้ั แหงความดแี ละความชว่ั ความดีและความชัว่ น้ันตางก็มีพลงั งานในตัวของ มันเอง และพลงั งานของทง้ั สองฝา ยนนั้ เปน ปฏิปก ษกนั โดยธรรมชาติ มีการตอสลู างผลาญกนั อยู เนอื งนิตย จติ ใจเปนสนามตอ สูของทง้ั สองฝา ยน้นั และเปนผูพลอยไดซ ึ่งผลแหง การตอสนู ั้นดวย คือพลอยเปน สุขเมอ่ื ความดีชนะ พลอยเปนทุกขเดือดรอ นเมอื่ ความชวั่ ชนะ จติ ใจเองยอ มมีอิสรเสรี ท่จี ะเขา กบั ฝายใดก็ได ในเม่อื พจิ ารณาดว ยปญ ญาแลว เห็นควรเขา กบั ฝายใด และมที างเอาตัวรอด จากอาํ นาจท้ัง ๒ ฝายน้นั ดว ย ไมจําเปน จะยอมจํานนใหอาํ นาจของทง้ั สองฝา ยนน้ั มาครองความ เปน เจา เปนใหญเ สมอไปก็ได. วิธีการท่ีจะเอาตวั รอดจากอํานาจของความดแี ละความชวั่ น้ัน เราตองรเู ทาลกั ษณะอาํ นาจ ทั้งสองนน้ั อยา งถูกตอ ง แลว เขา กับฝา ยท่เี ปน ธรรม เปด ชองทางใหอํานาจทเ่ี ปน ธรรมหลัง่ ไหลเขา มามีอํานาจครองความเปน ใหญใ นจติ ใจของเราไปกอน แลวจึงผนั ผอ นเพอื่ ความเปนอสิ รเสรีในบ้นั ปลาย. ในบทน้ี ขา พเจา จะไดช้ลี ักษณะอาํ นาจความดีและความชัว่ ทง้ั สองฝา ยน้ัน เพ่ือทราบและ เลอื กปฏบิ ัตใิ นทางที่จะเพ่มิ พูนอํานาจทเี่ ปนธรรมใหม ากขนึ้ ในตัวเรา เพอ่ื เราจะไดม อี ทิ ธพิ ลเพียง พอท่ีจะสลัดตนออกจากอํานาจของฝา ยอ่นื บรรลุถงึ “ความเปนตนของตน” เต็มท่ี มเี สรีทจี่ ะอยู อยางสบายตอ ไป. อนึง่ ไมวาในหมูชนหมใู ดในโลกน้ที ่ีจะไมมกี ฬี าชนิดใดชนิดหน่งึ เปน เครือ่ งเลนเพลิดเพลิน และบาํ รุงพลานามยั นั้นเปน อนั ไมม ี แมในหมูชนผมู ีจิตใจสงู สงสกั เพียงไรก็ตาม ก็ยอมมกี ีฬาสําหรบั เลนเพลดิ เพลนิ และเปน เคร่อื งบํารุงพลานามัยดวยเชนเดยี วกนั ฉะน้ันในบทนีก้ จ็ ะไดอ ธบิ ายถึง กฬี าในพระพทุ ธศาสนาไวด ว ย เพอื่ วา เมอ่ื ทานตองการเลนกีฬาเพ่ือความเพลิดเพลนิ หรอื เพอ่ื พลานามยั อยา งใดอยา งหนงึ่ กจ็ ะไดเลนตามตองการ. ตอไปนจี้ ะอธบิ ายลักษณะความดีและความชว่ั พรอมดวยวธิ ีเปด ชองใหความดีมามอี าํ นาจ ในจิตใจ และปด ชอ งมิใหค วามชวั่ มาเปนเจา จติ ใจ เพ่อื เปน แนวทางสงั เกตและปฏบิ ัติ สว นวิธีการ เอาตวั รอดจากอํานาจของทัง้ สองเพือ่ เปน ตนของตนเตม็ ทีน่ ั้น จะไดร อไวกลา วในบทวา ดวยวธิ ีปลกู สรางทิพยอาํ นาจช้ันสูง. ทพิ ยอาํ นาจ ๕๒
ความดีกบั ความช่ัว มีลกั ษณะตรงกนั ขามเสมอไป ต้ังแตช ้ันตํา่ ทสี่ ุดจนถึงชั้นสงู ทสี่ ดุ เปรียบ ประดุจนํ้ากับไฟ ซึ่งมีลกั ษณะตรงกันขา มเสมอไปฉะนั้น ความดีนั้นมีลักษณะท่พี อประมวลมา กลาวไดเ ฉพาะลกั ษณะใหญๆ เพยี ง ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ความดีมลี กั ษณะทาํ จติ ใจใหเ ย็น ๒. ความดีมลี ักษณะทาํ จิตใจใหป ลอดโปรง ๓. ความดีมลี ักษณะทําจติ ใจใหแ จมใส สวนลกั ษณะปลีกยอ ยของความดี ยอมมีมากมาย แตก ็พอสังเกตไดโ ดยอาศยั ลักษณะ ใหญๆ ท้งั ๓ ลกั ษณะนีเ้ ปน เครื่องวินิจฉยั เทยี งเคียง ถา สงั เกตใหด กี ็จะไมห ลงเขาใจผิดไปได. ความช่ัวมลี กั ษณะตรงกันขา มกับความดี มีลักษณะทพ่ี อจะประมวลมาไดเฉพาะลักษณะ ใหญๆ เพียง ๓ ลกั ษณะ ดงั นี้ ๑. ความชั่วมลี กั ษณะทาํ จิตใจใหรอ น ๒. ความชัว่ มีลักษณะทําจติ ใจใหอดึ อดั ๓. ความชั่วมีลักษณะทาํ จิตใจใหมืดมัว สว นลกั ษณะปลีกยอยของความช่ัวก็มีมากมายเชน เดียวกนั แตกพ็ อสังเกตไดโดยอาศัย ลักษณะใหญ ๓ ลกั ษณะน้เี ปน เครือ่ งวินจิ ฉยั เทยี บเคียง ถาสงั เกตใหด กี จ็ ะไมห ลงเขา ใจผิดไปได. ความดียอ มอาศยั สง่ิ ทด่ี ีเปนปจ จยั โดยนัยเดียวกัน ความช่ัวกย็ อมอาศัยสิ่งที่ชั่วเปนปจจยั สิ่งทดี่ แี ละชัว่ นน้ั ปนออกเปน ๒ ชัน้ คอื ชั้นโลกและชั้นธรรม ชั้นโลกไดแก รปู เสียง กลนิ่ รส และ โผฏฐพั พะ ชัน้ ธรรมไดแกธรรมคือสภาวะทม่ี าสัมผสั กบั จิตใจได. จะอธิบายชั้นโลกกอ น โลกบริบูรณด วยรูปอันเปนวิสยั ของตา เสียงอันเปน วสิ ัยของหู กลิ่นอันเปนวิสยั ของจมูก รสอันเปนวสิ ัยของล้นิ และโผฏฐัพพะอนั เปน วสิ ัยของกาย สงิ่ เหลา น้ี ยอมมีทัง้ ดแี ละไมดี ทัง้ เปนสิ่งท่มี ีประจําโลก ถา โลกปราศจากส่งิ เหลา น้ี โลกกไ็ มเปน โลกอยูได โลกมนุษยก ็ตอ งมสี ่งิ ทัง้ ๕ น้ี โลกสวรรคกต็ อ งมีสงิ่ ท้ัง ๕ น้เี ต็มอยู โลกที่ตํา่ กวา สวรรคและมนุษย ลงไปกต็ องมสี ง่ิ ท้ัง ๕ น้ีเชน เดียวกนั ส่ิงทง้ั ๕ นี้เปน สว นประกอบใหเปนโลกสมบรู ณ ถาโลก ปราศจากสงิ่ ทัง้ ๕ น้แี ลว จะเปน โลกทส่ี มบูรณไมได แมแ ตอตั ภาพของคนเราตลอดถงึ สรรพสัตวท ่ี พระบรมศาสดาตรัสเรยี กวาโลก ก็ประกอบดวยสงิ่ ทั้ง ๕ นที้ กุ ประการ ในทีใ่ ดมีสิ่งท้งั ๕ นี้ ในท่ี น้นั ตอ งเปนโลก จะเปน อ่นื ไปมิได การพน โลกหรือถึงท่สี ดุ โลกตามความหมายในพระพุทธศาสนา กห็ มายถึงพน จากอาํ นาจของส่ิงทงั้ ๕ นน้ี น้ั เอง คือส่งิ ทัง้ ๕ น้ีไมมอี าํ นาจเหนือจิตใจ คนธรรมดา สามัญเมื่อประสพส่ิงทง้ั ๕ น้ีอนั เปนสง่ิ ภายนอกตวั ก็ดี ภายในตัวก็ดี ยอมเกิดความรูสกึ ขึ้นเปน ๒ ฝา ย ฝายใดฝา ยหนงึ่ เสมอ คือความรสู ึกฝา ยดีกบั ฝายช่ัว ความรูส ึกฝา ยดีนนั่ แหละคอื ความดี ความรูสกึ ฝายชวั่ นน่ั แหละคือความชวั่ ความดคี วามช่ัวดังวาน้ีเปน ชน้ั โลก ใหผลดชี ั่วอยูในโลกนี้ เอง เมอื่ เราพเิ คราะหใ หดีกจ็ ะเหน็ วา สง่ิ ทีท่ าํ ใหเราเกดิ ความรสู กึ ฝายดีนั้นเปนสงิ่ ท่ีดี ส่งิ ที่ทําให เราเกิดความรูสึกฝา ยช่ัวนน้ั เปนส่งิ ท่ีชวั่ ท่วี านี้หมายเฉพาะในกรณสี ามัญธรรมดาทัว่ ไป สว นใน กรณพี เิ ศษสําหรบั มคี วามรสู ึกพิเศษอยูในใจนนั้ ยอ มเกดิ ความรูสึกผิดแปลกไปจากลกั ษณะสามญั ดังวานนั้ ได เชนคนที่มคี วามรูสึกรษิ ยาอยใู นใจ พอเหน็ กิริยาอาการแชม ชื่นของผไู ดดิบไดดี แทนที่ ทพิ ยอาํ นาจ ๕๓
จะรสู ึกแชมชื่นไปดวย ก็กลบั รสู กึ เศรา สรอ ยหงอยเหงา หรือรูสกึ หมนั่ ไสไ ปกไ็ ด ในลักษณะฝาย ตรงกนั ขามกเ็ หมอื นกัน บคุ คลผตู ง้ั ใจสังเกตความจรงิ ของโลกในแงต า งๆ พอไดเห็นรูปท่ีนา พึง เกลียดพงึ หนา ย เชน ซากของคนหรือสัตวท ต่ี ายแลว แทนทจี่ ะเกดิ ความรูสึกเกลียดชงั หรอื เบือ่ หนา ยอยางในกรณีธรรมดาสามัญ ก็จะเกิดความรสู กึ ซาบซึ้งในแงแหงความจริงของโลกขึ้นมาทันที จะวาเกลยี ดชังหรือเบื่อหนา ยรูปนั้นกไ็ มใ ช ทัง้ ยงั ผลใหเกิดความรูสึกหายกาํ หนัดในรปู ไดทนั ที ขอ นีแ้ ล เปนเหตุผลใหทางพระพุทธศาสนาวางวธิ ีปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับใหดูหรอื พิจารณาอสภุ ะ เปน เครื่อง สอนใจไว. สวนชัน้ ธรรม ไดแกสิ่งซึง่ มาสมั ผสั เขา กับจติ ใจโดยเฉพาะ และกอ ใหเ กดิ ความรูสกึ ดีหรือชวั่ ขึ้นในจิตใจน้ันเอง ธรรมเปนสภาวะที่สุขุมประณีตเหน็ ไดยากรไู ดยาก แตก ็ไมเ กนิ วสิ ยั ทีจ่ ะรจู ะเหน็ ได ธรรมยอมมีหยาบ ปานกลาง และละเอยี ด เชนเดียวกบั ทางโลก ธรรมชั้นหยาบยอ มมีลกั ษณะ ใกลต อ ความเปนโลก หรือคลายคลึงกบั โลกทีส่ ดุ ธรรมท่ีพอปานกลางมีลกั ษณะหางออกจากโลก ไปบา ง สวนธรรมทีล่ ะเอียดประณตี ยอ มมลี ักษณะหา งไกลจากโลกถงึ กับตรงกันขา มทเี ดยี ว แตจ ะ อยา งไรก็ตามเม่อื กลา วโดยสวนสามญั ทั่วไปแลว โลกกับธรรมตอ งอาศัยกันและกันเปนไป เกอ้ื กลู อดุ หนนุ กันบาง ลางผลาญทาํ ลายกันบา ง พอแตอ าศยั กนั เฉยๆ บาง เปนเชน นี้อยูต ลอดนิรนั ดรกาล จะชี้ใหเห็นโลกกับธรรมชั้นต้นื ๆ ที่เก้ือกูลหรือหกั ลางกนั ใหเ หน็ คนที่มจี ิตใจเขมแข็ง มีความรสู ึก ฝายดอี ยใู นใจเสมอ ผิวพรรณวรรณะจะเปลงปลั่งสดใส มพี ลานามยั ดี ถึงหากจะเผอิญเกิดเจ็บปวย ข้ึน กจ็ ะรักษาหายไดไ ว ทเี่ ปนดังน้ี เพราะกาํ ลงั ใจน้ันเองเปนเหตุ สวนผมู จี ิตใจออนแอ มี ความรูสกึ ฝายช่ัวอยใู นใจเสมอ ผิวพรรณวรรณะเศรา หมองซีดเผอื ด พลานามัยไมค อ ยดี หากมีอนั เปน เกิดเจบ็ ปวยขึ้น จะรักษาหายยากท่สี ุด ทเ่ี ปนดังนี้เพราะขาดกาํ ลังใจอุดหนนุ ซาํ้ มหิ นํา ความรสู ึกออ นแอของใจน้ันกลบั ทาํ ลายสุขภาพทางกายลงเสยี ดว ย ความขอ น้ยี อมเปนจริง ไมเ ช่ือ ลองถามนายแพทย เขาจะรับรองเหตผุ ลขอน้ีทันที. ความดคี วามช่วั ช้ันธรรมนี้ พงึ สงั เกตสภาวะอนั เกิดกับใจโดยเฉพาะ ซ่ึงไมไดองิ อาศยั สิง่ ทงั้ ๕ ซ่งึ เปน โลกเกิดข้ึนแตป ระการใดประการหน่ึงเลย ลักษณะแหง จติ ใจในฌานช้ันตนๆ ยงั ประกอบดว ยสภาวะทเ่ี กิดกบั ใจโดยอาศัยสิง่ ท้งั ๕ อยา งใดอยางหนึ่ง ฉะน้ันจงึ นับวา เปน ชั้นโลก ครนั้ จิตสงบเขาถงึ ลักษณะฌานชั้นสูงข้ึนไป สภาวะทเ่ี กิดกบั ใจนัน้ ๆ มิไดองิ อาศัยสง่ิ ทงั้ ๕ ประการ ใดประการหน่งึ เลย จงึ นับวา เปนช้นั ธรรม แตเปนธรรมชั้นหยาบ จงึ มลี กั ษณะใกลต อ โลกหรอื คลา ยคลึงกับโลก จติ ในฌานช้ันประณตี ประกอบดวยสภาวะทส่ี ขุ ุมประณีต หา งจากลักษณะของ โลกออกไป แตย ังมีสว นท่คี ลายคลึงกับโลกอยูบาง สวนจติ ใจในฌานชัน้ สูงสดุ หรอื ในธรรมชัน้ สูงสดุ นน้ั ประกอบดว ยสภาวะทีส่ ุขมุ ประณีตท่สี ดุ ไมมีลกั ษณะของโลกเจือปนอยูเลย เปนลกั ษณะ ของธรรมลวนๆ ตรงกันขา มกบั โลกทกุ อยา ง ชั้นนแี้ ลที่ทานเรยี กวา “โลกตุ ตรธรรม” มีไดใ นความ เปนมนุษยนี้แหละ ไมใ ชส่งิ ที่เกินวสิ ยั ของมนุษย หากแตเปน “อจั ฉรยิ มนุสสธรรม” คอื ธรรมของ มนษุ ยม หศั จรรย ผูบ รรลถุ งึ ธรรมชั้นนี้เปน บุคคลที่เพยี บพรอมไพบลู ยดวยความสขุ สมปรารถนา ลกั ษณะภาวะของโลก คอื ความเปลยี่ นแปลง ความบีบคัน้ ความเปนอ่ืน จะไมมีเลยในธรรมชัน้ ทพิ ยอํานาจ ๕๔
น้ัน คงมีแตลักษณะตรงกันขาม คอื ความเทย่ี งแท ความวางโปรง ความเปน ตนของตนเองอยา ง สมบรู ณท่ีสดุ . เมื่อทราบไดท ราบลักษณะของความดี-ความช่วั ทั้งที่เปนช้ันโลกและชน้ั ธรรมพอสมควร เชนนแี้ ลว ควรทราบวิธปี ด ก้ันความช่ัว เปดชองความดี เพอื่ ใหความดีหลั่งไหลเขา มาครองความ เปน ใหญใ นจติ ใจตอ ไป. ชอ งทางไหลเขา สจู ติ ใจของความดี และความชวั่ ก็คือ ตา หู จมกู ลิ้น กาย ซึง่ มีประสาทที่ ใหสาํ เรจ็ การเหน็ ไดย ิน รูส กึ กล่ิน รูสึกรส และรูสึกเย็นรอนออนแข็งประจาํ อยู เวนแตผ ูม ปี ระสาท ทางชอ งน้ันๆ พกิ ารเทา นนั้ เม่ือสิง่ ท่ีเปนโลก คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐพั พะ ผา นมาในวถิ ี ประสาททัง้ ๕ แลว จะเกิดวญิ ญาณสื่อคอื ความรสู กึ เหน็ เปน ตน สงกระแสสะเทอื นไปตามวถิ ี ประสาทแลนเขา ถงึ ใจ ซ่ึงเปน เจา ครองความเปนใหญใ นรา งกาย ใจจะรบั รแู ละเสวยรสของสิง่ นั้น แลวทาํ การพจิ ารณาวินิจฉัยวา ควรทาํ อยางไรตอ ส่งิ น้ัน ถา เปนส่งิ ที่ชอบใจกจ็ ะรบั เอาไว และหาทาง ไดม ามากๆ ถาเปน สงิ่ ไมชอบใจก็จะผลกั ดนั ออก และหาทางกําจัดออกไปใหห าง ถาเปนสงิ่ ไม กอใหเ กดิ ความชอบใจหรือไมชอบใจกจ็ ะรสู ึกเฉยๆ ไมเอาใจใสแ ตป ระการใด ปลอยใหมันตกไปเอง กระแสแหง ความรสู ึกทางวถิ ปี ระสาท ตลอดถึงความรสู ึกในใจน้ันจะสงทอดถึงกนั เรว็ ท่สี ุด และการ พจิ ารณาวินจิ ฉัยกเ็ ปนไปอยางรวดเรว็ มาก เพราะอาศัยความเคยชินเปนประมาณ ถาเอาสติปญ ญา เขาไปประกอบทาํ การพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั อารมณแลวจะเปน ไปโดยอาการเชื่องชา สขุ ุม และเทย่ี ง ธรรม ตรงน้เี ปนจดุ สาํ คัญท่ีผูปฏิบตั ิจะพึงสาํ เหนยี กใหต ระหนักทส่ี ดุ และถอื เปนจุดทําการปฏบิ ตั ิ จติ ใจจากลกั ษณะสภาพท่ตี ่าํ ทรามใหก า วขึน้ สูลกั ษณะสภาพท่ดี ีงามสงู สงยงิ่ ข้ึนไป. สรีรศาสตรจะอธบิ ายใหท า นทราบลักษณะหนาทขี่ องประสาททัง้ ๕ คอื ประสาทตา หู จมูก ลิ้น กาย แตไมส ามารถบอกทานไดถึงจดุ รวมของความรูสกึ วาอยูตรงไหน เม่ือวาถึงหวั ใจ สรีรศาสตรก บ็ อกวามหี นา ท่สี ูบฉดี โลหติ ไปหลอ เลีย้ งรางกาย เมือ่ วา ถงึ มันสมอง สรรี ศาสตรก บ็ อก วา มีหนาที่คิดนึกรูสึก และลงความเหน็ ดว ยวา “น่นั คอื จิตใจ” แตใ นทางพระพทุ ธศาสนาจะบอก ทา นวา หัวใจนอกจากจะมีหนาท่ีสบู ฉีดโลหติ ไปเล้ยี งรา งกายแลว ยังมีหนาท่รี บั ถายทอดความรูส ึก จากประสาททง้ั ๕ เขา สูจิตใจอกี ดวย แลว จติ ใจจงึ จะทาํ การพจิ ารณาวินจิ ฉยั โดยอาศยั มันสมอง แลวสัง่ การทางมันสมองอกี ทหี นึง่ ความขอ นีพ้ งึ สังเกตเมื่อเวลาเราไดประสบสิง่ ทแี่ ปลกประหลาด หรอื นา ตนื่ เตนหวาดเสยี ว เราจะรสู กึ หวั ใจเตน แรงผิดปกติ ถา เปน สิ่งทน่ี ากลัวทสี่ ดุ หวั ใจจะถงึ กบั หยุดเตนเอาทเี ดียว เคยมีตัวอยางผูประสบเหตุทน่ี าตกใจทีส่ ดุ ถงึ กับสลบส้นิ สมปฤดีไปกม็ ี ความรสู ึกในช้ันนจี้ ะแสดงอาการอยตู รงหวั ใจ หาไดแสดงทมี่ ันสมองไม ความรูสกึ ที่มนั สมองน้นั จะมใี นตอนพจิ ารณาวินิจฉยั อารมณอ ันเปนข้นั ตอ ไป ฉะนั้นทางพระพทุ ธศาสนาจึงบัญญตั ิชอ งทาง รบั รอู ารมณไวถ ึง ๖ ทาง เรยี กวาทวาร ๖ หรอื อนิ ทรีย ๖ และสอนใหอ บรมอินทรียท ้ัง ๖ น้นั ใหดี ดว ย จะยกเอาหลกั คาํ สอนทสี่ อนใหอบรมอนิ ทรยี มาตั้งไวเปนหลกั ปฏบิ ัตปิ ด กนั้ ความชวั่ และเปด ชองความดี ดงั ตอไปนี้ อานนท การอบรมอินทรียอ ยา งเย่ียมในอริยวินยั เปน อยา งไร? อานนท ภิกษุในธรรมวนิ ัยนี้ เห็นรูปดวยจกั ษุ ฟงเสียงดวยโสตะ สดู กล่นิ ดว ยฆานะ ลิม้ รสดว ยชิวหา สัมผสั โผฏฐพั พะดว ยกาย รู ทิพยอํานาจ ๕๕
ธรรมดว ยใน ส่ิงนาพอใจ สง่ิ ไมนาพอใจ สิง่ เปน กลางๆ ยอ มเกิดขึ้นแกเธอ เธอรอู ยางนีว้ า สง่ิ นา พอใจ สงิ่ ไมนา พอใจ ส่งิ เปน กลางๆ นเี้ กดิ แกเราแลว แตว ามันเปนส่งิ ทป่ี จ จยั ปรุงแตง อาศัยส่ิง หยาบเกดิ ขึ้น อเุ บกขาเปน สิ่งสงบ เปน สงิ่ ประณตี ดังน้ี สง่ิ นาพอใจ ส่ิงไมนา พอใจ ส่งิ เปน กลางๆ ที่ เกิดแกเ ธอแลว นั้นยอมดับไป อุเบกขายงั คงดํารงอยู อยางน้ีแล อานนท การอบรมอินทรียอยา ง เย่ยี มในอริยวนิ ัย. อานนท พระเสขะเปน ผมู ปี ฏปิ ทาอยางไร? อานนท ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เห็นรปู ดว ยจกั ษุ ฟงเสยี งดวยโสตะ สดู กล่นิ ดว ยฆานะ ลม้ิ รสดวยชวิ หา สมั ผัสโผฏฐพั พะดว ยกาย รูธรรมดวยใจแลว ส่งิ ทนี่ า พอใจ สง่ิ ท่ีไมนา พอใจ สิง่ ทีเ่ ปนกลางๆ ยอ มเกดิ ขน้ึ แกเธอ เธอยอ มเบ่อื ยอ มหนาย ยอม เกลียดมนั อานนท พระเสขะเปน ผมู ีปฏปิ ทาอยางนแ้ี ล. อานนท พระอริยะผูอบรมอินทรยี แลวเปนอยางไร? อานนท ภกิ ษุในธรรมวนิ ัยนี้ เหน็ รปู ดว ยจักษุ ฟง เสยี งดวยโสตะ สูดกล่นิ ดวยฆานะ ล้มิ รสดว ยชวิ หา สัมผัสโผฏฐพั พะดวยกาย รูธรรม ดว ยใจแลว สิ่งทน่ี า พอใจ ส่ิงทีไ่ มนา พอใจ สิ่งที่เปนกลางๆ ยอมเกดิ ขึน้ แกเ ธอ ถา เธอหวังจะ... ๑. กําหนดความไมนา เกลยี ด ในสิ่งนาเกลียด ๒. กําหนดความนา เกลยี ด ในสง่ิ ไมนา เกลยี ด ๓. กําหนดความไมนา เกลียด ทงั้ ในสง่ิ นาเกลียด ท้ังในสง่ิ ไมน าเกลยี ด ๔. กําหนดความนา เกลียด ทง้ั ในสง่ิ ไมนาเกลียด ทั้งในสง่ิ นาเกลยี ด ๕. เวน ความนาเกลียดและไมนา เกลียดทง้ั ๒ นน้ั แลว เปนผูมสี ติสมั ปชญั ญะวางเฉยอยู ดงั นี้ เธอก็ปฏบิ ตั ไิ ดตามความหวงั น้นั ทกุ ประการ อานนท พระอรยิ ะผอู บรมอินทรียแ ลว เปน อยา งน้แี ล. อานนท การอบรมอนิ ทรยี อยางเยีย่ มในอริยวินยั พระเสขะผูมปี ฏปิ ทา พระอรยิ ะผูอบรม อินทรยี แ ลว เราแสดงแลวอยางนี้ ซึง่ เปนกรณยี ะทศี่ าสดาผูมคี วามเอ็นดู หวังความเกือ้ กลู แกส าวก ควรทํา เราไดอาศัยความอนุเคราะห ทําแลว แกเ ธอทั้งหลาย เหลา น้ันรกุ ขมูล เหลานั้นทเ่ี รือนวาง เธอท้งั หลายจงเพงพนิ ิจ อยา ประมาท อยา เดือดรอ นภายหลงั น้ีเปนอนุสาสนขี องเราสําหรบั เธอ ทั้งหลาย ดงั นีแ้ ล. การท่ีจําลองเอาหลักวิธีการอบรมอนิ ทรียมาตัง้ ไวท ั้งดุนเชนนี้ กเ็ พือ่ ใหทา นผอู า นไดทราบ วธิ กี าร พรอมดว ยสาํ นวนโวหารทพ่ี ระบรมศาสดาทรงสง่ั สอนมาแลวอยางไร ตอไปนข้ี า พเจา จะ ถอดใจความเพอ่ื ทราบวธิ ีปฏบิ ัติใหจะแจงอกี ชน้ั หน่งึ . การฝกจติ ใจเน่ืองดวยอินทรยี มพี ระบาลแี สดงไวในท่ีอืน่ เปนวธิ กี ารปฏิบัติขนั้ ตน กอนขั้นที่ จําลองเอาพระบาลีมาไวน ี้ จะขอถอดใจความมาไวเพื่อทราบทีเดียว ดงั น้ี “เห็นรูปดวยจกั ษุ ฟงเสียงดว ยโสตะ สูดกล่ินดว ยฆานะ ลม้ิ รสดวยชิวหา สัมผัสโผฏฐัพพะ ดวยกาย รธู รรมดวยใจแลว ไมยดึ ถืออารมณโ ดยนิมิต คอื รวมหมด หรือแยกสวนออกถือ ซ่ึงจะ เปนชอ งทางใหอกศุ ลบาปกรรมติดตามมาครอบงาํ ปฏบิ ัตปิ ด กั้นอินทรียนัน้ ไว” วธิ ีน้เี ปนขนั้ ที่ เรียกวา สตสิ งั วร = ระวงั ดว ยสตเิ ปนการปองกนั บาป. ทพิ ยอาํ นาจ ๕๖
สว นพระบาลที ่ีจาํ ลองมาไวแ ลว นี้ มีใจความดงั ตอไปนี้ คอื เม่ือเห็นรูปดวยจกั ษุ ฟงเสยี ง ดวยโสตะ สดู กล่นิ ดวยฆานะ ลิม้ รสดวยชวิ หา สัมผสั โผฏฐัพพะดวยกาย รูธรรมดวยใจ ความพอใจ ไมพอใจ และความรูสึกกลางๆ ยอมเกดิ ขึน้ เปน ธรรมดา แตอ าศยั ปญญารูเ ทา วา มันเปนส่ิงทป่ี จจัย ปรงุ แตง อาศยั สิ่งหยาบเกิดข้ึน อเุ บกขาเปนธรรมสงบประณตี กวา เมอื่ รูเทาเชนน้ี ความรูสกึ พอใจ ไมพอใจ และกลางๆ นั้นก็จะดับไป ใจเปนอเุ บกขาดาํ รงอยู เชนน้ีเปนการอบรมอินทรียดว ยปญ ญา ละความพอใจ ไมพอใจ และความรสู ึกกลางๆ ดวยอาํ นาจปญญารูเทา เปน ขัน้ ปฏิบัตทิ ่ีเรยี กวา ญาณสงั วร = ระวังดว ยญาณ เปน การขจดั อกุศลบาปธรรมใหจ างตกไปจากใจ บาํ รุงรกั ษาความดี คอื อุเบกขาธรรมใหดํารงอยูเ ปนเคร่อื งหลอ เลี้ยงจิตใจใหเท่ียงธรรม ม่ันคงแข็งแรงสบื ไป. ขน้ั ตอ จากนั้นมา เปนข้ันใชความอดทนตอสูก ับอารมณ ซง่ึ เกิดขึน้ เพราะเห็นรูป ไดย ินเสียง ดมกลน่ิ ลม้ิ รส ถูกตอ งโผฏฐพั พะ และรธู รรมดว ยอินทรยี ทั้ง ๖ น้ัน ยอ มอึดอดั ระอดิ ระอา เกลียด ชังอยู ไมพ อใจรับเอามันไวใ นจติ ใจ ไมน านมนั ก็เปล่ียนแปลงไปตามสภาพของมัน วธิ ีนี้เปนการขม ความรสู กึ ฝา ยช่วั ดวยอํานาจความอดทนทเี่ รยี กวา ขันติสงั วร = ระวังบาปดวยความอดทน เปนข้ัน ปราบอกศุ ลบาปธรรมใหต กไปจากใจ เรยี กอีกอยา งหน่ึงวา เสขปฏปิ ทา = วธิ ีปฏิบัติของพระเสขะ = นักศกึ ษา. อีกขัน้ หนงึ่ ซง่ึ เปนขั้นสดุ ทา ยในวิธีการฝก อนิ ทรีย ใชว ิธีเปล่ยี นความรูสกึ ในสงิ่ ท่ไี ดประสพ ดว ยอินทรียทั้ง ๖ นั้นใหเปนไปตามตองการ คือใหร ูสกึ เกลียดก็ได ไมเ กลียดกไ็ ด ท้งั ในสิ่งนา เกลียด ทัง้ ในสิ่งไมนา เกลยี ด และเวนความรูส ึกทั้งสองน้ันเสยี ใหมคี วามรูส กึ เปนกลางๆ มีสตสิ ัมปชญั ญะ กาํ กับตนอยเู ทานั้นก็ได ข้ันนีเ้ ปนการใชความพากเพยี รเอากําลงั ใจที่มอี ยกู ดความรูสกึ อันเกิดขึน้ เองนั้นเสีย เปลยี่ นเปนความรสู กึ ตามตอ งการ เปนวธิ ีขบั ไลอ กุศลบาปธรรมใหอ อกไปจากใจที่ เรยี กวา วริ ยิ สังวร = ระวังบาปดว ยอํานาจความเพยี ร เปน วธิ ีการทพ่ี ระอรยิ เจา ใชอ บรมอนิ ทรีย มาแลวเปน ผลดี สมเด็จพระผมู พี ระภาคจงึ ตรัสสอนใหใชวิธีนอ้ี ีกวิธีหนง่ึ ในการอบรมอินทรีย. เมอ่ื สรุปรวมแลว ไดวิธอี บรมหรือฝกอินทรยี ๔ ประการ คอื ๑. สติสงั วร เอาสตริ ะมัดระวงั อินทรีย ซ่ึงเปน ชองทางไหลขา วของอกุศลบาปธรรม มิให มันไดชอ งไหลเขา มาครอบงาํ ใจ. ๒. ญาณสงั วร เอาความรทู ําการพจิ ารณาอารมณ และความรสู ึกทีเ่ กดิ ขนึ้ ใหรูเทาทนั คดั เอาไวแตอ ุเบกขา คอื ความมใี จเปนกลางเฉยอยูน้ันไว ปลอ ยใหความรูสึกดีรา ยจางตกไปจากใจ. ๓. ขนั ตสิ งั วร เอาความอดทนเขา ขมความรสู ึกอันเกิดขึ้นจากอนิ ทรียทัง้ ๖ นน้ั จนมันดับ ไปเอง. ๔. วิรยิ สังวร เอาความพากเพียรเขา แกไ ขเปล่ยี นแปลงความรสู ึกไปตามความตอ งการของ ตน โดยทํานองหนามยอกเอาหนามบง จนสามารถทําความรูส ึกเปนกลางในอารมณทงั้ ดีรายได อยา งด.ี วิธีทัง้ ๔ น้ี เปนวิธีอบรมอินทรียอ ยางประเสริฐในอริยวินัย คือ พระพทุ ธศาสนา ผมู ุง ความ เจริญกา วหนาทางจิตใจควรถอื เปน หลกั อบรมจิตใจ จะไดผลดโี ดยงาย เปน วิธีฝกใหจติ ใจมีอาํ นาจ สามารถบังคับอารมณใ นใจของตนได ซงึ่ เปน วิธกี ารบังคบั ตนเองวธิ หี น่งึ เม่อื ทําไดด ี จติ ใจยอมมี ทพิ ยอาํ นาจ ๕๗
อทิ ธพิ ลเหนอื ความรูส ึก สามารถวางสหี นาใหเปนปกตอิ ยูได ทง้ั ในเวลานายนิ ดี ทัง้ ในเวลานายิน รา ย จดั เปนบุคคลที่นา อัศจรรย ผดิ แปลกไปจากมนษุ ยธ รรมดาสามญั เปน ไหนๆ. เจรญิ สติปฏฐาน สติปฏฐาน ไดแ กการบาํ รุงสติใหไ พบูลยเปน มหาสติ เพือ่ ความบริสทุ ธ์ิ เพ่อื ระงับความเศรา โศก คร่ําครวญ เพอ่ื ดบั ทกุ ขโ ทมนสั เพ่อื บรรลวุ ชิ ชา เพือ่ เปดเผยพระนิพพาน มวี ิธกี ารดังตอไปน้ี ๑. กายานุปส สนา ตง้ั สติดูความเปลย่ี นแปลง เกิด-ดับ ของกาย ตามลาํ ดบั ขั้น ดงั นี้ (ก.) ตง้ั สติตามดูลมหายใจเขา -ออก ใหรทู นั ระยะสน้ั -ยาว, แผความรสู ึกไปทว่ั รางกายทกุ สว น, ผอนบรรเทาลมหายใจใหส งบลงจนเปน ลมประณีตไมก ระเทือนความรูสึก, สาํ เหนยี ก ธรรมดาประจํากาย คือความเกิด-ความเส่ือมสลายใหเ ห็นชัด ทง้ั ในกายภายใน ทั้งในกายภายนอก ทง้ั สองสวนเทียบกัน, ดาํ รงสตไิ ววา กายมีเพยี งเปนท่ีรูเปน ท่ีระลกึ ไมต ิด และไมย ดึ ถือส่ิงใดๆ ท่ีได พบเห็นในกายนั้น. (ข.) ทําสติใหรูทันอาการเคลอ่ื นไหวกายโดยอิริยาบถท้ัง ๔ คอื ยืน เดิน นง่ั นอน, สาํ เหนียกธรรมดาประจาํ กาย ตัง้ สตไิ วใหมน่ั โดยทาํ นองขอ ก. (ค.) ทําสัมปชญั ญะใหร ูท ันอาการเคลื่อนไหวทกุ ๆ อาการของกาย เชน กา วไป ถอยกลบั เหลยี วซาย แลดูขวา คู เหยียด พาดสงั ฆาฏิ ถือบาตร หม จวี ร กิน ดม่ื เคี้ยว ลิม้ รส ถา ยอุจจาระ- ปส สาวะ เดิน ยืน นงั่ นอน หลับ ต่ืน พูด น่งิ และสาํ เหนียกธรรมดาประจํากาย กบั ต้งั สติโดยนยั ขอ ก. (ฆ.) ต้ังสติพจิ ารณาใหเ ห็นอาการ ๓๒ ในกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟน หนงั เนอื้ เอน็ กระดกู เย่อื ในกระดูก มา ม หัวใจ ตับ พังผดื ไต ปอด ไสใหญ ไสน อ ย อาหารใหม อาหารเกา ดี เสลด หนอง เลือด เหง่อื มนั ขน นํา้ ตา มันเหลว นํ้าลาย นา้ํ มกู ไขขอ มตู ร (และมนั สมอง) แลว สําเหนียก ธรรมดาประจํากาย กบั ตงั้ สติดังนยั ขอ ก. (ง.) ตัง้ สติกําหนดพจิ ารณาดูกายใหเ หน็ โดยความมธี าตุทงั้ ๔ คือ ดนิ น้ํา ไฟ ลม ประชมุ กนั อยใู นกายเต็มอยู สามารถแยกออกไดตามลักษณะธาตุทงั้ ๔ แลว สาํ เหนียกธรรมดาประจํากาย และต้ังสตโิ ดยนัยขอ ก. (จ.) ดสู รรี ะที่ตายแลวในลักษณะตางๆ กัน ตั้งแตตายใหมๆ จนกระท่ังเหลือแตกระดูกผุยยุ เปนช้ินเล็กชิ้นนอ ย นอ มเขามาเทยี บกับสรรี ะของตนเองใหเ หน็ วาเชน เดยี วกนั แลวกําหนดดู ธรรมดาประจาํ กาย และต้ังสตโิ ดยนยั ขอ ก. เม่ือปฏิบตั ิตามลาํ ดบั ชน้ั ดงั กลาวมาน้ี ชื่อวา บาํ รุงสติใหไพบลู ยใ นการติดตามดกู าย ที่ เรียกวา กายานุปส สนาสติปฏฐาน จะเกดิ ความสํานึกและรเู หน็ ความจรงิ ของกายขึ้นอยางดที เี ดียว. ๒. เวทนานปุ สสนา ตัง้ สตติ ิดตามดคู วามรสู ึกรสของผสั สะ ที่เรียกวา เวทนาท้งั ๓ อาการ คือ สุข ทกุ ข และไมทกุ ขไมส ุข ใหร ูทันทุกอาการ เวทนามีอามิสคือเกิดแตส มั ผสั กบั กามคุณกร็ ูท นั เวทนาปราศจากอามสิ คือไมเ กดิ จากกามคุณก็รทู ัน แลวสาํ เหนยี กธรรมดาประจําเวทนา คอื ความ ทพิ ยอํานาจ ๕๘
เกิดขึน้ แปรเปล่ียน เสื่อมไปของเวทนา จนรเู ห็นแจม แจง ในใจ และตัง้ สตไิ วเพียงเปนทร่ี เู ปนท่รี ะลึก วาเวทนามเี ทา น้ัน ไมตดิ และไมยึดถอื สิ่งไรๆ ที่ตนไดประสพพบเหน็ ในเวลานั้นๆ. ๓. จิตตานปุ สสนา ต้ังสตติ ดิ ตามดูจิตใจของตน ใหรูทนั อาการปกติ, มีกิเลสเจือ, ปราศจาก กิเลสเจือ, ฟงุ , ไมฟ ุง, ใหญ, ไมใ หญ, เยี่ยม, ไมเ ย่ยี ม, ต้งั มน่ั , ไมต ั้งมน่ั , หลุดพน, ไมหลุดพน, ของ จิตใจทุกๆ อาการไป แลว สําเหนียกธรรมดาประจาํ จติ คือ อาการเกิดข้ึน แปรเปลย่ี น เสือ่ มสลาย ไปใหร ทู ัน และต้งั สตไิ วเพียงเปน ที่รู และเปน ท่ีระลึกวา จิตมีเทา นั้น ไมติด และไมยดึ ถืออะไรๆ ท่ี ตนไดประสพพบเห็นในจิตใจทกุ ๆ ประการ. ๔. ธัมมานปุ สสนา ตัง้ สตติ ามดธู รรม คอื สภาวะท่ปี รากฏแกจติ ใจ ซ่ึงทําลายคณุ ภาพของ จิตใจบา ง บาํ รงุ จติ ใจใหมีคณุ ภาพบาง หมนุ จติ ใจอยโู ดยสภาวะปกติบาง จนรเู ทาทนั สภาวะน้ันๆ ตามเปนจรงิ แลว สาํ เหนยี กธรรมดาของสภาวะนัน้ ๆ วา มีอาการเกิดขึน้ เปลยี่ นแปลงแปรไป อยา งไร ควรละหรอื ควรเจริญอยา งไร หรือเพียงเปนสภาวะทคี่ วรกําหนดรูใ หแจมแจง และพึงตัง้ สติเพยี งเปน ท่ีรูเทา เปนทร่ี ะลกึ วา สภาวธรรมเปน สง่ิ มอี ยู ไมตดิ และไมย ดึ ถอื อะไรๆ ในธรรมท่ตี น ไดป ระสพพบเห็นน้นั ๆ. ผูเจริญสตปิ ฏฐาน ตอ งประกอบดว ยสติ สมั ปชัญญะ และอาตปะความเพยี รใหเ ปน ไป ดวยกัน จงึ จะสามารถกาํ จดั ความเศราโศกคร่าํ ครวญ ความทุกขโ ทมนัสออกไปจากใจได และจงึ จะ สามารถบรรลุถึงวชิ ชา และนิพพานสมประสงค. เจรญิ อิทธิบาทภาวนาและปธานสังขาร อทิ ธิบาท คือ ธรรมทเี่ ปนพน้ื ฐานของฤทธ์ิ หรือธรรมทใ่ี หส าํ เรจ็ ส่ิงประสงค เปนธรรมที่ จําเปนตอ งอบรม เพอื่ เปนอุปกรณแกทพิ ยอาํ นาจ มี ๔ ประการ และมีวธิ ีอบรมดังตอไปนี้ ๑. ฉันทะ ความพอใจ ไดแ กความตอ งการทิพยอํานาจ มุงม่ันหมายมือที่จะไดจ ะถึงอยา ง แรงกลา . ๒. วิรยิ ะ ความเพยี ร ไดแกความบากบน่ั มน่ั คง ไมวางธรุ ะในกศุ ลธรรม อันเปน บนั ไดไปสู ทิพยอํานาจ พยายามไตไ ป คืบคลานไป ไมยอมถอยหลงั กาวหนาเรือ่ ยไป. ๓. จติ ตะ ความเอาใจฝก ใฝ ไดแ กความมีใจแนวแนใ นความมงุ หมายของตน และแนวแนใ น การเจริญกุศลละอกุศล อนั เปน วิธกี า วไปสทู พิ ยอาํ นาจทลี ะขัน้ ๆ. ๔. วมิ งั สา ความไตรตรอง พจิ ารณา ไดแกค วามสอดสอ ง ไตส วน ทวนเหตุผล เลือกคดั จดั สรรกศุ ล-อกุศลใหอ อกจากกนั เพือ่ ละกศุ ล-เจริญกุศลไดส ะดวก และสอดสองแสวงหาวิธีการ เจริญทพิ ยอาํ นาจใหท ราบลูทางชดั ใจอกี ดวย. ข้นั แรกอาศัยคุณธรรมทั้ง ๔ นี้ เจรญิ สมาธิกอน เมื่อไดส มาธแิ ลว จึงอาศยั สมาธทิ ่ไี ดเ พราะ อาศัยธรรม ๔ ประการนี้ ทาํ ความพากเพยี รละอกุศล-เจริญกศุ ลใหเตม็ กาํ ลังอีกทีหนึ่ง ซง่ึ ทา น เรียกวา ปธานสังขาร=แตง ความเพียร วธิ อี าศยั อิทธิบาทเจรญิ สมาธิขัน้ ตนน้ัน เรียกวา อิทธิบาท สมาธ=ิ สมาธเิ กิดดวยอิทธบิ าท รวมกนั เขาเรยี กส้ันๆ วา อทิ ธิบาทภาวนา=เจริญอทิ ธิบาท. ทิพยอํานาจ ๕๙
ทา นพรรณนาคุณแหง อิทธบิ าทภาวนามากวา ผูที่ไดเ จริญอทิ ธิบาทใหบรบิ ูรณเต็มทีแ่ ลว ถา จํานงจะมีชีวติ อยกู ัปปห นึง่ หรอื เกินกวากัปปห นึง่ ก็สามารถอธษิ ฐานใหชวี ติ ดาํ รงอยูได พระผูม ี พระภาคเจาตรสั แยมพรายหลายครั้ง เพ่อื ใหพ ระอานนทก ราบทลู อาราธนาใหท รงอธิษฐานพระ ชนมชีพอยูถ ึงกัปหรอื เกนิ ๑ กวา แตพระอานนทรไู มท ันอั้นตูเสยี ทกุ ครง้ั ที่ทรงแยม พราย นยั วา มาร ดลใจจงึ มิไดกราบทลู อาราธนา ภายหลงั เม่อื พระบรมศาสดาเสดจ็ ดับขนั ธปรินพิ พานแลว พระ เถระท้ังหลาย มพี ระมหากสั สปเถระเปนตนจงึ พากันตาํ หนพิ ระอานนทในขอนอ้ี ยางมาก. เร่ืองอํานาจแหงอิทธบิ าทภาวนาน้ี มีผยู กข้ึนเปนปญหาคอนขอดในภายหลังวา สรรเสริญ คณุ ไวเ ปลา ๆ ถามอี ํานาจทําไดถ ึงเพียงนน้ั ทาํ ไมถึงไมทําเสียเอง จะรอใหคนอน่ื ตองอาราธนาทําไม พระนาคเสนเถระแกแ ทนวา ทรงมีอาํ นาจถงึ เพียงนั้นมิไดต รัสมสุ า อยากจะทาํ ตามนัน้ แตมีผู ประสงคมใิ หทรงลาํ บากพระกายไปนาน เหมือนพระเจา จกั รพรรดทิ รงพรรณนาถงึ ความสามารถ ของมาอาชาไนยของพระองควา ฝเ ทาเร็วอาจข่รี อบโลกไดในวนั เดียว และปรารถนาจะทรงทาํ เชน นั้น บรรดาเสนามาตยราชเสวกทั้งหลายผูท่ีมีความจงรักภกั ดีกลวั วา จะทรงลําบากพระกาย เปลา ๆ จึงกราบทูลหามเสยี ฉนั ใด เร่ืองเก่ยี วกบั สมเด็จพระผูมพี ระภาคเจา ก็เปน ฉันน้ัน เพราะพระ ธรรมวนิ ยั ทรงแสดงวา เพียงพอแลว อัตภาพเปน สง่ิ ประกอบไปดว ยทุกขทจี่ ําตองทน แมจะบริบูรณ ดเี พียงไร ก็ไมพน ทต่ี องลาํ บากดว ยภยั ธรรมชาติทั้งภายในและภายนอก ปรากฏประหน่ึงคูถแกผู วางอปุ าทานในอตั ภาพแลว ฉะน้นั ใครๆ ผแู ลเห็นความลาํ บากของพระผูมพี ระภาคเจาในขอนี้ จึง ไมส ามารถท่ีจะเห็นพระองคท รงลําบากพระกายไปนาน สว นการตําหนิพระอานนทในภายหลงั ก็ ทําไปพอเปน ทเี ทาน้นั ดังน้ี. สรา งอินทรยี และพละ อนิ ทรยี คอื สภาวะท่เี กือ้ กูลแกค วามเปนใหญรา งกายธรรมดาของคน ตองประกอบดวย อินทรยี คอื ตา หู จมูก ล้นิ กาย และใจ จึงใหสาํ เรจ็ กิจในการ ดู ฟง ดม ลิม้ รับสัมผัส และรเู รอ่ื ง ไดฉ นั ใด กายพิเศษซ่งึ เปน สว นภายในกายธรรมดาน้ีอีกชั้นหนง่ึ จะเปนกายท่มี อี ํานาจพรอมมูล เพอ่ื ทํากจิ ใหส าํ เรจ็ ไดก ต็ อ งประกอบดว ยอินทรยี ฉ ันน้ัน อินทรยี ส าํ หรับกายช้ันในท่ีตอ งเพ่มิ เตมิ ข้ึน มี ๕ ส่ิง คอื ๑. ศรทั ธา ความเชื่อม่นั ในความรขู องครูสงั่ สอนตน สําหรบั พระพทุ ธศาสนา ไดแกเช่อื พระ ปญญาตรสั รูของพระพทุ ธเจา. ๒. วริ ิยะ ความเพยี ร คือความบากบั่นขยันขนั แขง็ ไมทอดธุระในการละความชว่ั ทําความ ดียิง่ ๆ ขนึ้ ไป. ๓. สติ ความย้งั คดิ หรอื การตรวจตราควบคุมตนเอง มิใหพ ล้ังพลาดในการทํา พูด คิด ยงั กจิ ทีป่ ระสงคใ หสาํ เร็จลลุ วงไปดวยดี. ๔. สมาธิ ความมใี จมนั่ คง ไมเหลาะแหละ ไมงอนแงนคลอนแคลน หนักในเหตผุ ลเท่ยี งตรง .......................................................................................................................................................... ๑. คําวา กปั ในท่นี ้ี หมายถงึ อายุกปฺโป คือเกณฑอายขุ ัยของคนแตละสมยั . ทพิ ยอํานาจ ๖๐
เหมอื นเสาอินทขีล ไมหว่นั ไหวตอ ลมฉะน้ัน. ๕. ปญญา ความฉลาด คอื รสู ภาวธรรมตามความเปนจรงิ ถูกตอง เปนความรูแจมกระจาง ในใจตัดความสงสัยลงได อยา งสูงหมายถงึ รทู างส้นิ ทุกขถ ูกตอง. ธรรมทง้ั ๕ นี้ เม่ือไดทาํ การอบรมใหบ ริบูรณข ึ้นจนมอี าํ นาจในหนา ท่ีของแตล ะขอ แลว จัดเปนพละและเปน อนิ ทรีย หรอื จะรวมเขา กนั เปนพละกาํ ลงั อนั ยิง่ ใหญก็ได ผูม ธี รรมหมวดนเ้ี ตม็ เปย มในตน เปนบคุ คลผูสามารถจะรับทิพยอาํ นาจไวใ นตนได ถาปราศจากธรรมหมวดน้ีแลว จะไม สามารถรบั ทิพยอาํ นาจไวไ ดเ พราะกําลังไมพ อนั่นเอง ฉะนั้น กอ นจะกาวไปสทู ิพยอาํ นาจ จงึ ควร สรางทิพยพละและอนิ ทรยี ขึน้ กอน. ศรทั ธาขอตน ตอ งไดร บั การปลกู สรา งเพมิ่ เตมิ ใหไ พบูลยเปนศรัทธามั่นคง วริ ยิ ะขอ ๒ นั้น เม่อื ไดอบรมตามหลักปธานสงั ขาร ในการเจริญอิทธิบาทแลวกเ็ ปนอันไดสรา งสาํ เร็จแลว สตขิ อ ๓ ตองอบรมตามหลกั สติปฏ ฐาน ๔ คือใหมสี ตติ ้ังมั่นในการรูเ หน็ กาย-เวทนา-จติ -ธรรม จนมสี ติ ไพบูลยเปนมหาสติ สมาธขิ อ ๔ เมื่อไดเจรญิ ฌานมาตรฐานทงั้ ๔ ประการสําเรจ็ แลว ก็ช่อื วามี สมาธิบริบูรณใ นขั้นน้ีแลว ปญ ญาขอ ๕ ตองอบรมใหมากขนึ้ และใหเปน สัมมาปญญาคอื รดู ีรูช อบ จึงเปนคุณแกต น เมื่อมอี ินทรีย ๕ บรบิ ูรณข้ึนทุกประการแลว กายชนั้ ในคอื นามกายจะเปลยี่ นรูป เปน ทิพยกายทนั ที มอี ินทรยี ๕ นน้ั เปนสวนประกอบใหม อี าํ นาจเห็น-ไดย นิ -ไดกลิ่น-ลมิ้ รส-สัมผัส และรูอ ะไรๆได เชนเดยี วกับกายธรรมดาของคนเราผูฝ กหัดชาํ นาญแลวสามารถถอดออกจากราง หยาบๆ นี้ไปเที่ยวอยูใ นทิพยโลกได ขอ น้ีจะไดกลา วในวธิ ีสรางทพิ ยอํานาจในบทขางหนา. เจริญโพชฌงค โพชฌงค คอื องคธรรมอันเปนเหตใุ หเกิดการตรสั รขู ้ึนในดวงจติ หรือเปนเหตปุ ลุกจิตใจให ตนื่ เต็มทม่ี ี ๗ ประการ คือ ๑. สติ ความยั้งคิด มลี ักษณะตรวจตราควบคมุ จิตใจ และปรบั ปรุงธรรมขออื่นๆ ใหสมดลุ กนั เม่ือไดอบรมตามหลักสตปิ ฏฐาน ๔ เพียงพอแลว กช็ ื่อวามสี ติสมั โพชฌงค. ๒. ธมั มวิจยะ ความวจิ ยั ธรรม คอื พนิ ิจคิดคนเหตผุ ลของสงิ่ น้ันๆ จนทราบชัดแกใจจรงิ ๆ เมื่อไดป ฏบิ ัติตามปธานสงั ขารในการเจรญิ อทิ ธิบาทขอ ๔ กช็ ือ่ วา มีธรรมวิจยสัมโพชฌงคแ ลว . ๓. วิริยะ ความเพยี ร มีนัยเชนเดียวกับในปธานสังขาร ในการเจรญิ อิทธบิ าทขอ ๒. ๔. ปติ ความดูดด่ืม ไดแกปต ิในองคฌานนัน่ เองเมื่อไดเจรญิ ฌานมาตรฐาน ๔ ประการ รจู ักปลูกปตีแลว ก็ชอ่ื วา มีปต สิ ัมโพชฌงคแ ลว. ๕. ปส สัทธิ ความราบเรยี บของกายใจ ไมเคล่อื นไหวกายใจในกริยาทไี่ มจําเปน เมอื่ ได เจริญฌานมาตรฐานจนถงึ ชน้ั จตุตถฌาน ระงับกายสังขารคอื ลมหายใจไดแลว ชื่อวามีปสสัทธสิ ัม- โพชฌงคแลว . ๖. สมาธิ ความมีใจมั่นคง เมอ่ื ไดเ จริญฌานมาตรฐาน ๔ ประการใหบ ริบรู ณแ ลว กช็ อ่ื วามี สมาธสิ มั โพชฌงคแ ลว. ทพิ ยอํานาจ ๖๑
๗. อุเบกขา การเขาไปเพงดดู วยใจเปนกลางเทย่ี งตรง อันเปน เหตุใหรจู ริงเห็นแจง เมอ่ื ได เจรญิ อุเบกขาฌาน คือฌานที่ ๔ สําเรจ็ แลว ก็นับวา มีอเุ บกขาสมั โพชฌงคพอสมควร ถายงิ่ ได เจรญิ ถึงช้ันอเุ บกขาฌานแลวย่ิงชอ่ื วา มีอเุ บกขาสมั โพชฌงคบ ริบรู ณดี วิธเี จรญิ โพชฌงคท ่ีจะให ไดผ ลดี ตองอาศัยหลัก ๔ ประการ เปน เครือ่ งประกอบ คอื ๑. อาศยั ความเงยี บเปนเครื่องประกอบ. ๒. อาศัยความพรากจิตจากกามคณุ เปนเคร่ืองประกอบ. ๓. อาศัยความดับธรรมที่เปนขาศึกเปนเคร่ืองประกอบ. ๔. อาศยั นอมจติ ไปในทางสละโลกเปน เครอ่ื งประกอบ. ความเงยี บมี ๓ ชั้น คอื เงียบทางกาย เงียบทางจิต และเงียบจากกเิ ลสเปน เหตยุ ึดขันธ ๕ วา เปน ตวั ตนแกน สาร ความพรากจติ จากกามคณุ เปนขั้นตน ของฌาน ตอ จากน้ันไปตองหัดพรากจาก อารมณข องฌานท่ีหยาบกา วไปสฌู านประณีตโดยลาํ ดบั จนถึงพรากจากอารมณไดเดด็ ขาด ความ ดับธรรมท่เี ปนขาศกึ น้นั หมายต้ังแตชน้ั ตํา่ ท่สี ดุ จนถงึ สงู ทีส่ ดุ ส่ิงใดเปนปฏปิ ก ษกบั ความดตี อ ง พยายามดบั สิง่ น้ันใหหมด สว นความนอ มจิตไปในทางสละโลกนั้นเปนการหดั ใจใหร จู ักเสยี สละ ประโยชนนอยเพ่อื ประโยชนใหญโ ดยลําดบั ไมอาลัยตดิ อยใู นความสขุ ชั้นต่าํ ๆ ที่ตนไดประสพใน เมอื่ ยังมที างจะไดค วามสขุ ดีกวาประณตี กวานนั้ ขึ้นไปจนถงึ สละโลกท้งั สน้ิ เพ่อี บรรลุธรรมอนั ยิง่ กวา โลกในที่สดุ คาํ วาโลกในที่นี้ กพ็ งึ ทราบโดยนยั ที่กลาวมาแลวในตอนตนๆ ของบทน้ี มไิ ดหมาย โลกคอื แผน ดนิ แผนฟา และประชาสัตวแตป ระการใด ผตู อ งการสิ่งใดทีด่ กี วาประณีตกวาโลกเม่อื พบแลวก็จําตอ งสละโลกอยดู ี แตเม่ือมคี วามอาลัยไมยอมสละ กจ็ ะไมไดป ระสพสิ่งทด่ี ีกวา ประณีต กวา ถาหากบงั เอิญไดป ระสพก็จะหลุดมือไปโดยเร็ว คนผูไมยอมสละโลกเพอื่ ไดธ รรมก็จะเปน เหมือนบรุ ุษไมย อมท้งิ มดั ปา นในเมอ่ื พบแกว ฉะนนั้ มีนทิ านเลา มาวา มชี าย ๕-๖ คน ไดท ราบขา ว วาบานรา งแหง หน่ึง มีคนลม ตายไปดวยโรคปจ จุบนั จนหมดจึงชวนกนั ไปเก็บเอาทรพั ยท ี่ถกู ทอดทง้ิ ไว ชายคนหนง่ึ พอไปถงึ เรอื นหลังแรก ไดเห็นมัดปานก็ดีใจเหลือลน คา ทต่ี นชอบถกั แห จึงแบก เอามดั ปานนั้นไป ครั้นสอบคนไปยงั เรือนหลงั อน่ื ๆ ก็ไปพบเงนิ ทองและแกว โดยลําดบั กนั คนอนื่ ๆ เขาทิ้งสิง่ ท่ีเขาถือมากอ นซ่ึงมีคา นอยกวา เสีย แลวเก็บเอาสง่ิ มคี ามากกวา ไป สว นตาทีช่ อบมัดปาน อา งวา ไดแ บกมานานแลว จะท้ิงกเ็ สียดาย ครั้นจะเอาเงินทองหรือแกว ซงึ่ เปนส่ิงมคี า กวาเพิม่ ขึน้ ก็ เหลือกาํ ลังของตวั จงึ คงแบกมดั ปานกลบั บาน คนอน่ื ๆ เขารา่ํ รวยมีเงินทองแกวเลี้ยงชพี เปนสุข สืบไป สวนตาทช่ี อบปาน ก็ยงั คงนัง่ ฟน ปา นถักแหไปตามเดมิ นทิ านเร่อื งนส้ี อนใหร จู กั สละสงิ่ มีคา นอย เพื่อถอื เอาสิ่งมคี า มาก จึงจะมสี ขุ สมปรารถนา. เจรญิ อรยิ มรรค อรยิ มรรค คือขอ ปฏบิ ัติสายกลาง ประกอบดวยองค ๘ เปนขอ ปฏิบตั ิประเสริฐนาํ ไปสูแ ดน สุขสมบูรณค อื ๑. สมั มาทิฏฐิ ความเห็นถกู คือเหน็ อริยสัจ ๔ เปน เหตุใหอยากพน ทุกขไปสูแดนสขุ สมบรู ณ คือ พระนพิ พาน. ทิพยอาํ นาจ ๖๒
๒. สมั มาสังกปั โป ความคดิ ชอบ คอื คดิ ออกจากกามคุณ (= โลก) คดิ ออกจากความเคียด แคน คิดออกจากความเบยี ดเบียน. ๓. สัมมาวาจา พดู ชอบ คือประพฤติสจุ ริตทางวาจา ไมม เี จตนาพูดใหรายหรอื ทาํ ลาย ประโยชนใ คร. ๔. สมั มากัมมนั โต ทาํ การงานชอบ คือประพฤติสุจรติ ทางกาย ไมม เี จตนาทาํ รา ยใคร ไม ลวงละเมิดสทิ ธิใ์ นทรัพยและสามีภรรยาของผูอ่นื . ๕. สมั มาอาชโี ว เล้ียงชวี ิตชอบ คือเวนมิจฉาชพี ประกอบสัมมาชพี เลย้ี งชวี ิต ไมย อมใหชีวิต บงั คบั ใหป ระกอบกรรมบาปใสต ัว คือไมยอมทาํ บาปเพราะชวี ติ เปน เหตุ. ๖. สัมมาวายาโม พยายามชอบ คือพยายามละบาปอกศุ ล บําเพ็ญบุญกศุ ลใสต น ใหเปน คนมีบุญมาก รงุ เรอื งดวยบญุ . ๗. สัมมาสติ นึกชอบ คอื นกึ ดูความจรงิ อันมีในกาย ในเวทนา ในจติ ในธรรม จนรูค วาม จริงแจม แจง . ๘. สมั มาสมาธิ ความมัน่ คงของใจถกู ทาง คอื จิตเปน สมาธิตามหลักฌานมาตรฐาน ๔ ประการ เวน การประกอบสมาธิในทางผิด ซึง่ เปนไปเพื่อความผิดของขอ ปฏิบตั ทิ ุกๆ ประการ. พระบรมศาสดาจารยต รัสวา “มรรคมีองค ๘ นี้ สัมมาสมาธิเปนองคป ระธาน๑ เปนประมขุ นอกนั้นเปน องคประกอบ” เพราะเมอื่ บคุ คลมีใจม่นั คง เทยี่ งตรง มงุ ในทางถูกชอบแลว ความรู เหน็ ความคิดอาน การพดู การทาํ การเลี้ยงชีพ ความพากเพยี รและความรอบคอบ ยอ มเปน ไป ทางเดียวกันหมด พงุ สูจ ดุ หมายปลายทางที่ตนตง้ั ไว ยอ มจะบรรลผุ ลทม่ี งุ หมายสมประสงคโดย รวดเร็ว สัมมาสมาธิเปรยี บเหมอื นเข็มทิศประจําเรอื เดินทะเลฉะน้ัน ถาเขม็ ทิศดีการเดนิ เรือยอ ม บรรลถุ ึงที่หมายปลายทางสะดวกฉันใด การปฏบิ ัตธิ รรมก็เปน ฉันน้ัน. การฝก ฝนอบรมจติ ใจตามวธิ ีเทา ทไ่ี ดบรรยายมาในบทที่ ๑ จนถึงบทท่ี ๔ นี้ ยอมเพียง พอที่จะใชเปนเครอ่ื งมอื ปลกู สรา งทพิ ยอํานาจไดแ ลว เพราะจิตใจทไ่ี ดรับการอบรมตามวธิ ที ่ีกลา ว มา เมอ่ื สาํ เร็จภมู ิรูปฌานท่ี ๔ แลว ยอมเปน จติ ใจทีม่ ีลกั ษณะดีงาม นิ่มนวล เหนยี วแนนมนั่ คง และบริสทุ ธิ์ผดุ ผอง ควรแกก ารนอ มไปเพอ่ื ทพิ ยอาํ นาจอยางดี ถาทา นประสงคทพิ ยอํานาจใดๆ จะ เปนชั้นโลกียก ็ตาม ชั้นโลกุตตระก็ตาม ก็ยอ มจะสําเรจ็ ไดดงั ประสงคทุกประการ. แตว า ยงั มีภูมแิ หงจิตใจอีกบางประการ ซึง่ เปนอปุ กรณอ ยางดแี กท ิพยอาํ นาจ เปน เคร่อื ง เลน เพลดิ เพลิน และบํารงุ พลานามยั อยางดีในพระพทุ ธศาสนา ควรศกึ ษาอบรมเพม่ิ เติมอีก ดงั จะ ไดอ ธิบายในลําดับตอไปน.ี้ เจริญอรูปฌาน อรปู ฌาน เปนภูมจิ ติ ใจท่ปี ระณตี ยิ่งกวาฌาน ๔ อนั เปน ฌานมาตรฐาน ที่ไดแ สดงแลว ใน บทกอ นๆ ฌาน ๔ ประการนน้ั ทานเรียกชื่อรวมวารูปฌาน แปลตรงๆ วาเพง รปู แตความจริง .......................................................................................................................................................... ๑. องฺ. สตฺตก. ๒๓/๔๒ ทพิ ยอํานาจ ๖๓
มไิ ดเ พง รปู เสมอไป อารมณ คือขอ คดิ คํานึงหรอื พินจิ เพอ่ื อบรมจติ ใจใหเ ปน สมาธแิ ละเปนฌาน ขัน้ ตนนั้น ยอมมที ้ังรูปธรรม ทัง้ อรปู ธรรม เชน หมวดอสภุ ะเปน รูปธรรม อปุ สมานสุ สติในหมวด อนสุ สตเิ ปน อรปู ธรรม เปน ตน การทีท่ า นเรียกวารูปฌานยอ มหมายถึงภมู ิจิตใจเปนประมาณ คอื จติ ใจในภมู นิ ยี้ ังแลเห็นรปู ธรรมในมโนทวารได แมอัตภาพของตนเองกเ็ ปนรปู ธรรม และปรากฏ แกจิตใจอยูตลอดมา จนถึงฌานที่ ๔ ซ่ึงเปนช้นั สูงสุดในหมวดรูปฌาน สว นอรปู ฌานนั้นอารมณท่ี นํามาคิดคํานงึ ก็เปน อรปู ธรรม เมอื่ จิตใจสงบเขา ถึงขีดข้ันของอรูปฌาน แมชนั้ ตน คอื อากาสานัญ จายตนะก็จะไมส ามารถแลเห็นรูปธรรมในมโนทวาร แมอตั ภาพของตนเองกป็ รากฏเปนอากาศไป ไมเห็นรปู รา งเหมือนในรูปฌาน ฉะน้ัน ทา นจึงเรยี กวาอรปู ฌาน ความแปลกตา งกันแหง รปู ฌาน กบั อรูปฌานมีเพียงเทา นี้ ตอไปนี้จะไดอ ธบิ ายเปนขอๆ ผตู องการเจรญิ พงึ ศกึ ษาสาํ เหนยี กตามใหด ี ดงั ตอไปนี้ ๑. อากาสานัญจายตนฌาน การท่ีจะทําความเขา ใจลักษณะฌานช้ันนไี้ ดแ จม แจง ผูศ ึกษาตอ งยอนไปสังเกตลกั ษณะ ฌานช้ันที่ ๔ ในหมวดรูปฌานอกี ที จติ ในฌานช้ันน้ัน ยอมสงบม่นั คง รวมลงเปน หน่งึ มีอุเบกขา และสติควบคุมอยูเปนใจบริสทุ ธ์ผิ อ งแผวปราศจากอุปกิเลส เปน ใจนมิ่ นวล ละมนุ ละไม ลมหายใจ ระงบั ไป ปรากฏเปน กลมุ อากาศโปรงๆ แมอ ตั ภาพกป็ รากฏใสผองโปรง บางคลายแกวเจยี ระไน ฉะน้นั สัมพาธะของฌานชน้ั น้ีกค็ ือลมหายใจ เมอ่ื ระงบั ไปไมปรากฏอาการเคลอื่ นไหว กลายเปน อากาศหายใจแผซานคลุมตวั นิ่งอยู ทปี่ รากฏเปนกลุม อากาศใสๆ น่ันเอง ถากาํ ลงั แหง ความสงบใจ ออ นลงเมอ่ื ใดก็ปรากฏมอี าการเคล่ือนไหว ทําใหเกิดความรสู ึกเปน ทกุ ข-สุขสะเทอื นถงึ ใจอยเู รอ่ื ยๆ ไป ทานจึงจดั เปนเครอื่ งคับใจในฌานช้ันน้ี ผูประสงคจ ะหลกี หา งจากสัมพาธะขอ น้ีจงึ ทาํ ความ สงบกาวหนาย่ิงขึ้น โดยวางสัญญาท่ีกาํ หนดหมายในรูป คอื อัตภาพอนั เปนท่ีตง้ั แหง ลมหายใจนั้น และรปู อื่นๆ อนั มาปรากฏในมโนทวาร ทงั้ วางสัญญาทกี่ าํ หนดหมายในสิ่งตางๆ มีความรสู กึ นึกเห็น เปน ตน ท้งั วางสัญญากําหนดหมายในสง่ิ สะเทอื นจติ ใจใหรสู ึกอดึ อัดดวย ทาํ ความกาํ หนดหมายอา- กาสานะ คือ กลมุ อากาศหายใจท่ปี รากฏเปน กลุมอากาศโปรง ใสนน้ั ไวในใจเรื่อยไป ใจกจ็ ะสงบรวม เปนหน่ึง มอี เุ บกขากํากบั กระชบั แนน ยิ่งขึ้น อากาสานะ คอื อากาศหายใจนน้ั จะโปรง ใสแผซ า น กวางขวาง ไมมขี อบเขตจํากดั เหมอื นในจตุตถฌาน แมอัตภาพกจ็ ะโปรงใสกลายเปนอากาศไป ไมม ี ส่งิ ใดๆ ทถ่ี ึงความเปนรปู จะปรากฏในมโนทวารในขณะนน้ั ความสงบจิตใจข้ันน้แี หละทเ่ี รยี กวา อากาสานัญจายตนฌาน ผูเจรญิ ฌานชั้นน้พี ึงสาํ เหนียกไววา รปู สญั ญา คือความกําหนดหมายใน รูปเปน สัมพาธะ คือส่งิ คับใจของฌานชั้นนี้ วิธีเจรญิ ฌานช้ันน้จี งึ ตองวางรูปสัญญาใหสนิท แลวใส ใจแตอ ากาสานะอยา งเดยี ว กจ็ ะสาํ เรจ็ อากาสานญั จายตนฌานดงั่ ประสงค. - - - ทิพยอํานาจ ๖๔
๒. วิญญาณญั จายตนฌาน อรปู ฌานท่ี ๑ น้ันมีส่งิ ทง้ั ๓ ปรากฏสมั พันธกนั อยคู ือ อากาสานะท่แี ผซา นกวางขวางเปน อากาศโปรงใส เปน ทใ่ี สใจกาํ หนดหมายรอู ยนู ัน้ ๑ กระแสมโนวญิ ญาณคอื ความรเู หน็ อากาศนั้น ๑ และธาตุรซู ึ่งดํารงมัน่ คง ณ ภายในนั้น ๑ เมื่อสง่ิ ทงั้ ๓ น้ยี ังสัมพนั ธกนั อยตู ราบใด ความ ปลอดภัยจากความสะเทอื นกย็ อมยงั หวงั ไมไดตราบนั้น เพราะอากาศเปน ตัวธาตุ และวญิ ญาณเปน ตวั ส่อื สัมผัสนํากระแสสะเทอื นเขา สูจิตใจไดอยู อากาสานัญจายตนสัญญาจึงเปน สัมพาธะ คอื ส่ิง คบั ใจไดอ ยูอ ีก ผูป ระสงคจ ะหลีกออกจากสงิ่ คบั ใจใหยง่ิ ขึน้ จึงพยายามวางสญั ญาน้ันเสยี มา กาํ หนดหมายใสใจเฉพาะกระแสวญิ ญาณทางใจสบื ไป เม่ือใจสงบรวมลงเปน หนงึ่ มีอุเบกขากาํ กบั มั่นคงแลว จะปรากฏเห็นกระแสมโนวญิ ญาณแผซานไพศาลไปทั่วอากาศท้งั หมด อากาศปรากฏ ไปถึงไหน มโนวิญญาณก็แผซา นไปถงึ นั่น ไมม ขี อบเขตจํากดั ความสงบใจข้นั น้แี หละทา นเรยี กวา วิญญาณญั จายตนฌาน ผตู อ งการเจริญฌานช้นั นีพ้ ึงทราบวาอากาสานัญจายตนสญั าเปนส่งิ คบั ใจ ของฌานช้ันน้ไี ว วิธปี ฏิบตั กิ ็ตอ งพยายามปลอ ยวางสัญญานั้นเสีย หนั มาทําความกําหนดหมายใส ใจแตวญิ ญาณ คือความรูทางใจอนั เปนกระแสรบั รูอากาศนั้นสบื ไป อยาไปใสใจอากาศเลย โดยวธิ ี นี้กจ็ ะสําเร็จวิญญาณัญจายตนฌานสมประสงค. ๓. อากิญจญั ญายตนฌาน อรูปฌานที่ ๒ วิญญาณกับอากาศยังมีสว นใกลชดิ กัน ทําใหเ กดิ การสังโยคกันไดง าย ไมเปน ทป่ี ลอดภยั จากส่ิงคบั ใจ ผูประสงคท ําใจใหส งบประณตี หา งจากส่งิ บงั คบั ใจย่งิ ข้นึ จงึ ปลอยวาง สญั ญาทก่ี ําหนดหมายกระแสวญิ ญาณนั้นเสีย มากาํ หนดหมายตัวมโนธาตุ คอื ผรู ซู งึ่ ดํารงอยู ณ ภายใน ไมก ําหนดรูอะไรๆ อนื่ ๆ ในภายนอกแมแตน อย เมือ่ ใจสงบรวมลงเปน หนึ่งมอี เุ บกขากํากับ อยอู ยา งมนั่ คง จะปรากฏมีแตธ าตุรูดํารงอยูโ ดดเดี่ยว ไมร ับรูอ ะไรๆ อืน่ ๆ ท้งั หมด นอกจาก ความรสู กึ กลางๆ ทางใจเทานัน้ ปรากฏอยู จึงรสู กึ วา ไมมีอะไรแมนอยหนง่ึ (นัตถิ กิญจ)ิ กอกวน จติ ใจใหราํ คาญ ความสงบจิตในขั้นน้ีทานเรยี กวาอากิญจญั ญายตนฌาน ผเู จรญิ ฌานชัน้ นพี้ งึ สงั เกตสมั พาธะของฌานชั้นน้ไี วใหดี คือวญิ ญาณญั จายตนสัญญา ความกําหนดหมายกระแสมโน วิญญาณนั่นเอง ปรากฏข้ึนทําความคับใจ คอื มนั อดทจ่ี ะรับรอู ะไรๆ อื่นๆ ในภายนอกไมไดนั่นเอง เมื่อกระแสความรเู กิดข้ึนรบั รูอารมณอ ่นื ๆ จติ กต็ อ งถอยกลับจากอากญิ จัญญายตนฌานทันที วิธี เจริญฌานชนั้ นจ้ี ึงตองพยายามกาํ หนดวางสญั ญาในกระแสวิญญาณใหเ ด็ดขาด จติ ใจกจ็ ะดํารงเปน เอกภาพ มีความรูสึกกลางๆ ณ ภายในดงั ประสงค ช่ือวาสาํ เรจ็ อากญิ จญั ญายตนฌาน. ๔. เนวสัญญานาสญั ญายตนฌาน อรปู ฌานที่ ๓ จิตใจดํารงเปน เอกภาพ มีความรสู ึกกลางๆ ณ ภายใน กระแสมโนวญิ ญาณ คอยเกิดขึ้นรบกวน เปนเหตุใหร ับรูอะไรๆ อืน่ ๆ ซ่งึ ทําใหร ําคาญใจ คับใจ อดึ อัดใจ ยงั ไมป ลอดภัย แท ผูประสงคความสงบใจโปรง ใจยง่ิ ข้นึ จึงสําเหนยี กทราบวา การกําหนดหมายรธู าตรุ นู ั่นเองเปน ทพิ ยอาํ นาจ ๖๕
ตัวเหตภุ ายใน กอ ใหเ กดิ กระแสมโนวญิ ญาณคอยรบั รูอะไรๆ อยู จงึ พยายามวางมโนสญั ญาน้นั เสยี แลวมากําหนดหมายความสงบประณีตของจติ ใจนั้นเองอยูเรื่อยไป เปนการผอ นสญั ญาใหอ อนลง ใจจะไดส งบวางโปรงเปน เอกภาพจริงจงั ข้ึน เมอื่ ใจสงบรวมลงเปน หน่งึ ถงึ ความเปน เอกภาพ เดนชัดข้ึนกวา เดิม ความรสู กึ อารมณเกอื บดับหมดไปแลว หากแตย ังมสี ญั ญาในความสงบประณีต น้ันผกู มัดไวใ หจ ติ ใจแขวนตอ งแตงกบั โลกอยอู กี ยังไมเปนเอกภาพสมบรู ณจ รงิ ๆ สัญญายังเหลอื นอ ย เกือบจะพูดไดวาไมม ี เปนสญั ญาละเอียดประณตี ที่สดุ เปนยอดสญั ญา พระบรมศาสดาตรสั วา ฌานชัน้ นเี้ ปนยอดอปุ าทาน ดังนน้ั เราจึงเหน็ ความในพระประวัติของพระองคตอนเสดจ็ ไปทรง ศกึ ษาลทั ธใิ นสาํ นักอาฬารดาบสและอทุ กดาบสนัน้ วา ทรงบรรลถุ งึ ฌานช้นั นี้ และทรงทราบวายงั มี อปุ าทานไมใชนพิ พานแท ดังน้ี ความสงบแหง จติ ใจชั้นนแ้ี ล ทา นเรียกวา เนวสญั ญานาสญั ญายตน- ฌาน ผปู ระสงคเ จรญิ ฌานชัน้ น้ี พงึ กําหนดรูสมั พาธะ คือสง่ิ ท่ที ําใหรูสกึ คับใจแคบใจขึ้นในฌานช้ัน นไ้ี วใหดี ทา นวาอากญิ จญั ญายตนสญั ญา ซึ่งเมอ่ื กลา วใหชดั กค็ ือมโนสัญญานน่ั เองเปนตัวเหตุ กอ ใหเ กิดความอึดอัดใจขึ้น มนั คอยจะโผลข ้นึ ในดวงจติ ทําใหมคี วามรสู กึ เต็มตวั รับรูอะไรๆ ข้นึ มา อกี วิธีการในชน้ั น้ีคือพยายามดบั มโนสัญญาเสยี ใหห ายสนิทไปใสใ จอยแู ตความสงบประณีตของ จิตใจสืบไป ใจกส็ งบลงเปน หนง่ึ ถึงความเปนเอกภาพ มคี วามรสู ึกกลางๆ กาํ กบั ใจอยูเพียงนิด หนอย แทบจะกลา วไดวาไมมสี ญั ญา ชอื่ วาสาํ เร็จเนวสัญญานาสญั ญายตนฌานด่ังประสงค ฌาน ชนั้ น้ีแลที่เปนปญหากันมากในหมูภกิ ษุในสมยั พทุ ธกาลวา บุคคลมีสญั ญาอยูแตไ มรับรอู ะไรๆ เลยมี หรอื ไม? ทานแกกันวา มี และช้เี อาฌานชั้นน้ี ซ่งึ พระอานนทต รสั ความอัศจรรยไ ววา นาอศั จรรย จรงิ ! อินทรยี ๖ ก็มีอยู อารมณท้งั ๖ มีรปู เปนตนกม็ ีอยู สญั ญาของบุคคลกม็ ีอยู แตไ มร ับรูอะไรๆ ไดเ ลย ดงั นี้. รูปฌาน ๔ และอรปู ฌาน ๔ รวมกันตรัสเรยี กวา วิโมกข ๘ เปนธรรมเคร่ืองพน จากโลก ตามลําดับกัน คือพนจากโลกหยาบๆ จนถงึ พน จากโลกช้ันละเอียดประณีต แตเปน ความพน ท่ยี งั กาํ เริบได ไมเ ปนความพนเดด็ ขาด และตรสั เรยี กวา สมาบตั ิ ๘ คอื เปน ภมู ธิ รรมสําหรับเขาพกั ผอน ของจติ เปน การพกั ผอนอยางประเสรฐิ ซง่ึ ทาํ ใหเ กิดพละอํานาจเพม่ิ พนู ขึ้นทกุ ๆ ที ผูประสงค ความมอี ิทธิพลอนั ยิ่งพงึ ฝก ฝนอบรมตนใหบ ริบูรณด ว ยฌานสมาบัติ ดงั แสดงมาน้ี แลวทําการเขา ออกใหชาํ นาญแคลวคลองวองไวตามลาํ ดับขัน้ ทั้ง ๕ ที่เรียกวาวสี ๕ ดังกลา วในบทท่ี ๒ น้ันแลว ทานก็จะประสพความสาํ เร็จแหงทพิ ยอาํ นาจสมหวงั . เจริญสญั ญาเวทยติ นิโรธ ยังมีสมาบตั ิชั้นพิเศษอกี ช้ันหนงี่ ซึง่ สมเด็จพระบรมครู ไดท รงคน พบดว ยพระองคกอนใครๆ แลว นาํ มาบญั ญตั เิ รียกวา สญั ญาเวทยติ นิโรธสมาบัติ และทรงวางวธิ ปี ฏิบัติไว ดงั จะกลา วตอ ไปนี้ ทานไดทราบเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบตั นิ ้ันแลว จะเห็นวา เปนภูมจิ ติ ท่ีสงู มากแลว แม ยังมีสญั ญากเ็ หมือนไมมสี ัญญา ไมส ามารถรบั รูอ ารมณอ ะไรๆ ไดเลย ไฉนจะมีทางขึ้นตอไปอกี พระบรมครขู องเราเมอ่ื ไดเ รยี นรูจบในสํานกั อาฬารดาบสและอุทกดาบส ทรงบรรลุถงึ ภูมจิ ติ ที่ เรยี กวา เนวสญั ญานาสัญญายตนะน้ันแลว ก็ตรสั ถามอาจารยว า ยงั มีภูมิจติ ทสี่ ูงยิ่งกวา นห้ี รอื ไม? ทพิ ยอาํ นาจ ๖๖
ไดร ับตอบวา สดุ เพียงนี้ เมื่อทรงพจิ ารณาดว ยพระปรีชาญาณอนั เฉยี บแหลมกท็ รงทราบวายังมี อปุ าทาน ดงั ไดก ลา วมาแลว จึงลาอาจารยเ สดจ็ ไปทรงคน ควา โดยลาํ พัง บังเอิญไปพบภกิ ษทุ ัง้ ๕ ท่เี รยี กวาปญ จวคั คยี ซ่ึงออกบวชตดิ ตามหาพระองค ทา นทั้ง ๕ นี้ บางองคค อื โกณฑญั ญะ ไดเปน ผู รว มทํานายพระลักษณะของพระองค และลงความเหน็ วา จะไดออกผนวชเปนศาสดาเอกในโลก จงึ คอยเวลาอยู คร้ันไดทราบขาวการเสด็จออกผนวชของพระศาสดา จงึ ไปชวนเพอ่ื นออกบวชตาม สวนองคอ ่ืนๆ นั้นเปนหลานของพราหมณผูไดรวมทาํ นายพระลกั ษณะ และลงความเห็นรว มกันกับ โกณฑัญญพราหมณ จึงไดส่ังลกู หลานไววา เมอื่ พระศาสดาเสด็จออกทรงผนวชเม่ือไร จงรีบออก บวชตดิ ตามทันที ฉะนั้นภกิ ษทุ ัง้ ๕ จึงไดติดตามมาพบพระองค ในเวลาทกี่ ําลังทรงเสาะแสวง สันตวิ รบทโดดเดี่ยวพระองคเ ดียว จงึ พากันเขา ถวายตวั เปน ศิษยเ ฝา ปรนนบิ ัติตอ ไป พระศาสดา ทรงเหน็ วาเปนผูไดผ า นการศึกษาลทั ธสิ มัยทางธรรมมาบาง จงึ ทรงปรึกษาหาทางปฏิบตั เิ พอ่ื รอด พน จากสงั สารวฏั กะภกิ ษทุ ง้ั ๕ นัน้ ไดรับคําปรึกษาใหท รงทดลองปฏิบัตทิ รมานอยางอุกฤษฏ ท่ี เรียกวา ทุกกรกริ ิยา จงึ ทรงนอ มพระทัยเชือ่ และทดลองปฏิบัติ วาระแรกทรงบาํ เพ็ญ อปาณกฌาน คอื การเพง จนไมห ายใจ ทรงทําไดอ ยางอุกฤษฏ สุดท่มี นุษยธรรมดาจะทนทานได ก็ไมส ําเร็จผลดี อยางไร จึงเปล่ยี นวิธใี หม คอื วาระที่ ๒ ทรงกลั้นลมหายใจไวใ หนานที่สุดที่จะนานได จนปวดพระ เศียรเสียดพระอทุ รอยางแรง กไ็ มสําเรจ็ ผลดอี ีกเหมือนกนั จึงทรงเปลยี่ นวิธใี หม คือวาระท่ี ๓ ทรง อดพระกระยาหาร โดยทรงผอนเสวยใหนอ ยลง จนถงึ ไมเสวยเลย ทรงไดรับทุกขเวทนาในการนี้ มากมาย ถงึ กบั สลบไสลสนิ้ สมปฤดีไปหลายครงั้ จงึ ทรงสนั นษิ ฐานแนพระทยั วาไมใชทางรอดพน ที่ ดแี น จงึ ทรงหวนนกึ ถงึ ความสงบพระหฤทัยทีไ่ ดท รงประสพมาเองในสมัยทรงพระเยาวว า จะเปน หนทางที่ถูกเพ่อื ปฏบิ ตั ใิ หรอดพนได จงึ ตัดสนิ พระทัยดาํ เนนิ ทางนั้น ทรงกลบั ต้งั ตนบํารงุ พระกาย ใหม ีกําลังแลว ทรงดําเนนิ ตามวธิ ที ีท่ รงคิดไว คอื ทรงกําหนดลมหายใจอนั เปนไปโดยปกตธิ รรมดา ไมทําการกดขม บังคบั เพียงแตมพี ระสติตามรทู ันทุกระยะการเคลื่นเขา ออกของลมไปเทา น้นั ก็ ไดร บั ความสงบพระหฤทยั ไดทรงบรรลุฌานสมาบัติทง้ั ๘ โดยลําดบั แลว ทรงศึกษาสาํ เหนียก จดุ สาํ คญั ของฌานสมาบตั ินนั้ ๆ จนทรงทราบชดั ตามความจรงิ ทกุ ช้ัน ดงั ทีต่ รัส สัมพาธะของฌาน นัน้ ๆ ไวใหเ ปนที่กําหนดการโจมตี เม่ือเปนเชน น้ี จงึ ทรงทราบทางข้นึ ตอ ไปยงั จดุ สงบสูงสุด คือ สัญญาเวทยติ นิโรธไดถกู ตอ ง เมื่อทรงทราบวาสัญญาที่เขาไปกาํ หนดหมายในอะไรๆ ทกุ อยา ง แม เพียงนดิ หนอ ยก็เปน ตัวอุปาทานท่เี ปนเชือ้ หรือเปนส่ือสมั พันธกบั โลก กอใหเ กดิ การสงั โยคกบั อารมณเกิดการกระเทือนจิตในข้นึ ได ทรงทราบวาการไมท าํ สญั ญากาํ หนดหมายในอะไรเลยนั่น แหละเปนปฏปิ ทากา วไปสูจดุ สงบสงู สุด จึงทรงปฏิบตั ิตามน้ัน ก็ไดบ รรลถุ งึ สญั ญาเวทยิตนโิ รธสม พระประสงคความสงบช้นั น้ี จติ ใจบรรลุถงึ ความเปนเอกภาพสมบรู ณ ไมม ีสัญญากาํ หนดหมาย อะไร และไมมีความรูส ึกเสวยรสของอารมณแมแ ตอ เุ บกขาเวทนาเหมือนในฌานสมาบัติท่ีรองลงไป กระแสโลก คือ รปู เสียง กล่ิน รส และโผฏฐัพพะ สง กระแสเขาไปไมถ ึง เพราะไมม สี ื่อสงั โยค จิต กับโลกขาดออกจากกนั อยคู นละแดนเด็ดขาด นี้เปนความหลดุ พนของจติ ชัน้ สูงสุดในฝา ยโลกียท ่ยี งั ตองกาํ เริบอยู เรยี กวา กุปปาเจโตวมิ ตุ ติ หรืออนิมิตตเจโตวิมุตติ เมอ่ื วา โดยลักษณะจิตใจแลวก็อยู ในระดับเดยี วกนั กับโลกุตตรนิพพานน่นั เอง หากแตความพน ของจิตช้ันนย้ี ังไมกาํ จัดอวิชชาสวะให ทพิ ยอาํ นาจ ๖๗
สญู สน้ิ หมดเชือ้ ได เม่ือใดกําจดั อวิชชาสวะใหส ูญสิ้นหมดเชอื้ ไดดว ยปญญา เมอื่ นน้ั ความพน ของจติ จงึ เปน อกปุ ปาเจโตวิมุตติ วิมตุ ตทิ ไี่ มกาํ เรบิ สนิ้ ชาติ จบพรหมจรรย เสร็จกจิ กาํ จดั กิเลสแลว ไมต อง เกดิ อีกตอ ไปในสังสารวัฏ หมดการหมุนเวยี นเกิดตายเพียงนนั้ ท่ีทานไมเ รียกวิมตุ ติน้วี าเปน ปญ ญา วมิ ตุ ตเิ พราะมีฌานเปนบาทมากอ น ด่ังแสดงไวในจฬุ สาโรปมสตู รเปน ตัวอยา ง วิธปี ฏิบัติเพอ่ื บรรลุ ถึงภูมิธรรมอันสูงสดุ นีจ้ ะไดแสดงในวาระแหงอาสวกั ขยญาณ ซงึ่ เปน ทพิ ยอํานาจสงู สดุ ในบทหนา. สัญญาเวทยิตนิโรธนี้ เปนสมาบตั ชิ ้ันสงู สุดเปนท่พี กั ผอ นอยา งประเสรฐิ ท่ีสุด และเปน ยอด แหงโลกยี วโิ มกข ทานกลาววา ผูเขา สมาบัติชนั้ น้แี มเอาภูเขามาทับก็ไมรูสึก และไมต ายดว ย ในเมื่อ ยังไมถ งึ กาํ หนดออก คือผูจะเขา สมาบตั ชิ ้ันน้ีตองกาํ หนดเวลาออกไวดว ย เมื่อยังไมถึงกาํ หนดที่ต้ัง ไวกจ็ ะไมอ อก เมือ่ ถึงกาํ หนดแลวจะออกเอง เวลาที่อยใู นสมาบตั ิชัน้ นี้รางกายจะหยุดเจรญิ เตบิ โต และเสื่อมโทรม ดํารงอยูในสภาพเดิมจนกวา จะออก รา งกายจงึ จะทาํ หนาท่ีตามปกตติ อ ไป ดวย เหตนุ ี้ทา นจงึ วาผูช าํ นาญในอิทธิบาทภาวนา อาจอธิษฐานใหชวี ติ ดํารงอยูไดก ปั หน่ึง หรือเกินกวา กัปหนึ่งได. ผูเขาสมาบตั ชิ ั้นน้ไี ด ทา นวามีแตพระอนาคามแี ละพระอรหนั ตเ ทาน้ัน และตองเปนผไู ด เจรญิ สมาบตั ิ ๘ บริบูรณมากอ นดว ย ท่ีวาเปนยอดแหงโลกียวโิ มกขน ้ันหมายถงึ สัญญาเวทยิตนโิ รธ ของพระอนาคามี เพราะอวิชชายังเหลอื อยู ยังมิไดถูกกําจัดใหหมดไปสนิ้ เชงิ แตท า นเปน ผทู ําให เตม็ เปย มในอธิจติ ตสิกขา จึงสามารถเขา สมาบตั ิชนั้ นไี้ ด การท่ีนํามากลาวไวในอธิการนก้ี ็เพอื่ ให ทราบวา ฌานสมาบัติในพระพทุ ธศาสนามีถงึ ๙ ช้นั เปรียบประดจุ ปราสาท ๙ ช้ัน ฉะนั้นสมาบัติ ๙ ชน้ั น้ี ทา นเรียกอีกอยา งวา อนปุ พุ พวหิ าร ซ่งึ แปลตรงศพั ทว า ภมู ิเปนทเ่ี ขาอยูตามลําดบั ช้ัน สวนชั้นที่ ๑๐ เรยี กวา อรยิ วาส ภมู เิ ปนที่อยูของพระอรหันตโ ดยเฉพาะ ซง่ึ จะแสดงไวในบทที่ ๑๒. กฬี าในพระพุทธศาสนา ไดก ลา วมาในตน บทนวี้ า ในพระพทุ ธศาสนาก็มีกฬี าสําหรบั เลนเพลดิ เพลนิ และบาํ รุง พลานามยั ฉะนน้ั ในวาระนจ้ี ะไดก ลาวถงึ กฬี าในพระพุทธศาสนาไว เพ่อื ผูมีใจเปนนักกีฬาจะได เลน เพลิน และบาํ รุงพลานามยั ดงั กลา วแลว . ในพระวนิ ยั หมวดอภิสมาจาร มพี ระพทุ ธบญั ญตั หิ ามกิริยานอกรตี นอกรอยของสมณะไว มี การเลนอยางโลกๆ หลายประการ ตรัสวา ไมเ ปน การสมควรแกสมณะ แลว ทรงแสดงกีฬาอนั สมควรแกส มณะไว ๒ ประการ คอื ฌานกฬี า และ จติ ตกีฬา ฌานกฬี าไดแกการเลน ฌาน จิตต กีฬาไดแ กการเลน จติ มีอธิบายดังตอไปนี้ ๑. ฌานกฬี า ฌานและสมาบัตดิ งั ไดกลา วมาในบทท่ี ๑-๒ และบทนี้ นอกจากบําเพญ็ ไว เพือ่ เปน บาทฐานแหง การเจริญทิพยอํานาจ และเปน อปุ กรณแกท พิ ยอาํ นาจดังกลาวแลว ยงั เปน เครอ่ื งมือในการกฬี าเพ่ือเพลิดเพลนิ และเพอ่ื พลานามัยดว ย การเขา ออกฌานตามปกติเปนไปโดย ระเบียบ ไมมกี ารพลกิ แพลงผาดโผน จดั วาเปน การเจรญิ ฌานเพ่ือประโยชนเจรญิ ทพิ ยอํานาจ สวน การเขาออกฌานโดยอาการพลิกแพลงผาดโผนนัน้ จดั เปน การกีฬาฌาน เปน ไปเพือ่ ความ สนุกสนานเพลดิ เพลนิ และเพ่ือพลานามัย. ทพิ ยอาํ นาจ ๖๘
การเขาออกฌานเพอื่ เปน การกีฬานน้ั พระโบราณาจารยไดว างแบบไว ๔ แบบ มีช่ือเรียก ดงั ตอ ไปน้ี ก. เขาลําดับ ไดแกฌานตามลําดบั ฌานและลําดับอารมณข องฌาน อารมณข องฌานทีใ่ ช เลน กนั โดยมากใชแตกสิณ ๘ ประการ คือ รปู กสณิ ๔ วรรณกสณิ ๔ รวม ๘ พอดกี ับฌาน ๔ ชั้น วิธเี ขา คอื ใชปฐวีกสิณเปนอารมณเ ขา ปฐมฌาน ออกจากปฐมฌานแลวเขาทตุ ิยฌาน ออกจากทตุ ยิ ฌานแลวเขาตตยิ ฌาน ฯลฯ จนถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน แลว เปลย่ี นอารมณใหม ตามลาํ ดบั กนั คือ ใชอาโปกสณิ เปน อารมณ เขา ออกฌานทง้ั ๘ ตามลาํ ดับโดยนยั กอ น ทาํ อยางนี้ จนหมดกสณิ ทง้ั ๘ วธิ ีของพระโบราณาจารยท านใชเทยี นติดลูกสลกั ตั้งไวใ นบาตร จดุ เทียนนน้ั ตงั้ ไวขา งหนา สาํ หรับกาํ หนดเวลา เมอ่ื ลูกสลกั ตกลงในบาตรมเี สียงดงั ก๊ัก ก็เปลย่ี นฌานทหี น่งึ จะทาํ กาํ หนดเขาฌานช้ันหนงึ่ ๆ นานสักเทา ไรก็แลวแตความพอใจ แลว กําหนดเวลาโดยลกู สลักน้ันเอง ถาตดิ ลูกสลักหา งกัน เวลาในระยะฌานหนง่ึ ๆ กต็ อ งหา งกัน ถาตดิ ลูกสลกั ถ่ี เวลาในระยะฌาน หน่ึงๆ ก็สั้น ลกู สลักนัน้ ทําดว ยตะก่ัว ทําเปน ลูกกลมๆ ขนาดเทาลกู มะขามปอมหรอื ลูกมะยม ลกู สลักน้บี างทีทา นกเ็ รยี กวาลกู สังเกต สําหรบั สงั เกตเวลานัน่ เอง การเขา ลาํ ดับนไี้ ดอธบิ ายมาแลวใน วธิ ีเจรญิ รูปฌาน ๔ เพ่ือความชาํ นาญในการเขา ออกฌานตามลาํ ดบั ชั้น ทีน้ีตองลาํ ดบั ฌานถึง ๘ ชั้น และลําดบั อารมณถ ึง ๘ อยาง คงตองกินเวลามใิ ชเล็กนอย แตค งไมรสู ึกนานสาํ หรับผูเพลินใน ฌาน เหมอื นคนเลน หมากรกุ หรอื เลนไพเพลนิ ยอ มรสู ึกวาเวลาคืนหนง่ึ ไมนานเลยฉะนั้น ผูเลนฌาน ก็ยอมเปนเชน เดยี วกนั . ข. เขาทวนลําดบั ไดแกเขาฌานชั้นสูงกอ น แลว ทวนลงมาหาฌานชนั้ ตน อารมณข อง ฌานกเ็ หมือนกัน ใชโอทาตกสิณกอน แลวจงึ ใชก สิณทวนลงมาถงึ ปฐวกี สิณ เปนการทวนลําดับทั้ง ฌานและกสิณอนั เปนอารมณของฌาน วิธกี ารกาํ หนดเวลาก็ใชลกู สลกั หรอื ลูกสังเกตเชนเดยี วกบั วิธีในขอ ก. ค. เขา สลบั มี ๒ วิธีคือ สลับฌานวธิ ีหน่ึง สลบั อารมณข องฌานวิธีหน่งึ วธิ ีตน ใชอารมณ ตามลําดับ แตส ลบั ฌานในระหวา งๆ คอื เขาปฐมฌาน ทุตยิ ฌาน อากาสานญั จายตนะ อา กญิ จัญญายตนะ ทตุ ิยฌาน จตุตถฌาน วญิ ญาณัญจายตนะ เนวสัญญานาสญั ญายตนฌาน สวน วิธีที่ ๒ เขา ฌานตามลําดับแตส ลบั อารมณ คอื ฌานที่หนงึ่ ใชปฐวีกสณิ เปน อารมณพ อถงึ ฌานท่ี ๒ ใชเตโชกสิณเปนอารมณ ฯลฯ ตัวอยางเปนดังนี้ ปฐม – ปฐวี, ทุตยิ – เตโช, ตติย – นลี , จตุตถ – โลหิตะ, อากาสานัญจายตนะ – อาโป, วิญญาณญั จายตนะ – วาโย, อากญิ จญั ญายตนะ – ปต ะ, เนวสัญญานาสญั ญายตนะ – โอทาตะ ทพิ ยอํานาจ ๖๙
แลวยังมีพลกิ แพลงตอไปอกี คือ สลบั ทง้ั ฌานทงั้ อารมณข องฌาน การกําหนดเวลาใชล กู สลกั ดังในขอ ก. ง. เขา วัฏฏ ไดแ กก ารเขาฌานเปน วงกลม คอื เขาไปตามลาํ ดบั ฌานถงึ ท่สี ุด แลวกลับ เขา ฌานท่ี ๑ ไปอีก วนไปจะกี่รอบก็แลว แตค วามพอใจของผเู ลน การกาํ หนดเวลาใชล กู สลกั เชนเดยี วกบั ในขอ ก. วิธเี ขา ฌานแบบวงกลมนีท้ านสมมุตเิ รยี กอีกอยางวา “หว งลกู แกว” ดกู ็ สมจริง เพราะจติ ใจทดี่ าํ รงอยใู นฌานยอ มผอ งใสเหมอื นแกว เม่อื เขาฌานเปนวงกลมกย็ อมทําให แกวคอื ใจนน้ั เกดิ เปนวงกลมขึ้น และวงกลมนน้ั เกยี่ วเนือ่ งกันไปดจุ สายสรอ ยสงั วาล หากจะเรียกให สละสลวยขนึ้ อกี วา “สงั วาลแกว ” ก็นาจะเหมาะด.ี การใชลกู สลกั เปน เคร่ืองกาํ หนดเวลานั้น ใชแตในเม่ือยงั ไมชํานาญในการกาํ หนดเวลา ครั้น ชํานาญในการกาํ หนดเวลาดว ยใจแลว ก็เลกิ ใชล กู สลกั ได. ๒. จิตตกฬี า จิตทไี่ ดร บั การอบรมดว ยสมาธติ งั้ แตช้ันตาํ่ ๆ เพยี งความเปนหนึ่งของจิตชั่ว ขณะหนึ่งข้ึนไป จนถึงความสงบประณตี ของจติ ช้ันสงู สุด และท่ีไดอ บรมดวยคุณธรรมตางๆ มี ศรทั ธาความเชอ่ื เปนตน ยอ มเกดิ มีพละอํานาจ สามารถทาํ การพลิกแพลงผาดโผนไดแปลกๆ ยอม กอ ใหเกดิ ความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ และเกดิ พลานามัยเพ่ิมพูนข้ึนดว ย การเลนกฬี าทางจติ นไี้ ม มขี อบเขตจํากดั อาจดดั แปลงพลิกแพลงเลนไดต ามชอบใจ แตตอ งเปนกฬี าทีเ่ ปนประโยชนดวย จะกําหนดไวพอเปน แนวคดิ ดังตอ ไปนี้ ก. แบบกายบรหิ าร เปนการเลน เพ่ือบรหิ ารกายใหมีสุขภาพอนามัยดี และเพื่อเปน กายค ตาสตดิ วย วิธเี ลน ใชจ ติ ทปี่ ระกอบดวยกระแสตางๆ พุง ผา นไปท่ัวรา งกายทกุ ๆ สว น ใหสัมผสั ดวย กระแสจิตตามชนิดทีต่ อ งการ ทานกําหนดกระแสจติ ท่คี วรใชไว ดงั น้ี ๑. จิตประกอบดว ยกระแสวติ ก คือความคิด ๒. จติ ประกอบดวยกระแสวจิ าร คอื ความอา น ๓. จติ ประกอบดว ยกระแสที่ปราศจากวติ กวจิ าร ๔. จติ ประกอบดวยกระแสปต ิ คอื ความช่ืนบาน ๕. จิตประกอบดว ยกระแสปราศจากปต ิ ๖. จติ ประกอบดว ยกระแสความสุขใจ ๗. จติ ประกอบดว ยกระแสอเุ บกขา คือความมีใจเปนกลาง. ทาํ จติ ใหป ระกอบดว ยกระแสเหลา น้ีอนั ใดอันหนึ่ง แลว แผก ระแสน้ันไปยงั สวนตางๆ ของ รางกายจากบนถึงลาง จากลางถงึ บน กลับไปกลบั มาหลายๆ เทย่ี ว จะใชอิริยาบถนอนหรือนัง่ ก็ได ทางกายเมือ่ ไดรับสัมผัสกับกระแสจติ ทัว่ ถึงเชน น้ี ยอมมีกําลังกระปรกี้ ระเปรา เลอื ดลมยอมเดนิ สะดวก ทําใหผวิ พรรณสดใสขึ้น. อนึ่ง จติ ท่นี ํากระแสแผซ านไปตามสวนตางๆ ของรางกายนน้ั จะบงั เกิดความรจู กั สว น ตา งๆ ของรางกายดขี นึ้ เทา กบั เรียนรกู ายวภิ าควทิ ยาไปในตวั . นอกจากกระแสจติ ๗ ประการ ดงั กลาวแลว แสงสตี า งๆ กป็ ระกอบเปนกระแสจิตได เชนเดยี วกัน แสงสีนวลท่เี รียกวา อาโลกะ ก็เปน ประโยชนในทางบําบัดโรคในกายบางประการ ท้ัง ทิพยอํานาจ ๗๐
ทําใหผวิ พรรณผุดผอ งคลา ยทาดวยแปงนวลฉะนัน้ แสงสเี หลืองออนอกี หนงึ่ เปนประโยชนท าํ ให รางกายสดชน่ื ผวิ พรรณสดใสเปลง ปลงั่ วธิ ที ํา กําหนดจิตใหประกอบดวยแสงสวางสีนวล หรือสี เหลอื งออ นดังกลา วแลว แลว แผก ระจายแสงสนี น้ั ไปท่ัวสรรพางคก ายทุกสว น ทวนข้ึน-ตามลง หลายๆ เทย่ี ว ก็จะเกดิ ประโยชนด งั กลาวแลว. ข. แบบจติ ตบริหาร เปน การกฬี าเพอ่ื บรหิ ารจิตใหมีสุขภาพอนามัยและอทิ ธิพล ควบไป กับความเพลดิ เพลิน เพราะธรรมชาติของจติ ใจกเ็ ปน สิ่งทตี่ อ งการความบริหารเชนเดียวกบั รา งกาย จติ ใจท่ไี ดร ับการบรหิ ารดี ยอมมีความสุข ปราศจากโรค และมีอิทธพิ ล ความฉลาดในกระบวนจติ ยอ มเปน ประโยชนในการบรหิ ารจิตอยางมาก การทาํ อะไรอยางเปนการเปนงานเสมอไป ยอมทํา ใหรสู กึ เหนด็ เหน่อื ยและระอิดระอา ถา ทาํ เปนการกีฬาเสียบาง แมจะตอ งเหน็ดเหนือ่ ยก็รสู กึ วา ให เกดิ กําลังใจ มีความแชม ช่นื เบกิ บานดีขึ้น ฉะน้นั ปราชญท างจติ ใจทานจึงกาํ หนดใหมกี ฬี าทาง จติ ใจขึ้นใช จติ ตกีฬาท่ีจะเปน ประโยชนบริหารจติ ใจนั้นกไ็ ดแก การแตง อารมณ คือแตงความรสู ึก ใหเปนไปในสง่ิ ตางๆ หรอื โดยวธิ ีตา งๆ ดังตอ ไปนี้ ๑. แตง ความรสู ึกตามกระแส ทุกส่งิ ยอ มมกี ระแสในตวั ของมันเอง สงิ่ ท่ีนารักก็มกี ระแส ความรกั เปนประจํา สงิ่ ท่นี าเกลียดกม็ ีกระแสความเกลยี ดเปนประจํา เมื่อเราไดป ระสบหรือนกึ ถงึ สงิ่ ทนี่ ารักหรอื นาเกลียด เรากจ็ ะเกิดความรสู กึ รกั หรอื เกลียดข้ึนทันที การแตง ความรูสึกอนโุ ลม ตามกระแสของส่ิงน้ันๆ อยางนี้ เปนจติ ตกีฬาขั้นแรกทาํ ไดง า ยๆ. ๒. แตง ความรสู ึกทวนกระแส ทกุ สิ่งยอ มมกี ระแสดังกลา วในขอ ๑. ทีนใ้ี หพ ยายามทํา ความรูส กึ ทวนกระแสของสง่ิ นั้นๆ ขึ้นไป คือ แทนท่ีจะรสู ึกรักในส่งิ นารกั กใ็ หรูส กึ เกลียด แทนท่ี จะรูสกึ เกลียดในสิง่ นา เกลยี ด กใ็ หรสู กึ ไมเกลยี ด ดังนี้เปนตน ข้ันน้อี อกจะทําไดยาก แตถา ทําได จะเปน ประโยชนม าก. ๓. แตงความรสู ึกตดั กระแส คอื ใหร สู ึกรักก็ได ไมร ักก็ได ท้ังในสงิ่ นา รกั ท้ังในส่งิ ไมน า รัก ทาํ ใหรสู ึกเกลียดก็ได รูส กึ ไมเ กลียดก็ได ทั้งในสง่ิ นา เกลยี ดทงั้ ในส่งิ ไมนาเกลียด ขน้ั น้ยี ิง่ ทาํ ไดย าก ถา ทําไดก เ็ ปน ประโยชนย ่งิ . ๔. แตงความรูส กึ เปน กลางระหวา งกระแส คือ ใหม ีความรสู กึ เปน กลางในส่งิ นารกั และนา เกลียด ในสง่ิ นา ยินดแี ละนา ยนิ รา ย ในส่งิ นา ต่ืนเตนและไมนา ตืน่ เตน ฯลฯ ขั้นนี้ทําไดยากทีส่ ุด และถา ทําไดก เ็ ปน ประโยชนทสี่ ดุ . ๕. กําหนดความรูสึกเห็นเปนอสภุ ะข้นึ ในรางกายตนเอง หรอื ในรางกายของผูอ่นื อยางใด อยา งหนง่ึ ถาจิตตนเองมีกามราคะอยู กามราคะก็จะดับไปจากจิตทนั ที ถากามราคะมีอยใู นจิต ของผอู ื่นซึ่งเปน ผูถูกเพง ใหเ ปนอสุภะนัน้ กามราคะก็จะดับไปจากจิตผนู ั้นทันท.ี ๖. กาํ หนดความรูสกึ เมตตาข้นึ ในจิตใหเ ต็มเปย ม แลวกระจายความรสู กึ นัน้ ออกไปจากตวั โดยรอบๆ ทุกทศิ ทกุ ทาง เปน ปรมิ ณฑลกวา งออกไปโดยลําดับ จนไมมีขอบเขต ครอบคลุมโลกไว ท้งั หมด แลวทวนกลับคืนเขา หาตวั เอง จะเกิดเมตตาพละข้นึ ในตน สามารถระงบั ความเปนศตั รูท่มี ี อยใู นผอู น่ื ได และทําใหบ ังเกิดจติ เมตตาขน้ึ ในคนทงั้ หลาย ในสัตวท ้ังปวง. ทิพยอํานาจ ๗๑
๗. กาํ หนดความรูส กึ กรุณา-มทุ ติ า-อุเบกขา ข้ึนในจิตใหเต็มเปย มแลวทําโดยนยั ขอ ๖ จะ เกดิ กรุณาพละ มุทติ าพละ และอเุ บกขาพละข้นึ ในตน กรณุ าพละสามารถกาํ จดั วิหิงสาคือความ เบยี ดเบียนได มทุ ิตาพละสามารถระงบั ความรษิ ยา และปลูกความชืน่ บานแกบ ุคคลได อุเบกขา พละสามารถระงับกามราคะ ความกาํ หนัดในเพศตรงกนั ขา มใหส งบลงได. ๘. กําหนดใหเ หน็ พละอํานาจ อนั มอี ยูในสิ่งตางๆ เชน กําลงั ชางสารเปนตน แลวนอ มนึก ใหรูสกึ วา กาํ ลังอาํ นาจของส่ิงนัน้ ๆ ไดม ามีอยใู นตัวของตน จะบงั เกิดมกี าํ ลังขึน้ เสมอกบั กาํ ลังของ ส่ิงทต่ี นกาํ หนดเห็นน้ัน. ๙. กําหนดใหเกิดความรูสกึ วา กายของตนเบาเหมือนสาํ ลี และมีความรวดเรว็ ดัง่ กาํ ลงั ของ จติ จะบังเกดิ อิทธพิ ลขน้ึ ทาํ ใหก ารเดนิ ทางถึงเรว็ ไมรูสึกเหน็ดเหนือ่ ย. ๑๐. กาํ หนดความสวา งแจม ใสข้ึนในใจ แลวแผก ระจายความสวางนัน้ ออกไปรอบๆ ตวั เปน ปรมิ ณฑล แผกวา งออกไปโดยลําดับจนท่ัวโลกท้ังสน้ิ จะทําใหรสู ึกปลอดโปรง แลเห็นโลก กวา งขวางไมคับแคบ. ๑๑. กําหนดความรสู กึ กลน่ิ ตา งๆ ขึน้ ใหร ูส กึ ประหนึ่งวากลิ่นนนั้ ๆ ไดมอี ยู ณ ท่ีนัน้ ในขณะ น้นั จะเกดิ อิทธิพลในการสรา งกล่นิ ขึ้น ใหปรากฏในความรสู ึกของผอู น่ื ไดดว ย สามารถระงับกลิ่นท่ี ไมพงึ ประสงค สรางกล่ินทพี่ ึงประสงคข ึน้ ใชไดด ว ยอาํ นาจใจ. ๑๒. กาํ หนดความรสู ึกนกึ เห็นภาพของส่ิงตางๆ เชน ดอกไมเ ปน ตน ใหชัดใจตนเอง แลวให รูสกึ ประหนึ่งวา ภาพน้ันไดปรากฏแกส ายตาของผอู น่ื ดว ย จะบังเกดิ อิทธพิ ลสามารถเนรมิตภาพ ของสง่ิ ตางๆ ข้นึ ใหปรากฏแกส ายตาของคนอน่ื ๆ ได. การกีฬา เทาท่ไี ดกาํ หนดไวพอเปนตวั อยา งนี้ ถาพยายามเลน ทุกๆ วนั ยอ มจะไดผลคุม คา ของเวลาไมเหน่ือยเปลา ขอใหทา นทดลองเลนดู แลวจะติดใจ. ค. แบบอทิ ธพิ ล เปน กฬี าชนิดทเี่ พิ่มพนู พละอํานาจสามารถในสิง่ ตา งๆ อยา งนาอศั จรรย เปนการบริหารทงั้ กายและจติ ไปพรอมๆ กัน แบบนี้ตอ งใชอวัยวะเปนที่กาํ หนด คอื เปน จดุ เพงของ จิต พระโบราณาจารยกําหนดไว ๙ แหง โยคกี าํ หนดไวม ากกวา ๙ แหง เมื่อเพงตรงอวัยวะน้ันๆ จะบังเกดิ ผลคือ อทิ ธพิ ลตางๆ กนั ดังตอไปน้ี ๑. ตรงทอ งนอยใตสะดือประมาณ ๒ นว้ิ จะบังเกดิ ผลผอนบรรเทาทกุ ขเวทนาทางกายลง ได. ๒. ตรงสะดอื จะบงั เกดิ รูเหน็ สว นตา งๆ ของรา งกายข้ึนตามความเปนจริง. ๓. ตรงเหนอื สะดือประมาณ ๒ น้ิว จะบังเกดิ ความรสู กึ กําหนัด และเกิดกําลงั กาย กระปรก้ี ระเปราขน้ึ . ๔. ตรงทรวงอกระดบั หัวใจ จะบังเกดิ การตรัสรขู ึ้น. ๕. ตรงคอกลวง ใตลูกกระเดอื ก จะทําใหห ลบั . ๖. ตรงคอกลวง เหนอื ลูกกระเดือก จะทาํ ใหหายหวิ . ๗. ตรงปลายจมกู จะกอ ใหเ กดิ ความปต ยิ นิ ดี ซาบซาน. ๘. ตรงลกู ตา จะบังเกิดจติ ตานภุ าพ. ทพิ ยอํานาจ ๗๒
๙. ตรงระหวางค้ิว จะบังเกดิ ความตน่ื หายงว งได. ๑๐. ตรงกลางกระหมอ ม จะบงั เกดิ ปฏิภาณผอ งแผว และสามารถเหน็ ทวยเทพไดดวย. ๑๑. ตรงทา ยทอย จะไมร สู กึ ทุกขเวทนาทางกายแตป ระการใด เปนทห่ี ลบเวทนาไดดี. ๑๒. ตรงประสาทท้งั ๕ จะบังเกิดสมั ผสั ญาณ มีความสามารถรบั รสู ่งิ ท่มี าสัมผสั ทาง ประสาททัง้ ๕ ไดด .ี นอกจากท่รี ะบไุ วน ีก้ ม็ อี ีกหลายแหง แตเ ห็นวาเกินความตอ งการ เทา ท่รี ะบุไวน ้กี ็พอสมควร แลว เปน ที่ท่คี วรฝก หัดเพงจิตกําหนดเลน ๆ ดูทกุ วัน วนั ละ ๕ นาทีถึง ๑๕ นาที กจ็ ะเหน็ ผลบา ง ตามสมควร อยางนอยกเ็ ปนการบริหารกายและจิต และเปน อันไดเจรญิ กายคตาสตไิ ปในตวั ทาน พรรณนาอานิสงสการเจรญิ กายคตาสตไิ วมากมาย มีใหสาํ เร็จอภิญญา ๖ ประการเปนตน ฉะนั้น ขอเชญิ ทานหันมาเลนกีฬาทางจติ ในพระพทุ ธศาสนาน้ดี ูบาง บางทีจะสนกุ ดีกวากฬี าทางกายเปน ไหนๆ. หลวงปูม่นั ภูริทตฺโต ทิพยอํานาจ ๗๓
บทที่ ๕ วิธปี ลกู สรา งทพิ ยอาํ นาจ บัดนม้ี าถงึ บทสําคัญ ซึง่ เปนจดุ หมายของหนงั สอื เลมน้ีแลว ขาพเจา จะไดพ าทานทาํ ความ เขา ใจลกั ษณะ พรอ มดวยวธิ ปี ลูกสรางทิพยอาํ นาจแตละประการ ตามหวั ขอ ทไ่ี ดย กข้ึนไวใ นบทนาํ น้ันแลว . แตก อ นท่จี ะนําทา นไปทําความเขาใจลักษณะทพิ ยอาํ นาจแตล ะประการนนั้ จะขอพาทาน ทําความเขา ใจในสว นทว่ั ไปเสยี กอ น เพราะเปนปญ หาเฉพาะหนาซ่งึ จาํ ตองเขา ใจกระจางแจงเสยี แตเบอื้ งตน จงึ จะไมเกิดเปนปญ หายุง ยากในระหวางทที่ าํ ความเขาใจทิพยอํานาจแตล ะประการ นนั้ . คาํ วา “ทิพยอาํ นาจ” เปนคาํ ที่ขาพเจา บญั ญตั ขิ ึ้นเอง เพื่อเรีกอภญิ ญาและวชิ ชาช้ันสูงใน พระพทุ ธศาสนาอยา งส้นั ๆ เทาน้ัน อภิญญาและวิชชาในพระพทุ ธศาสนานั้น เปนวชิ ชาทีแ่ ปลก ประหลาดมหศั จรรย คลายสําเร็จดว ยอาํ นาจเทพเจา ทัง้ บางวชิ ชาก็มีช่อื เรียกวา “ทพิ ย....” เสยี ดว ย เชน ทพิ พโสต ทพิ พจักขุ แตขาพเจามงุ หมายจะรวมเรยี กวชิ ชานั้นๆ ดวยคาํ สั้นๆ ใหเ รียก งายๆ และเหมาะสมเทานน้ั ฉะนน้ั ขอทานผูอา นอยาไดต คี วามหมายของช่อื นีไ้ ปเปนอยางอนื่ . อภิญญาในพระพทุ ธศาสนามี ๖ ประการ สว นวชิ ชาชั้นสูงในพระพทุ ธศาสนามีหลาย ประเภท เรียกวา วิชชา ๓ ประการบา ง วิชชา ๘ ประการบาง เมื่อประมวลอภญิ ญาและวิชชาเขา กันแยกเรยี กเฉพาะแตทีแ่ ปลกกันไดเพยี ง ๘ ประการ ดังจะยกช่ือมาไวอกี ดงั น้ี ๑. อทิ ธวิ ธิ ิ ฤทธ์ิตางๆ ๒. มโนมยทิ ธิ ฤทธิส์ ําเรจ็ ดว ยใจ ๓. เจโตปริยญาณ รจู ักใจของผูอน่ื ๔. ทิพพโสต หทู ิพย ๕. ปุพเพนวิ าสานุสสติ ระลึกชาติกอ นได ๖. ทพิ พจกั ขุ ตาทพิ ย ๗. จตุ ปู ปาตญาณ รสู ัตวเ กิด-ตาย ไดดี-ตกยากดวยอํานาจกรรม ๘. อาสวักขยญาณ รูจักทําอาสวะใหสนิ้ ไป ทิพยอาํ นาจ ๘ ประการนี้ มขี ีดขัน้ ของความสําเรจ็ อยูสองข้ัน คอื ขั้นโลกียแ ละขั้นโลกุตตระ ตราบใดที่ยงั ไมบรรลถุ ึงอาสวักขยญาณ ตราบนั้นยงั เปนขน้ั โลกีย เมื่อใดบรรลุถึงอาสวักขยญาณ เมือ่ นนั้ ชอื่ วาสาํ เร็จถงึ ขั้นโลกุตตระ ทิพยอาํ นาจข้นั โลกียไมม่นั คง อาจเสอ่ื มหายไปไดใ นเมอื่ รกั ษา ไมด ีหรอื พล้ังพลาดศลี ธรรมรา ยแรงขนึ้ เพราะยงั ไมมีอะไรเปน ประกัน ครนั้ สําเร็จถงึ ข้ันโลกุตตระ แลวทิพยอํานาจทัง้ หมดกลายเปน ม่ันคงสถาพร ไมเ ส่ือมสลาย เพราะมอี าสวกั ขยญาณเปน ประกัน จติ ใจของผบู รรลุถึงอาสวกั ขยญาณเปนจิตใจมั่นคง ไมห วาดสะดุง แมจะรา ยแรงสักปานใดก็ตาม เมอื่ จติ ม่ันคงเชน นนั้ ฌานอันเปนฐานรองของทิพยอํานาจก็มน่ั คง ทพิ ยอํานาจจึงมั่นคงไปดวย. ทิพยอํานาจ ๗๔
ผจู ะปลกู สรางทพิ ยอาํ นาจ จะต้งั จดุ หมายเอาเพยี งขนั้ โลกียห รือมุงถงึ ข้ันโลกุตตระก็ได ตามใจ เพราะเปนสทิ ธขิ องผูปฏิบัตแิ ตละคนโดยเฉพาะ ผปู ฏบิ ัตจิ ะบรรลถุ ึงจุดหมายท่ีตนต้ังไว หรือไม นน่ั ยอมแลวแตก ารปฏิบัติเปนประมาณ ถาการปฏบิ ัตเิ ปนไปถูกตองตามวิธีและเปนไป สมาํ่ เสมอดี พรอมทั้งวาสนาบารมหี นุนหลังอยแู ลว ยอมจะบรรลุถึงจุดหมายประสงค ถา การ ปฏิบัตไิ มเปน ดงั วามาแลว ก็ยากทจ่ี ะบรรลุถึงจุดหมายทต่ี ้ังไว มผี กู ลวั วา ถาปฏบิ ัติเจรญิ ภาวนาจะ สาํ เรจ็ เปน พระอรหนั ตไ ปกอ น ตนจะไมไ ดล ิ้มรสของโลกยี สขุ สมปรารถนาด่ังนี้กม็ ี ขา พเจา ขอ แนะนาํ วา ถาจะกลวั สาํ เร็จแลว กลวั ไมสาํ เรจ็ ยังดกี วา เพราะเมือ่ ใจไมเอาแลว จะใหไ ดพ ระอรหตั โดยบงั เอิญน้ันเปนไมมเี ลย ขา พเจา เคยเห็นแตผูปฏิบัติไมบ รรลถุ ึงจดุ หมายทีต่ นต้ังไวน ่ันแหละ มากกวา ผูบรรลถุ งึ จดุ หมาย ทั้งน้ีกเ็ พราะพระอรหตั ผลหรืออาสวกั ขยญาณนนั้ เปนภูมธิ รรมท่ี สงู สดุ ในพระพุทธศาสนา ผจู ะบรรลถุ ึงภูมนิ ้นั จะตอ งเปนบคุ คลผมู บี ุญลน เหลือ คนจนบุญไมอ าจ บรรลถุ งึ ภูมินัน้ ได ผกู ลัวจะบรรลุนัน้ รูตวั แนนอนหรือวามบี ญุ เหลอื ลน คนท่ีกลัวความสขุ กค็ อื คน ไมม ีสขุ ภูมิพระอรหนั ตเ ปนภมู ทิ ่ีมสี ุขทสี่ ดุ ผูไ มเ คยลม้ิ รสความสุขประณีต เคยประสบแตส ุขเจอื ทกุ ขจึงหวาดกลวั ตอ ความสุขลวนๆ อันมีอยูในภูมิพระอรหนั ตน้ัน ถา บคุ คลเปนผมู ีบุญไดก อสราง มามากแลว จะไมกลัวตอการบรรลภุ มู ิพระอรหตั ตผลเลย เม่อื เร่มิ ลงมือปฏิบัตเิ จริญภาวนาก็จะ บังเกิดปติ ดดู ด่มื อยากเจริญใหกาวหนา ยง่ิ ข้ึน ไมยอมถอยหลงั เลยทเี ดยี ว. อนง่ึ อยากขอทาํ ความเขา ใจกับผูศกึ ษาทิพยอํานาจน้ีอกี วา ทพิ ยอํานาจเปนความรู ความสามารถนา มหศั จรรย เหนอื ความรูความสามารถของมนษุ ยส ามญั ยอมจะตองต้ังอยบู น รากฐานอนั สูงกวา ธรรมดา คอื วา กอ นจะสําเรจ็ ถงึ ขัน้ ทพิ ยอาํ นาจน้ี จะตอ งสาํ เรจ็ ภมู ิธรรมขั้นที่ เรียกวา ฌานมาแลว ประกอบกบั มีศีลธรรมดงี ามประจาํ ใจดวย ฌานนน้ั หมายถงึ ฌานมาตรฐาน ๔ ประการ ทกี่ ลาวในบทที่ ๑ – ๒ เปน สําคัญ ฌานท่ีสงู กวาน้ันเปนเคร่อื งอุปกรณชว ยใหส าํ เรจ็ ทพิ ยอาํ นาจเร็วเขา ฉะน้ัน ผูศกึ ษาอยา ลืมความสาํ คญั ของฌานและศลี ธรรมอันดใี นเมอ่ื จะทําการ ปลูกสรา งทพิ ยอํานาจ เปรียบเหมอื นเราจะสรางบา น จําตอ งแสวงหาเคร่อื งเรอื นมาใหพรอม แลว ตอ งทาํ พ้นื ท่ีตรงจะปลกู น้นั ใหร าบเรียบแนนหนาถาวรดวย เรอื นที่ปลูกข้นึ จงึ จะม่นั คงฉันใด การ ปลูกสรางทพิ ยอาํ นาจกเ็ ปนฉันนั้น เม่อื ไดทาํ ความเขาใจในสว นทว่ั ไปฉะน้ีแลว ขา พเจาจะพาทา น ไปทําความเขาใจกับทพิ ยอํานาจแตล ะประการน้ันตอไป ทพิ ยอํานาจแตละประการ มเี หตุผลและ วิธกี ารทจี่ าํ ตอ งพูดมากจึงจะเขา ใจกนั ทพิ ยอาํ นาจมถี งึ ๘ ประการ เมือ่ บรรจลุ งในบทเดยี วกจ็ ะ เปนบทใหญม าก จึงไดแยกออกเปนบทๆ นบั ตง้ั แตบทนจี้ นถงึ บทที่ ๑๒ ดังทานจะไดอา นตอ ไป ขางหนา แตทงั้ นมี้ ิไดห มายความวาตางจุดหมายกนั มีจุดหมายอันเดยี วกัน คอื บอกวิธปี ลูกสราง ทพิ ยอาํ นาจทัง้ สนิ้ . อิทธิวธิ ิ ฤทธิต์ า งๆ คําวาฤทธใิ์ นภาษาไทยของเรา ยอ มเปนที่เขา ใจกันอยวู า หมายถงึ การทาํ สิ่งทน่ี าอศั จรรย สาํ เร็จไดเ กินวิสยั ของคนธรรมดา ซง่ึ มีความหมายตรงกับทีม่ าของคําน้ใี นภาษาบาลแี ลว จงึ ไม ทิพยอาํ นาจ ๗๕
จาํ เปนตองอธิบายความหมายใหยืดยาว ฉะน้ัน จะไดน ําเอาประเภทของฤทธิ์ตามท่ที า นจําแนกไว ในพระบาลมี าตั้งไว แลว ทําความเขา ใจเปนอยา งๆ ไปทเี ดยี ว ดงั ตอ ไปน้ี ฤทธิ์มี ๑๐ ประเภท คอื ๑. อธษิ ฐานฤทธ์ิ ฤทธิ์ท่ีตอ งอธิษฐานใหสําเรจ็ ๒. วกิ พุ พนาฤทธิ์ ฤทธ์ทิ ่ีตองทาํ อยา งผาดแผลง ๓. มโนมยั ฤทธิ์ ฤทธิส์ ําเร็จดว ยกําลังใจ ๔. ญาณวปิ ผาราฤทธ์ิ ฤทธ์ิสาํ เรจ็ ดว ยกาํ ลังญาณ ๕. สมาธิผาราฤทธ์ิ ฤทธ์สิ ําเรจ็ ดว ยอาํ นาจสมาธิ ๖. อริยฤทธิ์ ฤทธ์สิ ําเร็จดวยวิสัยของพระอริยเจา ๗. กมั มวปิ ากชาฤทธิ์ ฤทธิ์เกดิ แตผ ลกรรม ๘. ปญุ ญฤทธ์ิ ฤทธ์ขิ องผมู บี ุญ ๙. วชิ ชามัยฤทธ์ิ ฤทธส์ิ าํ เรจ็ ดวยวทิ ยา ๑๐. สมั ปโยคปจจยิชฌนฤทธ์ิ ฤทธิ์ทส่ี าํ เรจ็ เพราะประกอบกจิ กุศลใหส ําเร็จไป. จะไดท ําความเขาใจเปนขอ ๆ ไป ดังตอ ไปนี้ ๑. อธษิ ฐานฤทธิ์ ฤทธิท์ ่ีตอ งอธษิ ฐานใหสําเร็จน้ี เปน ขอมงุ หมายของอิทธิวิธนี ี้โดยเฉพาะ เพราะวา เม่ือกลาวถึงอิทธวิ ธิ ีแลว พระผมู ีพระภาคทรงจําแนกไวแ ตป ระเภทอธิษฐานฤทธิป์ ระเภท เดียว ฤทธท์ิ ี่ตอ งทําการอธษิ ฐานใหส ําเรจ็ น้มี ีหลายหลาก ลว นแตเปน ฤทธท์ิ ่ีนาอัศจรรยย ิง่ เชน คนๆ เดยี วอธฐิ านใหเ ปนมากคนได คนมากอธษิ ฐานใหเปนคนเดียวได ท่ีกําบงั ไมเปดเผยอธษิ ฐาน ใหเ ปน ทีเ่ ปดเผยได ท่ีเปดเผยอธิษฐานใหเปนทกี่ าํ บังได อธิษฐานใหฝ ากําแพง ภูเขา กลายเปน อากาศแลว เดนิ ผานไปไดไ มต ิดขัด เหมอื นไปในทวี่ างฉะนน้ั อธิษฐานใหดนิ เปนนํา้ แลวดาํ เลนได เหมือนดํานาํ้ ฉะนั้น อธิษฐานใหน ํ้าเปนแผน ดินแลวเดินไปบนน้าํ ไดเ หมือนเดนิ บนพน้ื ดินฉะนั้น อธษิ ฐานใหอากาศเปน ดินแลว นั่งขัดสมาธิลอยไปบนอากาศไดเหมอื นนกฉะน้ัน นอกจาก นงั่ ขัดสมาธิแลวจะเดินยนื นั่งนอนไปในพื้นอากาศอยา งปกติเหมอื นบนดินก็ได อธษิ ฐานใหดวง จันทรด วงอาทิตยมาอยูใกลๆ มือแลว ลูบคลําจับตองดว ยมือเลน ได เหมอื นคนจับตอ งลูบคลาํ รปู อยา งใดอยา งหนึง่ ซงึ่ อยูใกลๆ มอื ฉะน้ัน และอธษิ ฐานใหท ไ่ี กลเปนใกล ทใ่ี กลเปน ไกล ของมากให นอ ย ของนอ ยใหมาก ตองการเห็นรปู พรหมดวยทิพยจักษกุ ็ได ตองการฟง เสยี งพรหมดวยทิพ- ยโสตก็ได ตอ งการูจิตของพรหมดวยเจโตปริยญาณกไ็ ด ตอ งการไปพรหมโลกแลว อธิษฐานใหกาย เหมอื นจิตใหจิตเหมอื นกายแลว ไปพรหมโลกโดยปรากฏกายก็ได ไมปรากฏกายก็ได เนรมิตรปู ให มอี วัยวะครบถว นอนิ ทรียบ รบิ รู ณส าํ เร็จดว ยใจแลวไปปรากฏทพ่ี รหมโลกก็ได ถา จาํ นงจะเดนิ ยืน นัง่ นอนในพรหมโลกน้ันก็ทําได ถา จํานงจะบงั ควนั ทาํ เปลวเพลิง แสดงธรรมถามปญหาแกป ญหา ยนื พูดจาสนทนากบั พรหมกท็ ําไดท กุ ประการ อยางนี้แลเรียกวาอธิษฐานฤทธ.์ิ ๒. วิกุพพนาฤทธิ์ ฤทธ์ิที่ตองทําอยา งผาดแผลงนัน้ ทานยกตวั อยางพระสาวกของสมเดจ็ พระสขิ ีสมั มาสัมพทุ ธเจา มีนามวา อภิภู ไปยนื อยูในพรหมโลกแลว ยงั พันโลกธาตใุ หรแู จง ทางเสยี ง คือใหไดย ินเสยี ง ปรากฏกายแสดงธรรมบา ง ไมปรากฏกายแสดงธรรมบา ง ปรากฏแตกงึ่ กายทอน ทิพยอาํ นาจ ๗๖
บนแสดงธรรมบาง ทา นละเพศปกติเสียแลว แสดงเพศเปนเดก็ บา ง เพศนาคบา ง เพศครุฑบา ง เพศ ยักษบ า ง เพศอสูรบา ง เพศพระอนิ ทรบ าง เพศเทพเจา บา ง เพศพรหมบา ง เพศสมุทรบา ง เพศ ภเู ขาบา ง เพศปาบา ง เพศราชสหี บาง เพศเสอื โครงบา ง เพศเสือเหลืองบา ง แสดงกองทัพเหลา ตางๆ คือ พลชาง พลมา พลรถ พลเดนิ เทา บาง อยางนี้เรยี กวา วิกุพพนาฤทธ์ิ ในพทุ ธสมัยแหง พระผมู พี ระภาคของเราก็ปรากฏวา มพี ระสาวกแสดงฤทธิช์ นิดน้ีเหมอื นกัน แมพระภิกษทุ ย่ี งั เปน ปถุ ชุ นก็ทาํ ได เชนพระเทวทัตทําฤทธิ์ชนดิ น้ีใหพระเจาอชาตศตั รูเมือ่ ยงั เปนยพุ ราชเกดิ เลื่อมใสจน ไดค บคดิ กันทาํ อนันตริยกรรมอยา งโหดรา ยเพราะความโลภ แลวถึงความวบิ ัติฉบิ หายในปจจบุ นั ทันตา เวนแตพ ระเจา อชาตศัตรเู ทา นั้นท่กี รรมมิใหผ ลทนั ตาเหน็ เพราะกรรมไมรา ยแรงเทาพระ เทวทัต ท้ังรพู ระองคท ันแลวรบี แกไข กอนท่กี รรมจะใหผลในปจ จุบนั ตอ มาเมือ่ พระบรมศาสดา เสด็จปรินพิ พานแลว ก็ทรงไดเ ปนเอกอคั รพทุ ธศาสนูปถัมภก ยกสงั คายนาพระธรรมวินยั ครงั้ แรก ดวย จงึ ทาํ ใหก รรมหนักกลายเปน เบาไดบาง. ๓. มโนมยั ฤทธิ์ ฤทธิส์ าํ เร็จดวยกาํ ลังใจนี้ จดั เปนทิพยอาํ นาจอีกประการหนง่ึ ตา งหาก จะ ไดอธบิ ายภายหลัง. ๔. ญาณวปิ ผาราฤทธิ์ ฤทธ์ิสาํ เรจ็ ดวยกาํ ลังญาณนนั้ ทา นแสดงไววา การละความสาํ คญั วาเทย่ี ง เปนสขุ อัตตา ฯลฯ ไดส าํ เร็จดว ยปญ ญาเห็นตามเปนจรงิ ของสงั ขารวาไมเทย่ี ง เปนทุกข เปนอนัตตา ฯลฯ น้ันเปนฤทธป์ิ ระเภทหน่ึง รวมความวา วิปสสนาญาณก็เปน ฤทธ์ิ เพราะสําเรจ็ กิจ กําจดั กิเลสได. ๕. สมาธิผาราฤทธิ์ ฤทธสิ์ าํ เรจ็ ดวยอํานาจสมาธิน้ัน ทานแสดงไววา การละนวิ รณได สาํ เรจ็ ดวยปฐมฌาน ฯลฯ การละอากญิ จัญญายตนสญั ญาไดสาํ เร็จดวยเนวสัญญานาสญั ญายตน สมาบตั ิ กจ็ ัดเปนฤทธ์ิอีกประการหนึง่ รวมความวา ฌานสมาบตั ิซง่ึ ทําหนาที่กําจัดกเิ ลสหรอื อธรรม อนั เปน ขาศึกของสมาบัติใหส ําเรจ็ ได กจ็ ัดเปน ฤทธ์ิดวย ฉะน้ัน ผูบรรลฌุ านแมแตป ฐมฌานกช็ อ่ื วา สําเรจ็ ฤทธป์ิ ระเภทน้ีแลว . ๖. อริยฤทธิ์ ฤทธิ์สําเร็จดว ยวิสัยของพระอริยเจานนั้ ทานแสดงตวั อยางไวว า สามารถ กาํ หนดความไมรังเกียจในสิง่ นา เกลียด สามารถกําหนดความรงั เกยี จในส่ิงไมนา เกลยี ด สามารถ กาํ หนดความไมรงั เกียจท้งั ในสง่ิ นาเกลยี ด-ทง้ั ในสิ่งไมนาเกลยี ด สามารถกาํ หนดความรังเกียจทั้ง ในสิ่งไมน า เกลียด-ทั้งในส่ิงนา เกลียด และสามารถวางใจเปน กลางอยางมีสติสัมปชญั ญะ ทงั้ ในส่ิง นา เกลยี ดและไมนาเกลยี ดน้ันได ทานอธบิ ายวา เปนดว ยอํานาจเมตตา หรอื เห็นเปนธาตไุ ปจงึ ไม รงั เกยี จ และในดา นรงั เกยี จน้ันเปนดว ยอาํ นาจการเหน็ โดยเปนสิง่ ไมงามหรอื ไมเ ท่ยี ง สวนสามารถ วางใจเปนกลางไดน้ัน ทา นวามีอุเบกขาในอารมณ ๖ โดยปกตซิ ึ่งเปนคุณลกั ษณะของพระอรหนั ต โดยเฉพาะ บคุ คลผมู คี วามสามารถบงั คบั ความรูสกึ ของตนไดด ีนั้นทา นยอมยกใหพ ระอรยิ เจา เพราะไดผ า นการฝกฝนอบรมจติ ใจมาอยา งดแี ลว ปถุ ุชนไมส ามารถบงั คับความรสู กึ ของตนไดดี เหมือนพระอริยเจา ฉะนั้น ความสามารถบังคับความรูสึกของตนไดจ งึ จดั เปนฤทธ์ิประเภทหน่งึ ซง่ึ เปน ผลของการประพฤตธิ รรมทางพระพทุ ธศาสนา เปนฤทธ์ปิ ระเสริฐโดยฐานะเปน เคร่ือง ปอ งกันตัวอยูทกุ เมอ่ื . ทิพยอาํ นาจ ๗๗
๗. กมั มวิปากชาฤทธ์ิ เกดิ แตผ ลกรรม ทานยกตัวอยา งไววา เปน ฤทธ์ิของนกทง้ั ปวง เทพ เจาทัง้ มวล มนษุ ยบ างจําพวก และวินบิ าตบางเหลา แตทา นมไิ ดช้ลี งไปวา ไดแ กฤทธ์ิเชนไร ขา พเจาจะวาดภาพพอนึกเห็นดงั น้ี ธรรมดานกบนิ ไปในอากาศไดท ัง้ หมด ความสามารถเชนนไ้ี มมี ในสัตวด ริ ัจฉานเหลา อ่ืน แมใ นหมูมนุษยธรรมดาก็ไมมี จงึ จดั วาเปน ฤทธชิ์ นิดหนง่ึ ซึง่ มใี นหมนู ก เทพเจา ทัง้ ปวงเปนกาํ เนดิ วเิ ศษไมตอ งนอนในครรภข องมารดา เกิดปรากฏเปนวญิ ูชนทันที ไปมา ในอากาศไดโดยปกตธิ รรมดา แสดงกายใหป รากฏกไ็ ด ไมใหป รากฏก็ได ความสามารถเชนนี้ไมมีใน สัตวประเภทอืน่ จงึ จัดเปน ฤทธโิ์ ดยกําเนิดของเหลาเทพเจา สวนฤทธิ์ของมนุษยบางจําพวกนนั้ เหน็ จะหมายความสามารถเกิดคนธรรมดาในบางกรณี เชน เมอ่ื ไมนานมาน้ี มีขาวในหนา หนงั สอื พิมพวา มเี ดก็ หญงิ อายุ ๑๐ กวา ขวบ สามารถรอ งเพลงและเลนเปยโนไดดกี วา คนทฝ่ี กหัด มาตั้งนานๆ โดยที่เดก็ หญงิ คนนั้นไดรับการฝกหัดเพียงเล็กนอ ยเทาน้นั เปนที่ตื่นเตนกันในชาว ตา งประเทศวาเดก็ หญิงคนนน้ั คงเคยเปน นกั รองเพลงและดนตรีมาแลว แตชาตกิ อนเปนแน จึง สามารถทาํ ไดด ีในช่ัวเวลาเลก็ นอ ยเชนนี้ สว นวินิบาตนัน้ เปนกําเนิดของผตู กต่าํ จําพวกหน่ึง มที ุกข เบาบางกวา เปรตบางจําพวก คงเน่อื งแตพ ลั้งพลาดในศลี ธรรมเพยี งเลก็ นอ ย แลวตกตาํ่ ไปสูกาํ เนดิ นั้น ความดที ที่ าํ ไวย ังตามไปอุปถัมภอ ยู ทําใหเ ปนผูมีฤทธิเ์ ดชคลายเทพเจา ในบางกรณี ฤทธิ์ ดงั กลาวมาน้ีถาไมยอมยกใหว า เปน ผลของกรรมเกา ที่ทาํ เอาไวแ ตช าติกอนแลว ก็ไมท ราบวา จะยก ใหเ ปนอาํ นาจของอะไรดี เพราะไมปรากฏวา มีการฝก ฝนอบรมเปน พิเศษในปจจบุ นั ท่ีจะทาํ ใหมี ความสามารถเชน น้ัน. ๘. ปญุ ญฤทธ์ิ ฤทธิ์ของผมู ีบุญ ทา นยกตวั อยา ง เชน พระเจา จกั รพรรดิสามารถเสด็จพา จาตรุ งคนิ ีเสนา ตลอดถงึ คนเลีย้ งมาเหาะไปในอากาศได โชตยิ เศรษฐี ชฎลิ เศรษฐี เมณฑกเศรษฐี และโฆสิตเศรษฐใี นสมัยพทุ ธกาล มบี ญุ สมบตั ิเกดิ ขึน้ ผิดประหลาดกวา มนุษยธ รรมดา มิไดออกแรง ทํามาหากนิ แตม สี มบัตมิ ัง่ คั่ง ทัง้ ไมม ใี ครสามารถไปลักแยง เอาไดด วย เรอื่ งบุญฤทธ์ินเี้ รายอมรบั กันวา มไี ด เชน พระมหากษัตราธริ าชเจา ผูมีบญุ ญาภิสมภาร ในประวัตศิ าสตรข องชาติไทยหลาย พระองค ท่ีทรงมพี ระประวตั มิ หัศจรรย เชน สมเด็จพระรว งเจา กรงุ สโุ ขทยั , สมเดจ็ พระนเรศวร มหาราช, สมเด็จพระนารายณม หาราช, สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช, สมเดจ็ พระปยมหาราช เจา ร.๕ เปน ตน แมในหมสู ามญั ชนเราก็ยอมรบั กันวา คนผจู ะไดด ีมสี ุขนน้ั นอกจากการทาํ ดีใน ปจ จุบนั แลว ยอ มตองอาศยั บุญบารมอี ุดหนุนดวย จนมีคตวิ า “แขง อะไรแขง ได แตแขง บุญวาสนา แขง ไมไ ด” ดงั น้ี บญุ ทท่ี าํ ไวแตชาติกอนยอมตดิ ตามอุปถัมภบ คุ คลผูทาํ ในที่ทกุ สถานในกาลทกุ เมอื่ สงผลใหเ ปนบุคคลดีเดนในหมูชนเกนิ คาดหมาย สมพอเสยี ก็ไมเ สีย สมพอตายกไ็ มตาย ผูเชอ่ื มนั่ ใน บญุ ไดผ กู เปนคําสุภาษติ ไวว า “เมื่อบุญมาวาสนาชวย ทีป่ วยกห็ าย ท่ีหนายก็รกั เม่ือบญุ ไมมา วาสนาไมช ว ย ท่ปี ว ยกห็ นกั ที่รักก็หนาย” ดังน้ี อํานาจบุญวาสนาทา นจงึ จัดวาเปน ฤทธ์ิประเภท หน่งึ ดว ยประการฉะนี้. ๙. วชิ ชามยั ฤทธิ์ ฤทธิ์สาํ เรจ็ ดว ยวิทยา ทานแสดงตัวอยา งไววาวทิ ยาธร รายวทิ ยาแลว เหาะไปในอากาศได แสดงกองทัพคือพลชาง พลมา พลรถ พลเดินเทา ในทอ งฟาอากาศได ในสมยั ปจจบุ นั เรามีพยานในขอนอ้ี ยา งดีแลว คือผูท รงคณุ วิทยาในวทิ ยาศาสตรแขนงตา งๆ ไดสาํ แดงฤทธิ์ ทิพยอํานาจ ๗๘
เดชแหง คุณวทิ ยาประเภทนั้นๆ ใหป ระจกั ษแ กโลกมากมาย เชน สรา งอากาศยานพาเหินฟาไปได สรางเคร่ืองสงและรับวิทยุสามารถสง เสยี งไปปรากฏทุกมุมโลก เม่ือตงั้ เคร่ืองรับยอมสามารถรบั ฟง เสยี งน้นั ได และสามารถสรา งเคร่ืองสงและรับภาพในทไ่ี กลไดเชนเดยี วกับสง และรบั เสียง ฯลฯ เปนอันรับรองกันวา ฤทธิ์ประเภทนม้ี ไี ดแนแ ลว . ๑๐. สัมมปั ปโยคปจ จัยอิชฌนฤทธิ์ ฤทธสิ์ าํ เร็จเพราะการประกอบกิจชอบ ทานอธิบายวา ไดแกก ารละอกุศลมกี ามฉนั ทะเปน ตนไดดวยคุณธรรมมเี นกขมั มะเปนตน เปนผลสาํ เร็จอยางสูง ไดแกก ารละสรรพกเิ ลสไดด วยพระอรหตั มรรคเปนผลสาํ เร็จ จดั เปนฤทธิ์ประเภทหน่ึง. ฤทธิป์ ระเภทน้ี คลา ยฤทธป์ิ ระเภทหมายเลข ๔–๕ ซงึ่ กลา วมาแลว แตป ระเภทนี้กวางกวา โดยหมายถงึ คณุ ธรรมทั่วไป อันมอี ํานาจกําลังกาํ จัดความชัว่ ได เมือ่ ความดที าํ หนา ที่กาํ จัดความช่ัว ไปไดข ั้นหน่งึ ๆ ก็จดั วาเปนฤทธห์ิ นนึ่งๆ ในประเภทน้ไี ด สวนฤทธป์ิ ระเภทหมายเลข ๔-๕ น้ัน หมายถงึ อํานาจวิปสสนาปญ ญากบั อํานาจฌาน เฉพาะทท่ี าํ หนา ทีก่ ําจัดปจจนกึ ของตนโดยตรง เทานนั้ ฉะนั้น บคุ คลผปู ระกอบคณุ งามความดสี าํ เรจ็ กําจัดความชวั่ ออกจากตัวไดแมส ักอยา ง หน่ึงก็ชอื่ วามีฤทธิใ์ นประเภทน้ีบางประการแลว เมือ่ บรรลถุ งึ พระอรหัตตผลก็ชอื่ วา มฤี ทธ์ิประเภทนี้ อยา งสมบูรณทันท.ี บรรดาฤทธิ์ ๑๐ ประเภทน้ี ฤทธิท์ ปี่ ระสงคจ ะกลา วในทิพยอาํ นาจขั้นตนน้ี ไดแกฤทธิ์ ๓ ประเภทขางตน เทานนั้ ฤทธ์ิประเภทหมายเลข ๓ ไดย กข้นึ เปนทิพยอํานาจประการหน่ึงตา งหาก จึงยังเหลอื สําหรับทพิ ยอาํ นาจขอ น้เี พยี ง ๒ ประเภท คือ อธิษฐานฤทธ์ิ กับ วิกพุ พนาฤทธ์เิ ทานน้ั ฉะนั้น จะไดอธิบายลกั ษณะ เหตุผล พรอ มดว ยอทุ าหรณ และวธิ ปี ลกู สรา งทิพยอาํ นาจ ๒ ประเภท นต้ี อไป. อธิษฐานฤทธิ์ ปรากฏตามนิเทศท่ีทา นแจกไวมี ๑๖ ประการ คอื ๑. พหุภาพ ไดแกก ารอธษิ ฐานใหคนๆ เดยี วปรากฏเปนมากคน มจี าํ นวนถึงรอ ย พนั หม่ืน คนกไ็ ด ทานยกตัวอยางทา นพระจฬู ปน ถกเถระ มเี รอ่ื งเลา วา พระมหาปนถกเถระผูพี่ชายของ พระจูฬปนถกเถระ ไดออกบวชในพระธรรมวินยั ของพระศาสดา เมื่อไดล ุถึงยอดแหงสาวกบารมี แลว นึกถึงนองชาย จงึ ไปนาํ มาบวชในพระธรรมวินยั ดวย นอ งชายคอื พระจฬู ปนถกเถระน้ันปรากฏ วา สติปญญาทบึ พ่ชี ายใหเ รียนคาถาสรรเสรญิ พระพทุ ธเจาเพยี งคาถาเดยี ว ตั้ง ๔ เดือนกจ็ ะไมไ ด พ่ีชายจงึ ขบั ไลไ ปตามธรรมเนยี มอาจารยกับศษิ ย พระบรมศาสดาทรงทราบวาเปน ผูมีอุปนิสัย หากแตมกี รรมบางอยา งขดั ขวางอยูเล็กนอ ยจงึ ทาํ ใหเ ปน คนทบึ ในตอนแรก แตตอไปจะเปนผู เปรื่องปราดได จงึ เสดจ็ ไปรับมาอบรม ทรงประทานผาขาวผืนหนง่ึ ใหถือบรกิ รรมวา รโชหรณํ ๆ เรื่อยไป ทา นปฏบิ ัติตามพระพุทธโอวาทนั้น ไดเ ห็นมลทนิ มอื ตดิ ผา ขาวเศราหมองขึ้น เกิดวิปสสนา ญาณแจงใจขึ้นทันทีน้ันเอง เมื่อเจรญิ วิปสสนาญาณไมทอถอยทา นกล็ ถุ ึงภูมพิ ระอรหัตตผล เกิด ความรอบรทู ัว่ ถงึ ในพระไตรปฎก และไดรบั ยกยองจากพระบรมศาสดาในภายหลงั วา เปน ยอดของ ผเู ชยี่ วชาญทางเจโตววิ ฏั คอื การพลิกจติ พ่ีชายคงยังไมท ราบวานอ งชายลถุ งึ ภูมิพระอรหตั แลว เม่ือมผี ูม านิมนตสงฆไปฉันภตั ตาหารในบาน ทา นก็มไิ ดนับนองชายเขา ไปในจํานวนสงฆ เม่อื พระ บรมศาสดาพรอ มดว ยสงฆป ระทบั ณ ทีน่ มิ นตแ ลว ทรงตรวจดไู มเ ห็นพระจูฬปนถกเถระจงึ ตรัส ทิพยอาํ นาจ ๗๙
บอกทายกวายังมีพระตกคา งอยูใ นวัดรปู หนง่ึ ทายกก็ใหไปนมิ นตมา คร้ันผูไปถึงวัด แทนทจี่ ะเห็น พระรปู เดยี วดงั่ พระพทุ ธดํารสั กก็ ลับเหน็ พระตั้งพนั รูป นงั่ ทาํ กจิ ตางๆ กันเต็มรม ไม ไมทราบจะ นิมนตองคไ หนถกู จึงกลบั ไปกราบทูลใหท รงทราบ ตรัสส่ังใหไ ปนิมนตใ หมร ะบุชอ่ื พระจฬู ปนถก เถระ ทายกก็ไปนิมนตอีก พอไปถึงกร็ ะบชุ ื่อตามตรสั สง่ั วาขอนิมนตไ ปฉันภัตตาหาร พอจบคาํ นิมนตก ็ไดยนิ เสียงตอบข้ึนพรอมกันตง้ั พันเสียงวาตนชื่อพระจฬู ปนถกเถระ ทายกก็จนปญญาไม ทราบวา จะนิมนตอ งคไหนอีก จงึ กลบั คืนไปเฝา กราบทูล ทีนีต้ รสั สง่ั วา จงมองดูหนา ๑ องคไหนหนา มเี หง่ือใหไปจบั มอื องคนน้ั มา ทายกไปนมิ นตและปฏบิ ตั ติ ามท่ตี รสั สั่ง ก็ไดพ ระจูฬปน ถกเถระมาด่งั ประสงค ทนั ทีนั้นเอง พระจาํ นวนต้ังพนั องคก็หายวับไป คงมพี ระองคเ ดยี วคือพระจูฬปนถกเถระ เทา น้ัน ทายกเห็นแลวเกดิ อัศจรรยข นพองสยองเกลาจงึ นําความกราบทลู พระบรมศาสดา ตรสั วา เปนวสิ ัยของภิกษุผมู ีฤทธิ์ในพระธรรมวินัยน้ี เรือ่ งนีเ้ ปนตัวอยา งในอิทธปิ าฏหิ ารยิ พหภุ าพ แม พระบรมศาสดากท็ รงทาํ เชน ในคราวทํายมกปาฏหิ าริย ทรงเนรมิตพระองคข้นึ หลายหลาก ลวน ทรงทาํ กิจตางๆ กันในทอ งฟาเวหาหนดั่งกลาวไวในบทนาํ การทาํ ฤทธิพ์ หุภาพนใ้ี ชมโนภาพเปน เครอื่ งนําทาํ ใจใหส งบ แลว อธิษฐาน กเ็ ปน ไดดัง่ นั้นทันที จะกําหนดใหเปนกรี่ อ ยกพ่ี นั และจํานวน เทาไร ใหทาํ กจิ อะไร กก็ าํ หนดตามใจแลว อธิษฐานใหเ ปน เชน นั้น. ๒. เอโกภาพ ไดแกก ารอธิษฐานใหคนมากกลับเปนคนเดียว เปน วิธีตรงกนั ขามกับพหุ- ภาพ และตอ งทําคูกนั เสมอไป คือเมอื่ ทาํ ใหมากแลวก็อธษิ ฐานกลับคนื เปน คนเดียวตามเดิม สวน คนมากจรงิ ๆ ทาํ ใหป รากฏเพียงคนเดยี วหรือนอ ยคนนน้ั จะตอ งใชวิธกี ําบังเขาชวย คอื ปดบงั มิให มองเห็นคนอนื่ ๆ มากๆ ใหเห็นแตเพียงคนเดียวหรือนอ ยคน วิธีนจ้ี ะไดก ลา วในขอ อ่นื ตวั อยาง อิทธิปาฏหิ าริยเ อโกภาพนีก้ ไ็ ดแกพ ระจูฬปนถกเถระน่ันเอง จงึ เปน อนั ไดความชัดวา เอโกภาพ หมายถึงอธษิ ฐานกลับคนื เปนคนเดยี วนั่นเอง. ๓. อาวภี าพ ไดแกการอธิษฐานใหทก่ี าํ บังเปนที่เปดเผย ดงั่ ทพ่ี ระบรมศาสดาทรงทาํ ใน คราวเสดจ็ ลงจากดาวดงึ ส ทรงอธษิ ฐานใหโลกท้งั สน้ิ สวางไสวทั่วหมด ทําใหม นุษยแ ละเทวดาเหน็ กนั ได ท่ีเรียกวาปาฏหิ าริยเปดโลก ดังเลา ไวในบทนาํ นนั้ แลว. ปาฏหิ ารยิ อาวีภาพน้ี ใชอ าโลกสิณเปน เคร่อื งนําทาํ ใจใหสงบเปนฌาน แลวอธษิ ฐานดวย ญาณวา จงสวา ง กําหนดไวในใจใหสวางเพยี งใดกจ็ ะสวางเพียงนนั้ ทนั ที ถา กําหนดใหสวางหมดทั้ง โลก โลกทง้ั สนิ้ กจ็ ะสวางไสว แมจ ะอยูไ กลกนั ตงั้ พันโยชนกจ็ ะแลเห็นกันไดเ หมือนอยูใกลๆ กัน ฉะน้ัน. ๔. ตโิ รภาพ หรอื กาํ บัง-หายตัว ไดแ กการอธษิ ฐานที่โลง แจง ใหเ ปน ทมี่ ีอะไรกําบัง เชนให มีกําแพงก้ันเปน ตน ด่ังพระบรมศาสดาทรงทําปาฏหิ ารยิ จงกรมในนา้ํ คราวไปทรมานปรุ าณชฏิล และคราวทรงกําบงั มใิ หพ ระยศเถระกบั บิดาเห็นกัน ซึ่งไดเลาไวใ นบทนํานั้นแลว. ปาฏหิ ารยิ ติโรภาพนี้ ใชม โนภาพนกึ ถงึ เครือ่ งก้ันโดยธรรมชาติ เชน ฝากําแพงเปนตน เปน เคร่ืองนํา หรือใชกสิณ เชนนลี กสิณ หรอื อากาสกสณิ เปน เคร่ืองนําก็ได เพอื่ ทาํ ใจใหสงบเปน ฌาน .......................................................................................................................................................... ๑. ในอรรถกถาธรรมบท องคไหนขานกอ นใหจบั ชายจีวรขององคน ั้น. ทิพยอํานาจ ๘๐
แลวอธิษฐานดวยญาณวา จงกําบงั ดงั น้ี กจ็ ะสําเร็จดงั อธษิ ฐานทนั ท.ี ๕. ติโรกุฑฑาสัชชมานภาพ หรือลองหน ไดแกก ารอธิษฐานทที่ บึ ซ่งึ มอี ะไรกน้ั กางอยูโดย ธรรมชาติ เชน ฝา กาํ แพง ภูเขา ใหก ลายเปน ท่ีโปรง สามารถเดินผา นไปไดดั่งในทีว่ า งๆ ฉะนั้น อทุ าหรณใ นขอนี้ยังไมเคยพบจะมีผูทําหรอื ไมไ มท ราบ แตนาจะทาํ ไดเชนเดียวกับอาวีภาพ ปาฏหิ ารยิ เปนแตปาฏิหารยิ นใ้ี ชอากาสกสิณเปนเครื่องนําทําใจใหส งบเปนฌานแลว อธิษฐานดวย ญาณวา จงเปน อากาศ ก็จะเปน ไดด่งั อธิษฐานนนั้ ทนั ที พระอาจารยภ ูรทิ ตั ตเถระ (มน่ั ) เคยเลา ให ฟง วา เมอื่ คราวทานไปอยูถ้ําเชยี งดาว จังหวดั เชยี งใหม เม่ือไปอยแู รกๆ รูส ึกอึดอดั คบั แคบท้งั ๆ ถํา้ นั้นกก็ วา งพอสมควร ทานจงึ เขา อากาสกสิณเบกิ ภูเขาทัง้ ลูกใหเ ปน อากาศไป๑ จึงอยไู ดส บาย ไม รสู กึ อดึ อดั เหมือนแรกๆ แตทา นมไิ ดเลาวาสามารถเดนิ ผานภูเขาไปไดหรือไม? ผชู ํานาญทาง อากาสกสณิ นาจะทดลองทําดูบาง นา จะสนุกดี. ๖. ปฐวอี มุ มุชชภาพ หรอื ดําดนิ ไดแกการอธษิ ฐานแผน ดินใหเ ปนแผนนาํ้ แลว ลงดําผดุ ดาํ วายไดสนุกๆ เหมือนทําในนํา้ ธรรมดาเชนน้ัน ตัวอยางในขอนีย้ ังไมเ คยพบ ไดพบแตคาํ กราบ ทลู ของนางอบุ ลวรรณาเถรี ในคราวที่พระผูมพี ระภาคจะทรงทํายมกปาฏิหาริยว า นางสามารถทํา ได แลวทลู อาสาจะทําปาฏหิ าริยแทนพระบรมศาสดา เพ่ือใหเดยี รถียและมหาชนเกดิ อัศจรรยวา แมแตสาวิกาของพระผูมพี ระภาคเจา ก็มฤี ทธนิ์ าอศั จรรยเพียงน้ี แลว พระบรมศาสดาจะมีฤทธ์นิ า อัศจรรยเพียงไหน. ปาฏหิ ารยิ ข อ น้ีบงชัดแลว วา ตองใชอ าโปกสณิ เปนเครอ่ื งนํา ทําใจใหสงบเปนฌาน แลวจึง อธษิ ฐานดว ยญาณวา จงเปนนา้ํ กจ็ ะเปน ไดดัง่ อธิษฐานทนั ที. ๗. อทุ กาภชิ ชมานภาพ หรอื ไตนํ้า ไดแ กก ารอธิษฐานนาํ้ ใหเปนแผนดิน แลว เดนิ ไปบนนา้ํ ไดเหมือนเดินบนแผนดนิ ฉะน้ัน ขอนกี้ ไ็ มป รากฏมีอุทาหรณ คงเนื่องดวยหาที่นาํ้ ทาํ ปาฏิหารยิ ขอน้ี ไมไ ดกระมงั ! คร้ังหนง่ึ พระบรมศาสดากบั พระสาวก เดินทางไปจะขา มแมน าํ้ แหงหนึ่ง ผูคนกําลัง สาละวนจดั หาเรอื แพเพอื่ สงขามแกพ ระศาสดาและพระสาวก เม่อื จดั เสรจ็ พระบรมศาสดากบั พระ สาวกลงเรอื แลว ตรวจดูไมเ หน็ พระอกี ๒ รปู จึงคอยอยนู านก็ไมเ ห็นมา พระบรมศาสดาจึงตรสั วา ไมต องคอยผูที่ขา มไปแลว ครัน้ ขามไปถงึ ฝง โนนก็พบพระทง้ั สองรปู นน้ั นั่งรออยกู อนแลว สมจรงิ ด่งั พระพทุ ธดํารสั การขา มนา้ํ ของพระสองรปู นั้นปรากฏวา เหาะขามไป มไิ ดไตไ ปบนนา้ํ จงึ มใิ ช อุทาหรณข องปาฏหิ ารยิ นี.้ ปาฏหิ าริยขอนี้ บง ความแจมแจง อยวู า ตองใชปฐวีกสิณเปนเคร่อื งนําทําใจใหสงบเปนฌาน แลวจงึ อธษิ ฐานดวยญาณวา จงเปนแผนดิน ก็จะเปนไดดงั่ อธิษฐาน. ๘. อากาสจังกมนภาพ หรือปาฏิหารยิ เ หนิ ฟา ไดแกการอธษิ ฐานอากาศใหเ ปนแผนดิน แลว น่งั ขัดสมาธิบนอากาศได สาํ เร็จอริ ยิ าบถเดิน ยนื นง่ั นอน ไดเ หมอื นบนแผน ดนิ ฉะนนั้ อทุ าหรณในขอน้ีมมี าก พระผูมพี ระภาคเจาทรงทาํ มากครง้ั ครง้ั ทรงทาํ ยมกปาฏิหารยิ ก ็ทรงใช ปาฏหิ าริยน ้ปี ระกอบดว ย คอื ทรงเนรมติ พระองคขึน้ หลายหลาก ทาํ กจิ ตางๆ กนั บนนภากาศกลาง .......................................................................................................................................................... ๑. พระอาจารยม ัน่ เคยทําฤทธิ์หายตวั ใหดู และบอกวาใชอ ากาสกสิณเหมอื นกัน. ทิพยอาํ นาจ ๘๑
หาว บางทรงแสดงธรรม บา งทรงจงกรม บา งทรงนัง่ สมาธิ บา งทรงบรรทมสหี ไสยาสน เปนตน บน อากาศกลางหาวนนั้ เอง กอนหนา ที่จะไดทรงทาํ ยมกปาฏหิ ารยิ น ี้ มเี ร่ืองเลา วา พระมหาโมคคัล- ลานเถระกับพระปณ โฑลภารทวาชเถระ ไปบณิ ฑบาตดวยกัน ไดยนิ คําโฆษณาของเศรษฐีคนหนึ่ง วา เขายังไมป ลงใจเชื่อวา มพี ระอรหันตเ กดิ ขึ้นในโลก ถามจี ริงขอใหเ หาะเอาบาตรไมแ กนจันทนที่ แขวนอยูบนอากาศนี้ไป เขาพรอ มดว ยบตุ รภรรยาจะถวายตัวแกผนู น้ั ยอมเคารพนบั ถือ สกั การบูชาตลอดชีวิต ถาพน ๗ วนั ไปไมม ีใครเหาะมาเอาบาตรนไ้ี ด เขาก็จะลงความเหน็ วา ไมมี พระอรหนั ตใ นโลกแนแลว คาํ อวดอา งของสมณคณาจารยน นั้ ๆ วาเปนอรหันตเปนมสุ า เปนคาํ ลวง โลก ดัง่ น้ี ทานท้งั สองจึงปรกึ ษากันวาเราจะทําอยา งไรดี วันนก้ี เ็ ปนวันท่คี รบ ๗ วนั แลว ถา จะ ปลอยไป เขากจ็ ะปรามาสพระอรหันตเ ลน ได เพราะเศรษฐคี นน้ีมีอทิ ธิพล คนเช่ือถือถอยคาํ แกมาก อยู เขากจ็ ะพากันลบหลดู ูหมนิ่ สมณะทัง้ หลาย ไมส นใจฟงคําแนะนําสง่ั สอนตอ ไป เวนแตผมู ี สตปิ ญญารูจกั คดิ และพจิ ารณา ทา นทั้งสองลงความเหน็ วา ควรทาํ ปาฏหิ าริย เพ่ือปองกันเสย้ี น หนามได จึงวางภาระนใ้ี หแกพ ระปณ โฑลภารทวาชเถระเปน ผูทํา ทานไดใชป ลายเทา คบี แผนศิลา แผนใหญ พาเหาะลอยขึ้นไปในอากาศสงู ๗ ชวั่ ลําตาล เหาะลอยวนรอบพระนคร ๗ รอบ แลว ปลอยแผนศลิ าใหไ ปตกลงยังท่ีเดมิ ของมัน สว นตวั ทา นเหาะลอยไปเอาบาตรไมแกนจันทนย ัง เศรษฐคี นน้นั พรอมดว ยบตุ รภรรยาใหเลือ่ มใสในพระพทุ ธศาสนา มหาชนไดต ดิ ตามขอใหพระปณ - โฑลภารทวาชเถระแสดงอทิ ธิปาฏิหารยิ ม ปี ระการตางๆ อีกหลายคร้งั ความทราบถึงพระบรม ศาสดา จึงตรัสประชมุ สงฆสงั่ หามแสดงอทิ ธิปาฏิหารยิ พ รํา่ เพรื่อ ใหทุบบาตรแกนจันทนแจกกัน โดยตรสั วา เปนบาตรไมควรบริโภค พอขา วการทรงส่งั หามแสดงอิทธิปาฏิหาริยน ี้กระจายไป พวก เดยี รถยี นคิ รนถก ็ไดท า ทายเปนการใหญ โดยเขาใจวา เมอื่ ทรงหามพระสาวกมิใหแ สดงปาฏิหาริย แลว พระบรมศาสดาก็คงไมท รงแสดงอิทธิปาฏิหาริยเชนเดียวกัน แตเ ดียรถียนคิ รนถตอ งผดิ หวัง หมด เพราะพระบรมศรีสคุ ตทรงรบั จะแสดงอทิ ธปิ าฏหิ าริยแขง กับเดียรถยี นิครนถท ีม่ าทาทาย ดงั่ เรอื่ งปรากฏในยมกปาฏิหารยิ ทน่ี ํามาเลาไวในบทนาํ นั้นแลว พวกเดียรถียน ิครนถห ลงกลตก หลมุ พรางแทบจะแทรกแผนดินหนีกม็ .ี อทิ ธิปาฏิหารยิ เหินฟานี้ นอกจากใชป ฐวกี สิณเปน เคร่ืองนาํ ดงั กลา วแลว ทา นวา ใชลหภุ าพ คือความเบาเปนเครือ่ งนาํ กไ็ ด อธบิ ายวา เขา จตตุ ถฌานแลวอธิษฐานใหกายเบาเหมือนสาํ ลี แลว ลอยไปในอากาศได หรือลอยไปตามลมได เหมือนสําลีหรือปยุ นนุ ฉะนั้น เพราะลหสุ ัญญาปรากฏ ชัดในจตุตถฌาน คอื รสู กึ เบากายเบาจิต กายกโ็ ปรงบางเกือบจะกลายเปน อากาศอยแู ลว ยอ ม เหมาะทจี่ ะใชท าํ ปาฏหิ าริยข อนี้สะดวกดี. ๙. สันตเิ กภาพ ไดแกก ารอธษิ ฐานใหส ง่ิ ที่อยใู นที่ไกลมาปรากฏในท่ใี กล เชน อธษิ ฐานให ดวงจนั ทร ดวงอาทติ ย ซ่งึ อยูใ นที่ไกลมาปรากฏในที่ใกลๆ มอื แลว ลบู คลาํ จบั ตอ งได หรืออธษิ ฐาน ใหท่ีไกลเปน ทีใ่ กลท่ีเรยี กวา ยน แผน ดิน เชนสถานท่ีหางไกลหลายรอ ยโยชน อธิษฐานใหมาอยู ใกลๆ เดินไปประเดยี๋ วเดยี วก็ถึง เชนน้ีเปนตน. อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ น ี้ มีอทุ าหรณหลายหลาก เชน คราวท่พี ระบรมศาสดาเสด็จไปทรมาน ปรุ าณชฎลิ ไดเสดจ็ ไปบิณฑบาตถงึ อุตตรกุรุทวีป ซงึ่ เปนท่ไี กล กลับมาถึงพรอ มกับผูไปบณิ ฑบาต ทิพยอํานาจ ๘๒
ในท่ใี กลๆ ดังเลา ไวในบทนําน้นั แลว เมอื่ คราวทรงทาํ ยมกปาฏหิ าริยเสร็จ เสดจ็ ไปจาํ พรรษา ณ ดาวดึงส ปรากฏวา กา วพระบาทเพียง ๓ กาวกถ็ งึ ดาวดงึ สเทวโลก อนึ่ง ปรากฏในตาํ นาน พระพุทธเจา เสดจ็ เลียบโลกกว็ า ไดเสดจ็ ไปในท่ีตางๆ ซึ่งเปน ระยะทางหา งไกลมากในชวั่ เวลาไมก่ี วนั สุดวสิ ยั ทคี่ นธรรมดาจะเดินทางดวยเทา ไดไกลถึงเพียงน้ัน สถานบา นเมืองในแควนสุวรรณภูมิ มากแหง ไดม ีตํานานรับสมอางขอ น้ี เชน พระพุทธบาทสระบรุ ี กว็ าเสดจ็ มาประทบั เหยยี บรอยพระ พทุ ธบาทไวด วยพระองคเ อง รอยพระพุทธบาทตามรมิ ฝง แมนาํ้ โขงอกี หลายแหง เชนที่ เวินกุม โพนสนั เปน ตน กม็ ีตาํ นานรับสมอางเชนเดยี วกัน ทางภาคเหนอื กม็ รี อยพระบาทหลายแหง ทีม่ ี ตํานานเชนน้ี แตขาพเจาไมไ ดไ ปเห็นสถานท่ีเหลานั้นดวยตนเองท้งั หมด ทีส่ ระบุรี เวนิ กุม โพน สนั ขา พเจา ไดไปนมสั การ มผี ยู ืนยนั รับรองวา เสด็จมาประทับรอยพระบาทไวด วยพระองคจรงิ . อีกเร่ืองหนึง่ พระเถระรปู หน่ึงอยูเกาะลงั กา เวลาพระอาคันตุกะมาพักกะทานมาก ทานพา ไปบณิ ฑบาตถึงกรงุ ปาฏลบี ตุ รในอินเดีย โดยทาํ อิทธปิ าฏิหาริยย นแผนดินทะเลกน้ั ระหวางเกาะ ลงั กากบั อินเดีย ปรากฏแกพ ระภิกษผุ ไู ปดวย เปนลาํ คลองเลก็ ๆ น้าํ สเี ขยี วๆ เทา นน้ั ทา นเนรมติ เปนไมสะพานไตข ามไป ครั้นไปถงึ อินเดียแลว พระทไี่ ปดวยก็แปลกใจ จึงถามทา นวา เปนเมืองอะไร ทานบอกวาเมืองปาฏลีบตุ ร พระท่ไี ปดว ยตงิ วากป็ าฏลีบุตรอยใู นอนิ เดยี มิใชหรือ นเี่ ราอยูเกาะ ลงั กา ไฉนจึงจะมาถึงเมืองปาฏลบี ุตรไดชั่วเวลาไมนาน พระเถระบอกความจรงิ ใหท ราบดงั เลาไว เบื้องตน พระเหลานนั้ เกิดอศั จรรยขนพองสยองเกลา และไดความเช่ือม่ันในพระธรรมวินัย เปน พลวปจ จยั ใหเรง ความเพียรบาํ เพญ็ สมณธรรมยงิ่ ขึน้ จนไดบรรลุมรรคผลตามสมควรแกว าสนา บารมขี องตนๆ เรอ่ื งยนแผนดินไดน้ี แมใ นปจ จบุ นั ก็ปรากฏวามผี ูท ําได แตไ มอ าจนํามาเลา ไวใ น ท่ีน้ไี ด. อิทธิปาฏิหารยิ สนั ตเิ กภาพน้ี ใชม โนภาพเปนเคร่อื งนํา คอื นกึ เหน็ สถานทหี่ รอื สิ่งทอี่ ยูไกล น้นั ใหแจมชัด แลว อธษิ ฐานดวยญาณวา จงอยูใกล ก็จะเปน ไดด ง่ั อธษิ ฐานทันท.ี ๑๐. ทูเรภาพ ไดแ กก ารอธิษฐานใหท ใ่ี กลเปนท่ไี กล หรือใหส ่ิงทีอ่ ยใู กลไ ปปรากฏอยูไกล ด่ังในคราวทพ่ี ระผมู พี ระภาคเจา ทรงทรมานพระองคุลมี าลเถระเปนตวั อยา ง ดงั ไดเลา ไวในบทนาํ นน้ั แลว พระองคทรงพระดาํ เนนิ โดยปกติ แตพระองคุลีมาลเถระเมือ่ ยังเปน โจร ว่ิงตามจนสดุ ฝเ ทา ก็ไมท นั ปรากฏเห็นพระองคเ สด็จอยูในที่ไกลเสมอ จนถงึ รองตะโกนใหท รงหยุด อีกครั้งหนึ่งกาํ ลัง แสดงธรรมแกนางวิสาขามหาอบุ าสกิ า และหญงิ สหาย ๔ – ๕ คน หญิงเหลา น้ันซอ นสรุ าไปดื่มใน เวลาฟง เทศน เมอ่ื เมาเขา แลวทําทา จะฟอนรําตามวสิ ยั ของคนเมา พระบรมศาสดาทรงสงั เกตเห็น จึงทรงทรมานดวยอิทธิปาฏหิ าริยทูเรภาพ ทําใหหญิงเหลา น้นั ไปปรากฏอยใู นท่ีไกลสดุ สายตา จน เกิดความกลวั ตวั สัน่ งนั งก และสรางเมา จึงทรงทาํ ใหม าปรากฏในท่ใี กลต ามเดิม หญงิ เหลา นั้นทูล ขอขมาคารวะ และรับพระไตรสรณคมน ตงั้ อยูในศลี ๕ – ๘ ตลอดชวี ิต. ปาฏหิ ารยิ น ้ี ก็ใชมโนภาพเปนเครื่องนาํ เชนเดยี วกับสันติเกภาพ คอื นกึ เห็นสิ่งที่อยใู กลห รือ สถานทใ่ี กลใ หแจม ชัดในใจ และนึกเหน็ เปน อยูไกล แลวอธิษฐานดว ยญาณวา จงอยไู กล กจ็ ะ เปนไดด่ังอธษิ ฐานทนั ที. ทพิ ยอํานาจ ๘๓
๑๑. โถกภาพ ไดแกก ารอธษิ ฐานใหของมากปรากฏเปน ของนอยเพยี งนดิ หนอ ย๑ ขอน้ไี ม เคยพบตวั อยาง คงเปนเพราะไมมีเหตจุ ําเปน ใหทาํ ก็ได ปาฏหิ าริยนี้ ใชมโนภาพนกึ เห็นสงิ่ ของ มากมายเปน เพยี งนดิ หนอยใหแ จมชัดในใจ แลว อธษิ ฐานดวยญาณวา จงเปน นิดหนอย กจ็ ะเปน ได ด่ังอธิษฐาน หรอื จะใชปาฏิหารยิ ก าํ บังใหเ หน็ แตเล็กนอยกไ็ ดเ หมอื นกัน. ๑๒. พหกุ ภาพ ไดแกก ารอธษิ ฐานใหข องนอ ยปรากฏเปน ของมาก มตี ัวอยา งหลายหลาก เชน ในครง้ั หนึ่งพระบรมศาสดาตรสั สัง่ พระมหาโมคคัลลานเถระใหไ ปทรมานเศรษฐตี ระหน่ี ในกรงุ สาวัตถคี นหนึ่งไมปรากฏนาม เศรษฐีกบั ภรรยากําลงั ทอดขนมเบอ้ื งอยูช้ันบนของปราสาท โดย เกรงจะมผี ขู อกนิ พระมหาโมคคลั ลานเถระทาํ ปาฏิหารยิ เหาะไปปรากฏตัวอยใู นอากาศตรงชอง หนา ตา ง เศรษฐีเห็นแลวกไ็ มพ อใจ จงึ กลาวคาํ ประชดพระเถระ พระเถระกเ็ ฉย ในทสี่ ุดเศรษฐี ราํ คาญใจหนักขึน้ จงึ ตกลงใจแบง ใหค ร่ึงหน่ึง ๒ คนสามภี รรยาชวยกนั ดงึ จนเหงอ่ื ไหลไคลยอย กไ็ ม สามารถแบงขนมน้ันได ทัง้ นเ้ี ปนดวยอํานาจปาฏหิ าริยของพระเถระ เศรษฐจี งึ ตกลงใจถวายหมด ครั้นแลว พระเถระไมร ับ บอกวาพระบรมศาสดาพรอมดวยพระสงฆสาวก ๕๐๐ รูป กําลังน่ังรอฉัน อยูที่วัดพระเชตวัน ขอใหเศรษฐกี ับภรรยานาํ ไปองั คาสดวยตนเอง เศรษฐีอิดเอ้ือนอยูห นอ ยหนงึ่ แตแ ลว ก็ตกลงยอมไป พระเถระพาไปทางอากาศ ไปองั คาสพระบรมศาสดาและพระสงฆส าวก ๕๐๐ รปู ดวยขนมเบื้องเพียงแผน เดยี ว จนอิม่ หนาํ สาํ ราญหมดทกุ รูป คร้นั แลว ก็ยังปรากฏอยูเทา เดมิ เศรษฐจี ึงกราบทลู วา จะใหทาํ อยา งไรอกี ตรัสใหนําไปเททิ้งท่ีเงือ้ มใกลซุมประตูพระเชตวนั สถานท่ีน้ันเลยตอ งเรยี กวา เงอื้ มขนมเบอื้ งสบื มา เศรษฐกี บั ภรรยาเห็นความอัศจรรยใน พระพุทธศาสนา บังเกิดศรทั ธาเลอ่ื มใส ไดบ ริจาคทรัพยบ าํ รงุ พระพทุ ธศาสนามากมาย เรือ่ ง สาํ หรบั ปาฏิหาริยขอ น้ีมมี าก ถา จะนํามาเลา กจ็ ะยืดยาว. ปาฏิหารยิ น้ี ใชม โนภาพเปน เคร่อื งนาํ ทาํ ใจใหสงบเปนฌาน แลว อธิษฐานดว ยญาณวา จง มาก ดงั น้กี จ็ ะเปน ไดด่งั อธษิ ฐาน. ๑๓. กายวสกิ ภาพ ไดแกการโนมจติ และการอธิษฐานจิตใหเ ปน เหมือนกาย แลวหยั่งลงสู สุขสัญญา และลหสุ ัญญา ทําใหกายเบา แลว ไปปรากฏกายในพรหมโลกได ถาตองการสาํ เร็จ อิรยิ าบถ คอื เดิน ยืน นัง่ นอน ก็ทาํ ได ถา ตอ งการจะเหน็ พรหมดว ยทิพพจกั ษุกไ็ ด ฟง เสยี งพรหม ดวยทพิ พโสตก็ได รใู จพรหมดว ยเจโตปรยิ ญาณกไ็ ด ตองการสนทนาปราศรยั กับพรหมกไ็ ด ตอ งการแสดงธรรมถามปญหาแกปญหา หรอื ตองการทําอยางใดๆ ก็ทาํ ไดทกุ ประการ ณ พรหม- โลกนัน้ เรื่องนพี้ ระบรมศาสดาทรงทํา มีเรื่องเลาไวใ นพรหมนมิ ันตนกิ สูตร ทรงเลาวา เม่อื คราว เสด็จประทับท่ภี ควนั แควนอกุ กฏั ฐะ ทรงทราบความคดิ ผดิ ๆ ของทาวพกาพรหม จึงเสด็จไป พรหมโลกชั่วพริบตาเดียวกถ็ ึง แลว ไดสนทนากับพรหมถงึ เรือ่ งท่ีคดิ เห็นน้ันวาเปน ความเหน็ ท่ผี ดิ ทันทกี ม็ ีมารชว่ั ชามาขพู ระองคดวยประการตา งๆ เปนตนวา ผไู มเ คารพนบั ถือพระพรหม ตายแลว จะไปสกู ําเนิดกายทเ่ี ลว พระบรมศาสดาตรัสตอบดว ยพระวาจาท่ีสอวา ทรงรเู ทาทัน และตรสั วา พระองคเ ปน ผยู ิง่ กวา พรหม แลวเกดิ ทากนั ข้ึนวา พรหมจะหายไปใหพ ระองคต ามหา พรหมกห็ าย .......................................................................................................................................................... ๑. ทรงอธิษฐานบาตรท่ที า วจตุโลกบาลนาํ มาถวาย ๔ ใบใหเปน ใบเดียว. ทพิ ยอาํ นาจ ๘๔
ไปไมไ ด พระองคจ ึงตรัสทา วา จะหายไปใหพรหมตามหาบาง พรหมตามหาไมพ บ ทง้ั ๆ ทที่ รงแสดง ธรรมใหไ ดยินกอ งอยู พรหม พรหมปุโรหติ และพรหมปารสิ ัช เกิดอศั จรรยย อมยกใหวา ยง่ิ กวา พรหมจรงิ ๆ ทนี ั้นมมี ารช่ัวรายแทรกเขา มาขสู าํ ทบั อีก หามวา เม่ือรเู องดแี ลวก็อยา สอนผอู ่นี เพราะ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา ทั้งหลายทต่ี รสั รูม ากอนแลว ผูสง่ั สอนผอู ืน่ ตายแลวไปดาํ รงอยใู นกายเลว ผูไม สัง่ สอนผูอนื่ ตายแลว ไปดํารงอยูในกายประณีต เราเตือนทานเพราะหวงั ดี อยาสอนผอู น่ื ดงั นี้ พระบรมศาสดาทรงทราบวาเปน คาํ ของมารชวั่ รา ยแลวตรัสหามคําน้ัน ทรงยืนยนั วาทรงทราบ ธรรมดาของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา ท้ังหลายดีแลว จําตองสอนผอู น่ื จึงจะสมกบั ความเปน พระพุทธเจา ทรงนําเรอื่ งนีม้ าเลา ทวี่ ัดพระเชตะวัน กรุงสาวัตถี และตรสั สงั่ ใหเ รยี กวาพรหมนมิ นั - ตนกิ สูตร เพราะเปน ความเชอ้ื เชญิ ของพรหม มใิ ชของมารดังน้ี พระโบราณาจารยน าํ เรื่องนม้ี า ประพนั ธเ ปน คําฉันทถวายพระพรชัยมงคล ซง่ึ พระสงฆใชสวดพรพระอยูใ นทุกวนั น้ี๑ ทานยอ ใจความวา คราวทรมานพกาพรหมนน้ั ทรงใชพระคฑาวิเศษ คอื พระปรีชาญาณ ทรงทรมานพกา- พรหมพรอ มทงั้ บรษิ ัทใหล ะความเห็นผดิ ได นับเปนชัยชนะทเ่ี ลอ่ื งลอื โดง ดังคร้ังหนง่ึ . การไปพรหมโลกอยางปรากฏกาย เปน ปาฏหิ าริยท ีท่ ําไดยาก ตองมีเจโตวสี คอื มีอาํ นาจ ทางใจแรงกลา สามารถนอมนกึ ใหกายกับจติ มีสภาวะเทากนั ท้ังในทางความเบาและความเรว็ พรอมกบั การอธษิ ฐานใหเ ปนดังนั้นดว ย คร้ันแลว ตองเขาฌานช้ันทมี่ ีทั้งสขุ สัญญาและลหสุ ัญญา คอื ตติยฌาน จงึ จะไปพรหมโลกไดดงั่ ประสงค ถา จะเขา จตตุ ถฌานซง่ึ มแี ตลหสุ ัญญากจ็ ะเลยไป จะไมพ บหมูพรหมสมหมาย พงึ สังเกตวา ภูมขิ องฌานซง่ึ กําหนดไวเ ปนภมู ิของฤทธิ์นั้น เพื่อใหเ ลือก เขาฌานท่มี ภี ูมเิ สมอกนั กบั โลกท่มี ุง จะไป และฤทธ์ิท่ีมุงจะทํา ไมใหเขาฌานเลยภมู ไิ ป เชน จะไป เทวโลกซง่ึ บรบิ ูรณไ ปดว ยความสขุ แชมช่ืน ตองเขาปต ิสขุ ภูมิ คอื ทุตยิ ฌาน จงึ จะเห็นเทวโลก. การทําใหกายกบั จิตมีสภาวะเทากันน้ี อาจจะตรงกบั ท่ีทางโยคี (คือ ทานปตญั ชลี) กาํ หนด จิตโดยวสิ ยั ของกาย และอธิษฐานใหกายเบา สามารถเหาะลอยไปในอากาศชา ๆ คลายไปดว ยกาย ธรรมดาดงั่ น้ี. ๑๔. จติ ตวสิกภาพ ไดแ กการนอมกาย และอธษิ ฐานกายใหเปนเหมอื นจติ แลวหยงั่ ลงสู สุขสัญญาและลหุสัญญา แลวไปพรหมโลกโดยไมป รากฏกาย คร้นั แลวจึงเนรมติ รูปทสี่ ําเร็จดวยใจมี อินทรยี บริบูรณใหไ ปปรากฏเบอ้ื งหนาพรหม แลว ทาํ กิจตางๆ มสี นทนาเปน ตน กับพรหม ดังในขอ ๑๓ กท็ าํ ไดท กุ ประการ. ปาฏิหารยิ น ้ตี รงกันขามกบั ขอ ๑๓ คอื ขอน้ีใหน อมกายและอธษิ ฐานใหเ ปน เหมือนจิต ธรรมชาติจิตน้ันเบาและรวดเรว็ วอ งไว เม่ือกายมีวสิ ยั เทาจิตกย็ อมเบา รวดเร็วและวอ งไว ไมเปน วิสัยท่ใี ครๆ ผไู มม ตี าทวี่ ิเศษจะพงึ เหน็ ได ปาฏหิ าริยนอี้ าจจะตรงกับทที่ างโยคี (คอื ทา นปตัญชล)ี บญั ญตั ิไวว า ลหภุ าพนั่นเอง เขาอธบิ ายวา ทําใหก ายเบาและรวดเรว็ เทาจิต สามารถไปมาไดวอ งไว และผานไปไดในท่ีทกุ แหง ไมต ิดขัด เหมือนการไปมาของจติ ฉะนน้ั . วธิ ปี ฏิบัตใิ นขอ น้ี พงึ เทียบเคียงกบั ทก่ี ลา วไวในขอ ๑๓ นัน้ ทุกประการ. .......................................................................................................................................................... ๑. มผี ูสงสยั วาเหตไุ รจึงเรยี กวาถวายพรพระ พรมี ๒ ประเภทคอื พรพระกบั พรเทวดา บทพาหุ เปน ตน เปนพรพระ. ทพิ ยอาํ นาจ ๘๕
๑๕. ธูมายกิ ภาพ หรือบังควนั ไดแกการอธิษฐานใหบงั เกิดเปนควันกลุมคลมุ ตวั ไว เพ่อื ปด บังมิใหอ ีกฝายมองเห็นตวั โดยมากใชทรมานพวกนาค ซง่ึ เปน พิษราย ปาฏิหาริยนใ้ี ชนลี กสณิ ก็ ได ใชมโนภาพนกึ เอาควนั ไฟซึ่งเปนไปตามธรรมชาตินนั้ ก็ได มาเปนอารมณ ทําใจใหส งบเปน ฌาน แลว อธิษฐานดวยญาณวา จงเปน ควัน กจ็ ะเปน ไดดัง่ ประสงค. ๑๖. ปชชลกิ ภาพ หรือเปลวเพลงิ ไดแ กการอธิษฐานใหเ กดิ เปลวเพลงิ ลุกรงุ โรจนโ ชตนา การทวมตวั เปน ปาฏิหารยิ ที่ใชท รมานนาครา ยโดยมาก เชนเดยี วกับขอ ๑๕ ธรรมดานาคกลวั ไฟ ใชป าฏิหารยิ นที้ รมานยอมไดผล ทําใหเขากลัวและยอมออ นนอ มไดง าย. ปาฏหิ ารยิ ขอ ๑๕ และขอนี้มักใชตดิ ๆ กันเสมอ ในการทรมานนาครายใชขอ ๑๕ กอ นแลว จงึ ใชขอ นีใ้ นภายหลัง พระบรมศาสดาไดท รงทาํ คราวไปทรมานปรุ าณชฎิลดงั กลาวไวในบทนําแลว ครั้งหนง่ึ ทรงสัง่ พระมหาโมคคลั ลานเถระไปทรมานนันโทปนันทนาคราช โดยทรงแนะอปุ เทศให พระเถระไปทรมานดว ยปาฏิหารยิ หลายประการ มปี าฏิหารยิ ๒ ประการนดี้ ว ย จึงทรมานสําเรจ็ อกี เร่อื งหน่งึ ทรงส่ังพระมหาโกฏฐิตเถระ ไปทรมานพญานาคทที่ าปยาคะ ก็ใชป าฏหิ าริย ๒ ประการน้ี สามารถทรมานพญานาคสําเร็จ. ปาฏหิ ารยิ น ีต้ องใชเตโชกสิณ เปนเครอื่ งนําทาํ ใจใหส งบ แลว อธษิ ฐานดวยญาณวา จงเปน เปลวเพลงิ กจ็ ะเปน ไดด่ังอธิษฐาน ปาฏหิ ารยิ น แ้ี มในปจ จบุ ันก็มีผูทําได แตไ มอาจนาํ มาเลาได. สวนวิกพุ พนาฤทธ์ิ ปรากฏแจมแจง ในนิเทศ ดังไดยกมากลาวในตอนแจกประเภทแหง ฤทธ์ิ นั้นแลว ฤทธปิ์ ระเภทนี้ไมมขี อบเขตจํากดั อาจดดั แปลงพลิกแพลงทําไดต างๆ ยง่ิ กวา ที่ปรากฏใน นเิ ทศน้ันก็ได เปนฤทธท์ิ ่ีตองใชมโนภาพกับกําลงั ใจเปนสําคญั . เมอ่ื พจิ ารณาถึงทางท่ีจะพึงเปน ไดแหง ฤทธิ์ ๔ ประเภทนีแ้ ลว ไดเหตุสาํ คัญ ๔ ประการ คือ ๑. กําลังฌานอันเปนภูมิแหงฤทธิ์. ๒. กาํ ลงั กสณิ หรอื มโนภาพ ซึง่ มีอิทธิบาท ๔ เปน กําลงั หนนุ . ๓. กาํ ลังใจซึ่งเปน ตนตอของฤทธ์ิ ๑๖ ประการ. ๔. กําลังอธิษฐาน ซง่ึ มีบทของฤทธ์ิ ๘ ประการเปน กําลงั อดุ หนุน. ฉะน้ัน จะไดขยายความแหงกาํ ลังอันสาํ คัญ ๔ ประการน้ี ใหเ ปนที่เขา ใจแจม แจง จะไดถ ือ เปน หลกั ในการสรา งฤทธ์ิ ๒ ประเภทนี้สืบไป. ๑. กําลงั ฌานอันเปนภมู ิแหงฤทธิ์นั้น ทานจาํ แนกไว ๔ ภูมิ คอื วิเวกชาภมู ิ ภมู แิ หง ความ เงยี บจากกามคณุ และอกุศลธรรม ซึง่ ไดแ กป ฐมฌาน ๑ , ปติสขุ ภมู ิ ภมู ิแหง ปต สิ ขุ เกิดแตส มาธิ ซ่งึ ไดแกท ุติยฌาน ๑ , อเุ บกขาสุขภมู ิ ภมู แิ หงอุเบกขาสุข ซึ่งไดแ กตติยฌาน ๑ , อทกุ ขมสขุ ภูมิ ภูมิ แหง จิตไมท ุกขไมส ุข ซงึ่ ไดแกจตุตถฌาน ๑ รวมความวาภมู ิแหง ฌานทง้ั ๔ ประการเปนทตี่ ั้งแหง ฤทธ์ิไดทงั้ หมด แลวแตก รณี ฤทธิบ์ างประการอาศยั ภมู แิ หงจิตในฌานช้ันต่ํา แตบ างประการตอง อาศัยภูมแิ หงจิตในฌานชน้ั สงู จงึ จะมีกาํ ลังเพียงพอทจ่ี ะทําได ฤทธิ์ชนดิ ใดควรใชฌ านเพยี งภูมไิ หน ตอ งอาศัยการฝก ฝนทดลองแลว สงั เกตเอาเอง เรื่องของฌานไดก ลา วมามากแลว คงเปน ท่ีเขา ใจ และคงเชอื่ อาํ นาจของฌานบา งแลว แมแตค วามสําเรจ็ ในฌานนน้ั เอง ทานก็จดั เปนฤทธปิ์ ระเภท หนึ่งอยแู ลว จึงไมต อ งสงสยั วา ฌานจะไมเปน กาํ ลงั สาํ คัญในการทําฤทธิ์ประการหนง่ึ . ทิพยอาํ นาจ ๘๖
๒. กําลังกสิณ หรือมโนภาพ ซ่งึ มอี ิทธิบาท ๔ เปน กําลังหนุนนน้ั คอื กสณิ ๑๐ ประการ ดงั กลาวไวใ นบทท่ี ๓ นนั้ ตอ งไดรบั การฝก หดั ใหช าํ นิชาํ นาญ สามารถใชเ ปนกีฬาไดดังกลา วในบท ท่ี ๔ สวนมโนภาพนนั้ หมายถึงภาพนึกหรอื ภาพทางใจ ซง่ึ จาํ ลองมาจากภาพของจริงอีกทีหน่งึ คลายดวงกสิณน่ันเอง เปนแตม โนภาพมไิ ดจ าํ กัดวตั ถแุ ละสีสันวรรณะอยา งไร ภาพนกึ หรอื ภาพ ทางใจน้ีจะตองไดร ับการฝก หัดอบรมไวใหชํา่ ชอง เปนภาพแจม แจง เจนใจ สามารถนึกวาดขึน้ ดว ย ทนั ทีทันใด เชนเดยี วกบั ดวงกสิณ การฝก หัดเพงกสณิ และทาํ มโนภาพน้ี ตองอาศัยกําลังอดุ หนุน ของอทิ ธิบาทภาวนาเปนอยา งมากท่สี ดุ อิทธิบาทภาวนานี้ไดอธิบายไวแ ลว ในบทท่ี ๔ เม่อื ไดฝ กเพง กสณิ และฝก มโนภาพไวชํา่ ชองแลว เปนทีม่ ่ันใจไดทีเดยี ววา จะทําฤทธไ์ิ ดด ัง่ ประสงค. ๓. กําลงั ใจ ซง่ึ เปน ตนตอของฤทธิ์ ทานจําแนกไว ๑๖ ประการ คือ (๑.) จิตมั่นคง ไมแฟบฝอเพราะเกยี จคราน (๒.) จิตมน่ั คง ไมฟฟู งุ เพราะความฟงุ ซาน (๓.) จิตมนั่ คง ไมร านเพราะความกําหนดั (๔.) จิตมน่ั คง ไมพลานเพราะพยาบาท (๕.) จติ มน่ั คง ไมก รนุ เพราะความเห็นผดิ (๖.) จติ มั่นคง ไมตดิ พนั ในกามคุณารมณ (๗.) จิตมน่ั คง หลุดพน จากกามราคะ (๘.) จิตมั่นคง พรากหา งจากกเิ ลสแลว (๙.) จิตม่ันคง ไมถ กู กิเลสคลมุ ครอบทบั ไว (๑๐.) จติ มน่ั คง เปน หนง่ึ ไมส า ยไปเพราะกิเลสตา งๆ (๑๑.) จิตมั่นคง เพราะศรทั ธาอบรม (๑๒.) จติ มั่นคง เพราะความเพียรประคบประหงม (๑๓.) จติ มั่นคง เพราะสตฟิ ูมฟก ไมพล้ังเผลอ (๑๔.) จติ มั่นคง เพราะสมาธคิ รอบครองไว (๑๕.) จิตมัน่ คง เพราะปญ ญาปกครองรักษา (๑๖.) จิตมั่นคง เพราะถงึ ความสวางไสวหายมืดมัว จติ ทีม่ ่ันคงแขง็ แรงดงั กลา วมาน้ี นบั วา เปน กําลังสําคญั ที่สุดในการทาํ ฤทธิ์ ทา นจงึ จัดเปน ตน ตอของฤทธิ์ ผูประสงคส รางฤทธ์ิตอ งพยายามอบรมจิตใจดวยคณุ ธรรมตางๆ ดังกลาวไวในบทท่ี ๔ นนั้ ทุกประการ. ๔. กําลงั อธิษฐาน ซง่ึ มีบทของฤทธิ์ ๘ ประการเปนกําลงั หนนุ คือวา การบาํ เพญ็ อธษิ ฐาน บารมีที่จะสําเร็จได ตอ งอาศัยกาํ ลงั หนนุ ของอิทธิบาท ๔ และสมาธอิ ันไดเพราะอาศยั อิทธิบาท ๔ ประการน้ัน ประกอบกัน บคุ คลผจู ะสามารถอธิษฐานใหเ กดิ ฤทธเิ์ ดชตางๆ ไดน ั้น จะตอ งบาํ เพญ็ อธิษฐานบารมีมาอยา งมากมาย เปนคนมีนา้ํ ใจเดด็ เด่ียว ลงไดต้ังใจทําอะไรหรือเปลงวาจาปฏิญาณ วา จะทาํ อะไรอยางไรไปแลวถาไมเ ปนผลสําเรจ็ จะไมยอมหยุดย้ังเลย แมจําตอ งสละชวี ิตกย็ อม ดั่ง สมเดจ็ พระบรมศาสดาของเราเปนตัวอยา ง ในสมัยเปน พระโพธสิ ัตวทรงบําเพ็ญพระบารมเี พือ่ พระ ทิพยอํานาจ ๘๗
โพธิญาณ เคยต้งั พระหฤทยั ไววา ใครประสงคด วงพระเนตรกจ็ ะควกั ให ใครประสงคด วงหฤทัยก็จะ แหวะให ภายหลังมีผมู าทลู ขอดวงพระเนตรมิไดทรงอดิ เออ้ื นเลย ไดตรัสเรียกนายแพทยใ หม าควกั พระเนตรออกทาํ ทานทันที แมจ ะไดทรงรับทุกขเวทนาสาหัสจากการน้ัน ก็มิไดป ริปากบน แมส กั คาํ เดียว ครั้นมาในปจ ฉิมชาติท่ีจะไดต รัสรพู ระอนุตตรสัมมาสมั โพธญิ าณ เปนพระศาสดาเอกใน โลก ก็ไดทรงบาํ เพญ็ พระอธษิ ฐานบารมีมน่ั คง ทรงบากบนั่ มั่นคงกา วหนาไมถ อยหลงั ตลอดมา จนถงึ วาระจะไดตรัสรู ก็ทรงอธิษฐานจาตรุ งคมหาปธาน คอื ความเพยี รใหญยง่ิ ประกอบดวยองค ๔ คือ ทรงต้ังพระหฤทยั เด็ดเดย่ี ววา เน้อื เลอื ดจะเหอื ดแหง ยังเหลือแตหนงั เอ็น และกระดกู ก็ตามที ถา ยงั ไมบ รรลสุ มั มาสมั โพธิญาณแลว เราจะไมย อมหยดุ ยง้ั ความเพียรเปนอันขาด ดังนี้ อาศัย อาํ นาจนา้ํ พระหฤทยั เดด็ เด่ียวมั่นคงเปน กาํ ลัง ก็ไดท รงบรรลุพระอนตุ ตรสัมมาสมั โพธิญาณสม ประสงค. อธิษฐานบารมที ่จี ะดีเดน ได ตอ งประกอบดว ยอธิษฐานธรรมซึง่ เปนกาํ ลังหนุน ๔ ประการ คือ ๑. สัจจะ ความสัตย มมี น่ั หมายไมกลบั กลอก ๒. ทมะ มีความสามารถบงั คับจติ ใจไดด ี ๓. จาคะ มนี า้ํ ใจเสยี สละอยางแรงกลา เม่ือรวู าสิ่งใดเปนประโยชนย่งิ ใหญกวา ทีม่ ีอยูแลว จะไมร ีรอเพอื่ สง่ิ น้ันเลย ยอมทุมเททุกสง่ิ ทุกอยางกระทั่งชีวติ เขา แลก และ ๔. ปญญา มคี วามฉลาดเฉลยี ว รูจกั สิ่งท่เี ปน ประโยชน-ไมเ ปน ประโยชน, ควร-ไมค วร, เปน ได-และเปน ไปไมไ ด. แลว ดาํ รงในสัตยอันเปนประโยชน และเปน ธรรมบังคบั จิตใจใหเปนไปในอํานาจ ทมุ เท กาํ ลังพลงั ลงเพ่อื ประโยชนท่มี งุ หมายน้นั . อธิษฐานบารมีท่ไี ดอ บรมฝก ฝน โดยทาํ นองดังกลา วน้ี ยอมเปน สง่ิ มีพลานภุ าพเกินทจ่ี ะ คาดคิดถงึ ไดวา มีประมาณเพียงใด ผมู อี ธษิ ฐานบารมไี ดอบรมแลวอยางนี้ เมื่อต้ังใจหรือมงุ หมายที่ จะใหเ กดิ อํานาจมหัศจรรยอยา งไร กย็ อมจะสาํ เรจ็ ไดท กุ ประการ เมอ่ื ใจศักดสิ์ ทิ ธ์ิเชนน้ัน แมการ กระทําและคาํ พูดแตละคาํ ท่เี ปลง ออกมา ก็ยอมศักดิ์สทิ ธเิ์ ปน ฤทธิ์เดชเชนเดยี วกัน ดังสมเดจ็ พระ รว งเจา กรงุ สโุ ขทยั มพี ระวาจาศักด์ิสทิ ธิส์ ามารถสาปขอมดาํ ดินใหกลายเปน หินไปไดฉ ะนั้น. เมือ่ ไดทราบหนทางที่จะใหบังเกิดฤทธอิ์ าํ นาจมหศั จรรยด ังนีแ้ ลว ควรทราบวิธีทาํ ฤทธิน์ ้ัน ตอ ไป เพ่อื เม่ือถงึ เวลาจําเปน ตองทําฤทธิ์ กจ็ ะไดทําไดทีเดยี ว. อธิษฐานฤทธท์ิ ้งั ๑๖ ประการนัน้ เมอื่ จะทําฤทธ์ิชนิดใด พงึ สาํ เหนียกดูวา ควรใชกสณิ หรอื มโนภาพชนิดใดแลว พงึ อาศยั กสิณหรือมโนภาพชนิดน้ันเปนพาหนะนําใจใหสงบเปนสมาธิ เขา ถงึ ภมู ิทส่ี ามารถจะอธษิ ฐานฤทธ์ชิ นิดนั้น แลว พึงออกจากฌานในทนั ใด พึงอธษิ ฐานคือต้ังใจ แนวแนวา จงเปน (อยา งนัน้ ) ครั้นอธฐิ านแลว พึงเขา สคู วามสงบอีก กจ็ ะสาํ เรจ็ ฤทธ์ิตามทอ่ี ธิษฐาน ทนั ที. ทพิ ยอํานาจ ๘๘
สวนวกิ พุ พนาฤทธิ์ พึงอาศัยมโนภาพเปนพาหนะนาํ ไปสูค วามสงบถงึ ข้นั ของฌาน อันเปน ภูมิของฤทธิน์ ้ันๆ แลวนอมจติ ไปโดยประการทตี่ อ งการใหเ ปน น้ัน กจ็ ะสําเรจ็ ฤทธ์ินั้นสมประสงค เชน ตองการแปลงกายเปน ชา ง พงึ นึกวาดภาพชา งขึ้นในใจใหแ จม ชัด จนจติ เปนฌานข้ันใดข้ันหนงึ่ แลวจึงนกึ นอมใหภ าพชา งน้ันเดนชัดยง่ิ ขึ้น แลวแสดงกิรยิ าอาการตามใจประสงคใหเหมือนชาง จรงิ ๆ ตอ ไป กช็ ื่อวาสําเร็จฤทธิ์ขอนไี้ ด สว นขอ อื่นๆ ก็พงึ ทราบโดยนัยเดียวกัน. การทําฤทธิท์ ้งั สองประเภทนี้ เมอ่ื ทาํ เสร็จแลวพงึ อธิษฐานเลิกทุกครง้ั อยา ปลอยทิง้ ไวจะ เปนสัญญาหลอกตนเองอยูร่าํ ไป ทา นผูสนใจในทพิ ยอํานาจขอ นก้ี ็ดี ขออ่นื ๆ ท่ีจะกลาวขางหนา ก็ ดี หากยงั ไมเขา ใจแจม แจง ขา พเจา ยนิ ดีชว ยเหลอื โดยเฉพาะเปนรายๆ ไป เชิญตดิ ตอไตถามไดทุก เมือ่ . ทพิ ยอํานาจ ๘๙
บทท่ี ๖ วธิ สี รา งทพิ ยอาํ นาจ มโนมยั ฤทธ์ิ ฤทธสิ์ าํ เรจ็ ดวยใจ ฤทธิป์ ระเภทน้ี ปรากฏในคําอธิบายเรอ่ื งฤทธิ์ในปฏิสัมภิทามรรค จดั ไวในประเภทอิทธิวิธิ แตใ นอทิ ธินิเทศท่ีทรงแสดงไวในพระบาลี มไิ ดม ปี รากฏฤทธ์ิประเภทนี้ ในญาณทสั สนะ ๘ หรือท่ี เรยี กวาวิชชา ๘ ประการ ทรงยกข้ึนเปนขอหนึ่งตางหาก เรียกวา มโนมยาภินมิ มนะ แปลวา การ เนรมติ รูปสาํ เร็จดวยใจ มลี ักษณะคลา ยคลึงกบั วิกุพพนาฤทธิ์ คอื ฤทธ์ผิ าดแผลง ดงั แสดงแลว ใน บทท่ี ๕ แปลกกนั แตวาฤทธิ์ประเภทน้ีไมมีลักษณะผาดแผลง เพยี งแปลงรูปกายขึน้ อีกกายหนึ่งจาก กายเดิมนแี้ ลว ไปปรากฏกายในท่ีอน่ื อีกที การจัดไวในประเภทอทิ ธิวธิ กิ ช็ อบแกเ หตุ แตขา พเจา ประสงคจ ะจดั ไวเปน ทิพยอาํ นาจประการหนึง่ ตางหาก ดงั ท่ีพระผมู ีพระภาคทรงแสดงไวใ นวชิ ชา หรือญาณทัสสนะ ๘ ประการ. คาํ วามโนมัยฤทธ์ิ หมายถึงฤทธท์ิ างใจทีต่ อ งเนรมติ กายหรือรปู รา งอนั สมบูรณ มีอนิ ทรีย ครบเหมือนรูปรางตวั จริงข้ึน แลว สงกายหรือรูปรางนั้นไปทาํ กิจแทนตนยงั ทีไ่ กล หรอื ใหป รากฏขึ้น ในทเ่ี ฉพาะหนาก็ได ทา นเรยี กรูปกายทเ่ี นรมิตข้ึนน้ันวา มโนมัยกาย หรือนิรมานกาย พระบรม ศาสดาและพระสาวกชอบใช เพราะสะดวกในการบําเพ็ญประโยชนโ ปรดเวไนยในที่ไกล ไมเ ปน ฤทธิ์ท่ีทําใหมหาชนเกิดตืน่ เตน ตมู ตาม เปนฤทธเ์ิ งยี บๆ จะเห็นก็เฉพาะผูท่มี ุง ไปโปรด หรือผูที่มี ทิพยจกั ษเุ ทานั้น ถึงคนอนื่ ๆ จะเหน็ บา งกเ็ ลือนราง เพราะไปมาโดยวิสัยใจ ยอมรวดเร็วมาก ประมาณเพยี งชัว่ ลดั นวิ้ มือ หรอื ช่ัวพริบตาเดยี วเทา นัน้ ยากท่ีคนธรรมดาสามัญจะทนั สงั เกตเห็น เวน แตทานผทู าํ ฤทธจ์ิ ะแสดงชา ๆ เพอ่ื ใหส ามัญชนเหน็ ได ดังในกายวสกิ ภาพปาฏิหารยิ ท่ีได อธิบายมาแลวในขอวา ดวยอิทธิวิธ.ิ พระบรมศาสดาเสด็จไปโปรดเวไนยซ่ึงอยูห างไกลกัน จะเสดจ็ ไปโดยธรรมดากไ็ ดป ระโยชน ไมค มุ หรือไมทันกบั เวลา โดยมากทรงเสด็จดว ยพระมโนมยั กาย เชนคราวเสด็จไปโปรดพระมหา โมคคลั ลานเถระ ณ บานกัลลวาลมุตตคาม เพื่อทรงแสดงวิธแี กถีนมิทธะแกพระเถระ ซึ่งกาํ ลังถูก ถีนมทิ ธะครอบงาํ ดงั ไดเ ลาเรื่องน้ีไวใ นบทนาํ แลว ตามเร่ืองปรากฏวาทรงเปลง พระรัศมโี อภาสไป ปรากฏพระองคอยูตรงหนา ทรงแสดงธรรมใหฟง ผไู ดร ับโปรดแลเหน็ พระองคชัดเจน เหมือน พระองคเสดจ็ ไปดวยพระกายธรรมดา ถงึ กบั ปูลาดอาสนะถวาย และกราบถวายบงั คมคอยฟงพระ ธรรมเทศนา ดงั เร่ืองท่ีจะเลาตอ ไปน้ี ครงั้ หน่งึ สมเด็จพระผูม พี ระภาคเจา เสด็จประทับทีส่ วนกวาง ช่ือ เภสกลาวนั ใกลน คร สงุ สมุ ารคิระ ในภัคคะชนบท สมัยนั้นทา นพระอนรุ ุทธเถระพกั อยู ณ สวนกวาง ชือ่ ปาจีนวงั สะ ใน เจดยี ช นบท คนละประเทศกบั พระบรมศาสดา ครั้งนน้ั ทา นพระอนุรุทธเถระ กําลังดํารถิ งึ มหา- ปรุ ิสวติ ก ๗ ขอ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงทราบดําริน้ันแลว จงึ เสดจ็ หายพระองคไ ปจากท่ีประทับ เสด็จไปสูท่ีพกั ของทา นพระอนรุ ุทธเถระเพยี งชั่วเวลาคแู ขนเหยียดแขนเทานั้นก็ถงึ ไปปรากฏ ทิพยอาํ นาจ ๙๐
พระองคเฉพาะพักตรท านพระอนรุ ทุ ธเถระ แลว ประทับนง่ั บนอาสนะทปี่ ูลาดถวาย สว นทา นพระ อนุรุทธเถระไดถวายบงั คมพระผมู ีพระภาคเจา แลว น่ัง ณ ทอี่ นั สมควร. ครน้ั แลว พระบรมศาสดา จึงทรงรับรองดําริ ๗ ขอของทา นพระอนรุ ทุ ธเถระวา เปน มหา- ปรุ ิสวิตก คอื เปนความคิดของมหาบรุ ุษ แลว ทรงแสดงเพมิ่ ใหอ กี ๑ ขอ รวมเปน ๘ ขอ เรียกวา มหาปรุ สิ วิตก ๘ ประการ และทรงแสดงอานิสงสต อ ไปวา เมอื่ ตรึกตรองตามมหาปรุ สิ วติ ก ๘ ประการน้ันแลวจะเขา ฌานที่ ๑ – ๒ – ๓ – ๔ ไดโ ดยงา ย ไมยากลําบาก และเม่ือไดฌาน ๔ ประการนัน้ แลว เปรียบเทยี บดูกบั ความสขุ ของคฤหบดี หรอื บุตรของคฤหบดี ผทู ี่มีปจจยั เลย้ี งชีพ อยา งสมบูรณด ีทีส่ ดุ ก็จะเห็นทนั ทีวา ปจจัย ๔ ของสมณะ คือ ปณฑิยาโลปโภชนะ อาหารทไ่ี ป รบั มาจากชาวบาน ผูม ีศรัทธาคนละเล็กละนอยคลุกเคลา ปนเปกนั ก็ดี, ปง สุกลุ จวี ร ผา เปอ นฝนุ ท่ี ไปเก็บมาทําผา นุงหมกด็ ,ี รุกขมลู เสนาสนะท่อี ยูต ามธรรมชาตภิ ายใตรมไมก็ด,ี ปูติมตุ ตเภสัชยา ดองดว ยน้าํ ปส สาวะเนา กด็ ี เปนสงิ่ ดีกวา สะดวกสบายกวา ทัง้ เปนไปเพื่อบรรลุพระนิพพานดวย ดังนี้. ครั้นแลวจึงตรัสสงั่ ใหทานพระอนรุ ทุ ธเถระจาํ พรรษา ณ ทน่ี น้ั ตอ ไป สว นพระองคไ ดเสด็จ กลบั ไปสวนกวางเภสกลาวนั ชวั่ ครเู ดยี วก็ถึง แลวทรงแสดงมหาปรุ สิ วติ ก ๘ ประการนั้นแกภ ิกษุ ทง้ั หลาย ณ ท่ีประทับนั้นอกี คร้ังหนง่ึ . สวนทานพระอนรุ ุทธเถระ จาํ พรรษา ณ สวนกวางปาจนี วังสะ ในเจดยี ช นบทตอ ไป ใน ภายในพรรษารบี เรงความเพียรไมนานนกั ก็บรรลถุ งึ ภูมิพระอรหัตตผล ไดเ ปนพระอรหันตพ ระองค หนง่ึ ในพระพุทธศาสนาไดภ าษติ คาถาน้ีในเวลาน้ันวา “พระศาสดาผูเ ยี่ยมยงิ่ ในโลก ทรงทราบความคิดของเรา จึงเสด็จมาหาเราดว ยพระฤทธิ์ มโนมยั กาย ทรงแสดงธรรมตามท่ีเราคิดเห็น เพม่ิ เติมใหย ิง่ ขึ้นไป พระพทุ ธเจาผทู รงยนิ ดีในธรรมไม เนิน่ ชา ไดทรงแสดงธรรมท่ีไมเนิ่นชา แกเรา เรารูแจง ธรรมของพระองคแ ลว บรรลวุ ชิ ชา ๓ เสร็จกิจ พระพทุ ธศาสนาแลว จงึ ยนิ ดอี ยใู นพระพุทธศาสนาของพระศาสดาพระองคน ้นั ” ดังน้.ี ภายหลงั มาทานพระอนรุ ทุ ธเถระ ไดรบั ยกยอ งจากพระบรมศาสดาวา ยอดเยยี่ มกวาภิกษผุ ู มีทพิ ยจกั ษทุ ง้ั หลาย. อกี เรื่องหนงึ่ มีกุลบุตรคนหน่ึงชื่อวกั กลิ ไดเหน็ พระบรมศาสดามีพระรปู โฉมสงางาม พระ ฉวีวรรณผดุ ผอง กเ็ กิดความเลื่อมใสออกบวชในพระธรรมวินยั ของพระบรมศาสดา ติดตามดูพระผู- มพี ระภาคเจา อยเู นอื งๆ ตอมาเมอ่ื ทรงเหน็ วามีอินทรียพ อสมควรแลว จงึ ทรงแสดงธรรมเนอ่ื งดวย อสภุ ะใหฟง ทา นเกดิ ความคดิ และไปเรง ความเพยี รในท่ีวเิ วกใกลภ ูเขาแหง หน่ึง ครัน้ ตอมาเกิด อาพาธหนัก โยมอปุ ฏฐากนาํ ไปทําการรกั ษาพยาบาลอยใู นบา น อาพาธย่ิงกําเรบิ หนัก อยากเห็น พระผูมพี ระภาคเปน ขวัญตาครงั้ สดุ ทา ยกอนตาย หากทรงพระกรุณาโปรดเสดจ็ มาเพราะกาํ ลงั อาพาธหนัก จะไปเฝา ดวยตนเองมไิ ด พระบรมศาสดาไดตรัสสง่ั ไปกับคนผไู ปเฝาวา เธออยากจะ เหน็ ทําไม ซง่ึ รางกายอันเปนของเปอ ยเนาน้ี ผูใดเหน็ ธรรมผูนั้นชือ่ วา เห็นเรา ผใู ดเห็นเราผูน้ันช่ือวา เห็นธรรม จงเรงทาํ ความเพยี รทางจติ เมอ่ื ถงึ เวลาอนั ควรเราจะไปเอง ดังน้ี พอทานพระวกั กลิได รับทราบพระพทุ ธดาํ รัสแลว สง่ั ใหโ ยมอุปฏฐากหามเอาทา นไปไว ณ ขา งภเู ขา ซงึ่ เปนท่ีเงียบทท่ี า น เคยไปอาศัยทําความเพยี รอยูกอนอาพาธ ทา นไดเรงทาํ ความเพยี รทางใจตลอดวันและคืนโดยไม ทิพยอํานาจ ๙๑
ประมาท อาพาธทวีหนักข้ึน ทา นกเ็ รงทําความเพยี รหนักขน้ึ เปนทวีคณู พระบรมศาสดาทรงรอ เวลาอยู พอไดโอกาสจึงเปลงพระรัศมีโอภาสไปปรากฏพระกายในทเี่ ฉพาะหนา ของทา นวักกลิทันที เมื่อทา นแลเห็นกเ็ กิดปต ปิ ราโมทย พยายามจะลุกข้นึ กราบถวายบงั คม แตพระบรมศาสดาผูมีพระ มหากรุณาไดตรัสหาม และตรัสถามถึงอาการปวยพอสมควรแลว ทรงแสดงธรรมเพยี งส้นั ๆ วา ภิกษุผูม ากไปดวยปราโมทย เปนผูเล่อื มใสในพระพทุ ธศาสนา สามารถบรรลสุ ันตบิ ทคือพระ นิพพาน ซ่งึ เปน ที่ระงับสงั ขาร มีสุขจรงิ แท ดงั น้ี แลว เสดจ็ กลบั พอพระผูมพี ระภาคเสด็จไปแลว ไม นาน ทา นทาํ การเจริญปตปิ ราโมทย เกดิ สุขกายสบายจติ จิตตง้ั มัน่ เปนสมาธโิ ดยงายแลวเจรญิ วิปสสนาตอ ในคืนวนั น้ันเองทานก็ลถุ งึ ยอดแหง สาวกบารมีญาณ ไดเปนพระอรหันตอ งคห น่งึ ใน พระพุทธศาสนา ทันใดน้ันเทวดาไดไ ปเฝา กราบทูลพฤตกิ ารณของพระวกั กลเิ ถระใหท รงทราบ พระผมู ีพระภาคตรสั วา แมเราเองกท็ ราบแลว ในคืนวันนั้นเองตอนใกลร งุ ทานก็ปรินิพพานไป เพราะทนทานตอ อาพาธไมไ หว มารใจบาปไดไปพยายามคนหาดวงวญิ ญาณของพระวักกลเิ ถระวา ไปไหนกห็ าไมพบ เกิดเปน ควนั กลมุ รอบบริเวณ รุง เชาพระบรมศาสดาจึงพาพระสงฆจ าํ นวนหนึ่ง ไปทําฌาปนกิจศพพระวกั กลเิ ถระ แลว เก็บอัฐไิ ปกอ สถูปบรรจไุ วเ พ่ือเปนทกี่ ราบไหวของคนและ เทวดาตอไป คร้ันในสมยั ทที่ รงประกาศเอตทัคคฐานแกพ ระสาวก-สาวิกา วา ใครเยี่ยมยอดในคุณ ขอ ไหนบาง กท็ รงยกยองพระวักกลเิ ถระวา เยีย่ มยอดกวาภิกษทุ ั้งหลายผศู รทั ธาวิมตุ ติ คอื ผูพน จากกิเลสดวยอาํ นาจความเชือ่ ม่ันในพระบรมศาสดา เช่อื ฟงคาํ ส่ังสอน ปฏบิ ัติตามคาํ สั่งอยา งเด็ด เด่ยี วดังเรือ่ งทเี่ ลามา ก็แสดงวา ทา นพระวักกลิเถระเชอ่ื ฟง พระบรมศาสดาอยา งดีเยี่ยม จึงทรงยก ยองไวในคุณขอ น้ใี หเปนที่ปรากฏ เปนตวั อยา งแกป จฉิมชนตาชน คอื คนผเู กดิ มาในภายหลงั เม่ือได ฟงเร่อื งราวนแ้ี ลว กจ็ ะไดถ อื เอาเปนคติประพฤติตาม ใหสามารถเปนพยานในพระพทุ ธดํารัสทว่ี า “ผใู ดเห็นธรรมผนู ั้นเหน็ เรา ผใู ดเห็นเราผูน ้ันเห็นธรรม” ซง่ึ มีความหมายวา พระผูม พี ระภาคผพู ระ บรมศาสดาทแี่ ทจริงนั้น มใิ ชร ูปกายอันเปอ ยเนาผุพงั ไปเชน นนั้ เลย หากแตเปน พระธรรมอนั ไมร จู ัก ตายนน้ั ตา งหาก ผูหยัง่ ลงสกู ระแสพระอมตธรรมนน้ั แลว ยอมไดเห็นเฝาแหนพระผมู ีพระภาค ผู พระบรมศาสดาของตนสมดังประสงคแ ทจ ริง กลายเปนรตั นะดวงหนึง่ ซงึ่ มคี ติเสมอกนั กบั พทุ ธ รัตนะ ธรรมรัตนะ และสังฆรตั นะ รัตนะทัง้ ๓ นเ้ี ปนแกนสารไมร ูจ กั สญู สลาย เปนสง่ิ ไมรูจ กั ตาย มีอยทู กุ กาลสมยั ผสู นใจในเร่ืองนโ้ี ปรดดูในหนังสือพรหมจรรยคอื อะไร? ตอนวาดวยพุทธปรัชญา กจ็ ะทราบไดว า จติ ที่บรรลถุ งึ อมตธรรมแลว เปน วมิ ุตติสาร ซง่ึ ตายไมเ ปน คนและเทวดาสามัญไม เห็น เวนแตพ รหมบางพวกผูบ รรลุวิสุทธิธรรมเทาน้ันสามารถเหน็ ได. พระมหาโมคคัลลานะ ซงึ่ ไดรับยกยองจากพระบรมศาสดาวา ยอดเยย่ี มกวาบรรดาพระ สาวกผมู ฤี ทธิ์ และเปนอัคคสาวกเบื้องซา ยของพระบรมศาสดา เปน กาํ ลังใหญใ นการเผยแผ พระพุทธศาสนาในประชาชนท่วั ไปไดดี ทา นมกั ใชมโนมัยฤทธ์ินไี้ ปปรากฏในสวรรคบา ง ในนรก บาง แลวนําขา วหรือเรื่องราวในสวรรคและนรกนั้นมาบอกเลา แกชาวมนษุ ยใหท ราบ เพื่อใหชาว มนษุ ยบ ังเกดิ ความเชอ่ื มั่นในกรรมดี-กรรมชั่ว วาสามารถอาํ นวยผลในโลกไดจริง จะไดม ่นั อยใู น กรรมดมี ีศีลธรรมงามยิ่งข้ึน ดังนี้ เรื่องปรากฏท่ที านรวบรวมไวในพระไตรปฎ ก หมวดเปตวตั ถุและ วมิ านวตั ถเุ ปนสว นมาก จะนํามาเลา ไวสกั ๒ เร่อื ง ดังตอ ไปนี้ ทพิ ยอาํ นาจ ๙๒
ครง้ั หน่งึ ทานพระมหาโมคคลั ลานเถระ เขาสมาธถิ อดมโนมยั กายไปชมสวรรค ไดพบ เทพธดิ าองคห นึ่งซึง่ มวี รรณะสดใสสวางรงุ เรืองทว่ั ทิศ เหมือนดาวประกายพรึก จึงไตถ ามวา ทํา ความดีอะไรไว จงึ ไดส มบตั ิเห็นปานน้ี เทพธิดานัน้ เมื่อถกู พระมหาโมคคัลลานเถระถามถึงผลกรรม ก็ดใี จ กราบเรยี นทานวา ดิฉันเปน อบุ าสกิ าอยเู มืองสาเกต สมบูรณด วยทานและศลี ยินดีในการ จําแนกแจกทานทกุ เมอื่ ไดถ วายเครอื่ งนงุ หม ภตั ตาหาร เสนาสนะ เครือ่ งตามประทีป โดยมีใจผอง ใสยิ่ง ในทานผูมีจิตใจตรงแลว วันดิถี ๑๔-๑๕ คา่ํ และดถิ ี ๘ คํ่า กงึ่ ปก ษ ดิฉันไดรกั ษาอโุ บสถศลี ประกอบดวยองค ๘ ประการตลอดปกษอ ยา งนาอศั จรรย สํารวมดใี นศีลทกุ เมอื่ คอื เวนการฆา สัตว, ลักทรพั ย, ประพฤติลว งใจสามี, มสุ าวาท, และการด่มื ของมึนเมา ยินดีในสกิ ขาบท ๕ ประการ ฉลาดในอริยสัจ เปน อุบาสิกาของพระผูมพี ระเนตรดี มพี ระยศ ซงึ่ ทรงพระนามวา โคตมะ จึงไดสมบัติเหน็ ปานน้ี ดิฉันไดฟง เรอ่ื งราวสวนอุทยานในสวรรคช อื่ นันทวันเนืองๆ จึงเกิดพอใจต้งั จติ ไวในท่ีนน้ั แลว ไดเกิด ณ นันทวันสมประสงค ดฉิ นั ไมเชอ่ื ฟงพระพทุ ธดาํ รัสของพระศาสดาผู อาทติ ยพันธุ ตัง้ จิตไวใ นที่ต่ํา จงึ เกิดเดือดรอ นภายหลัง ดฉิ ันจะอยรู ักษาอโุ บสถศีลในวมิ านน้ีไมน าน เทาไหร เมอ่ื ถูกถามถงึ กาํ หนดอายุในสวรรคของนาง นางบอกวา ดฉิ ันจะอยูท นี่ ี้เพยี ง ๖ หมน่ื ป เทานั้นทานมหามนุ ี! แลวก็จะจตุ จิ ากน้ีไปเกดิ รว มหมูมนษุ ย ดงั น้ี พระมหาเถระจึงกลาวเตือนวา ทา นอยากลวั อโุ บสถศลี ทา นไดรบั พุทธพยากรณแ ลววาเปนพระโสดาบนั เปนผวู ิเศษแลว ทา นละ ทคุ ตไิ ดแ ลว ดงั น้ี สวนเรอ่ื งเกย่ี วกบั เปรตท่ีทานไดไปพบเหน็ ในแดนนรก ดังตอ ไปนี้ ครั้งหน่ึง ทานเขา สมาธิแลว ไปสแู ดนเปรต ซงึ่ ใกลกบั แดนนรก ไดเหน็ เหตุการณแปลก ประหลาด จึงถามเขาวา ขา งหนา ไปโดยชางเผือก ทา มกลางไปโดยรถเทยี มดว ยมาอัศดร เบอ้ื งหลงั หญิงสาวไปในวอ ยอมสวา งรงุ เรอื งท่ัวทั้ง ๑๐ ทิศ สว นทา นท้งั หลายมีมอื ถือสาก หนารองไห ตวั แตกแตน คร้ังเปนมนษุ ยทําบาปอะไรไว จงึ ตอ งดืม่ เลอื ดของกันและกนั ดงั นี้ ไดรับคาํ ตอบวา ขางหนา ผไู ปโดยชางเผอื กตัวประเสริฐซ่ึงกา วไปดว ยเทาทงั้ ๔ น้ัน เปนบตุ รคนโตของขา พเจา ท้งั หลาย เขาใหทานแลว มสี ขุ ราเริง ผไู ปโดยรถเทียมมา อศั ดร ๔ ตัว ซงึ่ ผูกเทยี มกันเปนหมวดดีนัน้ เปนบตุ รคนกลางของขา พเจา ทัง้ หลาย เขาไมตระหนี่ เปนทานบดี ยอมรุงเรอื ง สวนหญงิ ผไู ปในวอ ขางหลงั นน้ั เปนลูกสาวคนเลก็ ของขา พเจา ทง้ั หลาย นางมีปญญา ตาใสเหมือนตาเน้อื มีสขุ รา เรงิ ดว ยการจาํ แนกแจกทาน เขาเหลาน้ีมีจติ เลือ่ มใสไดถวายทานแกส มณพราหมณในกาลกอ น สวน ขา พเจา ทัง้ หลายไดเ ปน คนตระหน่ี ดา ทอสมณพราหมณทีเ่ ขาเหลานัน้ ถวายทานบาํ รงุ บําเรออยู จงึ ซูบผอม เหมือนไมออถกู ไฟเผาฉะนนั้ พระมหาเถระจงึ ถามตอ ไปวา ทานทั้งหลายกนิ อะไร? นอน อะไร? อยอู ยางไร? ซึ่งเมือ่ โภคะท้งั หลายเพยี งพอมใิ ชน อย จงึ คลาดความสขุ ถงึ ทกุ ขในบดั นี?้ ไดรบั คําตอบวา ขา พเจา ทัง้ หลายฆากันและกัน แลว ดืม่ กินหนองและเลอื ด คร้ันดื่มมากแลวก็ไมใหทาน ทั้งไมบ รโิ ภคเอง อยางนี้น่ันเอง สตั วผ ตู อ งตายซงึ่ มโี ภคะมากมาย ไมบ รโิ ภคเอง ทัง้ ไมทําบญุ ตาย แลวจงึ ไปครํา่ ครวญอยยู มโลก เกิดเปนเปรตหวิ กระหายเหลือประมาณในปรโลก ภายหลงั ตอ งถกู เผาไหมอยูนาน เพราะทาํ กรรมซึ่งมีทุกขเปนกําไรไว จงึ ตอ งเสวยทกุ ขแ สนเผด็ รอน ทรัพยก บั ขา วเปลือกก็สวนหนึ่ง ชีวิตก็สวนหนึ่ง ผูฉลาดรวู า เปนคนละสวนกันแลว ควรทําทพี่ ึ่ง นรชนเหลา ใด ฉลาดในธรรม รอู ยา งนี้ นรชนเหลา น้ันยอมไมป ระมาทในทาน เพราะเชอ่ื ฟงคําพระอรหันต ดงั น้ี. ทิพยอาํ นาจ ๙๓
สวนพระสารีบุตรเถระอัคคสาวกเบ้อื งขวา ซึง่ ไดร ับยกยองจากพระบรมศาสดาวา เลศิ กวา ภกิ ษสุ าวกผูมีปญญายง่ิ นนั้ เปนกาํ ลงั ยิ่งใหญของสมเดจ็ พระผูม พี ระภาคเจา ในการเผยแผพ ระธรรม วินยั ทรงยกยองวา สามารถประกาศอนุตตรธรรมจกั รไดเทา เทียมกับพระองค ทรงแนะนําภกิ ษุ ทง้ั หลายใหคบหาสมาคม เคารพนับถอื เชอ่ื ฟง ทานกเ็ ช่ยี วชาญทางจติ มฤี ทธานภุ าพไมนอย ไดเคย ไปเห็นเปรตซ่ึงเปนแดนเปรต หญงิ เปลอื ยกาย ผิวพรรณทราม ผอมกะหรอ ง สะพร่งั ดว ยเสน เอน็ ทานจึงถามวาเปน อะไรอยทู ี่น่ี ไดร บั ตอบวา ดิฉันเปน นางเปรต ทานผูเจริญ! ตกทกุ ขไดยากอยู ยมโลก เพราะทาํ บาปกรรมไว จึงจากยมโลกไปสูเปตโลก ทานถามตอไปวา ทาํ กรรมชว่ั ไวด ว ยกาย วาจา ใจ อยางไรหรอื ? จากโลกน้ไี ปสโู ลกเปรตดว ยผลกรรมอะไร? ไดร ับตอบวา บิดามารดาหรือ แมญ าตซิ ง่ึ เปนผมู จี ิตใจเล่อื มใสตอสมณพราหมณไ มอนเุ คราะหดิฉัน ไมช กั ชวนดิฉนั วา จงใหท าน บางเลย ดฉิ ันจากมาเปลาเปลือยอยอู ยางนถ้ี ึง ๕๐๐ ป ตองถกู ความหิวกระหายขบกดั นเ้ี ปน ผล บาปกรรมของดฉิ ัน ทานเจาคะ! ดิฉนั ขอไหวทา น ทา นผูกลาหาญ! ทานผูม อี านุภาพมาก! โปรด อนเุ คราะหดฉิ ัน โปรดใหท านอะไรๆ แลวอทุ ิศแกดฉิ ันดวยเถดิ โปรดปลดเปล้อื งดิฉันจากทคุ ตบิ าง เถดิ เจา ขา! พระเถระรับคาํ แลว ใหค าํ ขา วคําหน่ึง ผา เทา ฝามือ นํา้ ดม่ื ถาดนอ ยๆ ถาดหนึ่งแกภกิ ษุ ทง้ั หลาย แลวอทุ ิศทักษณิ าแกนางเปรตนั้น ผลก็เกดิ ในลาํ ดับนัน้ ทันที โภชนะผา นุงหม นํ้าด่ืมนเี้ ปน ผลของทกั ษณิ า ลาํ ดบั นัน้ นางกเ็ ปนผูสะอาด นงุ หมผา สะอาด ทรงผาผืนดมี าแตแ ควนกาสี มผี า อาภรณงดงาม เขา ไปหาพระสารบี ุตร พระเถระเหน็ แลวจึงถามวา ทา นมวี รรณะสดใส สวา ง รงุ เรอื งท่ัวทุกทิศ เหมือนดาวประจํารุง วรรณะเชนน้ีสาํ เร็จแกทา นเพราะกรรมอะไร? เม่อื เปน มนษุ ยไดท าํ บญุ อะไรไว? จึงมอี านุภาพรุงเรือง มีวรรณะสองสวางทั่วทกุ ทศิ ไดร บั คาํ ตอบวา ทา น มุนีผกู รณุ าสัตวโลกไดเ ห็นดิฉันผูผ อมเหลอื งอดอยาก เปลา เปลอื ยผวิ ถงึ ทกุ ข คร้ันแลว ไดใหคําขา ว ผา เทาฝา มอื นํ้าดมื่ ถาดนอยๆ แกภ กิ ษทุ ้ังหลายแลวอุทิศแกดิฉนั ทานจงดผี ลแหงคําขา วคาํ เดยี ว กลายเปน ภตั รท่ีจะตอ งกินถงึ หมื่นป ดิฉนั เปนผไู ดกามสมบัตติ ามตอ งการ บรโิ ภคโภชนะมีกับขาว รสตา งๆ มากอยา ง ทา นจงดผู ลแหง แผน ผาเทา ฝา มอื ซึง่ กลายเปน ผานงุ หมมากกวา ของพระเจา นันทราช ทหี่ มในประเทศ เปนผา ไหม ผาขนสตั ว ผา ปา น และผา ฝายไพบลู ย มีคามากหอยยอ ยอยู เต็มอากาศ ดิฉนั จะนงุ หมผานัน้ ๆ อนั เปน ทรี่ กั แหงใจ ทา นจงดผู ลแหง นาํ้ ดืม่ ถาดนอยๆ ซึ่ง กลายเปน สระโบกขรณสี ่ีเหลยี่ มลกึ ตบแตง ดี มนี ํ้าใส ทาราบรื่นเย็นดี อบอวลดว ยกลิน่ ดาดาษดว ย ดอกปทุม บรบิ รู ณด ว ยสัตวน้ํา ดิฉันยอ มรื่นรมย ยอมเลน ยอมบันเทงิ ไมม ีภยั แตอยา งใด จึงมาเพ่ือ ไหวท า นมนุ ี ผูมีความกรณุ าตอ สัตวโลกเจาขา ดงั น้ี! อกี เรอื่ งหน่ึง ทานไดพ บหญิงเปรตตนหนึง่ ซึง่ มีพรรณะเศราหมองซบู ซดี เชนตนกอ น สอบถามไดค วามวา เคยเปนมารดาของทา นมาในชาติอื่นๆ มาเกิดในแดนเปรต หิวกระหาย เหลือเกนิ ตองกนิ น้ําลายนา้ํ มูกและโลหติ ไมมีทีพ่ ง่ึ พงิ อาศัย ขอใหทา นบรจิ าคทานอุทิศผลให เพอื่ จะไดพ นจากการกินนํา้ เลือดนาํ้ หนองบาง ทา นไดฟง คาํ มารดาแลว มีใจสงสาร จงึ ปรกึ ษาพระมหา โมคคลั ลานะ ทานพระอนุรุทธะ และพระกัปปน ะ พากนั สรางกุฎี ๔ หลังถวายในสงฆจาตรุ ทิศ แลว อทุ ศิ กฎุ ี ขา ว นา้ํ เปน ทกั ษณิ าแกม ารดา ทนั ใดน้นั บงั เกิดผลเหน็ ประจกั ษ มวี ิมาน ขาว นา้ํ ผา ผอน เปน ผลของทกั ษิณา นางมกี ายสะอาด นุง หมผา สะอาด ทรงผา ผนื ดมี าแตแควน กาสี มผี า ทิพยอํานาจ ๙๔
อาภรณงดงาม เขาไปหาทานพระมหาโมคคลั ลานะ เลา ความจรงิ ใหทราบวาเปน มารดาเดมิ ทีพ่ ระ สารีบตุ รทาํ บญุ อุทิศให ไดรับผลพน ทกุ ขรอ นแลว มุงมาเพื่อไหวทา นมนุ ี ผูม ีความสงสารสตั วโลก นั้น เจา ขา ! ดังน้.ี พระมหาเถระทง้ั สอง เปน ผมู ีอํานาจทางจติ ดว ยกนั ยอมสามารถถอดใจออกจากราง เนรมิตกายหน่งึ ขน้ึ แลว ไปบําเพ็ญประโยชนใ นที่ไกลได เรือ่ งทีเ่ ลา มาก็เปน เรอื่ งในทไ่ี กล ไมใชในที่ อยขู องทา น จงึ สนั นษิ ฐานวา จะตอ งใชม โนมัยกายไปพบเห็น กิตติศัพททที่ า นพระมหาเถระทั้งสอง บําเพ็ญประโยชน เปน กาํ ลงั ใหญของพระบรมศาสดา ดจุ พระกรขวาซายนี้ ไดแ พรกระจายไปจน เปนทีป่ องรา ยของเดียรถียน ิครนถ พระมหาเถระท้ังสองเคยถกู ประทุษรายในกรุงราชคฤห ครง้ั สุดทาย พระมหาโมคคัลลานเถระก็ถกู ประทษุ รายถงึ ตองนพิ พาน ขา พเจาไดเ ลาเร่ืองเกีย่ วกับ มโนมัยฤทธิ์เหลงิ เจง้ิ ไปไกลแลว จะขอวกเขาหาเร่อื งตอไป. การสามารถถอดดวงจติ ออกจากราง และเนรมติ รปู กายข้ึนอีกรูปกายหนงึ่ ซ่งึ มรี ปู ลกั ษณะ เหมอื นรูปกายจริงของตน แลว สง ไปทาํ กิจหรอื ปรากฏในท่ีไกลไดนัน้ ยอ มตอ งอาศยั กําลงั ใจและ มโนภาพดังไดกลาวไวแลวในขอวา ดว ยอิทธิวิธิ จึงไมจ ําเปน ตอ งกลาวในที่นีอ้ กี . วิธถี อดจติ นั้น คลา ยแบงภาพจติ ออกไปทําการ ความรูสึกแหงจติ ในกายเดิมกย็ งั มีอยู แตม ี สายโยงถงึ กนั ตลอดเวลา อกี อยา งหนง่ึ ถอดออกไปทั้งหมดโดยไมมีความรูสึกเหลืออยูใ นรา งกาย เดมิ เลย คลายไปหมดทง้ั ตวั ก็ได วิธีแรกทําไดง ายโดยทไ่ี มต องเขา ฌานอยางสูงชนิดท่หี มดความรสู ึก ในกายเดิม คือเพยี งแตท าํ มโนภาพขึน้ เนรมิตรูปรางของตนไปปรากฏ ณ เฉพาะผทู เี่ ราตองการ ชวยเหลือหรอื พบปะนนั้ แลวทาํ กจิ ตามประสงคแลว กก็ ลบั ในขณะท่สี ง จติ ไปน้นั รางกายเดมิ จะ อยูในทา หรืออริ ยิ าบถใดๆ ก็ตาม สวนมโนมยั รปู ตองใหอ ยูในทาหรอื อริ ิยาบถปกตติ ามธรรมเนียม การพูดจา การแสดงธรรมกอ็ อกไปจากจติ ในรางกายเดมิ น้ี มโนมัยรูปเปนแตเ พยี งภาพปรากฏ และ ถายทอดเสยี งอีกทหี นึ่ง สวนวธิ ีหลังตองเขาสมาธิ แลว สง จติ ทั้งหมดออกไปจากราง แลว เนรมติ กาย ขึน้ ตามรปู ลกั ษณะกายเดิมใหค รบถวน แลวไปทาํ กจิ หรือไปปรากฏกายในทีใ่ ดๆ โดยมคี วามรูสึก เต็มตัวในมโนมยั กายน้ันทเี ดยี ว สว นกายเดิมท่ีอยูเบ้ืองหลงั นนั้ ไมม คี วามรูสกึ ดํารงความเปน ปกติ อยดู วยอาํ นาจฌานรกั ษาเทา น้ัน วิธนี ีไ้ ปไดนานๆ และรสู กึ สนกุ สนานดว ย พวกเขาฌานแบบไปดู นรก สวรรคห รอื โลกดา นอื่นๆ ใชว ธิ ีน้ีทง้ั น้นั มีขาววาโยคสี ามารถถอดใจออกจากรางไปเทย่ี วใน โลกอื่นนับเปน เวลาตง้ั เดอื นๆ กไ็ ด โดยทีก่ ายเดมิ ไมเปน อันตรายประการใด วธิ ีถอดจิตออกจาก รางตามวิธหี ลังน้ีเปน ดงั น้ี (๑.) ทาํ อาโลกกสิณ จนไดด วงสวาง-ใสดีแลว . (๒.) ยอ ดวงกสิณน้ันใหเล็กลงประมาณเทา ลูกมะขามปอมแลว . (๓.) รวมกาํ ลังใจสงดวงนัน้ ออกทางกระหมอมไปสูที่ทปี่ ระสงคจ ะไป. (๔.) เมอ่ื รสู ึกกายเบาวบู และไปปรากฏตัวอยใู นทซี่ ึง่ กําหนดจะไปน้นั แลว ชื่อวาถอดจิตไป ไดแลว. (๕.) พงึ ขยายดวงกสิณใหโตตามเดิมอกี พรอ มกับเนรมิตกายใหป รากฏชัดข้ึน แลว ทาํ กจิ มี สนทนาเปน ตน กบั เทวดาหรือผูใ ดผูห นงึ่ ที่ไดพบในคราวนัน้ . ทิพยอาํ นาจ ๙๕
(๖.) เม่อื จะกลับ พึงยนดวงกสณิ ใหเล็กลงเทา ลกู มะขามปอมแลว จึงกลบั . (๗.) ถา มมี ารมาก้นั กางในระหวางทาง เชนถูกอมเปนตน พึงรวมกาํ ลงั ใจขยายดวงกสิณให ใหญกวาง หรอื แผจติ ออกใหกวางทส่ี ุดเทาท่ีจะทาํ ได มารก็จะกระจายไปหรือเปดทางใหไ ป. (๘.) จุดเพงทาํ ดวงกสณิ นั้น คือเพดานปากกับจมกู ตอกัน เมือ่ ไดดวงแลว จงึ รวมกาํ ลัง สงออกไปทางกระหมอ ม. (๙.) ภูมิจติ ในขณะนั้น ถา จะไปสวรรค ตองใหเ ปนปติสขุ ภมู ิ ถา จะไปพรหมโลกตอ งใหเปน อเุ บกขาสุขภมู ิ ถา จะไปมนษุ ยโลกและอบายโลก เขา ฌานเพียงวเิ วกชาภมู เิ ทาน้ันก็ไปได. วิธีถอดจติ ตามแบบน้ี ใชกันอยใู นหมูพทุ ธบรษิ ัทในสมยั ปจจบุ ัน. ทพิ ยอํานาจ ๙๖
บทที่ ๗ วธิ สี รา งทิพยอาํ นาจ เจโตปรยิ ญาณ รจู กั ใจผอู น่ื ทพิ ยอํานาจขอน้ี เปน อปุ กรณในการแสดงธรรมอยางวิเศษ การแสดงธรรมทจ่ี ะสบกบั จริต อัธยาศยั และความคดิ เห็นของบุคคล จนถงึ ทําใหผฟู งเกดิ อศั จรรยแ ละยอมเชื่อฟง ไดอ ยา งนน้ั ยอม อาศัยทิพยอํานาจขอนเี้ ปน กําลังสําคญั อดุ หนุนอยู พระบรมครูของเราทรงใชทิพยอาํ นาจขอ น้ี เสมอในการทรมานเวไนย ใครควรไดร บั การทรมานดวยวธิ ีใด ดว ยพระธรรมเทศนาอยา งไร ยอ ม ทรงกําหนดไวใ นพระหฤทยั กอ นแลว จึงทรงดาํ เนินการในภายหลัง ขอน้ียอมสมจรงิ กบั พระพุทธกจิ ทท่ี รงปฏิบัตปิ ระจาํ วัน คือ ๑. ปุพพฺ ณฺเห ปณฑฺ ปาตฺจ เวลาเชา เสด็จบิณฑบาตโปรดสตั ว สงเคราะหผ ตู อ งการบญุ ให ไดท ําทานในเขตดี ถา ผคู วรไดร ับการสงเคราะหใ นวันน้นั อยใู นทใ่ี กล กม็ ักเสดจ็ ไปสงเคราะหใ น เวลาบิณฑบาตนัน้ เอง. ๒. สายณฺเห ธมฺมเทสนํ เวลาเย็นทรงแสดงธรรมแกประชาชนซึง่ พากนั มาฟง คือในท่ีใดท่ี เสด็จไปประทบั ประจาํ อยูน าน ในทน่ี ั้นประชาชนผเู คารพนบั ถือยอ มถือเปน กรณสี าํ คัญ เวลาเย็น ซ่ึงเปน เวลาวางงาน และพระบรมศาสดาจารยก อ็ อกจากทพ่ี กั ผอ นในเวลากลางวัน ตางกเ็ ขาเฝา ฟง พระธรรมเทศนาเสมอ เชนประชาชนในกรุงสาวตั ถีเปนตัวอยา ง. ๓. ปโทเส ภิกขฺ ุ โอวาทํ เวลาพลบคํา่ ทรงโอวาทพระภกิ ษใุ หเขา ใจในขอ วัตรปฏบิ ัติอบรม จิตใจ และใหฉลาดในขอธรรมทจ่ี ะนาํ ไปสัง่ สอนประชาชน หรอื โตตอบปญ หาทกุ ๆ เวลาค่าํ พระภิกษุทง้ั หลายจะมาชมุ นมุ กันในโรงอปุ ฏ ฐาก พระบรมศาสดาจารยจ ะทรงกําหนดจติ ใจของ ภกิ ษุท้ังหลายดว ยเจโตปริยญาณแลวเสด็จไปทโี่ รงอุปฏ ฐาน ทรงโอวาทและแสดงธรรมแกความ สงสยั ของภกิ ษุท้ังหลายพอสมควรแลว จึงเสด็จกลับพระคนั ธกฎุ ซี ึ่งเปนทป่ี ระทับ บางคราวถงึ กบั รุงสวา ง ณ อปุ ฏ ฐานศาลาน้นั เอง. ๔. อฑฒฺ รตฺเต เทวปหฺ นํ เวลาเทยี่ งคืนทรงแกปญ หาเทวดา คอื วาเทวดามาเฝาเวลาเที่ยง คืนเสมอ และชอบนําปญ หาตา งๆ มาทูลถาม จงึ เปน ภารกจิ ท่ีทรงแกปญ หาเทวดาในเวลานั้น ครั้น รุงเชา กต็ รัสเลา ใหภกิ ษุทง้ั หลายฟง เพื่อจดจาํ เอาไว. ๕. ปจจฺ ูเส ว คเต กาเล ภพฺพาภพเฺ พ วโิ ลกนํ เวลาจวนใกลร ุง ทรงตรวจดูสัตวโลกผคู วร โปรด คอื พอจวนรุง สวางไมวา ประทับ ณ ทีใ่ ดๆ จะทรงเขา พระกรณุ าสมาบตั ิเสมอ ทรงแผน ํา้ พระทัยสงสารสตั ว อยากจะโปรดใหพ น ทุกขไ ปท่ัวโลกทุกทิศทุกทาง ใครเปนผมู ีอุปนิสยั ควรโปรด กจ็ ะมาปรากฏในขา ยพระญาณ ทรงกาํ หนดจรติ อัธยาศยั ดวยเจโตปรยิ ญาณแลว พอรุง เชา กเ็ สด็จ ไปโปรดทนั ที ถา เปน ท่ีใกลก เ็ สด็จไปในคราวบิณฑบาตน้นั เอง ถา เปนทีไ่ กลก็เสด็จไปภายหลงั บิณฑบาตแลว การทีท่ รงตรวจดสู ตั วโลกดวยพระกรุณาสมาบัตนิ ี้ ทรงถอื เปนธรรมเนยี มที่ตอ ง ปฏบิ ัติเปนอาจณิ มิไดละเวนเลย. ทิพยอํานาจ ๙๗
การกาํ หนดรจู รติ อัธยาศยั เสยี กอ นแลว จงึ แสดงธรรมสงั่ สอน ยอมไดผ ลศักดสิ์ ิทธิ์ เหมือนกับบงหนามดวยหนาม หรอื เกาถกู ที่คนั ฉะน้ัน. พระบรมศาสดาและพระสาวกผชู ํานาญ ทางเจโตปริยญาณจงึ ทรงใชเ สมอ. อนงึ่ การสามารถกําหนดรจู ิตใจ แลว บอกไดว า ผนู ัน้ มจี ิตใจอยางไร มีความคิดเห็นอะไรใน ขณะนน้ั มกี เิ ลสหรอื คุณธรรมอะไรแทรกซึมอยูในใจ ควรแกไขหรือสง เสรมิ อยางไรจงึ จะเปน ผลดี เชน นี้ทานจดั เปนปาฏหิ าริยอ ันหนึ่ง เรยี กวา อาเทสนาปาฏิหารยิ แปลวา การดักใจถูกตองเปน ทีน่ า อัศจรรย เปน ปาฏิหารยิ ๑ ใน ๓ คือวา ปาฏิหาริยม ี ๓ ประการดงั กลาวมาแลวในบทท่ี ๕ คอื ๑. อิทธปิ าฏิหารยิ ไดแกฤทธเ์ิ ปนที่นาอศั จรรย. ๒. อาเทสนาปาฏิหารยิ ไดแ กก ารดักใจถกู ตอ งเปนท่ีนา อัศจรรย. ๓. อนุสาสนีปาฏหิ าริย ไดแ กคาํ สอนเปนท่ีนาอศั จรรย คอื เปนคาํ สัง่ สอนประกอบดว ย เหตุผล ความจริง และสามารถปฏบิ ัติตามได ทั้งใหผลสมจรงิ แกผ ปู ฏบิ ัตดิ งั ตรสั ไว ไมเ ปนการเกิน วสิ ัย ทง้ั เปน คําสงั่ สอนเหมาะแกทกุ สมยั ดวย. ในบรรดาปาฏหิ ารยิ ๓ นี้ ทรงยกยองอนสุ าสนปี าฏหิ าริยว า เยยี่ มยอด ดวยประทานเหตุผล วา ยง่ั ยืนเปนประโยชนนาน แมแ กป จฉิมชนคนรุนหลังๆ สวนอิทธปิ าฏิหารยิ แ ละอาเทสนา ปาฏิหารยิ น ั้นเปน ประโยชนเฉพาะผไู ดประสบพบเห็น หรอื คนรุนน้ันเทา น้ัน ไมเปน ประโยชนแก คนรุนหลังๆ ดังอนุสาสนี ถึงอยา งน้ันกด็ ี พระผมู ีพระภาคก็มิไดท รงละการทาํ ฤทธแ์ิ ละดักใจ ทรง ใชปาฏิหารยิ ท ง้ั ๓ นน้ั อยูเสมอ พระอนุสาสนยี อ มสาํ เร็จขน้ึ ดวยปาฏหิ าริย ๓ ประกอบกนั ฉะน้ัน จึงสําเรจ็ ประโยชนด ี. เปน ความจริงทแี่ นนอนทส่ี ุด ถาคนผใู หคําส่ังสอนเปน คนมีอานภุ าพทางใจ ท้งั มีญาณหย่ังรู อัธยาศัยของผรู ับคาํ ส่ังสอน และเปนผูทําไดในส่งิ ทีต่ นสัง่ สอนแลว คาํ สง่ั สอนยอ มมีรสชาตดิ ดู ดื่ม และซาบซึง้ ถงึ ใจของผฟู ง เปน เหตใุ หผูรับคําส่ังสอนบังเกิดสตแิ ละปญญาไดดี ดว ยเหตุนี้ปาฏิหาริย ทัง้ ๓ ประการจงึ จําเปน ตอ งใชในการแนะนาํ สั่งสอนผอู นื่ เสมอไป ผูม ีอานุภาพทางใจแมมไิ ดจ งใจ ใชอ ิทธปิ าฏิหารยิ ก ็ตาม อํานาจใจน้ันยอมแผรัศมีครอบคลมุ จิตใจผูฟงใหเ กิดความสงบ ความ เคารพยาํ เกรง ความต้งั ใจฟงอยูโดยปกติแลว จงึ เปน อันแสดงอิทธปิ าฏหิ าริยอ ยูใ นตัวแลว สวน การดกั ใจหรือกําหนดรูใจก็เหมอื นกนั สําหรบั ผมู ใี จผองแผวยอมสามารถรับสัมผสั กระแสจติ ของ ผอู นื่ ไดท กุ ขณะไป ถึงไมตั้งใจกาํ หนดรกู ย็ อ มรูไดอ ยูแลว การแสดงธรรมหรอื ใหคาํ แนะนําส่ังสอน จงึ อาจปริวตั ิไปตามอัธยาศยั ของผูรับธรรมเทศนา หรือคาํ แนะนาํ ส่งั สอนไดโดยปกติ อนสุ าสนขี อง ทา นผูสามารถเชน นี้ ยอ มมรี สชาติดูดด่ืมซาบซงึ้ ถึงใจ เปน อนุสาสนีปาฏิหาริยแ ท. ผูมโี อกาสไดร ับ คําสงั่ สอนของผูเชนน้ัน ยอมเทากบั ไดรับโสรจสรงดวยนาํ้ ทิพย หรือไดรับพรสวรรค ยอ มแชมชื่น เบกิ บานใจทันทีทันใด. เจโตปรยิ ญาณ นอกจากอํานวยประโยชนใ นการแสดงธรรมแลว ยงั เปนประโยชนใ นการ เลือกคบคาสมาคมกับคนไดดดี วย เพราะวา อาเสวนะ คือการคบคา สมาคมยอมเปน ปจ จยั นอม เอียงอัธยาศัยใจคอของคนเราใหเ ปลี่ยนแปลงไปได ถา จิตใจนอมเอยี งไปในดานดีก็เปนศรีแกต ัว ถา นอมเอยี งไปในดา นรายกเ็ ปน ภัยแกตวั นักปราชญทานจงึ สอนใหเลือกคบคน เวนการคบคา ทพิ ยอาํ นาจ ๙๘
สมาคมกบั คนชวั่ สมาคมกับคนดี คนดีและคนชั่วทานวา มคี วามประพฤตเิ ปนเครอ่ื งหมายใหร ู คอื คนดมี ีความประพฤตดิ ี และคนชว่ั มคี วามประพฤติชั่วเปนลกั ษณะ แตถ ึงกระน้นั ก็มใิ ชร ูไดงา ย เพราะคนโดยมากยอ มมนี สิ ยั ปด ช่ัวเปดดี เราจะหาคนเปดเผยตรงไปตรงมาไดยาก ถา เรามีเจโต- ปรยิ ญาณแลว เราจะรจู กั คนดีคนเลวไดไ วทสี่ ดุ เพราะคนเราปด อะไรๆ ในสว นภายนอกน้ันยอ มปด ได แตจะปดใจปดไมอ ยู ผรู สู ึกตวั วา มีความชวั่ พยายามปกปดเพือ่ มใิ หผอู ่นื รนู ้นั ยอ มมีความรสู ึก ในใจรนุ แรง ทําใหเ กิดกระแสทางใจขนึ้ แลวเกิดเปนลกู คล่ืนแผซา นออกไปเปน ปริมณฑล คนผูมี เจโตปรยิ ญาณยอมรบั ทราบไดดี ผูพยายามปกปดความชว่ั ของตัวจึงเทากับเปดเผยความช่ัวในใจ ยง่ิ ขน้ึ สมกบั คําวา “ย่ิงปดเทา กับยิง่ เปด” เพราะเหตุวา กระแสจิตยอมเกิดจากความรสู ึกสะเทือน ใจนั่นเอง กอนอน่ื ทา นแสดงสิ่งปรุงแตง ไว ๓ ประการ คอื ๑. กายสงั ขาร สง่ิ ปรุงแตง กาย ไดแกลมหายใจเขา-ออก ซงึ่ เปนไปอยโู ดยปกตธิ รรมดา ทาํ ใหร างกายเจริญอยแู ละเจริญเติบโตสบื ตอกันไป เม่ือใดลมหายใจขาดไป เมือ่ นั้นกายกห็ ยุดดํารง และหยุดเจริญเตบิ โต ถึงแกความขาดสิน้ ชีวติ อินทรยี ลงทนั ท.ี ๒. วจสี ังขาร ส่ิงปรุงแตงวาจา ไดแ กว ติ กคอื ความคิด และวิจารคอื ความอา น อันเปนไปอยู ในจิตใจของคนปกติธรรมดาทุกคน กอ นท่จี ะพูดจาปราศรยั ยอ มตองคดิ อา นเรื่องทีจ่ ะนาํ มาพดู และคดิ อา นปรุงแตงคําพดู เขา เปนพากย เปน ประโยค ใหผ ูฟงรเู รื่องท่ตี นพูด เมื่อคดิ อา นขึน้ ยังมิ ทันไดพ ูดออกมาทางปากก็ยอมเกิดเปนสัททชาติทนั ที ผมู ีทิพพโสต-หูทิพย ยอมไดย ินเชนเดยี วกับ เสยี งพดู ทางปาก สวนผูม ีเจโตปรยิ ญาณยอ มรับทราบกระแสสัมผสั แหง ความคิดอา นน้นั ได งายดาย. ๓. จิตตสงั ขาร ส่งิ ปรงุ แตงจิต ไดแ กสัญญาและเวทนา สญั ญาหมายถึงความรสู ึกสัมผัสทาง ทวาร ๖ จาํ ไดว าเปนอะไร เวทนาหมายถึงความรูสกึ รสสมั ผัส คอื เยน็ รอน ออน แขง็ เปนที่ สบาย ไมส บาย หรือเฉยๆ น้ัน ความรสู กึ ๒ ประการนีป้ รุงแตง จิตใหเกดิ ความรูสึกด-ี รายข้ึนในใจ อยเู สมอ และเปน เหตใุ หคดิ อา น ตรึกตรองหาลทู างเพ่ือไดสงิ่ ดี เวน ส่ิงรายเสมอ เมอื่ จะพูดกย็ อม พูดไปตามความคดิ อานน่ันเอง สญั ญาและเวทนาทาํ ใหเกิดกระแสคล่นื ข้นึ ในจิตกอนสง่ิ อน่ื ๆ ดังน้ี ผมู ีเจโตปริยญาณจึงสามารถรบั รไู ดใ นเม่ือมาสมั ผัสเขากบั ใจ เพราะสง่ิ ใดที่เกดิ เปนกระแสคลน่ื แลว สง่ิ นั้นจะตอ งแผซ านออกไปเปน ปรมิ ณฑลรอบๆ ตวั จะปด ไวไมอยู เหมอื นคลื่นนา้ํ เกดิ จาก ความสะเทือน ยอมเปนกระแสคลน่ื กระจายออกไปจนสดุ กําลงั ของมนั ฉะนั้น. จิตตสังขาร และ วจสี งั ขาร ๒ ประการน้ี ถาจะเปรียบกับคลน่ื ภายนอก จติ ตสังขารเปรยี บ ไดกบั คล่ืนวิทยุ วจีสังขารเปรยี บไดกบั คล่นื เสียง ซึง่ แผกระจายไปในอากาศวิถฉี ะนนั้ สมยั ปจ จุบัน วทิ ยาศาสตรสามารถคนพบความจริงเร่อื งวทิ ยุและเสยี ง จงึ ประดษิ ฐเคร่ืองสง และรับคลนื่ ทั้งสองน้ี เปนผลสําเรจ็ ทําใหเ ราไดฟ งเสยี งอันมาจากระยะไกลได สวนคลื่นจติ ตสงั ขารและวจีสงั ขารน้ี เมอ่ื จะบญั ญตั ิศัพทใหคลายคลงึ กบั คลน่ื ทั้งสองนั้น ขาพเจา ขอบญั ญตั คิ ลืน่ จติ ตสังขารวา คลน่ื จติ , ขอ บัญญัติคล่ืนวจีสงั ขารวา คล่นื เสยี ง คลนื่ จติ และคลน่ื เสียงยอ มแผกระจายออกจากแหลง คือตัวเอง เปนปรมิ ณฑลอยูเ สมอ กวางแคบตามกําลังของคลน่ื จติ ซง่ึ เปนแรงสง นั่นเอง ถา ความกระเทือน ทางจติ แรง คลืน่ กแ็ รง และสามารถสงไปไดไ กลมากเชนเดยี วกับคลนื่ วิทยฉุ ะนั้น ผูมเี คร่ืองรับคลนื่ ทิพยอาํ นาจ ๙๙
จติ และคลน่ื เสียงยอมสามารถรับรรู บั ฟง ได เหมือนผมู เี คร่อื งรับวิทยุฉะนั้น จิตใจที่ไดร ับการฝก ฝน จนใสแจวแลว นนั้ จะเปนเครือ่ งรับรูค ลื่นจติ เปนอยางดี จิตใจทไี่ ดร ับการฝกฝนเชนนั้นดว ย มีทพิ พ โสตดว ย จะสามารถรับฟง คลนื่ เสยี งไดเปนอยา งดี เวน แตจ ะไมเ ปดรบั รูรบั ฟงเทา นั้น ถามีความ จํานงจะรบั รูรบั ฟงแลวเปนตอ งรแู ละไดยินเสมอ. นอกจากความสามารถในการรับรคู ล่ืนจติ และรับฟง คล่นื เสียงของจติ ดงั กลา วมาแลว ผเู ช่ียวชาญทางจิตอยา งเยย่ี ม เชน พระบรมศาสดา สามารถรับรสู ภาพของจิตกอ นแตทจ่ี ะมีความ กระเทือนจิตและคดิ อา นเสยี ดวยซ้ํา เชนในเวลาทบ่ี ุคคลอยูในฌานไดต ัง้ ใจไวอ ยา งไร มคี วามรูส ึก ในขณะน้นั อยา งไร มคี วามนอมเอยี งไปทางไหน เม่อื ออกจากฌานแลว จะรสู ึกรสสัมผัสอยา งไร และจะคดิ อา นอยา งไรตอ ไป เชนนี้ พระบรมศาสดาทรงสามารถคาดการณถ ูกตอ งหมด มีเรือ่ งหน่ึง ในพระไตรปฎก ซ่ึงควรเปน อุทาหรณแหงเจโตปริยญาณอยา งดี จะนาํ มาเลา ตอไปน้ี สมยั หน่ึง สมเดจ็ พระผมู พี ระภาคเจา ประทับท่ีบุพพาราม กรงุ สาวัตถี วนั นัน้ เปน วันอุโบสถ พระจันทรเ พญ็ พระมหาเถระทม่ี ชี ่อื เสียง คนรูจักมากมายหลายทาน อาทิเชน พระมหาโมคคลั ลา- นะ พระอนุรทุ ธะ ฯลฯ ตา งก็มาเฝาและรอฟงพระปาฏิโมกข พระอานนทไดจ ัดแจงชมุ นุมสงฆ พรอมเพรยี งในเวลาเย็น แลวไปเฝากราบทลู เวลาใหท รงทราบ สมเด็จพระผูม ีพระภาคเจากท็ รงนง่ิ คร้นั ปฐมยามลวงไปแลว พระอานนทกไ็ ปเฝากราบทลู เตอื นอีก กท็ รงนิง่ อกี คร้นั มัชฌมิ ยามลว งไป แลวพระอานนทก ็ไปเฝา กราบทลู เตอื นอกี จึงตรัสวาสงฆไมบ ริสทุ ธ์ิ ไมส มควรจะสวดพระปาฏิโมกข พระอานนทจงึ กลบั ไปแจงพระพุทธดาํ รสั แกพ ระมหาเถระในที่ชมุ นุม พระมหาเถระรปู หนึง่ ไดล ุก ข้นึ ประกาศพระพทุ ธดาํ รสั นัน้ แลวบอกใหสาํ รวจตวั เอง ใครเปนผูไ มบริสุทธิ์จงออกไปจากท่ีชมุ นุม ภกิ ษทุ ้ังหลายตา งก็นิ่ง ไมม ใี ครแสดงตัววา ไมบ ริสทุ ธิ์แลวออกจากทช่ี ุมนมุ ไป พระมหาเถระ ประกาศซํา้ อีกเปนครัง้ ที่ ๒ และท่ี ๓ โดยลําดับ ก็ไมม ีใครแสดงตัววาไมบ ริสุทธ์เิ ชนเดิม จงึ ทนั ทนี ้ัน พระมหาโมคคัลลานเถระไดต รวจจติ ภกิ ษทุ ้ังหลายดวยเจโตปริยญาณ ทราบวาภกิ ษรุ ูปหนึ่งเปนผู ไมบ ริสุทธิส์ มจรงิ กับพระพทุ ธดํารัส จงึ บอกระบุชอื่ ภกิ ษุนนั้ ใหออกไปจากท่ีชุมนมุ ภกิ ษุน้ันก็ยงั นง่ิ อยูอ ีก พระอานนทจึงลุกขึ้นไปลากแขนเธอออกไปจากทชี่ ุมนมุ แลว ไปกราบทลู สมเด็จพระผมู พี ระ ภาควา บดั น้มี ีสงฆบ รสิ ทุ ธิแ์ ลว โปรดทรงแสดงพระปาฏิโมกขเถดิ พระเจาขา สมเดจ็ พระผมู พี ระ ภาคเจาเสดจ็ ไปสทู ี่ชมุ นุมแลว ทรงแสดงปาฏิโมกขในทา มกลางสงฆผ ูบรสิ ทุ ธิ์ เมือ่ ทรงแสดงพระ ปาฏิโมกขจบลงแลวจงึ ตรสั วา ไมเปนการสมควรเลยที่ตถาคตจะแสดงพระปาฏิโมกขใ นสงฆผ ูไม บรสิ ุทธิ์ ถา ขืนแสดง ศีรษะของผูไมบรสิ ุทธิ์นั้นก็จะพงึ แตก ๗ เส่ียง ดงั น.ี้ ความจริง จติ ใจโดยธรรมชาติยอมมกี ระแสอยเู สมอ กระแสจิตใจของบคุ คลยอ มมีลกั ษณะ ตางๆ กนั แลว แตส ิ่งสัมปยุตตในขณะน้ัน ถา สงิ่ สัมปยุตตเ ปนฝายดีกระแสจิตก็ยอ มดี ถา สงิ่ สมั ปยตุ ตเ ปน ฝายไมดกี ระแสจติ ก็ยอมไมดี ผูมคี วามเชย่ี วชาญทางเจโตปรยิ ญาณอยา งเยย่ี ม สามารถรบั รูก ระแสจติ ดังวานี้ไดด ี เทากับรูใจตนเอง เพราะทานผเู ชนน้นั ยอ มไดผา นการฝก ฝนจิต ในจิตตานปุ ส สนาสติปฏ ฐานมาเปน อยางดีแลว กระแสจิตตามทท่ี านกาํ หนดไวใ นจิตตานปุ สสนา สติปฏฐาน มี ๑๖ ลกั ษณะ ซง่ึ เปน ลกั ษณะใหญๆ แบงเปน ฝายดแี ละฝายไมดี เพื่อทําการศึกษา สําเหนียกใหท ราบกันทกุ ลกั ษณะไป จะไดแกไขสว นช่ัว และปรับปรุงสวนดีใหดยี ง่ิ ขึ้นไปดังตอไปนี้ ทิพยอาํ นาจ ๑๐๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180