Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ-จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

หนังสือ-จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by อารียา แซ่หมี, 2021-03-17 07:01:53

Description: หนังสือ-จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

คำนำ หนงั สอื เรยี นวชิ า จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ รหัสวชิ า 20204-2009 เรียบเรยี งขึน้ ตามหลักสูตประการศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการ อาสารสนเทศ ชวี ศึกษา หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 6 หน่วย คือ ความรู้เกี่ยวกับหลักการบริหาร จัดการความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ, ทรัพย์สินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี, ระบบบริหารษาความปลอดภัยของข้อมูล ISO 27001,การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, การรักษาความปลอดภัยของขู้ลสารสนเทศในระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต และการใช้ คอมพิวเตอร์โดยคำนึงถึงความปลอดภัย, ค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์ ในแต่ละหน่วยจะ ประกอบด้วยสาระสำคัญ สมรรถนะประจำหน่วย เรื่องจะศึกษา จุดประสงค์เชิงพฤติรรม แบบทดสอบหลังเรยี น ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนสูงสุด และ ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ให้เกิดการพัฒนาตนเอง ขอขอบคุณผู้แต่งทุกท่าน หนังสือทุกเล่มท่ี เป็นส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำหนังสือ หากผิดพลาดประการใดผู้จัดทำขอ อภยั ไว้ ณ ที่นด้ี ว้ ย ผจู้ ดั ทำ โป๊ะกา พะดี สดุ ารัตน์ แซ่เจา๊ อารียา แซ่หมร สารบัญ หน้า หนว่ ยท่ี 1 จรยิ ธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 ความหมายของจรงิ ธรรมในการใช้คอมพิวเตอรื 1 คอมพิวเตอร์ และ สารสนเทศ 2

อินเทอร์เน็ต 2 แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 1 7 หน่วยท่ี 2 จริยธรรมสำหรับผเู้ ช่ยี วชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและผใู้ ช้เทคโนโลยี 8 ความสมั พันธ์ระหวา่ งผ้เู ชีย่ วชาญด้านเทคโนโลยีสารสนกบั บคุ คลอื่น 8 ความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยกี บั ศกึ ษาศาสตร์ 11 การศกึ ษาเปน็ ระบบและเปน็ ขน้ั ตอน 15 องค์ประกอบระบบการสอน 25 กฎเกณฑท์ างทฤษฎี 26 แบบทดสอบหลังเรยี นหนาวยที่ 2 27 หนว่ ยท่ี 3 อาชญากรรมคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ต 28 ความหมาย และ อาชญากรคอมพวิ เตอร์ 28 สาเหตกุ ารณเ์ พ่ิมจำนวนของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 31 ประเภทของการโจมตี 35 การปอ้ งกนั อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และอนิ เทอรเ์ นต็ 37 แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 3 44 หน่วยที่ 4 ความเป็นสว่ นตัว 45 ความหมายของความเปน็ สว่ นตัว 45 ความปลอดภยั ของข้อมูลสว่ นบุคคล 51 แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยที่ 4 53 หน่วยท่ี 5 เสรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ 54 เสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ 54 ความคิดเหน็ ท่กี ฎหมายไม่คมุ้ ครอง 59 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 5 60 หนว่ ยท่ี 6 ทรัพย์สนิ ทาง 61 ความหมายของทรัพย์สนิ ทางปัญญา 61 ประเภทของทรพั ย์สินทางปัญ 64 แบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 6 74 บทที่ 1 จรยิ ธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของจริยธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์ จริยธรรม หมายถึง \"หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบ คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ\" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่ กับวฒั นธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อยา่ งเชน่ กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดู การทำงานของพนักงาน เปน็ ต้น ตัวอย่างของการกระทำท่ียอมรับกนั โดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำทีผ่ ิดจรยิ ธรรม เชน่ การใชค้ อมพิวเตอรท์ ำร้ายผู้อืน่ ให้เกิดความเสยี หายหรือก่อความรำราญ เชน่ การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัว ของบุคคลไปลงบนอนิ เตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถงึ ข้อมูลหรือ

คอมพวิ เตอร์ของบุคคลอ่ืนโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมดิ ลิขสิทธิ์ โดยทัว่ ไป เม่ือพจิ ารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับ การใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศแลว้ จะกลา่ วถึงใน 4ประเด็น ทรี่ ู้จักกนั ในลกั ษณะตวั ย่อวา่ PAPA ประกอบด้วย 1. ความเปน็ ส่วนตวั (Information Privacy) 2. ความถูกตอ้ ง (Information Accuracy) 3 ความเปน็ เจา้ ของ (Information Property) 4. การเข้าถึงขอ้ มลู (Data Accessibility) 1. ความเปน็ สว่ นตัว (Information Privacy) ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของ สามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปั จเจกบุคคล กลุ่ม บุคคล และองคก์ ารต่างๆปัจจบุ นั มปี ระเดน็ เกยี่ วกับความเปน็ ส่วนตวั ทเ่ี ป็นข้อหนา้ สงั เกตดังน้ี 1. การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการ บนั ทึก-แลกเปล่ยี นขอ้ มูลท่ีบคุ คลเข้าไปใชบ้ ริการเวบ็ ไซต์และกลุ่มขา่ วสาร 2. การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคล่ือนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เชน่ บริษทั ใช้คอมพิวเตอร์ในการ ตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการ พัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็น ส่วนตวั ซงึ่ การกระทำเช่นนีถ้ ือเป็นการผิดจรยิ ธรรม 3. การใชข้ ้อมลู ของลกู คา้ จากแหล่งตา่ งๆ เพ่อื ผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด 4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้าง ฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนำไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิ ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอรเ์ น็ตที่มี การใชโ้ ปรโมชนั่ หรอื ระบใุ หม้ กี ารลงทะเบยี นก่อนเขา้ ใชบ้ รกิ าร เชน่ ข้อมูลบัตรเครดติ และท่อี ยู่อเี มล์ 2. ความถกู ตอ้ ง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ความนา่ เชื่อถือได้ของข้อมลู ทงั้ น้ี ขอ้ มูลจะมคี วามนา่ เช่ือถือมากน้อยเพยี งใดย่อมข้ึนอยู่กับความถูกต้องในการ บันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกีย่ วข้องกับความถกู ต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะ เป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกค้าลงทะเบียน ด้วยตนเอง หรือกรณีของข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ อีกประเด็นหนึ่ง คือ จะทราบได้อย่างไรว่า ข้อผดิ พลาดที่เกดิ ขึ้นน้ันไม่ได้เกิดจากความจงใจ และผใู้ ดจะเปน็ ผูร้ บั ผดิ ชอบหากเกิดข้อผิดพลาด ดังนั้น ในการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบ ความถกู ต้องกอ่ นทจ่ี ะนำเข้าฐานข้อมลู รวมถึงการปรับปรุงข้อมลู ให้มีความทนั สมัยอยู่เสมอ นอกจากนี้ ควรให้ สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลของตนเองได้ เช่น ผู้สอนสามารถดูคะแนนของ นักศึกษาในความรับผดิ ชอบ หรอื ท่ีสอนเพอื่ ตรวจสอบวา่ คะแนนท่ีป้อนไม่ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง 3. ความเปน็ เจ้าของ (Information Property) สทิ ธิความเป็นเจ้าของ หมายถงึ กรรมสิทธใ์ิ นการถือครองทรัพย์สิน ซ่งึ อาจเปน็ ทรัพยส์ ินทั่วไปทจี่ บั ตอ้ งได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรม คอมพิวเตอร์ แตส่ ามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในส่ือต่างๆ ได้ เชน่ สงิ่ พมิ พ์ เทป ซีดีรอม เปน็ ต้น

ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ที่มีการจดลิขสิทธิ์ นนั่ หมายความว่าทา่ นได้จา่ ยค่าลิขสิทธ์ิในการใช้ซอฟตแ์ วร์นั้น สำหรับท่านเอง หลงั จากทที่ ่านเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แลว้ หมายถงึ ว่าทา่ นไดย้ อมรบั ขอ้ ตกลงเก่ยี วกับลิขสิทธ์ใิ นการใช้สินค้า นั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ ติดตั้งได้เพยี งครั้งเดยี ว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่นๆ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เครือ่ งน้ันๆ ท่าน เป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ ทา่ นยงั เป็นบุคคลท่ีมีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีซ้ือมา การคดั ลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหก้ ับเพ่ือน เป็น การกระทำที่จะตอ้ งพิจารณาให้รอบคอบก่อนว่าโปรแกรมที่จะทำการคัดลอกนั้น เป็นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ี ทา่ นมสี ทิ ธใ์ นระดับใด 4. การเข้าถึงข้อมลู (Data Accessibility) ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องและเป็นการรักษา ความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมนั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิด ข้อมูลส่วนตัวในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบหากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตาม ระเบยี บและขอ้ บังคบั ของแต่ละหน่วยงานอย่างเครง่ ครดั แลว้ การผิดจรยิ ธรรมตามประเด็นดงั ที่กล่าวมาขา้ งต้น ก็คงจะไมเ่ กดิ ขึน้ จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรว่ มกัน ผใู้ ชอ้ นิ เทอร์เน็ตมีเป็นจำนวนมากและเพิ่มข้ึนทุกวนั การใช้งานระบบเครือข่ายท่ีออนไลน์และส่งข่าวสารถึงกัน ย่อมมีผู้ที่มีความประพฤติไม่ดปี ะปนและสร้างปัญหาให้กับผู้ใช้อื่นอยู่เสมอ หลายเครือข่ายจึงได้ออกกฏเกณฑ์ การใช้งานภายในเครือข่าย เพื่อให้สมาชิกในเครือข่ายของตนยึดถือ ปฏิบัติตามกฏเกณฑ์และได้รับประโยชน์ สูงสดุ ดังนั้น ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนที่เป็นสมาชิกเครือข่ายจะต้องเข้าใจกฏเกณฑ์ข้อบังคับของ เครือข่ายนั้นมีความ รับผิดชอบต่อตนเองและผู้ร่วมใช้บริการคนอื่นและจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองที่เข้าไปขอใช้ บรกิ ารต่างๆ บนเครือขา่ ยบนระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเรียกเข้ามิได้เป็นเพียงเครือข่ายขององค์กรที่ผู้ ใช้สังกัด แต่เป็นการ เชื่อมโยงของเครือข่ายต่างๆเข้าหากันหลายพันหลายหมื่นเครือข่ายมีข้ อมูลข่าวสารอยู่ระหว่างเครือข่ายเป็น จำนวนมาก การส่งข่าวสารในเครือข่ายนั้นอาจทำให้ข่าวสารกระจายเดินทางไปยังเครือข่ายอื่น ๆ อีกเป็น จำนวนมากหรือแม้แต่การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับหนึ่งก็อาจจะต้องเดินทางผ่านเครือข่ายอีกหลาย เครอื ขา่ ยกว่าจะถงึ ปลายทาง ดงั น้นั ผู้ใช้บริการต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงปัญหาปริมาณข้อมูลข่าวสาร ทีว่ ิง่ อยบู่ นเครือขา่ ย การใช้งานอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชนจ์ ะทำใหส้ ังคมอินเทอรเ์ น็ตน่าใช้และเป็นประโยชน์ร่วมกนั อย่างดี กจิ กรรมบางอย่างที่ไม่ควรปฏิบัติจะต้องหลกี เล่ียงเชน่ การส่งกระจายข่าวไปเป็นจำนวนมากบนเครือข่ายการส่ง เอกสารจดหมายลูกโซ่ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้จะเป็นผลเสียโดยรวมต่อผู้ใช้และไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ ต่อสังคม อินเทอร์เนต็ เพื่อให้การอยู่ร่วมกันในสังคมอินเทอร์เน็ตสงบสุข Arlene H.Rinaldi แห่งมหาวิทยาลัย ฟอร์ริดาแอตแลนติก จงึ รวบรวมกฎกติกามารยาทและวางเป็นจรรยาบรรณอินเทอรเ์ น็ตหรอื ท่ีเรียกว่า Netiquette ไว้ดงั น้ี

จรรยาบรรณสำหรับผใู้ ช้ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-mail) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนมีเมล์บ็อกซ์หรืออีเมล์แอดเดรสที่ใช้อ้างอิงในการรับส่ง จดหมาย ความรับผิดชอบต่อ การใช้งานอเี มลใ์ นระบบจงึ เป็นเร่ืองท่ีทุกคนต้องใหค้ วามสำคัญ เพราะจดหมายมีการรบั ส่งโดยระบบ ซ่ึงหากมี จดหมายค้างในระบบจำนวนมากจะทำให้พื้นที่ บัฟเฟอร์ของจดหมายในระบบหมด จะเป็นผลให้ระบบไม่ สามารถรบั ส่งจดหมายต่อไปได้ หลายตอ่ หลายคร้งั ระบบปฏิเสธการรับส่งจดหมายเพราะไฟลร์ ะบบเต็ม ดังนั้น จึงควรมคี วามรบั ผิดชอบในการดูแลตจู้ ดหมาย (mail box) ของตนเองดงั น้ี 1. ตรวจสอบจดหมายทุกวันและจะต้องจำกัดจำนวนไฟล์และข้อมูลในตู้จดหมายของตนให้เลือกภายในโควต้า ทกี่ ำหนด 2. ลบขอ้ ความหรือจดหมายที่ไม่ต้องการแลว้ ออกจากดิสตเ์ พ่อื ลดปริมาณการใช้ดสิ ก็ใหจ้ ำนวนจดหมายท่ีอยู่ใน ตจู้ ดหมาย (mail box) มจี ำนวนนอ้ ยท่ีสุด 3. ให้ทำการโอนยา้ ยจดหมายจากระบบไปไวย้ งั พซี ีหรือฮารด์ ดสิ ก์ของตนเองเพ่ือใช้อา้ งองิ ในภายหลัง พึงระลึกเสมอว่าจดหมายที่เก็บไว้ในตู้จดหมายนี้อาจถูกผู้อื่นแอบอ่านได้ ไม่ควรเก็บข้อมูลหรือจดหมายที่คุณ คิดว่าไม่ใช้แลว้ เสมือนเปน็ ประกาศไว้ในตูจ้ ดหมาย จรรยาบรรณสำหรบั ผสู้ นทนา (Chat) บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีคำสั่งให้ใช้ในการโต้ตอบกันอย่างออนไลน์หลายคำสั่งเช่น write, talk หรือมีการ สนทนา เป็นกลุ่มเช่น IRC เป็นต้น ในการเรียกหาหรือเปิดการสนทนาตลอดจนการสนทนาจะต้องมมี ารยาทที่ สำคญั ไดแ้ ก่ 1. ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วย หรือมีเรื่องสำคัญที่จะติดต่อด้วย ควรระลึกเสมอ วา่ การขัดจงั หวะผู้อ่นื ท่ีกำลงั ทำงานอยู่อาจสร้างปญั หาให้ได้ 2. กอ่ นการเรียกคสู่ นทนาควรสอบสถานะการใชง้ านของคู่สนทนาท่ีต้องการเรยี กเพราะการเรยี กแตล่ ะคร้ังจะมี ข้อความไปปรากฏบนจอภาพของฝา่ ยถูกเรียกซ่ึงกส็ รา้ งปัญหาการทำงานได้ เชน่ ขณะกำลังทำงานค้าง ftp ซ่ึง ไม่สามารถหยดุ ได้ 3. หลังจากเรียกไปชั่วขณะคู่ที่ถูกเรียกไม่ตอบกลับ แสดงว่าคู่สนทนาอาจติดงานสำคัญ ขอให้หยุดการเรียก เพราะข้อความท่เี รยี กไปปรากฏบนจออย่างแน่นอนแลว้ 4. ควรให้วาจาสุภาพ และให้เกียรติซึ่งกันและกัน การแทรกอารมณ์ขัน ควรกระทำกับคนที่รู้จักคุ้นเคยแ ล้ว เท่าน้นั จรรยาบรรณสำหรบั ผใู้ ชก้ ระดานขา่ ว ระบบสอ่ื สารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบข่าวสารที่ให้บริการในสงั คมอินเทอร์เน็ตมีหลายระบบ เช่น ยูสเน็ตนิสว์ (UseNet News) ระบบสมาชิก แจ้งข่าวหลายสมาคม บอกรับสมาชิกและให้ข่าวสารที่สม่ำเสมอกับสมาชิกด้วยการส่งเป็นจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า Mailing listsผู้เสนอ ข่าวและผู้อภิปรายเร่ือง ต่าง ๆ ที่เขียนลงไปจะกระจายออกไป ทั่วโลก เช่นข่าวบนยูสเน็ตนิวสแ์ ต่ละกลุม่ เมื่อส่งออกจะกระจาย ไปยังเซิร์ฟเวอร์อื่น ๆ ทั่วโลก ผู้ใช้บริการโดย เฉพาะที่ต้องการเขียนข่าวสารบนกระดาษ ข่าวจะต้องเคารพกฏกติกามารยาทโดยเคร่งครัดข้อปฏิบัติที่สำคญั ไดแ้ ก่ 1. ใหเ้ ขียนเร่ืองใหก้ ระชบั ขอ้ ความควรสั้นและตรงประเดก็ ไมก่ ำกวม ใชภ้ าษาที่เรียบงาน สภุ าพเขา้ ใจได้ ในแตล่ ะเรอ่ื งทีเ่ ขยี นให้ตรงโดยขอ้ ความท่ีเขียนควรจะมีหวั ข้อเดยี วต่อเร่ือง 2. ในการเขียนพาดพิงถึงผู้อื่น ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรือสร้างความเสียหายให้ผู้อื่น การให้อีเมลอ์ าจตรง ประเดน็ กว่า

3. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้ ไม่เรียกว่าโคมลอยหรือข่าวลือหรือเขียนข่าวเพื่อความ สนุกโดยขาดความรับผดิ ชอบ 4. จำกัดความยาวของข่าว และหลีกเลี่ยงตัวอักษรควบคุมพิเศษอ่ืน ๆ เพราะหลายเครื่องที่อ่านข่าวอาจมี ปัญหาในการแสดงผล 5. ข่าวบางข่าวมีการกระจายกันมาเป็นลำดับให้ และอ้างอิงต่อ ๆ กันมาการเขียนข่าวจึงควรพิจารณาใน ประเดน็ น้ีด้วย โดยเฉพาะอย่าสง่ จดหมายตอบโต้ไปยงั ผู้รายงานขา่ วผู้แรก 4. ไม่ควรให้เครอื ข่ายของมหาวิทยาลัยเพื่อประโยชนท์ างการค้าหรืองานเฉพาะของตนเพ่ือประโยชนส์ ่วนตนใน เร่อื ง การค้า 5. การเขียนข่าวทุกครง้ั จะต้องลงช่ือ และลายเซน็ ตอนลา่ งของขอ้ ความเพื่อบอกชื่อ ตำแหน่งแอดเดรสที่อ้างอิง ได้ทางอินเทอร์เน็ต หรอื ให้ทีอ่ ย่แู ละหมายเลขโทรศัพทท์ ตี่ ดิ ตอ่ ได้ 6. ในการทดสอบการส่งไม่ควรทำพร่ำเพื่อการทดสอบควรกระทำในกลุ่มข่าวท้องถิ่นที่เปิดให้ทดสอบการส่ง ขา่ วอยู่แล้ว เพราะการส่งข่าวแตล่ ะคร้ังจะกระจายไปทวั่ โลก 7. หลีกเลยี่ งการใช้ตวั อักษรใหญ่ตัวอกั ษรใหญท่ มี่ คี วามหมายถงึ การตะโกนหรือการแสดงความไม่พอใจ 8. การเนน้ คำใหใ้ ช้เคร่ืองหมาย * ข้อความ* แทน 9. ไมค่ วรนำข้อความทีผ่ ูอ้ น่ื เขียนไปกระจายต่อโดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ ของเร่ือง 10. ไม่ควรใช้ข้อความตลกขบขันหรือคำเฉพาะคำกำกวม หรอื คำหยาบคายในการเขยี นขา่ ว 11. ใหค้ วามสำคัญในเรื่องลขิ สิทธไิ์ ม่ควรละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ผิ ้อู ืน่ 12. ไม่ควรคัดลอกข่าวจากที่อื่นเช่น จากหนังสือพิมพ์ทั้งหมดโดยไม่มีการสรุปย่อและเมื่อส่งข่าวย่อจะต้อง อา้ งองิ ทม่ี า 13. ไม่ควรใช้กระดานข่าวเป็นทีต่ อบโตห้ รือละเมิดผอู้ ื่น 14. เมอื่ ตอ้ งการใชค้ ำยอ่ คำย่อท่เี ปน็ ท่ีรูจ้ กั กันทัว่ ไป เชน่ IMHO-in my humble / honest opinion FYI-for your information BTW-by the way 15. การเขียนข้อความจะต้องไมใ่ ชอ้ ารมณ์หรือความรู้สกึ ส่วนตวั และระลึกเสมอว่าขา่ วทเ่ี ขียนหรือ 16. อภปิ รายนี้กระจายไปท่ัวโลก และมผี ู้อา่ นขา่ วจำนวนมาก ในการเขียนคำถามลงในกลุ่มข่าวจะต้องส่งลงในกลุ่มที่ตรงกับปัญหาที่เขียนนั้น และเมื่อจะตอบก็ต้องให้ตรง ประเดน็ 17. ในการบอกรบั ขา่ วด้วย mailing list และมขี ่าวเขา้ มาจำนวนมากทางอีเมลจ์ ะต้องอ่านข่าว และโอนมาไว้ท่ี เครอื่ งตน (พซี ี) หรือลบออกจาก mail box และหากไม่อยู่หรือไม่ได้เปิดตจู้ ดหมายเกินกวา่ หนึ่งสัปดาห์จะต้อง ส่งไปบอกยกเลกิ การรบั เพอื่ วา่ จะไดไ้ ม่มจี ดหมายสง่ เขา้ มามาก บัญญัติ 10 ประการ ต่อไปนี้เป็นจรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เสมือนเป็นแม่บทแห่งกา รปฏิบัติเพื่อระลึกและเตือน ความจำเสมอ 1. ไม่ใชค้ อมพิวเตอรท์ ำร้ายหรือละเมดิ ผูอ้ น่ื 2. ตอ้ งไม่รบกวนการทำงานของผู้อ่นื 3. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรอื แก้ไขเปิดดใู นแฟ้มของผู้อ่นื 4. ตอ้ งไม่ใช้คอมพิวเตอรเ์ พ่อื การโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร

5. ตอ้ งไม่ใช้คอมพวิ เตอร์สรา้ งหลกั ฐานทเ่ี ปน็ เทจ็ 6. ต้องไมค่ ดั ลอกโปรแกรมผูอ้ น่ื ทีม่ ลี ิขสิทธิ์ 7. ต้องไมล่ ะเมดิ การใช้ทรัพยากรคอมพวิ เตอร์โดยทต่ี นเองไม่มีสิทธิ์ 8. ตอ้ งไมน่ ำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 9. ตอ้ งคำนงึ ถงึ สง่ิ ทจ่ี ะเกิดขนึ้ กบั สงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทำ 10. ต้องใชค้ อมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กติกามารยาท จรรยาบรรณเป็นสิ่งที่ทำให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็นระเบียบความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นเรื่องที่จะต้องปลูกฝัง กฎเกณฑ์ของแต่ละเครือข่ายจึงต้องมีการวางระเบียบเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีระบบและเอ้ือ ประโยชน์ซึ่งกันและกัน บางเครือข่ายมีบทลงโทษและจรรยาบรรณที่ชัดเจน เพื่อช่วยใหส้ ังคมสงบสุขและหาก การละเมดิ รนุ แรงกฎหมายกจ็ ะเข้ามามบี ทบาทได้เชน่ กัน กรณีศกึ ษา บางท่านอาจสงสัยว่า ถ้าเราทำเว็บไซต์เผยแพร่ภาพลามกผู้ใหญ่ทางอินเทอร์เน็ตแล้วมันผิดกฎหมาย แล้วถ้า เป็นภาพลามกเด็กล่ะ จะผิดกฎหมายหรือเปล่า แล้วถ้าผิดกฎหมายแล้วจะมีโทษเท่ากันหรือเปล่า หรือมีโทษ น้อยกวา่ เพราะกฎหมายมองวา่ เปน็ เรอ่ื งเดก็ ๆ บางท่านอาจสงสัยว่า ถ้าเราทำเว็บไซต์เผยแพร่ภาพลามกผู้ใหญ่ทางอินเทอร์เน็ตแล้วมันผิดกฎหมาย แล้วถ้า เป็นภาพลามกเด็กล่ะ จะผิดกฎหมายหรือเปล่า แล้วถ้าผิดกฎหมายแล้วจะมีโทษเท่ากันหรือเปล่า หรือมีโทษ นอ้ ยกว่าเพราะกฎหมายมองวา่ เป็นเรอ่ื งเดก็ ๆ คำตอบคอื ไม่ครับ ตรงข้ามกนั เลย ในหลาย ๆ ประเทศ กฎหมายอาญาของเขากำหนดชดั เจนเลยนะครับว่าการ เผยแพร่สิ่งลามกอนาจารที่เกี่ยว กับเด็กไม่ว่าจะโดยผ่านสื่อใดๆ (รวมถึงอินเทอร์เน็ตด้วย) จะมีโทษมากกว่า การเผยแพร่ส่ือลามกท่วั ๆ เพราะเขามองว่าเดก็ ควรไดร้ บั ความคุ้มครองที่มากกว่า สำหรับกฎหมายไทยนั้น กฎหมายในปัจจุบันคือประมวลกฎหมายอาญามาตรา 287 ก็ยังไม่ชัดเจนว่าจะใช้ บังคับกับผูท้ ีเ่ ผยแพร่สงิ่ ลามกทางอินเทอรเ์ นต็ ไดห้ รือไม่ (จนถึงตอนน้กี ็ยงั ไม่มีคดีไปให้ศาลท่านวางหลักในเรื่อง นี้ครับ แต่ผมมีความเห็นส่วนตัววา่ น่าจะปรับใช้ได้) และถึงจะตีความว่าใช้ได้ กฎหมายดังกล่าวก็ไม่ได้เแยกส่ิง ลามกอนาจารที่เกี่ยวกับเด็กกับเกี่ยวกับผู้ใหญ่เอาไว้ คือมีโทษเท่ากันครับ (จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่ เกิน 6 พันบาทหรอื ท้ังจำท้งั ปรบั )

บทท่ี 2 จรยิ ธรรมสำหรับผ้เู ชยี่ วชาญดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและผใู้ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสมั พันธ์ระหว่างผูเ้ ชยี่ วชาญด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศกับบคุ คลอ่นื ความสมั พันธ์ของเทคโนโลยกี บั ศกึ ษาศาสตร์ การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้นส่วนใหญ่นำมาใช้ในการแก้ปัญหาในด้ านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทางด้านการศึกษามากมาย เช่น - ปัญหาผู้สอน - ปัญหาผู้เรียน - ปัญหาด้านเนื้อหา – ปัญหา ด้านเวลาปัญหาเรื่องระยะทางนอกจากนั้นการนำเทคโนโลยีการศึกษามาใช้ในการเรียนการสอนก็เพื่อเพ่ิ ม ประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนและเพิ่มประสิทธิผลทางการศึกษาอีกด้วยคณะกรรมการด้านเทคโนโลยี การศกึ ษาไดส้ รุปความสำคญั ของเทคโนโลยกี ารศึกษาดังน้ี 1.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรยี นได้เรว็ ข้นึ ทำให้ผสู้ อนมเี วลาให้ผู้เรียนมากขนึ้ 2. เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถ ของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี 3. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัด การศกึ ษาเปน็ ระบบและเปน็ ขน้ั ตอน 4. เทคโนโลยกี ารศึกษาช่วยใหก้ ารศึกษามีพลังมากขนึ้ การนำเทคโนโลยดี า้ นสอื่ เปน็ เครื่องมืออยา่ งหนึ่งที่จะทำ ให้การศึกษามีพลัง 5. เทคโนโลยกี ารศึกษาทำใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกบั สภาพความจริงในชีวิตมาก ที่สดุ 6. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัยบทบาทของเทคโนโลยีการศึกษาในการเรียนการสอนจึงมีอยู่ 4 บทบาท ดังน้ี 1. บทบาทดา้ นการจดั การ 2. บทบาทด้านการพฒั นา 3. บทบาทด้านทรพั ยากร 7. บทบาทด้านผู้เรียนจาก Domain of Education Technology จะเห็นได้ว่าแนวโน้มของเทคโนโลยีทาง การศึกษา คือ การจัดระเบียบ (organizing) และการบูรณาการ (integrating) องค์ประกอบต่างๆ ทั้งหลายท่ี จะเอือ้ อำนวยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล หรือกล่าวได้ว่า เปน็ การเอื้ออำนวย ต่อการเรียนรู้องคป์ ระกอบต่างๆ ท้ังหลายนนั้ ประกอบด้วย 1 การจัดการทางการศึกษา (Educational Management Functions)เปน็ หนา้ ท่ที ม่ี ีจดุ มุ่งหมาย เพื่อควบคุม หรอื กำกับการพัฒนาการศึกษา/การสอน หรือการจดั การทางการศึกษา/การสอน (การวจิ ัย การออกแบบ การ

ผลิต การประเมนผล การให้ความช่วยเหลือการใช้) เพื่อเป็นหลักประกันประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ซ่ึง แบ่งเปน็ 2 ประการใหญ่ ๆ คอื 1.1 การจัดการหรอื บริหารดา้ นหนว่ ยงานหรือองค์การ (Organization Management) เพื่อใหด้ ำเนินงานตาม วิธีระบบและบรรลวุ ัตถุประสงคจ์ ะเกย่ี วข้องกบั งานสำคญั ๆดังน้ีคือ 1.1.1 การกำหนดจุดมุ่งหมายและนโยบายเกี่ยวกับบทบาท วัตถุประสงค์ การเรียนการสอน ผู้เรียน ทรัพยากรการเรียน ฯลฯ จะต้องให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกันการให้การสนับสนุน จะต้องมีการ วางแผน การจดั หาข้อมูลตลอดจนส่ิงอำนวยความสะดวกในการพิจารณาและตดั สนิ ใจ 1.1.2 การจดั บริการทมี่ ีประสทิ ธิภาพ 1.1.3 การสร้างความประสานสัมพันธ์ ให้มีการร่วมมือในการปฏิบัตงิ านของทกุ ฝ่าย ตลอดจนวิธีการเผยแพร่ ขา่ วสาร และการตดิ ต่อส่ือสารเพอ่ื ให้การปฏิบตั ิงานดำเนินไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยและสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ 1.2 การจัดหรือบริหารงานด้านบคุ คล (Personal Management) เปน็ การจดั งานทางด้านการจัดบุคลากรให้ เหมาะสมตามหน้าที่การงาน และความสามารถเฉพาะงาน เพื่อให้การดำเนนิ งานมีประสทิ ธภิ าพ อันได้แก่การ คัดเลือกบุคคลเข้าทำงานทั้งการบรรจุใหม่ หรือการว่าจ้าง การฝึกอบรมหรือพัฒนากำลังคน การนิเทศงาน การบำรุงขวัญการทำงานสวัสดิการและการประเมินผลการประกอบกิจการของบุคลากร 2. การพัฒนาทางการศึกษา (Educational Development) เป็นหน้าที่ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการวิเคราะห์ ปญั หาการคดิ คน้ การปรบั ใช้และการประเมนิ ผลขอ้ แก้ไขปญั หาทรัพยาการเรยี น ดว้ ยการวิจยั (Researci-tneory) การออกแบบ(Desing) การผลิต(Production) การ ประเมินผล (Evaluation) การใช้(Utilizsiton) ทั้งหมดนี้ต่างก็มีวิธีการดำเนินการที่มีส่วนสัมพันธ์กับทรัพยากรการเรียน เช่น ในด้านการวิจัยนั้น เราก็วิจัย ทรัพยากรการเรียนนั่นเอง ซึ่งก็ได้แก่การวิจัย ข่าวสารข้อมูล บุคลากร วัสดุ เครื่องมือ เทคนิ ค และอาคาร สถานที่ ดังนี้เป็นต้น นอกจากนี้ เนื่องจากว่าเทคโนโลยีการศึกษามีส่วนในการพัฒนา และเอื้ออำนวยต่อ กระบวนการสอนต่าง ในระบบการสอน จงึ จะตอ้ งมีกิจกรรมที่สมั พันธก์ ับการพัฒนาระบบการสอนและระบบ การศึกษาด้วย 1.การวจิ ัย ในการพฒั นาทรัพยากรการเรียนเปน็ การสำรวจศึกษาค้นควา้ และทดสอบเกย่ี วกับความรู้ ทฤษฎี (ทฤษฎี และระเบียบวิธีวิจัย) ที่เกี่ยวข้องกับการจดั การและการพัฒนาทรัพยากรการเรียน องค์ประกอบระบบ การสอนและผู้เรียน การวิจัยเป็นการพัฒนาโครงสร้างของความรู้ ซึ่งจะเป็นพื้นฐาน การตัดสินใจในการ ดำเนินการผลของการวิจัยคือ ได้ความรู้ ซึ่งจะนำไปใช้ ศึกษาค้นคว้าข้อมูล อ่านข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สงั เคราะหข์ อ้ มลู ทดสอบข้อมูล วิเคราะหแ์ ละทดสอบผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ 2. การออกแบบ เป็นการแปลความหมาย ความรู้ในหลักการทฤษฎีออกมาในรายละเอียด เฉพาะสำหรับ เกย่ี วกับทรพั ยาการเรียน หรือองค์ประกอบระบบการสอน ผลลพั ธ์ของการออกแบบได้แกร่ ายละเอียดเฉพาะ สำหรับผลิตผลของทรัพยากรการเรียน/องค์ประกอบระบบการสอนในเรื่องเกี่ยวกับ รูปแบบหรือแหล่ง หรือ ทรัพยากรกิจกรรมที่ใช้ในการดำเนินการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนวัตถุประสงค์ ศึกษาลักษณะผู้เรียน วิเคราะห์งาน กำหนดเง่ือนไขการเรียนกำหนดสภาวการเรียน กำหนดรายละเอียดทรัพยากรการเรียน หรือ องคป์ ระกอบระบบการสอน 3. การผลิต มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลความหมาย ข้อกำหนดรายละเอียดสำหรับ ทรัพยาการการเรียน/ องคป์ ระกอบระบบการสอนใหเ้ ป็นแบบลักษณะเฉพาะ หรือเปน็ รายการท่จี ะปฏิบัตไิ ด้ ผลลัพธท์ ไ่ี ด้คือ ผลิตผล ลักษณะเฉพาะในรูปแบบ ข้อทดสอบ แบบจำลอง กิจกรรมที่ดำเนินงาน ได้แก่ การใช้เครื่องมือสำหรับการ ผลติ การเขียนแบบการร่างแบบการเขยี นเรอ่ื งหรือเค้าโครงสรา้ งแบบจำลอง

4 การประเมินผลมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อวัดประเมินผลการดำเนินงานของทรัพยากรการเรียน/องคป์ ระกอบระบบ การสอน และเพื่อพัฒนาแบบจำลองที่ใช้ทดสอบ ผลลัพธ์ที่ได้ การประเมินผลการออกแบบ ประสิทธิผลของ ทรพั ยากรการเรยี น 5. ทรัพยากรการเรียน (Learning Resources)ทรัพยากรการเรียน ได้แก่ ทรัพยากรทุกชนิด ซึ่งผู้เรียน สามารถใช้แบบเชิงเดี่ยว หรือแบบผสม แบบไม่เป็นทางการ เพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ ทรัพยากรการ เรียนรู้ ได้แก่ข้อมูลสนเทศ/ข่าวสารบคุ คลวสั ดุเครือ่ งมอื เทคนิคและอาคารสถานที่ 1 ข้อมูลสนเทศ/ข่าวสาร (Message) คือ ข้อสนเทศที่ถ่ายทอดโดยองค์ประกอบอื่น ๆ ในรูปแบบของความ จริง ความหมายและข้อมูล 2 บุคคล(People) ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อสนเทศและข่าวสารเป็นคณะบุคคลท่ปี ฏิบตั ิงานในหน่วยงาน ได้แก่ครนู กั การศกึ ษา 3 ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อเตรียมงาน ปรับปรุง ผลิต ดำเนินการประเมินผลและพัฒนา เพื่อให้การเรียนการสอน ประสบผลสำเรจ็ 4 วัสด(ุ Material) ไดแ้ กส่ ิ่งของเปน็ ตน้ 5. เครื่องมือ(Devices) เครื่องมืออุปกรณ์ที่เป็นตัวถ่ายทอดข่าวสารที่บรรจุหรือบันทึกไว้ในวัสดุ (นิยม เรียกว่า Hardware) ส่วนมากจะเป็นเครื่องกลไก ไฟฟ้า และอิเลคทรอนิค บางอย่างก็ไม่จำเป็นจะต้องเป็น เครื่องกลไกที่ใช้ไฟฟ้า หรือเครื่องอิเลคทรอนิค ได้แก่ เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่ อง บันทึกเสียง เครื่องบันทึกภาพ เครื่องฉายภาพทึบแสง กล้องถ่ายรูป-ถ่ายภาพยนตร์-โทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ และอา่ นไมโครฟิลม์ /ไมโครพชิ กระดานดำปา้ ยนเิ ทศ 6. เทคนิค (Techniques)เป็นกลวิธีในการถ่ายทอดข่าวสารหรือเสนอเนื้อหาวิชา-ความรู้ให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ ก.เทคนิคทั่วไป (Gerneral Technique) ได้แก่ เทคนิคการสอนแบบต่างๆ เช่น การสาธิต การสังเกต การ อภิปราย การแสดงนาฎการ การบรรยาย การสาธิต การฝึกปฏิบัติการเรียน แบบแก้ปัญหา หรือแบบค้นพบ และแบบสอบสวน และสืบสวน การเรียนการสอนแบบโปรแกรม สถานการจำลอง เกมต่างๆ การเรียนการ สอนแบบโครงการฯลฯ ข.เทคนิคการใชท้ รัพยากร (Resource-based Techniques) ได้แก่ การศึกษานอกสถานที่ การใช้ทรัพยากร ชุมชนการจัดห้องเรียน ค.เทคนิคการใช้วัสดุและเครื่องมือ (Material/devices-based Techniques) เป็นเทคนิคของการใช้วัสดุ และเครื่องมือในการจัดการศึกษา และการเรียนการสอนเช่น ใช้โสตทัศนูปกรณ์ในการเรียนการสอนใช้ บทเรียนแบบโปรแกรมตลอดจน เทคนิคการเสนอเน้ือหาวิชาด้วยวิธกี ารใชเ้ ครือ่ งมือ หรืออุปกรณ์ด้วยวิธีการ เสนอที่ดีเช่นใช้วิธีบังภาพบางส่วนที่ยังไม่ใช้ก่อนเมื่อใช้จึงเปิดส่วนนั้นออกมาหรือเทคนิคการใช้สื่อประสม เพื่อให้ผู้เรียนได้ความคิดรวบยอดที่กระจ่างจากตัว อย่างหรือการแสดงด้วยสื่อหลายชนิด ง. เทคนคิ การใชบ้ คุ คล (People-based Technique) ได้แก่ เทคนิคในการจดั บุคคลใหเ้ หมาะสมกบั งาน เช่น การสอนเป็นคณะ เทคนิคกลุ่มสัมพันธ์ หรือพลวัตรของกลุ่ม การสอนแบบซ่อมเสริม ตัวต่อตัว หรือการ สัมมนา ฯลฯเป็นต้น 4. ผู้เรยี น(Learner)จุดหมายปลายทางรวมของเทคโนโลยกี ารศึกษาอยู่ที่ผู้เรียนและความตอ้ งการของผูเ้ รียน จงึ เปน็ ส่งิ จำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเขา้ ใจลักษณะของผเู้ รียนซงึ่ แตกต่างไปตามลักษณะความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของ แต่ละคนอันจะทำให้เราสามารถที่จะออกแบบระบบการเรียนการสอนตลอดจนสื่อการเรียนการสอนสนอง วัตถุประสงค์การเรยี นการสอนตลอดจนสื่อการเรียนการสอนสนองวัตถุประสงคก์ ารเรยี นการสอน หรือสนอง วัตถุประสงคผ์ ูเ้ รยี น ได้ให้บรรลปุ ระสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล มีสิ่งทีจ่ ะตอ้ งเข้าใจในตัวผู้เรียน

หลายประการ เช่น เกี่ยวกับอายุ เพศ ระดับไอคิว ประสบการณ์เดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติ จัดทำเมื่อปี พ.ศ. 2546 โดย ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะเกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขนได้รับการสนับสนุนโดยสำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ท บ ว ง ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย Copyright 2003 by Ministry of University Affairs and Department of Educational Technology, Kasertsart University ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยีกบั วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอื วชิ าทศ่ี ึกษาถงึ ปรากฏการณธ์ รรมชาติ ทง้ั ในสภาพน่ิงหรอื สภาพทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง เทคโนโลยี คือ กระบวนการหรือวธิ กี ารและเครื่องมอื ท่ีเกดิ จากการประยุกต์ และผสมผสานความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์เหมาะสมกับเวลาและสถานที่วิทยาศาสตร์มี จุดม่งุ หมายในการแสวงหาความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ โดยต้ังขอ้ สมมตฐิ าน พิสูจนส์ มมตฐิ านดว้ ยกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ความรู้ หรือข้อเท็จจริงจากปรากฎการณ์นั้น ๆ ถ้ามีการพิสูจน อีกก็ยังคงใช้ข้อเท็ จจริง เหมือนเดิมเทคโนโลยีเป็นวิทยาการที่เกิดจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อืน่ ๆ ในการแก้ปัญหา โดยมงุ่ แสวงหากระบวนการหรอื วธิ ีการ(Know How) โดยอาศยั เครื่องมือและความรูต้ า่ งๆ ผลของกระบวนการ เทคโนโลยีมี 2 ลักษณะ คือ 1.เครอ่ื งมอื หรอื ฮารด์ แวร์ หมายถึง เทคโนโลยใี นรูปของอปุ กรณ์ เครือ่ งมอื ต่าง ๆ เชน่ เครื่องบำบัดน้ำเสีย เครอื่ งปรับอากาศ เครือ่ งบนิ เป็นต้น 2. วิธีการหรือ เรียนกว่า ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการ ความรู้ต่าง ๆ เช่น วิธจี ัดการระบบบรหิ ารองค์กร วธิ ปี ระเมินผลต่าง ๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ผู้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติ คือ นักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่รู้ หรืออยากรู้อยาก เห็น ทำให้คนเป็นนักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่ประดิษฐ์ทำให้คนเป็นช่างฝีมอื คนที่เรียนเทคโนโลยจี ะต้องมีจติ วิญญาณสองส่วน คือ ใฝ่รู้ หรือ ใฝ่ศึกษาธรรมชาติ และใฝ่ทำหรือใฝ่ประดิษฐ์ บุคคลที่มีคุณลักษณะทั้ง 2 ประการ ได้แก่ โธมัส อัลวา เอดิสัน เปน็ นักประดษิ ฐ์ ทีร่ วมความเป็นนกั วทิ ยาศาสตร์และชา่ งฝีมอื ในตัวเอง เม่ือประมาณ 4,500 ปี มาแล้ว ชาวอียิปตโ์ บราณสรา้ งพรี ะมดิ ดว้ ยเทคโนโลยีบางอยา่ งสำหรับขนหนิ แกรนิตขนาดใหญข่ ึ้นไปเรียงกันถงึ ยอดสูงประมาณ 164 ฟุต เทคโนโลยเี กิดจากการนำความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ และการพัฒนาเครือ่ งมือของช่างฝีมือ ทำใหไ้ ด้เครอื่ งจักรกลทซ่ี ับซ้อน ประเทศไทยผลติ ช่างฝมี ือในแต่ละปีจำนวนมาก แตข่ าดความรพู้ ืน้ ฐานด้านวิทยาศาสตรบ์ ริสุทธ์ิ สำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีประเทศที่เจริญทางเทคโนโลยีจะทุ่มเททุนมหาศาลเพื่อพัฒนาและประยุกต์ วิทยาศาสตร์เข้ากับเทคโนโลยีขณะนี้ประเทศไทยต้องพึ่งพาหรือซื้อเทคโนโลยีชั้นกลางหรือชั้นสูงจาก ต่างประเทศ เพราะเราประดษิ ฐเ์ ทคโนโลยเี หลา่ นั้นไดน้ ้อยมาก วทิ ยาศาสตรม์ คี วามสมั พนั ธก์ ับเทคโนโลยี ในฐานะทเ่ี ป็นแหลง่ ความรู้ทีส่ ำคัญสำหรับเทคโนโลยีแตไ่ ม่ ใช่เฉพาะวทิ ยาศาสตร์ วิชาอ่นื ๆ กม็ ีความสำคัญเช่นเดยี วกนั วิทยาศาสตรแ์ ตกตา่ งจากเทคโนโลยใี นเรือ่ งของเป้าหมาย (goal) และวธิ ีการ (methodlogies) แต่ท้งั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเก่ียวขอ้ งกันอยา่ งใกล้ชิด เทคโนโลยสี ัมพันธก์ ับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตรใ์ นการออกแบบผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ เพอ่ื แกป้ ัญหา แต่ขณะเดียวกันวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยความรู้ทางเทคโนโลยีแสวงหาความรู้หรือทฤษฎีใหม่ ๆ เทคโนโลยีจึง ไมใ่ ชว่ ิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ แต่เป็นศาสตรอ์ กี แขนงหนึ่ง อาจสรปุ ความสัมพันธข์ องศาสตร์ท้งั สอง ไดด้ ังนี้ 1. เทคโนโลยเี กิดจากการใช้ความรูพ้ ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ 2. การประยกุ ตค์ วามรู้ทางวิทยาศาสตรม์ าใช้ในเทคโนโลยีนนั้ มีจุดประสงค์เพ่อื แก้ปัญหาทางเทคโนโลยี

วิชาวิทยาศาสตร์เปน็ วิชาท่ีเราให้ความสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมาก และต้องใช้วิชาเทคโนโลยีเพอ่ื เสริมการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ ทั้ง 2 วิชามีความสัมพันธ์กันและเป็นการนำความรู้วิทยาศาสตร์ ไปสกู่ ารปฏิบัตนิ ั่นเอง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด จึงมักถูกเรียกควบคู่กัน แต่วิธีการใช้ทั้งสองวิชา เพอื่ ให้ได้คำตอบนั้นไมเ่ หมือนกันทเี ดียว และจดุ ประสงคห์ รือเปา้ หมายตา่ งกนั วิทยาศาสตร์เริ่มจากคำถามเก่ียวกับสิ่งที่สังเกตจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ จากน้ัน จึงใช้วิธีการสืบเสาะหา ความรู้ ได้แก่ การสังเกต รวบรวมข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์ และสรุปผล ซึ่งเป็นกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในการหาคำตอบเพื่ออธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาตินั้น คำตอบจากการค้นหานั้น จะเป็น กฎเกณฑ์ทางทฤษฎี เทคโนโลยีเริ่มจากปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ แล้วใช้กระบวนการต่าง ๆ เพื่อหาวิธีการ แก้ไขปัญหา หรือสนองความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ทรัพยากร ทักษะ และความรู้ด้านต่าง ๆ สำหรับปรับปรุงพัฒนา ผลติ ภณั ฑน์ นั้ ตามกระบวนการเทคโนโลยี ขอ้ แตกต่างของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลา่ วโดยสรุป คือ ท้ัง 2 วชิ า มธี รรมชาตแิ ละกิจกรรมแตกต่างกัน กลา่ วคอื วทิ ยาศาสตรม์ ุ่งเน้นความเข้าใจเก่ียวกับความจรงิ ในธรรมชาติ (Facts and Phenomena of Nature ) สว่ นเทคโนโลยีศกึ ษาสิ่งท่เี ก่ยี วข้องกับความต้องการ การแก้ปญั หา และคณุ สมบตั ขิ องสิ่งของ (Artifacts) ที่ มนษุ ยป์ ระดิษฐ์หรอื สรา้ งขน้ึ วิทยาศาสตรเ์ กยี่ วขอ้ งกบั การพยายามตอบคำถาม “What” ในขณะที่ เทคโนโลยี มุ่งแก้ปัญหาที่มาจากความต้องการจะตอบคำถาม “How”เราจะมีวิธีแก้ปัญหาอยา่ งไร หรือสร้างส่ิงที่เกิดจาก การความต้องการอย่างไร ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์มีความสัมพนั ธ์กนั มาก เทคโนโลยเี กิดจากพืน้ ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ ทถ่ี ่ายทอดมาจากประเทศตะวันตกซึ่งศึกษาคน้ คว้าทฤษฎที างวทิ ยาศาสตร์มาอยา่ งต่อเนือ่ งตงั้ แต่ ยคุ ปฏิวัตวิ ทิ ยาศาสตร์ (ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 16-17) ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก้าว หนา้ ควบคไู่ ปกบั วิทยาศาสตรค์ วามร้ทู างวทิ ยาศาสตร์เปน็ ความรทู้ ่เี กิดจากการสงั เกตปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ คือการพยายามทีอ่ ธบิ ายว่าทำไมจึงเกิดอยา่ งนน้ั เชน่ นักฟสิ กิ ส์ อธบิ ายว่า เมือ่ ขดลวดตัดสนามแม่เหล็กจะไดก้ ระแสไฟฟา้ และน้ำเกดิ จากไฮโดรเจนผสมกับออกซเิ จน เป็นต้น ตง้ั เป็นกฎเกณฑ์และทฤษฎีเพ่อื ถ่ายทอดและสอนให้ผอู้ ืน่ ไดศ้ ึกษาและพฒั นา สว่ นในความหมาย ของเทคโนโลยเี ป็นการประยกุ ต์ นำเอาความร้ทู างวิทยาศาสตร์มาใช้ และกอ่ ให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบตั แิ ก่มวลมนษุ ย์ กล่าวคือ เทคโนโลยเี ปน็ การนำเอาความรทู้ างวิทยาศาสตร์มาใช้ ในการประดิษฐ์ส่ิงของตา่ ง ๆ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ สว่ นทเี่ ปน็ ข้อแตกตา่ งอย่างหนงึ่ ของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์เป็นสมบตั ิสว่ นรวมของชาวโลก มีการเผยแพร่โดยไมม่ กี ารซ้ือขาย แต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดข้ึนโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เปน็ ฐานรองรับ บทบาท ของเทคโนโลยตี ่อการพฒั นาประเทศไทยได้เล็งเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีมาเป็นลำดับ เช่น การตราพระราชบัญญัติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าในปี พ.ศ. 2514 และ จัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงานแห่งชาติขึ้นในปี พ.ศ. 2522 ให้ทำหน้าที่หลักในการ เผยแพรแ่ ละพัฒนาผลงานทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยใี หเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตร ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโล ยีมี บทบาทในการพฒั นาอย่างมาก แต่ทัง้ นกี้ ารนำเทคโนโลยมี าใช้ในการพัฒนา

จะตอ้ งศกึ ษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน เชน่ ทรพั ยากรสิ่งแวดล้อม ความเสมอภาคในโอกาสและ การแข่งขันทางเศรษฐกจิ และสังคม เพอื่ ให้เกดิ ความ ผสมกลมกลนื ต่อการพัฒนาประเทศชาติและส่วนอ่ืนๆอีก มาก ความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยกี ับโภชนศาสตร์ โภชนศาสตร์ หรือ โภชนาการ เป็นวิชวิทยาศาสตร์แขนง-หนึ่งที่กล่าวถงึ ความสำคัญของอาหารทีม่ ีต่อสุขภาพ ของร่างกาย ศัพท์เฉพาะทางโภชนศาสตร์ทคี่ วรทราบ 1. อาหารทก่ี ำหนดให้ (DIET) เปน็ อาหารท่ไี ด้กำหนดไวห้ รือให้ รายชือ่ ตายตัวของอาหารนน้ั แต่ละมือ้ โดยมกั จะกำหนดเป็นรายการอาหาร 2 .ผู้กำหนดอาหาร(Dietitian หรือ Dietecian) คือบุคลผู้ด้ำเนินงานด้านจัดปรุงอาหาร โดยยึดหลักวิชาโภชน ศาสตร์ ในการจัดเตรียมอาหารบุคคลผู้นี้ต้อง คิดทำรายการอาหารเพื่อบริโภคเป็นมื้อรวมทั้งอาหารปกติแล ะ สำหรบั คนปว่ ย 3. อาหาร (Food) คือสิ่งที่มนุษย์นำมาบริโภคได้ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกายซ่อมแซมชำรุดส่วนที่สึก หรอใหพ้ ลังงานและความอบอ่นุ ตลอดจนชว่ ยในการคุม้ กนั โรค พระราชบญั ญตั ิอาหาร พ.ศ. 2522 ไดน้ ยิ ามคำศพั ท์คำวา่ อาหาร วา่ อาหาร คอื ของกินหรือของค้ำจนุ ชวี ิต ไดแ้ ก่ วัตถุทกุ ชนดิ ทีก่ ิน ดื่ม อม หรือนำเขา้ สู่รา่ งกายแตไ่ มร่ วมถึงยา วัตถทุ ่ีมงุ่ หมายสำหรบั ใช้หรอื ใชเ้ ปน็ สว่ นผสมในการผลิตอาหาร 4. อปุ นิสัยในการบรโิ ภค (Food Habbit) ศกึ ษาการกินและความเคยชนิ ในการบรโิ ภค 5. ทุพโภชนาการ(Mulnutrition) เป็นสภาพร่างกายที่ขาดสารอาหาร หรืออาจเรียกว่าเป็นโรคที่เกิดจากการ ขาดสารอาหาร 6. สารอาหารหรือธาตุอาหาร(Nutrients) ได้แก่สารเคมีต่างๆที่มีอยู่ในอาหารที่คน รับประทานเข้าไป แบ่ง ออกเปน็ สองพวกใหญ่ๆ คือ 6.1 Inorganic compounds ประกอบด้วยเกลือแรแ่ ละน้ำ 6.2 Organic compounds ประกอบด้วย คารโ์ บไฮเดรต ไขมัน โปรตนี และวติ ามนิ 7. โภชนาการ(Nutritionist) คือบุคคลที่เรียนเก่ียวกับวิทยาศาสตร์โภชนศาสตร์แล้วนำเอาความรู้ไปให้ การศึกษา อบรม และดำเนนิ การ ส่งเสริมใหผ้ คู้ นมสี ุขภาพอนามัยทส่ี มบรู ณแ์ ขง็ แรง ประโยชน์ของอาหาร 1. ใหค้ วามอบอุน่ แกร่ า่ งกาย 2. ทำใหม้ กี ารเจรญิ เติบโต 3. ชว่ ยบำรงุ และกระตุน้ อวัยวะตา่ งๆใหท้ ำงาน 4. ชว่ ยใหร้ า่ งกายมีภูมิค้มุ กันโรค บำรุงสุขภาพ 5. ช่วยในการสบื พันธุ์ 6. ชว่ ยให้มชี วี ิตยืนยาว โภชนบญั ญัติ 9 ประการ องค์กการอนามัยโลก(WHO) ได้ประกาศไว้ว่า ปี 2000 เป็นปีสุขภาพดีทั่วหน้า หรือ Health for all ท้ัง หน่วยงานในประเทศต่างๆรวมถึงประเทศไทย ก็ต้องจัดกิจกรรมส่งเสริมเรื่องการโภชนาการ หน่วยงานที่ รบั ผดิ ชอบ ทางดา้ นประเทศไทยเชน่ กองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรงสาธารณะสุข สถาบันวิจัยโภชนาการ

มหาวิทยาลัยมหิดล และอีกหลายๆแห่งได้ร่วมกันรณรงค์โดยเน้นเรื่องการบรโิ ภคอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และการกินอาหารเพอื่ สขุ ภาพทดี่ ขี องคนไทย ตาม โภชนบญั ญัติ 9 ประการ ได้แก่ 1. กนิ อาหารครบ 5 หมู่ แตห่ ลากหลาย หมั่นดูนำ้ หนัก 2. กินข้าวเปน็ อาหารหลัก 3. กนิ ผักใหม้ ากและผลไม้เป็นประจำ 4. กนิ ปลาเนอ้ื สัตวไ์ มต่ ดิ มัน ไข่ ถ่ัว 5. ดื่มนมใหเ้ หมาะสมตามวยั 6. กินอาหารที่มไี ขมันพอสมควร 7. หลีกเล่ียงการกินอาหารเผด็ เคม็ หวาน จดั 8. กินอาหารทีป่ ราศจากสิง่ ปนเปอ้ื น 9. งดหรือลดเครอ่ื งดื่มทม่ี ี แอลกอฮอลล์ ความสมั พันธ์ของเทคโนโลยีกบั แพทยศาสตร์ การพัฒนาเทคโนโลยที ี่ไมห่ ยุดยั้งท้งั ทางดา้ นเทคโนโลยีการประมวลผลซอฟต์แวรเ์ ทคโนโลยีทางด้านการแพทย์ ลาธารณสุขมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับการให้บริการผู้ป่วยและการจัดการบริหารงานของระบบ โรงพยาบาลและสาธารณสุขจวบจนวันน้ี เทคโนโลยีทางการแพทย์ไม่เพียงจำกัดแค่การให้บริการในวงการ แพทย์ สาธารณสุข และโรงพยาบาลอีกต่อไป แต่เทคโนโลยีทางการแพทย์ได้เข้ามามีบทบาทที่สำคัญทำให้ ประชาชนและผปู้ ว่ ยสามารถเข้าถึงข้อมลู ทางการแพทยส์ าธารณสุข รวมทง้ั ใช้บริการสาธารณสุขจากทีบ่ ้านโดย ไม่ต้องเดินทาง เพยี งแค่คลกิ คอมพิวเตอร์ทบี่ ้าน หรอื แคน่ อนพกั ผ่อนท่ีบ้าน คอมพวิ เตอร์ที่อยรู่ อบๆ ตัวคณุ กส็ ามารถตรวจเช็ค สุขภาพของคุณโดยที่คุณไม่รู้ตัวและสามารถส่งข้อมูลสุขภาพไปยังแพทย์เจ้าของไข้ หรือตรวจโรคผ่านระบบ ออนไลน์ สง่ิ เหล่าน้จี ะไม่ใช่เรื่องไกลตัวเราอีกต่อไป เมื่อบรษิ ัทผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และแอพพลิคเคช่ันต่างๆ หัน มาพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อตอบสนองชีวิตประจำวันของมนุษย์มีการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยแี พทยท์ างไกลมาใหบ้ รกิ ารผู้ป่วย เพือ่ เพิม่ ประสิทธภิ าพการรักษาพยาบาล บรกิ ารสขุ ภาพส่ยู คุ Health 3.0 สำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือ Health Information evolution นั้น ใน ปัจจบุ นั ไดม้ กี ารพฒั นาเทคโนโลยีมารองรับวงการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจบุ นั การพัฒนา เทคโนโลยขี องวงการแพทย์และสาธารณสุขมีท้ังสิน 3 ยคุ ด้วยกนั โดยยุคแรก เริ่มจากการพัฒนาระบบ Health 1.0 ซึ่งเป็นการจัดเก็บข้อมูลคนไข้ ให้อยู่ในรูปของเอกสารซ่ึง เอกสารทุกอย่างจะอยู่ที่โรงพยาบาลในลักษณะที่เป็น Physical centric ขณะที่ยุคที่ 2 เป็นยุค Health 2.0 เป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการเก็บข้อมูลคนไข้ในลักษณะเป็นเวชทะเบียนอิเล็กทรอนิกส์และ เวชทะเบียนส่วน บุคคล (Electronics Medical Records & Personal Health Records) รวมถึงการนำ เทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการและการบริหารงานในโรงพยาบาลและสาธารณสุข มีการเข้าถึงข้อมูลได้ ตลอดเวลา สำหรับประเทศไทยอยู่ในช่วงของการโอนถ่ายการใช้เทคโนโลยี มาสู่ Health 2.0 อย่างไรก็ตาม จากการพฒั นาเทคโนโลยีอยา่ งต่อเนื่อง ทำให้วงการแพทยม์ ีการพัฒนาเข้าสูย่ ุค Health 3.0 ซง่ึ เป็นการพัฒนา เทคโนโลยีมาช่วยในการรักษาพยาบาลและชว่ ยจดั การบรหิ ารงานทมี่ ีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ทำให้การบริการ ทางการแพทย์มุ่งสู่การให้บริการปัจเจกชน โดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของการดูแลรักษาสุขภาพ หรือ Patient centric ท่กี ารรักษาพยาบาลรวมถงึ การจา่ ยยาสามารถทำได้เฉพาะผูป้ ่วยแตล่ ะราย

ไมโครซอฟทส์ ่งเทคโนโลยกี ารตรวจสุขภาพที่บา้ นออกสตู่ ลาด บริษัท ไมโครซอฟท์ ถือเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่าง ต่อเนื่องโดยที่ผ่านมามีการต่อยอดการพัฒนาเทคโนโลยีโดยซื้อกิจการของบริษัทผู้พัฒนาซอฟต์แวรแ์ ละระบบ สารสนเทศทางแพทย์และสาธารณสุข บริษัทโกลบอลแคร์ โซลูชั่นส์ (Global Care Solutions) ซึ่งเป็น บรษิ ัทเอกชนทตี่ ัง้ อยู่ในประเทศไทยและดำเนินกจิ การเกีย่ วกับการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพระดับองค์กร ทอม ไรอัน ผจู้ ดั การฝา่ ยการตลาดอาวุโส Health Solutions Group บริษทั ไมโครซอฟท์ กล่าวว่าไมโครซอฟท์ เชื่อว่าประเทศไทยเป็นฐานที่ดีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการลงทุนในไทยจะช่วยพัฒนาอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศในภูมิภาคได้อย่างมาก ความพยามในการพัฒนาด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่าง ต่อเนือ่ งจะช่วยสง่ เสรมิ วัตกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศ ช่วยสร้างงาน และพฒั นาทักษะใหมๆ่ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ไรอัน กล่าวว่า การพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์ด้วยนวัตกรรมทางด้านไอทีนั้นจะช่วยแก้ปัญหาการขาด แคลนทางการแพทย์ในประเทศกำลังพัฒนา ดังนั้นไมโครซอฟท์จึงได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่ออุตสาหกรรม ดา้ นนี้ เพื่อนำเทคโนโลยมี าชว่ ยลดขนั้ ตอนและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์ ไมโครซอฟท์ได้พัฒนาระบบทเ่ี รยี กว่า ไมโครซอฟทอ์ มัลกา้ (Amalga) ซง่ึ เป็นระบบ Unified Intelligence ท่ีมี ความยืดหยุ่นและความสามารถในการจัดการกับความต้องการข้อมูลทั้งในปัจจุบันและอนาคต ช่วยให้องค์กร ด้านสาธารณสุขสามารถดำเนินกลยุทธ์เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีประสิทธิภาพในระยะยาวนอกจากนี้บริษัทได้ นำเสนอ Microsoft Health Solutions ใหม่เรียกว่า Health Vault ซึ่งเป็นเทคโนโลยีสำหรับเว็บไซด์เพื่อ สุขภาพ ซึ่งเป็นแพล็ตฟอร์มแวรแ์ ละบริการที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถจัดการและติดตามข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนบคุ คล ภายใต้แนวคดิ Patient centric “แนวโน้มของเทคโนโลยีที่บริษัทให้ความสำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ เทคโนโลยีแบบเคลื่อนที่นำมาใช้โดย ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ ปัจจุบันมีผู้ลงทะเบียนใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ถึง 3 พันล้านคนทั่วโลกและยังคงมี การขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอนาคต อุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่จะเชื่อมโยงผู้เชี่ยวชาญ และขยายการให้บริการ ทางดา้ นสุขภาพใหเ้ ข้าถึงตัวคนไข้ในทกุ ที่ ทุกเวลาได้มากยง่ิ ขนึ้ ” ไรอนั กลา่ วเสรมิ การแพทยไ์ ทยยุคใหม่เน้นระบบแพทย์ทางไกล ยกระดับสาธารณสุขไทย เมื่อเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทต่อการให้บริการการแพทย์ ในประเทศไทยเองได้มีการนำเทคโนโลยีใหม่เข้า มาเสริม เพื่อยกระดับการให้บริการสาธารณสุขไทย โดยเฉพาะกับประชาชนผู้ที่อยู่ห่างไกล และเทคโนโลยี เครือข่ายและระบบการแพทย์ทางไกล นับว่าเข้ามามีส่วนสำคัญที่ทำให้การรักษาพยาบาลภายในประเทศเกิด ความเสมอภาพและเท่าเทียมกัน ยุทธ โพธารามิก รองเลขาธิการ มูลนิธิอาสาสมเด็จพระศรนี ครินทร์ทราบรม ราชชนนี (พอ. สว.) กล่าวว่า มูลนิธิอยู่ระหว่างการทดลองโครงการระบบการแพทย์ทางไกล เพื่อเป็นการให้ คำปรึกษาและการสื่อสารระหว่างแพทย์ที่โรงพยาบาลประจำจังหวัดหรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กับ สถานีอนามัยทดลองใน 9 จังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือได้ และ ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีสถานีอนามัยเข้าร่วม โครงการ ทดลอง 45 แห่งโดยโครงการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนทั้งจากกระทรวงสาธารณสุข การสื่อสารแห่งประเทศไทย และบริษัท QualCom ซึ่งเป็นผู้จัดหาคอมพิวเตอร์โน้ตบุคให้กับแพทย์และสถานี อนามัย โดยโครงการดังกล่าวจะเริ่มดำเนินงานภายในปีนี้และจะใช้ระยะเวลาในการทดลองโครงการเป็นเวลา 2 ปี“ผมคิดว่ามูลนิธิ พอ.สว. เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้การบริการสาธารณสุขพื้นฐาน (Primary healthcare) ให้กับประชาชนได้รับโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารสาธารณสุขมากข้ึนและการนำระบบการแพทยท์ างไกลมาใช้ยัง เป็นทางเลือกในการให้บริการกับประชาชนอีกทางหนึ่งด้วย” ยุทธกล่าวไม่เพียงแต่มูลนิธิ พอ.สว. เท่านั้น ศูนย์วิจัยและบำบัดโรคมะเร็ง สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ก็เป็นอีกหน่วยงานสาธารณสุขที่ได้นำเอาเทคโนโลยียุค ใหม่เข้ามาช่วยเสริมบริการทางการแพทย์ให้มีความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น โดยศูนย์ได้ร่วมมื อกับศูนย์

เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ในการทำข้อตกลงความรว่ มมือทางวิชาการวิจัย และพัฒนา ระบบการแพทย์ทาไกล ซึ่งในระยะแรกจะมุ่งเน้นการจัดทำระบบการแพทย์ทางไกล เพื่อสร้าง เครือข่ายความเร็วสูงในการส่งผ่านภาพถ่ายจากเครื่อง PET-CT ไปยังแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่ออ่านผลและ วินิจฉัยภาพถ่ายเซลล์มะเร็งผ่านระบบเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อยกระดับมาตรฐานเทคโนโลยีทางการแพทย์และ พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการรักษาพยาบาลในประเทศ ขณะที่ระบบการแพทย์ทางไกล มีการพัฒนาข้ึน การนำเทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่มาใช้ยังคงมีการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง และระบบที่เรียกว่า Medical Grid นับเป็นอีกก้าวของการพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ไทย ทีจะทำให้การรักษาพยาบาลสามารถทำได้อย่าง เต็มรูปแบบมากขึน้ จริยธรรมสำหรบั วชิ าชีพเทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั ธรรมในการประกอบอาชีพคอมพวิ เตอร์ จรยิ ธรรมกับงานคอมพวิ เตอร์ จรยิ ธรรม(Ethics) หมายถึงความถกู ต้องหรอื ไม่ถูกต้องที่เป็นตัวแทนศลี ธรรมทเ่ี ปน็ อิสระในการเลือกที่จะชักนำ พฤติกรรมบุคคล เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างบุคคล และสังคม เพราะทั้งสองสิ่งนีท้ ำให้เกดิ ความเปล่ียนแปลงทางสังคม อย่างไรก็ตามการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใหม่ๆ ทำให้เกดิ การกระจายอำนาจตา่ งๆ ภายในองค์การ การบุกรุกสทิ ธิส่วนบคุ คลของผ้อู ่นื หรอื ค่แู ขง่ การตก งานการประกอบอาชญากรรมข้อมลู การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ขิ องผ้อู นื่ เป็นต้น เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลอย่างมากใน การกระจายอำนาจ ทรพั ยส์ ิน สิทธิและความรับผดิ ชอบ การพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศทำให้เกดิ ผู้แพ้ ผู้ชนะ ผู้ได้ประโยชนแ์ ละผเู้ สยี ประโยชน์ จากภาวะน้ีทำให้เกิดการขาดคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทางสงั คม ข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Ethical Considerations) จริยธรรมของผู้ใช้ คอมพิวเตอร์นัน้ เป็นเร่ืองเก่ียวกบั ความชอบธรรม เพราะถ้าหากผใู้ ช้คอมพวิ เตอร์ไม่ร้จู ักปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้อง จะก่อให้เกิดความเสียหายในองค์กร เช่นพนักงานบัญชีภายในองค์กรได้ขายข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับรายรับ รายจา่ ยภายในองคก์ รใหก้ บั บรษิ ทั คูแ่ ขง่ ด้วยเหตุน้ีผู้ใช้คอมพวิ เตอรจ์ ึงจำเปน็ ตอ้ งมีจรยิ ธรรมในการทำงาน การ ใช้จริยธรรมหรือจรรยาบรรณกับวิทยาการ ข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยี และระบบธุรกิจ จึงเป็นเรื่องที่ยากจะ ควบคุมให้ทุกคนมีจรยิ ธรรมในการปฏิบัตงิ านมเี หตุผลดังน้ี 1. การใช้คอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลจะเปลย่ี นแปลงความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลเพราะการส่ือสารทำให้ รวดเร็ว ท่ียุง่ ยากซับซ้อน ปฏสิ ัมพันธ์ลดลง ทำใหจ้ รยิ ธรรมลดลงไปด้วย 2.เนื่องจากข้อมูลข่าวสารง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงและการเรียกใช้งาน คัดลอกได้ง่ายทำให้เกิดการละเมิด ลขิ สทิ ธิ์ 3. ผลที่ได้จากการป้องกัน ความน่าเช่ือถอื ความมั่นคงของข้อมูล รวมทั้งความพร้อมของขอ้ มูลที่มอี ยู่ มีผลต่อ การแข่งขัน หากใช้ข้อมูลร่วมกัน เป็นปัญหาที่เกิดจากมนุษย์ทั้งสิ้น หากเรามีความรับผิดชอบ มีจริยธร รม ปัญหาจะลดลง จึงมักมกี ารจดั อบรมพนกั งาน และนกั วชิ าการคอมพวิ เตอรใ์ หค้ ุณธรรม ลินดา เฮอร์นดอน (Linda Herndon) Linda Herndon : Herndon : Computer Ethics, Netiquette, and Other Concerns ได้กล่าวถึงบญั ญัติสิบประการของการใชค้ อมพวิ เตอรไ์ วด้ งั นี้ 1. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์ทำรา้ ยผอู้ ืน่ 2. ไมร่ บกวนจนงานคอมพวิ เตอรข์ องผอู้ ่นื 3. ไมแ่ อบดแู ฟ้มข้อมลู ของผู้อ่นื 4. ไม่ใชค้ อมพิวเตอร์เพือ่ ลกั ขโมย

5. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์เพ่ือเป็นพยานเทจ็ 6. ไม่ใช้หรอื ทำสำเนาซอฟตแ์ วร์ท่ีตนไมไ่ ด้ซื้อสทิ ธิ์ 7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผอู้ ่นื โดยไมม่ ีอำนาจหนา้ ที่ 8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปญั ญาของผู้อื่นมาเปน็ ของตน 9. คิดถงึ ผลตอ่ เนือ่ งทางสังคมของโปรแกรมท่เี ขยี น 10. ใชค้ อมพวิ เตอร์ในทางทีแ่ สดงถงึ ความใคร่ครวญและเคารพ จรรยาวิชาชีพ ของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์ (Association of Computer Machinery ACM Code of Conduct) ซง่ึ เปน็ สมาคมวิชาชพี นักคอมพวิ เตอร์ทมี่ ีช่ือเสยี งท่ีสดุ แห่งหนึ่งมีดงั น้ี 1.) กฏข้อบงั คับทางศลี ธรรมท่วั ไป 1. ทำประโยชน์ให้สังคมและความผาสุกของมนุษย์ ข้อนี้เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกคนคุ้มครอง หลักสิทธิมนุษยชน ขั้นพื้นฐาน เคารพความหลากหลายของวัฒนธรรมทั้งหมด ลดผลด้านลบของระบบ คอมพิวเตอรท์ ่มี ตี อ่ สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยรบั ผิดชอบต่อสงั คม และสิ่งแวดล้อม 2. ไมท่ ำอันตรายแกผ่ ู้อ่ืน อันตรายหมายรวมถึง การบาดเจบ็ หรือผลต่อเน่ืองด้านลบ เชน่ การสูญเสียข้อมูลอัน เป็นที่ไม่พึงปรารถนา ทรัพย์สินสูญหายหรือเสียหาย ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทีไ่ ม่พึงปรารถนา หลักการข้อนี้ ห้ามการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศไปทำอนั ตรายต่อผู้ใช้สาธารณชน พนักงานและนายจ้างอันตรายนีร้ วมถงึ การ จงใจทำลายหรือแก้ไขข้อมูลในแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมที่ทำให้สูญเสีย หรือเสียเวลาและความพยายามของ บุคลากรที่จำเป็นต้องใช้ทำลายไวรัสคอมพิวเตอร์ในสภาพแวดล้อมที่ทำงาน นักวิชาชีพคอมพิวเตอร์จะต้อง รายงานสัญญาณอันตรายทีอ่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลต่อความเสียหายของสังคมและบุคคล แมว้ า่ หวั หนา้ งานจะไมล่ งมือ แกไ้ ขหรือลดทอนอนั ตรายน้ัน ก็อาจจำเปน็ ตอ้ งแจ้งให้ผูอ้ ื่นทเ่ี กย่ี วข้องทราบโดยอาจอาศัยผู้รว่ มวชิ าชีพเป็นผู้ให้ คำปรกึ ษา 3.ซื่อสัตย์และไว้วางใจได้นักคอมพิวเตอร์ที่ซื่อสัตย์นอกจากจะไม่จงใจแอบอ้างระบบหรือการออกแบบท่ี หลอกลวงอันเป็นเท็จแล้ว ยังจะต้องเปิดเผยอย่างเต็มที่ใหเ้ ห็นข้อจำกัดและปัญหาท่ีเกี่ยวขอ้ งกับระบบท้ังหมด อีกด้วย 4. ยุติธรรมและการกระทำทีไ่ ม่แบ่งแยกกีดกนั ข้อบังคับขอ้ นใ้ี ช้คณุ ค่าของความเสมอภาค ความใจกว้างให้อภัย เคารพในผู้อื่น ความเที่ยงธรรม การแบ่งแยกกีดกันโดยเชื้อชาติ เพศ ศาสนา อายุ ความพิการ สัญชาติ หรือ ปัจจยั อน่ื เปน็ ส่ิงทีไ่ มอ่ าจยอมรับได้ 5. ให้เกียรติสิทธใิ นทรพั ย์สิน รวมทั้งลิขสิทธิ์และสิทธิ์บัตร แม้ว่าสิ่งซึ่งมลี ิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ความลับทางการค้า การละเมิดข้อตกลงการใช้สิทธิ จะได้รับการคุ้มครองทางกฎหมายอยู่แล้ว แม้แต่ซอฟต์แวร์ที่ไม่ได้รับการ คมุ้ ครอง การละเมิดก็ถือว่าเป็นการขัดต่อการประพฤติทางวิชาชีพ การลอกหรอื ทำสำเนาซอฟต์แวร์จะต้องทำ โดยมอี ำนาจหนา้ ที่เทา่ น้นั การทำสำเนาวสั ดใุ ด ๆ เปน็ สิ่งท่ีใหอ้ ภยั ไม่ได้ 6. ให้เกียรติแก่ทรัพย์สินทางปัญญา นักวิชาชีพคอมพิวเตอร์จะต้องป้องกันหลักคุณธรรมของทรัพย์สินทาง ปญั ญา แมว้ ่างานนัน้ จะไมไ่ ดร้ ับการป้องกนั อยา่ งเปิดเผยกต็ าม เช่น งานอนั มีลขิ สิทธ์หิ รือสิทธิบัตร 7. เคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อืน่ หลักการนี้ยังหมายถึง การเก็บข้อมูลส่วนบคุ คลไว้ในระบบเท่าท่ีจำเป็น มี ระยะเวลากำหนดการเก็บรักษาและทิ้งอย่างชัดเจน และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด การรวบรวมข้อมูลไว้เพื่อ วตั ถปุ ระสงค์หน่ึง ขอ้ มูลนั้นจะถกู นำไปใช้ เพื่อการอื่นโดยไม่ได้รับคำยนิ ยอมจากผนู้ ้นั มไิ ด้ 8. ให้เกียรติในการรักษาความลับ หลักแห่งความซื่อสัตย์ข้อนีข้ ยายไปถึงความลับของข้อมูลที่ไม่วา่ จะแจ้งโดย เปิดเผยหรือสัญญาว่าจะปกปิดเป็นความลับ หรือโดยนัยเมื่อข้อมูลส่วนตัวที่ไม่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของผู้นั้น

ปรากฏขึ้น จริยธรรมข้อนี้เกี่ยวข้องกับการเคารพข้อบังคับท้ังหลายที่เกี่ยวกับความลับของขายจ้าง ลูกค้า ผู้ใช้ เวน้ เสียแตเ่ ปิดเผยโดยกฎหมายบงั คบั หรือตามหลกั แหง่ จรรยาบรรณนี้ 2.) ความรบั ผดิ ชอบในวชิ าชีพ 1. มงุ่ ม่นั เพอื่ ให้ได้คุณภาพทีด่ ที ่สี ุด และให้ตระหนกั ถงึ ผลเสยี หายท่ีสบื เนอ่ื งจากระบบท่ีด้อยคุณภาพ 2. ไดม้ าและรกั ษาไว้ซ่ึงความเชี่ยวชาญแหง่ วชิ าชพี 3. รบั รแู้ ละเคารพกฎหมายท้องถ่นิ กฎหมายแห่งรฐั และกฎหมายระหว่างประเทศ 4. ยอมรบั และจัดใหม้ กี ารสอบทานทางวชิ าชพี (Professional Review) 5. ให้ความเห็นประเมินระบบคอมพิวเตอร์และผลกระทบอย่างละเอียดครบถ้วน รวมทั้งการวิเคราะห์ความ เสยี่ งที่เป็นไปได้ 6. ให้เกียรติ รกั ษาสัญญา ข้อตกลง และความรบั ผิดชอบท่ีไดร้ ับมอบหมาย 7. ปรบั ปรุงความเข้าใจของสาธารณชนต่อคอมพิวเตอร์และผลสืบเน่ือง 8. เข้าถึงทรัพยากรคอมพิวเตอร์และสื่อสารเฉพาะเมื่อได้รับมอบอำนาจตามหน้าที่เท่านั้นไม่ใช้ระบบ คอมพวิ เตอร์ของผู้อนื่ ซอฟต์แวร์ แฟ้มขอ้ มูลใด ๆ โดยไม่ไดข้ ออนญุ าต 3.) จริยธรรมในการใช้E-mail,Webboard1. ไม่โฆษณาหรอื เสนอขายสินค้า 2. รตู้ ัวว่ากำลงั กลา่ วอะไร 3. ถ้าไม่เหน็ ด้วยกบั หลกั พ้นื ฐานของรายชือ่ กลุ่มทต่ี นเป็นสมาชกิ กค็ วรออกจากกลุ่มไมค่ วรโตแ้ ย้ง 4. คดิ ก่อนเขียน 5. อยา่ ใช้อารมณ์ 6. พยายามอา่ นคำถามท่ีถามบ่อย (FAQ) กอ่ นเสมอ 7. ไมส่ ่งขา่ วสารที่กลา่ วรา้ ย หลอกลวง หยาบคาย ขม่ ขู่ 8. ไมส่ ่งต่อจดหมายลกู โซ่ หรอื เมล์ขยะ 9. ถา้ สงสยั ไมท่ ำดกี วา่ 10. รูไ้ ว้ดว้ ยว่าสำหรบั ผเู้ ขยี น คอื บนั ทกึ ฉนั ท์เพอ่ื น แต่สำหรับผู้รบั คือ ขอ้ ความทจ่ี ารกึ ไว้บนศิลาจารกึ 11. ใหค้ วามระมัดระวงั กับคำเสียดสี และอารมณ์ขนั 12. อา่ นขอ้ ความในอีเมล์ ให้ละเอียดก่อนสง่ ความประณีตและตวั สะกด การนั ต์ เปน็ สิ่งท่ีควรคำนงึ ถึง 13. ดูรายช่อื ผรู้ บั ให้ดวี ่า เขาคอื คนท่ีเราตงั้ ใจจะส่งไปถึง หลกั ธรรมทีน่ ำมาใชใ้ นการทำงานด้านคอมพิวเตอร์ ความหมายของคำวา่ จริยธรรม และคุณธรรม ในปัจจบุ ันคอมพิวเตอร์ถูกการใช้กนั อย่างแพร่หลาย ท้ังในด้าน การทำงาน เล่นเกม สนทนา ตดิ ธุรกิจ การปอ้ งกันภัย รวมถงึ เพอื่ ความบันเทิงดว้ ย ปัจจุบันมคี นใชค้ อมพวิ เตอร์ ในทางทีเ่ สื่อมเสีย และกอ่ ให้เกิดโทษตามมามากมาย เพระผ้ใู ชเ้ หล่าน้นั ยังไม่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ คอมพิวเตอร์ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวนี้หากบุคคลผู้ใช้คอมพิวเตอร์ผู้ใดยังไม่มีแล้ว จะก่อให้เกิดความเสียหาย ตามมาอกี มาก ลกั ษณะของจรยิ ธรรม และคุณธรรมทดี่ ีในการใช้คอมพวิ เตอร์ จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงาม สิ่งที่ไม่ควรทำ มีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่า มารยาทในสังคม เช่น คนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือ พนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าท่ี การงานไปหา ผลประโยชน์แก่ตนเอง เช่น ขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่น หรือบอกให้แก่คูส่ มรสซ่ึงเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอ ขายสินค้า การกระทำเช่นน้ีถือว่าไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่มีจริยธรรม จริงอยู่ แม้ว่าบริษัทท่ีพนักงานผูน้ ั้นทำงานอยู่จะไม่

เสียหาย แต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิง่ ทีไ่ ม่อาจทำได้อยา่ งเปิดเผย หรือพนักงาน ขายสนิ ค้าของทางบริการหนึ่งซึง่ ลาออกจากบริษัทเพ่ือไปทำงานกบั บริษัทคู่แขง่ แล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ใน เรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลัง ก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มี จริยธรรม เมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้น มีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่าง ๆ จึงมีข้อกำหนดท่ี เรียกว่า “จรรยาวิชาชีพ” (Code of Conduct) ขึ้น เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติของคนในอาชีพนั้น ๆ เราคงเคยได้ยิน จรรยาบรรณของแพทย์ ที่จะไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวของคนไข้ จรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์ที่รับเงิน ทองสิง่ ตอบแทนเพือ่ เสนอข่าวหรือไมเ่ สนอขา่ วไม่เปดิ เผยแหล่งขา่ วถ้าแหล่งขา่ วไมต่ ้องการจรรยาบรรณวิชาชีพ ของสถาปนิกหรือวิศวกรผู้ออกแบบที่ต้องไม่รับผลประโยชน์ใด ๆ จากผู้ขายอุปกรณ์ที่ใช้ในงานท่ีเขาออกแบบ ซึ่งขายให้กับผู้ว่าจ้างงานชิ้นนั้นเพราะเขาได้รับปลตอบแทนจากผูว้ า่ จา้ งแล้ว จรรยาบรรณของวิชาชีพใด ก็มัก กำหนดขึ้นโดยสมาคมวิชาชีพนั้น โดยมีข้อกำหนด บทลงโทษที่นอกเหนือไปจากกฏหมายบ้านเมือง เช่น เพิก ถอนสมาชกิ ภาพ เพิกถอนหรือพักใบประกอบวชิ าชีพ และอาจมกี ฏหมายรองรับอีกด้วย อาชพี นกั คอมพิวเตอร์ เป็นอาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ก็เป็นสิ่งใหม่ที่มีศีลธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณเฉพาะของตนซึ่งบางครั้งก็แตกต่างจากจริยธรรมที่ยอมรับกันมาแต่ก่อน หลัก พื้นฐานของจริยธรรมในสังคมสารสนเทศก็คือการเคารพผู้อื่น เคารพความเป็นส่วนตัว การเข้าถึงระบบ คอมพิวเตอรแ์ ละข้อมูลก็จะเฉพาะสทิ ธิ์ท่ตี นเองมีในส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งาน บญั ญตั ิ 10 ประการของผู้ใชค้ อมพวิ เตอร์ 1. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์ทำร้ายผอู้ ื่น 2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผอู้ ืน่ 3. ไม่แอบดแู ฟม้ ข้อมูลของผู้อน่ื 4. ไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์เพอ่ื ลักขโมย 5. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์เพื่อเปน็ พยานเท็จ 6. ไม่ใชห้ รือทำสำเนาซอฟตแ์ วร์ที่ตนไม่ไดซ้ ้ือสทิ ธิ์ 7. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอรข์ องผูอ้ ่ืนโดยไม่มีอำนาจหน้าที่ 8. ไมฉ่ วยเอาทรัพยท์ างปญั ญาของผ้อู น่ื มาเปน็ ของตน 9. คิดถึงผลต่อเนอ่ื งทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน 10. ใช้คอมพวิ เตอร์ในทางท่แี สดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ จรรยาวชิ าชีพ ของสมาชกิ สมาคมเครือ่ งจักรกล คอมพิวเตอร์ จริยธรรมสำหรบั ผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ความรู้เรื่องจริบธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งสำคัญที่นักเรียนควรศึกษาและปฏิบัติตาม เพราะ เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นเทคโนโลยที มี่ กี ารขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ มีความสามารถในการใชง้ านมากขึ้น ผลของ การพัฒนา ทำให้มีการประยุกต์ใช้งานกนั อย่างกว้างขวาง จนอาจกล่าวได้ว่า ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้ เข้ามามสี ่วนเกย่ี วข้องกบั มนษุ ย์ทุกคนไม่ทาง ตรงกท็ างออ้ ม ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศมีทงั้ ทางบวกและทางลบ ทางบวกทำใหม้ นุษย์มีความเป็นอยู่ดชี ่วยส่งเสริม ให้มี ประสิทธิภาพในการทำงาน ทำให้เกิดการผลิตในอุตสาหกรรม ส่งเสริมให้เกิดกาค้นคว้าวิจัยสิ่งใหม่ ส่งเสริมสุขภาพและ ความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น ทางลบทำให้เกิดอาชญากรรม ทำให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อม ถอย ทำให้เกิดการเส่ียงภัยทางด้านธุรกิจ ธรุ กิจในปัจจบุ ันจำเปน็ ต้องพ่ึงพาอาศยั เทคโนโลยสี ารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสารของธุรกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมูล หากข้อมูลเกิดการสูญหาย ย่อมทำให้เกิดผลกระทบต่อธุรกิจ

โดยตรง คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานตามคำสั่ง การนำมาใช้ในทางใดจึงขึ้นอยู่กับผู้ใช้ จริยธรรมการใช้ คอมพิวเตอร์จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องปลูกฝังให้กับผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ เพื่อให้รู้จักการใช้งานที่เหมาะสม ใน เรื่องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศก็จำเป็นต้องปลูกฝังเช่นเดียวกัน เพื่อให้ผู้ใช้นำไปใช้งานที่เป็นประโยชน์เชิง สรา้ งสรรค์หรือทางบวก มิใชน่ ำไปใชใ้ นทางทีไ่ มด่ อี ยา่ งเช่นท่ีเกิดข้ึนเสมอๆ ลขิ สิทธ์ิ ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนง่ึ ที่กฎหมายใหค้ วามคมุ้ ครองโดยใหเ้ จา้ ของลิขสิทธิถ์ ือสิทธิแต่เพียงผู้ เดียว ทจี่ ะ กระทำการใดๆ เกย่ี วกบั งานสร้างสรรคท์ ต่ี นได้กระทำขน้ึ - งานอันมีลิขสิทธิ์ : งานสร้างสรรค์ที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ต้องเป็นงาน ในสาขา วรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรกี รรม โสตทศั นวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทกึ เสียง งานแพรเ่ สยี งแพร่ภาพ รวมถึงงานอื่นๆ ในแผนกวรรณคดีวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ งานเหล่านี้ถือเป็นผลงานที่เกิดจากการใช้ สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และ ความวิริยะอุตสาหะ - การไดม้ าซ่ึงลิขสิทธ์ิ : สิทธใิ นลขิ สทิ ธเ์ิ กิดข้ึนทันทีนบั แต่ผู้สร้างสรรคไ์ ดส้ ร้างสรรค์ผลงานออกมา โดยไม่ตอ้ งจด ทะเบยี น หรือผา่ นพธิ กี ารใดๆ - การคุ้มครองลิขสิทธิ์ : ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการใช้ประโยชน์จากผลงานสร้างสรรค์ ของตน ในการทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน รวมทั้งสิทธิในการให้เช่า โดยทั่วไปอายุการ คมุ้ ครองสิทธจิ ะมผี ลเกิดข้ึนทันทีท่ีมีการสร้างสรรค์ผลงาน โดยความคุม้ ครองนี้จะมีตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และคมุ้ ครองตอ่ ไปน้อี กี 50 ปีนับแต่ผสู้ ร้างสรรคเ์ สียชีวิต พระราชบัญญตั ิลิขสิทธ์ิ กฎหมาย ลิขสิทธิ์มีวัตถุประสงค์ให้ความคุ้มครอง ป้องกันผลประโยชน์ทั้งทางเศรษฐกิจและทางศีลธรรม ซ่ึง บุคคลพึงได้รับจากผลงานสร้างสรรค์อันเกิดจากความนึกคิดและสติปัญญาของตน นอกจากนี้ยังมุ่งที่จะ สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการ สร้างสรรค์ผลงาน กล่าวคือ เมื่อผู้สร้างสรรค์ได้รับผลตอบแทนจากหยาดเหง่ือ แรงกายและสติปัญญาของตน ก็ย่อมจะเกิดกำลังใจที่จะคิดค้นสร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานให้แพร่หลาย ออกไป มากยิง่ ขึน้ อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศชาตทิ ัง้ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยี การ กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาสติปัญญาเปน็ ปจั จยั สำคัญทจ่ี ะนำไปสู่ การพัฒนาท่ยี งั่ ยนื ในอนาคต ประเทศ ไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 เพอื่ ใช้บังคับแทน พระราชบญั ญัตลิ ิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2521 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 21 มีนาคม 2538 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองต่อโปรแกรม คอมพิวเตอร์ โดยจดั ใหเ้ ป็นผลงานทางวรรณกรรมประเภทหนึง่ งานที่ได้จัดทำขึ้นก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และเป็นงานที่ได้รับความคุ้มครองลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้ จะได้รับความคุ้มครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ แม้ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมาย คุ้มครองลิขสิทธิ์มาเป็นระยะเวลานานแล้ว แต่ความเข้าใจของประชาชนโดยทั่วไปในเรื่องลิขสิทธิ์ยังไม่ชดั เจน ความตระหนกั รู้ถึงความสำคัญขงการคุ้มครองลิขสิทธ์ิ และทัศนคตทิ ี่ถูกต้องเก่ยี วกับการคุ้มครองทรัพย์สินทาง ปญั ญาทยี่ ง่ั ยนื กวา่ การปราบปรามการละเมดิ ลขิ สิทธิ์ ซงึ่ เปน็ การแก้ปญั หาทปี่ ลายเหตุ การละเมิดลขิ สิทธิ์ - การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : คือ การทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมคอมพิวเตอร์แก่สาธารณชน รวมทั้ง การนำต้นฉบับ หรอื สำเนางานดังกลา่ วออกใหเ้ ช่า โดยไมไ่ ด้รับอนุญาตจากเจา้ ของลขิ สทิ ธิ์ - การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม : คือ การกระทำทางการค้า หรือการกระทำที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการละเมิด ลิขสิทธดิ์ ังกลา่ ว ขา้ งต้น โดยผ้กู ระทำรู้อยู่แล้วว่างานใดได้ทำข้นึ โดยละเมิดลิขสิทธ์ิของผู้อ่ืน แต่ก็ยังกระทำเพื่อ หากำไรจากงานน้ัน ไดแ้ ก่ การขาย มไี วเ้ พ่ือขาย ใหเ้ ช่า เสนอใหเ้ ชา่ ให้เชา่ ซื้อ เสนอให้เชา่ ซื้อ

ทำไมตอ้ งให้ความสำคัญกับการละเมิดลขิ สิทธ์ิ การละเมิดลิขสิทธิ์เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย นอกจากความเสี่ยงทางด้านกฎหมายที่ท่านอาจได้รับแล้ว ธุรกิจของท่านยัง สญู เสียช่อื เสยี ง ความนา่ เชื่อถือ ซึ่งทำใหส้ ญู เสยี รายได้และดำเนนิ ธรุ กิจได้ยากข้นึ นอกจากน้ี ท่านยังต้องเสี่ยงกับการใช้ ซอฟต์แวร์ที่อาจสร้างปัญหาให้กับข้อมูลทางการค้ามีค่าของท่าน ไม่ได้รับการ สนับสนนุ ดา้ นเทคนคิ และข่าวสารอันเปน็ ประโยชนต์ ่อท่านและธรุ กิจของท่าน การสนบั สนนุ การละเมดิ ลิขสิทธิ์ เป็นส่วนหนึ่งที่หยุดยั้งการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรม ไอทีซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่มีอนาคต อันจะนำมาซึ่ง รายไดใ้ ห้กับประเทศไทย และมกี ารพฒั นาความรู้ด้านไอทีให้กับบุคลากรของประเทศ ทำใหส้ ามารถแข่งขันได้ ในโลกการค้าโลกาภิวัฒน์ จรรยาบรรณสำหรับผู้ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ปัจจุบัน มีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก และมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกวัน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นระบบ ออนไลน์ที่สามารถแลกเปล่ียนข้อมลู ซึง่ กันและ กันได้ ในเครือข่ายย่อมมีผู้ประพฤติไม่ดีปะปนอยู่ ซึ่งก่อให้เกดิ ปัญหาต่อส่วนรวมอยู่เสมอ แต่ละเครือข่ายจึงได้ออกกฎเกณฑ์การใช้งานภายในเครือข่าย เพื่อให้สมาชิกใน เครือข่ายของตนยึดถือและปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์เหล่านี้จะช่วยให้สมาชิกโดยส่วนรวมได้รับประโยชน์สูงสุด และป้องกันปัญหาที่เกิดจากผู้ใช้บางคนได้ ดังนั้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนจะต้องเข้าใจกฎเกณฑ์ ข้อบังคับของ เครือข่ายที่ตนเองเป็นสมาชิก จะต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ ผู้ร่วมใช้บริการคนอื่น และจะต้อง รบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทำของตนเองที่เข้าไปขอใชบ้ ริการตา่ งๆ บนเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทผ่ี ใู้ ชอ้ นิ เทอร์เน็ตใช้บริการอยู่ มไิ ด้เป็นเพยี งเครือขา่ ยขององค์กรท่ผี ู้ใช้เปน็ สมาชิกอยู่เท่านั้น แต่เป็นเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ จำนวนมากเข้าไว้ด้วยกัน มีข้อมูลข่าวสารวิ่งอยู่ระหว่างเครือข่าย มากมาย การส่งข่าวสารลงในเครือข่ายนั้นอาจทำให้ข่าวสารกระจายไปยังเครือข่ายอืน่ ๆ เช่น การส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ฉบับหนึ่ง อาจจะต้องเดินทางผ่านเครือข่ายหลายเครือข่ายจนกว่าจดหมายฉบับนั้นจะเดินทาง ถึงปลายทาง ดงั นัน้ ผใู้ ชอ้ นิ เทอร์เนต็ จะต้องให้ความสำคัญและตระหนกั ถึงปัญหา ปรมิ าณข้อมูลข่าวสารท่ีว่ิงอยู่ บนเครอื ขา่ ย แม้ผู้ใชง้ านอินเทอรเ์ นต็ จะได้รับสิทธจิ์ ากผู้บริหารเครือขา่ ยให้ใช้บริการ ตา่ งๆ บนเครือข่ายน้ันได้ ผู้ใช้จะต้องเข้าใจกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เครือข่ายนั้นวางไว้ด้วย ไม่พึงละเมิดสิทธิ์หรือกระทำ การใดๆ ที่จะสร้าง ปัญหาหรือไมเ่ คารพกฎเกณฑท์ แี่ ต่ละเครอื ขา่ ยวางไว้ และจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม คำแนะนำอย่างเครง่ ครดั การ ใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ จะทำให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็นสังคมที่น่าใช้และ เป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ผู้ใช้จะต้องหลีกเลีย่ งกิจกรรมบางอย่างที่ไม่ควรปฏบิ ัติ เช่น การส่งกระจายข่าวลือ จำนวนมากบนเครือข่าย การกระจายข่าวแบบส่งกระจายไปยังปลายทางจำนวนมาก การส่งจดหมายลูกโซ่ เปน็ ตน้ กจิ กรรมเหล่านีจ้ ะเป็นผลเสยี ต่อสว่ นรวม และไมเ่ กดิ ประโยชน์ใดๆ ต่อสงั คมอนิ เทอร์เน็ต บญั ญตั ิ 10 ประการ สำหรับผใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ต อาจารย์ ยืน ภู่วรวรรณ ได้กล่าวถึงบญั ญัติ 10 ประการ ซึ่งเป็นจรรยาบรรณทีผ่ ู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เสมือน เป็นแม่บทของการ ปฏบิ ตั ิ ผู้ใชพ้ งึ ระลึกและเตอื นความจำเสมอ มีดงั น้ี 1. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอรท์ ำร้าย หรอื ละเมิดผ้อู ืน่ 2. ตอ้ งไมร่ บกวนการทำงานของผู้อ่นื 3. ตอ้ งไมส่ อดแนม แกไ้ ข หรือเปิดดแู ฟม้ ขอ้ มลู ของผูอ้ ื่น 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอรเ์ พือ่ การโจรกรรมข้อมูลขา่ วสาร 5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งหลักฐานทเี่ ป็นเท็จ 6. ต้องไมค่ ดั ลอกโปรแกรมของผอู้ ืน่ ท่ีมลี ิขสิทธ์ิ 7. ตอ้ งไมล่ ะเมดิ การใชท้ รพั ยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยทตี่ นเองไม่มสี ิทธ์ิ

8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อน่ื มาเปน็ ของตน 9. ต้องคำนงึ ถงึ สงิ่ ที่จะเกดิ ขน้ึ กับสงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทำของท่าน 10. ต้องใชค้ อมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กติกา และมมี ารยาท บทท่ี 3 อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ นต็ ความหมาย และ อาชญากรคอมพิวเตอร์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทำผดิ ทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรอื การใช้คอมพิวเตอร์ เพือ่ กระทำผิดทางอาญา เชน่ ทำลาย เปล่ยี นแปลง หรือขโมยข้อมูลตา่ ง ๆ เป็นตน้ ระบบคอมพิวเตอร์ในท่ีนี้ หมายรวมถงึ ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ท่ีเชอ่ื มกับระบบดงั กลา่ วดว้ ย สำหรับอาชญากรรมในระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (เช่น อนิ เทอร์เนต็ ) อาจเรียกได้อกี อยา่ งหน่ึง คือ อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรทีก่ อ่ อาชญากรรมประเภทน้ี มกั ถกู เรียกว่า แครกเกอร์ อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ คือ 1.การกระทำการใด ๆ เกีย่ วกบั การใช้คอมพวิ เตอร์ อนั ทำให้เหยื่อไดร้ บั ความเสียหาย และผ้กู ระทำได้รบั ผลประโยชนต์ อบแทน 2.การกระทำผิดกฎหมายใด ๆ ซงึ่ ใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอรเ์ ป็นเครื่องมอื และในการสบื สวนสอบสวนของเจา้ หน้าทเี่ พ่ือนำผกู้ ระทำผดิ มาดำเนินคดี ตอ้ งใชค้ วามรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกนั การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำนวน มหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจ รูปแบบ หนึ่งทมี่ คี วามสำคัญ อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice) 2. พวกวิกลจรติ (Deranged persons) 3. อาชญากรท่รี วมกลุ่มกระทำผดิ (Organized crime) 4. อาชญากรอาชพี (Career) 5. พวกหัวพัฒนา มคี วามก้าวหน้า(Con artists) 6. พวกคลง่ั ลทั ธิ(Dremer) / พวกช่างคดิ ชา่ งฝัน(Ideologues)

7. ผทู้ ่ีมีความรูแ้ ละทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอรอ์ ย่างดี (Hacker/Cracker ) Hacker หมายถงึ บุคคลผ้ทู ่เี ป็นอัจฉริยะ มีความรูใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึงข้อมูลใน คอมพิวเตอร์โดยเจาะผา่ นระบบ รักษาความปลอดภยั ของ คอมพิวเตอร์ได้ แตอ่ าจไมแ่ สวงหาผลประโยชน์ Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อเข้าไป ทำลายหรือลบแฟ้มข้อมูล หรือทำให้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการทำลายระบบปฏิบัติการของ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ สาเหตกุ ารณ์เพม่ิ จำนวนของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ อาชญากรรมคอมพวิ เตอรว์ ายรา้ ยของ หนว่ ยงาน ขณะนี้กระแสความกังวลเรื่องเศรษฐกิจชะลอตัว นับเป็นความท้าทายสำหรับองค์กรและภาคธุรกิจต่างๆ ขณะเดียวกันยังต้องรับมือกับความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะหลังรัฐบาล ประกาศใช้ พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ได้มีการเก็บสถิติในการรับแจ้งเหตุละเมิดความ ปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ ผ่านศูนย์ประสานงานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ พบว่า ในปี 2008 มี การละเมิดความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ลดลงจากปีก่อน โดยที่พบมาก คือ เหตุละเมดิ ในรูปแบบฟิชช่ิง ที่มี จำนวนมากถึง 68% เป็นการโจมตีโดยการปลอมแปลงอีเมล์ และการสร้างเว็บไซต์ปลอม เพื่อหลอกให้เหยื่อ เปิดเผยข้อมลู ทางดา้ นการเงินหรอื ข้อมูลสว่ นบุคคล นายวรเทพ มงคลวาที ผจู้ ัดการท่วั ไป บรษิ ัท เอ.อาร.์ ไอที จำกดั กลา่ ววา่ จากสภาวะเศรษฐกิจที่แปรปรวนจาก ทั่วโลก ส่งผลให้หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนเผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดจากอาชญากรรมทางการเงิน การ หลอกหลวงด้านข้อมูลท่ีเพมิ่ สูงขน้ึ โดยส่ิงเหล่านท้ี ำควบคู่กับการใช้เทคโนโลยที างด้านไอทใี หม่ๆ ไม่ว่าจะเป็น ในรูปแบบคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต จากการเก็บสถิติการรับแจ้งเหตุละเมิดความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ ผา่ นศนู ยป์ ระสานงานการรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์ (Thai CERT) พบว่าในปี 2551 รปู แบบการละเมิด ท่ใี ชม้ ากท่สี ดุ คอื รปู แบบฟิชชงิ่ หรอื การหลอกลวงผใู้ ช้ให้เปดิ เผยขอ้ มูลส่วนตวั ทส่ี ำคัญแกเ่ ว็บไซตท์ ่ีปลอมแปลง มีจำนวนสงู ถึง 68% รองลงมาคอื รูปแบบเมลลแ์ วร์ หรือซอฟตแ์ วร์ที่ออกแบบเพ่ือแทรกซึมเขา้ ไปทำลายระบบ คอมพวิ เตอร์ มีอยู่ 16% และสแปมเมลลห์ รือเมลลข์ ยะ มอี ยู่ 1 % ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เอ.อาร์.ไอทีฯ กล่าวต่อว่า จากข้อมูล IDC ที่คาดการณ์วา่ ปี 2552 ภาพรวมของตลาดไอ ทีจะเติบโตลดลง โดยมูลค่ารวมตลาดไอทีในประเทศไทยจะอยู่ที่ 6.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ปรับตัวลดลง ประมาณ 217 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และอัตราการเติบโตจะลดลงจาก 12.9% เป็น 6.7% อย่างไรก็ตาม วิกฤต เศรษฐกิจขณะน้ีไม่สง่ ผลกระทบตอ่ โอกาสทางธุรกิจด้าน IT Security ที่มีแนวโน้มเตบิ โตเพิ่มสูงขึ้น เพราะการ โจรกรรมข้อมูล และการใช้อนิ เทอรเ์ น็ตมคี วามเส่ยี งเพ่ิมขึ้น นายวรเทพ กล่าวอีกว่า จากการสำรวจทั่วโลกพบว่าประเทศไทยติดอันดับ1ใน4 ที่ถูกโจรกรรมมากที่สุด โดย สาเหตุที่มีการโจรกรรมมากขึ้น เพราะกฎหมายที่มีอยู่ไม่เข้มงวด และไม่ชัดเจน แม้จะประกาศใช้ พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 หรือ พ.ร.บ.คอมฯ ก็ตาม ดังนั้น จากแนวโน้มความ เสี่ยงด้านโจรกรรมที่มากขึ้น ทำให้ความต้องการบุคคลากรที่เชี่ยวชาญด้าน IT Security มีมากขึ้นประมาณ 60% จากคนทมี่ ีความรู้ทางไอที 100% ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เอ.อาร์.ไอทีฯ อธิบายถึงความจำเป็นที่จะต้องร่วมมือระหว่างสถาบันเออาร์ไอที ที่เป็ น ศนู ย์อบรมและศูนย์ทดสอบความร้ดู า้ นคอมพิวเตอร์กับสถาบัน EC-Councilประเทศสหรัฐอเมรกิ า ว่า ขณะน้ีมี องค์กรจำนวนมากที่ไม่มีระบบ IT Security ที่ได้มาตรฐาน อีกทั้ง หน่วยงานและองค์กรต่างๆยังต้องการ บุคคลากรที่มีความสามารถด้านดังกล่าวเพิ่มขึ้น จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้เอ.อาร์.ไอทีและสถาบัน EC-Council ผเู้ ชีย่ วชาญด้าน Providing IT Security and E-Business Certification รว่ มมือกนั

“เนื้อหาของหลักสูตรและการสอบ จะครอบคลุมทักษะด้าน IT Security โดยเฉพาะการเรียนรู้เกี่ยวกับวิธี เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ Hacker ใช้เพื่อที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันการ Hack โดยที่จะมุ่งเน้น ไปที่ บุคคลากรภายในองคท์ ัง้ ภาครัฐ เอกชน และสถาบันอดุ มศึกษา อีกทั้งตั้งเป้าภายในปนี ้ีจะมีบุคคลากรท่มี ี ความรู้หลักสูตรดังกล่าวเพิ่มขึ้น 500 คนจากดิสซิบิวเตอร์ที่มีอยู่ 4 ศุนย์ และเตรียมขยายเพิ่มอีก 10ศูนย์ ภายใน 1 ปีสำหรับเบื้องต้นได้มีการเจรจากับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ(เอแบค)และมหาวิทยาลัยสยาม ในการ บรรจุหลกั สตู รดงั กล่าวให้เปน็ วิชาเลือกเพ่อื ใหน้ กั ศึกษาไดม้ ีการเรยี นรู้” นายวรเทพ กลา่ ว ดา้ นนายชอน ลมิ ประธานกรรมการ EC-Council ประเทศสหรัฐอเมริกา กลา่ ววา่ ขณะน้สี ถาบันสถาบัน EC- Council มีบุคคลากรทั่วไปที่จบหลักสูตร IT Security ประมาณ 10,000คนต่อปี โดยแบ่งเป็นในแถบอเมริกา 50% แถบยุโรป 15% และแถบเอเซีย 25% ส่วนสาเหตุที่มาขยายสถาบันในไทยเพราะแนวโน้มอัตราการโดน Hacker มีเพิ่มขึ้น และคาดว่าจะเพิ่มไปเรื่อยๆ ดังนั้นหน่วยงานต่างๆจึงจำเป็นที่ต้องการบุคคลากรที่มีความ เช่ียวชาญดา้ น IT Security เพ่อื เข้าไปก้องกันและพัฒนาระบบของหนว่ ยงานตนเองต่อไป ส่วนนายวิลสัน วอง ผู้อำนวยการ สถาบัน EC-Council Academy ประเทศมาเลเซีย ให้ข้อมูลปัญหา อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ทั่วโลกว่า หลายฝ่ายประเมิน ตัวเลขอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์น่าจะลดลง แต่ในหลายๆประเทศพบว่าเพ่ิมสูงขึ้น หรอื คดิ เปน็ อัตราเฉล่ีย 24 ตอ่ 7 โดยปญั หาดังกลา่ วจะดำเนินต่อไปไม่มี ท่สี ิน้ สดุ และเปา้ หมายหลักของการโจมตคี อื รฐั บาล ผู้อำนวยการ สถาบัน EC-Council Academy ประเทศมาเลเซีย แสดงความเห็นถึงตัวเลขที่เพิ่มขึ้นของ อาชญากรรมทางด้านการเงินว่า ตัวลขที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้หลายบริษัทฯเผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดจาก อาชญากรรมทางการเงินที่มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ตึงเครียดในปัจจุบัน โดยจะพบการ กระทำผิด การหลอกลวง และการทำอาชญากรรมทางการเงินอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันอาชญากร เหล่านี้ยังคงแสวงหาวิธีและเทคนิคใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อที่จะนำมาใช้ในการทำอาชญากรรม ทางการเงนิ กับองคก์ รธุรกิจและบคุ คลทวั่ ไป นายวิลสัน แสดงความเห็นต่อว่า สิ่งที่ภาคธุรกิจและองคก์ ร ควรจะให้ความสำคัญมากขึน้ คือ การติดตั้งระบบ ความปลอดภัยให้รัดกุมกว่าเดิม แม้ตัวเลขการละเมิดลิขสิทธ์ิ หรือ การโจรกรรมข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จะ ลดลงก็ตาม แต่ไม่สามารถวางใจได้ และจากผลการสำรวจธุรกิจป้องกันความปลอดภัย IT Security ทั่วโลก พบว่า การลงทุนด้าน IT Security มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น โดยผลวิจัยบริษัท PricewaterhouseCoopers จาก 150 ประเทศทวั่ โลก ปรากฎว่าบริษัทขนาดกลางมกี ารลงทุนดา้ น Security มากท่สี ดุ “จากการวิเคราะห์ถึงผลกระทบที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจของสถาบันการเงินที่เกิดขึ้น ช่วงที่ผ่านมาพบว่า มี การละเมิดข้อมูลภายในเพิ่มมากขึ้น และการศึกษาจากบริษัทฯ ตัวอย่าง จำนวน 43 บริษัทฯ พบว่าบริษัทฯ ทั้งหมดได้รับผลกระทบจากการละเมิดข้อมูลสำคัญภายในบริษัท และจากการสำรวจพบว่าข้อมูลที่ถูกละเมิด เหลา่ น้ี มีมูลคา่ สูงถึง 6.65 ล้านดอลลารส์ หรัฐ ดังนั้นบรษิ ทั ฯ ต่างๆ ควรเรมิ่ พิจารณาถึงการจดั สรรงบประมาณ ให้กับพนักงานฝ่ายความมั่นคงปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ อย่างแทจ้ ริง”ผูอ้ ำนวยการ สถาบัน EC-Council Academy ประเทศมาเลเซยี กล่าว อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ทมี่ ีเพ่ิมขึน้ เรื่อยๆ จนต้องมกี ารเปิดหลักสตู รการเรียน Hacker แต่ผู้เรียนจะต้อง มีวิจารณญาณท่ดี ีวา่ การสอน Hacker ของสถาบนั EC-Council น้นั ไมไ่ ดส้ อนใหผ้ เู้ รียนเปน็ Hacker มืออาชีพ เพื่อทำความผิด แต่สถาบันต้องการให้ผู้ที่มีความมรู้ด้าน IT Security เป็นคนเฝ้าระวังอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์แทนหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยที่เชื่อว่าหากมีสถาบันดังกล่าวแล้วจะ ทำใหก้ ารจดั อันดบั การถูกโจรกรรมข้อมลู ลดลง... ประเภทของการโจมตี

รปู แบบการโจมตีรูปแบบต่างๆ Hacker หมายถึง บคุ คลที่มคี วามสามารถเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ และใช้ความสามารถนัน้ ในทางที่ดี เช่นหาช่อง โหวแ่ ละกระทำการแจ้งเตอื นให้ผผู้ ลิตทราบเพอื่ เป็นการป้องกนั แก้ไขต่อไป Cracker หมายถึง คล้ายกับ Hacker แต่ต่างกนั ท่เี จตนาของการนำความรู้ไปใช้ Cracker นนั้ จะนำความรู้ไปใช้ ในด้านของการโจมตรี ะบบหรือสรา้ งความเสียหายให้บคุ คลอน่ื รปู แบบการโจมตี ได้แก่ Social Engineering การโจมตีแบบนี้มีความอันตรายสูง โดยผู้โจมตีไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความชำนาญ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพียงแต่มีจิตวิทยาในการพูดและการแสดงออกระดับหนึ่งก็จะสามารถทำการโจมตี ได้ แลว้ การโจมตีในลักษณะน้ี ไดแ้ ก่ 1. การหลอกถามเอาซึ่งหน้า การปลอมตัวเป็นผู้หวังดีต้องการจะช่วยเหลือระบบ เช่น แจ้งว่ามีช่องโหว่ มีการ บกุ รุกเขา้ ไปในระบบและขอการเข้าถงึ เพ่ือช่วยเหลือ 2. การค้นหาเอกสารต่างๆ รวมถงึ การคุยถงึ ขยะเพือ่ หาข้อมลู การป้องกันวิธนี้ คือ ต้องเน้นไปที่การฝึกอบรบบุคลากรเป็นหลัก ให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ Social Engineering เพ่อื ไมใ่ ห้ตกเปน็ เหยอื่ ของการโจมตีแบบรเู้ ท่าไม่ถึงการณ์ การเดารหัสผ่าน วิธีนี้ผู้โจมตีมักจะใช้เป็นอันดับแรกก่อนใช้วิธีอื่นๆ ที่เจาะระบบเข้าไป เป็นการเดา โดย สว่ นมากระบบทีต่ กเป็นเหยอื่ กค็ อื ระบบท่มี ีการใชร้ หัสผา่ นทไ่ี ม่ปลอดภยั เชน่ การใชร้ หสั ผา่ นทเี่ ป็นคำที่คนทวั่ ไปรูอ้ ยู่แลว้ เชน่ 11111111, 12345678 การใชเ้ บอร์โทรศัพท์เป็นรหัสผา่ น เช่น 028888888, 0815555555 การใชช้ ่ือ หรือ นามสกุลของตนเองมาตง้ั เปน็ รหัสผ่าน การใช้ส่ิงแวดล้อม มาทำเป็นรหัสผา่ น เชน่ ช่ือทีท่ ำงาน ช่อื เพอ่ื น ช่ือแฟน ชอื่ โรงเรียน เป็นตน้ Username เปน็ ตัวเดยี วกบั รหสั ผ่าน การป้องกันการโจมตแี บบเดารหัสผ่าน มีดังน้ี บังคับให้มีวนั หมดอายุรหสั ผ่าน ทุก ๆ 72 วัน ถา้ หมดอายุแลว้ ให้เปล่ยี นรหสั ผา่ นใหม่ การตรวจ วา่ ห้าม Username และ Password เป็นตัวเดียวกัน ถา้ เป็นตวั เดยี วกนั ใหแ้ กไ้ ขเปน็ คนละตวั ใหม้ กี ารผสมระหว่างตวั อักษร และตัวเลขเขา้ ไปในรหัสผา่ น การกำหนดความยาวของรหสั ผา่ น เช่น อยา่ งนอ้ ย 8 ตัว การโจมตีแบบ ปฏิเสธการให้บริการ เป็นการโจมตีระบบรักษาความปลอดภัยที่ไม่แข็งแกร่ง เช่น การทำให้ Web Server ลม่ หรอื หยดุ ทำงาน การถอดรหัสข้อมูล เปน็ การพยายามวิเคราะหท์ างคณติ ศาสตร์เพ่ือหา keyword ในการถอดรหสั ข้อมลู การโจมตีแบบคนกลาง คือ การทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องสื่อสารกันโดยไม่ทราบว่ามีคนกลาง เปลี่ยนแปลงขอ้ มูล การโจมตผี า่ นเครือขา่ ย ได้แก่ สนฟิ เฟอร์ เป็นชอื่ เคร่อื งหมายทางการคา้ ของระบบตรวจจับแพ็กเก็ตเพ่ือนำมาวิเคราะห์และตรวจหาปัญหาใน เครือขา่ ย ตัวระบบจะประกอบดว้ ย คอมพวิ เตอร์ที่มีการด์ เครือข่ายสมรรถนะสูงและซอฟต์แวร์ตรวจวิเคราะห์ แพ็กเก็ต ชื่อสนิฟเฟอร์ในปัจจุบันจึงนิยมใช้เป็นชื่อเรียกของโปรแกรมใดๆ ที่สามารถตรวจจับและวิเคราะห์ แพ็กเกต็ ได้

มา้ โทรจัน โปรแกรมม้าโทรจันเปน็ โปรแกรมที่ลวงใหผ้ ้ใู ชง้ านเข้าใจผิดวา่ เป็นโปรแกรมผิดปกติในระหวา่ งการใช้ งานอยู่ แต่การทำงานจริงกลับเป็นการดักจับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ Cracker เช่น โปรแกรมโทรจันที่ลวงว่าเป็น โปรแกรมลอ็ กอินเข้าสรู่ ะบบ เมือ่ ผู้ใชง้ านปอ้ นบัญชแี ละรหัสผา่ นกจ็ ะแอบส่งรหัสผ่านไปให้ Cracker ประตูกล Cracker ใช้ ประตูลับ (backdoors) ซึ่งเป็นวิธีพิเศษเข้าสู่ระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต คือวิธีการท่ี ผพู้ ัฒนาโปรแกรมทงิ้ รหัสพเิ ศษหรือเปิดทางเฉพาะไวใ้ นโปรแกรมโดยไม่ใหผ้ ูใ้ ชล้ ่วงรู้ Cracker ส่วนใหญ่จะมีชุด ซอฟต์แวรซ์ ึง่ สรา้ งข้ึนเพือ่ เจาะเข้าสรู่ ะบบตามจดุ ออ่ นท่ีมอี ยู่ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ จารชนอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนั้นกระจายไปทุกบุคคล ทุกกลุ่ม ซึ่งใครก็ได้สามารถใช้ อนิ เทอรเ์ น็ตได้ ความปลอดภยั ของข้อมูลนั้น ต้องระมัดระวังมากยง่ิ ขึ้น เรามักเรียกพวกท่ีมีความสามารถเจาะ เข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ ว่า \"Hacker\" ซึ่งปัจจุบันเรียก Hacker ผิดความหมายจนติดปากไปแล้วทั้งที่จริงแลว้ Cracker ตา่ งหากทีเ่ ข้าข่ายจารชนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มีจุดประสงค์ทไี่ ม่ดี ผูก้ ระทำผดิ อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรป์ ระเภทต่างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมท่ี เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบ คอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทาง คอมพวิ เตอร์ โดยแบง่ เป็น 5 ประเภท คือ การเขา้ ถึงโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต, การสรา้ งความเสียหายแกข่ ้อมูลหรือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/ จากและภายในระบบหรอื เครือขา่ ยโดยไม่ได้รบั อนญุ าต และการจารกรรมขอ้ มลู บนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับ อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ 6 ประเภท ทไ่ี ดร้ บั ความนยิ ม ซึ่งสง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ ประชาชนและผบู้ ริโภค นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบัน และความพยายามในการปญั หานี้ อาชญากรรม 6 ประเภทดังกลา่ วได้แก่ 1. การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ(หรือ พาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ ส์) 2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูก ใช้เป็นสื่อในการกอ่ อาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลขิ สิทธ์ิ ใดๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำหน่ายหรอื เผยแพรผ่ ลงานสร้างสรรค์ท่ีได้รบั การคุม้ ครองลิขสทิ ธิ์ 3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจ รองรับอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ในรปู แบบอืน่ ๆ (เชน่ การปลอมแปลง การกอ่ การร้าย ฯลฯ)

4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทำที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ ( e- terrorism) จะเก่ียวขอ้ งกับการเจาระบบคอมพวิ เตอร์เพ่อื ก่อเหตุรนุ แรงต่อบุคคลหรือทรัพยส์ นิ หรืออย่างน้อย ก็มีจดุ มงุ่ หมายเพอื่ สรา้ งความหวาดกลวั 5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกำหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรือการ เผยแพรภ่ าพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำท่ีผิดกฎหมาย และตามข้อกำหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพ ลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทำที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอรเ์ น็ตเปน็ เพยี งช่องทางใหม่ สำหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเร่ืองวิธีท่ีเหมาะสมท่ีสุดในการควบคมุ ช่องทางการสื่อสารท่ี ครอบคลุมทว่ั โลกและเข้าถงึ ทกุ กลมุ่ อายนุ ้ีได้ก่อใหเ้ กิดการถกเถียงและการโตแ้ ยง้ อยา่ งกวา้ งขวาง 6. ภายในโรงเรยี น – ถงึ แม้ว่าอนิ เทอร์เนต็ จะเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการศึกษาและสนั ทนาการ แตเ่ ยาวชน จำเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดย เป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีทเ่ี หมาะสมในการปอ้ งกันการใช้อนิ เทอร์เนต็ ในทางที่ผดิ การป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และอนิ เทอรเ์ น็ต สังคม สารสนเทศเป็นสังคมใหม่ การอยู่ร่วมกันในสังคมสารสนเทศ จำเป็นต้องมีกฏเกณฑ์ เพื่อการอยู่ร่วมกัน โดยสันติและสงบสุข เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ทุกวันนี้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาท ใน ชีวิตประจำวัน มีการใช้คอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารกันมาก ขณะเดียวกันก็มีผู้ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ในทางที่ไม่ถูก ไม่ควร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และเมื่อมีกฎหมายแล้ว ผู้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศจะปฏเิ สธ ความผิดว่าไมร่ ู้กฎหมายไมไ่ ด้ ทำไมจึงตอ้ งมกี ารออกกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้มีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ สำนักงาน อัตโนมัติ ตลอดจนเครื่องมือสื่อสารเพื่อการประกอบกิจการงานและการทำธุรกรรมต่าง ๆ โดย เทคโนโลยีเอื้อประโยชน์ ต่อการทำงานด้านต่าง ๆ ทำให้มีผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ การมี กฎหมายจะทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ และความเชื่อมั่นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce E-Business) โดย ทนี่ านาชาติทีพ่ ัฒนาแล้วตา่ งพัฒนากฎหมายของตนเอง โดย เน้นความเป็นสากลที่จะติดต่อค้าขายระหว่างกัน ด้วยเหตุนี้ ประเทศไทยก็จำเป็นที่จะต้องออกกฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศเช่นกัน หากพจิ ารณาการเปลี่ยนแปลงของสถานการทำงานขององคก์ รทัว่ ไป ทกุ องคก์ รกำลังกา้ วเขา้ สสู่ ังคมสารสนเทศ มีความพยายามที่จะลดการใช้กระดาษเอกสาร หันมาใช้ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์แทน และนำมาแลกเปลี่ยน (EDI) กันได้ง่าย ขณะเดียวกันการดำเนินการทางธุรกิจ เช่น การฝากถอนเงินอัตโนมัติ การทำธุรกรร ม อิเล็กทรอนิกส์ และ การติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดน มีการซื้อขายสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ต มากขึ้น มีการ บริหารรายการย่อยขององค์กร ผา่ นทางเครือข่าย มีการทำงานระบบออนไลน์ ทส่ี ามารถเปดิ บรกิ ารการทำงาน ไดต้ ลอดย่ีสบิ ส่ีชวั่ โมง กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย หลายประเทศ เช่น สงิ คโปร์ อนิ เดีย เกาหลใี ต้ สหรัฐอเมริกา ฯลฯ ล้วนมีกฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศของตน แล้ว สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 ให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติเป็นผู้ร่าง มีการกำหนดกฎหมายที่จะ รา่ งทง้ั สิ้นหกฉบบั

กฎหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เน้นในเรื่องข้อความที่จัดทำขึ้นเป็นรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะไม่ถูกปฏิเสธ ความมีผลทางกฎหมาย ถา้ ข้อมลู ได้จดั ทำขึน้ เปน็ ข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยสามารถทีจ่ ะเขา้ ถึงเพ่ือนำข้อความ ออกมาใชใ้ นภายหลังได้ ใหถ้ ือวา่ ข้อความน้ันไดท้ ำเป็นหนังสือ หรือมีหลกั ฐานเป็นหนังสอื แล้ว (มาตรา 6 และ มาตรา 7) โดยมีการพิสูจน์หลักฐานที่เป็น ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน (มาตรา 10) ขอ้ มลู เหล่าน้ีสามารถส่งและรบั ผ่านเครือข่ายเพ่อื รองรับวทิ ยาการสมัยใหม่ กฎหมายลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ เน้นในเรอ่ื งการใช้ลายมือช่ือดิจติ อล (digital signature) เพ่ือยนื ยันเอกสาร หรือหลักฐาน และองค์กรที่ทำ หน้าที่ออกใบรับรองลายมือชื่อ การประกอบการรับรองลายมือชื่ออนุญาต ตลอดจนการกำกับการประกอบการรับรอง เพื่อให้ระบบลายมือชื่อดิจิตอลเป็นส่วนหนึ่งเสมือนการลงลายมือ ชือ่ ในเอกสาร กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เป็นกฎหมายที่เข้ามากำกับดูแลความสงบสุขของการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ เน้นในเรื่องสิทธิการใช้ การ ละเมิดสิทธิ์ โดยเฉพาะผู้บุกรุกหรือ hacker ที่ถือว่าเป็นการกระทำ การบุกรกุ และเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ กฎหมายคุม้ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คล เนือ่ งจากขอ้ มูลในรปู ดจิ ิตอลสามารถเผยแพรแ่ ละกระจายได้รวดเรว็ การส่ง ตอ่ การกระจายขา่ วสารอาจกระทบ ถึงสทิ ธสิ ่วนบุคคล กฎหมายจึงค้มุ ครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายว่าด้วยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากกิจการทางด้านการเงินและการโอนเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบที่เป็นทั้ง eCash eMoney หรอื การใช้เครดิตแลกเปลี่ยนกนั จะมีบทบาท มีการใช้ตั๋ว สญั ญาใช้เงินแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใชร้ ูปแบบเอกสารการเงนิ อิเล็กทรอนิกสต์ า่ ง ๆ กฎหมายลำดับรองรัฐธรรมนญู มาตรา 78 ในมาตรา 78 แห่งรฐั ธรรมนญู ราชอาณาจกั รไทยปจั จุบนั เนน้ ให้รฐั ตอ้ งกระจายอำนาจให้ท้องถนิ่ พ่ึงตนเองและ ตัดสินใจในกจิ การทอ้ งถิน่ ไดเ้ อง พฒั นาเศรษฐกจิ ทอ้ งถิน่ และระบบสาธารณูปโภค และสาธารณปู การ ตลอดท้ัง โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ในท้องถิ่นใหท้ ว่ั ถึงและเท่าเทียมกนั ท้ังประเทศ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีส่วนช่วยในการสร้างประโยชน์ในเรื่องความสงบสุข และลดอาชญากรรม ทาง ด้านเทคโนโลยี ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดความเช่อื ม่ันในเรอื่ งการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์ การทำธรุ กรรมอิเล็กทรอนิกสผ์ า่ นเครือขา่ ย กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศของไทยกำลังอยู่ในระดับการร่าง โดยสองฉบบั แรกกำลงั เข้าสูส่ ภาในการประชุม สมยั ตอ่ ไป ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสรจ็ ในอีกไมน่ าน กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน็ เพยี งเครือ่ งมือสำหรับการสรา้ งความน่าเชอ่ื ถือ และความสงบสุขของคนใน สังคมสารสนเทศ สิ่งที่สำคัญคือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนจะต้องรู้ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของตนเอง การ ดูแลสิทธิ ของตนเอง ไม่นำสิทธิของตนเองไปใหผ้ ูอ้ ื่นใช้ ซึ่งหากผู้อื่นนำไปใช้ในทางทีผ่ ดิ กฎหมาย เช่น นำรหัส ลับของตนเองไป ใช้ในทางทผ่ี ดิ กฎหมาย เจ้าของจะต้องรบั ผิดชอบและจะอ้างว่าไมร่ ูก้ ฎหมายไม่ได้ เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำนวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่งที่ต้องยอมรับความจริงก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่น ข้อด้อยของตนทั้งสิ้น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปัญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เป็นปัญหาหลักที่นับว่ายิ่งมีความ รุนแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และ แหล่งที่เป็นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่ารุนแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นำไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปัญหานี้เป็นอย่างยิ่ง จำเป็นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชีย่ วชาญด้านการรักษาความ ปลอดภยั ระบบซอฟตแ์ วร์ ฮาร์ดแวรท์ ีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ การวางแผน ตดิ ตาม และประเมินผลท่ีตอ้ งกระทำอย่าง สมำ่ เสมอตอ่ เนอื่ ง

แต่ไม่ว่าจะมีการป้องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ก็มีอยู่เรื่อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบ บอ่ ยๆ ไดแ้ ก่ Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็นอย่างยิ่ง บุลากรในองค์กร หนว่ ยงานคุณไลพ่ นักงานออกจากงาน, สรา้ งความไมพ่ ึงพอใจให้กับพนักงาน นแ่ี หล่ะปัญหาของอาชญกรรมได้ เชน่ กัน Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทำอันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะ อาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ และขีดจำกัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่งคำสั่งให้เครื่อง แม่ข่ายเป็นปริมาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจำไม่ เพียงพอ จนกระทงั่ เกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสรา้ งฟอร์มรับสง่ เมลท์ ี่ไม่ได้ป้องกนั ผูไ้ มป่ ระสงค์อาจจะใช้ ฟอร์มนน้ั ในการส่งขอ้ มลู กระหน่ำระบบได้ Backdoors นกั พัฒนาเกือบทุกราย มกั สร้างระบบ Backdoors เพื่อชว่ ยอำนวยความสะดวกในการทำงาน ซ่ึง หากอาชญากรรูเ้ ทา่ ทัน ก็สามารถใชป้ ระโยชน์จาก Backdoors นนั้ ได้เช่นกนั CGI Script ภาษาคอมพวิ เตอรท์ นี่ ิยมมากในการพัฒนาเวบ็ เซอร์วสิ มกั เป็นช่องโหวร่ ุนแรงอกี ทางหนึ่งได้เช่นกัน Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็นช่องทางท่ี อำนวยความสะดวกให้กับอาชญากรได้เป็นอย่างดี โดยการเปิดดูรหัสคำสั่ง (Source Code) ก็สามารถ ตรวจสอบและนำมาใช้งานไดท้ ันที Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผู้ใช้นำไปปรับปรุงเป็นทางหนึ่งที่อาชญากร นำไปจู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรือระบบ จะทำการปรับปรุง (Updated) ซอตฟ์แวร์ท่มี ชี อ่ งโหว่น้ัน ก็สายเกินไปเสยี แล้ว Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้นการส่งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทั่งรหัสผ่าน ต่างๆ ซ่ึงบราวเซอรบ์ างรนุ่ หรือรุ่นเกา่ ๆ ยอ่ มไมม่ คี วามสามารถในการเข้ารหสั หรอื ปอ้ งกันการเรียกดูข้อมูล น่ี ก็เป็นอกี จุดออ่ นของธรุ กรรมอิเล็กทรอนิกส์ไดเ้ ชน่ กัน Malicious scripts ก็เขยี นโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผู้ใชเ้ รยี กเว็บไซต์ดบู นเคร่ืองของตน มั่นใจหรือว่าไม่เจอ ปญั หา อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแผงในเอกสารเวบ็ เม่อื ถูกเรยี ก โปรแกรมน่ันจะถูกดงึ ไปประมวลผลฝ่ัง ไคลน์เอ็นต์ และทำงานตามที่กำหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยเราเองไม่รู้ว่าเรานั่นแหล่ะเป็นผู้สั่งรันโปรแกรมน้ัน ดว้ ยตนเอง นา่ กลวั เสียจรงิ ๆๆ Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลตา่ งๆ ตามแต่จะกำหนด จะถูกเรียกทำงานทันทีเมื่อมี การเรียกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บันทึก ข้อมลู ต่างๆ ของผใู้ ชส้ ่งกลับไปยังอาชญากร ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสำหรับหน่วยงานที่ใช้ไอทีตั้งแต่เริ่มแรก และดำรงอยู่อย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสียหายได้สูงสุด เป็นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทั่วโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ตามลำดับทีไ่ ม่หย่อนกว่ากนั รปู แบบของการประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปแล้ว วธิ กี ารท่ีใช้ในการประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์จะมีดงั ต่อไปน้ี 1. Data Diddling คือ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตก่อนหรือระหว่างที่กำลังบันทึกข้อมูลลงไป ในระบบคอมพิวเตอร์ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลดังกล่าวนี้สามารถกระทำโดยบุคคลใดก็ได้ที่สามารถเข้าไปถึงตัว ข้อมลู ตัวอยา่ งเช่น พนักงานเจ้าหน้าทีที่มีหนา้ ท่บี นั ทึกเวลาการทำงานของพนักงานท้ังหมดทำการแก้ไขตัวเลข

ชัว่ โมงการทำงานของคนอน่ื มาลงเป็นชวั่ โมงการทำงานของตนเอง ซงึ่ ขอ้ มลู ดังกลา่ วหากถูกแก้ไขเพียงเล็กน้อย ก็จะไมม่ ใี ครทราบ 2. Trojan Horse การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แฝงไวใ้ นโปรแกรมที่มปี ระโยชนเ์ มื่อถึงเวลาโปรแกรมท่ไี ม่ ดีจะปรากฎตัวขึ้นเพื่อปฏิบัติการทำลายข้อมูล วิธีนี้มักจะใช้กับการฉ้อโกงทางคอมพิวเตอร์หรือการทำลาย ขอ้ มลู หรือระบบคอมพวิ เตอร์ 3. Salami Techniques วิธกี ารปดั เศษจำนวนเงิน เช่น ทศนยิ มตวั ที่ 3 หรอื ปัดเศษทงิ้ ใหเ้ หลือแต่จำนวนเงินที่ สามารถจ่ายได้ แล้วนำเศษทศนิยมหรือเศษที่ปัดทิ้งมาใส่ในบัญชีของตนเองหรือของผู้อื่น ซึ่งจะทำให้ผลรวม ของบัญชียังคงสมดุลย์ (Balance) และจะไม่มีปัญหากับระบบควบคุมเนื่องจากไม่มีการนำเงินออกจากระบบ บัญชี นอกจากใชก้ ับการปดั เศษเงนิ แลว้ วิธนี ี้อาจใช้กับระบบการตรวจนับของในคลังสินคา้ 4. Superzapping มาจากคำว่า \"Superzap\" เป็นโปรแกรม \"Marcro Utility\" ที่ใช้ในศูนย์คอมพิวเตอร์ของ บริษัท IBM เพื่อใช้เป็นเครื่องมือของระบบ (System Tool) ทำให้สามารถเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ได้ใน กรณีฉุกเฉิน เสมือนกุญแจผี (Master Key) ที่จะนำมาใช้เมื่อกุญแจดอกอื่นหายมีปัญหา โปรแกรม อรรถประโยชน์ (Utility Program) ตัวอย่างเช่นโปรแกรม Superzap จะมีความเสี่ยงมากหากตกไปอยู่ในมือ ของผู้ไม่หวังดี 5. Trap Doors เปน็ การเขียนโปรแกรมท่ีเลียนแบบคล้ายหนา้ จอปกติของระบบคอมพิวเตอร์ เพอื่ ลวงผู้ท่ีมาใช้ คอมพิวเตอร์ ทำให้ทราบถึงรหัสประจำตัว (ID Number) หรือรหัสผ่าน (Password) โดยโปรแกรมนี้จะเก็บ ขอ้ มลู ทตี่ ้องการไวใ้ นไฟลล์ บั 6. Logic Bombs เป็นการเขียนโปรแกรมคำสั่งอย่างมีเงื่อนไขไว้ โดยโปรแกรมจะเริ่มทำงานต่อเมื่อมีสภาวะ หรือสภาพการณ์ตามที่ผู้สร้างโปรแกรมกำหนด สามารถใช้ติดตามดูความเคลื่อนไหวของระบบบัญชี ระบบ เงนิ เดอื นแล้วทำการเปลยี่ นแปลงตัวเลขดงั กล่าว 7. Asynchronous Attack เนื่องจากการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เป็นการทำงานแบบ Asynchronous คือสามารถทำงานหลาย ๆ อย่างพร้อมกัน โดยการประมวลผลข้อมูลเหล่านัน้ จะเสรจ็ ไม่พร้อมกัน ผู้ใช้งานจะ ทราบว่างานที่ประมวลผลเสร็จหรือไม่ก็ต่อเมื่อเรียกงานนั้นมาดู ระบบดังกลาวก่อให้เกิดจุดอ่อน ผู้กระทำ ความผิดจะฉวยโอกาสในระหว่างที่เครื่องกำลังทำงานเข้าไปแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือกระทำการอื่นใดที่ผู้ใช้ไม่ ทราบว่ามีการกระทำผดิ เกิดข้ึน 8. Scavenging คือ วิธีการที่จะได้ข้อมูลท่ีทิ้งไว้ในระบบคอมพิวเตอร์หรือบริเวณใกล้เคียงหลังจากเสร็จการใช้ งานแล้ว วิธีง่ายที่สุดคือ ค้นหาตามถังขยะที่อาจมีข้อมูลสำคัญไม่ว่าจะเป็นเบอร์โทรศัพท์หรือรหัสผ่าน หลงเหลอื อยู่ หรืออาจใชเ้ ทคโนโลยีท่ซี บั ซ้อนทำการหาขอ้ มูลที่อยู่ในเครื่องคอมพวิ เตอร์เม่ือผู้ใช้เลกิ ใชง้ านแลว้ 9. Data Leakage หมายถึงการทำให้ข้อมูลร่ัวไหลออกไป อาจโดยต้งั ใจหรือไม่ก็ตาม เช่น การแผ่รังสีของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าในขณะที่กำลังทำงาน คนร้ายอาจตง้ั เคร่ืองดักสัญญาณไว้ใกล้กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลตามท่ี ตนเองตอ้ งการ 10. Piggybacking วิธีการดังกล่าวสามารถทำได้ทั้งทางกายภาพ (Physical) การที่คนร้ายจะลักลอบเข้าไปใน ประตูที่มีระบบรักษาความปลอดภัย คนร้ายจะรอให้บุคคลที่มีอำนาจหรือได้รับอนุญาตมาใช้ประตูดังกล่าว เม่อื ประตูเปิดและบคุ คลคนน้นั ได้เขา้ ไปแล้ว คนร้ายกฉ็ วยโอกาสตอนทป่ี ระตูยงั ไมป่ ิดสนทิ แอบเข้าไปได้ ในทาง อเิ ลค็ ทรอนิกส์กเ็ ชน่ กัน อาจจะเกิดข้ึนในกรณีท่ีใช้สายส่ือสารเดียวกันกบั ผู้ท่ีมีอำนาจใช้หรือได้รับอนุญาต เช่น ใชส้ ายเคเบิลหรอื โมเด็มเดียวกนั 11. Impersonation คือ การที่คนร้ายแกล้งปลอมเป็นบุคคลอื่นที่มีอำนาจหรอื ได้รับอนุญาต เช่น เมื่อคนร้าย ขโมยบัตรเอทีเอ็มของเหยือได้ ก็จะโทรศัพท์และแกล้งทำเป็นเจ้าพนักงานของธนาคารและแจ้งให้เหย่ือทราบ

วา่ กำลงั หาวธิ ีป้องกันมิให้เงินในบัญชีของเหย่ือถูกอบบถอนไปจึงบอกใหเ้ หย่ือเปลยี่ นรหสั ประจำตัว (Personal Identification Number : PIN) โดยให้เหยื่อบอกรหัสเดิมก่อนคนร้ายจึงทราบหมายเลขรหัส และได้เงินของ เหย่ือไป 12. Wiretapping เป็นการลักลอบดักฟังสัญญาณการส่ือสารโดยเจตนาที่จะได้รับประโยชน์จากการเข้าถึง ข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสาร หรือที่เรียกว่าโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ โดยการกระทำความผิดดังกล่าว กำลังเปน็ ทห่ี วาดวติ กกบั ผู้ท่ีเกีย่ วขอ้ งอย่างมาก 13. Simulation and Modeling ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนการควบคุมและ ติดตามความเคลื่อนไหวในการประกอบอาชญากรรม และกระบวนการดังกล่าวก็สามารถใช้โดยอาชญากรใน การสร้างแบบจำลองในการวางแผนเพื่อประกอบอาชญากรรมได้เชน่ กนั เช่น ในกิจการประกันภยั มีการสร้าง แบบจำลองในการปฏิบัติการหรือช่วยเหลือในการตัดสนิ ใจในการทำกรมธรรม์ประกันภัย โปรแกรมสามารถทำ กรมธรรม์ประกันภัยปลอมขึ้นมาเป็นจำนวนมากส่งผลให้บริษัทประกันภัยล้มละลายเมื่อถูกเรียกร้องให้ต้อง จ่ายเงนิ ให้กับกรมธรรม์ที่ขาดต่ออายหุ รือกรมธรรม์ที่มีการจ่ายเงินเพียงการบันทึก (จำลอง) แต่ไม่ได้รับประกัน จริง หรือต้องจ่ายให้กบั กรมธรรม์ทีเ่ ชือ่ ว่ายงั ไม่ต้องขาดอายุความ การกระทำอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มกั จะเป็นไปในรปู แบบดงั นี้ 1. การฉ้อโกงโดยใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เช่น การเปลยี่ นแปลงจำนวนเงนิ , จำนวนชัว่ โมงการทำงานโดยไมไ่ ด้รับ อนุญาต 2. การปลอมแปลงโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระบบฐานข้อมูลหรือทำการ Download ขอ้ มลู มาใช้โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต 3. การทำใหข้ อ้ มูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เสียหาย เช่น การเขยี นโปรแกรมไวรสั เพื่อทำลายข้อมลู หรือแฝง มาในแฟม้ ข้อมลู ทผี่ ู้ใชท้ ำการ Download 4. การทำลายระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การกอ่ กวนการรับ-ส่งขอ้ มูลผ่านระบบเครอื ขา่ ย 5. การลักลอบเขา้ ไปในเครอื ขา่ ยโดยปราศจากอำนาจ เช่น การลกั ลอบดขู ้อมูล รหสั ประจำตวั หรือรหัสผ่าน ประเภทของอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ 1. พวกมือใหม่หรือมือสมัครเล่น อยากทดลองความรู้ และส่วนใหญ่จะไม่ใช่ผู้ที่เป็นอาชญากรโดยนิสัย ไม่ได้ ดำรงชพี โดยการกระทำความผดิ 2. นักเจาะข้อมลู ผ้ทู เี่ จาะข้อมลู ระบบคอมพวิ เตอร์ของผู้อ่ืน พยายามหาความท้าทายทางเทคโนโลยี เข้าไปใน เครือข่าย ของผู้อนื่ โดยท่ไี มไ่ ด้รบั อนุญาต 3. อาชญากรในรูปแบบเดิมที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ เช่น พวกลักเล็กขโมยน้อยที่พยายามขโมยบัตร เอทเี อ็ม ของผูอ้ ื่น 4. อาชญากรมืออาชีพ คนพวกนจี้ ะดำรงชีพจากการกระทำความผิด เช่น พวกที่มักจะใช้ความรู้ทางเทคโนโลยี ฉอ้ โกง สถาบันการเงิน หรือการจารกรรมข้อมูลไปขาย เป็นต้น 5. พวกหัวรุนแรงคลั่งอุดมการณ์หรือลัทธิ มักก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เพื่ออุดมการณ์ทางการเมือง เศรษฐกจิ ศาสนา หรอื สิทธมิ นษุ ยชน เป็นตน้ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์นั้นคงจะไม่ใช่มีผลกระทบเพียงแต่ความมั่นคงของ บคุ คลใด บคุ คลหน่งึ เพยี งเท่านัน้ แตย่ ังมผี ลกระทบไปถึงเรื่องความมั่นคงของประเทศชาติเปน็ การสว่ นรวม ท้ัง ความมั่นคงภายใน และภายนอกประเทศ โดยเฉพาะในส่วนทีเ่ กี่ยวกับข่าวกรอง หรือการจารกรรมข้อมูลต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วกบั ความมั่นคงของประเทศ ซงึ่ ในปจั จบุ นั ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงรปู แบบไปจากเดมิ เชน่

1. ในปจั จบุ ันความมนั่ คงของรัฐนั้นมใิ ชจ่ ะอยู่ในวงการทหารเพียงเท่าน้นั บุคคลธรรมดากส็ ามารถป้องกัน หรือ ทำลาย ความมัน่ คงของประเทศได้ 2. ในปัจจุบันการป้องกันประเทศอาจไม่ได้อยู่ที่พรมแดนอีกต่อไปแล้ว แต่อยู่ที่ทำอย่างไรจึงจะไม่ให้มีการ คกุ คาม หรอื ทำลายโครงสร้างพน้ื ฐานสารสนเทศ 3. การทำจารกรรมในสมัยน้ีมักจะใช้วิธีการทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนเกี่ยวกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์ บนโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ความผิดต่าง ๆ ล้วนแต่สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น การจารกรรม การก่อการรา้ ย การค้ายาเสพติด การแบ่งแยกดนิ แดน การฟอกเงิน การโจมตีระบบสาธารณปู โภคพื้นฐานของ ประเทศที่มีระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม เช่น ระบบจราจร หรือระบบรถไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งทำให้เห็นว่า ความสัมพันธร์ ะหว่างอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ความมัน่ คงของประเทศ และโครงสรา้ งพ้นื ฐานสารสนเทศ ของชาติ เป็นเรื่องที่ไม่สามารถแยกจากกันได้อย่างเด็ดขาด การโจมตีผ่านทาง ระบบโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศ สามารถทำได้ด้วยความเร็วเกือบเท่ากับการเคลื่อนที่ความเร็วแสง ซึ่งเหนือกว่า การเคลื่อนทัพ ทางบก หรือการโจมตีทางอากาศ มาตรการปอ้ งกนั และปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 2.1 มาตรการด้านเทคโนโลยี เป็นการต่อต้านอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยผู้ใช้สามารถใช้หรือติดตั้งเทคโนโลยีต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ การติดตง้ั ระบบการตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Detection) หรอื การตดิ ต้ังกำแพงไฟ (Firewall) เพ่ือ ป้องกันหรือรักษาคอมพิวเตอร์ของตนให้มีความ ปลอดภัย ซึ่งนอกเหนือจากการติดตั้งเทคโนโลยีแล้วการ ตรวจสอบเพื่อประเมินความเสี่ยง อาทิ การจัดให้มีระบบวิเคราะห์ความเส่ียงและการใหก้ ารรับรอง (Analysis Risk and Security Certification) รวมทั้งวินัยของ ผู้ปฏิบัติงานก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องได้รับการปฏิบัติอย่าง เครง่ ครัดและสมำ่ เสมอ มเิ ช่นน้นั การตดิ ตงั้ เทคโนโลยที ี่มปี ระสิทธิภาพเพอื่ ใช้ในการปอ้ งกนั ปัญหาดังกลา่ วก็ไม่ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ตอ่ ย่างใด 2.2 มาตรการด้านกฎหมาย มาตรการด้านกฎหมายเป็นนโยบายของรัฐบาลไทยประการหนึ่งที่นำมาใช้ในการต่อต้านอาชญากรรม คอมพิวเตอร์ โดยการบัญญัติหรือตรากฎหมายเพื่อกำหนดว่าการกระทำใดบ้างที่มีโทษทางอาญา ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ งหลายฉบับดังนี้ 1. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หรือร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. …. ซ่ึงขณะนี้ เป็นกฎหมายหนึ่งในหกฉบับที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนยเ์ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยมี สาระสำคญั ของกฎหมา ยแบ่งออกได้เปน็ 2 สว่ นหลกั คือ ก) การกำหนดฐานความผิดและบทลงโทษเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เช่น ความผิดเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่มีอำนาจ (Illegal Access) ความผิดฐานลักลอบดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Illegal Interception) หรือ ความผิดฐานรบกวน ข้อมูลคอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (Interferencecomputer data and computer system) ความผิดฐานใชอ้ ปุ กรณ์ในทางมชิ อบ (Misuse of Devices) เป็นต้น

ข) การให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าพนักงานในการปราบปรามการกระทำความผิด นอกเหนือเพิ่มเติมไปจากอำนาจ โดยทว่ั ไปทบ่ี ัญญตั ไิ ว้ในกฎหมายอื่นๆ อาทิ การใหอ้ ำนาจในการส่ังให้ถอดรหัสข้อมลู อมพวิ เตอร์ อำนาจในการ เรยี กดูข้อมูลจราจร (traffic data) หรือ อำนาจคน้ โดยไมต่ ้องมหี มายในบางกรณี 2. กฎหมายอี่นที่เกี่ยวข้องนอกเหนือจากกฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้นแล้ว ปัจจุบันมีกฎหมายอีกหลายฉบับทั้งที่ตราขึ้นใช้บังคับแล้ว และที่อยู่ระหว่างกระบวนการตรานิติบัญญัติ ที่มี เนือ้ หาเกยี่ วข้องกับการปอ้ งกนั หรอื ปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อาทิ ก) พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 มาตรา 74 ซึ่งกำหนดฐานความผิดเกี่ยวกับ การดักรับไว้ หรือใชป้ ระโยชน์ หรือเปดิ เผยข้อความข่าวสาร หรือข้อมลู อืน่ ใดท่มี ีการสอื่ สารโทรคมนาคมโดยไม่ ชอบดว้ ยกฎหมาย ข) กฎหมายอื่นที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ ได้แก่ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. …. (กำหนดความผดิ เกี่ยวกับบัตรอเิ ล็กทรอนกิ ส)์ โดยเปน็ การกำหนดฐานความผิดเก่ียวกับการ ปลอมหรอื แปลงบตั รอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ตลอดจนกำหนดฐานความผิดเก่ียวกับการใช้ มีไวเ้ พอ่ื ใช้ นำเข้า หรือส่งออก การจำหน่ายซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอมหรือแปลง และลงโทษบุคคลที่ทำการผลิต หรือมีเครื่องมือในการผลิตบัตรดังกล่าว ปัจจุบันกฎหมายฉบับน้ีได้ผ่านการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีและอยู่ ระหว่างเตรียมนำเสนอเขา้ ส่กู ารพจิ ารณาของสภาผแู้ ทนราษฎร รา่ งพระราชบญั ญัติแกไ้ ขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. …. (เก่ยี วกบั การส่ง สำเนาหมายอาญาทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์) โดยเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการส่งสำเนาหมาย อาญาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อสารสนเทศอื่นๆ ปัจจุบันกฎหมายฉบับนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาของ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั สภาผแู้ ทนราษฎร ร่างพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. …. ซึ่งปัจจุบัน อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการร่วม รัฐสภา 2.3 มาตรการดา้ นความร่วมมอื ระหว่างหน่วยงาน นอกเหนือจากมาตรการทางเทคโนโลยีที่ผู้ใช้ต้องดำเนินการ หรือมาตรการทางกฎหมายที่รัฐบาลต้องผลักดัน กฎหมายต่างๆ แล้วมาตรการสำคัญอีกประการหนึ่งที่จะช่วยให้การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์สัมฤทธ์ิในทางปฏิบัติได้น้ัน คือ มาตรการดา้ นความร่วมมือกับระหว่างหน่วยงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนซึ่งมิได้จำกัดเพียงเฉพาะหน่วยงานที่มีหน้าที่ตามกฎหมายเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึง หนว่ ยงานอ่นื ๆ ท่อี าจเกย่ี วขอ้ งไมว่ า่ จะเป็นในดา้ นของผ้พู ฒั นาระบบหรือผกู้ ำหนดนโยบายก็ตาม นอกเหนือจากความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ แล้วสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งคือความจำเป็นที่จะต้องมี หน่วยงานด้านความปลอดภัยของเครือข่ายเพื่อรับมือ กับปัญหาฉุกเฉินด้านความปลอดภัยอมพิวเตอร์ข้ึน โดยเฉพาะ และเป็นศูนย์กลางคอยให้ค วามช่วยเหลือในด้านต่างๆ รวมทั้งให้คำปรึกษาถึงวิธีการหรือแนว ทางแก้ไข ซึ่งปัจจุบันศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือเนคเทค ได้จัดตั้งศูนย์ ประสานงานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ประเทศไทย (Thai Computer Emergency Response Team / ThaiCERT) เพื่อเป็นหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและให้ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับการ ตรวจสอบ และการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์แก่ผู้ที่สนใจทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเป็นหน่วยงานรับแจ้งเหตุ กรณีทมี่ ีการละเมิดความปลอดภัยคอมพิวเตอรเ์ กิดขึ้น 2.4 มาตรการทางสังคมในการแกป้ ญั หาเฉพาะของประเทศไทย สืบเน่อื งจากในปัจจบุ ันปรากฏข้อเทจ็ จรงิ พบวา่ สงั คมไทยกำลังเผชิญกบั ปญั หาการใช้อนิ เทอร์เน็ตไปในทางไม่ ชอบหรือฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฎหมาย ทั้งโดยการเผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นสื่อลามก อนาจาร ข้อความหมิ่นประมาท การชักจูงล่อลวง หลอกลวงเด็กและเยาวชนไปในทางที่เสียหาย หรือ

พฤติกรรมอื่นอันเป็นภัยต่อสังคม โดยคาดการณ์ว่าการกระทำหรือพฤติกรรมดังกล่าวมีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้นตาม สถติ ิเพิม่ ขึ้นของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต อนั ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนไทย โดยปัญหาดังกล่าวอยู่ในความสนใจ ของสังคมไทยเป็นอย่างมาก ดังนั้น หน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนจึงได้เร่งรณรงค์ในการป้องกันปัญหา ดงั กลา่ วร่วมกนั เพอื่ ดแู ลและปกปอ้ งเดก็ และเยาวชนจากผลกระทบข้างตน้ สรุปไดส้ งั เขป ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) มาตรการเร่งดว่ นของคณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแห่งชาติ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (กทสช.) ได้มีมติเห็นชอบต่อมาตรการเร่งด่วนเกี่ยวกับการ ป้องกันและปราบปรามการเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสมทางอินเทอร์เน็ต ในการประชุมครั้งที่ 2/2544 เม่ือ วันที่ 20 กรกฎาคม 2544 ตามข้อเสนอของคณะอนุกรรมการด้านนโยบายอินเทอร์เน็ตสำหรับประเทศไทย (ซึ่งมีศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) หน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำหน้าที่เป็น เลขานุการคณะอนุกรรมการดังกล่าว) กำหนดให้หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องประสานความ ร่วมมือตามลำดับ กล่าวคือ การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อประโยชน์ในการสืบสวน สอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานการสกัดกั้นการเผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม รวมทั้งการรับแจ้งเหตุเมื่อมีกรณี ดังกลา่ วเกดิ ข้ึน อาทิ ก) ให้การสื่อสารแห่งประเทศไทย และบริษัท ทศท. คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (องค์การโทรศัพท์แห่ง ประเทศไทย)กำหนดเง่ือนไขให้ผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) และผู้ให้บริการโทรศัพท์ทุกราย ให้ความร่วมมือ ในการตั้งนาฬิกาของอุปกรณ์สื่อสารและอุปกรณ์ให้บริการให้ตรงกัน เพื่อบันทึกข้อมูลการบันทกึ การเข้า-ออก จากระบบ รวมทั้งการบันทึกและเก็บข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ใช้บริการ (Log File for User Access) พรอ้ มหมายเลขโทรศัพทต์ น้ ทาง (Caller ID) เป็นระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 3 เดือน ข) ให้ ISP ทุกรายระงับการเผยแพร่เนื้อหาอันมี ข้อความหรือภาพไม่เหมาะสม และสกัดกั้นมิให้ผู้ใช้บริการ เขา้ ถึงแหล่งขอ้ มลู ดังกลา่ วในกรณที ่ีแหล่งข้อมูลดงั กลา่ วมาจากแหลง่ อื่น กรณีศึกษา กรณีศกึ ษา กรณีศึกษาจากองค์กรธุรกจิ ต่างๆ กรณีศกึ ษา 13 อาชญากรคอมพวิ เตอร์ที่สร้างความหายนะให้เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ณ สถาบันเทคโนโลยีแห่ง แมซซาชูเซดในปี ค.ศ. 1988 นายโรเบิร์ด ที มอริส ได้เข้าศึกษาในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ณ มหาวิทยาลัยคอร์แนลซึ่งหลาย ๆ คนยอมรับว่าเขาเป็นนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก่งมากคนหนึ่ง นาย มอริส ได้เขียนโปรแกรมไวรัศคอมพวิ เตอร์ที่เปน็ ท่ีรูจ้ ักกนั ดีในนาม “หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm)” หรือบางที เรียกว่า “หนอนอินเทอร์เน็ต (Worm internet)” โปรแกรมดังกล่าวยากต่อการตรวจพบหรือลบทิ้งโดย นักเขียนโปรแกรมคนอื่น ๆวอร์ม (Worm) ถือว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่สามารถกระจายจาก เครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งสู่อีกเครื่องหนึ่ง โดยผู้ใช้เป็นผู้นำพา แต่ไม่ทำให้ระบบการดำเนินงาน (Operating system) ของคอมพิวเตอร์เสียหายซึ่งต่างจากไวรัส (Virus) ที่เป็นโปรแกรมที่กระจายและฝังตัวบนระบบการ ดำเนินงานของคอมพิวเตอร์ที่รับไวรัสนั้นเข้าไป และจะกระจายไปยังเครื่องอื่นๆ ที่ใช้ไฟล์ (File) ข้อมูลของ เครื่องทีต่ ิดเช้ืออยู่แลว้ นายมอริส ตอ้ งการให้เกดิ ความเช่ือมั่นวา่ วอร์ม (Worm) ตวั นี้จะไม่ทำอะไรที่ซ้ำตัวของ มันเองบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มันฝังตัวเข้าไป การทำซ้ำของวอร์ม (Repeat worm) หลายๆ ครั้งจะส่งผลให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ติดขัดหรืออาจทำใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอรไ์ ม่สามารถทำงานได้ แต่ง่ายต่อการตรวจจบั ดังน้ัน นายมอริส จึงได้ออกแบบวอรม์ (Worm) ใหม่โดยสามารถถามเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ี่มันฝังตัวอยู่ว่ามีสำเนาของ วอร์ม (Worm) หรือไม่ หากพบว่า “ไม่มี” มันก็จะทำสำเนาบนเครื่องคอมพิวเตอรน์ ัน้ หากตอบว่า “มี” มันก็ จะไม่ทำสำเนา (Copy) ลงไปอย่างไรก็ดี นายมอริสก็กลัวว่าวอร์ม (Worm) ที่ตนได้พัฒนาขึน้ จะถูกทำลายโดย

นักเขียนโปรแกรมคนอื่น ๆ ได้ ถ้าหากเจ้าของแกล้งให้เครื่องสั่งว่า “มี” ดังนั้นนายมอริสจึงเขียนโปรแกรมให้ วอร์ม (Worm) สามารถทำซ้ำได้เพียง 7 ครั้งเท่านั้น หากได้รับคำตอบวา่ “มี” อยู่ภายในเครื่องแลว้ อย่างไรก็ ตามนายมอริสอาจลืมคิดไปว่าเครื่องคอมพิวเตอร์อาจถูกถามคำถามเดียวกันหลายๆ ครั้งได้ ซึ่งเขาคิดว่าวอรม์ (Worm) จะถูกทำลาย แต่เขาก็คิดว่าคงไม่มีผลเสียหายมากนักนายมอริส ได้ใส่วอร์ม (Worm) นี้เข้าไปใน ระบบปฏิบตั ิการยูนกิ ส์ (Unix) ทส่ี ถาบนั เทคโนโลยีแมซซาชเู ซต [Massachusetts Institute of Technology (MIT)] เม่อื วันท่ี 2 พฤศจิการยน ค.ศ. 1988 เนอื่ งจากต้องการอำพรางตัวเอง เพราะเขาอยทู่ ่ีมหาวิทยาลัยคอร์ แนล (Cornell) อย่างไรก็ดีเรื่องนายมอริสไม่คาดคิดไว้ก็ได้เกิดขึ้น เมื่อวอร์ม (Worm) ได้แพร่ระบาดรวดเร็ว เกนิ คาด และเม่อื นายมอริสพยายามจะรว่ มมือกับเพ่ือนของเขาที่มหาวทิ ยาลัยฮารว์ าร์ด โดยส่งจดหมายไปบน เครือข่ายถึงวิธกี ารกำจัดวอร์ม (Worm) น่นั เอง จดหมายขา่ วดงั กล่าวจึงไมส่ ามารถสง่ ไปได้ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน จึงสายเกนิ กวา่ ทีจ่ ะแกไ้ ขได้ เครือขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ่ีเชื่อมโยงสถาบนั การศึกษาในสหรฐั อเมริกา หนว่ ยงานทหาร ศนู ย์วิจัยในสหรัฐอเมริกา ล้วนแต่ได้รับผลรา้ ยจากการระบาดของวอร์ม (Worm) ตัวนี้ทั้งสิ้น ในที่สุดนายมอริสก็ถูกจับได้ และถูกตัดสิน จำคุกเปน็ เวลา 3 ปี แต่ศาลไดร้ อลงอาญาไว้ นอกจากนั้นยังได้ถูกส่งตวั ไปให้บริการสังคมเปน็ เวลา 400 ช่ัวโมง หรอื ประมาณ 50 วันทำการ และถกู ปรบั เปน็ จำนวนเงิน 10,050 ดอลลารส์ หรฐั หรือประมาณ 350,000 บาท ปญั หาและขอ้ อภปิ ราย 1. ความคึกคะนองและอยากลองวิชาของนักศึกษา โดยเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อไปสร้าง ความเสียหายให้แก่หน่วยงานอื่นนั้น นับว่ามีผลเสียหายอย่างมากต่อทรัพย์สินและความรู้สึกของผู้ใช้ คอมพวิ เตอร์เครือขา่ ย หากทา่ นเป็นผู้ที่อยูใ่ นสถาบันการศึกษา ท่านจะมมี าตรการป้องกนั และปราบปรามผู้ไม่ ประสงค์ดีท่ีบ่อนทำลายระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรใ์ นหน่วยงานของท่านอย่างไร 2. จากงานวิจัยเรื่องการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีศึกษา ณ สหรัฐอเมริกา พบว่า 2 ใน 3 ของผ้บู ุกรกุ ทีไ่ ม่ประสงค์ดี และแอบขโมยข้อมูลภายในหนว่ ยงานและองคก์ รตา่ ง ๆ นั้นมาจากคนภายในองค์กร เองทา่ นจะมแี นวทางในการรักษาความปลอดภยั ของข้อมลู ภายในองคก์ รอยา่ งไร 3. จงอธิบายชนิดและชอื่ ของไวรัสคอมพวิ เตอร์ (Virus computer) ทที่ ่านรจู้ กั พร้อมทง้ั อำนาจการทำลายของ ซอฟตแ์ วร์ไวรสั ดงั กล่าวเหลา่ นัน้ ว่ามคี วามรนุ แรงมากน้อยเพยี งใด และจงเสนอแนะวิธีการทำลายไวรสั ดังกลา่ ว

บทที่ 4 ความเป็นส่วนตัว ความหมายของความเปน็ ส่วนตวั ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของ สามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่ม บุคคล และองคก์ ารตา่ งๆ ปจั จบุ ันมีประเด็นเกยี่ วกับความเปน็ ส่วนตัวท่ีเปน็ ข้อหน้าสงั เกตดังน้ี 1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในกเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการ บันทึก-แลกเปลยี่ นข้อมูลท่บี ุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซตแ์ ละกลุ่มข่าวสาร 2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการ ตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการ พัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็น ส่วนตวั ซึ่งการกระทำเชน่ น้ีถือเปน็ การผดิ จรยิ ธรรม 3.การใชข้ ้อมูลของลูกค้าจากแหลง่ ตา่ งๆ เพ่อื ผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด 4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้าง ฐานข้อมูลประวัติลูกคา้ ขึ้นมาใหม่ แลว้ นำไปขายใหก้ บั บรษิ ัทอืน่ ดังนั้น เพ่ือเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จีงควรจะต้องระวังการ ให้ขอ้ มูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เนต็ ที่มกี ารใชโ้ ปรโมช่นั หรอื ระบุให้มีการลงทะเบยี นก่อนเขา้ ใชบ้ ริการ เช่น ข้อมลู บตั รเครดิต และทอ่ี ยูอ่ เี มล การเปดิ เผยข้อมลู บริษัทจดทะเบียนมีหน้าที่จะต้องเปิดเผยข้อมูลสำคัญต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ข้อมูลที่อาจมี ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท หรือมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ถือ หุ้นของบริษัท หรือข้อมูลที่จำเป็นต่อการตัดสินใจลงทุน โดยบริษัทจะต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ ก.ล.ต. กำหนด เพื่อให้ผู้ลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบและใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน เช่น งบการเงิน แบบแสดง รายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ฯลฯ เชน่ ภยั คุกคามต่อความเปน็ ส่วนตัวและขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็นภัยอันตรายต่อสังคมในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากภัยนี้จะ เป็นการรบกวนการทำงานของผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตแล้ว ยังส่งผลเสียต่อข้อมูลสำคัญๆ ที่มี อย่อู ีกดว้ ย 1. ชนิดของภัยคุกคามทเี่ กดิ ข้นึ บนอนิ เทอร์เน็ต จำแนกได้ดังนี้

1.1 มัลแวร์ (Malware) คือความไม่ปกติทางโปรแกรมที่สูญเสียความลับทางข้อมูล (Confidentiality) ข้อมูล ถูกเปลี่ยนแปลง (Integrity) สูญเสียเสถียรภาพของระบบปฏิบัติการ (Availability) ซึ่งมัลแวร์แบ่งออกได้เป็น หลายประเภท จึงขออธิบายแต่ละประเภทดงั นี้ 1.1.1 ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คือรหสั หรือโปรแกรมที่สามารถทำสำเนาตวั เองและแพร่กระจาย สเู่ ครือ่ งอื่นได้ โดยเจ้าของเคร่ืองนน้ั ๆ ไมร่ ตู้ ัว ถอื ว่าเป็นสงิ่ ไม่พึงประสงค์ซ่ึงฝังตวั เองในโปรแกรมหรือไฟล์ แล้ว แพร่กระจายจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่นๆ ผ่านทางสื่อต่างๆ สิ่งสำคัญคือไวรัสไม่สามารถ แพร่กระจายได้หากขาดคนกระทำ เชน่ แบ่งปันไฟลท์ ีต่ ิดไวรสั หรอื สง่ อเี มลท์ ตี่ ดิ ไวรสั เปน็ ต้น 1.1.2 หนอนคอมพวิ เตอร์ (Computer Worm) เรยี กสั้นๆ วา่ เวิรม์ เปน็ หนว่ ยย่อยลงมาจากไวรสั มีคุณสมบัติ ต่างๆ เหมือนไวรัสแต่ต่างกันที่เวิร์มไม่ต้องอาศัยผู้ใช้งาน แต่จะอาศัยไฟล์หรือคุณสมบัติในการส่งต่อข้อมูลใน คอมพิวเตอร์เพื่อกระจายตัวเอง บางทีเวิร์มสามารถติดตั้ง Backdoor ที่เริ่มติดเวิร์มและสร้างสำเนาตัวเองได้ ซง่ึ ผ้สู รา้ งเวิรม์ น้นั สามารถส่ังการได้จากระยะไกล ทเ่ี รยี กวา่ Botnet โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื โจมตีคอมพวิ เตอร์และ เครือข่าย ส่งที่อันตรายอย่างย่ิงของเวริ ์มคือ สามารถจำลองตัวเองในคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งแล้วแพร่กระจาย ตัวเองออกไปได้จำนวนมาก ตัวอย่างเช่น สามารถดักจับ username และ password และใช้ข้อมูลนี้เพื่อบุก รกุ บัญชผี ใู้ ชน้ น้ั ทำสำเนาตวั เองแลว้ ส่งต่อไปยังทุกรายช่ือท่ีมีอยู่ในลิสต์อีเมล์ และเมอื่ สำเนาตัวเองเป็นจำนวน มากจะทำใหก้ ารส่งข้อมลู ผ่านเครือข่ายช้าลง เปน็ เหตุให้ Web Server และเครือ่ งคอมพิวเตอรห์ ยุดทำงาน 1.1.3 ม้าโทรจัน (Trojan Horse) คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ดูเหมือนมีประโยชน์ แต่แท้ที่จริงก่อให้เกิดความ เสียหายเมื่อรันโปรแกรม หรือติดตั้งบนคอมพิวเตอร์ ผู้ที่ได้รับไฟล์โทรจันมักถูกหลอกลวงให้เปิดไฟล์ดังกล่าว โดยหลงคิดว่าเป็นซอฟต์แวร์ถูกกฎหมาย หรือไฟล์จากแหล่งที่ถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อไฟล์ถูกเปิดอาจส่ง ผลลัพธ์หลายรปู แบบ เช่น สร้างความรำคาญดว้ ยการเปลีย่ นหน้าจอ สร้างไอคอนที่ไมจ่ ำเป็น จนถึงขั้นลบไฟล์ และทำลายข้อมูล โทรจันต่างจากไวรัสและเวิร์มคือโทรจันไม่สามารถสร้างสำเนาโดยแพร่กระจายสู่ไฟล์อ่ืน และไมส่ ามารถจำลองตัวเองได้ 1.1.4 Backdoor แปลเป็นไทยก็คือประตูหลัง ที่เปิดทิ้งไว้ให้บุคคลอื่นเดินเข้านอกออกในบ้านได้โดยง่าย ซ่ึง เปน็ ชอ่ งทางลดั ท่เี กดิ จากชอ่ งโหวข่ องระบบ ทำให้ผูไ้ ม่มสี ทิ ธิเข้าถงึ ระบบหรอื เคร่ืองคอมพวิ เตอร์เพ่ือทำการใดๆ 1.1.5 สปายแวร์ (Spyware) คือมัลแวร์ชนิดหนึ่งที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วทำให้ล่วงรู้ข้อมูลของ ผใู้ ชง้ านได้โดยเจา้ ของเครอื่ งไมร่ ู้ตัว สามารถเฝ้าดูการใช้งานและรวบรวมข้อมูลสว่ นตัวของผใู้ ช้ได้ เช่น นิสยั การ ท่องเน็ต และเว็บไซต์ที่เข้าชม ทั้งยังสามารถเปลี่ยนค่าที่ตั้งไว้ของคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้ความเร็วในการ เชอื่ มต่ออินเทอร์เนต็ ช้าลง เป็นตน้ สายแวรท์ ่มี ชี ื่อคุ้นเคยกันดคี ือโปรแกรม Keylogger ซึ่งตกเป็นข่าวหน้าหนึ่ง ของหนังสือพิมพ์ เมื่อผู้ใช้ดาวน์โหลดไฟล์จากอินเทอร์เน็ตที่แฝงโปรแกรมนี้ จะทำให้โปรแกรมเข้าฝังตัวใน คอมพิวเตอร์ส่วนตัว เมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทำธุรกรรมการเงินทางอินเทอร์เน็ต ข้อมูล username และ password ของบญั ชีผใู้ ชจ้ งึ ถูกสง่ ตรงถึงมิจฉาชพี และลักลอบโอนเงนิ ออกมาโดยเจ้าของตวั จริงไมร่ ู้ตวั เป็นตน้ 1.2 การโจมตีแบบ DoS/DDos คือการพยายามโจมตีเพื่อทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางหยุดทำงาน หรือ สญู เสียเสถยี รภาพ หากเครือ่ งต้นทาง(ผโู้ จมตี) มเี ครอื่ งเดียว เรียกว่าการโจมตีแบบ Denial of Service (DoS) แต่หากผู้โจมตีมีมากและกระทำพร้อมๆ กัน จะเรียกกว่าการโจมตีแบบ Distributed Denial of Service (DDoS) ซึ่งในปจั จุบนั การโจมตีส่วนใหญม่ ักเปน็ การโจมตแี บบ DDoS

1.3 BOTNET หรือ “Robot network” คือเครือข่ายหุ่นรบที่ถือเป็นสะพานเชื่อมภัยคุกคามทางเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ ด้วยมัลแวร์ท้งั หลายที่กลา่ วในตอนต้นต้องการนำทางเพอื่ ต่อยอดความเสยี หาย และทำให้ยากแต่ การควบคุมมากข้นึ 1.4 ข้อมูลขยะ (Spam) คือภัยคุกคามส่วนใหญ่ที่เกิดจากอีเมล์หรือเรียกว่า อีเมล์ขยะ เป็นขยะออนไลน์ที่ส่ง ตรงถึงผู้รับ โดยที่ผู้รับสารนั้นไม่ต้องการ และสร้างความเดือดร้อน รำคาญให้กับผู้รับได้ ในลักษณะของการ โฆษณาสินค้าหรือบริการ การชักชวนเข้าไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ซงึ่ อาจมภี ยั คกุ คามชนดิ phishing แฝงเข้ามาด้วย ด้วยเหตุนี้จึงควรติดตั้งระบบ anti-spam หรือใช้บริการคัดกรองอีเมล์ของเว็บไซต์ที่ให้บริการอีเมล์ หลายคน อาจจะสงสัยว่า spammer รู้อีเมล์เราได้อย่างไร คำตอบคือได้จากเว็บไซต์ ห้องสนทนา ลิสต์รายชื่อลูกค้า รวมทัง้ ไวรัสชนิดตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ แหล่งรวบรวมอีเมลแ์ ละถูกสง่ ต่อกันไปเป็นทอดๆ ซงึ่ หากจำเปน็ ต้องเผยแพร่อีเมล์ ทางอินเทอร์เน็ตโดยป้องกันการถูกค้นเจอจาก Botnet สามารถทำได้โดยเปลี่ยนวิธีการสะกดโดยเปลี่ยนจาก “@” เปน็ “at” แทน 1.5 Phishing เป็นคำพ้องเสียงกับ “fishing” หรือการตกปลาเพื่อให้เหยื่อมาติดเบ็ด คือ กลลวงชนิดหนึ่งใน โลกไซเบอร์ด้วยการส่งข้อมูลผ่านอีเมล์หรือเมสเซนเจอร์ หลอกให้เหยื่อหลงเชื่อว่าเป็นสถาบันการเงินหรือ องค์กรน่าเชื่อถือ แล้วทำลิงค์ล่อให้เหยื่อคลิก เพื่อหวังจะได้ข้อมูลสำคัญ เช่น username/password, เลขท่ี บัญชีธนาคาร, เลขที่บัตรเครดิต เป็นต้น แต่ลิงค์ดังกล่าวถูกนำไปสู่หน้าเว็บเลียนแบบ หากเหยื่อเผลอกรอก ข้อมูลสว่ นตวั ลงไป มิจฉาชีพสามารถนำขอ้ มูลไปหาประโยชน์ในทางมิชอบได้ 1.6 Sniffing เป็นการดักข้อมูลที่ส่งจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งบนเครือข่ายในองค์กร (LAN) เป็นวิธีการหนึ่งทีน่ ักโจมตีระบบนิยมใช้ดักข้อมูลเพื่อแกะรหัสผ่านบนเครือข่ายไร้สาย (Wirdless LAN) และดกั ข้อมลู User/Password ของผูอ้ ่นื ที่ไมไ่ ดผ้ ่านการเข้ารหัส 2. วิธปี อ้ งกนั ตนเองจากภยั คุกคามทางอินเทอร์เน็ตสำหรับการใชง้ านส่วนบคุ คล มีดังนี้ 1. การต้งั สติกอ่ นเปดิ เครื่อง ตอ้ งรตู้ ัวก่อนเสมอวา่ เราอยทู่ ี่ไหน ที่นนั่ ปลอดภยั เพยี งใด - ก่อน login เข้าใช้งานคอมพิวเตอรต์ อ้ งม่นั ใจวา่ ไมม่ ีใครแอบดูรหัสผ่านของเรา - เมื่อไม่ได้อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ควรล็อกหน้าจอใหอ้ ย่ใู นสถานะทีต่ ้องใส่คา่ login - ตระหนกั อยเู่ สมอว่าข้อมลู ความลับและความเปน็ ส่วนตวั อาจถกู เปดิ เผยได้เสมอในโลกออนไลน์ 2. การกำหนด password ที่ยากแก่การคาดเดา ควรมีความยาวไม่ต่ำกว่า 8 ตัวอักษร และใช้อักขระพิเศษไม่ ตรงกับความหมายในพจนานุกรม เพื่อให้เดาได้ยากมากขึ้นและการใช้งานอินเทอร์เน็ตทั่วไป เช่นการ Login ระบบ e-mail, ระบบสนทนาออนไลน์ (chat), ระบบเว็บไซต์ที่เป็นสมาชิกอยู่ ทางที่ดีควรใช้ password ท่ี ต่างกนั บ้างพอให้จำได้ 3. การสงั เกตขณะเปิดเคร่ืองวา่ มีโปรแกรมไม่พึงประสงค์ถูกเรียกใช้ขึ้นมาพร้อมๆ กบั การเปิดเคร่ืองหรือไม่ ถ้า สังเกตไม่ทันให้สังเกตระยะเวลาบูตเครื่อง หากนานผิดปกติอาจเป็นไปได้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ติดปัญหาจาก ไวรสั หรอื ภัยคุกคามรูปแบบตา่ งๆ ได้ 4. การหมั่นตรวจสอบและอัพเดท OS หรือซอฟต์แวร์ที่ใช้ให้เป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันภัยใน เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส, โปรแกรมไฟร์วอลล์ และควรใช้ระบบปฏิบัติการและ ซอฟต์แวร์ทมี่ ีลขิ สทิ ธิถ์ กู ตอ้ งตามกฎหมาย นอกจากน้ีควรอัพเดทอินเทอรเ์ นต็ เบราเซอรใ์ ห้ทนั สมัยอยเู่ สมอ 5. ไม่ลงซอฟตแ์ วร์มากเกนิ ความจำเป็น ซอฟต์แวร์ที่จำเป็นตอ้ งลงในเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่ - อนิ เทอรเ์ น็ตเบราเซอร์ เพื่อใหเ้ ปิดเว็บไซตต์ ่างๆ - อีเมล์เพื่อใช้รับส่งข้อมูลและตดิ ต่อสอื่ สาร - โปรแกรมสำหรับงานดา้ นเอกสาร, โปรแกรมตกแต่งภาพ เสยี ง วีดโี อ

- โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั คอมพิวเตอรแ์ ละโปรแกรมไฟร์วอลล์ ซอฟต์แวรท์ ีไ่ ม่ควรมีบนเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้งาน ได้แก่ - ซอฟต์แวรท์ ี่ใชใ้ นการ Crack โปรแกรม - ซอฟต์แวรส์ ำเร็จรปู ทใี่ ช้ในการโจมตีระบบ, เจาะระบบ (Hacking Tools) - โปรแกรมทีเ่ กีย่ วกับการสแกนขอ้ มูล การดักรับข้อมูล (Sniffer) และอื่นๆ ที่อยู่ในรูปซอฟต์แวร์สำเร็จรูปท่ไี ม่ เป็นที่รูจ้ ัก - ซอฟต์แวรท์ ใี่ ชห้ ลบหลกี การป้องกัน เช่น โปรแกรมซอ่ น IP Address 6. ไมค่ วรเขา้ เวบ็ ไซต์เส่ียงภยั เวบ็ ไซตป์ ระเภทนี้ ได้แก่ - เวบ็ ไซต์ลามก อนาจาร - เว็บไซต์การพนนั - เว็บไซตท์ ่มี หี วั เร่อื ง “Free” แมก้ ระทงั่ Free Wi-Fi - เว็บไซตท์ ่ีให้ดาวนโ์ หลดโปรแกรมทม่ี กี ารแนบไฟลพ์ รอ้ มทำงานในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ - เว็บไซต์ทแ่ี จก Serial Number เพื่อใช้ Crack โปรแกรม - เวบ็ ไซต์ทีใ่ หด้ าวน์โหลดเครอ่ื งมือในการเจาะระบบ 7. สังเกตความปลอดภัยของเว็บไซต์ที่ให้บริการธุรกรรมออนไลน์ เว็บไซต์ E-Commerce ที่ปลอดภัยควรมี การทำ HTTPS มใี บรบั รองทางอิเล็กทรอนกิ ส์ และมมี าตรฐานรองรับ 8. ไม่เปิดเผยข้อมูลสว่ นตัวลงบนเวบ็ Social Network ชื่อที่ใช้ควรเป็นชือ่ เล่นหรือฉายาที่กลุ่มเพือ่ นรู้จัก และ ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ เลขที่บัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต หมายเลขหนังสือ เดินทาง ข้อมลู ทางการแพทย์ ประวัติการทำงาน 9. ศึกษาถึงขอ้ กฎหมายเก่ียวกับการใชส้ ื่ออินเทอร์เน็ต ตามพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับ คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 โดยมหี ลักการง่ายๆ ทีจ่ ะช่วยให้สงั คมออนไลน์สงบสขุ คอื ใหค้ ำนึงถงึ ใจเขาใจเรา 10. ไมห่ ลงเชือ่ โดยง่าย อยา่ เชื่อในสิ่งท่เี หน็ และงมงายกับข้อมลู บนอินเทอร์เน็ต ควรหมั่นศึกษาหาความรู้จาก เทคโนโลยอี นิ เทอรเ์ น็ต และศกึ ษาข้อมูลใหร้ อบด้าน ก่อนปกั ใจเช่อื ในสิ่งที่ไดร้ ับรู้ กฎหมายคมุ้ ครองความเป็นสว่ นตวั และข้อมลู ส่วนบุคคล ไทยไมม่ ีกฎหมายคุ้มครองข้อมลู สว่ นบุคคล! หลายๆ คนคงรู้สึกแปลกใจ ที่อยู่ๆ ก็ได้รับจดหมายโฆษณาสินค้า หรือจดหมายเสนอให้สมัครเป็นสมาชิก จาก บรษิ ทั ที่ไมเ่ คยรูจ้ กั มากอ่ น สง่ ไปตามที่อยูอ่ าศยั หรือบางคร้ังหนกั ข้นึ ถงึ ขนาดโทรเข้ามอื ถือของคุณเลยกม็ ี… การได้รบั จดหมายหรือโทรศัพท์จากทั้งบริษัทและคนแปลกหนา้ ในลักษณะน้ี หลายคนคงสงสยั วา่ บริษัทเหล่าน้ี มีข้อมูลส่วนตัวของเราได้อย่างไร บางคนนึกย้อนไปถึงการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวที่เคยให้กับธนาคารหรือฝ่าย บริการบัตรเครดิตต่างๆ แม้ว่าคุณจะอยากรู้ว่าบริษัทเหล่านี้ได้ข้อมูลส่วนตัวของคุณมาได้อย่างไร ความคิด ดงั กล่าวก็ตอ้ งหยดุ เพยี งเท่านัน้ เพราะคณุ คงไม่สามารถจะดำเนินการอย่างหนึง่ อย่างใดได้ แตน่ ักวิจยั 2 คนคือ รศ.ดร.กติ ติศกั ดิ์ ปกติ และ นคร สิริรกั ษ์ จัดการได้ \"ผมถอื ว่ามจี ดหมายแปลกหนา้ เพยี งฉบับเดียวท่ีสง่ มาถงึ เราก็ถอื เป็นการละเมิด หรือคุกคามสทิ ธิส่วนบุคคลแล้ว เพราะคนเราทุกคนจะต้องมีอาณาบริเวณส่วนตัว ที่รัฐหรือบุคคลอื่นไม่สามารถบุกรุกเข้ามาได้ มิใช่หมายถึงท่ี พักอาศัยเท่านั้น แต่มันหมายรวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลด้วย\" นคร ข้าราชการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นศ. ปรญิ ญาเอกในโครงการปริญญาเอกกาญจนภเิ ษก (คปก.) สาขาวชิ า มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ใหค้ วามเห็น

และด้วยความคิดเช่นนี้จึงได้นำไปสู่โจทย์วิจัยเรื่อง กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และบังคับใช้กฎหมาย เพื่อเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายในการปฏิรูปการแก้กฎหมายโดยมี รศ.ดร.กิตติศักด์ิ ปกติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา นคร เล่าว่า เป็นเรื่องน่าแปลกมากที่ประเทศไทยไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะมีที่ใกล้เคียงกันก็ คือ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารราชการ ซ่งึ มขี ึน้ เพ่ือสร้างความโปรง่ ใสในระบบราชการ โดยยังอยบู่ นพื้นฐานของการ เปิดเผยข้อมูลเพื่อความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ หากข้อมูลที่เปิดเผยไม่ทำให้เกิดผล กระทบในทางที่เสียหายต่อบุคคลอื่น ทั้งเป้าหมายและหลักการของ พ.ร.บ.นี้ก็ไม่อาจเอามาใช้กับข้อมูลส่วน บุคคลได้ เนอ่ื งจากกฎหมายคมุ้ ครองข้อมูลสว่ นบุคคล ต้องยึดหลักการปกป้องสิทธขิ องบคุ คล ดังนั้นข้อมูลส่วน บคุ คลต้องไดร้ ับการปกปอ้ ง จะเปดิ เผยได้ก็ขนึ้ กบั แตล่ ะกรณี ประเทศไทยไม่เคยมีกฎหมายน้ีมาก่อน และหากยังไม่มีการแก้ไข อะไรจะเกิดขนึ้ กบั ประเทศไทย…. ในภาวะปัจจุบันที่ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หมายความว่า ความเป็นส่วนตัวของคน ไทยจะถูกละเมิดได้ ดังจะเหน็ ได้จากการมจี ดหมายเสนอขายสินคา้ และสมาชิกของบริษัทห้างรา้ นต่างๆ เข้ามา ทั้งที่ไม่เคยมีการติดต่อกันมาก่อนเลย แต่จดหมายเหล่านี้กลับมีการจ่าหน้าซองชื่อผู้รับและสถานที่อยู่อย่าง ถูกต้อง เหตกุ ารณค์ ลา้ ยคลงึ กนั แต่ใชเ้ ครื่องมือต่างกนั คือ มาทางเครื่องแฟกซ์หรือบางแห่งไฮเทคมาก ถึงขนาดยอมเสีย เงินโทรเข้าโทรศัพท์มือถือเลยทีเดียว ซึ่งกรณีหลังนี้ได้สร้างความตื่นตระหนกให้กับผู้รับสายจากบุคคลแปลก หน้าเป็นอยา่ งมาก การมงุ่ หวังแตจ่ ะทำการตลาดอยา่ งไม่ลืมหลู มื ตากลับกลายเปน็ การบุกรุก และคุกคามความ เป็นส่วนตัวของบุคคล โดยทไี่ มม่ แี มแ้ ตก่ ฎหมายท่จี ะคุ้มครองเลย ที่สำคัญช่องว่างทางกฎหมายน้ียังทำให้ธุรกิจผิดกฎหมายบางชนิดนำไปใช้เป็นเครือ่ งมือ โดยการนำข้อมูลของ สมาชิกสมาคม ร้านค้า บัตรประเภทต่างๆ มาใช้เป็นข้อมูลในการหาลูกค้าในธุรกิจผิดกฎหมายบางประเภท เช่น การคา้ เงิน แมว้ า่ จะเป็นธุรกิจทผี่ ดิ กฎหมายแต่ก็ยังเปิดดำเนินการอย่ไู ด้ โดยขอ้ มลู ส่วนบคุ คลที่ถูกนำมาใช้ ส่วนมากจะถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการทำการตลาดของธุรกิจผิดกฎหมาย นี่ถือเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ ชใี้ ห้เห็นถึงภัยคุกคามประชาชนโดยอาศยั ช่องว่างทางกฎหมายเหลา่ นเี้ ป็นเคร่ืองมือ สำหรับในอนาคตทีก่ ารแขง่ ขันดา้ นการตลาดจะยงั ทวคี วามเข้มขน้ และรุนแรงมากข้นึ การใชค้ วามก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาเก็บข้อมูลทั้งในเรื่องของการรับ-จ่ายสินค้าของผู้บริโภคจะทำให้สามารถรู้ถึง พฤติกรรมของผู้บริโภคและนิสัยของผู้บริโภคเป็นรายบุคคลได้ ซึ่งข้อมูลเช่นนี้สามารถขายได้โดยจะเกิด กิจกรรมการขายตรงมากขึ้น พร้อมกับมีการเสนอสินค้าที่ถูกกับนิสัยและรสนิยมของผู้บริโภคแต่ละคน หลาย คนอาจจะคิดว่าดีที่มีบริการเหล่านี้มาให้เลือกซื้อถึงบ้าน แต่หากพิจารณากันจริงๆแล้ว การต้องรับมือกับ จดหมายจำนวนมากๆ ก็คงเป็นเร่อื งที่ไมส่ นุกนกั แต่ในทางการแพทย์แล้วหากมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลเกิดขึ้น จะก่อให้เกิดผลกระทบตามมามากมาย มหาศาล เช่น การเจาะเลือดเพียงเล็กน้อยไม่เพียงแต่จะทำให้ได้ข้อมูลกรุ๊ปเลือดเท่านั้น แต่ยังสามารถ ตรวจสอบได้ถึงข้อมูลสุขภาพส่วนตัว ความผิดปกติที่สืบเนื่องจากพันธุกรรม ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจมีผลต่อ สถานะการทำงานของบุคคลได้ เนื่องจากอาจส่งผลเกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบ าลของบริษัท ตามมา ทั้งที่ข้อมลู ส่วนบคุ คลน้ีเปน็ สิ่งท่ีไม่ควรเปิดเผย แต่การไม่มีกฎหมายควบคุมข้อมลู ส่วนบุคคลดังกลา่ วก็ สามารถทำใหเ้ กิดการละเมิดขนึ้ ได้ ในขณะที่ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หลาย ประเทศในยุโรป โดยเฉพาะเยอรมนีนั้น มีกฎหมายนี้เกือบ 30 ปีแล้ว โดยการผลักดันของ Professor Dr.Spiros แหง่ มหาวทิ ยาลัย Frankfurt \"หลายคนให้ความเหน็ วา่ การบังคับใชก้ ฎหมายนปี้ ระชาชนต้องพร้อม ด้วยและหากคนไทยไม่เห็นว่าประเด็นนี้มีความสำคัญ เขาก็คิดว่ายังไม่จำเป็นต้องรีบผลักดันกฎหมายนี้มา

บังคับใช้\" ความคิดเห็นของนักกฎหมายบางคนที่นครได้สัมภาษณ์ในขณะเก็บข้อมูลในทางตรงข้าม นครให้ ข้อมูลเพิ่มเติมว่า \"เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องส่วนบุคคลอีกต่อไป เมื่อประเทศที่มีการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจะไม่ อนญุ าตให้มีการใช้รว่ มกับประเทศที่ไมส่ ามารถใหห้ ลักประกันการคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคลได้ ซึ่งข้อกำหนดน้ี มีผลกระทบกับสายการบินของประเทศไทยแล้วเช่นกัน ในเรื่องการร่วมมือทางธุรกิจกับสายการบินบางแห่ง ของเยอรมนี เพราะความแตกต่างของการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของทั้ง 2 ประเทศอาจจะส่งผลถึงการใช้ ข้อมูลร่วมกัน\" ความพยายามในการเสนอปญั หาและแนวทางการแก้ปัญหาท้ังด้านนติ ิศาสตร์ และรัฐศาสตร์จากผลงานวิจัยน้ี จงึ มิไดม้ คี วามหมายเพยี งเพื่อเสนอผลงานวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเท่าน้ัน แตอ่ าจสง่ ผลถงึ การคุ้มครองสิทธิข้ัน พ้ืนฐานของประชาชนคนไทยโดยรวม หากผลการวิจยั นกี้ ำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการ และคาดหวงั ว่าจะได้รับ การผลักดันใหเ้ กดิ ผลในทางปฏิบตั ิอยา่ งแท้จรงิ ความปลอดภยั ของข้อมูลส่วนบคุ คล เราให้ความสำคัญอย่างยิ่ง ในการคุ้มครองและเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลไว้เป็นความลับ ตามกฎระเบียบว่า ด้วยการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ที่มีผลบังคับใช้ภายในประเทศและสหภาพยุโรป กรุณาอ่าน สาระสำคญั ของนโยบายการดำเนินการ ท่เี กีย่ วขอ้ งกับการเก็บรวบรวมขอ้ มลู สว่ นบคุ คลท่รี ะบุไว้ดา้ นลา่ งนี้ เราจะดำเนนิ การและนำขอ้ มลู สว่ นบุคคลของทา่ นไปใช้ เม่ือได้รบั การยนิ ยอมจากทา่ นแลว้ เท่านัน้ 1. การเก็บรักษาข้อมลู เราเกบ็ รักษาข้อมลู ทไ่ี ด้รับจากท่านในกรณตี า่ งๆ เช่น เมอื่ ทา่ นสมัครรับข้อมูลข่าวสารทางอเี มล จาก Beiersdorf หรอื เมือ่ ท่านลงทะเบียนเพ่อื ใช้บรกิ ารหรอื ตดิ ต่อเรา นอกจากนี้ เราอาจบันทกึ ขอ้ มลู เกีย่ วกับความสนใจของท่าน โดยวเิ คราะห์จากเว็บเพจที่ท่านเข้าชม การเช่อื มโยงที่ท่านคลกิ และการกระทำอน่ื ๆ ท่ที ่านดำเนินการบนเวบ็ ไซตแ์ ละอเี มลทีไ่ ดร้ ับจากเรา ระบบจะสร้างแฟม้ ประวตั ิของท่านไวใ้ นฐานข้อมลู ตง้ั แต่คร้งั แรกที่ท่านติดต่อเราและจะจดั เก็บขอ้ มูล ที่ไดร้ ับหลังจากน้ีทงั้ หมดไว้เชน่ กนั ขอ้ มูลท่ไี ด้รับจากท่านจะเป็นประโยชนก์ ับเรา ในการมอบข้อเสนอ ไดส้ อดคล้องกบั ความสนใจและความตอ้ งการของท่านมากย่ิงขึน้ ในอนาคต 2. การใช้ขอ้ มลู เรานำข้อมูลส่วนบุคคลของทา่ นไปใช้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการแจง้ ขา่ วสารหรอื สิทธิพิเศษใหท้ า่ นทราบ ทางอีเมล เพอ่ื ตอบคำถามของท่านและเพือ่ การวจิ ยั ทางการตลาดเชิงสถติ เิ ท่านนั้ 3. ระยะเวลาในการเกบ็ รกั ษาข้อมลู เราเกบ็ รกั ษาขอ้ มูลที่ไดร้ ับจากท่านไว้ ภายในระยะเวลาที่มไิ ดก้ ำหนดไวอ้ ยา่ งชัดเจน หากทา่ นไม่ ประสงคใ์ หน้ ำขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของท่านไปใชอ้ ีกต่อไป เราพร้อมปฏิบตั ติ ามโดยทนั ที (โปรดอ่านข้อ 5) 4. ทา่ นสามารถเรียกดูข้อมลู ท่เี รารวบรวมไวไ้ ด้หรือไม่? ทา่ นสามารถเรียกดขู ้อมูลสว่ นบุคคลของท่านได้ตลอดเวลา 5. ทา่ นสามารถลบขอ้ มลู ทจ่ี ัดเก็บไวไ้ ดห้ รือไม่? ท่านสามารถเลอื กลบข้อมลู ของทา่ นบางสว่ นหรือท้ังหมดได้ตลอดเวลา โดยแจง้ ความประสงค์ลงใน แบบฟอรม์ ติดตอ่ ทางอีเมล เราจะดำเนินการโดยทันที ท้ังน้ี เราจะปิดการใชง้ านไฟล์ข้อมลู ของท่าน แทนการลบทิ้ง เพอื่ ให้เปน็ ไปตามทีก่ ฏหมายกำหนด 6. การใช้ “คุกก”้ี “คกุ ก”ี้ เปน็ ไฟลข์ ้อความขนาดเล็ก ท่ีอาจถูกเกบ็ ลงในฮาร์ดดสิ กข์ องผ้เู ขา้ ชมเวบ็ ไซต์ ขอ้ มลู ท่คี กุ ก้ี บนั ทกึ ไวท้ ำให้ทา่ นใชง้ านเวบ็ ไซตไ์ ดง้ ่ายข้นึ และชว่ ยใหห้ น้าเวบ็ เพจของเราแสดงผลไดถ้ ูกตอ้ งรวดเรว็

คุกกไี้ ม่มคี วามสามารถในการระบุตัวบุคคลได้ ท่านสามารถเลือกปิดการใช้งานคุกกี้ โดยเปล่ียนแปลงการต้ังค่า Browser ของท่านใหเ้ หมาะสม สามารถอา่ นคำแนะนำได้จากไฟล์ค่มู ือการใช้อนิ เตอรเ์ นต็ Browser ของทา่ น 7. การใช้นามแฝงหรือไมร่ ะบุชื่อ ท่านสามารถใชน้ ามแฝงหรอื ไมร่ ะบุช่ือเม่อื ใชง้ านบนเวบ็ ไซตข์ องเราได้ อยา่ งไรกต็ ามเราจะไม่สามารถ นำเสนอบริการบางประเภทใหแ้ กท่ ่านได้อย่างสมบรู ณ์ หากไม่ทราบช่อื และทอ่ี ยูข่ องทา่ น 8. การเปดิ เผยขอ้ มลู ให้แก่บุคคลที่สาม เราจะไมเ่ ปดิ เผยหรอื ส่งต่อขอ้ มลู ส่วนบุคคลของท่านให้แกบ่ คุ คลทส่ี าม เราไม่ให้เช่า ขาย หรอื แลก เปลี่ยนขอ้ มูลส่วนบคุ คลของท่านกับผูอ้ ่นื หรือบริษัทอืน่ แต่อยา่ งใด ในกรณีทีม่ ีการว่าจ้างผู้ใหบ้ รกิ ารหรอื บริษทั อื่นท่เี ปน็ บุคคลภายนอก เปน็ ผทู้ ำการประมวลข้อมูลตาม มาตรการ Directive 95/46/EC บรษิ ทั เหล่านั้น ตอ้ งปกปิดข้อมลู ส่วนบุคคลของทา่ นและไม่นำไปใช้ เพอื่ การอืน่ โดยเด็ดขาดและต้องปฏบิ ัตงิ านภายใต้ข้อตกลงการคุ้มครองข้อมูลส่วนบคุ คลและนโยบาย การรกั ษาความปลอดภัยของขอ้ มลู นด้ี ้วย 9. การรกั ษาความปลอดภัยของขอ้ มูล เราเกบ็ รักษาข้อมลู ทงั้ หมดไวใ้ นเซริ ฟ์ เวอร์ทมี่ คี วามปลอดภัยระดับสูง และปอ้ งกันการเขา้ ถึงหรือการนำ ข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตหากท่านมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะ สามารถติดต่อเจ้าหน้าทีผ่ ู้ดูแลข้อมูลทาง อเี มลไดต้ ลอดเวลา กรณีศึกษา ประสบการณ์ที่ผ่านการพสิ จู น์จนเปน็ ที่ยอมรบั Recall มปี ระสบการณ์กว้างขวางระดับโลกอย่างแทจ้ ริงในทุกอุตสาหกรรม โดยรวมถึงบริการด้านการเงิน การ ประกันภยั การดูแลสขุ ภาพ กฎหมาย หน่วยงานรฐั การผลิต บรกิ ารด้านธรุ กจิ ความบนั เทิง และสนิ คา้ อุปโภค บริโภค/สินค้าจำเป็นในชีวิตประจำวัน อ่านกรณีศึกษาข้างล่างนี้ซึ่งเสนอเรื่องราวบางส่วนจากลูกค้าประมาณ 80,000 รายทเี่ ราเปน็ พนั ธมติ รทางธุรกิจด้วยจากทวั่ โลก

บทท่ี 5 เสรภี าพในการแสดงความคดิ เห็น เสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น เสรภี าพในการแสดงความคดิ เห็นถือเปน็ เสรภี าพขนั้ พ้ืนฐานตามกติการะหว่างประเทศวา่ ด้วยสิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมืองซึ่งให้การรับรองและคุ้มครองไว้ในฐานะสิทธิขั้นพื้นฐาน และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยทุกฉบับ เพราะเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นสะท้อนถึงธรรมาภิบาลและความเป็น ประชาธิปไตยของประเทศหรือองค์กรนั้นๆ เพราะผู้ปกครองที่เปิดใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็น การ วิพากษ์วิจารณ์จากประชาชน หรือคนในองค์กรทั้งด้านบวกและด้านลบแล้ว ย่อมเป็นโอกาสในการนำไป ปรบั ปรงุ ประเทศ องค์กร และตนเองใหด้ ีย่ิงๆ ข้นึ ไป บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 45\"บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็น การพดู การเขยี น การพมิ พ์ การโฆษณา และการส่อื ความหมายโดยวิธีอน่ื การจำกัดเสรีภาพตาม วรรคหนึ่งจะกระทำมิได้ เว้นแตโ่ ดยอาศยั อำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อรกั ษาความม่ันคงของ รฐั เพ่อื คมุ้ ครองสทิ ธิ เสรภี าพ เกยี รติยศ ชอ่ื เสียง สทิ ธใิ นครอบครัว หรือความเป็นอยู่สว่ นตัวของบุคคลอื่น เพือ่ รักษาความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันหรือระงับความเสื่อมทรามทาง จิตใจหรือสุขภาพของประชาชน\" มาตรา 56 \"บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสาร สาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการ...\"มาตรา 57 \"บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผล จากหน่วยราชการ...และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปประกอบการ พิจารณาในเร่ืองดงั กลา่ ว...\" รวมถงึ ขดั ต่อกติการะหว่างประเทศว่าดว้ ยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซ่ึงให้ การรับรองและคุ้มครองไว้ในฐานะสิทธิขั้นพื้นฐาน อาทิ \"บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะมีความคิดเห็นโดยปราศจาก การแทรกแซง บุคคลทุกคนมีสิทธิในเสรีภาพแห่งการแสดงออก สิทธินี้รวมถึงเสรีภาพที่จะแสวงหา รับและ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความคิดทุกประเภท โดยไม่คำนึงถึงพรมแดน ทั้งนี้ ไม่ว่าด้วยวาจาเป็นลายลักษณ์ อกั ษรหรือการตพี มิ พ์ ในรูปของศิลปะ หรอื โดยอาศัยสอ่ื ประการอน่ื ตามที่ตนเลอื ก\" หน่วยงานภาครัฐ และนักการเมือง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ข้าราชการถือเป็นบุคคลสาธารณะ (Public figure) กล่าวคือเป็นบุคคลที่ให้บริการสาธารณะหรือเกี่ยวข้องกับประชาชนในฐานะที่เป็นข้าราชการประจำ เช่น ข้าราชการฝ่ายปกครอง ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการครู หรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐที่สังกัดส่วนราชการต่างๆ เพราะนโยบายหรือการปฏิบัติงานของเขากระทบต่อความเป็นอยู่ของ ประชาชนโดยทวั่ ไป การเป็นองค์กรและบคุ คลสาธารณะประชาชนย่อมมีสิทธิท่ีจะวิพากษ์วิจารณ์โดยชอบตาม ขอบเขตที่กฎหมายกำหนด และหน่วยงาน/บุคคลก็มีสิทธิอันชอบธรรมที่จะชี้แจงให้ผู้แสดงความคิดเห็น วิพากษว์ จิ ารณน์ นั้ รับทราบขอ้ เท็จจริงตามท่เี ห็นสมควร แต่การแสดงความคิดเห็นใดๆ ก็พึงระวังให้การแสดงความเห็นเป็นไปโดยชอบตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และกติการะหว่างประเทศวา่ ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งให้ การรับรองและคุ้มครองไว้ในฐานะสิทธิขั้นพ้ืนฐาน โดยคำนึงว่าความคิดเห็น ที่แสดงออกไปนั้น โดยเฉพาะที่

แสดงผ่านทางเว็บไซต์ควรงดเว้น การใช้คำหยาบคาย ส่อเสียด ดูหมิ่น กล่าวหาให้ร้าย สร้างความแตกแยก หรอื กระทบถึงสถาบนั อนั เป็นท่เี คารพ และตระหนักถึงบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14 ผู้ใดกระทำความผดิ ท่ีระบุไว้ดงั ต่อไปน้ี 1. นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จ โดยประการท่นี า่ จะเกดิ ความเสยี หายแก่ผอู้ ่นื หรอื ประชาชน 2. นำเขา้ สรู่ ะบบคอมพิวเตอรซ์ ่ึงข้อมลู คอมพิวเตอร์อนั เป็นเท็จ โดยประการท่ีน่าจะเกดิ ความเสียหายต่อความ มั่นคงของประเทศ หรือกอ่ ให้เกดิ ความตืน่ ตระหนกแกป่ ระชาชน 3. นำเข้าสรู่ ะบบคอมพิวเตอรซ์ ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อนั เปน็ ความผิดเกยี่ วกับความม่นั คงแหง่ ราชอาณาจักร หรอื ความผดิ เกี่ยวกับการกอ่ การร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา 4. นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ัน ประชาชนทัว่ ไปอาจเขา้ ถึงได้ 5. เผยแพร่หรือสง่ ต่อซ่งึ ขอ้ มูลคอมพิวเตอรโ์ ดยรู้อยแู่ ลว้ ว่าเป็นขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ตาม (1) (2) (3) หรอื (4) โทษ: ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กินห้าปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ หน่งึ แสนบาท หรือทง้ั จำทงั้ ปรบั มาตรา 15 ผู้ให้บริการใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา 14 ในระบบ คอมพวิ เตอร์ท่ีอยใู่ นความควบคมุ ของตน โทษ: ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดตามมาตรา 14 (เหตุผล - ผู้ให้บริการในที่นี้มุ่งประสงค์ถึง เจา้ ของเวบ็ ไซต์ ซงึ่ มีการพิจารณาวา่ ควรต้องมีหน้าที่ลบเนอ้ื หาอันไม่เหมาะสมดว้ ย) ดังนั้น การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางเว็บไซต์จะต้องคำนึงถึงประเด็นดังกล่าวข้างต้นด้วย เนื่องจากเกี่ยวข้องกับเรื่องของการเผยแพร่ นอกจากดูเรื่องกฏหมายรัฐธรรมนูญแล้ว ยังต้องดูเรื่องของ กฎหมายอื่นประกอบด้วย เช่นในเรื่องการละเมิด ถึงบุคคลที่สาม หรือกฏหมายเกี่ยวกับการนำเสนอสื่อใน ระบบสารสนเทศ หรือกฏหมายอินเตอร์เน็ต ซึ่งต้องระมัดระวัง กล่าวคือ บางกรณีอาจจะไปเข้าหลักเกณฑ์ใน กฏหมายลูกบางฉบับ เพราะการเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต โอกาสที่บุคคลที่ถูกพาดพิง หรือกล่าวหาจะมาแก้ ตา่ งนนั้ ลำบาก หรอื แมแ้ ต่จะสามารถหาต้นตอของการโพสหรือเผยข้อมูลได้ก็ต้องใช้เวลา แมว้ า่ การลบ หรือไม่ ลบจะขึ้นอยู่ในการตัดสินใจของผู้ดูแลก็ตาม และแม้ผู้ที่ถูกพาดพิงจะสามารถแก้ไขข้อกล่าวหาได้ก็ตาม ทำให้ เร่ืองแบบนี้ค่อนข้างบอบบางในมุมมองทางกฏหมาย อย่างไรก็ตามเพื่อให้มั่นใจว่าทุกความเห็นจะได้รับการคุ้มครองตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งให้การรับรองและคุ้มครองไว้ในฐานะ สิทธิขั้นพื้นฐาน จึงขอความร่วมมอื ใหผ้ ู้ที่แสดงความเห็นทุกท่าน โปรด \"ระบุชื่อ-\" ไว้ในการแสดงความเห็นทกุ ครงั้ และหากมีเหตุให้ตอ้ งลบความเหน็ ใดๆ ในเว็บไซต์หนว่ ยงานภาครฐั จะต้องดำเนนิ การตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (โดยบันทึกเหตุผลของการลบนั้นไว้เป็นลายลักษณ์อักษร) ซึ่งมีใจความสำคัญโดย สรุปว่า \"การสั่งราชการโดยปกติให้กระทำเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เวน้ แตใ่ นกรณีที่ผู้บังคบั บัญชามีความจำเป็นท่ี ไมอ่ าจสง่ั เป็นลายลกั ษณ์อักษรในขณะน้ัน จะสง่ั ราชการดว้ ยวาจาก็ได้ แตใ่ หผ้ รู้ บั คำสง่ั นัน้ บนั ทกึ คำสั่งด้วยวาจา ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและเมื่อได้ปฏิบัติราชการตามคำสั่งดังกล่าวแลว้ ให้บันทึกรายงานให้ผูส้ ั่งราชการทราบ ในบันทึกให้อ้างอิงคำสั่งด้วยวาจาไว้ด้วย...(ผู้ใต้บังคับบัญชา) ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งใน หนา้ ทีร่ าชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการ โดยไมข่ ัดขนื หรือหลีกเลี่ยง แตถ่ า้ เห็นว่าการ ปฏิบตั ิตามคำสงั่ น้นั จะทำใหเ้ สียหายแกร่ าชการ หรือจะเปน็ การไม่รกั ษาประโยชนข์ องทางราชการจะต้องเสนอ

ความเห็นเป็นหนังสือทันที เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคำสั่งนั้น และเมื่อได้เสนอความเห็นแล้ว ถ้า ผู้บังคับบัญชายนื ยันใหป้ ฏบิ ัติ ตามคำสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บงั คบั บัญชาต้องปฏิบัติตาม\" เพราะหากพิสูจน์ไดว้ า่ การที่ เจ้าหน้าที่รัฐลบความเห็นที่ชอบด้วยกฎหมายของประชาชนที่ส่งเข้ามาทางเว็บไซต์ อาจเป็นการลิดรอน เสรีภาพในการแสดงความเห็น อันเป็นเสรีภาพที่ได้รับรองไว้อย่างชัดแจ้งโดยรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 และ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งให้การรับรองและคุ้มครองไว้ในฐานะสิ ทธิ ขั้นพื้นฐาน การกระทำดังกล่าวอาจนำไปสู่ความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา หมวด 2 เรื่อง ความผิดต่อ ตำแหน่งหนา้ ที่ราชการ มาตรา 157 ผ้ใู ดเป็นเจ้าพนักงานปฏบิ ัตหิ รือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ เพื่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ และญัติไว้ว่าเป็นความผิดอัน เกี่ยวเนือ่ งกับการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงความเห็นของประชาชน ดังนั้น การปกป้องเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมอื งและสิทธิทางการเมืองซ่ึงให้การรับรองและคุม้ ครองไว้ในฐานะสิทธิขัน้ พืน้ ฐาน จึงเป็นสิง่ ที่เราควร ชว่ ยกนั ปกปอ้ ง ดังท่ีมผี ้กู ลา่ ววา่ ...\"คนท่ีกลา้ ทำในส่ิงที่ถูกต้อง เราควรจะสนบั สนุน ไม่อย่างนั้นประเทศชาติจะ เดินไปได้อย่างไร อีกหนอ่ ยใครจะออกมาทักท้วงอะไร กต็ อ้ งคดิ แล้วคิดอีกเป็นร้อยรอบเพราะเดย๋ี วคนโน้นคนนี้ ก็จะมาตำหนิ สอู้ ย่เู ฉยๆ ไม่ดกี ว่าหรือ ขอใหค้ นทว่ี จิ ารณใ์ นทางลบช่วยมีวจิ ารณญาณแยกแยะดว้ ย...\" กฎหมายคมุ้ ครองเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ปัญหาคาใจของบรรดาข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มักจะถูกต่อว่าหรือตำหนิอยู่เสมอว่า“คุณ เป็นข้าราชการ คุณออกมาแสดงความเห็นทางการเมืองได้อย่างไร” มิหนำซ้ำบรรดานักการเมืองทั้งหลายที่มี ตำแหน่งเปน็ ผู้บังคบั บญั ชา ไม่ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี และลิ่วล้อทั้งหลายก็ออกมาสำทับอีกว่า“คุณ เปน็ ผใู้ ต้บังคับบญั ชา แต่กลับออกมาแสดงความคิดเห็นคัดค้านผบู้ ังคับบัญชาของตนนัน้ เข้าข่ายกระทำผิดวินัย นะจะบอกให้” ปัญหาคาใจต่างๆเหล่านี้มีมานานแล้ว บรรดาข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งหลายยกเว้นอาจารย์ มหาวิทยาลัยบางคน(ต้องย้ำว่าบางคน) จึงออกอาการกล้าๆกลัวๆที่จะออกมาแสดงความคิดเห็นทางการเมือง เพราะเกรงจะถูกลงโทษทางวนิ ยั ทัง้ ทีเ่ ปน็ สิทธพิ ื้นฐานไมว่ ่าจะเปน็ รฐั ธรรมนญู ฉบบั ไหนๆ ทถ่ี ือว่าเป็นกฎหมาย สูงสุดของประเทศ กฎหมายอืน่ ไม่วา่ จะเป็นกฎ ก.พ.หรือกฎอื่นใดย่อมไม่อาจไปหกั ล้างได้ ผมจะขอนำบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันในมาตราที่เกี่ยวข้องมาแสดงให้เห็นว่าแท้ที่จริงแล้ว ข้าราชการหรือเจ้าหน้าท่ขี องรฐั มีสทิ ธิมีเสยี งในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองได้มากน้อยแค่ไหน อยา่ งไร “มาตรา ๔ ศักดิศ์ รคี วามเป็นมนษุ ย์ สทิ ธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบคุ คล ยอ่ มไดร้ ับความคมุ้ ครอง” “มาตรา ๓๑ บุคคลผู้เป็นทหาร ตำรวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือลูกจ้างขององค์กร ของรฐั ย่อมมีสทิ ธแิ ละเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเช่นเดยี วกับบุคคลท่วั ไป เว้นแตท่ ่จี ำกดั ไว้ในกฎหมายหรือกฎที่ ออกโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินัยหรือ จรยิ ธรรม” “มาตรา ๔๕ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการ สอื่ ความหมายโดยวิธอี ืน่ การจำกัดเสรภี าพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบญั ญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพ่ือ รักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ เกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในครอบครัวหรือควา มเป็นอยู่ สว่ นตัวของบุคคลอ่ืน เพื่อรกั ษาความสงบเรยี บร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน หรือเพื่อปอ้ งกันหรือระงับ ความเส่ือมทรามทางจติ ใจหรอื สขุ ภาพของประชาชน...........”

“มาตรา ๖๔ บคุ คลย่อมมีเสรภี าพในการรวมกันเป็นสมาคม สหภาพ สหพันธ์ สหกรณ์.กลุม่ เกษตรกร องค์การ เอกชน องคก์ ารพฒั นาเอกชน หรอื หมคู่ ณะอ่นื ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐย่อมมีเสรีภาพในการรวมกลุ่มเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป แต่ทั้งนี้ต้องไม่กระทบ ประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและความต่อเนื่องในการจัดทำบริการสาธารณะ ทั้งนี้ ตามท่ี กฎหมายบัญญตั ิ การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง จะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายเฉพาะเพื่อคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน เพื่อรักษาความสงบเรยี บร้อยหรอื ศีลธรรมอนั ดี ของประชาชน หรอื เพ่อื ป้องกันมิใหม้ กี ารผกู ขาดตดั ตอนทางเศรษฐกจิ ” จากบทบัญญัติที่ยกมาจะเห็นได้ว่าบรรดาข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐก็มีสิทธิและเสรีภาพเช่นเดียวกับ ประชาชนทั่วไป เว้นเสียแต่จะไปเข้าข้อยกเว้นบางประการที่ว่าไว้อย่างชัดแจ้งและเป็นลายลักษณ์อักษร ข้อยกเว้นท่วี า่ น้ีต้องออกมาโดยชอบรฐั ธรรมนญู เช่นกนั มใิ ชอ่ ยากจะออกขอ้ ยกเวน้ อะไร ก็ออกมาตามอำเภอใจ เม่อื เรานำมาพิจารณาในเนอื้ หาตามบทบัญญัติดังกล่าวข้างต้นประกอบเข้ากับหลักนิติรัฐท่ีวา่ บรรดาการกระทำ ทั้งหลายของเจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องชอบด้วยกฎหมาย และกฎหมายที่ว่านี้ต้องไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งก็ หมายถึง พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง ระเบียบกระทรวง ฯลฯ ที่ออกมาหรือที่มีอยู่แล้วบัญญัติข้อห้าหรือ ขอ้ ยกเว้นไว้ แต่เนื้อหาที่เป็นข้อยกเว้นน้ันจะไปขัดในหลักการใหญ่ในรัฐธรรมนูญไมไ่ ด้ ตัวอย่างเช่น หลักการตามมาตรา ๑ ท่ีว่าประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอนั หน่งึ อนั เดียวหรือ รฐั เดีย่ ว การที่จะออกกฎหมายจัดรปู แบบการปกครอง ไมว่ า่ จะเป็นสว่ นภูมิภาคหรือสว่ นท้องถ่นิ แมก้ ระทง่ั การปกครองรูปแบบพิเศษแบ่งย่อยไปเท่าไรก็ได้ แต่ต้องยัง อยู่ในหลักการใหญ่ที่ว่าต้องเป็นรัฐเดี่ยวเช่นเดิม และเช่นเดียวกันมาตรการหรือกฎระเบียบที่นำมาใช้กับ ข้าราชการหรือเจา้ หน้าที่ของรฐั เกี่ยวกับการแสดงความคิดเหน็ ทางการเมืองก็ย่อมทจ่ี ะไปขัดหลักการใหญ่ท่ีว่า ดว้ ยสทิ ธิเสรภี าพของประชาชนไม่ได้ หลายคนเข้าใจว่าเมื่อรัฐธรรมนูญบัญญัติข้อยกเว้นไว้ก็เลยออกมาตรการหรือกฎระเบียบมาเสียเละเทะจนขัด ต่อหลักการใหญ่ ซง่ึ ในที่น้หี มายถึงหลักการขน้ั พ้ืนฐานที่ว่าด้วยสิทธเิ สรภี าพของประชาชนนั่นเอง และการท่ีจะ ตีความว่ากฎหรือระเบียบใดขัดหรือไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอำนาจหน้าที่ของฝ่ายตุลาการ โดยศาล รฐั ธรรมนูญกม็ ีอำนาจในการวินจิ ฉยั ว่ากฎหมายในระดับพระราชบัญญตั ิขึ้นไปซ่ึงไดแ้ ก่พระราชบัญญัติธรรมดา พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ หรือพระราชกำหนดว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ส่วนศาล ปกครองกม็ ีอำนาจในการวนิ จิ ฉยั มาตรการหรือกฎหมายในลำดับรองลงมาซง่ึ ออกโดยฝา่ ยบริหารซ่ึงได้แก่ พระ ราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบกระทรวง ฯลฯ ว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ มิใช่หน้าที่ของฝ่าย การเมอื งหรอื ผู้บังคบั บัญชาจะไปตีขลุมว่าเมือ่ รฐั ธรรมนญู บอกว่า “ทัง้ นี้ ตามกฎหมายบญั ญัติ” หรอื “เว้นแต่ท่ี จำกัดไว้ในกฎหมายหรือกฎท่ีออกโดยอาศยั อำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย”แลว้ มาตรการหรือกฎหมายท่ี นำมาใชย้ ่อมไม่ขดั รัฐธรรมนูญเสมอ จงึ ไม่ถูกต้อง บรรดาข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นก็คือประชาชน ย่อมมีสิทธิมีเสียงเช่นเดียวกับประชาชนอื่นที่มิใช่ ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพียงแต่ถูกจำกัดบทบาทหน้าที่ไว้บางประการเท่าน้ัน เช่น ใส่เสื้อที่มีตรา สัญลักษณ์ของพรรคการเมืองหรือผู้สมัครรับเลือกตั้ง เป็นต้น มิใช่ว่าจะทำอะไรไม่ได้เลย และแน่นอนว่าการ แสดงความคิดเห็นทางวิชาการโดยสุจริตไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือเขียน ย่อมไม่เข้าข่ายการกระทำที่ต้องห้าม อย่างแน่นอน เพราะขดั ต่อหลักการพนื้ ฐานของการปกครองในระบอบนิติรฐั อย่างชัดแจง้ นั่นเอง ฉะนั้น การที่นักการเมืองที่เป็นผู้บังคับบัญชา รวมไปถึงผู้ที่หงอต่ออำนาจทางการเมืองหรือพยายามเอาใจ นักการเมืองโดยการออกมาปรามหรือข่มขู่ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐว่าจะดำเนินการทางวินัยต่อ

ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ออกมาแสดงความคิดเห็นทางการเมืองนั้นคงต้องกลับไปทบทวนเสียใหม่ เพราะแทนท่นี กั การเมืองทเ่ี ปน็ ผ้บู ังคบั บญั ชาจะดำเนนิ การทางวนิ ยั ต่อข้าราชการหรือเจา้ หน้าทข่ี องรฐั เหล่านั้น แตเ่ ขาเหลา่ นน้ั เองนนั่ แหละจะตอ้ งเป็นผ้ถู กู ดำเนินคดีเสียเองฐานใช้อำนาจหน้าท่โี ดยมิชอบ ความคิดเหน็ ทก่ี ฎหมายไมค่ ุ้มครอง ไทยไมม่ ีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หลายๆ คนคงรู้สึกแปลกใจ ที่อยู่ๆ ก็ได้รับจดหมายโฆษณาสินค้า หรือจดหมายเสนอให้สมัครเปน็ สมาชิก จาก บริษัทท่ีไมเ่ คยรู้จักมากอ่ น ส่งไปตามท่ีอยู่อาศัย หรอื บางครัง้ หนกั ขน้ึ ถงึ ขนาดโทรเขา้ มอื ถือของคุณเลยก็มี… การไดร้ บั จดหมายหรือโทรศัพท์จากทง้ั บริษทั และคนแปลกหน้าในลักษณะน้ี หลายคนคงสงสัยว่าบริษัทเหล่านี้ มีข้อมูลส่วนตัวของเราได้อย่างไร บางคนนึกย้อนไปถึงการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวที่เคยให้กับธนาคารหรือฝ่าย บริการบัตรเครดิตต่างๆ แม้ว่าคุณจะอยากรู้ว่าบริษัทเหล่านี้ได้ข้อมูลส่วนตัวของคุณมาได้อย่างไร ความคิด ดงั กลา่ วกต็ อ้ งหยุดเพยี งเท่าน้ัน เพราะคุณคงไมส่ ามารถจะดำเนินการอย่างหนึง่ อย่างใดได้ แตน่ ักวิจยั 2 คนคือ รศ.ดร.กิตติศักดิ์ ปกติ และ นคร สริ ิรักษ์ จัดการได้ \"ผมถือวา่ มจี ดหมายแปลกหนา้ เพียงฉบับเดยี วท่สี ง่ มาถึงเราก็ถือเป็นการละเมดิ หรอื คุกคามสทิ ธสิ ่วนบคุ คลแล้ว เพราะคนเราทุกคนจะต้องมีอาณาบริเวณส่วนตัว ที่รัฐหรือบุคคลอื่นไม่สามารถบุกรุกเข้ามาได้ มิใช่หมายถึงที่ พักอาศัยเท่านั้น แต่มันหมายรวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลด้วย\" นคร ข้าราชการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นศ. ปรญิ ญาเอกในโครงการปรญิ ญาเอกกาญจนภิเษก (คปก.) สาขาวิชา มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ใหค้ วามเหน็ และด้วยความคิดเช่นนี้จึงได้นำไปสู่โจทย์วิจัยเรื่อง กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และบังคับใช้กฎหมาย เพื่อเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายในการปฏิรูปการแก้กฎหมายโดยมี รศ.ดร.กิตตศิ ักดิ์ ปกติ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ในกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการเปน็ อาจารยท์ ่ีปรึกษา นคร เล่าว่า เป็นเรื่องน่าแปลกมากที่ประเทศไทยไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะมีที่ใกล้เคียงกันก็ คือ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารราชการ ซ่ึงมขี ึ้นเพ่ือสร้างความโปรง่ ใสในระบบราชการ โดยยังอยู่บนพ้ืนฐานของการ เปิดเผยข้อมูลเพื่อความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ หากข้อมูลที่เปิดเผยไม่ทำให้เกิดผล กระทบในทางที่เสียหายต่อบุคคลอื่น ทั้งเป้าหมายและหลักการของ พ.ร.บ.นี้ก็ไม่อาจเอามาใช้กับข้อมูลส่วน บุคคลได้ เน่ืองจากกฎหมายคมุ้ ครองข้อมลู สว่ นบคุ คล ตอ้ งยดึ หลักการปกป้องสิทธิของบุคคล ดังน้ันข้อมูลส่วน บุคคลตอ้ งได้รับการปกป้อง จะเปดิ เผยได้ก็ขึ้นกับแตล่ ะกรณี ประเทศไทยไมเ่ คยมกี ฎหมายนีม้ าก่อน และหากยงั ไม่มกี ารแก้ไข อะไรจะเกดิ ข้นึ กับประเทศไทย…. ในภาวะปัจจุบันที่ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หมายความว่า ความเป็นส่วนตัวของคน ไทยจะถกู ละเมิดได้ ดงั จะเห็นได้จากการมจี ดหมายเสนอขายสินค้าและสมาชิกของบริษัทห้างร้านต่างๆ เข้ามา ทั้งที่ไม่เคยมีการติดต่อกันมาก่อนเลย แต่จดหมายเหล่านี้กลับมีการจ่าหน้าซองชื่อผู้รับและสถานที่อยู่อย่าง ถูกต้อง เหตุการณค์ ล้ายคลึงกันแต่ใชเ้ ครื่องมือต่างกันคือ มาทางเครื่องแฟกซ์หรือบางแห่งไฮเทคมาก ถงึ ขนาดยอมเสีย เงินโทรเข้าโทรศัพท์มือถือเลยทีเดียว ซึ่งกรณีหลังนี้ได้สร้างความตื่นตระหนกให้กับผู้รับสายจากบุคคลแปลก หนา้ เป็นอย่างมาก การมงุ่ หวงั แตจ่ ะทำการตลาดอยา่ งไมล่ ืมหลู ืมตากลบั กลายเป็นการบุกรกุ และคุกคามความ เปน็ สว่ นตวั ของบคุ คล โดยท่ไี ม่มีแม้แตก่ ฎหมายท่ีจะค้มุ ครองเลย ที่สำคัญช่องว่างทางกฎหมายนี้ยังทำให้ธุรกิจผิดกฎหมายบางชนิดนำไปใช้เป็นเครือ่ งมือ โดยการนำข้อมูลของ สมาชิกสมาคม ร้านค้า บัตรประเภทต่างๆ มาใช้เป็นข้อมูลในการหาลูกค้าในธุรกิจผิดกฎหมายบางประเภท เชน่ การค้าเงิน แมว้ า่ จะเปน็ ธุรกิจท่ีผิดกฎหมายแต่กย็ ังเปิดดำเนินการอยู่ได้ โดยขอ้ มูลสว่ นบุคคลท่ีถูกนำมาใช้

ส่วนมากจะถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการทำการตลาดของธุรกิจผิดกฎหมาย นี่ถือเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ ชใี้ หเ้ ห็นถงึ ภยั คุกคามประชาชนโดยอาศัยช่องว่างทางกฎหมายเหล่านี้เปน็ เครื่องมือ สำหรบั ในอนาคตทก่ี ารแข่งขนั ด้านการตลาดจะยังทวีความเขม้ ข้นและรุนแรงมากข้นึ การใช้ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาเก็บข้อมูลทั้งในเรื่องของการรับ-จ่ายสินค้าของผู้บริโภคจะทำให้สามารถรู้ถึง พฤติกรรมของผู้บริโภคและนิสัยของผู้บริโภคเป็นรายบุคคลได้ ซึ่งข้อมูลเช่นนี้สามารถขายได้โดยจะเกิด กิจกรรมการขายตรงมากขึ้น พร้อมกับมีการเสนอสินค้าที่ถูกกับนิสัยและรสนิยมของผู้บริโภคแต่ละคน หลาย คนอาจจะคิดว่าดีที่มีบริการเหล่านี้มาให้เลือกซื้อถึงบ้าน แต่หากพิจารณากันจริงๆแล้ว การต้องรับมือกับ จดหมายจำนวนมากๆ ก็คงเป็นเรื่องที่ไมส่ นุกนัก แต่ในทางการแพทย์แล้วหากมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลเกิดขึ้น จะก่อให้เกิดผลกระทบตามมามากมาย มหาศาล เช่น การเจาะเลือดเพียงเล็กน้อยไม่เพียงแต่จะทำให้ได้ข้อมูลกรุ๊ปเลือดเท่านั้น แต่ยังสามารถ ตรวจสอบได้ถึงข้อมูลสุขภาพส่วนตัว ความผิดปกติที่สืบเนื่องจากพันธุกรรม ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจมีผลต่อ สถานะการทำงานของบุคคลได้ เนื่องจากอาจส่งผลเกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบ าลของบริษัท ตามมา ทั้งที่ข้อมลู สว่ นบคุ คลน้ีเปน็ สิ่งท่ีไมค่ วรเปิดเผย แต่การไม่มีกฎหมายควบคุมข้อมูลส่วนบคุ คลดังกลา่ วก็ สามารถทำใหเ้ กิดการละเมดิ ขึ้นได้ ในขณะที่ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคล หลายประเทศในยุโรป โดยเฉพาะเยอรมนนี ้นั มีกฎหมายนีเ้ กือบ 30 ปแี ลว้ โดยการผลักดันของ Professor Dr.Spiros แหง่ มหาวทิ ยาลัย Frankfurt \"หลายคนให้ความเห็นวา่ การบังคับใช้กฎหมายนีป้ ระชาชนต้องพร้อมด้วยและหากคนไทยไม่เห็นว่าประเด็นน้ี มีความสำคัญ เขาก็คิดว่ายังไม่จำเป็นต้องรีบผลักดนั กฎหมายนี้มาบังคับใช้\" ความคิดเห็นของนกั กฎหมายบาง คนที่นครได้สัมภาษณ์ในขณะเก็บข้อมลู ในทางตรงข้าม นครให้ขอ้ มูลเพ่ิมเติมวา่ \"เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องส่วนบุคคลอีกต่อไป เมื่อประเทศที่มีการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจะไม่อนุญาตให้มีการใช้ รว่ มกับประเทศทไ่ี ม่สามารถให้หลักประกันการคุ้มครองข้อมลู สว่ นบุคคลได้ ซ่ึงข้อกำหนดนีม้ ผี ลกระทบกับสาย การบินของประเทศไทยแล้วเช่นกัน ในเรื่องการร่วมมือทางธุรกิจกับสายการบินบางแห่งของเยอรมนี เพราะ ความแตกตา่ งของการคุ้มครองข้อมลู ส่วนบคุ คลของทง้ั 2 ประเทศอาจจะสง่ ผลถงึ การใชข้ ้อมูลรว่ มกัน\" ความพยายามในการเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาท้ังด้านนติ ิศาสตร์ และรัฐศาสตร์จากผลงานวิจัยนี้ จึงมไิ ด้มคี วามหมายเพยี งเพ่ือเสนอผลงานวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเท่าน้ัน แตอ่ าจส่งผลถึงการคุ้มครองสิทธิข้ัน พ้นื ฐานของประชาชนคนไทยโดยรวม หากผลการวจิ ยั น้กี ำลงั อยู่ในระหว่างดำเนินการ และคาดหวงั ว่าจะได้รับ การผลกั ดันใหเ้ กิดผลในทางปฏบิ ัตอิ ย่างแท้จริงกรณีศึกษาอียู จดั เสวนา ศกึ ษากรณี มาตรา 112 สหภาพยุโรป ประจำประเทศไทย จัดเสวนา \"การสร้างความปรองดองและเสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ \" โดยยกกรณีกฎหมายอาญามาตรา 112 ในการตัดสินคดีของนายสมยศ พฤกษาเกษมสุข ขึ้นมาแสดงความ คิดเหน็ นายเดวิด ลิปแมน หัวหน้าคณะผู้แทนสหภาพยุโรป ประจำประเทศไทย กล่าวว่าการจัดงานเสวนาครั้งนี้ เพื่อ แสวงหาความร่วมมือกับประเทศไทยในการยกระดับมาตรฐานสิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย และเสรีภาพใน การแสดงความคิดเห็น ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ หลกั การสากล ท่สี หภาพยโุ รปใหค้ วามสำคัญอยา่ งยงิ่ โดยประเทศไทย ก็ได้ แสดงท่าทที ่ใี หค้ วามสำคัญกับการยกระดบั สิทธเิ สรีภาพในประเทศ จึงเกิดเป็นความรว่ มมอื กนั ในคร้ังนีข้ ึน้ มา หัวหน้าคณะผู้แทนสหภาพยุโรป ประจำประเทศไทย ยืนยันว่าไม่ได้มีภารกิจที่จะแทรกแซงกิจการภายในของ ไทย แต่ต้องการเน้นการแสวงหาความร่วมมือ โดยต้องการส่งเสรมิ การพูดคุยและถกเถียง เกี่ยวกับเสรีภาพใน การแสดงความคิดเห็นให้มากขึ้น โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยสหภาพยุโรป

ซึ่งมีประเทศสมาชิกหลายประเทศ เคยผ่านประสบการณ์เกี่ยวกับปัญหาเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นมา ก่อน จึงยินดีที่จะร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับประเทศไทย เพื่อแก้ไขปัญหาสิทธิเสรีภาพในประเทศไทย รว่ มกนั ด้านนายประวิทย์ โรจนพฤกษ์ ผู้สื่อข่าวอาวุโส สำนักพิมพ์เนชั่น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีกฎหมาย อาญามาตรา 112 ถึงการตัดสินคดีของนายสมยศ พฤกษาเกษมสุข ซึ่งเพิ่งถูกตัดสินจำคุกเป็นเวลา 11 ปี โดย เห็นว่า กรณีที่องค์กรระหว่างประเทศต่างๆ รวมถึงสภาพยุโรป แสดงความกังวลมานั้น เป็นเพราะการตัดสิน ครง้ั นี้ กระทบต่อสถานะของเสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น และเสรภี าพของสื่อมวลชนอย่างมาก ทั้งน้ี ในการเสวนาได้มีการอภปิ รายกันถงึ ความสำคัญของสิทธเิ สรีภาพสื่อมวลชน ซงึ่ มีแนวโน้มถดถอยลง จาก การถกู ปดิ กนั้ แทรกแซง รวมถึงการดำเนนิ คดตี ่อการแสดงความคิดเหน็ ท่ีแตกต่างกัน โดยอาศัยกฎหมายพิเศษ เชน่ กฎหมายอาญามาตรา 112 และพระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทำความผดิ ทีเ่ กีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ โดยในวันพรุ่งนี้ (31 ม.ค.56) การเสวนาจะมีต่ออีก 1 วัน ในหัวข้อว่าด้วยกฎหมายและกรอบทางสังคม กับ เสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ ซงึ่ จะมีวิทยากรสำคัญๆ เข้ารว่ ม ได้แก่ - นายสุลักษณ์ ศวิ รักษ์ นักเขยี นอสิ ระ - ดร.เดวิด เสร็กฟัส ผ้อู ำนวยการศนู ยแ์ ลกเปลีย่ นการศกึ ษาระหวา่ งประเทศ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น - นายจอน อึง๊ ภากรณ์ หัวหนา้ คณะทำงานศกึ ษากฎหมายอาญามาตรา 112 - นางสาวจริ านุช เปรมชยั พร ผู้อำนวยการเวปไซต์ประชาไท - ศาสตราจารย์ ธงทอง จันทรางศุ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook