Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ที่ 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศิลป์ไทย

ชุดฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ที่ 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศิลป์ไทย

Published by sudarat251340, 2021-10-17 03:25:21

Description: ชุดฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ที่ 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศิลป์ไทย นางสุดารัตน์ วัฒนพฤติไพศาล ครูโรงเรียนอนุบาลจุมพลโพนพิสัย

Keywords: นาฏศิลป์ ป.6

Search

Read the Text Version

11

ก คำนำ ชุดฝก ปฏิบัตินาฏศิลป กลุมสาระการเรียนรศู ลิ ปะ สาระท่ี 3 นาฏศิลป ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สำหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 6 เลม นี้ จัดทำขึ้น เพือ่ ใชเปน สอื่ การเรียนการสอนประกอบแผนการจัดการเรียนรู และไดดำเนนิ การจัดทำใหสอดคลอง ตามกรอบของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยสง เสริมใหน กั เรียนมคี วามรู ความเขา ใจในองคประกอบทางนาฏศิลป มีความกลา ในการแสดงออกทางดานนาฏศลิ ป สามารถวิพากษ วิจารณนาฏศลิ ป ตลอดจนประยุกตใชใ นชวี ิตประจำวนั ได นอกจากนี้ยงั ชว ยใหผเู รยี นเหน็ คุณคา ในงานนาฏศิลปท ่ีเปนมรดกทางวฒั นธรรมของไทย ซ่ึงจะสงผลตอการพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ในกลุมสาระการเรียนรูศ ิลปะ สาระท่ี 3 นาฏศิลป ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551 ชดุ ฝกปฏิบัตนิ าฏศลิ ป มีทงั้ หมด 4 เลม ซง่ึ ประกอบดวย ชดุ ฝกปฏิบตั ินาฏศิลปท ี่ 1 พ้นื ฐานนาฏศิลป ชดุ ฝก ปฏิบัตนิ าฏศิลปท่ี 2 โสภิณลลี าประกอบเพลง ชุดฝกปฏิบัตนิ าฏศิลปท่ี 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศิลปไทย ชดุ ฝกปฏิบัตินาฏศิลปท่ี 4 ใสใจคุณคานา อนรุ กั ษ ผูจดั ทำหวงั เปนอยางยิ่งวา ชุดฝก ปฏิบตั นิ าฏศิลปท ่ี 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย เลม น้ี จะเปน สอื่ การเรยี นการสอน ทอ่ี ำนวยความสะดวกตอ การเรียนการสอนในกลุมสาระการเรยี นรศู ิลปะ สาระที่ 3 นาฏศลิ ป เพือ่ ใหสัมฤทธผิ์ ลตามมาตรฐานตัวชี้วดั ทก่ี ำหนดไวในหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ชว ยใหน ักเรยี นเขาใจงา ย สามารถพัฒนาทักษะในการปฏิบัติทารำ ไดอยางถูกตอ ง สวยงาม ซงึ่ มผี ลตอการเรียนรูและการพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนใหสงู ขึน้ และเปนประโยชนตอผทู ่สี นใจศึกษา ท่ีจะนำไปเปน แนวทางในการประยกุ ตใชในการจัดการเรียนการสอน และนวัตกรรมทางการศกึ ษาตอไป สุดารัตน วฒั นพฤตไิ พศาล ผูจดั ทำ

ข สารบญั หนา คำนำ ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ง มาตรฐานการเรยี นรู/ ตวั ชี้วดั /สาระสำคัญ/จุดประสงคการเรยี นรู/สาระการเรียนรู .......................... 1 คำแนะนำการใชช ดุ ฝก ปฏิบัตนิ าฏศลิ ป (สำหรับครผู สู อน) .............................................................. 2 คำแนะนำการใชช ุดฝกปฏิบตั นิ าฏศลิ ป (สำหรบั นักเรยี น) ............................................................... 4 แบบทดสอบกอนเรียน ชดุ ฝกปฏบิ ตั นิ าฏศิลปที่ 3 ครนื้ เครงการแสดงนาฏศิลปไทย .................... 6 เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น ชดุ ฝก ปฏบิ ตั ินาฏศลิ ปที่ 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศิลปไทย ........... 7 ผงั มโนทัศนชดุ ฝก ปฏิบัตนิ าฏศิลปท ่ี 3 ครนื้ เครงการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย ........................................ 10 ชดุ ฝกปฏิบัตินาฏศิลปท ี่ 3 คร้ืนเครงการแสดงนาฏศิลปไ ทย .......................................................... 11 11 รำ ระบำ ฟอน .................................................................................................................. 23 รำวงมาตรฐาน ..................................................................................................................... 31 เพลงคืนเดือนหงาย ............................................................................................................. 38 เพลงดวงจันทรขวญั ฟา ........................................................................................................ 47 กจิ กรรมการเรียนรทู ายบทเรยี นชดุ ฝกปฏบิ ัตินาฏศลิ ปที่ 3 ครน้ื เครงการแสดงนาฏศิลปไ ทย 48 แบบฝก หดั ท่ี 1 แผนผังความคิด เร่อื ง รำ ระบำ ฟอ น ............................................................... 49 เฉลยแบบฝก หัดที่ 1 เรื่อง รำ ระบำ ฟอ น .................................................................................. 50 ใบงานที่ 1 แผนผงั ความคิด เรื่อง รำ ระบำ ฟอน ...................................................................... 51 เฉลยใบงานที่ 1 แผนผังความคดิ เรือ่ ง รำ ระบำ ฟอ น ............................................................. 52 แบบประเมินใบงานท่ี 1 แผนผงั ความคดิ เรือ่ ง รำ ระบำ ฟอ น …………………………………………. 53 เกณฑก ารใหคะแนนใบงานที่ 1 แผนผังความคดิ เรื่อง รำ ระบำ ฟอ น ...................................... 54 ใบงานที่ 2 นำเสนอผลงาน แผนผังความคดิ เร่ือง รำวงมาตรฐาน ............................................. 55 เฉลยใบงานที่ 2 นำเสนอผลงาน แผนผังความคิด เรือ่ ง รำวงมาตรฐาน .................................... 56 แบบประเมนิ ใบงานที่ 2 นำเสนอผลงาน แผนผังความคิด เรือ่ ง รำวงมาตรฐาน …………………… 57 เกณฑการใหค ะแนนแบบประเมินใบงานท่ี 2 นำเสนอผลงาน แผนผงั ความคิด 58 เรือ่ ง รำวงมาตรฐาน ........................................................................................................................ 59 แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ ารขับรอ งเพลงคืนเดือนหงาย …………………………………………….…………….. 60 เกณฑก ารใหคะแนนประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ารขับรองเพลงคนื เดอื นหงาย ........................................... 61 แบบประเมนิ การปฏิบัตนิ าฏศิลป เพลงคืนเดือนหงาย …………………………………………………………… 63 เกณฑป ระเมนิ การปฏบิ ตั ินาฏศลิ ป เพลงคืนเดือนหงาย .................................................................. 64 แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ารขับรองเพลงดวงจันทรขวญั ฟา .............................................................. 65 เกณฑป ระเมินการปฏิบัตกิ ารขับรอ งเพลงดวงจันทรขวญั ฟา ............................................................ 66 แบบการปฏบิ ตั ินาฏศิลป เพลงดวงจนั ทรข วญั ฟา ……………………………………….……….…..……………… เกณฑการใหค ะแนนแบบการปฏิบัตินาฏศลิ ป เพลงดวงจันทรข วัญฟา …………………………………..…..

ค สารบัญ (ตอ) หนา แบบประเมนิ การปฏิบตั ินาฏศิลป เพลงคนื เดือนหงายและเพลงดวงจนั ทรขวญั ฟา 68 (แสดงผลงานบนเวท)ี ……………………………………….……….…..……………………………………………………… 69 เกณฑก ารใหคะแนนแบบประเมินการปฏบิ ัตนิ าฏศิลป เพลงคืนเดอื นหงาย 71 และเพลงดวงจนั ทรขวญั ฟา (แสดงผลงานบนเวท)ี ........................................................................... 74 แบบทดสอบหลงั เรยี น ชดุ ฝก ปฏบิ ตั ินาฏศิลปท่ี 3 คร้ืนเครงการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย .................... 75 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น ชดุ ฝก ปฏิบตั นิ าฏศิลปที่ 3 ครนื้ เครงการแสดงนาฏศิลปไ ทย ............ 76 แบบบันทกึ คะแนนกอนเรยี น-หลังเรยี น ............................................................................................ 77 แบบบนั ทกึ สรุปคะแนนผลการเรยี น ………………………………………………………….………..………………… บรรณานุกรม ....................................................................................................................................

ง สารบญั ภาพ ภาพท่ี หนา 1 รำฉยุ ฉายพราหมณ ...................................................................................................... 12 2 รำมโนหร าบูชายญั ....................................................................................................... 12 3 รำดาบสองมอื .............................................................................................................. 13 4 รำดอกไมเ งนิ ทอง ......................................................................................................... 13 5 ญวนรำกระถาง ………………………………………………………….……………………………………. 14 6 รำวงมาตรฐาน ......……………….……………………………………….…………………………………. 14 7 ระบำยอ งหงดิ .............................................................................................................. 16 8 ระบำดาวดึงส ............................................................................................................... 16 9 ระบำอูทอง ……………………………………………………….……………………………………………. 17 10 ตารกี ปี ส ………………….……………………………………………………………………………………… 17 11 ระบำนกเขามะราป ...................................................................................................... 18 12 ระบำพระประทีป …………………………………………………….………………………………………. 18 13 ระบำอักษรไทย ………………………………………………………….……………………………………. 19 14 ฟอนผีมด …………………………………………………………………….…………………………………….. 20 15 ตกี ลองสะบัดไชย ………………………………………………………….…………………………………. 20 16 ฟอนมานมุยเชยี งตา ………………………………………………………….……………………………… 21 17 ฟอ นกงิ่ กะหรา ………………………………………………………………………………………………… 21 18 ฟอ นลาวแพน ………………………………………………………………………………………………….. 22 19 เครือ่ งดนตรไี ทย ............................................................................................................ 25 20 วงปพ าทยไมน วม ……………………………………………………………………………..……………… 26 21 วงดนตรีสากล …………………………………………………………………………..…………………….. 26 22 การแตง กายแบบชาวบาน (ดา นหนา) ......................................................................... 27 23 การแตงกายแบบชาวบา น (ดานหลงั ) ………………………………………………….……………. 27 24 การแตง กายแบบรชั กาลที่ 5 (ดานหนา ) .................................................................... 28 25 การแตง กายแบบรชั กาลท่ี 5 (ดานหลัง) …………….…………………………………………….. 28 26 การแตง กายแบบสากลนิยม (ดา นหนา) …………………………….………………………………. 29 27 การแตง กายแบบสากลนยิ ม (ดานหลงั ) ....................................................................... 29 28 การแตง กายแบบราตรีสโมสร (ดานหนา ) …………………………….…………………………….. 30 29 การแตง กายแบบราตรสี โมสร (ดานหลัง) …………………………….…………………………….. 30 30 ทารำ คำรอ ง “ยามกลางคนื เดือนหงาย” ................................................................... 32 31 ทารำ คำรอง “เยน็ พระพายโบกพรว้ิ ปลิวมา” ……………………………….…………………… 33 32 ทา รำ คำรอ ง “เย็นอะไรกไ็ มเย็นจิต” …………………………………………….…………………. 34 33 ทา รำ คำรอ ง “เทาเย็นผูกมติ รไมเบ่ือระอา”………………………………………………………… 35

จ สารบญั ภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา 34 ทา รำ คำรอ ง “เยน็ รม ธงไทยปกไปทั่วหลา”………………………………….…………………….. 36 35 ทารำ คำรอง “เย็นย่ิงน้ำฟา มาประพรมเอย”………………….………………………………….. 37 36 ทา รำ คำรอง “ดวงจนั ทรขวญั ฟา”.............................................................................. 39 37 ทา รำ คำรอ ง “ชน่ื ชีวาขวัญพ”ี่ ……………………………………………………….………………. 40 38 ทารำ คำรอ ง “จันทรประจำราตร”ี ........................................................................... 41 39 ทา รำ คำรอง “แตขวญั พปี่ ระจำใจ” ………………………………………………………….…….. 42 40 ทา รำ คำรอ ง “ที่เทดิ ทูนคอื ชาต”ิ ................................................................................. 43 41 ทารำ คำรอง “เอกราชอธปิ ไตย” …………………………………………………….……………... 44 42 ทา รำ คำรอง “ถนอมแนบสนทิ ใน” ………………………………………………………….……… 45 43 ทารำ คำรอง “คอื ขวญั ใจพ่เี อย” ……………………………………………………….………….... 46

1 ชดุ ฝก ปฏบิ ัตินาฏศิลปท ี่ 3 ครนื้ เครงการแสดงนาฏศลิ ปไทย สาระที่ 3 นาฏศลิ ป 1. มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอยางสรา งสรรค วเิ คราะห วพิ ากษวิจารณ คุณคานาฏศลิ ปถ ายทอดความรูสึก ความคิดอยา งอิสระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจำวนั 2. ตวั ชีว้ ัด ป.6/3 แสดงนาฏศิลปแ ละละครงาย ๆ 3. สาระสำคญั การแสดงนาฏศิลปไ ทย เปนการแสดงท่ีมเี อกลักษณที่โดดเดน และเนน ลีลาการแสดงทารายรำ ทอ่ี อ นชอ ยสวยงาม ซงึ่ มีรปู แบบการแสดงตามแบบมาตรฐานการแสดงนาฏศิลปไ ทย โดยจะมที ารำเปน หลักในการแสดง การศึกษาขอ มูลเกย่ี วกบั รำ ระบำ ฟอ น การฝก รำวงมาตรฐาน ผแู สดงจึงควรเรยี นรู เกีย่ วกับความหมาย ประเภท ประวัตคิ วามเปน มา ลักษณะการแสดง การแตงกาย วงดนตรีทีใ่ ช ใน การแสดง และโอกาสที่ใชในการแสดง เพ่ือไดเ รยี นรแู ลวนำมาประยุกตในการแสดงและการชม การแสดง แลว ยงั สามารถนำความรทู ่ไี ดม าถายทอดอออกมาในรปู แบบของกระบวนทารำตางๆ อีกดว ย 4. จดุ ประสงคการเรยี นรู 4.1 ดา นความรู (K) - อธบิ ายความหมายของรำ ระบำ ฟอน ไดถ ูกตอง - อธบิ ายประวัตคิ วามเปน มารำวงมาตรฐาน ไดถ กู ตอง - อธบิ ายความหมายของเพลงคนื เดอื นหงายและเพลงดวงจันทรขวญั ฟา ไดถ กู ตอ ง - อธิบายการปฏบิ ตั ิทารำของรำวงมาตรฐานเพลงคืนเดือนหงายและดวงจนั ทรขวญั ฟา ได 4.2 ดา นทกั ษะกระบวนการ (P) - สามารถระบุประเภทของรำ ระบำ ฟอน ไดถกู ตอ ง - สามารถบอกประวัติความเปนมาเพลงรำวงมาตรฐาน ไดถ กู ตอง - สามารถรอ งเพลงรำวงมาตรฐานเพลงคนื เดอื นหงายและเพลงดวงจนั ทรขวัญฟาได - สามารถปฏิบตั ิทา รำวงมาตรฐาน เพลงคนื เดือนหงาย และเพลงดวงจนั ทรข วัญฟา ได 4.3 ดานเจตคติ (A) - เหน็ คณุ คา และอนุรกั ษก ารแสดงนาฏศลิ ปป ระเภทรำ ระบำ ฟอ น และรำวงมาตรฐาน - เหน็ ประโยชนท ไี่ ดจ ากการเรยี นเรื่องรำ ระบำ ฟอ น และรำวงมาตรฐาน - รูจักนำความรูท่ไี ดไปใชในชีวติ ประจำวันไดอ ยา งถูกตอ ง 5. สาระการเรียนรู 5.1 รำ ระบำ ฟอ น 5.2 รำวงมาตรฐาน (เพลงคืนเดือนหงายและเพลงดวงจันทรข วัญฟา )

2 คำแนะนำการใชช ุดฝกปฏบิ ัตนิ าฏศิลป (สำหรับครูผสู อน) การใชช ดุ ฝกปฏิบตั ินาฏศลิ ปท่ี 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศิลปไทย กลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป สำหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 ใชเ วลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู จำนวน 7 ชั่วโมง ครูผสู อนปฏิบัติตามขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. ศกึ ษาชดุ ฝก ปฏิบัตนิ าฏศิลปใหเขา ใจกอ นทีจ่ ะจัดกจิ กรรมการเรยี นรู 2. ตรวจสอบและจดั เตรยี มวัสดุอปุ กรณ ส่ือการเรียนรู เครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล ท่กี ำหนดไวใ หอยใู นสภาพที่ใชง านไดดี 3. ใหน ักเรยี นเตรยี มความพรอ มของรางกายกอนการเรียน และการทำความเคารพครูผสู อน 4. ชแ้ี จงใหน ักเรยี นอา นคำแนะนำการใชชุดปฏบิ ัตินาฏศิลปอ ยางละเอยี ด และปฏิบตั ิ ตามข้ันตอนของคำแนะนำตามลำดับ 5. ใหนักเรยี นทำแบบทดสอบกอนเรียน ชุดฝก ปฏบิ ัตนิ าฏศลิ ปท่ี 3 คร้นื เครงการแสดง นาฏศลิ ปไทย จำนวน 10 ขอ (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 6. ครแู จง จดุ ประสงคการเรยี นรใู หน ักเรยี นทราบ 7. แจกชุดฝก ปฏบิ ัตนิ าฏศิลปที่ 3 ครน้ื เครงการแสดงนาฏศลิ ปไทย ใหนกั เรยี น คนละ 1 เลม และศึกษาเน้อื หาเกยี่ วกับรำ ระบำ ฟอน ประวัตคิ วามเปน มารำวงมาตรฐาน ความหมายเพลงคนื เดือนหงาย/เพลงดวงจนั ทรข วญั ฟา และทารำของเพลงคืนเดอื นหงาย/เพลงดวงจนั ทร ขวัญฟา ตามชุดฝกปฏิบัตินาฏศลิ ป 8. ครูดำเนนิ การสอนตามกิจกรรมการเรยี นรู ตามทีก่ ำหนดไว 9. ครอู ธิบายเน้ือหาเก่ยี วกับรำ ระบำ ฟอน ประวตั คิ วามเปนมารำวงมาตรฐาน และ ความหมายเพลงคนื เดือนหงาย/เพลงดวงจนั ทรข วญั ฟา 10. ครูเปด ซีดีเพลง พรอมอธิบายและสาธติ ใหนักเรยี นปฏิบัตติ าม โดยฝกปฏิบัตขิ บั รอง เพลง และปฏบิ ัตทิ ารำเพลงคนื เดือนหงาย/เพลงดวงจนั ทรขวญั ฟา ตามครทู ีละวรรคเพลง ฝก ปฏิบัติ จนเกดิ ความชำนาญ 11. ใหนักเรยี นแบงกลมุ ตามความสมัครใจ กลมุ ละ 8 คน เพ่ือฝกปฏิบัติรว มกัน 12. ครคู อยสงั เกตและคอยใหคำแนะนำในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตาง ๆ จะตอ งกระตนุ ใหนกั เรยี นปฏบิ ัติดวยตนเองมากทสี่ ุด 13. หลงั จากปฏิบตั ิกจิ กรรมการเรยี นรูเสร็จแลว ครูใหนกั เรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมกลมุ และรายบุคคล ดงั น้ี 13.1 ใหน ักเรียนทำแบบฝกหัดที่ 1 เร่อื ง รำ ระบำ ฟอน 13.2 ใหนกั เรียนทำใบงานท่ี 1 แผนผังความคิด เร่ือง รำ ระบำ ฟอ น 13.3 ใหน ักเรียนทำใบงานที่ 2 การนำเสนอผลงาน แผนผังความคิด เรอื่ ง รำวงมาตรฐาน 13.4 ประเมนิ การปฏิบัติการขับรองเพลงคนื เดือนหงาย 13.5 ประเมินการปฏิบตั นิ าฏศิลป เพลงคืนเดือนหงาย 13.6 ประเมนิ การปฏิบัติ การขบั รอ งเพลงดวงจันทรขวญั ฟา 13.7 ประเมนิ การปฏิบตั นิ าฏศิลป เพลงดวงจนั ทรขวัญฟา

3 13.8 ประเมินการปฏิบตั นิ าฏศิลป เพลงคนื เดือนหงายและเพลงดวงจันทรข วัญฟา (แสดงผลงานบนเวที) 13.9 ใหนักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน ชุดฝก ปฏิบัตนิ าฏศิลปที่ 3 ครื้นเครง การแสดงนาฏศิลปไ ทย จำนวน 10 ขอ (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 14. แจงคะแนนใหน ักเรยี นทราบหลังจากไดฝกปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 15. เมือ่ ดำเนินการเสรจ็ ครูควรตรวจสอบและเกบ็ วัสดุอปุ กรณในการสอนใหเรยี บรอย เพื่อ สะดวกในการสอนในครงั้ ตอไป ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ - เมือ่ นักเรียนไดศ กึ ษาชุดฝก ปฏิบตั นิ าฏศลิ ปแลว ครแู นะนำใหนักเรียนใชเ วลาวางในการฝกฝน ดวยตนเองอยางสม่ำเสมอ จนเกดิ ความชำนาญแมนยำ และสวยงาม หากนักเรยี นคนใดเรยี นไมทนั ครูควร ใหค ำแนะนำหรอื มอบหมายงาน ใหนำชดุ ฝกปฏบิ ัตินาฏศิลปไปศึกษาเพมิ่ เติมในเวลาวาง

4 คำแนะนำการใชช ุดฝก ปฏบิ ัตินาฏศลิ ป (สำหรับนักเรียน) การใชชดุ ฝกปฏบิ ตั นิ าฏศลิ ปชดุ ที่ 3 คร้ืนเครงการแสดงนาฏศลิ ปไทย ใชเพ่อื จัดกิจกรรม การเรียนการสอนนาฏศลิ ป สำหรบั นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ใชเ วลาเรียนรู จำนวน 7 ชั่วโมง นักเรยี นสามารถศึกษาไดด ว ยตนเอง โดยอา นคำแนะนำและปฏิบัติตามขัน้ ตอน ดังน้ี 1. นกั เรยี นรบั ฟงคำชี้แจงคำแนะนำการใชชุดปฏิบตั นิ าฏศลิ ปอยา งละเอียด และปฏบิ ัติ ตามขั้นตอนของคำแนะนำตามลำดับ 2. นกั เรยี นทุกคนมีการเตรียมความพรอ มของรางกายกอ นการเรยี นและทำความเคารพ ครผู ูสอน 3. ทำแบบทดสอบกอ นเรยี น ชดุ ฝกปฏิบัตนิ าฏศิลปท ี่ 3 คร้นื เครงการแสดงนาฏศลิ ปไทย จำนวน 10 ขอ (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 4. นักเรียนรบั ฟง คำช้แี จงจดุ ประสงคก ารเรียนรู 5. นกั เรียนรับชดุ ฝก ปฏบิ ตั ินาฏศิลปท่ี 3 คร้ืนเครงการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย คนละ 1 เลม 6. นักเรียนศึกษาเนอ้ื หาเกย่ี วกับรำ ระบำ ฟอ น ประวัตคิ วามเปน มารำวงมาตรฐาน ความหมายเพลงคนื เดือนหงาย/เพลงดวงจันทรขวญั ฟา และทา รำของเพลงคืนเดือนหงาย/เพลงดวงจนั ทร ขวัญฟา ตามชุดฝก ปฏิบัตนิ าฏศลิ ป 7. ในขณะปฏบิ ตั ิกิจกรรมหากสงสัยหรือไมเ ขาใจ สามารถขอคำแนะนำจากครูผสู อนได 8. นกั เรยี นไดร บั ความรูเพิ่มเติมจากครเู กี่ยวกบั รำ ระบำ ฟอ น ประวัตคิ วามเปนมารำวง มาตรฐาน ความหมายเพลงคืนเดือนหงาย/เพลงดวงจนั ทรข วญั ฟา 9. นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ ารขบั รองเพลง และฝกปฏิบัตทิ ารำเพลงคืนเดือนหงาย/เพลงดวงจนั ทร ขวัญฟา ตามครทู ีละวรรคเพลง จนครบตามชุดฝก 10. นกั เรียนแบงกลมุ ตามความสมัครใจกลุมละ 8 คน ฝกปฏิบตั ิจนเกดิ ความชำนาญ ในขณะฝก ปฏบิ ตั ิกิจกรรมนักเรียนสามารถขอคำแนะนำจากครผู ูสอนได 11. หลังจากปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรยี นรเู สร็จแลว ประเมนิ เปนรายบุคคลและกลุม ดังน้ี 11.1 นักเรียนทำแบบฝก หดั ท่ี 1 เรือ่ ง รำ ระบำ ฟอ น 11.2 นกั เรยี นทำใบงานท่ี 1 แผนผงั ความคิด เรือ่ ง รำ ระบำ ฟอน 11.3 นกั เรยี นทำใบงานที่ 2 การนำเสนอผลงาน แผนผงั ความคิด เร่อื ง รำวงมาตรฐาน 11.4 ประเมนิ การปฏิบตั กิ ารขับรอ งเพลงคืนเดือนหงาย 11.5 ประเมินการปฏิบัตินาฏศิลปเ พลงคนื เดอื นหงาย 11.6 ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ารขบั รองเพลงดวงจันทรข วัญฟา 11.7 ประเมินการปฏิบัตินาฏศิลปเ พลงดวงจนั ทรข วัญฟา 11.8 ประเมินการปฏบิ ัตนิ าฏศิลปเ พลงคนื เดอื นหงาย และเพลงดวงจนั ทรข วัญฟา (แสดงผลงานบนเวท)ี 11.9 นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ชุดฝก ปฏบิ ัตนิ าฏศิลปท ่ี 3 คร้นื เครง การแสดงนาฏศิลปไทย จำนวน 10 ขอ (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 12. นักเรียนรบั ทราบคะแนนหลงั จากไดฝก ปฏิบตั กิ จิ กรรม 13. ตรวจสอบและจดั เก็บวสั ดุอปุ กรณใ นการเรยี นใหเ รยี บรอ ย

5 ขอ เสนอแนะอน่ื ๆ - นกั เรยี นควรใชเ วลาวา งในการฝกฝนดวยตนเองอยางสม่ำเสมอ จนเกดิ ความชำนาญแมนยำ และสวยงาม - ถานกั เรยี นเรียนไมท นั สามารถนำชุดฝก ปฏิบัตนิ าฏศลิ ปไปศึกษาเพม่ิ เติมนอกเวลาเรยี นได

6 แบบทดสอบกอนเรยี น ชดุ ฝกปฏบิ ตั ินาฏศลิ ปท ี่ 3 ครน้ื เครงการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย ***************************************************************************** คำชี้แจง 1. จงเลือกคำตอบทถี่ ูกทีส่ ุดเพียงขอเดียวแลวทำเครอื่ งหมายกากบาท (×) ลงใน กระดาษคำตอบ 2. ขอ สอบมีท้ังหมด 10 ขอ (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1. การแสดงชุดใดท่ีมงุ ความงามของทา รำและเปนการแสดงทีเ่ นนลีลาของผแู สดง ก. เซงิ้ สวงิ ข. ระบำมา ค. รำฉยุ ฉาย ง. ฟอ นเทยี น 2. ศิลปะการแสดงชดุ ใดที่มาจากประเพณขี องภาคเหนอื ก. ฟอ นเทยี น ข. เซ้ิงบ้งั ไฟ ค. ฟอ นภูไท ง. ระบำยองหงิด 3. การแสดงชุดใดจัดเปนการรำคูในเชงิ ศลิ ปะการตอ สู ก. สีนวล ข. รำกระบี่ กระบอง ค. พระลอตามไก ง. เตนกำรำเคยี ว 4. ขอใดเปน การแสดงนาฏศิลปพ นื้ เมืองของภาคอีสาน ก. การฟอ นอวยพร ข. ฟอนเล็บ ค. รำกลองยาว ง. ฟอนภไู ท 5. การแสดงชุดใดท่ีเปนการแสดงตามแบบแผนเปลยี่ นแปลงทา รำไมไ ด ก. ระบำดาวดงึ ส ข. รำศรีนวล ค. ฟอ นลาวดวงเดอื น ง. รำมฤครำเริง

7 6. ใครเปน ผูมอบหมายใหก รมศลิ ปากรปรับปรุงรำโทนใหม ก. จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม ข. จอมพลสฤษดิ ธนะรชั ต ค. จอมพลผิน ชุณหะวณั ง. อาจารยม นตรี ตราโมท 7. เครื่องดนตรีท่ีใชประกอบเพลงรำวงมาตรฐานคอื เคร่อื งดนตรีชนิดใดบาง ก. ฉ่ิง ฉาบ โหมง ข. ฉง่ิ ฉาบ กลอง ค. ฉงิ่ กรบั โหมง ง. ฉ่งิ กรับ โทน 8. เนื้อรอง “เพลงคืนเดอื นหงาย” กลา วถงึ ความหมายในขอใด ก. การมีนำ้ ใจตอ เพื่อนมนุษย ข. ความซ่ือสัตยสจุ ริตตอ ตนเองและผอู ่ืน ค. การปฏิบตั ิหนาท่ขี องตนเองใหดที ่ีสดุ ง. การผูกมติ รกับผูอ่นื และการที่ประเทศไทยมีเอกราชทำใหประเทศชาตมิ ีความรม เย็นเปน สุข 9. รำวงมาตรฐานมวี วิ ัฒนาการมาจากอะไร ก. โขน ข. ฟอน ค. ระบำ ง. รำโทน 10. เน้อื รอ ง “เพลงดวงจันทรขวญั ฟา” กลา วถงึ ความหมายในขอใด ก. การเคารพเทิดทูนชาติ และชวี ิต ข. การเคารพเทดิ ทูนครู อาจารยแ ละท่รี ัก ค. การเคารพเทิดทูนดวงจันทร และชาติ ง. การเทิดทูนชาติ และหญิงอนั เปนสุดทร่ี กั

8 กระดาษคำตอบ ชุดฝก ปฏบิ ัตนิ าฏศลิ ปท่ี 3 ครนื้ เครงการแสดงนาฏศิลปไ ทย ขอ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ขอใหเ ดก็ ๆ โชคดีนะ

9 เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น ชดุ ฝกปฏบิ ตั ินาฏศลิ ปที่ 3 ครื้นเครงการแสดงนาฏศลิ ปไทย **************************************************************************************** ตอนที่ 2 ขอ คำตอบ 1ค 2ก 3ข 4ง 5ก 6ก 7ง 8ง 9ง 10 ง

10 ผงั มโนทศั น ชุดฝก ปฏบิ ตั นิ าฏศิลปที่ 3 คร้ืนเครงการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย รำเดี่ยว รำคู ประวตั คิ วามเปนมา ฟอ นแบบเงี้ยว หรือไทยใหญ รำหมู ฟอ นแบบเมือง รำวงมาตรฐาน เพลง ฟอน ดวงจนั ทรข วัญฟา ในบทละคร รำ เพลง ฟอ น คืนเดือนหงาย คร้นื เครงการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย ฟอนที่สบื เน่อื งมา ฟอ นแบบมาน จาการนับถือผี ปรบั ปรุงจาก แบบมาตรฐาน ปรบั ปรุงขึ้นใชเ ปน สอ่ื การเรียนการสอน ระบำ ระบำปรับปรุง ปรับปรุงตาม เหตุการณตางๆ ระบำแบบดง้ั เดิมหรอื ปรับปรงุ จาก ระบำมาตรฐาน ทาทางของสตั ว ปรับปรงุ จาก พื้นบา น

11 ชดุ ฝก ปฏบิ ัตนิ าฏศลิ ปที่ 3 ครนื้ เครงการแสดงนาฏศลิ ปไทย รำ ระบำ ฟอน รำ ระบำ ฟอน เปน การแสดงนาฏศลิ ปไทยอันมีลีลาออนชอ ยงดงามตามลักษณะประณตี ศิลป การแสดงรำ ระบำ ฟอ นเปน พนื้ ฐานสำคญั สวนหนึง่ ที่ควรแกการอนุรักษ รำ รำ ตามความหมายในพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 955) กลาววา รำ เปนคำกิริยา หมายถงึ แสดงทา เคล่ือนไหว โดยมีลีลาและแบบทาเขากับจังหวะเพลงรอ งหรือเพลงดนตรี อาภรณ มนตรศี าสตร และจาตุรงค มนตรีศาสตร (2517 : 74) ไดกลาวถึงคำวา รำ ไวใ น หนังสอื วิชานาฏศลิ ป วา รำ หมายถึง ศิลปะแหง การรำเดย่ี ว รำคู จะประกอบรำอาวุธ รำทำบท หรือ รำใชบ ทที่หนกั ไปทางเตนกม็ ี เชน รำโคม รำในความหมายตอ มาคอื รำละคร สมุ ิตร เทพวงษ ( 2548 : 96) สรปุ ความหมายของคำวา รำ คือ การแสดงลีลาการเคลื่อนไหว ของผูแสดงประกอบเพลงท่มี ที ำนองหรือบทรอ ง อาจเปนการรำเดี่ยวรำคูก็ไดขึน้ อยกู ับทีม่ าของการแสดง ความสวยงาม และมงุ ตลอดจนความสามารถเฉพาะตัวของผแู สดง ดงั น้ัน กลาวไดว า รำเปน กริยา ลีลา ทา ทาง การเคลือ่ นไหว ของมนษุ ย อยางมีจงั หวะลลี า เขากบั เสยี งเพลงหรือดนตรีในลักษณะออ นชอ ยงดงาม โดยสามารถสอ่ื ความหมายได (จินตนา สายทองคำ, 2558 : 44) ประเภทของการรำ 1. รำเดยี่ ว 2. รำคู 3. การรำหมู 1. รำเด่ยี ว คือ การรำที่มีผแู สดงรำเพยี งคนเดยี ว จดุ มุงหมายของการรำเดยี่ ว คือ 1) ตอ งการอวดฝมือการรา ยรำ 2) ตองการศลิ ปะการรา ยรำ 3) ตองการสลับฉากเพือ่ รอการจดั ฉาก หรือตัวละครแตงกายยงั ไมเ สรจ็ เรียบรอย 4) ตองการใหม ีชุดเบิกโรง (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 2-3)

12 การรำเดีย่ ว ไดแก รำฉุยฉายตา ง ๆ อาทิ รำฉุยฉายพราหมณ รำฉยุ ฉายเบญกาย รำฉุยฉายวนั ทอง ฉุยฉายอนิ ทรชติ รำมโนหราบูชายัญ รำพลายชมุ พล เปน ตน (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 3) ภาพที่ 1 รำฉุยฉายพราหมณ ท่ีมา : กฤติยา ชสู งค (2561) ภาพท่ี 2 รำมโนหราบูชายญั ทมี่ า : รำเดีย่ ว จุฬา 62 (2562)

13 2. รำคู คือ การรำทีม่ ีผูแสดง 2 คน นิยมใชเบิกโรง เชน รำแมบ ท รำกง่ิ ไมเงนิ ทอง รำปะเลง รำอวยพร แบง ตามเน้อื หา หรือลกั ษณะการรำมี 2 ประเภท คอื 2.1 การรำคูในเชิงศิลปะการตอ สู ไดแก กระบี่ กระบอง ดาบสองมือ โล ดาบ เขน ดัง้ ทวน และรำกรชิ เปน การรำไมมบี ทรอ งใชส ลับฉากในการแสดง (สุมิตร เทพวงษ, 2525 : 3) ภาพที่ 3 รำดาบสองมือ ทมี่ า : ณปภพ ประมวญ (2554) 2.2 การรำคูในชดุ สวยงาม มกั ไดร ับความนยิ มจากคนดูมากกวาชุดอืน่ ๆ ท้ังนี้ เพราะทา รำในการรำจะตองประดษิ ฐใหสวยงาม ทั้งทารำทม่ี คี ำรองตลอดชุดหรอื มบี างชวงเพ่อื อวดลีลา ทารำมีบทรองและใชทาทางแสดงความหมายในตอนนนั้ ๆ เชน หนมุ านจับสุพรรณมัจฉา พระรามตามกวาง หนุมานจับนางเบญจกาย พระลอตามไก รามสรู -เมขลา รจนาเส่ียงพวงมาลัย ทษุ ยันตต ามกวาง รำแมบ ท รำประเลง รำดอกไมเ งนิ ทอง รถเสนจับมา (สุมิตร เทพวงษ, 2525 : 3) ภาพที่ 4 รำดอกไมเงนิ ทอง ที่มา : สำนกั ขาวอสิ รา (2560)

14 3. การรำหมู โดยปกติในดา นการแสดงมากกวา 2 คนน้นั เรยี กวา รำหมู โดยนบั เอา ลกั ษณะของจำนวนคน สว นระบำน้นั เปนสว นของการรำหมู ชื่อของการแสดงรำหมู เชน รำโคม ญวนรำกระถาง รำพดั รำวง ทั้งเปน มาตรฐาน และทวั่ ๆ ไป นอกจากน้นั ก็มีการแสดงพน้ื เมอื งของชาวบา นกถ็ ือวาเปนการรำหมูไดเ ชนกนั เชน เตนกำรำเคียว รำกลองยาว ซึ่งตอ งใชผแู สดงทัง้ หญิงและชายเปนจำนวนมาก เราเรียกการรำ ชนดิ นว้ี า รำหมู (สมุ ติ ร เทพวงษ, 2525 : 3-4) ภาพที่ 5 ญวนรำกระถาง ท่ีมา : นาฏศิลปสมั พันธ (2555) ภาพท่ี 6 รำวงมาตรฐาน ทม่ี า : สุนิตา โตเพ็ชร (2561)

15 ระบำ ความหมายของคำวา “ระบำ” คำวา ระบำ มีผูใหความหมายตา ง ๆ กนั ดงั น้ี ระบำ คือ ฟอนรำเปน ชุดกัน ระบำ คือ การแสดงทใ่ี ชค นเปนจำนวนมากกวา 2 คน ขนึ้ ไป มีทัง้ เน้ือรองและไมมีเนื้อรอง ใชเพียงดนตรปี ระกอบการรา ยรำ ระบำ คอื การรำทมี่ ีจำนวนคนมากกวา 2 คนข้ึนไป จัดเปน แถวในลักษณะตา ง ๆ อยางมีระเบยี บและสวยงาม ลีลาการรายรำและสลบั ระหวางแถวงดงามชดชอย ผูรำแตงกายงดงาม มีจดุ มุงหมายเพ่ือแสดงความงดงามของศิลปะการรำ ไมมกี ารดำเนินเรื่อง (สมุ ิตร เทพวงษ, 2548 : 116) ระบำ คือ ศิลปะการรา ยรำทแ่ี สดงพรอมกนั เปนหมูเ ปน ชดุ ไมดำเนนิ เรอ่ื งราว ทาทาง ทก่ี รีดกรายรา ยรำบางอยา ง อาจไมมคี วามหมายอะไรนอกจากความสวยงาม แตบางคร้ังกม็ ีความหมาย ตามทา ทแี ละบทรอง (สุมติ ร เทพวงษ, 2548 : 116) ระบำ พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 945) ใหความหมายวา หมายถึง การแสดงที่ใชทา การฟอ นรำไมเปนเรอ่ื งราว มุง ความสวยงามหรือความบนั เทงิ จะแสดงคนเดยี ว หรอื หลายคนก็ได เรณู โกศินานนท และคณะ (2525 : 86) ไดกลา วถึงความหมายของระบำไวใ นหนงั สอื ดนตรีศกึ ษาวา ระบำ หมายถึง การแสดงท่ใี ชคนเปนจำนวนมากกวา 2 คนขึ้นไป มีทง้ั เน้ือรอง และไมมเี นอื้ รอ ง ใชเพยี งดนตรีประกอบการรำรา ย จาตรุ งค มนตรศี าสตร (2523 : 74) ไดกลาวไวในหนงั สือนาฏศิลปศึกษาวา ระบำ หมายถงึ ศลิ ปะของการรา ยรำทแี สดงพรอ มกันเปน หมเู ปน ชดุ กนั ไมด ำเนนิ เรอื่ งราวทาทางท่กี รีดกรายรายรำ บางอยา งอาจไมม ีความหมายอะไรนอกจากความสวยงาม แตบางคร้ังก็มคี วามหมายตามทา ทีและบทรอง สรุ พล วิรุฬหร กั ษ (2543 : 11) กลา ววา ระบำมักหมายถึงคนหมหู นึ่งตง้ั แต 2 คนขึน้ ไป ทำทาเหมอื นๆ กนั บาง แตกตางกันบาง ในการแสดงชดุ หน่งึ ๆ และอาจมกี ารแปรแถวหรือต้ังซุม เปน รปู ตา ง ๆ เปนระยะ ๆ กลาวไดวา ระบำ คอื การฟอนรำเพียงเพือ่ ความงดงามของศิลปะการรา ยรำและความรนื่ เริง บนั เทิงใจไมมีการดำเนินเร่ือง (จนิ ตนา สายทองคำ, 2558 : 45) สรปุ ไดวา ระบำ คือ ศิลปะแหง การรำ ที่ใชผ ูแสดงตงั้ แต 2 คน ขึน้ ไป หรือจนถงึ แสดง เปนหมใู หญ ใชเพลงบรรเลงประกอบการแสดงท้ังทมี่ เี น้ือรอ ง หรือเพลงท่มี แี ตท ำนองและจังหวะ ไมดำเนนิ เปน เรือ่ งราว มงุ ความสวยงามในเร่ืองการรำท่ีพรอมเพรียง การแตงกาย การแปรแถว ประกอบกนั เปนหลักในการแสดง (สมุ ิตร เทพวงษ, 2548 : 117)

16 ประเภทของระบำ จำแนกออกไดเ ปน 1. ระบำแบบดงั้ เดมิ หรอื ระบำมาตรฐาน 2. ระบำปรับปรงุ หรอื ระบำเบ็ดเตลด็ 1. ระบำแบบดัง้ เดิมหรอื ระบำมาตรฐาน ไดแ ก ระบำทฝ่ี กหดั กนั เพอ่ื ใหเปน แบบ มาตรฐานทีม่ ีมาแตค รั้งโบราณ เชน ระบำสบ่ี ท หรอื บางครง้ั เรยี กวา \"ระบำใหญ\" ตอ มามผี ปู ระดิษฐ ระบำ ซ่งึ เลยี นแบบระบำสี่บทข้ึนอกี หลายชุด และถือวา เปนระบำมาตรฐานที่เปลย่ี นแปลงไมได เชน ระบำยอ งหงิด ระบำดาวดึงส ระบำกฤดาภนิ ิหาร ฯลฯ การแตง กายประเภทระบำมาตรฐาน สว นใหญ จะแตง กายในลกั ษณะที่เรยี กวา \"ยนื เครอ่ื ง\" (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 1) ภาพท่ี 7 ระบำยองหงดิ ท่ีมา : พชรพร บญุ มี (2561) ภาพที่ 8 ระบำดาวดึงส ท่ีมา : อษั ฎา จรญั ชล (2552)

17 2. ระบำปรับปรุง หรือระบำเบด็ เตลด็ หมายถึง ระบำทีไ่ ดปรบั ปรุงข้นึ ใหม โดยคำนึงถึงความเหมาะสมตอ การนำไปใชในโอกาสตาง ๆ แยกไดเ ปน 2.1 ปรับปรุงจากแบบมาตรฐาน หมายถงึ ระบำที่คิดประดิษฐขึน้ โดยยึดแบบ และลีลา ตลอดจนความสวยงามในดานระบำไว ทา ทางลีลาทีส่ ำคญั ยงั คงไว อาจมกี ารเปลย่ี นแปลง บางสิ่งบางอยางเพือ่ ใหงามขนึ้ หรอื เปล่ยี นแปลงเพ่อื ความเหมาะสมกบั สถานทที่ ่นี ำไปแสดง เชน ในการจดั รปู แบบการนำเพลงหนาพาทยชน้ั สูงเขา ไปสอดแทรก เปน ตน (สุมิตร เทพวงษ, 2525 : 2) ภาพท่ี 9 ระบำอูทอง ท่ีมา : เกศสุรยิ ง (2552) 2.2 ปรับปรุงจากพ้นื บาน หมายถึง ระบำทคี่ ดิ ประดษิ ฐส รา งสรรคขน้ึ จากแนวทาง ความเปนอยขู องคนพนื้ บาน การทำมาหากิน ขนบธรรมเนยี มประเพณี ในแตละทองถนิ่ มาแสดงออก ในรูประบำ เพ่อื เปนเอกลักษณประจำถ่ินของตน เชน เซิ้งบ้ังไฟ เตนกำรำเคยี ว ระบำงอบ ระบำกะลา รองเง็ง ฯลฯ (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 2) https://1.bp.blogspot.com/- s1600/20dec2013-002.jpg ภาพที่ 10 ตารีกีปส ท่มี า : นาฏศิลปสมั พันธ (2553)

18 2.3 ปรับปรุงจากทาทางของสตั ว หมายถงึ ระบำทคี่ ิดประดษิ ฐขึ้นใหม ตามลักษณะ ลลี าทา ทางของสัตวชนิดตาง ๆ บางครัง้ อาจนำมาใชป ระกอบการแสดงโขน ละคร บางครัง้ กน็ ำมาใช เปนการแสดงเบ็ดเตลด็ เชน ระบำนกยูง ระบำนกเขา ระบำมฤคระเรงิ ระบำบันเทงิ กาสร เปน ตน (สมุ ติ ร เทพวงษ, 2525 : 2) ภาพที่ 11 ระบำนกเขามะราป ท่ีมา : ครูเจีย๊ บ CF (2559) 2.4 ปรับปรุงตามเหตกุ ารณตาง ๆ หมายถงึ ระบำทค่ี ิดประดิษฐขน้ึ ใชต ามโอกาส ทเี่ หมาะสม เชน ระบำพระประทีป ระบำโคมไฟ ประดษิ ฐขน้ึ ใชแ สดงในวนั นักขัตฤกษ เปน ตน (สุมติ ร เทพวงษ, 2525 : 2) ภาพที่ 12 ระบำพระประทีป ทม่ี า : นาฏศิลปส มั พันธ (2560)

19 2.5 ปรบั ปรุงข้นึ ใชเปน สอ่ื การเรียนการสอน ระบำประเภทนเี้ ปน ระบำประดษิ ฐ และสรางสรรคข ึ้น เพ่อื เปนแนวทางส่ือนำสบู ทเรยี นเหมาะสำหรับเด็ก ๆ เปนระบำงา ย ๆ เพ่อื เรา ความสนใจประกอบบทเรยี นตาง ๆ เชน ระบำสูตรคูณ ระบำวรรณยกุ ต ระบำเลขไทย ฯลฯ (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 2) ภาพที่ 13 ระบำอักษรไทย ทม่ี า : ศูนยว ฒั นธรรม มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย (2557) สรุปไดว า ระบำปรับปรุง หมายถึง ระบำท่ีไดป รบั ปรุงข้นึ ใหมน ี้ ลักษณะทา รำ จะไมต ายตัวจะมกี ารปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลา ขึ้นอยูก บั เหตุการณ ตวั บุคคล ตลอดจนฝมอื และความสามารถของผูสอนและตัวนกั เรยี นเอง (สมุ ติ ร เทพวงษ, 2525 : 1-2) ฟอน คำวา “ฟอน” มีความหมายใกลเคียงกบั คำวา เตน ระบำ รำ เซิง้ ซงึ่ เปนทวงลีลา แหงนาฏศลิ ปไ ทย ความหมายโดยสวนรวม หมายถงึ “ศลิ ปะการแสดงหรือการประดิษฐป ระดอย กริ ยิ าทา ทางตา ง ๆ เชน อาจเปน การเคลื่อนไหว กาย แขน ขา มือ เทาใหง ดงามมลี ลี า พรอ มดวย มีความรสู กึ เปนอารมณสะเทือนใจ ตามทว งทำนองดนตรีหรือบทขบั รอง” (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 4) จากการพิจารณาศลิ ปะการฟอนทปี่ รากฏในลานนาปจจบุ นั อาจารยทรงศักด์ิ ปรางคว ฒั นากลุ อาจารยประจำภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม ไดแ บง การฟอ นออกเปน 5 ประเภท ดังนี้ (สุมิตร เทพวงษ, 2525 : 5)

20 1. ฟอ นทสี่ บื เนอ่ื งมาจาการนบั ถือผี เกยี่ วเน่ืองกับความเช่อื และพธิ กี รรม เปนการฟอ น เกา แกท ม่ี ีมาชา นาน ไดแ ก ฟอ นผีมด ผีเม็ง ฟอนผีบา นผเี มอื ง ฟอนผีนางดง (สมุ ติ ร เทพวงษ, 2525 : 5) ภาพท่ี 14 ฟอ นผีมด ทีม่ า : ไทยรัฐฉบับพมิ พ (2561) 2. ฟอ นแบบเมือง หมายถงึ ศิลปะการฟอ นทมี่ ีลลี าแสดงลักษณะเปน แบบฉบับ ของ \"คนเมือง\" หรอื \"ชาวไทยยวน\" ไดแก ฟอ นเล็บ ฟอ นเทียน ฟอ นเจิง ตบมะผาบ ฟอนดาบ ตกี ลองสะบดั ไชย ฟอ นสาวไหม (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 5) ภาพท่ี 15 ตีกลองสะบัดไชย ที่มา : รชั นกี ร เลฟิ (2557)

21 3. ฟอนแบบมา น เปนการผสมผสานกันระหวางศิลปะการฟอนของพมา กบั ของไทยลานนา การฟอนแบบนเ้ี ปนการผสมผสานระหวางการฟอ นของพมากับของไทยลานนา ไดแก ฟอนมานมยุ เชยี งตา (สมุ ติ ร เทพวงษ, 2525 : 5) ภาพที่ 16 ฟอนมานมยุ เชียงตา ทีม่ า : รชั นกี ร เลิฟ (2557) 4. ฟอนแบบเงี้ยวหรือแบบไทยใหญ หมายถึง การฟอน ตลอดจนการแสดงท่รี บั อิทธิพล หรือมตี น เคามาจากศลิ ปะการแสดงของชาวไทยใหญ ไดแ ก เลนโต กิ่งกะหรา (กินนรา) หรอื ฟอนนางนก กำเบอคง มองเซงิ ฟอนไต (ไทยใหญ) ฟอ นเงยี้ ว (สมุ ิตร เทพวงษ, 2525 : 5) ภาพท่ี 17 ฟอ นกิ่งกะหรา ท่ีมา : ภชั รพล ชูสกุล (2552)

22 5. ฟอนท่ีปรากฏในบทละคร เปนการฟอ นทมี่ ผี คู ิดสรา งสรรคข ึ้นในการแสดง ละครพนั ทาง ซง่ึ นยิ มในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดแ ก ฟอนนอยใจยา ฟอ นลาวแพน ฟอ นมานมงคล (สุมิตร เทพวงษ, 2525 : 6) ภาพที่ 18 ฟอนลาวแพน ท่ีมา : นาฏศิลปส ัมพันธ (2553) สรปุ นาฏศิลปไ ทยอนั ไดแ ก รำ ระบำ ฟอน เปน ศิลปวฒั นธรรมสำคัญของชาติทมี่ กี ารอนุรกั ษ สบื สานและพฒั นามาตามยคุ สมยั โดยไดร บั อทิ ธิพลและวัฒนธรรมสว นใหญม าจากอนิ เดีย มาแต โบราณกาล รำ ระบำ ฟอ น เปนคำทใ่ี ชสอ่ื ความเขาใจเกยี่ วกับรูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปของไทย โดยรำน้ันแบง ออกเปน 3 ประเภท คือ การรำเด่ยี ว การรำคู และระบำหมู สวนระบำ คือ การฟอ นรำ เพือ่ ความงดงามของศิลปะแหงการรำ ไมมีการดำเนนิ เร่อื งเปน เรือ่ งราว จำแนกเปน ระบำมาตรฐานและระบำท่ปี รับปรุงขน้ึ มาใหม สำหรบั ฟอนน้ัน หมายถึง ศิลปะการแสดงหรือ การประดิษฐประดอยกิริยาทาทางตาง ๆ ของรางกายใหงดงามมลี ีลา มีความรูสึกเปน อารมณสะเทือนใจ ตามทว งทำนองดนตรีหรือบทขบั รอ ง การฟอ นสวนใหญจะอยูในอาณาเขตลา นนา

23 รำวงมาตรฐาน ประวตั คิ วามเปน มารำวงมาตรฐาน รำวงมาตรฐาน เปน การแสดงท่ีมีวิวฒั นาการมาจาก “ รำโทน” เปนการรำและรอ งของชาวบาน ซงึ่ จะมผี รู ำทง้ั ชาย และหญงิ รำกันเปน คู ๆ รอบ ครกตำขาวท่ีวางคว่ำไว หรอื ไมกร็ ำกนั เปนวงกลม โดยมีโทนเปนเครื่องดนตรปี ระกอบจังหวะ ลักษณะการรำ และรองเปนไปตามความถนัด ไมม แี บบแผน กำหนดไว คงเปนการรำ และรอ งงาย ๆ มุงเนน ท่ีความสนุกสนานร่ืนเริงเปน สำคัญ เชน เพลงชอ มาลี เพลงยวนยาเหล เพลงหลอ จริงนะดารา เพลงตามองตา เพลงใกลเขา ไปอีกนิด ฯลฯ ดว ยเหตุท่กี ารรำ ชนิดนี้ มโี ทนเปนเครอื่ งดนตรปี ระกอบจังหวะ จึงเรียกการแสดงชุดน้วี า “ รำโทน” ตอมา เม่ือป พ.ศ. 2487 ในสมยั จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี รฐั บาลตระหนักถงึ ความสำคัญของการละเลนรืน่ เริงประจำชาติ และเห็นวา คนไทยนิยมเลน รำโทน กันอยางแพรหลาย ถา ปรับปรุงการเลนรำโทนใหเปนระเบยี บทัง้ เพลงรองลีลาทา รำ และการแตงกาย จำทำให การเลน รำโทนเปน ท่ีนานิยมมากยงิ่ ข้ึน จึงไดม อบหมายใหก รมศิลปากรปรับปรงุ รำโทนเสียใหม ใหเ ปน มาตรฐาน มีการแตง เน้อื รอง ทำนองเพลง และนำทารำจากแมบทมากำหนดเปน ทา รำเฉพาะ แตละเพลงอยา งเปนแบบแผน รำวงมาตรฐาน ประกอบดว ยเพลงทั้งหมด 10 เพลง กรมศิลปากรแตงเนือ้ รอ ง จำนวน 4 เพลง คือ เพลงงามแสงเดอื น เพลงชาวไทย เพลงรำซิมารำ เพลงคืนเดือนหงาย ทา นผหู ญงิ ละเอยี ด พิบูลสงคราม แตงเนือ้ รอ งเพม่ิ อีก 6 เพลง คอื เพลงดวงจันทรวันเพญ็ เพลงดอกไมของชาติ เพลงดวงจนั ทรข วัญฟา เพลงหญงิ ไทยใจงาม เพลงบูชานักรบ เพลงยอดชายใจหาญ สวนทำนองเพลงทัง้ 10 เพลง กรมศิลปากรและกรมประชาสมั พันธเปน ผูแตง จากการสมั ภาษณนางสุวรรณี ชลานุเคราะห ศิลปนแหง ชาติ สาชาศิลปะการแสดง (นาฏศลิ ปไทย) ปพ ทุ ธศักราช 2533 อธิบายวา “ทา รำเพลงรำวงมาตรฐานประดษิ ฐท ารำโดย นางลมุล ยมะคปุ ต นางมัลลี คงประภศั ร และนางศภุ ลกั ษณ ภัทรนาวิก ซงึ่ เปนผูเชยี่ วชาญการสอน นาฏศลิ ปไทย วิทยาลัยนาฏศิลป สวนผูค ิดประดิษฐจังหวะเทา ของเพลงดวงจนั ทรวนั เพญ็ คอื นางจติ รา ทองแถม ณ อยุธยา อาจารยใหญโรงเรยี นสงั คตี ศลิ ป (ปจจบุ ัน คอื วิทยาลัยนาฏศลิ ป) ป พ.ศ. 2485–2486 เมอ่ื ปรับปรงุ แบบแผนการเลนรำโทนใหมมี าตรฐานและมีความเหมาะสม จงึ มีการเปลยี่ นแปลงช่อื จากรำโทนเปน “รำวงมาตรฐาน” อันมลี ักษณะการแสดงทเ่ี ปนการรำรวมกนั ระหวา งชาย-หญงิ เปนคู ๆ เคลื่อนยา ยเวยี นไปเปน วงกลม มเี พลงรอ งทีแ่ ตง ทำนองข้ึนใหม มีการใชทงั้ วงปพ าทยบ รรเลง เพลงประกอบ และบางเพลงก็ใชวงดนตรสี ากลบรรเลงเพลงประกอบ ซง่ึ เพลงรอ งท่ีแตงขึน้ ใหม ทัง้ 10 เพลง มีทา รำท่กี ำหนดไวเ ปนแบบแผน คือ - เพลงงามแสงเดอื น ทาสอดสรอยมาลา - เพลงชาวไทย ทา ชกั แปง ผัดหนา - เพลงรำมาซิมารำ ทารำสาย - เพลงคืนเดือนหงาย ทา สอดสรอยมาลาแปลง - เพลงดวงจันทรว นั เพ็ญ ทา แขกเตาเขารัง และทา ผาลาเพยี งไหล

24 - เพลงดอกไมของชาติ ทารำยั่ว - เพลงหญิงไทยใจงาม ทาพรหมสห่ี นา และทา ยูง ฟอนหาง - เพลงดวงจนั ทรข วญั ฟา ทาชางประสานงา และทาจันทรท รงกลดแปลง - เพลงยอดชายใจหาญ หญิงทา ชะนรี า ยไม ชายทาจอ เพลิงกัลป - เพลงบชู านักรบ หญงิ ทาขดั จางนาง และทา ลอ แกว ชายทาจันทรท รงกลดต่ำ และทา ขอแกว รำวงมาตรฐานนิยมเลน ในงานร่นื เรงิ บันเทงิ ตาง ๆ และยังนิยมนำมาใชเลนแทนการเตน รำ สำหรับเครอ่ื งแตง กายก็มีการกำหนดการแตง กายของผแู สดง ใหม รี ะเบียบดวยการใชช ุดไทยและชุดสากลนิยม โดยแตง เปน คู รบั กนั ท้ังชายและหญิง อาทิ ผูช ายนงุ โจงกระเบน สวมเส้ือคอกลม มีผาคาดเอว ผูหญงิ นุง โจงกระเบน หม สไบอัดจีบ ผชู ายนงุ โจงกระเบน สวมเสอ้ื ราชประแตน ผูห ญิงแตง ชดุ ไทย แบบรัชกาล ท่ี 5 ผูช ายแตง สทู ผหู ญิงแตง ชุดไทยเรือนตน หรือไทยจกั รี รำวงมาตรฐาน เปนการรำที่ไดรบั ความนยิ มสืบมาจนถงึ ปจจุบนั มกั นิยมนำมาใชห ลงั จาก จบการแสดงหรือจบงานบนั เทงิ ตาง ๆ เพอ่ื เชิญชวนผูร วมงานออกมารำวงรว มกนั เปน การแสดง ความสามัคคกี ลมเกลียว อีกทัง้ ยังเปนท่ีนิยมของชาวตางชาติในการออกมารำวงเพอื่ ความสนกุ สนาน การแสดงรำวงมาตรฐานมผี ูแ สดงครงั้ แรกดังน้ี นายอาคม สายาคม นางสวุ รรณี ชลานุเคราะห นายจำนง พรพิสทุ ธ์ิ นางศริ วิ ัฒน ดษิ ยนันทน นายธรี ยุทธ ยวงศรี นางสาวสนุ ันทา บุณยเกตุ (กรมศิลปากร, 2550 : 136-137) รปู แบบ และลักษณะการแสดง รำวงมาตรฐาน เปน การรำหมูป ระกอบดว ยผูแสดง 8 คน ทารำประดษิ ฐข ้นึ จากทา รำมาตรฐาน ในเพลงแมบท ความสวยงามของการรำอยทู ีก่ ระบวนทารำทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะในแตล ะเพลง และเคร่ืองแตง กายไทยสมยั ตาง ๆ รวมทงั้ รูปแบบการแสดงในลักษณะการแปรแถวเปนวงกลม ดังนี้ สญั ลกั ษณแถวรูปวงกลม

25 การรำแบงเปน ข้นั ตอนตา ง ๆ ไดด ังน้ี ขั้นตอนท่ี 1 ผูแ สดงชายและหญงิ เดินออกมาเปนแถวตรงสองแถวหันหนาเขาหากัน ตา งฝา ย ทำความเคารพดว ยการไหว ขนั้ ตอนท่ี 2 รำแปรแถวเปน วงกลมตามทำนองเพลง และรำตามบทรองรวม 10 เพลง โดยเปลยี่ นทารำ ไปตามเพลงตาง ๆ เรม่ิ ตง้ั แตเพลงงามแสงเดอื น เพลงชาวไทย เพลงรำซิมารำ เพลงคนื เดือนหงาย เพลงดวงจันทรว ันเพ็ญ เพลงดอกไมของชาติ เพลงหญงิ ไทยใจงาม เพลงดวงจนั ทรขวญั ฟา เพลงยอดชายใจหาญและเพลงบชู านักรบ ข้นั ตอนท่ี 3 เมอ่ื รำจบบทรองในเพลงที่ 10 ผแู สดงรำเขา เวที ทลี ะคูตามทำนองเพลงจนจบ (กรมศิลปากร, 2550 : 138) เครือ่ งดนตรที ี่ใชในการแสดง เคร่อื งดนตรที ีใ่ ชใ นการแสดงเดมิ ใช รำโทน หรอื รำวง นั้น แตเดมิ มเี ครือ่ งดนตรี ประกอบการรำ คอื โทน ฉง่ิ ฉาบ กรบั ตอ มาเม่ือมีการพฒั นารำโทนขน้ึ จนเปน รำวงมาตรฐาน จนถึงปจ จบุ นั จึงไดเพ่ิมเครอ่ื งดนตรปี ระกอบเปน วงดนตรีไทยหรือวงดนตรีสากล บรรเลงประกอบ รำวงมาตรฐาน เครื่องดนตรีแบบเดิม กรบั โทน ฉิง่ ภาพที่ 19 เครอ่ื งดนตรีไทย ทม่ี า : ครูชัย (2558)

26 ตอมาเม่ือมีการพัฒนาจากการรำโทนเปน รำวงมาตรฐานจงึ ใชว งปพาทยไมน วม หรือวงดนตรี สากลแทน จนถึงปจ จุบัน 1. วงปพาทยไมน วม ภาพท่ี 20 วงปพ าทยไ มนวม ท่มี า : โคธาวรี โคธาวรี (2561) 2. วงดนตรสี ากล ภาพท่ี 21 วงดนตรสี ากล ท่ีมา : พิษณุโลกฮอตนิวส (2560)

27 เคร่อื งแตงกาย เคร่อื งแตง กายของรำวงมาตรฐาน นิยมแตงกาย 4 แบบ แตใ หเปนคกู ันทง้ั หญงิ -ชาย ดงั น้ี แบบที่ 1 แบบชาวบา น ชาย : นุงผาโจงกระเบน สวมเสื้อคอพวงมาลัย เอวคาดผา หอยชายดานหนา หญิง : นุงโจงกระเบน หม ผาสไบอดั จีบ ปลอยผม ประดบั ดอกไมท ี่ผมดานซา ย คาดเขม็ ขดั สวมเครือ่ งประดบั (กรมศิลปากร, 2550 : 138) ภาพท่ี 22 การแตง กายแบบชาวบา น (ดา นหนา ) ทม่ี า : สุดารตั น วัฒนพฤติไพศาล (2560) ภาพที่ 23 การแตง กายแบบชาวบา น (ดานหลงั ) ทีม่ า : สุดารัตน วัฒนพฤตไิ พศาล (2560)

28 แบบที่ 2 แบบรชั กาลท่ี 5 ชาย : นงุ โจงกระเบน สวมเส้ือราชประแตน สวมถุงเทา รองเทา หญิง : นุง โจงกระเบน สวมเส้อื ลูกไม สไบพาดบา ผูกเปน โบว ทิ้งชายไวข างลำตวั ดา นซา ย สวมเครอ่ื งประดับมกุ (กรมศลิ ปากร, 2550 : 138) ภาพท่ี 24 การแตง กายแบบรชั กาลที่ 5 (ดานหนา) ท่ีมา : สุดารัตน วฒั นพฤตไิ พศาล (2560) ภาพท่ี 25 การแตงกายแบบรชั กาลท่ี 5 (ดา นหลงั ) ที่มา : สุดารตั น วัฒนพฤติไพศาล (2560)

29 แบบที่ 3 แบบสากลนยิ ม ชาย : นุงกางเกง สวมสทู ผกู เนคไท หญงิ : นงุ กระโปรงปายขา ง ยาวกรอมเทา สวมเส้อื คอตง้ั แขนกระบอก (กรมศิลปากร, 2550 : 138) ภาพท่ี 26 การแตงกายแบบสากลนยิ ม (ดา นหนา) ท่ีมา : สุดารตั น วฒั นพฤติไพศาล (2560) ภาพที่ 27 การแตงกายแบบสากลนิยม (ดานหลงั ) ที่มา : สุดารตั น วฒั นพฤตไิ พศาล (2560)

30 แบบที่ 4 แบบราตรสี โมสร ชาย : นุงกางเกง สวมเส้อื คอพระราชทาน ผาคาดเอวหอ ยชายดา นหนา และสวมรองเทา หญิง : นงุ กระโปรงยาวจบี หนา นาง ใสเ ส้ือจบั เดรป ชายผา หอ ยจากบาลงไปทางดา นหลงั เปด ไหลขวา ศีรษะทำผมเกลาเปน มวยสงู สวมเกีย้ วและเครอ่ื งประดบั (กรมศลิ ปากร, 2550 : 139) ภาพท่ี 28 การแตง กายแบบราตรีสโมสร (ดานหนา) ที่มา : สุดารัตน วฒั นพฤตไิ พศาล (2560) ภาพท่ี 29 การแตงกายแบบราตรสี โมสร (ดานหลัง) ท่มี า : สุดารตั น วฒั นพฤติไพศาล (2560)

31 ผูแสดง นิยมใชผูชายและผหู ญิงแสดงจรงิ และจบั คูกนั จำนวนคูเทา ไหรไมจ ำกดั (สมุ ติ ร เทพวงษ, 2548 : 107) การแสดง 1. แสดงเปนแบบรำหมู ผูชาย ผูหญงิ หลายคูแลวแตส ถานที่ 2. มีความพรอมเพรยี งกันในเวลาแสดง ระยะระหวา งคูไมใ หหางหรือชิดเกนิ ไป ระวงั อยาใหวงเบ้ยี วหรือวงขาด 3. กอนเรม่ิ รำ ผหู ญิง ผูชายจะทำความเคารพกัน โดยการยกมือไหว แตบางครั้ง ถา รำออกมาเปนคู ๆ กไ็ มตอ งแสดงความเคารพกนั ขึ้นอยกู บั โอกาสท่ีแสดง 4. การรำแตละเพลงจะรำไปตามทา ทางรูปแบบของนาฏศิลปไทย ท่ไี ดกำหนดทา รำลงไป ในเพลงแตล ะเพลง (สุมิตร เทพวงษ, 2548 : 108) โอกาสท่ีใชใ นการแสดง เผยแพรใ หป ระชาชนชมและแสดงในงานรื่นเริงตา ง ๆ (กรมศลิ ปากร, 2550 : 143) เพลงคืนเดือนหงาย เน้อื เพลงคนื เดือนหงาย เย็นพระพายโบกพร้ิวปลวิ มา ยามกลางคนื เดอื นหงาย เย็นอะไรกไ็ มเ ยน็ จติ เทา เย็นผูกมติ รไมเบ่ือระอา เยน็ รมธงไทยปกไปท่วั หลา เย็นย่งิ นำ้ ฟามาประพรมเอย (กรมศิลปากร, 2550 : 141) ความหมายเพลง : เวลากลางคนื เปน คนื เดือนหงาย มีลมพัดมาเย็นสบายใจ แตก ย็ งั ไมสบายใจเทากบั การทไ่ี ดผูกมิตรกับผูอ่นื และทรี่ ม เยน็ ไปทั่ว ทกุ แหงย่งิ กวาน้ำฝนท่ีโปรยลงมา กค็ อื การทีป่ ระเทศไทยเปนประเทศที่เปน เอกราช มีธงชาติไทยเปนเอกลักษณ ทำใหรมเย็นท่วั ไป

32 รำวงมาตรฐาน เพลงคนื เดอื นหงาย “ทาสอดสรอ ยมาลา” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 223) ภาพที่ 30 ทารำ คำรอง “ยามกลางคืนเดือนหงาย” ที่มา : สุดารตั น วัฒนพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญิงอยดู านหนา ชาย หันหนา ออกนอกวง) มอื : มือขวาตั้งวงบนระดับหางคิ้ว มือซายจบี หงายระดับชายพก ศรี ษะ : เอยี งซา ย ลำตวั : กดไหลซ าย เทา : เร่มิ กา วเทาซา ย (คำวา “ยาม”) กาวเทา ขวา (คำวา “กลางคนื ”) กาวเทา ซาย (คำวา “เดอื น”) ยกเทา ขวาวางหลังดวยจมูกเทา เปด สนเทา (คำวา “หงาย”) เทาซายอยดู านหนา น้ำหนกั ตวั อยูเ ทาซาย ชาย (ชายซอนอยดู านหลังหญงิ หันหนา ออกนอกวง) มือ : มือขวาตงั้ วงบนระดบั แงศ รี ษะ มอื ซา ยจบี หงายระดบั ชายพก ศีรษะ : เอียงซาย ลำตวั : กดไหลซ าย เทา : เร่มิ กา วเทาซาย (คำวา “ยาม”) กาวเทาขวา (คำวา “กลางคืน”) กาวเทา ซาย (คำวา “เดือน”) ยกเทาขวาวางหลงั ดวยจมูกเทา เปดสน เทา (คำวา “หงาย”) เทา ซายอยดู านหนา น้ำหนกั ตวั อยเู ทา ซาย (พมิ ณภัทร ถมังรักษสัตว และสรุ ตั น จงดา, 2563 : สัมภาษณ)

33 รำวงมาตรฐาน เพลงคนื เดอื นหงาย “ทา สอดสรอ ยมาลา” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 223) ภาพที่ 31 ทา รำ คำรอ ง “เยน็ พระพายโบกพรว้ิ ปลิวมา” ทมี่ า : สุดารตั น วัฒนพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญงิ อยูดานหนาชาย หันหนา เขา ในวง) มือ : มอื ซา ยตงั้ วงบนระดับหางคิ้ว มอื ขวาจีบหงายระดบั ชายพก ศรี ษะ : เอียงขวา ลำตวั : กดไหลข วา เทา : ยกเทาขวาวางหลัง (คำวา “เยน็ ”) กา วเทา ซาย (คำวา ”พระพาย”) กา วเทาขวา (คำวา “โบกพริว้ ”) ยกเทาซายวางหลงั ดว ยจมูกเทา เปด สน เทา (คำวา “ปลิวมา”) เทา ขวาอยูดานหนา น้ำหนกั ตวั อยูเ ทาขวา ชาย (ชายซอนอยูด า นหลังหญงิ หันหนาเขาในวง) มือ : มอื ซายต้ังวงบนระดับแงศ รี ษะ มอื ขวาจบี หงายระดับชายพก ศรี ษะ : เอยี งขวา ลำตวั : กดไหลขวา เทา : ยกเทา ขวาวางหลงั (คำวา “เยน็ ”) กา วเทาซาย (คำวา ”พระพาย”) กา วเทาขวา (คำวา “โบกพริ้ว”) ยกเทา ซา ยวางหลงั ดว ยจมกู เทา เปด สนเทา (คำวา “ปลวิ มา”) เทา ขวาอยูดา นหนา น้ำหนกั ตวั อยเู ทาขวา (พิมณภัทร ถมังรกั ษส ัตว และสรุ ตั น จงดา, 2563 : สมั ภาษณ)

34 รำวงมาตรฐาน เพลงคืนเดอื นหงาย “ทา สอดสรอ ยมาลา” แปลง (กรมศลิ ปากร, 2550 : 223) ภาพท่ี 32 ทา รำ คำรอง “เย็นอะไรก็ไมเ ย็นจิต” ท่มี า : สุดารัตน วฒั นพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญงิ อยดู านหนาชาย หันหนา ออกนอกวง) มอื : มอื ขวาต้งั วงบนระดับหางคิ้ว มือซา ยจบี หงายระดบั ชายพก ศีรษะ : เอียงซาย ลำตวั : กดไหลซาย เทา : ยกเทาซา ยวางหลงั (คำวา “เยน็ ”) กาวเทา ขวา (คำวา “อะไร”) กา วเทาซาย (คำวา “ก็ไม”) ยกเทาขวาวางหลังดว ยจมูกเทา เปดสนเทา (คำวา “เยน็ จิต”) เทาซา ยอยดู านหนา น้ำหนกั ตัวอยเู ทาซาย ชาย (ชายซอ นอยดู า นหลงั หญิง หนั หนา ออกนอกวง) มือ : มือขวาตัง้ วงบนระดับแงศีรษะ มือซายจีบหงายระดบั ชายพก ศรี ษะ : เอียงซาย ลำตวั : กดไหลซ า ย เทา : ยกเทาซา ยวางหลัง (คำวา “เยน็ ”) กาวเทาขวา (คำวา “อะไร”) กา วเทาซาย (คำวา “ก็ไม”) ยกเทา ขวาวางหลงั ดวยจมกู เทา เปดสน เทา (คำวา “เยน็ จติ ”) เทาซายอยดู านหนา น้ำหนกั ตัวอยเู ทาซาย (พิมณภัทร ถมงั รกั ษสัตว และสรุ ตั น จงดา, 2563 : สัมภาษณ)

35 รำวงมาตรฐาน เพลงคนื เดอื นหงาย “ทา สอดสรอยมาลา” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 223) ภาพที่ 33 ทารำ คำรอง “เทา เยน็ ผูกมติ รไมเบื่อระอา” ท่ีมา : สุดารตั น วัฒนพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญงิ อยูด านหนาชาย หันหนา เขา ในวง) มือ : มือซา ยต้งั วงบนระดับหางคว้ิ มอื ขวาจีบหงายระดับชายพก ศรี ษะ : เอียงขวา ลำตัว : กดไหลข วา เทา : ยกเทาขวาวางหลงั (คำวา “เทา เยน็ ”) กา วเทาซาย (คำวา ”ผูกมติ ร”) กาวเทาขวา (คำวา “ไมเ บื่อ”) ยกเทาซา ยวางหลงั ดวยจมูกเทา เปดสนเทา (คำวา “ระอา”) เทาขวาอยูดานหนา น้ำหนกั ตัวอยเู ทาขวา ชาย (ชายซอนอยดู านหลังหญงิ หนั หนา เขาในวง) มอื : มือซา ยต้ังวงบนระดับหางค้วิ มอื ขวาจบี หงายระดับชายพก ศีรษะ : เอียงขวา ลำตวั : กดไหลข วา เทา : ยกเทาขวาวางหลัง (คำวา “เทาเย็น”) กา วเทาซาย (คำวา ”ผูกมติ ร”) กา วเทาขวา (คำวา “ไมเบอื่ ”) ยกเทาซา ยวางหลงั ดวยจมูกเทา เปดสน เทา (คำวา “ระอา”) เทา ขวาอยูดานหนา น้ำหนักตวั อยเู ทาขวา (พิมณภทั ร ถมงั รักษส ตั ว และสรุ ัตน จงดา, 2563 : สัมภาษณ)

36 รำวงมาตรฐาน เพลงคืนเดอื นหงาย “ทาสอดสรอ ยมาลา” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 223) ภาพท่ี 34 ทารำ คำรอง “เย็นรมธงไทยปกไปทว่ั หลา ” ทมี่ า : สุดารตั น วฒั นพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญงิ อยดู า นหนาชาย หนั หนาออกนอกวง) มอื : มือขวาต้ังวงบนระดบั หางคว้ิ มอื ซายจีบหงายระดบั ชายพก ศีรษะ : เอียงซา ย ลำตัว : กดไหลซ าย เทา : ยกเทาซายวางหลัง (คำวา “เย็นรม ”) กาวเทา ขวา (คำวา “ธงไทย”) กา วเทาซา ย (คำวา “ปกไป”) ยกเทาขวาวางหลงั ดวยจมูกเทา เปดสนเทา (คำวา “ทั่วหลา”) เทา ซา ยอยูดานหนา นำ้ หนกั ตัวอยูเทา ซา ย ชาย (ชายซอนอยูด านหลังหญงิ หนั หนาออกนอกวง) มอื : มือขวาต้ังวงบนระดับแงศรี ษะ มอื ซา ยจบี หงายระดบั ชายพก ศรี ษะ : เอียงซา ย ลำตวั : กดไหลซ า ย เทา : ยกเทาซายวางหลัง (คำวา “เยน็ รม ”) กา วเทาขวา (คำวา “ธงไทย”) กาวเทา ซา ย (คำวา “ปกไป”) ยกเทา ขวาวางหลงั ดว ยจมูกเทา เปด สนเทา (คำวา “ท่วั หลา”) เทา ซา ยอยดู า นหนา นำ้ หนกั ตัวอยูเทา ซา ย (พิมณภทั ร ถมงั รักษส ตั ว และสรุ ัตน จงดา, 2563 : สัมภาษณ)

37 รำวงมาตรฐาน เพลงคนื เดอื นหงาย “ทา สอดสรอ ยมาลา” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 223) ภาพที่ 35 ทารำ คำรอ ง “เย็นยิ่งน้ำฟา มาประพรมเอย” ท่มี า : สุดารตั น วัฒนพฤตไิ พศาล (2560) หญงิ (หญิงอยดู า นหนา ชาย หันหนาเขา ในวง) มอื : มอื ซา ยตงั้ วงบนระดบั หางค้วิ มือขวาจีบหงายระดับชายพก ศีรษะ : เอยี งขวา ลำตวั : กดไหลขวา เทา : ยกเทาขวาวางหลงั (คำวา “เยน็ ยง่ิ ”) กา วเทา ซาย (คำวา ”น้ำฟา ”) กา วเทา ขวา (คำวา “มาประ”) ยกเทาซา ยวางหลงั ดว ยจมกู เทา เปดสน เทา (คำวา “พรมเอย”) เทาขวาอยูดา นหนา นำ้ หนกั ตวั อยเู ทาขวา ชาย (ชายซอ นอยดู านหลงั หญงิ หันหนาเขาในวง) มือ : มอื ซายต้ังวงบนระดับหางค้ิว มือขวาจีบหงายระดับชายพก ศรี ษะ : เอียงขวา ลำตัว : กดไหลขวา เทา : ยกเทาขวาวางหลงั (คำวา “เยน็ ย่ิง”) กา วเทา ซาย (คำวา ”น้ำฟา ”) กา วเทา ขวา (คำวา “มาประ”) ยกเทา ซา ยวางหลังดว ยจมูกเทา เปดสน เทา (คำวา “พรมเอย”) เทา ขวาอยูดา นหนา นำ้ หนักตัวอยูเ ทาขวา (พมิ ณภัทร ถมงั รกั ษส ัตว และสุรตั น จงดา, 2563 : สมั ภาษณ)

38 เพลงดวงจันทรข วัญฟา เนอ้ื เพลงดวงจนั ทรขวญั ฟา ดวงจนั ทรข วัญฟา ช่นื ชีวาขวัญพี่ จนั ทรป ระจำราตรี แตข วัญพีป่ ระจำใจ ท่ีเทิดทนู คอื ชาติ เอกราชอธปิ ไตย ถนอมแนบสนทิ ใน คือขวญั ใจพีเ่ อย (กรมศิลปากร, 2550 : 142) ความหมายเพลง : ในเวลาค่ำคืนทองฟา มดี วงจันทรประจำอยใู นใจของชาย กม็ หี ญงิ อันเปน สุดทรี่ กั ประจำอยูเชน กัน สิ่งท่ีเทดิ ทูนยกยอ งไวก ค็ อื ชาติไทยทเ่ี ปนเอกราช มีอิสระแกตน ไมข ้นึ กับใครและสง่ิ ทีแ่ นบสนทิ อยูในใจของชายก็คือหญิงอนั เปนสุดทรี่ ัก

39 รำวงมาตรฐาน เพลงดวงจันทรข วัญฟา “ทาชางประสานงา” (กรมศลิ ปากร, 2550 : 226) ภาพที่ 36 ทารำ คำรอ ง “ดวงจนั ทรข วญั ฟา ” ทมี่ า : สุดารัตน วฒั นพฤตไิ พศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญงิ อยูด านหนา ชาย หันหนาออกนอกวง) มอื : มอื ท้งั สองจบี หงายระดบั อก แขนเหยียดตึงไปดา นหนา ใหลำแขนขนานกนั มือจีบเขาหาลำแขน ศีรษะ : เอยี งซา ย ลำตัว : กดไหลซ าย เทา : เร่มิ กาวเทาขวา (คำวา “ดวงจันทร” ) กาวเทาซาย (คำวา “ขวัญ”) ยกเทาขวาวางหลังดว ยจมูกเทา เปดสนเทา (คำวา “ฟา”) เทา ซายอยดู า นหนา นำ้ หนักตัวอยูเทา ซา ย ชาย (ชายซอ นอยดู า นหลงั หญิง หนั หนาออกนอกวง) มอื : มือท้ังสองจบี หงายระดบั อก แขนเหยยี ดตึงไปขางหนา ใหลำแขนขนานกัน มือจบี เขา หาลำแขน ศีรษะ : เอยี งซาย ลำตัว : กดไหลซาย เทา : เริม่ กา วเทาขวา (คำวา “ดวงจนั ทร” ) กา วเทา ซาย (คำวา “ขวญั ”) ยกเทา ขวาวางหลงั ดวยจมูกเทา เปด สน เทา (คำวา “ฟา ”) เทาซา ยอยูดานหนา นำ้ หนกั ตวั อยเู ทาซาย (พมิ ณภัทร ถมงั รกั ษส ตั ว และสุรตั น จงดา, 2563 : สมั ภาษณ)

40 รำวงมาตรฐาน เพลงดวงจนั ทรขวัญฟา “ทาจันทรท รงกลด” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 226) ภาพท่ี 37 ทา รำ คำรอ ง “ชื่นชวี าขวัญพ”่ี ท่มี า : สุดารัตน วฒั นพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญงิ (หญงิ อยูดานหนา ชายโอบอยดู า นหลงั หญิง หันหนา เขาในวง) มอื : มือทง้ั สองจบี หงายระดบั อก แขนเหยียดตงึ จากนนั้ เคล่ือนมือทจ่ี บี หงายออกไป ขางลำตัว แลว มว นมอื ปลอ ยจีบออกเปลยี่ นเปนต้ังวงระดับอก ศรี ษะ : เอียงขวา ลำตัว : กดไหลขวา เทา : ยกเทาขวาวางหลงั (คำวา “ชน่ื ”) กาวเทา ซาย (คำวา “ชวี า”) กา วเทาขวา (คำวา “ขวัญ”) ยกเทา ซา ยวางหลังดว ยจมกู เทา เปดสน เทา (คำวา “พ”่ี ) น้ำหนกั ตวั อยเู ทาขวา ชาย (ชายโอบอยูดานหลงั หญิง หนั หนา เขาในวง) มอื : มอื ทั้งสองจีบหงายระดบั อก แขนเหยยี ดตงึ จากนน้ั เคลือ่ นมือที่จบี หงายออกไป ขางลำตัว แลวมว นมอื ปลอยจีบออกเปล่ียนเปนต้ังวงกลาง ศีรษะ : เอยี งขวา ลำตวั : กดไหลขวา เทา : ยกเทาขวาวางหลงั (คำวา “ชืน่ ”) กา วเทา ซาย (คำวา “ชีวา”) กา วเทาขวา (คำวา “ขวัญ”) ยกเทา ซายวางหลังดว ยจมูกเทา เปดสนเทา (คำวา “พ่”ี ) น้ำหนักตัวอยูเทาขวา (พิมณภัทร ถมังรักษสัตว และสรุ ตั น จงดา, 2563 : สมั ภาษณ)

41 รำวงมาตรฐาน เพลงดวงจันทรข วัญฟา “ทา ชางประสานงา” (กรมศลิ ปากร, 2550 : 226) ภาพท่ี 38 ทารำ คำรอง “จันทรประจำราตรี” ท่มี า : สุดารตั น วัฒนพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญิงอยดู านหนาชาย หนั หนาออกนอกวง) มอื : หมุนแขนทง้ั สองขา งออกแลวจึงจีบหงายระดับอก เหยียดแขนตงึ ไปดานหนา ใหลำแขนขนานกัน มือจีบเขาหาลำแขน ศีรษะ : เอยี งซาย ลำตัว : กดไหลซ าย เทา : ยกเทาซายวางหลงั แลวกาวเทาขวา (คำวา “จนั ทร” ) กาวเทา ซาย (คำวา “ประจำ) ยกเทา ขวาวางหลงั ดวยจมูกเทา (คำวา “ราตร”ี ) เทา ซา ยอยูดานหนา นำ้ หนกั ตวั อยูเทาซา ย ชาย (ชายซอนอยดู านหลังหญิง หนั หนาออกนอกวง) มือ : หมุนแขนทง้ั สองขางออกแลวจึงจีบหงายระดบั อก เหยียดแขนตึงไปดานหนา ใหล ำแขนขนานกนั มือจีบเขาหาลำแขน ศีรษะ : เอยี งซา ย ลำตวั : กดไหลซาย เทา : ยกเทาซายวางหลงั แลวกา วเทา ขวา (คำวา “จนั ทร” ) กา วเทา ซาย (คำวา “ประจำ) ยกเทาขวาวางหลงั ดวยจมกู เทา เปดสน เทา (คำวา “ราตรี”) เทาซายอยูดานหนา นำ้ หนกั ตวั อยเู ทา ซา ย (พมิ ณภทั ร ถมงั รกั ษสตั ว และสุรัตน จงดา, 2563 : สมั ภาษณ)

42 รำวงมาตรฐาน เพลงดวงจนั ทรขวัญฟา “ทาจันทรทรงกลด” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 226) ภาพท่ี 39 ทารำ คำรอง “แตขวัญพ่ีประจำใจ” ท่ีมา : สุดารัตน วัฒนพฤติไพศาล (2560) อธิบายทา รำ หญิง (หญิงอยดู านหนา ชายโอบอยูดา นหลงั หญิง หนั หนา เขา ในวง) มอื : มือทั้งสองจีบหงายระดบั อก แขนเหยยี ดตึง จากน้นั เคลือ่ นมือที่จบี หงายออกไป ขางลำตัว แลว มว นมือปลอยจีบออกเปล่ียนเปนตั้งวงระดบั อก ศีรษะ : เอียงขวา ลำตวั : กดไหลขวา เทา : ยกเทาขวาวางหลงั (คำวา “แต”) กาวเทา ซาย (คำวา “ขวัญพ”่ี ) กา วเทาขวา (คำวา “ประ”) ยกเทาซา ยวางหลงั ดวยจมูกเทา เปด สน เทา (คำวา “จำใจ”) น้ำหนกั ตวั อยูเทา ขวา ชาย (ชายโอบอยดู านหลังหญงิ หนั หนา เขา ในวง) มือ : มอื ทัง้ สองจีบหงายระดบั อก แขนเหยยี ดตึง จากน้ันเคล่ือนมอื ท่ีจบี หงายออกไป ขางลำตัว แลว มวนมอื ปลอยจีบออกเปลี่ยนเปนต้ังวงกลาง ศีรษะ : เอียงขวา ลำตัว : กดไหลขวา เทา : ยกเทาขวาวางหลงั (คำวา “แต”) กา วเทาซาย (คำวา “ขวัญพ่”ี ) กาวเทา ขวา (คำวา “ประ”) ยกเทาซายวางหลงั ดว ยจมกู เทา (คำวา “จำใจ”) นำ้ หนกั ตัวอยูเ ทาขวา (พิมณภัทร ถมงั รกั ษสัตว และสรุ ตั น จงดา, 2563 : สมั ภาษณ)

43 รำวงมาตรฐาน เพลงดวงจนั ทรข วัญฟา “ทาชางประสานงา” (กรมศิลปากร, 2550 : 226) ภาพท่ี 40 ทา รำ คำรอง “ทเ่ี ทิดทนู คอื ชาต”ิ ท่ีมา : สุดารตั น วฒั นพฤติไพศาล (2560) อธบิ ายทา รำ หญงิ (หญงิ อยูดานหนา ชาย หันหนาออกนอกวง) มอื : หมุนแขนทัง้ สองขา งออกแลวจึงจีบหงายระดับอก เหยยี ดแขนตึงไปดานหนา ใหลำแขนขนานกนั มอื จบี เขาหาลำแขน ศรี ษะ : เอยี งซา ย ลำตัว : กดไหลซ า ย เทา : ยกเทาซายวางหลงั กาวเทาขวา (คำวา “ท่”ี ) กา วเทาซาย (คำวา “เทิดทนู ) ยกเทาขวาวางหลงั ดวยจมกู เทา (คำวา “คอื ชาติ”) เทาซา ยอยูด า นหนา น้ำหนกั ตวั อยเู ทาซา ย ชาย (ชายซอนอยูดานหลงั หญงิ หนั หนา ออกนอกวง) มือ : หมนุ แขนทง้ั สองขางออกแลว จงึ จีบหงายระดับอก เหยยี ดแขนตงึ ไปดานหนา ใหลำแขนขนานกนั มือจีบเขาหาลำแขน ศีรษะ : เอียงซา ย ลำตวั : กดไหลซ าย เทา : ยกเทาซา ยวางหลัง แลว กาวเทาขวา (คำวา “ท”ี่ ) กาวเทาซา ย (คำวา “เทดิ ทนู ) ยกเทาขวาวางหลงั ดวยจมูกเทา เปดสนเทา (คำวา “คอื ชาต”ิ ) เทา ซายอยูด านหนา นำ้ หนกั ตัวอยูเทา ซา ย (พิมณภทั ร ถมงั รักษส ัตว และสุรัตน จงดา, 2563 : สัมภาษณ)

44 รำวงมาตรฐาน เพลงดวงจันทรขวัญฟา “ทาจนั ทรทรงกลด” แปลง (กรมศิลปากร, 2550 : 226) ภาพที่ 41 ทา รำ คำรอ ง “เอกราชอธปิ ไตย” ท่มี า : สุดารัตน วฒั นพฤตไิ พศาล (2560) อธบิ ายทา รำ หญงิ (หญิงอยดู า นหนา ชายโอบอยูด านหลงั หญงิ หันหนาเขาในวง) มอื : มือท้ังสองจบี หงายระดบั อก แขนเหยียดตงึ จากนั้นเคลอ่ื นมือทีจ่ บี หงายออกไป ขางลำตวั แลวมว นมือปลอยจีบออกเปลี่ยนเปนตั้งวงระดบั อก ศรี ษะ : เอียงขวา ลำตัว : กดไหลข วา เทา : ยกเทาขวาวางหลัง (คำวา “เอก”) กาวเทา ซาย (คำวา “ราช”) กา วเทาขวา (คำวา “ธิป”) ยกเทาซายวางหลังดวยจมูกเทา เปดสนเทา (คำวา “ไตย”) นำ้ หนักตวั อยูเทาขวา ชาย (ชายโอบอยูดานหลังหญิง หันหนา เขา ในวง) มอื : มอื ท้งั สองจีบหงายระดับอก แขนเหยียดตงึ จากนัน้ เคล่อื นมือท่ีจีบหงายออกไป ขางลำตวั แลวมวนมือปลอยจีบออกเปลยี่ นเปนตั้งวงกลาง ศรี ษะ : เอียงขวา ลำตัว : กดไหลข วา เทา : ยกเทาขวาวางหลัง (คำวา “เอก”) กา วเทาซาย (คำวา “ราช”) กา วเทาขวา (คำวา “ธิป”) ยกเทาซายวางหลังดว ยจมกู เทา เปด สน เทา (คำวา “ไตย”) นำ้ หนักตวั อยเู ทาขวา (พมิ ณภทั ร ถมงั รกั ษส ัตว และสรุ ัตน จงดา, 2563 : สัมภาษณ)