Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตรฯ ระดับพื้นฐาน

คู่มือหลักสูตรฯ ระดับพื้นฐาน

Published by NCD e-Learning, 2021-11-29 07:48:09

Description: คู่มือหลักสูตรฯ ระดับพื้นฐาน

Search

Read the Text Version

ภาคผนวก ข ขัน้ ตอนการลงทะเบียนเรียน – การเข้าเรยี น หลกั สูตรฯ 1. เข้าเว็ปไซตก์ ารเรยี นออนไลน์ไดท้ ี่ https://ncde-learning.ddc.moph.go.th 2. เลือกเขา้ สรู่ ะบบหลกั สูตร ระดบั พน้ื ฐาน 3. เลอื กลงทะเบยี นใหม่ สำหรับผ้เู รียนใหม่ โดยกรอกรายละเอียดใหค้ รบถ้วน โดยเฉพาะชอื่ -นามสกุล สำหรับ พมิ พใ์ บประกาศ และใช้ Username – Password ท่ีสมัครสำหรับเข้าสู่ระบบ หลกั สตู รการเพิ่มสมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (ระดับพนื้ ฐาน) : 90

4. ขั้นตอนการเรียนในระบบออนไลน์ 4.2 กรณลี มื Username – Password ทีส่ มคั รคลกิ ลมื ชื่อผูใ้ ช้หรอื รหสั ผา่ น 4.1 เข้าส่รู ะบบ โดยใช้ Username – Password ท่สี มคั ร ระบบจะให้กรอก E-mail ทสี่ มัครลงทะเบียน เพื่อส่ง Username – Password ทีเ่ คยสมัคร 4.3 ขั้นตอนการเรียน หลักสตู รการเพ่มิ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู (ระดับพืน้ ฐาน) : 91

QR Code หลกั สูตรการเพิม่ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดบั พน้ื ฐาน) หลกั สตู รการเพมิ่ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (ระดับพ้ืนฐาน) : 92

ภาค แบบสำรวจบุคล ในการดำเนนิ งาน NC …………………………………… คำชแ้ี จง : ขอความกรุณาใหผ้ ู้ตอบแบบสำรวจตอบตามความเปน็ จริง เพือ่ เปน็ ประโยชนใ์ นการวเิ คร โปรดทำเคร่อื งหมายใสต่ วั เลขหรือข้อความลงในตาราง สว่ นที่ 1 System Manage (SM) ผตู้ อบ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานปอ้ งกนั ควบคุมโรค/สปคม, สำ ลำดับ ชื่อสำนักงาน จำนวน System Manage (SM) (คน สว่ นท่ี 2 ผ้จู ดั การรายกรณีโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (Case Manager: CM), นกั โภชน ผู้ตอบ เจ้าหนา้ ท่ีของโรงพยาบาล ลำดับ ช่อื โรงพยาบาล จำนวน จำนวนผผู้ า่ นการอบรมผู้จัดการรายกรณี ผู้จัดการรายกรณี (CM DM/HT) (คน) (CM DM/HT) หลกั สตู ร 4 หลักสูตร 4 หลักสูตร อืน่ ๆ (คน) เดอื น จาก เดือน เชน่ Mini สภาการ จากวิทยาลัยการ CM, CNN พยาบาล พยาบาลฯ/ มหาวิทยาลัย

คผนวก ค ลากรด้านโรคไม่ตดิ ต่อ CD Clinic Plus ปี 2562 ……………………………………………… ราะห์และสรปุ ผลในภาพรวมตอ่ ไป ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั และสำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอ น) จำนวน ผผู้ า่ นการอบรมหลกั สตู ร อ่ืนๆ เชน่ ชือ่ หลักสูตรในกรณีทผี่ า่ นการอบรมหลกั สูตรอื่นๆ CM DM/HT, Mini CM, CNN (คน) (ระยะเวลาอบรม) นาการ/นักกำหนดอาหาร, นักกายภาพบำบดั /นกั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา, ผ้ปู ่วยทง้ั หมดใน NCD Clinic ชือ่ หลักสตู รในกรณี จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ท่ผี ่านการอบรม ผ้จู ัดการราย ผชู้ ่วย ผูใ้ ห้ นกั โภชนาการ/ นัก ผูป้ ่วยทั้งหมด กรณีปฏบิ ตั ิ ผู้จดั การราย คำปรกึ ษา ๆ หลกั สูตรอ่นื ๆ หน้าทดี่ ้านโรค กรณี รายกลุ่ม/ นกั กำหนด กายภาพบำบัด/ ใน NCD (ระยะเวลาอบรม) (คน) รายกรณี อาหาร นักวิทยาศาสตร์ Clinic ไม่ติดต่อ (คน) (คน) 1 เดือน (คน) การกฬี า (คน) (คน) สำนักโรคไม่ติดตอ่ กรมควบคุมโรค ขอขอบพระคณุ ที่ให้ความร่วมมอื ตอบแบบสำรวจในครัง้ นี้ หลกั สตู รการเพม่ิ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดบั พื้นฐาน) : 93

ภาคผนวก ง แบบประเมินความพงึ พอใจการใช้บทเรยี นออนไลน์ หลกั สูตรการเพม่ิ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง คำช้ีแจง แบบประเมินฉบบั นี้มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อสอบถามความพงึ พอใจของผูเ้ รียนในการใช้บทเรยี นออนไลน์ ของหลกั สูตรการเพิ่มสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แบ่งเป็น 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ (ปี) ตำ่ กว่า 30 ปี 30 – 40 ปี 41–50ปี มากกวา่ 50 ปี 3. ตำแหนง่ แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ นกั กายภายบำบัด นักวชิ าการสาธารณสุข แพทยแ์ ผนไทย เภสัชกร อ่นื ๆ ระบ.ุ ........................ 4. อายุงานดา้ น NCD (ปี) 1-3 ปี 3-6 ปี 6-10 ปี 10 ปีข้ึนไป 5. สถานท่ีปฏบิ ตั ิงาน ................................................................................................................................. ตอนที่ 2 ความพึงพอใจ โปรดทำเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องระดับความพึงพอใจตามความเป็นจริงเกี่ยวกับการใช้บทเรียน ออนไลน์ในคร้งั นี้ ดังน้ี 5= มากทส่ี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1= นอ้ ยทส่ี ุด รายการ ระดบั ความพึงพอใจ 54321 1. ด้านเนื้อหา 1.1 เน้ือหามกี ารแบง่ หวั ข้อท่ีชดั เจนและเหมาะสม 1.2 ความน่าสนใจและการดึงดดู ความสนใจ 1.3 เนอื้ หามคี วามถูกตอ้ ง ครบถว้ นและทันสมัย 1.4 การถ่ายทอดความรขู้ องผู้สอนในแตล่ ะบทเรยี น 1.5 ภาษาท่ีใช้ในบทเรียนเขา้ ใจงา่ ย 1.6 ปริมาณเนอื้ หา และระยะเวลาสอนในแต่ละบทเรียนมีความเหมาะสม 2. ด้านการออกแบบ 2.1 บทเรยี นได้รับการออกแบบใหผ้ ้เู รียนคน้ หาเนอ้ื หาไดง้ ่าย และตรงตาม ความต้องการ 2.2 การลงทะเบียน และการเขา้ ถงึ 2.3 ความเหมาะสมในการใช้สี ภาพ และตวั อกั ษร 3. ดา้ นการนำไปใช้ 3.1 การนำความรทู้ ี่ได้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทำงาน 3.2 หลักสูตรนีม้ ปี ระโยชน์ และควรต่อยอดเน้ือหาในปงี บประมาณตอ่ ไป 4. ความพึงพอใจในภาพรวมหลกั สูตร ตอนท่ี 3 เนอ้ื หาทต่ี ้องการศกึ ษาในปงี บประมาณต่อไป และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม .............................................................................................................. ................................................................ -ขอบคุณสำหรับการตอบแบบประเมนิ - หลักสตู รการเพมิ่ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (ระดับพน้ื ฐาน) : 94

ภาคผนวก จ รายงานผลการดำเนนิ งานจดั ทำหลกั สูตร การเพมิ่ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสงู (ระดับพืน้ ฐาน) ปีงบประมาณ 2564 รอบ 12 เดือน การดำเนินงานจัดทำหลักสูตรการเพ่ิมสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดับพ้ืนฐาน) ในปีงบประมาณ 2563 ซ่ึงเริ่มเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ ในเดือนพฤศจิกายน 2563 โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คอื ทีมสหสาขาวชิ าชพี และผ้ปู ฏบิ ัติงานใน Clinic NCD ข้อมูลประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลผู้เข้าเรียน ส่วนท่ี 2 การเรียน และผลการสอบของผู้เรียน ส่วนท่ี 3 การประเมินความพงึ พอใจการใชบ้ ทเรยี นออนไลน์หลักสูตรฯ รายละเอียดดงั นี้ ส่วนที่ 1 ข้อมลู ผู้เขา้ เรยี น หลักสูตรการเพิ่มสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดับพื้นฐาน) ข้อมูลรอบ 12 เดือน โดยมีผู้เข้าเรียนทั้งหมด 2,600 คน ผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 2,300 คน (ร้อยละ 88.46) เพศชาย จำนวน 267 คน (รอ้ ยละ 10.27) อายุระหวา่ ง 41-50 ปี มากที่สุด จำนวน 987 คน (ร้อยละ 37.96) รองลงมา อายุ 30-40 ปี จำนวน 617 คน (ร้อยละ 23.73) และอายุต่ำกว่า 30 ปี จำนวน 535 คน (ร้อยละ 20.58) ตามลำดับ จบการศึกษา ระดับการศึกษาปริญญาตรีมากที่สุด จำนวน 1,980 คน (ร้อยละ 76.15) รองลงมาปริญญาโท จำนวน 400 คน (รอ้ ยละ 15.38) และตำ่ กวา่ ปริญญาตรี 183 คน (รอ้ ยละ 7.04) ตามลำดับ ผู้เรียนส่วนใหญ่มีตำแหน่งเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 1,903 คน (ร้อยละ 73.19) รองลงมาตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 380 คน (ร้อยละ 14.62) และไม่ระบุตำแหน่ง จำนวน 132 คน (ร้อยละ 5.08) ตามลำดับ อายุงานด้าน NCD ของผู้เรียนอยู่ระหว่าง 1-5 ปี จำนวน 771 คน (ร้อยละ 29.65) รองลงมา 10 ปีขึ้นไป จำนวน 695 คน (รอ้ ยละ 26.73) และ 6-10 ปี จำนวน 551 คน (ร้อยละ 21.19) ตามลำดับ และส่วนใหญ่เป็นผู้เรียน ที่ปฏิบัตงิ านสว่ นภูมภิ าค จำนวน 2,029 คน (ร้อยละ 78.04) ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย/์ โรงพยาบาลทั่วไป/ โรงพยาบาล ชุมชน, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รองลงมาสังกัดในหน่วยงานกระทรวง สาธารณสุข จำนวน 287 คน (รอ้ ยละ 11.04) และหน่วยงานอน่ื จำนวน 284 คน (ร้อยละ 10.92) ตามลำดบั ดังตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ข้อมลู ผู้เขา้ เรียนหลักสูตรการเพม่ิ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดับพนื้ ฐาน) รอบ 12 เดือน N=2,600 คน (ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564) ขอ้ มลู ทั่วไป หญงิ จำนวน (คน) ร้อยละ เพศ ชาย ไม่ระบุ 2,300 88.46 อายุ (ปี) ต่ำกวา่ 30 ปี 267 10.27 33 1.27 535 20.58 หลกั สตู รการเพิม่ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู (ระดับพื้นฐาน) : 96

ขอ้ มลู ทว่ั ไป 30 – 40 ปี จำนวน (คน) ร้อยละ ระดับการศึกษา 41 – 50 ปี 617 23.73 ตำแหนง่ มากกวา่ 50 ปี 987 37.96 ไมร่ ะบุ 456 17.54 อายุงานด้าน NCD (ป)ี ต่ำกวา่ ปริญญาตรี 5 0.19 สงั กัดหนว่ ยงาน ปรญิ ญาตรี 183 7.04 ปรญิ ญาโท 1,980 76.15 ปริญญาเอก 400 15.38 ไม่ระบุ 25 0.96 แพทย์ 12 0.46 พยาบาลวิชาชีพ 48 1.85 นกั วชิ าการสาธารณสุข 1,903 73.19 อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้าน (อสม) 380 14.62 เภสชั กร 66 2.54 นกั โภชนาการ 19 0.73 นกั กายภาพบำบัด 27 1.04 อืน่ ๆ (แพทย์แผนไทย,นักรังสกี ารแพทย์, 13 0.50 ผช นายทะเบียน) 12 0.46 ไมร่ ะบุ น้อยกวา่ 1 ปี 132 5.08 1– 5 ปี 418 16.08 6–10 ปี 771 29.65 10 ปีข้นึ ไป 551 21.19 ไมร่ ะบุ 695 26.73 ส่วนกลาง 165 6.35 หนว่ ยงานภายในกระทรวงสาธารณสขุ 287 11.04 - สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 61 - กรมควบคมุ โรค 28 - กรมการแพทย์ 24 - กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ 12 ทางเลอื ก 4 - กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ 6 - กรมสุขภาพจติ 39 - กรมอนามัย หลักสตู รการเพมิ่ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง (ระดับพืน้ ฐาน) : 97

ขอ้ มูลท่วั ไป จำนวน (คน) ร้อยละ 78.04 - อ่นื ๆ 113 ส่วนภมู ิภาค 2,029 10.92 33 - สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 623 - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 962 - โรงพยาบาลศูนย์ / ท่ัวไป /ชมุ ชน 310 - สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัด 98 - สำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอ - ไม่ระบุ 3 หนว่ ยงานอ่นื 284 หนว่ ยงานภายนอกกระทรวงสาธารณสุข 206 ไมร่ ะบุ 78 หลกั สตู รการเพ่ิมสมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง (ระดับพ้ืนฐาน) : 98

ส่วนท่ี 2 การเรยี น และผลการสอบของผูเ้ รยี น การเรียน และผลการสอบของผู้เรียน พบว่า ผู้เข้าเรียนท้ังหมด จำนวน 2,600 คน มีผู้ผ่านหลักสูตรท้ังหมด จำนวน 700 คน คิดเป็นร้อยละ 26.92 ของผูเ้ รยี นทั้งหมด รายละเอียดดังน้ี หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 หัวข้อเป้าหมาย สถานการณ์การบริการ, แนวทางการพัฒนาการบริการผู้ป่วย NCDs และการประเมินภาวะ สุขภาพโรคเบาหวาน พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 1,134 คน และความดันโลหิตสูง จำนวน 676 คน ส่วนผลการทดสอบก่อน และหลังการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ไม่มีเนื่องจากเป็นการเรียนรู้วิชาการเบ้ืองต้นเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจสำหรับ ผู้เรยี น หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 2.1 การวัดรอบเอว พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 1,031 คน การชั่งน้ำหนัก และดัชนีมวลกาย (BMI) พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 855 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 1,290 คน สอบ Post-Test จำนวน 1,152 คน สอบผ่าน 982 คน คิดเปน็ ร้อยละ 85.24 และสอบไมผ่ ่าน จำนวน 170 คน คดิ เป็นร้อยละ 14.76 2.2 การตรวจน้ำตาลในเลือดจากปลายน้ิว พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 661 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 1,064 คน สอบ Post-Test จำนวน 1,009 คน สอบผ่าน 977 คน คิดเป็นร้อยละ 96.83 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 3.17 2.3 การวัดความดันโลหิต / HBPM / OBPM พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 546 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 986 คน สอบ Post-Test จำนวน 949 คน สอบผ่าน 926 คน คิดเป็นร้อยละ 97.58 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 23 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.42 2.4 ทักษะการใช้ MI แบบพื้นฐาน พบว่า มีผู้เรียน Part 1 จำนวน 562 คน Part 2 จำนวน 457 คน ผู้เรียนเข้า สอบ Pre-Test จำนวน 913 คน สอบ Post-Test จำนวน 872 คน สอบผ่าน 807 คน คิดเป็นร้อยละ 92.55 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 65 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.45 2.5 การประเมนิ ปจั จยั เสี่ยง 2.5.1 ประเมินและบำบัดแก้ไขปัจจัยเสี่ยง (บุหรี่) พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 515 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 847 คน สอบ Post-Test จำนวน 812 คน สอบผ่าน 777 คน คิดเป็นร้อยละ 95.69 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 35 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4.31 2.5.2 ภาวะซึมเศร้า พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 372 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 825 คน สอบ Post-Test จำนวน 820 คน สอบผา่ น 814 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 99.27 และสอบไมผ่ ่าน จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.73 2.5.3 ประเมินโอกาสเส่ียงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 398 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 804 คน สอบ Post-Test จำนวน 788 คน สอบผ่าน 766 คน คิดเป็นร้อยละ 97.21 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 22 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.79 2.6 การออกกำลังกาย พบว่า มีผู้เรียน Part 1 จำนวน 370 คน Part 2 จำนวน 352 คน ผู้เรียนเขา้ สอบ Pre-Test จำนวน 769 คน สอบ Post-Test จำนวน 786 คน สอบผ่าน 771 คน คิดเป็นร้อยละ 98.09 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 1.91 2.7 การจัดอาหารจากสุขภาพ พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 391 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 777 คน สอบ Post-Test จำนวน 763 คน สอบผ่าน 750 คน คิดเป็นร้อยละ 98.30 และสอบไมผ่ า่ น จำนวน 13 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.70 หลักสตู รการเพมิ่ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (ระดับพ้ืนฐาน) : 95

2.8 การใช้ยาในโรคเร้ือรังอย่างถูกต้อง พบว่า มีผู้เรียน Part 1 จำนวน 441 คน Part 2 จำนวน 337 คน ผู้เรียน เข้าสอบ Pre-Test จำนวน 773 คน สอบ Post-Test จำนวน 743 คน สอบผ่าน 720 คน คิดเป็นร้อยละ 94.48 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 41 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5.52 2.9 การตรวจเท้าพื้นฐาน (Complete foot Exam) พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 437 คน ผู้เรียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 767 คน สอบ Post-Test จำนวน 754 คน สอบผ่าน 708 คน คิดเป็นร้อยละ 93.90 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 46 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.10 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 3.1 การเยยี่ มบา้ นผ้ปู ่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบว่า มีผู้เรียน จำนวน 369 คน ผูเ้ รียนเข้าสอบ Pre-Test จำนวน 782 คน สอบ Post-Test จำนวน 766 คน สอบผ่าน 741 คน คิดเป็นร้อยละ 96.74 และสอบไม่ผ่าน จำนวน 25 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.26 จากข้อมูลข้างต้น พบว่า หัวข้อที่มีผู้เรียนมากที่สุด ได้แก่ หัวข้อเป้าหมาย สถานการณ์การบริการ, แนวทางการพัฒนา การบรกิ ารผู้ป่วย NCDs และการประเมินภาวะสขุ ภาพโรคเบาหวาน จำนวน 1,134 คน รองลงมาได้แก่ หวั ข้อการวดั รอบเอว จำนวน 1,031 คน และหัวข้อการช่ังน้ำหนัก และดัชนีมวลกาย (BMI) จำนวน 855 คน ตามลำดับ ส่วนหัวข้อท่ีมีผู้สอบผ่าน มากท่ีสุด ได้แก่ หัวข้อภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 99.27 รองลงมาได้แก่ หัวข้อการจัดอาหารจานสุขภาพ ร้อยละ 98.30 และหัวข้อการออกกำลังกาย ร้อยละ 98.09 ตามลำดับ และหัวข้อท่ีมีผู้สอบไม่ผ่านมากที่สุด ได้แก่ การวัดรอบเอว การชั่งน้ำหนัก และดัชนีมวลกาย (BMI) ร้อยละ 14.76 รองลงมา ได้แก่ หัวข้อทักษะการใช้ MI แบบพ้ืนฐาน ร้อยละ 7.45 และหัวข้อ การตรวจเท้าพน้ื ฐาน (Complete foot Exam) ร้อยละ 6.10 รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 2 หลักสตู รการเพิม่ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสงู (ระดับพนื้ ฐาน) : 96

ตารางที่ 2 ขอ้ มูลแสดงจำนวนและรอ้ ยละของการเรียน - การสอบ บทเรยี น จำนวน จำนวนดาวน์ จำนวนท ดูวิดีโอ โหลดเอกสาร แบบฝึกห หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 โรคเบาหวาน 1,134 773 โรคความดันโลหิตสูง 676 493 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 2.1 การวดั รอบเอว การช่ังนำ้ หนัก และ 1,031 728 604 ดัชนมี วลกาย (BMI) ตอนท่ี 1 การวดั รอบเอว 855 245 ตอนท่ี 2 การชง่ั นำ้ หนัก-BMI 166 661 ชุดที่ 1 : 532 2.2 การตรวจน้ำตาลในเลือดจากปลายนว้ิ ชุดที่ 2 : 401 2.3 การวัดความดันโลหติ / HBPM / 546 544 OBPM 562 582 2.4 ทักษะการใช้ MI แบบพนื้ ฐาน 457 ตอนที่ 1 515 501 ตอนที่ 2 2.5.1 การประเมนิ และบำบดั แก้ไขปัจจยั 372 350 เส่ียง (บหุ รี)่ 398 ชุดท่ี 1 : 397 2.5.2 ภาวะซมึ เศรา้ 2.5.3 การประเมินโอกาสเส่ียงตอ่ การเกิด

ทำ Pre-test Post-Test หัด เขา้ สอบ เขา้ สอบ สอบผา่ น รอ้ ยละ สอบไม่ รอ้ ยละผสู้ อบ ผสู้ อบผา่ น ผ่าน ไมผ่ ่าน 1,290 1,152 982 85.24 170 14.76 1,064 1,009 977 96.83 32 3.17 986 949 926 97.58 23 2.42 913 872 807 92.55 65 7.45 847 812 777 95.69 35 4.31 825 820 814 99.27 6 0.73 804 788 766 97.21 22 2.79 หลักสตู รการเพ่มิ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดบั พ้นื ฐาน) : 97

บทเรยี น จำนวน จำนวนดาวน์ จำนวนท โรคหัวใจและหลอดเลือด ดวู ิดีโอ โหลดเอกสาร แบบฝกึ ห ชุดที่ 2 : 292 2.6 การออกกำลงั กาย 370 ชุดท่ี 1 : 370 ตอนท่ี 1 352 ชดุ ท่ี 2 : 278 ตอนที่ 2 2.7 การจัดอาหารจานสุขภาพ ชดุ ท่ี 1 : 422 2.8 การใชย้ าในโรคเรอ้ื รังอยา่ งถูกต้อง 391 ชดุ ที่ 2 : 291 ตอนที่ 1 ตอนท่ี 2 ชุดท่ี 3 : 328 2.9 การตรวจเท้าพน้ื ฐาน (Complete foot Exam) 441 ชดุ ท่ี 1 : 468 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 337 ชุดท่ี 2 : 412 3.1 การเยี่ยมบา้ นผปู้ ว่ ยโรคไมต่ ดิ ต่อเร้ือรัง 437 437 369 ชดุ ที่ 1 : 361 ชุดที่ 2 : 273

ทำ Pre-test Post-Test หัด เขา้ สอบ เขา้ สอบ สอบผา่ น ร้อยละ สอบไม่ ร้อยละผู้สอบ ผสู้ อบผ่าน ผา่ น ไม่ผา่ น 796 786 771 98.09 15 1.91 1.70 777 763 750 98.30 13 5.52 6.10 773 743 702 94.48 41 3.26 767 754 708 93.90 46 782 766 741 96.74 25 หลกั สตู รการเพิม่ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง (ระดบั พื้นฐาน) : 98

ส่วนท่ี 3 การประเมินความพึงพอใจการใช้บทเรียนออนไลน์หลักสูตรการเพ่ิมสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและ ความดนั โลหิตสงู (ระดบั พ้ืนฐาน) รอบ 12 เดอื น ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการใช้บทเรียนออนไลน์หลกั สูตรการเพ่ิมสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (ระดับพ้ืนฐาน) การประเมินประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจ ด้านเน้ือหา /ด้านการออกแบบ/ด้านการนำไปใช้ และความพึงพอใจในภาพรวมหลักสูตร ส่วนที่ 3 เน้ือหาท่ีต้องการศึกษาใน ปงี บประมาณต่อไป และขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือค้นหาจุดแข็งและจุดท่ีควรแก้ไขของหลักสูตร ด้านเน้ือหา การออกแบบ การนำไปใช้ ความพึงพอใจ ในภาพรวมหลักสูตร 2. เพือ่ นำขอ้ มลู พรอ้ มขอ้ เสนอแนะไปปรบั ปรุงและวางแผนการดำเนนิ งานในปีงบประมาณถัดไป 3. เพ่ือทราบถงึ ระดับความพึงพอใจและความตอ้ งการของผเู้ รียนต่อการใช้บทเรียนออนไลน์ในหลักสตู รฯ แบบสอบถามการประเมินความพึงพอใจแบ่งออกเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ของ ลิเคอร์ท สเกล (Likert Scale) โดยกำหนดคา่ ระดบั ดงั น้ี 5 คะแนน หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากทสี่ ดุ 4 คะแนน หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 1 คะแนน หมายถงึ มีความพึงพอใจนอ้ ยทีส่ ดุ คา่ ระดับความพึงพอใจ แปลผลได้ดังน้ี หมายถึง น้อยท่สี ุด คะแนนเฉลี่ย ต่ำกว่า 1.50 หมายถึง นอ้ ย คะแนนเฉล่ยี 1.51 - 2.50 หมายถึง ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง มาก คะแนนเฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถงึ มากท่ีสดุ คะแนนเฉล่ีย 4.51 - 5.00 ส่วนที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไป จากการตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าเรียนออนไลน์ในหลักสูตรการเพ่ิมสมรรถนะการจัดการ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดับพ้ืนฐาน) พบว่า มีผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจทั้งสิ้น จำนวน 775 คน คิดเป็นร้อยละ 48 ของผู้ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ซง่ึ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ จำนวน 693 คน (รอ้ ยละ 89.42) เพศชาย จำนวน 72 คน (ร้อยละ 9.29) มีอายุระหว่าง 41-50 ปี มากที่สุด จำนวน 244 คน (ร้อยละ 31.48) รองลงมา อายุต่ำกว่า 30 ปี จำนวน 228 คน (ร้อยละ 29.42) และอายุ 30-40 ปี จำนวน 194 คน (ร้อยละ 25.03) ตามลำดับ ตำแหน่งส่วนใหญ่ เป็นพยาบาลวิชาชพี จำนวน 505 คน (ร้อยละ 65.16) รองลงมาตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 93 คน (ร้อยละ 12) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 42 คน (ร้อยละ 5.42) ตามลำดับ อายุงานด้าน NCD (ปี) หลักสตู รการเพม่ิ สมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู (ระดับพนื้ ฐาน) : 99

อยู่ระหว่าง 1-5 ปี จำนวน 225 คน (ร้อยละ 29.03) รองลงมา 10 ปีขึ้นไป จำนวน 182 คน (ร้อยละ 23.48) และน้อยกว่า 1 ปี จำนวน 153 คน (ร้อยละ 19.74) ตามลำดับ จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี จำนวน 559 คน (ร้อยละ 72.13) รองลงมาตำ่ กว่า ปริญญาตรี จำนวน 125 คน (ร้อยละ 16.13) และ ปริญญาโท 83 คน (ร้อยละ 10.71) ตามลำดับ หน่วยงานสังกัดส่วนใหญ่ ปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาค จำนวน 578 คน (ร้อยละ 74.58) แบ่งเป็นโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน มากที่สุด รองลงมา โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล และ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัด ตามลำดับ ดงั ตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 ข้อมูลท่ัวไปของเข้าเรียนออนไลน์หลักสูตรการเพ่ิมสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดบั พ้ืนฐาน) ทปี่ ระเมินผลความพึงพอใจ N=775 (ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 ก.ย. 64) ข้อมลู ทั่วไป หญงิ จำนวน (คน) รอ้ ยละ เพศ ชาย 693 89.42 อายุ ไม่ระบุ 72 9.29 ตำแหนง่ ตำ่ กว่า 30 ปี 10 1.29 30 – 40 ปี 228 29.42 อายงุ านดา้ น NCD (ปี) 41 – 50 ปี 194 25.03 มากกว่า 50 ปี 244 31.48 ระดับการศึกษา ไม่ระบุ 106 13.68 แพทย์ 3 0.39 พยาบาล 14 1.81 นักวิชาการสาธารณสุข 505 65.16 อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหม่บู า้ น (อสม) 93 12.00 อื่นๆ (นักกายภาพบำบัด,เภสัชกร,โภชนากร 42 5.42 ฯลฯ) 11 1.42 ไมร่ ะบุ นอ้ ยกว่า 1 ปี 110 14.19 1– 5 ปี 153 19.74 5-10 225 29.03 6–10 ปี 145 18.71 10 ปขี ้ึนไป 182 23.48 ไม่ระบุ 70 9.03 ต่ำกว่าปรญิ ญาตรี 82 13.51 ปริญญาตรี 125 16.13 ปรญิ ญาโท 559 72.13 ปรญิ ญาเอก 83 10.71 ไม่ระบุ 4 0.52 4 0.52 หลักสตู รการเพ่มิ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ระดบั พนื้ ฐาน) : 100

ข้อมูลทว่ั ไป ส่วนกลาง จำนวน (คน) ร้อยละ สังกดั หนว่ ยงาน หนว่ ยงานภายในกระทรวงสาธารณสขุ 9.81 ส่วนภมู ภิ าค 76 74.58 สำนกั งานป้องกันควบคมุ โรคท่ี 1-12 76 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 578 15.61 โรงพยาบาลศนู ย์ / ทวั่ ไป /ชุมชน 11 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั 192 สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอ 240 ไม่ระบุ 83 หนว่ ยงานอืน่ 23 หนว่ ยงานภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ 29 ไมร่ ะบุ 121 73 48 สว่ นที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา /ด้านการออกแบบ/ด้านการนำไปใช้ และความพงึ พอใจในภาพรวมหลักสตู ร ผลประเมินความพึงพอใจด้านเน้ือหา/ด้านการออกแบบ/ด้านการนำไปใช้ และความพึงพอใจในภาพรวม หลกั สูตรภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก” โดยมีคา่ เฉลีย่ รวม เทา่ กับ 4.50 ดงั ตารางที่ 4 ด้านเน้ือหา ผู้เข้าเรียนส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ “มาก” ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.48 โดยผู้เรียนเห็นว่า เนอื้ หามคี วามถกู ต้อง ครบถว้ น และทนั สมยั ดา้ นการออกแบบ ผเู้ ขา้ เรียนสว่ นใหญ่ มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับ “มากท่ีสุด” ค่าเฉล่ียเทา่ กับ 4.46 โดยผู้เรยี น พงึ พอใจในรูปแบบการลงทะเบยี น และการเข้าถึงเนือ้ หา ด้านการนำไปประยุกต์ใช้ ผู้เข้าเรียนส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ “มากที่สุด” ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.61 โดยผเู้ ข้าเรียนเห็นว่าหลกั สูตรน้มี ีประโยชน์ สามารถนำไปปรบั ใช้ในการทำงาน และควรตอ่ ยอดเนอ้ื หาในปงี บประมาณตอ่ ไป ตารางที่ 4 ความพึงพอใจด้านเน้ือหา /ด้านการออกแบบ/ด้านการนำไปใช้ และความพึงพอใจในภาพรวมหลักสูตร (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 ก.ย. 64) รายการ ระดบั ความพึงพอใจ จำนวน (ร้อยละ) คา่ เฉลยี่ ผลลัพธ์ 1. ดา้ นเนอ้ื หา มากทีส่ ุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 4.52 มากทีส่ ดุ 1.1 เน้ือหามีการแบ่งหวั ข้อท่ีชดั เจนและ กลาง ท่สี ุด 4.46 มาก เหมาะสม 370 351 37 0 17 1.2 ความนา่ สนใจและการดงึ ดดู ความ (47.74) (45.29) (4.77) (2.19) สนใจ 331 373 54 17 0 (42.71) (48.13) (6.97) (2.19) หลักสตู รการเพ่ิมสมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง (ระดับพื้นฐาน) : 101

ระดบั ความพึงพอใจ จำนวน (ร้อยละ) รายการ มากท่ีสุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ค่าเฉลย่ี ผลลัพธ์ 4.48 มาก กลาง ท่สี ุด 4.49 มาก 4.47 มาก 1.3 เนอ้ื หามีความถูกตอ้ ง ครบถ้วนและ 389 329 39 18 0 4.46 มาก ทนั สมัย (50.19) (42.45) (5.03) (2.32) 4.43 มาก 1.4 การถา่ ยทอดความร้ขู องผู้สอนในแต่ 299 420 39 17 0 4.50 มาก 4.46 มาก ละบทเรียน (38.58) (54.19) (5.03) (2.19) 4.61 มากท่ีสดุ 1.5 ภาษาที่ใช้ในบทเรยี นเขา้ ใจง่าย 404 316 21 17 17 4.60 มากท่สี ุด 4.56 มากท่ีสุด (52.13) (40.77) (2.71) (2.19) (2.19) 4.50 มาก 1.6 ปรมิ าณเนอื้ หา และระยะเวลาสอนใน 366 336 55 1 17 แตล่ ะบทเรยี นมีความเหมาะสม (47.23) (43.35) (7.10) (0.13) (2.19) 2. ดา้ นการออกแบบ 2.1 บทเรียนได้รบั การออกแบบให้ผู้เรยี น 383 285 90 0 17 คน้ หาเนื้อหาไดง้ ่าย และตรงตามความ (49.42) (36.77) (11.61) (2.19) ตอ้ งการ 2.2 การลงทะเบยี น และการเขา้ ถงึ 394 325 39 17 0 (50.84) (41.94) () () 2.3 ความเหมาะสมในการใช้สี ภาพ และ 349 316 93 0 17 ตัวอกั ษร (45.03) (40.77) (12.0) (2.19) 3. ดา้ นการนำไปใช้ 3.1 การนำความรูท้ ี่ได้ไปประยุกตใ์ ชใ้ น 517 222 2 34 0 การทำงาน (66.71) (28.65) (0.26) (4.39) 3.2 หลักสูตรนีม้ ีประโยชน์ และควรตอ่ 466 255 37 0 17 ยอดเนอื้ หาในปงี บประมาณต่อไป (60.13) (32.90) (4.77) (2.19) 4. ความพึงพอใจในภาพรวมหลักสูตร 412 291 38 17 17 (53.16) (37.55) (4.90) (2.19) (2.19) ค่าเฉลีย่ รวม หลักสตู รการเพิ่มสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู (ระดับพื้นฐาน) : 102

ส่วนที่ 3 เน้ือหาทีต่ อ้ งการศึกษาในปงี บประมาณต่อไป และข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ 3.1 เนอื้ หาที่ต้องการศึกษาและต่อยอดในปีงบประมาณต่อไป ดังนี้ 1) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม: เทคนิคการให้คำปรึกษา/การดูแล เชน่ การล้างไต/อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไต, การทำ Health literacy ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงอย่างง่าย, อาหารสำหรับผู้ป่วยในกลุ่มต่างๆ เช่น การควบคุม อาหารในกล่มุ Uncontrol เป็นตน้ 2) หัวข้อการเย่ียมบ้าน: ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยไตวายเร้ือรังระยะสุดท้ายท่ีเข้ารับการรักษาบำบัด ทดแทนไตดว้ ยวิธี CAPD, การมสี ว่ นรว่ มของครอบครัว 3) ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน: การตรวจประเมินภาวะน้ำตาลสูง, การตรวจจอประสาทตา การอ่านผลจอประสาทตา การรักษาและแนะนำ, การแก้ไขผู้ป่วยเบาหวานท่ีมีภาวะผิดปกติ, การควบคุมระดับน้ำตาลและ เทคนคิ การลดน้ำตาลในผ้สู ูงอายุ 4) การคำนวณการใชอ้ ินซูลินและอาหารในผปู้ ว่ ยเบาหวานชนิดท่ี 1 และ 2 5) ความร้กู ารจัดการโรคและการดูแลผู้ปว่ ยที่มภี าวะแทรกซ้อน เชน่ กลุ่ม Palliative, Stoke, MI, ไตวาย เรอ้ื รงั , COPD และผู้ป่วยทีม่ ภี าวะฉุกเฉินใน รพ.สต. ควรมีการสอนทักษะ ความร้แู บบละเอยี ด และเจาะลกึ ในเนอื้ หาสำคญั 6) ระบาดวิทยาของโรคไมต่ ิดตอ่ 7) การคยี ์ขอ้ มูลให้ถกู ต้องตาม HDC, QOF การใช้ประโยชนจ์ ากการบนั ทึกขอ้ มลู /การจัดการขอ้ มูล 8) การดแู ลผ้ปู ว่ ยทม่ี ีภาวะ HHS, DKA 9) เคล็ดลับในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะ เช่น เดอื นรอมดอน, โรคไตเร้อื รัง, ผู้ป่วยในกลมุ่ สงู อายุ คำแนะนำการ ลด เลกิ แอลกอฮอล์ในผปู้ ว่ ยโรคเรือ้ รงั เปน็ ต้น 10) การจัดการโรคไม่ติดต่อเร้ือรังในชุมชน (การป้องกันและควบคมุ โรค แบบสร้างนำซ่อม) และการสร้าง ความรอบรใู้ นชมุ ชน 11) นวัตกรรมการ/R2R ในการดูแลผู้ป่วย ควรมีการนำเสนอหรือยกตัวอย่างการออกแบบการดูแลผู้ป่วย ทใ่ี ห้ผลสำเร็จในการควบคุมระดับน้ำตาล หรือความดันโลหติ ได้ เพ่อื ให้ผ้เู รียนสามารถนำไปปรับใช้ในการดูแลผ้ปู ่วยตามบรบิ ท ของตน เชน่ ปัจจยั ทท่ี ำให้ผู้ปว่ ยสามารถควบคมุ ระดับน้ำตาล/ปจั จยั ทีส่ ง่ ผลให้ควบคมุ ระดบั A1c ไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐาน 12) การปรับเปล่ียนพฤติกรรมในกลุ่มเส่ียง กลุ่มป่วยท่ีควบคุมไม่ได้ และการฟื้นฟูผู้ป่วยท่ีมีภาวะแทรกซ้อน เชน่ การใหค้ ำแนะนำ, การทำกายภาพบำบดั เปน็ ตน้ 13) ความจำเปน็ ในการตรวจเลอื ดประจำปีของผ้ปู ่วยเบาหวานและความดนั โลหติ สงู 14) ความรู้ทส่ี อดคล้องกบั งานตัวชี้วัด ที่สามารถนำไปประยุกตใ์ ชท้ ำให้ผลลัพธก์ ารดำเนนิ งานดีข้นึ 15) สมนุ ไพรกบั NCDs รวมถงึ การใช้ยา อาหารเสรมิ ต่างๆ 16) การจัดบริการให้สอดคล้องสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การดูแลผู้ป่วย NCDs แบบองค์รวมในยุค new normal, การรับวัคซีนโควิดสำหรับผู้ป่วย NCDs รวมถึงการติดตามเย่ียมบ้านในสถานการณ์ โรคระบาด 17) การจัดการรายกรณีผปู้ ว่ ยเบาหวานความดันโลหติ สงู ทม่ี ปี ญั หาซับซอ้ น หลักสตู รการเพ่ิมสมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู (ระดับพน้ื ฐาน) : 103

3.2 ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ พบวา่ 1) เป็นหลักสูตรที่ดีควรมีอย่างต่อเน่ือง เนื้อหาเข้าใจง่าย เป็นการเรียนรู้จากผู้เช่ียวชาญโดยตรงทำให้ ผูเ้ รยี นไดค้ วามรดู้ ีมากๆ เรียนรู้ดว้ ยตนเอง และเป็นการอปั เดตความร้ใู หม่ๆ ตลอดเวลา 2) ควรมีเฉลยขอ้ สอบ/แบบทดสอบ และอธิบายเพม่ิ เติม เพื่อจะไดร้ คู้ ำตอบทถ่ี ูกต้อง 3) เรอ่ื งการใชย้ าในโรคเรือ้ รังละเอียดมาก แต่เป็นภาษาวชิ าการ เขา้ ใจยาก 4) ระยะเวลาการสอนในแต่ละบทเรยี น กำหนดไมเ่ กนิ 30 นาที ซง่ึ เหมาะสมและครอบคลมุ เนอื้ หา 5) ควรมีหนว่ ยคะแนน (CNEU) 6) ควรต่อยอดเนอ้ื หาเรยี นออนไลน์แบบนี้ในปงี บประมาณต่อไป 7) ระบบประมวลเว็บไซตค์ อ่ นขา้ งช้า 8) ควรมีการทบทวนเนอื้ หาทกุ 1-2 ปี กลมุ่ พัฒนาคุณภาพบริการ กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ กรมควบคุมโรค ขอ้ มลู ณ 30 กันยายน 2564 หลกั สตู รการเพ่ิมสมรรถนะการจดั การโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (ระดับพืน้ ฐาน) : 104

ภาคผนวก ฉ รายละเอียดแบบทดสอบความรู้ หลักสูตรการเพิม่ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง (ระดับพ้ืนฐาน) หน่วยการเรยี นรู้ จำนวน (ขอ้ ) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 Introduction - - 1.1 แนะนำหลักสูตร 1.2 เปา้ หมาย สถานการณ์การบรกิ าร ,แนวทางการพัฒนาการบริการผปู้ ว่ ย NCDs และการประเมนิ ภาวะสุขภาพ - โรคเบาหวาน - โรคความดันโลหิตสูง หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 สมรรถนะการใหบ้ รกิ ารโดยตรงแกผ่ ู้ปว่ ยเบาหวานและความดันโลหติ สูง 2.1 การวัดรอบเอว การช่ังนำ้ หนกั และดัชนีมวลกาย (BMI) 7 ข้อ 2.2 การตรวจน้ำตาลในเลือดจากปลายน้ิว 6 ข้อ 2.3 การวัดความดันโลหิต / HBPM / OBPM 10 ข้อ 2.4 ทกั ษะการใช้ MI แบบพนื้ ฐาน 8 ข้อ 2.5 การประเมินปัจจยั เสีย่ ง 7 ข้อ 2.5.1 การประเมินและบำบดั แกไ้ ขปจั จัยเสีย่ ง (บหุ ร่)ี 2 ข้อ 2.5.2 ภาวะซึมเศรา้ 7 ขอ้ 2.5.3 การประเมินปจั จัยเส่ียง (CVD risk) 2.6 การออกกำลังกาย 10 ขอ้ 9 ข้อ 2.7 การจัดอาหารจานสุขภาพ 8 ข้อ 8 ข้อ 2.8 การใช้ยาในโรคเร้ือรังอย่างถกู ต้อง 2.9 การตรวจเท้าพื้นฐาน (Complete foot Exam) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สมรรถนะการดำเนนิ งานกบั ครอบครัวและชุมชน การเยี่ยมบา้ นผู้ปว่ ยโรคไมต่ ิดตอ่ เรอื้ รงั 8 ข้อ รวมจำนวนข้อ 90 ข้อ หลกั สตู รการเพิม่ สมรรถนะการจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู (ระดับพ้นื ฐาน) : 105

แบบทดสอบความรู้ การวัดรอบเอว การช่งั น้ำหนกั และดัชนมี วลกาย (BMI) Pre Test และ Post Test [มที ั้งหมด 7 ขอ้ ต้องผ่าน 6 ขอ้ ขึน้ ไป] 1. ขอ้ ใดเปน็ การจัดเตรยี มการวัดรอบเอวในชุมชนที่ถูกต้อง 1. สถานทค่ี วรอยู่ในทมี่ ดิ ชดิ เปน็ สว่ นตวั ลับตาผู้คน 2. ผู้วัดแต่งกายเหมาะสม มีผชู้ ว่ ยได้ 1 คน 3. เตรยี มอุปกรณ์สายวดั แบบบันทกึ ข้อมูล ปากกา แว่นตา 4. ถกู ทุกข้อ 2. ข้อใดถูกต้องเก่ียวกบั การวัดรอบเอว 1. วัดรอบเอวผ่านสะดือ ขณะหายใจเขา้ หรอื หายใจออกกไ็ ด้ 2. สายวดั รอบเอวควรเป็นแบบชนิดพกพาเท่าน้ัน ไม่ควรใช้แบบอน่ื เพราะทำใหค้ าดเคลื่อนได้ 3. คนอว้ นมากๆ สามารถใช้เบอรก์ างเกงแทนค่ารอบเอวได้ 4. ผู้ถกู วดั ตอ้ งยนื เท้าห่างกนั 10 เซนตเิ มตรหรือเท่ากบั ชว่ งไหล่ 3. ความคาดเคลื่อนจากการวัดรอบเอวที่พบบ่อยคือ 1. วัดผ่านเส้อื หนา สายวดั บดิ ติดขอบกางเกง ไม่อยู่ในแนวระนาบขนานกับพื้น 2. จับสายวดั ผิดทาง นำปลายสายมาวางทต่ี ำแหน่ง 0 3. วัดรอบเอวหลังรับประทานอาหาร 30 นาที 4. ถูกทุกข้อ 4. Know your numbers & Know your risk เส้นรอบเอวงาน NCD ทถ่ี ูกต้องคือ 1. รอบเอวไม่เกนิ สว่ นสงู หาร 2 2. รอบเอวผู้หญงิ ไม่เกิน 80 ผู้ชายไม่เกนิ 90 เซนติเมตร 3. รอบเอวผหู้ ญงิ ไม่เกนิ 32 ผชู้ ายไมเ่ กนิ 36 นิ้ว 4. ถกู ทุกข้อ 5. ขอ้ ใดถูกต้องเกี่ยวกับการวัด BMI 1. ค่า BMI จะถูกต้องแม่นยำ ต้องชั่งน้ำหนกั และสว่ นสูงใหถ้ ูกต้อง 2. การหาค่า BMI สามารถคิดคำนวณผ่านทางโปรแกรมได้ 3. เจ้าหน้าท่ีควรนำค่า BMI มาใชใ้ นการใหค้ ำแนะนำหรือปรับเปลย่ี นพฤติกรรม 4. ถูกทุกข้อ

6. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. ควรชั่งนำ้ หนกั ก่อนทานอาหาร 2. ควรให้ผูร้ บั บริการใชเ้ ครื่องวดั ให้ถกู ต้อง 3. ควรมีการตรวจสอบเครือ่ งมือ เทยี บมาตรฐานอยา่ งสมำ่ เสมอ 4. ควรมีเก้าอี้ หรือโต๊ะสำหรับวางส่งิ ของก่อนการช่ังน้ำหนัก หรอื สว่ นสงู 7. Know your numbers & Know your risk คา่ BMI ในงาน NCD คือ 1. BMI ควรน้อยกวา่ 25 กก/ม2 2. BMI มากกว่า 23 กก/ม2 น้ำหนักเกิน 3. ดชั นีมวลกายคำนวณจาก น้ำหนกั ตัว หารดว้ ยส่วนสงู ท่เี ปน็ เมตร 4. ถูกทุกข้อ

แบบทดสอบความรู้ การตรวจน้ำตาลในเลอื ดจากปลายน้วิ Pre Test และ Post Test [มที ั้งหมด 6 ข้อ ต้องผ่าน 5 ข้อขน้ึ ไป] 1. ข้อใดตอ่ ไปน้ีกลา่ วถกู ต้องเกย่ี วกบั วัตถุประสงค์การตรวจนำ้ ตาลปลายนิ้ว 1. เพือ่ ตรวจคดั กรองโรคเบาหวาน 2. เพอื่ ใช้ตรวจประเมินภาวะฉุกเฉินท่ีมนี ำ้ ตาลตำ่ หรือสงู 3. เพื่อสนบั สนนุ ใหผ้ ูเ้ ป็นเบาหวานประเมินการดูแลตนเองและปรับพฤติกรรม 4. ถกู ทุกข้อ 2. เครือ่ งตรวจนำ้ ตาลชนิดพกพาท่นี ิยมใชก้ ันอยใู่ นปัจจบุ นั มหี ลักการตรวจวเิ คราะห์แบบใด 1. Photometric 2. Non-invasive 3. Biosensor 4. Continuous glucose monitor 3. ตำแหนง่ การเจาะเลอื ดบริเวณใดทม่ี ีความเหมาะสมและลดการเจ็บได้ 1. ปลายนิ้ว 2. กลางนวิ้ 3. ดา้ นขา้ งนว้ิ 4. ทกุ ตำแหน่งมีความเจบ็ เทา่ กนั 4. ข้อใดตอ่ ไปนก้ี ลา่ วไมถ่ ูกต้องเก่ียวกับวิธีการตรวจน้ำตาลปลายนว้ิ 1. ควรตรวจสอบวันหมดอายขุ องแผ่นตรวจกอ่ นใช้งาน 2. หลงั เชด็ ทำความสะอาดนว้ิ ควรรอใหแ้ อลกอฮอลแ์ ห้งก่อนเจาะเลือด 3. เชด็ เลอื ดหยดแรก และใช้เลอื ดหยดทีส่ องในการตรวจ 4. ปรบั ใหเ้ ข็มมีระดบั ความลกึ มาก เพ่ือให้ได้เลือดทเ่ี พียงพอในการตรวจ

5. นายสมชาย ได้รบั การรักษาโดยฉีดอนิ ซูลินชนดิ ผสม (premix insulin) วนั ละ 2 ครง้ั ก่อนอาหารเชา้ และเยน็ คำแนะนำที่ให้กบั นายสมชายในข้อใดไม่ถกู ต้อง 1. แนะนำให้ตรวจนำ้ ตาลปลายนวิ้ อย่างน้อยวนั ละ 2 ครัง้ ก่อนอาหารเช้าและเยน็ 2. แนะนำใหส้ ุ่มตรวจนำ้ ตาลปลายน้วิ ก่อนอาหารมื้อเทีย่ งและก่อนนอนในบางคร้ัง 3. เมอื่ มีอาการคล้ายน้ำตาลต่ำในเลือด ควรตรวจประเมินน้ำตาลปลายนว้ิ ทุกครงั้ 4. เม่ือเจบ็ ป่วยไมส่ บายกินได้น้อยลง สามารถลดความถี่ในการตรวจน้ำตาลปลายนิว้ ลงได้ 6. นางสมศรี เปน็ เบาหวานชนิดที่ 2 ไดร้ ับการรักษาดว้ ยยารับประทาน วนั น้ีก่อนม้ืออาหารเชา้ ตรวจ น้ำตาลปลายนว้ิ ได้ 61 mg% ท่านจะให้คำแนะนำในการดแู ลตนเองอย่างไร 1. รับประทานอาหารเชา้ ทนั ที และงดยาเบาหวานท่ีมีในวนั น้ัน 2. รบั ประทานอาหารเช้าทันที และงดยาเบาหวานเฉพาะในม้ือเชา้ 3. รับประทานคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน 15 กรัม แล้วจงึ รบั ประทานม้อื เช้า 4. รบั ประทานคาร์โบไฮเดรตเชงิ เดย่ี ว 15 กรมั แลว้ อีก 15 นาที ตรวจประเมินคา่ น้ำตาลซ้ำ

แบบทดสอบความรู้ การวัดความดนั โลหิต / HBPM / OBPM Pre Test และ Post Test [มที ั้งหมด 10 ข้อ ต้องผ่าน 8 ขอ้ ขึ้นไป] 1. ขอ้ ใดไม่ใช่ปญั หาหลักของการรักษาโรคความดันโลหติ สงู ในประเทศไทย 1. ผูป้ ่วยไม่ได้ตระหนัก ว่าความดนั โลหติ สงู เป็นโรค 2. ขาดความเข้าใจถงึ ความแปรปรวนที่เกิดข้ึนตามปกติจากการวัดความดันโลหิต เช่น วัดความดันโลหติ ท่ีบา้ น จะแตกตา่ งจากวดั ความดันโลหติ ที่สถานพยาบาล หรอื เจ็บปวด จะมีความดนั สูงเพิ่มขึ้น เป็นตน้ 3. ชว่ งเวลาในการวัดความดนั โลหติ 4. การขาดความเอาใจใสใ่ นการใชอ้ ุปกรณ์ในการวดั ความดันโลหิต 2. ความดนั โลหติ สูง (hypertension) หมายถึง ข้อใด 1. ระดบั ความดนั โลหติ ซิสโตลกิ ≥ 140 มม.ปรอท และ/หรอื ความดนั โลหิตไดแอสโตลิก ≥ 90 มม.ปรอท โดยอา้ งอิงจากการวัดความดันโลหติ ท่ีบา้ น 2. ระดับความดันโลหติ ซิสโตลิก ≥ 140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดนั โลหติ ไดแอสโตลกิ ≥ 90 มม.ปรอท โดยอ้างอิงจากการวัดความดันโลหติ ที่สถานพยาบาล 3. ระดบั ความดนั โลหิตซิสโตลกิ ≥ 130 มม.ปรอท และ/หรอื ความดนั โลหติ ไดแอสโตลิก ≥ 80 มม.ปรอท โดยอา้ งองิ จากการวดั ความดันโลหิตท่สี ถานพยาบาล 4. ระดบั ความดันโลหิตซิสโตลกิ ≥ 130 มม.ปรอท และ/หรอื ความดันโลหิตไดแอสโตลกิ ≥ 80 มม.ปรอท โดยอา้ งองิ จากการวัดความดันโลหติ ทบ่ี ้าน 3. ค่าความดนั โลหติ ตัวบน คอื อะไร 1. ค่าความดันซิสโตลิก คือ ค่าความดนั ขณะหัวใจบบี ตัว 2. คา่ ไดแอสโตลิก คือ คา่ ความดนั ขณะท่ีหัวใจคลายตวั 3. คา่ ความดันซิสโตลิก คือ ค่าความดนั ขณะหัวใจคลายตัว 4. คา่ ไดแอสโตลิก คือ คา่ ความดนั ขณะหัวใจบบี ตัว

4. ขอ้ ใดเป็นการเตรียมผู้ปว่ ยก่อนวดั ความดันโลหิตท่ีไม่ถูกต้อง 1. ให้ผู้ป่วยนงั่ พกั บนเก้าอใ้ี นหอ้ งที่เงยี บสงบเป็นเวลา 5 นาที 2. แนะนำผู้ป่วยใหด้ มื่ ชาหรอื กาแฟ และไม่สบู บหุ รี่ ก่อนทำการวัดความดันโลหติ อยา่ งน้อย 30 นาที ในผู้ปว่ ยที่เปน็ โรคความดันโลหิตสงู ตอ้ งงดรบั ประทานยาก่อนการวัดความดนั 3. วางแขนซา้ ยหรือขวาที่จะทำการวัดอย่บู นโต๊ะ โดยใหบ้ ริเวณท่จี ะพนั arm cuff อย่รู ะดบั เดียวกบั ระดบั หวั ใจ และไม่เกร็งแขนหรือกำมอื ในขณะทำการวดั 4. หลังพงิ พนักเกา้ อเ้ี พ่ือไมต่ ้องเกร็งหลงั เท้า 2 ข้างวางราบกับพ้ืน 5. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุท่ีทำใหก้ ารวดั โรคความดนั โลหิตสงู อาจมคี วามคลาดเคลื่อนได้ 1. การจดั พ้ืนที่ ส่งิ แวดล้อมในการวัดความดนั โลหิต 2. อุปกรณท์ ่ีใช้วดั ความดันโลหติ 3. ความชำนาญของบคุ ลากร 4. ถกู ทุกข้อ 6. Office Blood Pressure (OBP) หมายถึง 1. การวัดความดนั ท่ีโลหติ ท่ีสถานพยาบาล 2. การวัดความดนั โลหิตท่สี าธารณะ 3. การวัดความดันโลหิตที่ทำงาน 4. การวดั ความดนั โลหติ ท่ีบา้ น 7. Home Blood Pressure (HBP) หรอื เรยี กว่า Home Blood Pressure Monitoring (HBPM) หมายถงึ 1. การวดั ความดนั โลหติ ทส่ี ถานพยาบาล 2. การวัดความดนั โลหติ ที่สาธารณะ 3. การวดั ความดนั โลหิตดว้ ยตัวเอง 4. การวดั ความดนั โลหิตทบ่ี า้ น

8. ระดับความดนั โลหติ ทส่ี ูงผิดปกติ ของการวดั ความดันโลหติ โดยวธิ ี Home Blood Pressure Monitoring (HBPM) 1. ระดบั ความดันโลหติ ซิสโตลกิ ≥ 140 มม.ปรอท และ/หรอื ความดนั โลหติ ไดแอสโตลกิ ≥ 90 มม.ปรอท 2. ระดับความดันโลหติ ซิสโตลิก ≥135 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหติ ไดแอสโตลิก ≥ 85 มม.ปรอท 3. ระดบั ความดันโลหติ ซิสโตลกิ ≥ 140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหติ ไดแอสโตลิก ≥ 85 มม.ปรอท 4. ระดับความดนั โลหิตซสิ โตลิก ≥ 135 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิก ≥ 90 มม.ปรอท 9. ความดนั โลหิตเมื่อวดั ทีบ่ ้านกับท่โี รงพยาบาลแตกต่างกันอย่างไร 1. ไม่แตกต่าง สามารถวดั ได้ทงั้ ที่บา้ น และท่โี รงพยาบาล ข้ึนอยู่กับความสะดวก 2. ไม่แตกต่าง ถ้าคนวดั ความดนั โลหติ เปน็ คนๆ เดยี วกัน 3. แตกตา่ งกัน ความดนั โลหิตท่ีบา้ นจะตำ่ กว่าทโี่ รงพยาบาลประมาณ 5 มม.ปรอท ท้งั ความดนั โลหิตตัวบน และความดันโลหติ ตัวล่าง 4. แตกตา่ งกนั ความดันโลหิตที่บ้านจะสูงกวา่ ท่โี รงพยาบาลประมาณ 5 มม.ปรอท ทงั้ ความดนั โลหิตตัวบน และความดันโลหติ ตัวลา่ ง 10. วธิ กี ารบันทกึ ค่าความดนั โลหติ ท่ีบ้าน ข้อใดถูกต้อง 1. บนั ทึกคา่ ความดันโลหิตที่วดั ได้ จากการวัดความดนั โลหิต 2 คร้ัง ในแต่ละชว่ งเวลา (วดั ช่วงเช้า 2 ครัง้ และชว่ งเย็น 2 คร้งั รวมวันละ 4 ครั้ง) เป็นเวลาตดิ ต่อกนั 3-7 วัน 2. บันทึกค่าความดันโลหิตทวี่ ดั ได้ จากการวัดความดนั โลหติ 2 ครั้ง ในแตล่ ะชว่ งเวลาใดก็ได้ (วัดชว่ งเชา้ 2 ครง้ั และช่วงเยน็ 2 ครัง้ ) เปน็ เวลาติดต่อกนั 3-7 วัน 3. บันทกึ ค่าความดันโลหติ ที่วดั ได้ จากการวดั ความดนั โลหิต เปน็ เวลาตดิ ต่อกนั 3-7 วัน 4. บันทกึ ค่าความดนั โลหติ ท่วี ัดได้ จากการวัดความดนั โลหติ 2 ครงั้ ในแต่ละช่วงเวลา (วัดช่วงเชา้ 2 คร้ัง และชว่ งบ่าย 2 ครงั้ ) เปน็ เวลาติดตอ่ กนั 3-7 วัน

แบบทดสอบความรู้ ทักษะการใช้ MI แบบพน้ื ฐาน Pre Test และ Post Test [มีทั้งหมด 8 ขอ้ ต้องผ่าน 7 ข้อขนึ้ ไป] 1. ข้อใดผดิ เกยี่ วกับพัฒนาการของการสนทนาสรา้ งแรงจูงใจ (Motivational Interviewing) 1. มีทมี่ าจากการศึกษาพฤติกรรมสุขภาพในผปู้ ่วยสรุ า 2. เปน็ หลักการให้คำปรึกษาแบบใหม่ เพ่งิ มีการศกึ ษาวิจยั กันในช่วง 5 - 6 ปีมาน้ี 3. มีการใช้ MI เป็นเคร่อื งมือปรบั เปลย่ี นพฤติกรมสุขภาพในหลายสาขาโดยเฉพาะ NCD 4. ผู้นำคนสำคัญในการพัฒนา MI คือ Dr.Willium Miller และ Dr.Strphen Rollnick 2. ข้อใดเป็นลกั ษณะของการสนทนาสร้างแรงจงู ใจสำหรับผ้ปู ่วย NCD 1. ใชเ้ วลาประมาณ 20-30 นาที ในแต่ละคร้งั และควรทำซ้ำอยา่ งน้อย 5 ครง้ั จงึ ได้ผลดี 2. เนน้ การใหข้ อ้ มูลสงิ่ ท่ีควรปฏบิ ัติ และวางแผนปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง 3. ใชเ้ วลาการสนทนา 5-10 นาที และทำในแตล่ ะคร้ังท่ผี ู้ป่วยมาโรงพยาบาลอีก 4 ครงั้ ก็สามารถสรา้ งการ เปลีย่ นแปลงในผู้ปว่ ยส่วนใหญ่ได้ 4. ถกู ทกุ ข้อ 3. ข้อใดผดิ เกยี่ วกบั Change Talk 1. เกดิ จากการคดิ พิจารณาของผูป้ ่วยเอง 2. อาจเปน็ คำพูดที่แสดงความม่งุ มั่นตั้งใจ 3. บางคร้ังเป็นการบอกกลา่ วถงึ ความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนตนเอง 4. การเขียนเป็นสัญญาใหผ้ ้ปู ่วยลงนามท่เี ปน็ ลายลักษณอ์ ักษรจะเพมิ่ ความสำเรจ็ 4. ข้อใดไมใ่ ช่หัวใจหลักของ การสนทนาสรา้ งแรงจงู ใจ 1. การมจี ิตใจดีมเี มตตากรณุ า 2. การใหค้ ำแนะนำที่สามารถเป็นทางเลือกในการตัดสนิ ใจ 3. การใชค้ วามรโู้ นม้ นา้ วให้ผูป้ ่วยปฏบิ ัติตวั อย่างถกู ต้อง 4. การใช้สงิ่ สำคญั ในชวี ติ มาสร้างการเปลีย่ นแปลง

5. ทักษะของการใช้เทคนคิ การสนทนาสรา้ งแรงจงู ใจ ไดแ้ ก่ 1. ทักษะการถามปลายปดิ เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มลู ถูกต้อง 2. ทกั ษะการเงยี บ 3. ทักษะการให้ขอ้ เสนอแนะอย่างตรงไปตรงมา 4. ทักษะการชน่ื ชม 6. ข้อใดเปน็ การใชค้ ำถามสรา้ งแรงจูงใจ 1. การถามเกี่ยวกับหลานท่ีผู้ปว่ ยดูแลอยทู่ ่ีบา้ น 2. การถามเกยี่ วกบั ความสำเร็จในการขายกับขา้ ว 3. การถามเร่ืองชีวติ ในวยั เด็ก 4. การถามเกี่ยวกบั เงินท่ีถูกญาติยักยอกไป 7. ข้อใดไมใ่ ช่การแสดงความช่ืนชมทสี่ ร้างแรงจงู ใจ 1. การชมเชยเฉพาะครั้งทผี่ ้ปู ่วยออกกำลงั กาย 7 วันตอ่ สปั ดาห์ 2. การช่นื ชมที่ลดข้าวเย็นได้ม้ือละ 1 ช้อน 3. การชน่ื ชมที่ผปู้ ่วยมาตามนัดแม้ว่าจะลืมกนิ ยาไปบ้าง 4. การช่ืนชมทผี่ ู้ปว่ ยตั้งใจลดการดม่ื สรุ าลงไปคร่ึงหนงึ่ 8. ข้อใดไม่ใช่ทกั ษะหลักทเี่ รยี กว่า 3 As 1. Analyze 2. Ask 3. Advice 4. Affirm

แบบทดสอบความรู้ การประเมินและบำบดั แกไ้ ขปัจจัยเส่ียง (บหุ ร)ี่ Pre Test และ Post Test [มที ้ังหมด 7 ขอ้ ต้องผา่ น 6 ข้อข้นึ ไป] 1. คำถามข้อใดต่อไปน้ีสามารถใช้ประเมนิ ภาวะเสพติดนิโคตนิ ไดด้ ีที่สดุ 1. ท่านรสู้ ึกกงั วลมากไหมในการเลิกบหุ รี่ครั้งน้ี 2. ท่านสูบบหุ รม่ี วนแรกหลังตืน่ นอนตอนเชา้ นานแค่ไหน 3. ทา่ นยงั ต้องสบู บุหร่ี แม้วา่ จะต้องนอนเจ็บป่วยรักษาตัวอย่ใู นโรงพยาบาลบ้างไหม 4. ท่านรูส้ กึ อดึ อดั กระวนกระวาย หรือลำบากใจไหม ที่ต้องอย่ใู นเขต “ปลอดบุหร่ี” เช่น โรงภาพยนตร์ รถโดยสาร 2. ชายไทยอายุ 50 ปี สบู บหุ รกี่ ้นกรองวันละ 10 มวน มาตลอด 30 ปี โดยทกุ ๆ วันเขาจะต้องเรม่ิ สูบบหุ ร่ี มวนแรกในทันทหี ลงั ตนื่ นอน จงประเมนิ ระดบั การเสพตดิ นิโคตนิ ของชายไทยคนน้ี 1. Heavy nicotine dependence 2. Moderate nicotine dependence 3. Mild nicotine dependence 4. ประเมินไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพยี งพอ 3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกตอ้ งเกย่ี วกับการใช้แนวทาง ส-บ-ม เปรยี บเทียบกับแนวทาง 5A ในการรักษาผู้เสพติด นโิ คติน 1. สอบถาม = Ask + Assess 2. บำบัด = Advise + Assist 3. หม่นั ติดตาม = Arrange 4. ถูกทุกข้อ 5. 4. ขอ้ ใดต่อไปน้ถี ูกต้องเกยี่ วกับกระบวนการบำบดั ผู้เสพติดนโิ คตนิ 1. Brief advise ใชเ้ วลาในการแนะนำผ้ปู ว่ ยราว 5-10 นาทตี ่อครัง้ 2. Counselling ได้ผลสำเรจ็ ดกี วา่ Brief advise ราว 10 เทา่ 3. Group counselling ให้ได้ผลดคี วรประกอบดว้ ยผ้ปู ว่ ยจำนวนประมาณ 15-20 คน 4. บรกิ าร U-refer ของ Quitline 1600 เป็นตวั ชว่ ยสำคญั ในการบำบดั และตดิ ตามผปู้ ว่ ย จากโรงพยาบาลได้

5. ขอ้ ใดตอ่ ไปนีถ้ ูกต้องเก่ยี วกบั ยารกั ษาภาวะ Nicotine dependence 1. ยาในกลมุ่ nicotine ทดแทน มอี ัตราเลิกนิโคตนิ สำเรจ็ ดีกวา่ bupropion 2. Nortriptyline ออกฤทธโิ์ ดยการเพ่ิมปริมาณสาร acetylcholine ในสมอง 3. ขนาดของ nicotine gum ทใ่ี ชไ้ ด้ผลดีที่สดุ คอื 1 เม็ด ต่อจำนวนบุหร่ีทเ่ี คยสบู 1 มวน 4. ผู้ปว่ ยตอ้ งเลกิ บหุ รโี่ ดยทันทีทีเ่ ร่มิ ใชย้ า varenicline เพราะอาจเกดิ อันตรายได้ 6. ขอ้ ใดต่อไปน้ีถูกต้องเกีย่ วกับการตดิ ตามผู้ป่วยที่มโี รค NCD และมีภาวะ nicotine dependence ร่วมด้วย 1. ควรทำ objective test เพอ่ื verify ว่าผู้ป่วยเลกิ บหุ รี่ได้จริงหรือไม่ เช่น exhaled CO, cotinine strip test 2. ในรายที่มกี ารสบู บหุ รด่ี ว้ ย ควรติดตามถี่กวา่ ปกติ เช่น เปล่ียนจากทกุ 3 เดือนเปน็ ทกุ ๆ 2-4 สัปดาหแ์ ทนจนกวา่ จะเลิกบหุ รีไ่ ด้ 3. ควรมีการสอบถามสถานการณ์สบู บหุ ร่ีในผปู้ ่วยเหลา่ น้ีทกุ คร้งั ที่มารับการตรวจติดตามอาการหรือ รบั ยา 4. ถูกทุกข้อ 7. ขอ้ ใดต่อไปน้ีถูกตอ้ งเกยี่ วกบั กระบวนการทำ Brief advise แกผ่ ูป้ ่วยภาวะ Nicotine dependence 1. เลอื กวัน ลน่ั วาจา ลาอปุ กรณ์ พร้อมลงมอื 2. สอบถาม (ถามใจตนเอง) บำบัด และหมั่นดแู ลสุขภาพ 3. รักตนเอง รักคนรอบขา้ ง รักสุขภาพ 4. ไม่เขา้ กลุม่ ไม่ดื่ม ไมน่ ่งิ เฉย

แบบทดสอบความรู้ การประเมนิ ภาวะเครียดและซมึ เศรา้ Pre Test และ Post Test [มที ั้งหมด 2 ข้อ ต้องผ่านท้ัง 2 ข้อ] 1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลกั ษณะการประเมินความเครยี ดในผู้ป่วย NCD 1. เป็นการสอบถามปญั หาการนอน 2. เป็นการประเมนิ การมสี มาธใิ นการทำงาน/การใชค้ วามคิด 3. ความรสู้ ึกเครียดหงดุ หงิดแมเ้ พยี งเล็กนอ้ ย จดั เป็นความผิดปกตทิ ่ีต้องชว่ ยแก้ไข 4. ค่าคะแนนการประเมนิ 5 ST ตั้งแต่ 5 ข้ึนไป เป็นสัญญาณวา่ ควรใสใ่ จและช่วยเหลอื ในการแก้ไข ปัญหา 2. ขอ้ ใดถกู เกยี่ วกับการคัดกรองภาวะซึมเศรา้ ดว้ ย 2 คำถาม (2Q) 1. เปน็ การสอบถามปัญหาอารมณเ์ ศร้า 2. มกั เป็นการคัดกรองท่ีเปน็ สภาวะปจั จบุ นั ดงั น้ันจึงควรประเมินเป็นระยะตามความเหมาะสม 3. การตอบว่าใช่แม้เพยี งข้อเดยี วถือเป็นสญั ญาณทีต่ ้องประเมินภาวะซมึ เศรา้ ท่ีเจาะจงข้นึ 4. ถูกทุกข้อ

แบบทดสอบความรู้ การออกกำลังกาย Pre Test และ Post Test [มที ั้งหมด 10 ข้อ ตอ้ งผา่ น 8 ข้อข้ึนไป] 1. ประโยชนข์ องการออกกำลงั กายในผูป้ ่วยโรคเบาหวานข้อใดไมถ่ ูกตอ้ ง 1. พัฒนาระบบหัวใจและระบบหายใจใหด้ ขี ึน้ และควบคุมระดับกลูโคสไดด้ ี 2. ลดคอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL - cholesterol) ลดไตรกลีเซอร์ไลด์ เพ่ิมคอเรสเตอรอลชนิดดี 3. เพมิ่ การรบั รตู้ ่ออนิ ซูลินในกล้ามเนื้อไดด้ ขี ้นึ 4. ทำใหก้ นิ อม่ิ นอนหลบั 2. กจิ กรรมการออกกำลังกายท่เี หมาะสมในผู้ปว่ ยโรคเบาหวานข้อใดถกู ต้อง 1. เดิน – ว่ิงเหยาะ - เต้นเพอ่ื สุขภาพ 2. ไมพ้ ลองเพื่อสุขภาพ 3. ป่นั จักรยาน 4. ทกุ ข้อที่กล่าวข้างต้น 3. หลกั ในการออกกำลงั กายคือข้อใด 1. ITTF 2. TTIF 3. FITT 4. FTTI 4. จำนวนวันทีเ่ ริม่ ตน้ ของผู้ท่ตี อ้ งการออกกำลงั กายมือใหม่ ควรเริ่มกีว่ นั ตอ่ สปั ดาห์ 1. 1-2 วันต่อสัปดาห์ 2. 3 วนั ตอ่ สปั ดาห์ 3. 3-4 วนั ตอ่ สปั ดาห์ 4. ทกุ วัน 5. ระยะเวลาชว่ งแรกในการเริ่มต้นสำหรับผู้ป่วยมอื ใหม่หัดออกกำลงั กายควรใชก้ นี่ าที 1. 30 นาที 2. 45 นาที 3. 60 นาที 4. 10-15 นาที

6. ถา้ ตอ้ งการออกกำลงั กาย ผปู้ ่วยทีต่ อ้ งฉดี อินซูลิน ควรฉดี ก่อนการออกกำลังกายนานเทา่ ไหร่ 1. 15 นาที 2. 30 นาที 3. 45 นาที 4. 60-120 นาที 7. ประโยชน์ของการออกกำลงั กายในผปู้ ่วยโรคความดันโลหติ สงู ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง 1. ทำใหน้ อนหลบั ได้ดขี ้ึน 2. ช่วยให้เลือดไหลเวียนภายในหลอดเลอื ดมากขนึ้ 3. การออกกำลังกายแบบแอโรบิกสมำ่ เสมอเป็นการช่วยควบคุมนำ้ หนกั ได้ 4. การออกกำลังกายแบบแอโรบกิ ทเ่ี หมาะสมทำใหร้ ะดับความดันโลหติ ลดลง 8. ขอ้ ควรระวงั ในการออกกำลงั กายของผู้ป่วยโรคความดนั โลหติ สูง ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. ตรวจวดั ระดับความดนั โลหิตก่อนการออกกำลังกาย 2. ไมก่ ลัน้ หายใจในขณะออกกำลังกาย 3. เลย่ี งการออกกำลงั กายท่ตี ้องมีการยกนำ้ หนักท่ีหนักมาก 4. ถา้ ระดบั ความดันของผู้ป่วยอยทู่ ่ี 200/110 mmHg. สามารถให้ผู้ป่วยออกกำลังกายได้ 9. กจิ กรรมการออกกำลงั กายท่ีเหมาะสมกบั ผปู้ ่วยโรคความดันโลหิตสูงคือขอ้ ใด 1. การออกกำลงั กายแบบต่อเน่ือง ไดแ้ ก่ วิง่ เหยาะ เดิน ปนั่ จกั รยาน เตน้ เพอ่ื สุขภาพ 2. การฝึกโยคะในทา่ ที่ศรี ษะชีล้ งทพี่ ้นื และทา่ นอนควำ่ 3. การยกดมั เบลทหี่ นักมากๆ 4. สามารถทำไดท้ ุกข้อ 10. การปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารควบคู่ไปกับการออกกำลงั กายท่ีทำใหเ้ กิดผลดีต่อผู้ป่วย โรคความดนั โลหติ สูงอยา่ งไร 1. ทำใหน้ ำ้ หนักรา่ งกายลดลง 2. ทำให้อัตราเตน้ ของชีพจรลดลง 3. ทำใหร้ ะดบั ความดันโลหิตสงู ลดลง 1 mmHg. ในทกุ ๆ นำ้ หนักตวั ทีล่ ดลง 1 กก. 4. ถกู ทุกข้อ

แบบทดสอบความรู้ การจดั อาหารจานสุขภาพ Pre Test และ Post Test [มที ้ังหมด 9 ข้อ ต้องผ่าน 8 ข้อข้ึนไป] 1. ในการบรโิ ภคผักและผลไม้ให้ได้วันละ 400 กรัมขึ้นไป ทา่ นควรแนะนำใหร้ ับประทาน 1. ผกั สุก 4 ทัพพี ผลไม้ 2 จานเลก็ /วัน 2. ผกั สกุ 2 ทัพพี ผลไม้ 3 จานเล็ก/วัน 3. ผกั ดบิ 4 ทัพพี ผลไม้ 2 จานเลก็ /วนั 4. ผกั ดิบ 6 ทพั พี ผลไม้ 3 จานเลก็ /วนั 2. โซเดียมพบไดใ้ นอาหารธรรมชาติ ถา้ ไม่ปรุงรสในอาหาร เราจะได้โซเดียมจาการรับประทานอาหาร ธรรมชาติประมาณวนั ละ 1. 2,400-3,000 มลิ ลิกรัม 2. 2,000-2,200 มลิ ลิกรัม 3. 800-1,000 มลิ ลกิ รมั 4. 0 มลิ ลกิ รมั 3. แนวทางง่ายๆ ในการจัดอาหารสุขภาพสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถ ใช้รูปแบบการจดั อาหารตามหลกั การของ 1. Keto Diet และ Intermittent Fasting Diet 2. Dash และ Mediterranean Diet 3. Atkin Diet และ Vegetarian Diet 4. High Protein และ Low Carbohydrate 4. น้ำมันทีม่ ีสัดส่วนไขมันไมอ่ ่ิมตวั ตำแหนง่ เดยี วสงู ได้แก่ 1. นำ้ มนั ถว่ั เหลอื ง 2. นำ้ มนั ข้าวโพด 3. น้ำมันรำข้าว 4. น้ำมนั มะพรา้ ว 5. วัตถุประสงค์ในการเพิ่ม ผัก ผลไม้ และผลิตภัณฑ์นมไขมันตำ่ ในอาหารจานสขุ ภาพสำหรบั ผู้ที่เป็นเบาหวาน และความดนั โลหิตสูง เพ่ือใหไ้ ด้รับสารอาหารใด 1. วติ ามินบีและฟอสฟอรัส 2. เหล็กและซลี ีเนยี ม 3. โพแทสเซยี มและแคลเซียม 4. วติ ามินอแี ละแมกนีเซียม

6. วัตถุประสงค์ในการเพ่ิมธัญพืช ถ่ัวต่างๆ ข้าวไม่ขัดสี ในอาหารจานสุขภาพสำหรับผู้ท่ีเป็นเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เพื่อให้ได้รบั สารอาหารใด 1. แมกนเี ซียม 2. วติ ามินซี 3. สังกะสี 4. วติ ามนิ บี 7. น้ำปลามีปรมิ าณโซเดียมเฉลี่ย…………และซอสพริกมีปรมิ าณโซเดียมเฉลี่ย………… 1. 600 มลิ ลิกรมั และ 400 มลิ ลิกรัม 2. 400 มิลลกิ รัม และ 600 มิลลกิ รมั 3. 200 มลิ ลกิ รมั และ 400 มลิ ลกิ รมั 4. 400 มิลลกิ รมั และ 70 มิลลิกรมั 8. ตัวเลขของเคร่ืองปรุง 6 6 1 หมายถึง 1. น้ำมนั 6 ชอ้ นชา นำ้ ตาล 6 ช้อนชา เกลอื 1 ชอ้ นโต๊ะ 2. นำ้ ตาล 6 ช้อนชา นำ้ มนั 6 ช้อนชา เกลือ 1 ช้อนชา 3. นำ้ มนั 6 ช้อนโตะ๊ นำ้ ตาล 6 ช้อนโต๊ะ เกลอื 1 ช้อนชา 4. น้ำตาล 6 ช้อนโต๊ะ นำ้ มัน 6 ช้อนโตะ๊ เกลือ 1 ช้อนโตะ๊ 9. ผ้ทู ่มี ภี าวะโรคไตเร้ือรงั แทรกซ้อนและมีระดับโพแทสเซียมในเลือดสูงกว่า 5.0 มิลลิกรัม/มลิ ลิลิตร ควรหลีกเลี่ยงการกนิ ผักและผลไม้ท่ีมีโพแทสเซยี มสงู 1. บวม คะนา้ ทเุ รยี น แตงโม 2. บรอกโคลี่ แครอท กลว้ ย ลกู เกด 3. ผกั กาดขาว พรกิ หวาน ชมพู่ มะขามหวาน 4. เหด็ ฟาง หอมหวั ใหญ่ ลำไย เงาะ

แบบทดสอบความรู้ การใชย้ าในโรคเร้อื รังอย่างถูกต้อง Pre Test และ Post Test [มีทั้งหมด 10 ข้อ ตอ้ งผ่าน 8 ข้อข้นึ ไป] 1. ผูป้ ่วยรายใดมีความจำเปน็ ต้องได้รบั การรักษาด้วยอนิ ซูลิน 1. ผู้ปว่ ยเบาหวานชนิดท่ี 2 ทค่ี วบคุมระดับน้ำตาลไมไ่ ด้ตามเกณฑ์ เนื่องจากรบั ประทานยาไม่สมำ่ เสมอ 2. ผูป้ ่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 ที่มรี ูปร่างอว้ น ระดบั น้ำตาลสูงไม่มาก 3. ผปู้ ่วยเบาหวานชนดิ ที่ 2 ที่มอี าการหวิ นำ้ บอ่ ย ปสั สาวะมาก และน้ำหนกั ลด 4. ผปู้ ว่ ยเบาหวานชนดิ ที่ 2 ทไี่ ม่สามารถใชย้ า metformin ได้ เน่ืองจากมอี าการคลน่ื ไส้และท้องเสยี 5. ผู้ป่วยเบาหวานขณะตงั้ ครรภ์ ทกุ ราย 2. ขอ้ ใดถูกต้องเก่ยี วกับวธิ ีการเกบ็ อนิ ซูลนิ 1. ยาฉดี ท่ยี งั ไม่เปดิ ใช้ ควรเก็บในตู้เยน็ อณุ หภมู ิ 2-8 องศาเซลเซยี ส 2. ไมค่ วรเกบ็ ยาฉีดท่ีชอ่ งวางของท่ปี ระตตู เู้ ย็น เพราะมีอณุ หภูมิเปลย่ี นแปลงบ่อย 3. ยาฉดี ทีม่ ีการเปิดใช้แล้ว ควรเก็บรักษาในท่ีอุณหภูมิไมเ่ กนิ 25-30 องศาเซลเซียส ไม่เก็บในท่ีอุณหภมู ิสูง หรือมีแดดส่อง 4. กอ่ นใช้ยาทเี่ กบ็ ในตเู้ ย็น ให้ทำการคลึงยาบนผา่ มือจนหายเยน็ จึงคอ่ ยนำไปใช้ 5. ถกู ทกุ ข้อ 3. ข้อใดไม่ถูกตอ้ ง 1. Aspart, Glulisine, Lispro เป็นอนิ ซูลนิ ชนดิ ออกฤทธิ์เรว็ (Rapid acting analogues) ฉีดกอ่ น รบั ประทานอาหาร 15 นาที 2. Regular insulin เป็นอนิ ซลู ินชนิดออกฤทธิ์สน้ั (Short-acting) ฉีดก่อนรบั ประทานอาหาร 30 นาที 3. NPH เป็นอินซูลินชนดิ ออกฤทธ์ิยาว (Long-acting) 4. Glargine (Lantus®), detemir (Levemir®), degludec (Tresiba®) อินซูลินชนิด Basal ฉีดตอน เชา้ หรือกอ่ นนอน 5. Premixed human insulin (NPH/RI) มสี ่วนผสมของ 70% NPH กับ 30% RI ฉีดก่อนรับประทาน อาหาร 30 นาที

4. ขอ้ ใดไม่ถูกต้องเกีย่ วกับการปฏิบตั ิตัวยามเจ็บปว่ ย 1. หยดุ ยาฉดี อนิ ซลู นิ เน่ืองจากภาวะเจ็บป่วยผปู้ ่วยอาจรบั ประทานอาหารได้น้อย ทำให้ระดับนำ้ ตาล ในเลือดตำ่ ได้ 2. ผู้ป่วยท่ีรับประทานยา อาจพิจารณาหยดุ ยาบางชนดิ ชั่วคราว ได้แก่ ยากลุ่ม sulfonylurea, ACEI, ARB, SGLT2i, metformin, NSAIDS และกลบั มารบั ประทานตามเดิม เม่ืออาการเจบ็ ปว่ ยดขี ้นึ 3. ดื่มน้ำชว่ั โมงละ ½ -1 แก้ว เพื่อป้องกนั ภาวะขาดน้ำ 4. ตรวจนำ้ ตาลในเลอื ด อยา่ งน้อยวนั ละ 2-4 ครง้ั สำหรับผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 ควรตรวจหาสารคโี ตน ในเลอื ดหรอื ปัสสาวะดว้ ย หากระดับนำ้ ตาลมากกว่า 250 มก./ดล. 5. รบั ประทานอาหารตามปกติ ถา้ รับประทานไม่ไดใ้ หร้ ับประทานอาหารอ่อน เช่น ข้าวต้ม โจก๊ น้ำขา้ ว ขนมปงั หรือนำ้ ผลไม้ 5. ผ้ปู ่วยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 รายใด มคี วามเสย่ี งต่อการเกดิ ผลข้างเคียงจากการใชย้ ากลุม่ statin 1. นาย ก. รับประทานยา ketoconazole เพ่อื รกั ษาเชือ้ ราท่ีเลบ็ ตรวจพบ LDL-c 160 มก./ดล. แพทย์ต้องการใหย้ า simvastatin 40 มก. 2. นาย ข. มีประวตั ิเป็น atrial fibrillation รับประทานยา amiodarone มาตรวจรา่ งกาย พบ LDL 120 มก./ดล. แพทย์ต้องการใหย้ า simvastatin 40 มก. 3. นาย ค. ตรวจพบ LDL-c 190 มก./ดล. แพทยต์ ้องการใหย้ า simvastatin 80 มก. 4. นาย ง. เป็นโรคไตเรื้อรงั อยรู่ ะหว่างการเตรียมตวั ลา้ งไต ตรวจพบ LDL-c 200 มก./ดล. แพทย์ต้องการให้ยา Atorvastatin 40 มก. 5. ถูกทุกข้อ 6. ในผูป้ ่วยโรคไตวายเร้อื รงั ยาเบาหวานตวั ใด/ กลุม่ ใดท่ีสามารถใช้ได้อยา่ งปลอดภัย และยังคงประสิทธิภาพ ของยาเช่นเดิม 1. SGLT-2 inhibitors 2. metformin 3. sulfonylurea 4. DPP4 inhibitors 5. alpha-glucosidase inhibitors 7. ยาเบาหวานกล่มุ ใดที่มีความเสยี่ งตอ่ การเกิดน้ำตาลต่ำมากทีส่ ดุ 1. SGLT-2 inhibitors 2. Thiazolidinediones 3. sulfonylurea 4. DPP4 inhibitors 5. alpha-glucosidase inhibitors

8. ยากล่มุ ใดที่เหมาะสำหรับใชใ้ นผปู้ ว่ ยเบาหวานที่มภี าวะอ้วนร่วมดว้ ย 1. GLP-1 agonists 2. Thiazolidinediones 3. sulfonylurea 4. DPP4 inhibitors 5. alpha-glucosidase inhibitors 9. ในการเดินทางดว้ ยเคร่ืองบิน หรือ รถยนตก์ ารเกบ็ อนิ ซลู นิ แบบใดถูกตอ้ งทสี่ ดุ 1. นำอนิ ซลู นิ ใส่ในกระเป๋าเดินทางโหลดใต้ท้องเครอ่ื ง 2. อินซูลินสามารถนำไวใ้ นที่เกบ็ ของทา้ ยรถได้ ถ้าเดินทางไม่นานนกั 3. เมอ่ื เดินทางด้วยเครื่องบนิ ไม่จำเปน็ ต้องนำอินซลู นิ ติดตวั เม่อื ระยะเวลาเดนิ ทางน้อยกว่า 2 ชัว่ โมง 4. จำเป็นตอ้ งแช่อนิ ซูลนิ ในกระติกนำ้ แข็งทุกครง้ั ทเ่ี ดนิ ทางด้วยรถยนตห์ รอื เคร่ืองบนิ 5. ห้ามนำอินซูลนิ ทงิ้ ไว้ในรถทจี่ อดกลางแดด 10. ยากลุ่มนมี้ ีกลไกในการลดการบีบตัว และการเต้นของหวั ใจ อาจจะทำให้เกิดภาวะ hypoglycemic unawareness หรอื ภาวะน้ำตาลต่ำ โดยท่ไี ม่มีอาการเตือนในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้ ยากลุ่มนค้ี อื 1. angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) 2. angiotensin receptor blockers (ARBs) 3. beta-blockers 4. calcium-channel blockers (CCBs) 5. ยาขับปสั สาวะ กลุ่ม thiazides

แบบทดสอบความรู้ การตรวจเทา้ พืน้ ฐาน (Complete foot Exam) Pre Test และ Post Test [มที ั้งหมด 8 ข้อ ต้องผา่ น 7 ขอ้ ขึ้นไป] 1. ข้อใดไม่ถกู ต้องเกี่ยวกบั การตรวจเท้าเบาหวาน 1. ควรซกั ประวัติแผลท่เี ทา้ ทุกครั้งทม่ี ารบั บรกิ าร 2. ผู้ปว่ ยเบาหวานควรไดร้ ับการตรวจเทา้ อยา่ งละเอยี ดอย่างน้อยปลี ะ 1 ครงั้ 3. ควรมีการส่งต่อเพ่ือวนิ จิ ฉัยและรักษาในผู้ป่วยเทา้ เส่ียงสงู ทุกราย 4. ผู้ตรวจเท้าเบาหวานต้องผ่านการอบรมและฝึกทักษะ 2. ขอ้ ใดคือปจั จยั ทท่ี ำให้เกดิ แผลทเี่ ทา้ 1. Trauma, Neuropathy, Vascular disease 2. เปน็ เบาหวานมานาน ควบคุมไม่ได้ A1c สงู สบู บุหรี่ 3. พฤติกรรมการดูแลเทา้ ไมถ่ ูกต้อง รองเทา้ ไมเ่ หมาะสม 4. ถกู ทุกข้อ 3. ข้อใดเป็นการเตรยี มการตรวจเท้าเบาหวานที่ถูกต้อง 1. สถานท่สี ามารถจัดได้ตามทรัพยากรท่ีมีไม่จำเปน็ ต้องมเี ตยี งตรวจเท้า 2. ผรู้ บั บริการควรทำความสะอาดเทา้ ก่อนการตรวจเท้า 3. ไมม่ ี monofilament ก็สามารถตรวจเท้าในความผิดปกติอ่ืนๆ ได้ 4. ถกู ทุกข้อ 4. ข้อใดไม่ถกู ต้องในการตรวจเลบ็ 1. การตรวจเลบ็ ใชเ้ ทคนิคดู และคลำ ตรวจทลี ะน้วิ ทลี ะขา้ ง 2. ตรวจ trauma > เลบ็ ขบ บวม แดง แผลทีเ่ ล็บ เชอื้ รา 3. เลบ็ หนา มโี อกาสเกดิ แผลได้ง่าย 4. ตรวจ vascular > ดูขนที่หวั แม่เทา้ กด capillary refill

5. ขอ้ ใดถกู ต้องเกยี่ วกับเท้าผิดรปู 1. ใสร่ องเท้าเเตะบ่อยๆ อาจเกิดน้ิวเท้าจกิ งอ claw toe ได้ 2. ตรวจ motor ด้วยการใหผ้ ูป้ ว่ ยงุ้มและกางน้ิวเท้าใหม้ ากที่สุด 3. Charcot foot จำเปน็ ต้องสง่ ตอ่ พบผู้เช่ียวชาญ 4. ถกู ทุกข้อ 6. ขอ้ ใดมรี ะบบไหลเวยี นเลอื ดท่ีขาปกติ 1. Dorsalis Pedis artery=present ความแรง 2 2. ปวดนอ่ งขณะเดนิ น่งั พักแล้วหาย 3. ขนทีข่ าและที่หวั แมเ่ ท้าร่วง ไมม่ ขี น 4. เปน็ ตะคริว ชาเทา้ อวยั วะสว่ นปลายเยน็ เป็นๆ หายๆ 7. ขอ้ ใดไมถ่ กู ต้องในการตรวจประสาทรบั ความรู้สึกที่เท้า 1. ผู้ตรวจต้องอธิบายขน้ั ตอนการตรวจให้ผู้รบั การตรวจเข้าใจกอ่ นทำการตรวจ 2. ใชเ้ ส้นเอ็นกดท่ีเทา้ ขนาดเทา่ กับ 5.07 หรือขนาด 10 กรัม เทา่ นนั้ ใชข้ นาดอ่นื ไม่ได้ 3. การกด Monofilament ควรกดให้นานพอที่จะให้ผ้รู บั การตรวจรบั ความรสู้ กึ ได้ 4. Monofilament แต่ละอนั ไม่ควรตรวจตอ่ เนื่องเกินกว่า 10 ราย 8. รองเทา้ เบาหวานที่ดีทีส่ ุดคือ 1. รองเท้าผ้าใบ นมุ่ มีสายรัดกระชบั 2. รองเทา้ ทตี่ ัดเฉพาะเทา้ แต่ละคน 3. รองเท้าอะไรก็ได้ ที่สวมสบาย ไม่ทำให้เกิดแผล 4. ถกู ทุกข้อ

แบบทดสอบความรู้ การเย่ยี มบ้านผู้ปว่ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ เร้ือรัง Pre Test และ Post Test [มีทั้งหมด 8 ขอ้ ต้องผา่ น 7 ข้อขึ้นไป] 1. กิจกรรมใดที่ควรทำก่อนเยี่ยมบ้าน เพื่อให้ผปู้ ว่ ยได้รับการดแู ลทค่ี รอบคลมุ ตรงกบั ปัญหา และความต้องการ 1. ศกึ ษาแหลง่ ประโยชน์ในเขตรบั ผิดชอบ 2. เตรยี มความร้เู กีย่ วกบั ผูป้ ่วยที่จะไปเยย่ี มบ้าน 3. ศกึ ษาข้อมลู ของผูป้ ่วย ครอบครวั และวางแผนการดแู ล 4. ตดิ ต่อประสานงานขอความร่วมมือจากหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง 2. ข้อใดคือจดุ ประสงค์ของการเยยี่ มบา้ นกรณีผปู้ ว่ ยเบาหวาน หลงั จำหนา่ ยออกจากโรงพยาบาลดว้ ยอาการภาวะ นำ้ ตาลในเลอื ดตำ่ 1. เพอื่ ประเมินถึงปัจจยั ท่สี ่งผลถึงสุขภาพของผู้ปว่ ย 2. เพือ่ ประเมินสงิ่ แวดลอ้ มรา้ นคา้ ร้านอาหารใกล้บา้ นผู้ปว่ ย 3. เพอ่ื ค้นหาบุคคลท่ีจะพาผู้ป่วยไปรบั การรักษาเม่ือมภี าวะฉกุ เฉิน 4. เพ่อื ประเมนิ การรับประทานอาหาร การใช้ยามากเกินความจำเป็น 3. สง่ิ ท่ีต้องทำเป็นอันดับแรกในการเย่ยี มบา้ นผ้ปู ่วยเบาหวานคอื 1. ประเมินกิจวตั รประจำวันของผู้ปว่ ย 2. แนะนำตัว สรา้ งสมั พันธภาพ บอกวตั ถุประสงคก์ ารเยยี่ มบา้ น 3. วดั สญั ญาณชพี เจาะน้ำตาลปลายนวิ้ วัดรอบเอว ประเมินภาวะอ้วนลงพุง 4. ประเมนิ สง่ิ แวดลอ้ มท้ังภายในและภายนอกบา้ น ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ การควบคุมระดับนำ้ ตาลในเลือด 4. ขอ้ ใดคือคำแนะนำที่จำเป็นเรง่ ดว่ นในกรณที ่ผี ู้ปว่ ยเบาหวานมีภาวะอว้ น มอี าการหน้ามดื ใจส่นั มอื สั่น คลา้ ยจะเป็นลมบ่อยๆ และไม่มีผ้ดู ูแล 1. แนะนำใหไ้ ปพบแพทย์ตามนดั ทุกคร้ัง 2. การโทร 1669 เมื่อผปู้ ่วยเกดิ ภาวะฉุกเฉิน 3. ออกกำลงั กายตามคำแนะนำทุกวนั วันละ 30 นาที 4. แนะนำใหร้ ับประทานอาหารและยาให้ตรงตามเวลา

5. ทา่ นจะประเมินผูป้ ว่ ยเบาหวานท่ีมปี ัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงสลบั กบั ต่ำเปน็ ประจำตามข้อใด 1. ประเมนิ เรือ่ งมผี จู้ ัดยาใหผ้ ู้ป่วยหรือไม่ 2. ประเมนิ การรบั ประทานอาหารและเคร่ืองด่ืมรสหวาน 3. ประเมินเรื่องการรับประทานอาหารสัมพนั ธ์กับมื้อยาหรือไม่ 4. ประเมนิ การทำกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกบั นำ้ หนกั ตัวหรอื ไม่ 6. ขอ้ ใดคือสงิ่ ใดทค่ี วรทำในขณะเยี่ยมบ้านผูป้ ว่ ย 1. ใชเ้ วลาในการเยย่ี มประมาณ 45-60 นาที 2. ควรพูดศพั ท์ทางการแพทย์เพือ่ ให้ผู้ปว่ ยสนใจฟงั 3. ชวนผู้ปว่ ยคุยเร่อื งศาสนาของผปู้ ว่ ยเพื่อเป็นการสรา้ งสัมพันธภาพ 4. ถ้าผปู้ ่วยปรับทกุ ข์กบั ท่าน ทา่ นต้องตดั บทวา่ เปน็ การประเมนิ เร่ืองโรคเบาหวานเท่านั้น 7. ขอ้ ใดไม่ใช่เป็นแนวทางการดูแลผปู้ ่วยโรคเบาหวานในครอบครวั 1. สนับสนนุ ให้ครอบครัวเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการดูแล 2. กระตนุ้ ใหค้ รอบครวั ทำกิจกรรมทกุ อย่างแทนผปู้ ว่ ย 3. ให้ความรู้แกผ่ ูป้ ว่ ยทลี ะน้อยตามความสามารถในการรบั รู้ 4. ให้ความชว่ ยเหลอื เพอื่ ให้ผู้ป่วยสามารถกลบั ไปทำกจิ วตั รประจำวนั ได้ตามปกติ 8. ทา่ นจะทำสิ่งใดก่อนปดิ การเยีย่ มบา้ นผ้ปู ว่ ยเบาหวาน 1. ให้แผ่นพับความรเู้ รื่องโรคเบาหวาน 2. เปิดโอกาสใหผ้ ปู้ ่วยสอบถามสง่ิ ที่ยังไมเ่ ขา้ ใจ 3. แนะนำให้รจู้ ักกบั อสม. ทีเ่ ป็นผดู้ ูแลผปู้ ่วยในพน้ี ที่นี้ 4. สรุปปัญหาที่พบ การแก้ไขปญั หาที่ผูป้ ่วยตอ้ งปฏิบัติ และนัดหมายการเย่ียมคร้งั ต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook