Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียนภูมิศาสตร์ ม. 2

เอกสารประกอบการเรียนภูมิศาสตร์ ม. 2

Published by BURINTHORNVORAVITAR, 2021-05-24 13:30:17

Description: เอกสารประกอบการเรียนสังคมศึกษา 3 ส22101 สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของนักเรียน โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน สพม.กท.1 เท่านั้น

Search

Read the Text Version

มาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ให้ความสาคัญในการจัดการศึกษาที่ต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคญั ทสี่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสรมิ ให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ ด้วยเหตุ น้ีจึงเห็นความสาคัญของการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพ และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา โดยการใช้สื่อกลาง ประกอบการการจดั การเรยี นรูเ้ พื่อเพิม่ พูนทักษะการเรียนรูใ้ หผ้ ู้เรียน พฒั นาตนเองอย่างมัน่ คง เอกสารประกอบการเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 สาระภูมิศาสตร์น้ีเป็นของกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียน รัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 เกิดขึ้นจากความมุ่งม่ันต้ังใจ เพอ่ื เพิ่มพูนประสบการณ์ให้มนั่ คงถาวรแกผ่ ู้เรยี น ใหผ้ ้เู รียนไดเ้ กิดการ เรยี นรตู้ ามความสามารถ และพัฒนาตนเองตามศักยภาพตลอดเวลา ทั้งยังสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เป็นกรอบทศิ ทางในการกาหนดเนื้อหา ทักษะ กระบวนการ เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอนสาระท่ี 5 ภูมิศาสตร์ โดยได้ อธิบายรายละเอียดในคาอธิบายรายวิชา และโครงสร้างการเรียนใน หนา้ ค เปน็ ตน้ ไป อย่างไรก็ตามขอบข่ายของเน้ือหาสาระมีความกว้างมาก และต้องเป็นปัจจุบัน การจะศึกษาวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรมใหป้ ระสบความสาเร็จน้นั จึงควรศึกษาเพิ่มเตมิ จากแหลง่ เรียนรู้รอบตัว ข้อมูลจากเว็ปไชต์ สารสนเทศต่าง ๆ ก็จะสามารถ เพิ่มพนู ประสบการณก์ ารเรียนรใู้ ห้เกิดศักยภาพตามความสมารถของ แตล่ ะบคุ คลได้ ผู้ เ รี ย บ เ รี ย ง ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ว่ า เ อ ก ส า ร จ ะ ป ร ะ ก อ บ ก า ร พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ท่จี ะช่วยอานวยความสะดวกในการจดั ทักษะ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ตลอดจนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานกาหนดไว้เปน็ อยา่ งดี ผู้เรียบเรียงขอขอบพระคุณผู้เช่ียวชาญ ผู้เขียนตารา วชิ าการตา่ ง ๆ ตามท่ไี ดบ้ นั ทึกไว้ในบรรณานุกรม รวมถงึ แหล่งภาพ และกราฟกิ ต่าง ๆ ตามที่ได้อา้ งองิ ตามภาพทป่ี รากฎในเลม่ บรุ นิ ทรวรวทิ ย์ พ่วนอยุ๋ เรียบเรยี ง

หน้า คานา ก สารบญั ข การใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ค มาตรฐานตวั ชว้ี ัด ค หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 แผนท่ีและองคป์ ระกอบของแผนที่ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2-3 ภูมศิ าสตรภ์ ูมภิ าคทวีปยุโรป 9 ภมู ิศาสตร์ภมู ิภาคทวีปยโุ รป 9 ภยั พิบัติ และแนวทางการจดั การ 29 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4-5 ภูมิศาสตร์ภูมภิ าคทวีปแอฟริก 34 ภูมิศาสตรภ์ ูมิภาคทวปี แอฟรกิ า 34 ภยั พบิ ัติ และแนวทางการจัดการ 61 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา 67 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตวั อย่าง บรรณานุกรม 73

รหสั วชิ า ส22101 รายวชิ าสังคมศึกษา 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา ชวั่ โมง 60 จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ การใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สารวจ สืบค้น มาตราส่วน ทิศ และสัญลักษณ์ ลักษณะทางกายภาพ ทาเลท่ีตั้ง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางสังคมท่มี ี ผลต่อทาเลท่ีต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมใน ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ ประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ แนวทางการจัดการภัยพิบัติ การ จดั การทางทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มในทวีปยุโรป และทวปี แอฟรกิ า ศึกษา วิเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพอื่ นบ้าน ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาท่ีช่วย เสริมสรา้ งความเข้าใจอันดกี บั ประเทศเพ่ือนบ้านทเี่ ป็นรากฐานของวฒั นธรรม เอกลักษณข์ องชาติ และมรดกของ ชาติ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบทางสังคม พุทธประวัติ ตอนผจญมาร การตรัสรู้ การส่ังสอน ประวตั ิ พระสารบี ุตร พระโมคคัลลานะ นางขุชชุตตรา พระเจา้ พมิ พิสาร มติ ตวนิ ทกุ ชาดก ราโชวาทชาดก พระมหาธรรม ราชาลิไทย สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส โครงสรา้ งและสาระสงั เขปของพระวนิ ัยปฎิ ก พระ สุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก อธิบายและปฏิบัติตนตามธรรมคุณ และปฏิบัติตนตามข้อธรรมสาคัญใน กรอบอริยสัจ 4 อริยสัจ 6 ในเร่ือง ธรรมคุณ 4ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้) ในเรื่อง ขันธ์ (อายตนะ) สมุทัย 5 4 (ธรรมที่ควรละ) ในเร่ืองหลักกรรม (สมบัติวิบัติ 10 อกุศลกรรมบถ (4อบายมุข นิโรธ (ธรรมที่ควร 6 (สามสิ นิรามสิ ) มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ ) ในเรือ่ ง บุพพนิมิตของมชั ฌิมาปฏิปทา ดรุณ 2 บรรลุ) ในเรอื่ ง สุข 6 ธรรรม กุลจิรัฏฐิติธรรม ในเรื่อง ประพฤติธรรม เว้นจาก 38 มงคล 4 สติปัฏฐาน 10 กุศลกรรมบถ 4 ความช่ัว เว้นจากการดื่มน้าเมา พุทธศาสนสุภาษิต กมฺมุนา วตฺตติ โลโก กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย ปูชโก ลภเต ปูช วนฺทโก ปฏิวนฺทน ศึกษาการพัฒนาจิตเพ่ือการเรียนรู้และ ดาเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ สวดมนต์แปล แผ่เมตตา บรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาดว้ ยหลกั อานาปานสติ มรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี การปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธี พิธกี รรม และหลกั คาสอนทเ่ี กีย่ วเนื่องกับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถือ โดยใช้เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ในการสืบคน้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้ทักษะทางภูมิศาสตร์ด้านการสังเกต การแปลความข้อมูลทาง ภูมิศาสตร์ การคิดเชิงพื้นท่ี การคิดแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยี การใช้เทคนิค และเครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ การคิดเชิงภูมสิ ัมพันธ์ การใช้สถิติพื้นฐาน รวมทั้งทักษะดา้ นการสื่อสาร กระบวนการสืบค้นข้อมลู กระบวนการ ทางสงั คม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละการแกป้ ญั หา เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทาง ภมู ิศาสตร์ และมที กั ษะในศตวรรษท่ี ดา้ นการสื่อสาร การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสามารถในการคิด 21 และแก้ปญั หา มีคณุ ลกั ษณะด้านจติ สาธารณะ มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่นั ในการทางาน มีสว่ นรว่ มในการจัดการภัย พิบัตแิ ละการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม สามารถดาเนนิ ชีวิตอยูร่ ่วมกันได้อยา่ งสนั ตสิ ุข เพ่ือให้เกิดคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สามารถทางานอยา่ งมรี ะบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเช่ือม่ันในตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิต สาธารณะ สามารถปฏิบัติตนได้ตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความเข้าใจเก่ียวกับสภาพ ภมู ิศาสตรร์ อบตวั และอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อมไดอ้ ยา่ งยั่งยนื

ตวั ชวี้ ดั ส 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10, ม.2/11 ส 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5 ส 5.1 ม.2./1, ม.2/2, ม.2/3 ส 5.2 ม.2./1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 รวมทงั้ หมด 23 ตวั ชว้ี ดั รหัสวิชา ส22101 รายวชิ า สังคมศึกษา 2 ชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 3 คาบ/สปั ดาห์ หนว่ ยกติ 1.5 หนว่ ยกติ หน่วย ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนกั (ชั่วโมง) (คะแนน) ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั 10 1 แผนทแี่ ละ ส 5.1 ม.2/2 มาตราส่วน ทิศ และสัญลักษณ์เป็นองค์ประกอบ 5 10 องคป์ ระกอบ ของแผนท่ีที่ทาให้เราทราบตาแน่ง ระยะทางและ ของแผนท่ี ทิศทางของส่ิงตา่ ง ๆ ท่ีปรากฎบนผวิ โลก 5 2 ภูมิศาสตร์ ส 5.1 ม.2/1 1. เคร่ืองมืทางภูมิศาสตร์สามารถนาไปใช้ในการ 9 ภูมภิ าคทวปี ส 5.2 ม.2/1 สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เ พื่ อ วิ เ ค ร า ะ ห์ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ 3 ยโุ รป ม.2/2 ภูมิอากาศและทรัพยากรทางธรรมชาติของทวีป ยุโรป 3 ภัยพิบตั ิ และ ส 5.1 ม.2/3 2. ทาเลท่ีต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ใ น ท วี ป ยุ โ ร ป ที่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ การจดั การ ส 5.2 ม.2/3 ประเทศ ภมู อิ ากาศ และทรพั ยากรทางธรรมชาติ ม.2/4 3. ปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางสังคมที่มผี ล ทรพั ยากรทาง ต่อการเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติ และวฒั นธรรมในทวปี ยุโรป และ 1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรปท่ีส่งผลต่อ สิง่ แวดล้อมใน การเกดิ ภัยภบิ ัติ และผลกระทบท่แี ตกต่างกัน 2. สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีมีอิทธิพลตอ่ กิจกรรม ทวีปยโุ รป ของมนุษย์ส่งผลต่อส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ และ ก่อให้เกิดปัญหาการทาลายสิ่งแวดล้อมในทวีป ยุโรป 3. การจัดการภัยพิบัติ และการจัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรป ที่ช่วยให้มนุษย์อาศัยอยู่ ร่วมกบั ธรรมชาติได้อยา่ งยัง่ ยืน

หน่วย ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนกั (ชั่วโมง) (คะแนน) ท่ี การเรียนรู้ การเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ดั 9 10 4 ภูมิศาสตร์ ส 5.1 ม.2/1 1. เครื่องมืทางภูมิศาสตร์สามารถนาไปใช้ในการ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เ พ่ื อ วิ เ ค ร า ะ ห์ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ 3 5 ภมู ิภาคทวีป ส 5.2 ม.2/1 ภูมิอากาศและทรัพยากรทางธรรมชาติของทวีป แอฟริกา 1 10 แอฟริกา ม.2/2 2. ทาเลที่ต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม 3 2 ในทวีปแอฟริกาท่ีมีความสัมพันธ์กับลักษณะภูมิ ประเทศ ภมู ิอากาศ และทรพั ยากรทางธรรมชาติ 4 5 3. ปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางสังคมที่มีผล 8 10 3 2 ต่อการเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในทวปี แอฟรกิ า 5 ภัยพิบัติ และ ส 5.1 ม.2/3 1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกาที่ส่งผล ต่อการเกิดภยั ภบิ ตั ิ และผลกระทบทีแ่ ตกต่างกนั การจัดการ ส 5.2 ม.2/3 2. สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพทมี่ ีอิทธพิ ลต่อกิจกรรม ของมนุษย์ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และ ทรพั ยากรทาง ม.2/4 ก่อใหเ้ กิดปญั หาการทาลายสิ่งแวดล้อมในทวีปแอฟ รกิ ธรรมชาติ 3. การจัดการภัยพิบัติ และการจัดการทรัพยากร และ สิ่งแวดลอ้ มในทวปี แอฟรกิ ที่ช่วยให้มนุษย์อาศยั อยู่ ส่งิ แวดลอ้ มใน ทวปี แอฟริกา รว่ มกับธรรมชาตไิ ด้อย่างยงั่ ยืน สอบกลางภาค 6 ประวัตแิ ละ ส 1.1 ม.2/1 พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผลต่อการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่าง ความสาคัญ ม.2/2 ประเทศเพื่อนบ้าน และยังเป็นรากฐานของ ของ ม.2/3 วัฒนธรรม เอกลกั ษณ์ของชาติ และมรดกของชาติ พระพุทธศาส ม.2/4 นา ไทย มีส่วนในการพัฒนาชมุ ชนและการจัดระเบียบ สังคม 7 พุทธประวตั ิ ส 1.1 ม.2/5 การวิเคราะห์พุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พุทธ สาวิกา ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก ย่อมทาให้ พระสาวก ม.2/6 ได้ข้อคิดและคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างของท่าน เพอ่ื นาไปประยกุ ตป์ ฏิบัติ ศาสนานกิ ชน ในการดาเนนิ ชีวิตอย่างถูกตอ้ ง ตวั อยา่ งและ ชาดก 8 หลกั ธรรมทาง ส 1.1 ม.2/8 ข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ประกอบด้วย 4 พระพทุ ธศาส ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เป็นหลักสาคัญใน นา การดาเนินชีวิตท่ีนาไปสู่ความพ้นทุกข์ หรือหมด ปัญหา ซึ่งทุกคนควรมีจิตสานึกในพระธรรมคุณ 9 พระไตรปฎิ ก ส 1.1 ม.2/7 และพทุ ธศาสน ส 1.1 ม.2/8 และปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรม สุภาษติ พระไตรปิฎก เป็นคัมภีร์ท่ีบรรจุหลักธรรมคาสอน ของพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย พระวินัยปิฎก พระสตุ ตนั ตปิฎก และพระอภิธรรม-ปฎิ ก ส่วนพุทธ

หน่วย ชอื่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ ความคดิ รวบยอด เวลา น้าหนกั (ชั่วโมง) (คะแนน) ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั 3 3 ศาสนสุภาษิตนั้น เป็นส่วนหน่ึงของหลักธรรม ซ่ึง ชาวพุทธทุกคนพึงนาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติ 2 2 ตน 3 3 10 หนา้ ที่ชาว ส 1.2 ม. 2/1 ชาวพุทธทุกคนควรปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อ พทุ ธ และ ม. 2/2 บคุ คลต่างๆ ตามหลักมรรยาทของชาวพทุ ธ 3 3 มารยาทชาว 1 20 60 100 พทุ ธ 11 วันสาคญั ทาง ส 1.2 ม. 2/3 วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา มีคาสอนท่ีสาคัญท่ี เป็นประโยชน์ต่อศาสนิกชนทุกคน ซ่ึงชาวพุทธทกุ พระพทุ ธ ม. 2/4 คนพึงเข้าร่วมในพิธีกรรม ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งในการ ศาสนา ม. 2/5 ปฏิบตั ิตนในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และศาสนพธิ ี 12 การบริหารจิต ส 1.1 ม. 9/2 การสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญ และการเจริญ ม. 10/2 ปัญญาดว้ ยอานาปานสติ และวธิ ีคดิ แบบอบุ ายปลุก ปัญญา ม. 2/11 เร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ เป็นส่วนสาคัญของการพัฒนาจิต เพ่ือการดาเนิน ชวี ิตอยา่ งถูกต้อง 13 การปฏิบตั ติ น ส 1.1 ม. 2/11 การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระ-พุทธศาสนา ตามหลกั ธรรม ย่อมส่งผลดีต่อความสงบเรียบรอ้ ยของสงั คม และ ทาง สง่ ผลต่อการอย่รู ่วมกนั อยา่ งสันตสิ ขุ พระพทุ ธศานา สอบปลายภาค รวม

แผนที่ (map) คือ สื่อท่ีแสดงลักษณะของพื้นผิวโลกบนพ้ืนราบ ในรูปแบบกราฟิกที่มีการ ย่อส่วนให้เล็กลงตามขนาดท่ีต้องการ หรือการถ่ายทอดข้อมูลของพื้นผิวโลก โดยการย่อส่วนตาม มาตราส่วน และเส้นโครงแผนท่ีขนาดต่าง ๆ มีการใช้สัญลักษณ์ สี แทนส่ิงต่าง ๆ บนโลก ลงในพื้นระนาบเดยี วกนั แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ มีด้วยกนั หลายประเภท สามารถจาแนกได้ตามการใชง้ าน เชน่ แผนที่ท่ีแสดงความสูงต่าของพื้นผิวโลก ทั้ง พื้นท่ีขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ โดยใช้เส้นชั้น ค ว า ม สู ง เ ส้ น ล า ย สี เ ป็ น สั ญ ลั ก ษ ณ์ นอกจากน้ียังนาสิ่งท่ีปรากฏบนพื้นผิวโลกมา แสดงในแผนท่ีด้วย เช่น แม่น้า ลาคลอง มหาสมทุ ร ทะเล ภูเขา สงิ่ กอ่ สรา้ ง เปน็ ตน้ แผนที่รฐั กิจ แผนที่1 ภมู ปิ ระเทศประเทศไทย เป็นแผนท่ีท่ีแสดงลักษณะทางการเมืองการ ปกครองของประเทศต่าง ๆ มีช่ือ และที่ตั้ง แสดงไว้ในแผนท่ี เช่น ประเทศ เมืองหลวง เมืองสาคัญ เป็นต้น โดยมีสัญลักษณ์อธบิ ายสิ่ง ต่าง ๆ ไว้ด้วย แผนท่ี2 รัฐกจิ ประเทศไทย 1 แผนทภ่ี มู ิประเทศประเทศไทย สบื คน้ : https://sites.google.com/site/renukorn0903532716/1-1-phaenthi 2 แผนทีร่ ฐั กิจประเทศไทย สบื ค้น : https://sites.google.com/site/kheawihar2/phaenthi-prathesthiy

แผนทเ่ี ฉพาะกรณี เป็นแผนท่ีที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงรายละเอียด หรือแผนทเ่ี ฉพาะ เฉพาะเรื่อง เช่น แผนท่ีแสดงเขตภูมิประเทศ แหลง่ แร่ธาตุ เส้น ทางคมนาคมขนสง่ เป็นตน้ ภาพ3 แผนทีภ่ ัยพิบตั แิ ผน่ ดินไหวประเทศไทย แผนทเี่ ล่ม เปน็ การรวมแผนทีห่ ลายฉบบั ไวใ้ นเลม่ เดยี วกนั ไมว่ ่าจะเปน็ แผนทภ่ี มู ิประเทศ ลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาติ เขตการ ปกครอง ความหนาแนน่ ของประชากร เป็นตน้ ภาพ4 แผนท่เี ลม่ จังหวดั เชยี งใหม่ 3 แผนท่ีภัยพิบัตแิ ผน่ ดินไหวประเทศไทย สืบค้น : http://www.dmr.go.th/n_more_news.php?nid=78531 4 แผนท่ีเลม่ จังหวัดเชยี งใหม่ สืบคน้ : https://www.se-ed.com/product-category

แผนที่5 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศประเทศไทย คือ อัตราส่วนระหว่างระยะทางบนแผนท่ีกับระยะทางจริงบนผิวโลก หรือการย่อส่วนระยะทางจริงลงบนพ้ืนราบ เช่น 1 : 500 หมายถึง ระยะทาง 1 หน่วย บนแผนที่ เทา่ กบั ระยะทางจริง 500 หนว่ ยบนผิวโลกมที ้งั หมด 3 แบบ บอกมาตราสว่ นด้วยคาพูด เช่น ระยะทาง 1 ซม. บนแผนที่ เท่ากับระยะทางจรงิ 500 เมตร บนผิวโลก ใชต้ วั เลขแสดงมาตราสว่ นของแผนที่ ทีเ่ ปน็ หน่วย เดียวกัน เช่น มาตราส่วน 1 : 50,000 หมายถึงระยะทาง 1 ส่วน บนแผนท่ี เท่ากับระยะทาง จรงิ 50,000 สว่ นบนพื้นผวิ โลก มาตราส่วนเส้น หรือแท่ง มีสัญลักษณ์เป็นเส้นตรง มีตัวเลข กากับบอกค่าเท่ากับระยะบนพื้นผิวโลก 5 แผนท่ีประเทศไทย สบื ค้น : http://etvthai.tv/Download/Schedule_Document/11022554_1534166173.pdf

การเลอื กใช้แผนทมี่ าตราส่วนขนาดใด ขน้ึ อยกู่ ับการใชง้ าน หากต้องการขอ้ มลู เกีย่ วกับพ้นื ท่ี ท่ีมีความชัดเจน ละเอียด ก็ควรใช้แผนท่ีมาตราส่วนขนาดใหญ่ เช่น มาตราส่วน 1 : 50,000 เป็นมาตราส่วนขนาดใหญ่จะให้รายละเอียดได้มากกว่ามาตราส่วน 1 : 100,000 ซึ่งเป็นมาตรา ส่วนขนาดเลก็ คือ ตาแหน่งบนผิวโลกที่ทามมุ ระหว่างละตจิ ดู และลองจิจูด คือ เส้นสมมุติท่ีลากขนานกับเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทางเหนือ และทางใต้ ตามหลักสากลกาหนดให้เส้นศูนย์สูตรมีค่าเป็น 0 องศา ดังนั้น ท่ีขั้วโลกเหนือจะมีละติจูด 90 องศาเหนือ และทขี่ ว้ั โลกใต้มลี ะตจิ ดู 90 องศาใต้ (Meridians) คือ เส้นสมมุติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยงั ข้ัวโลกใต้ตามหลัก สากลกาหนดให้เส้น Meridians (Prime Meridian เมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ) มีค่าเท่ากับ 0 องศา จากน้นั จงึ นับไล่ไปทางตะวันตก 180 องศา และไปทางตะวันออก 180 องศา

ภาพ6 เส้นโครงแผนท่ี 1. เสน้ สมมติใดแบ่งซกี โลกเป็นแนวเหนือ – ใต้ ................................................................................................................. 2. เสน้ สมมติใดแบ่งโลกเปน็ ซกี โลกตะวนั ออก และตะวันตก ....................................................................................... 3. เส้นสมมตใิ ดสามารถจาแนกภมู อิ ากาศได้ ...................................................................................................................... 4. เสน้ สมมตใิ ดใชใ้ นการคานวณเวลา .................................................................................................................................... 5. ประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างเสน้ Longitude ใด ........................................................................................................... 6. ระหวา่ งเสน้ สมมตใิ ดเปน็ เขตภมู อิ ากาศอบอุ่น ............................................................................................................. 7. ระหวา่ งเส้นสมมตใิ ดเป็นเขตภูมอิ ากาศหนาว .............................................................................................................. 8. ทาไมประเทศไทยจึงมภี ูมอิ ากาศแบบรอ้ นชืน้ ............................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... 9. ระหว่างเสน้ สมมติใดใช้แบ่งภูมกิ าศเขตรอ้ น ................................................................................................................. 10. เส้น 0 องศาใชแ้ บ่งเวลาลากผ่านเมอื งใด ................................................................................................................... 6 ภาพเส้นโครงแผนที่ สบื คน้ : http://jeyanandini.blogspot.com/2012/10/latitude-and-longitude-of-earth.html

(Direction) คือส่วนประกอบสาคัญในแผนท่ี ท่ีใช้วัด หรืออ้างอิง โดยมีเข็มทิศ หนั ไปยงั ขว้ั โลกเหนอื สาหรับทิศเหนอื มี 3 ประเภท ทิศเหนอื จริง / True North ทิศเหนอื แมเ่ หล็ก Magnetic North ทิศเหนอื กรดิ / Grid North เปน็ แนวเข็มทศิ ชไ้ี ปหาขั้วเหนือ หรือแนวทิศเหนือแผนที่ จะเปน็ หรอื เรยี กว่า แนวทศิ เหนอื ของแม่เหล็กโลกในขณะที่ปลาย แนวทศิ เหนอื ตามเสน้ กริดทางดง่ิ ภมู ิศาสตร์ จะเปน็ แนวเสน้ ตรง เข็มทิศอยู่นิ่งแลว้ ในบางพื้นทข่ี อง ของเส้นกริดที่ใช้ในกระบวนการ ทีช่ ้ีไปยังขัว้ โลกเหนือ หาก โลกแนวทิศเหนือแมเ่ หลก็ จะช้ไี ป จัดทาแผนท่ี ซึ่งจะสงั เกตได้ชัดวา่ สมมตุ ิว่าโลกกลม และมีเสน้ แนวเดยี วกบั ทิศเหนอื จรงิ หรอื ขั้ว ปกติ หากมเี ส้นกริดแผนทแี่ ละ สมมติท่ีเรยี กว่าเสน้ Latitude โลกเหนือจริง ๆ แต่ในบางพ้ืนท่ี เสน้ แนว Latitude และ และ Longitude แลว้ ณ แนวทิศเหนือแมเ่ หล็กอาจจะไม่ Longitude แล้ว เสน้ กริดดงิ่ ของ ตาแหน่งหรอื สถานท่ใี นแผนท่ี เปน็ แนวเดียวกบั ทิศเหนือจรงิ เสน้ กรดิ แผนทีแ่ ละเสน้ หรือบนภมู ปิ ระเทศ แนวทศิ หากเปน็ คนละแนวหมายความว่า Longitude อาจจะไมท่ ับกนั หรือ เหนือจรงิ ในแผนทจี่ ะหมายถึง แนวทิศเหนอื แมเ่ หลก็ จะเบยี่ งเบน อาจจะเบีย่ งเบนออกจากกนั อยา่ ง แนวหรือทิศทางของเสน้ ออกจากขั้วโลก นั่นหมายถึงทศิ ชัดเจน เนื่องจากเส้น Longitude Longitude ทีเ่ ป็นแนวตบี ไป เหนอื ทีอ่ า่ นจากเขม็ ทิศทวั่ ไป เปน็ แนวดงิ่ ที่ตีบเขา้ หาจดุ ขัว้ โลก ยงั ข้วั โลกเหนือ อาจจะไมใ่ ชท่ ศิ เหนือซง่ึ เปน็ ขัว้ โลก แต่ กรดิ แผนที่จะเปน็ ไปตามแนวก ก็ได้ ดังนน้ั เขม็ ทศิ บางประเภทจงึ รดิ ตามของระบบที่ใชจ้ ัดทาแผนท่ี แสดงทั้งแนวทศิ เหนือแม่เหล็กและ ชุดนั้น ๆ ทิศเหนือจรงิ ภาพ 7 Direction 7 ภาพ Direction สบื ค้น : https://www.geocaching.com/help/index.php?pg=kb.chapter&id=106&pgid=226

เครื่องหมายทีแ่ สดงในแผนที่ เพ่ือใช้แทนของจริงในแตล่ ะพื้นท่ี ทั้งรปู จดุ เส้น ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ มีการออกแบบให้เข้าใจได้ง่ายโดยใช้รูปร่าง ขนาด สี เส้น และมีคาอธบิ ายสญั ลักษณ์กากับไว้เสมอ ข้อมูลเชิงคุณภาพ : บอกชนิด ประเภท รูปร่าง ลักษณะทางกายภาพ บอกปริมาณไม่ได้ มีการจาแนกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น สีเหลือง แสดงเขตทะเลทราย ในแผนที่ แสดงเขตภูมิอากาศ หรือสดี าแสดงเขตยอดเขาสูง ฯลฯ ข้อมูลเชงิ ปริมาณ : แสดงจานวนมากนอ้ ย จาแนกหรือจัดกล่มุ ข้อมูลตามค่าของขอ้ มูล เช่น แผนท่ีแสดงความหนาแน่นของประชากร แผนที่แสดงปริมาณทรัพยากรน้ามัน หรือปริมาณน้าฝน ทีม่ า : ดารงค์ ฐานดี และคณะ. (มมป.). สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทศั น์. วิธกี ารอ่าน และแปลความหมาย - สังเกตชือ่ แผนที่ ว่าเป็นแผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ แบบใด - ดคู าอธิบายสญั ลักษณ์ การใช้สีระดับความสงู – ตา่ ตวั อยา่ ง - แผนที่เขตภมู อิ ากาศทวปี แอฟริกา - แสดงลักษณะเขตอากาศของทวีปเป็น 7 ลักษณะเขต อากาศ เช่น สีเขยี วเป็นเขตอากาศรอ้ นชน้ื พืชพรรณธรรมชาติจงึ มี ลักษณะเปน็ ปา่ ดิบชื้น ซงึ่ มีลักษณะเขตทางตะวันออกของเกาะ มาดากัสการด์ ว้ ย ลกั ษณะเขตภมู อิ ากาศทวปี แอฟริกา สบื ค้น : https://www.britannica.com/place/Africa/Medite rranean-vegetation



PORTUGAL ทวีปยุโรปตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ และส่วนมากอยู่ในซีกโลกตะวันออก ทางเหนือติดกับ มหาสมุทรอาร์กติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางตะวันออกติดกับทวีปเอเชีย ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นอนุทวีปทางด้านตะวันตกของทวีปยูเรเชีย ระหว่าง longitude 9°W-66°E และ latitude 36°N-71°N ทิศเหนือ จรด Arctic Ocean ทศิ ตะวันออก จรด Ural Mountains Ural River and Caspian Sea ทิศตะวนั ตก จรด Atlantic Ocean and North Sea ทิศใต้ จรด Mediterranean Sea

ทวีปยุโรปมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของโลกมีพื้นท่ีประมาณ 10.35 ล้านตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาค Denmark Estonia Belarus Bulgaria Finland Iceland Czech Republic Hungary Ireland Latvia Moldova Poland Lithuania Norway Romania Russia Sweden Slovakia Ukraine United Kingdom (UK) Austria PORTUGAL Belgium Czech Republic France Germany Ireland Liechtenstein Luxembourg Monaco Netherlands Switzerland Albania Andorra Bosnia and Herzegovina Croatia Cyprus Gibraltar (UK) Greece Italy Kosovo Malta Montenegro North Macedonia Portugal San Marino Serbia Slovenia Spain Vatican City Turkey (East Thrace)

เกิดจากการกัดเซาะของธารน้าแข็งอย่างรุนแรง จนเป็น ลกั ษณะที่สงู เต้ีย ๆ ขรุขระ บางบรเิ วณเปน็ แอ่งทะเลสาบขนาดเล็ก กระจายทั่วไปบริเวณท่ีสูงแอลป์ ตอนเหนอื ของนอร์เวย์ สวเี ดน ฟินแลนด์ บรติ ชิ ไอลส์ คาบสมทุ รแสกนดเิ นเวยี ร์ คาบสมทุ รบริตานี ในฝรง่ั เศส ได้รับผลจากการเคล่ือนตัวของธารน้าแข็ง ทาให้เกิดอ่าว เล็ก แคบ ยาว เว้าลึก เข้าไปในแผ่นดิน มีลักษณะพิเศษคือหน้าผาสูงชัน คล้ายหุบเขารูปตัว U หรอื เรียกวา่ Fjord แผนที่8 ภมู ิประเทศสาคญั ในทวปี ยุโรป 8 แผนท่ภี มู ิประเทศสาคัญในทวีปยโุ รป สบื ค้น : https://lizardpoint.com/geography/europe-physical-quiz.php

ประกอบด้วยท่ีสูง และภูเขาท่ีถูกธารน้าแข็งในยุคน้าแข็งกัดเซาะและสึกกร่อนมาเป็น เวลานานจึงมีความสูงไม่มาก เช่น เทือกเขาเชอเลนบนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย เทือกเขาแกรม เพียนในสกอตแลนด์ ที่สูงแลปป์ทางตอนเหนือของประเทศนอร์เวย์ สวีเดน และฟินแลนด์บาง บริเวณเป็นแอง่ และทะเลสาบขนาดเล็กกระจายอยู่ทว่ั ไป เชน่ พน้ื ที่ในประเทศฟนิ แลนด์ สวีเดนมี ทะเลสาบขนาดเล็กอยู่เป็นจานวนมาก บริเวณชายฝั่งมีอ่าวเล็ก ๆ แคบ ยาว และเว้าลึกเข้าไปใน แผน่ ดนิ เรียกว่า fiord หรือ fjord พบบรเิ วณชายฝัง่ ของนอร์เวย์ และบรติ ชิ ไอลส์ มี พื้ น ท่ี ต้ั ง แ ต่ ช า ย ฝั่ ง ม ห า ส มุ ท ร แอตแลนติก บริเวณที่ราบใหญ่ของฝรั่งเศส ท่ีราบต่าของเบลเยียม เนเธอร์แลนด์ตอนเหนือของ เยอรมนี โปแลนด์ เบลารสุ ยเู ครน และรัสเซยี พื้นท่ีเปลือกโลกเก่า “บอลติกชีลด์” (Baltic Shield) และ บริติชไอลส์ (British Isles) ซ่งึ เปน็ เกาะทีม่ ลี กั ษณะเป็นทรี่ าบ เช่น ท่ีราบลุ่มแม่น้าเทมส์บนเกาะเกรตบริเตน ท่ีราบลุ่มแม่น้าลัวร์ แม่น้าการอน และแม่น้าแซนในฝร่ังเศส ที่ราบลุ่มแม่น้าเวเซอร์และแม่น้าเอล เบอในเยอรมนี เป็นแหล่งอยู่อาศัยท่ีมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น และเป็นแหล่งเกษตรกรรมท่ี สาคัญ เกิดจากการสึกกร่อนมาเป็นเวลานาน ทาให้เป็น พืน้ ทรี่ าบสงู และมีเทอื กเขาท่มี คี วามสูงไมม่ ากกระจายอย่ทู ่วั ไป ท่ีราบสูงเมเซตาในสเปน ท่ีราบสูงมาซีฟซองตราลในฝร่ังเศส ทีร่ าบสงู โบฮเี มียในสาธารณรฐั เชก็ ทีร่ าบสงู อาร์เดนในเบลเยียม แบลก็ ฟอเรสต์ทางตะวนั ตกเฉียงใต้ ของเยอรมนี แมน่ ้าเอโบร แม่น้าดานบู มคี วามสงู มากกวา่ ภเู ขาในเขตหนิ เก่า เทอื กเขาแอลป์ เทอื กเขาพิเรนีส เทอื กเขาแอเพนไนน์ เทือกเขาได นารกิ แอลป์ เทือกเขาทรานซิลเวเนียนแอลป์ เทือกเขาคารเ์ พเทียน เทือกเขาคอเคซัส แม่นา้ ดานูบ ไรน์ โรน แซน เป็นบริเวณที่เปลือกโลกยังไม่สงบจึงมีแผ่นดินไหวและ ภูเขาไฟปะทเุ กิดขึน้ บอ่ ยภูเขาไฟทม่ี ีพลัง เชน่ ภูเขาไฟเอตนา ภเู ขาไฟเวซเู วยี ส ในอติ าลี เกาะท่ีราบสูงหิมะ ชายฝ่ังทะมี Fjord เกาะต้ังอยู่ระหว่างแนว เปลอื กโลก จงึ มีภเู ขาไฟมากกว่า 100 ลกู มักเกิดแผ่นดนิ ไหว และภูเขาไฟระเบดิ

เช่น แบลีแอริก ไอโอเนียน คอร์ซิกา ซาดิเนียร์ ครตั มอลตา ซชิ ิลี เกาะนี้ยงั มีภูเขาไฟปะทุรนุ แรง เป็นเกาะ ทมี่ ีโครงสรา้ งหนิ ฐานทวีปจงึ ไมม่ กี ารปทขุ องภูเขาไฟ หรอื แผน่ ดนิ ไหว 6 6 6 แผนท่ี9 เขตภูมปิ ระเทศของทวีปยุโรป 1. เขตภูมิประเทศ ................................................................................................................................ 2. เขตภมู ปิ ระเทศ................................................................................................................................... 3. เขตภูมปิ ระเทศ................................................................................................................................... 4. เขตภมู ิประเทศ................................................................................................................................... 5. เขตภูมปิ ระเทศ................................................................................................................................... 6. เขตภมู ปิ ระเทศ................................................................................................................................... 9 แผนท่ีเขตภูมปิ ระเทศของทวปี ยโุ รป สืบคน้ : http://creativecommons.org/licenses/by/2.5/

ทวีปยุโรปมลี กั ษณะภมู ิอากาศ และพืชพรรณธรรมชาติจาแนกได้ 7 เขต โดยสงั เขป แผนที่10 Major climatic regions of Europe อณุ หภูมิต่าตลอดปี ฤดูหนาวยาวนาน ฤดรู อ้ นอณุ หภมู สิ ูงขึ้นเล็กนอ้ ยเพยี ง ชว่ งเวลาส้ัน ๆ ได้แก่ ตอนเหนอื ของคาบสมทุ รสแกนดิเนเวีย และชายฝ่งั มหาสมุทรอารก์ ตกิ ของ รัสเซยี มอสส์ ตะไครน่ ้า ในฤดูรอ้ นอาจมไี มด้ อก ขนาดเล็กช่วงสนั้ ๆ 10 แผนที่ Major climatic regions of Europe สืบคน้ : https://www.britannica.com/place/Europe/Climate

ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น ฤดูร้อนอากาศอบอนุ่ ขึน้ เล็กนอ้ ยในชว่ งเวลา สน้ั ๆ ไดแ้ ก่ บริเวณตอนกลางของคาบสมทุ รสแกนดิเนเวีย พนื้ ท่ีสว่ นใหญข่ องฟนิ แลนด์ ตอนเหนอื ของรสั เซยี และตอนกลางของไอซแ์ ลนด์สว่ นใหญเ่ ป็นป่าสนหรือป่าไทกา และต้นไมท้ ม่ี ีใบเลก็ แคบ ลา ต้นตรง กิง่ สัน้ เช่น ต้นเฟอร์ สปรซู ลาช เฮมล็อก ไพน์ ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็นเป็นระยะเวลานาน ฤดูร้อนมีฝนตก เน่ืองจากมีลมที่พัดมาจากทะเลเหนือ ได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ยุโรปตะวันออก และบางส่วนของยุโรปใตแ้ ถบอติ าลี และคาบสมทุ รบอลข่าน ปา่ ไม้ผลัดใบ และปา่ ไม้ผลัดใบผสมกับ ป่าสนพื้นที่สูงมีต้นเฟอร์ สปรูซ ลาช พื้นที่ราบมีต้นโอ๊ก บีช เมเปิล ซีดาร์ วอลนัต พ้ืนที่ห่างไกล ทะเลมีฝนตกน้อย มีทุ่งหญา้ อากาศอบอุ่นชื้นตลอดปี เนื่องจากได้รับ อิทธิพลจากกระแสน้าอุ่นแอตแลนติกเหนือ กระแสน้าอุ่นกัลฟ์สตรีม และลมประจาตะวันตก ฤดูหนาวอากาศจึงไม่หนาวจัด ฤดูร้อนอากาศอบอุ่น มีฝนตกตลอดปี ได้แก่ บริเวณชายฝั่งยุโรป เหนือ และยุโรปตะวันตก มีป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน ป่าไม้ผลัดใบเป็นไม้เน้ือแข็งที่มีค่าทาง เศรษฐกิจ เชน่ โอก๊ เมเปิล เอล์ม ส่วนต้นสนเป็นพวกไพน์และเฟอร์ https://www.booking.com/hotel/no/retro-villa-pa-reine-i-lofoten.th

อากาศค่อนข้างร้อนและแห้งฤดูร้อนมีแสงแดดจัด ฤดูหนาว อากาศอบอนุ่ มีฝนตกชกุ ในฤดูหนาว ไดแ้ ก่ บรเิ วณชายฝ่ังทะเลเมดิเตอร์เรเนยี นในสเปน โปรตุเกส คาบสมุทรอิตาลี และชายฝ่ังคาบสมุทรบอลข่าน ต้นไม้มี ใบเป็นมัน เปลือกหุ้มลาต้นหนา เพื่อ ปอ้ งกนั การระเหยของน้า เชน่ โอก๊ มะกอก ผลไม้สกุลส้ม ซีดาร์ ซา้ ย : https://unsplash.com/s/photos/cliffs-of-bonifacio%2C-bonifacio%2C-corsica%2C-france ขวา : https://www.bonifacio.co.uk/agenda-manifestation/trail-of-bonifacio/ อากาศ ค่อนข้างแห้งแล้ง มีปริมาณฝนเฉลี่ยรายปีต่า ได้แก่ ทางเหนือของทะเลดาและทะเลแคสเปยี น ในยูเครน มอลโดวา และรัสเซยี ทงุ่ หญ้าส้นั ไม่มี ต้นไม้ใหญ่ อาจมีไม้พุ่มเต้ียขึ้นห่าง ๆ เรียกว่า “ทงุ่ หญา้ สเตปป”์ landscapes, Bagerova Steppe, Kerch Peninsula, Crimea, Ukraine สืบค้น https://wild-wonders.photoshelter.com/image/I0000tTO5h3_NiU4 อุณหภูมิลดลงตามระดับความสูง ในอัตราความสูง 1,000 เมตร อุณหภูมิ ลดลง 6.4 C ได้แก่เทือกเขาสูงทางเหนือ และทางใต้ของทวีป เช่น บริเวณเทือกเขาแอลป์ เทอื กเขาคอเคซสั พชื พรรณแตกตา่ งตามระดับความสูง บริเวณเชงิ เขาพบไม้จาพวกสน บนยอดเขา มีหมิ ะปกคลมุ Alps Mountains,Switzerland สบื คน้ https://www.influencive.com/the- switzerland-structure-how-to-ensure-your-business-could-run-

อยู่ทางตะวันตกของทวีป ยาว 1,319 กม.ไหลจากประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ลงสู่ทะเลเหนือท่ีเมืองรอตเทอร์ดาม ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นเส้นทางคมนาคม ขนส่งทางน้าภายในทวีปท่ีสาคัญที่สุดของทวีปยุโรป เพราะไหลผ่านแหล่งอุตสาหกรรม และแหล่ง ถา่ นหินในเยอรมนี จนได้รับสมญาว่า “แม่น้าถ่านหิน” ภาพ11 ภาพ12 อยู่ในประเทศรัสเซียส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป มีต้นน้าอยู่บริเวณ ตอนกลางของประเทศ ไหลลงสู่ทะเลแคสเปียน ยาว 3,689 กม. นับเป็นแม่น้าที่ยาวท่ีสุดในทวีป ยโุ รป ใชเ้ ปน็ เส้นทางเดินเรือ ขนสง่ สินคา้ ภายในประเทศ การชลประทาน การควบคมุ น้าท่วมและ เปน็ แหลง่ ผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้า มี ต้ น น้ า อ ยู่ ใ น ประเทศเยอรมนี ไหลลงสู่ทะเลดา ยาว 2,850 กม. ยาวเป็นอนั ดับ 2 รองจากแมน่ า้ วอลกา เป็นแม่น้าที่ไหลผ่านหลายประเทศ และมีแม่น้าสาขาจานวนมากปากแม่นา้ เป็นดิน ด อ น ส า ม เ ห ล่ี ย มเ น้ื อ ที่ ก ว้ า ง ใ ห ญ่ จึ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก แ ต่ ไ ม่ ค่ อ ย มี ความสาคัญในการขนส่งสินค้าเนื่องจากไหล ลงส่ทู ะเลภายใน ภาพ13 แมน่ ้าดานบู ในเมอื งอูล์ม 11 แม่น้าไรน์ ชว่ งเยอรมันนี : www.angelstartravel.com 12 แมน่ ้าวอลกาในเมืองยาโรสลฟั ล์ ยามเช้าในฤดูใบไม้ร่วง : https://th.wikipedia.org 13 แม่นา้ ดานูบในเมอื งอลู ม์ ประเทศเยอรมนี : https://th.wikipedia.org

ต้นนา้ อยูใ่ นประเทศรัสเซยี ไหลผา่ นประเทศเบลารุสและยเู ครน แลว้ ลงสู่ทะเลดา ยาว 2,285 กม. เป็นแม่นา้ สายท่ยี าวเป็นอันดับ 3 ของทวีปยุโรปรองจากแม่น้า วอลกาและแมน่ า้ ดานบู มคี วามสาคญั ในการใช้เดนิ เรอื และผลติ กระแสไฟฟ้าพลังน้า ภาพ14 ภาพ15 ยุโรปมีทะเลสาบบนภูเขามาก โดยเฉพาะในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี และออสเตรีย ส่วนทะเลสาบบนที่ราบพบมากในประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และด้านทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือของรัสเซีย โดยเฉพาะในประเทศฟินแลนด์เป็นที่ลุ่มท่ีมีทะเลสาบขนาดเล็กและ ใหญ่ทั่วไป ซึ่งเกิดจากการเคล่ือนตัวของธารน้าแข็งเม่ือหลายล้านปีมาแล้ว จนได้รับสมญาว่า “ดินแดนหมื่นทะเลสาบ” และมีทะเลแคสเปียนซึ่งเป็นทะเลสาบน้าเค็มที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็น แหล่งผลติ นา้ มันที่สาคญั แหง่ หนง่ึ ของโลก คือ ช่องทางน้าที่ยาว และแคบที่ถูกประกบไปด้วยริมฝ่ังสูงชัน หรือภูเขา อันเกิดจากธารน้าแข็งกัดเซาะที่ราบหุบเขา (Valley) ท่ีมีช้ันหินแข็งโดยรอบ ส่วนมากเกิดขึ้นใน ยุคน้าแข็ง ประกอบกับการละลายของธารน้าแข็ง ร่วมกับการเด้งตัวกลับของเปลือกโลกเน่ืองจาก การหายไปของธารน้าแข็ง และตะกอนจานวนมาก (ในทางธรณีวิทยาเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า Isostasy) ซึ่งการเดง้ ตวั กลับของเปลือกโลกเกดิ จากการท่นี ้าหนักจานวนมากกดทับบรเิ วณหนึ่งของ เปลือกโลกเกดิ การยบุ ตัว และเมือ่ ตาแหนง่ ของน้าหนกั หายไปตาแหนง่ ผวิ โลกกเ็ กดิ การเด้งกลบั อย่าง ช้า ๆ ปกติบริเวณ Fjord มักจะพบชั้นแนวต้ังของเปลือกโลก (Sill) หรือแนวดิน หรือหินที่สูงชัน บริเวณปากลาน้า ซึ่งเกิดมากจาก terminal moraine ของธารน้าแข็งท่ีเคยเกิดขึ้นบริเวณน้ัน terminal moraine คือ แนวดินหรือหินท่ีเป็นเหมือนสันเข่ือน ซ่ึงเกิดจากการพัดพามารวมกันทจ่ี ดุ ปลายสุดของการไหล ในทีน่ ้ี คอื สันกนั้ ธารนา้ แขง็ ท่เี กิดจากการไหลของธารนา้ แข็งในหลายกรณีนี้ มักทาให้เกิดกระแสน้าเช่ียว หรือกระแสน้าเค็มขนาดใหญ่ขึ้นดว้ ย พบมากภาคเหนือของทวีปยุโรป เพราะเคยมีน้าแขง็ ปกคลมุ มาก่อนในสมยั ยคุ นา้ แข็ง ลกั ษณะภูมปิ ระเทศแบบนี้ เรียกว่า ฟยอร์ด 14 ภาพแม่นา้ นีเปอร์ สืบคน้ : www.worldatlas.com/articles/what-is-the-source-of-the-dnieper-river.html 15 ทะเลสาบแคสเปยี น สบื ค้น : https://www.re-discovery.org

แผนที่16 แมน่ าสาคญั 15 9 26 10 37 11 48 12 1 ......................................................................................... 2 ......................................................................................... 3 ......................................................................................... 4 ......................................................................................... 5 ......................................................................................... 6 ......................................................................................... 7 ......................................................................................... 8 นักเรียนคดิ ว่าเขตอากาศใดเหมาะแกก่ าร ตง้ั ถ่นิ อยู่อาศัย ............................................................. ................................................................................................ 16 แผนท่ีแมน่ าสาคัญ สืบคน้ : https://lizardpoint.com/geography/europe-rivers-lvl1-quiz.php

ทวีปยุโรปมีป่าไม้ผลดั ใบที่เป็นไม้เนอ้ื แข็ง เชน่ โอ๊ก เมเปลิ เอล์ม และป่าสน เช่น เฟอร์ ไพน์ โดยแหล่ง ป่าไม้สาคัญอยู่แถบคาบสมุทรสแกนดิเนเวียในพื้นท่ีประเทศฟินแลนด์ สวีเดน นอร์เวย์ และแถบยุโรปตะวันออก พ้ืนท่ีด้านตะวันออก และเขตไซบีเรียของรัสเซีย นอกจากน้ี ยงั มใี นเยอรมนี ออสเตรยี โรมาเนีย และบัลแกเรยี ปัจจุบนั ทวปี ยโุ รปมีการจัดการดูแล พ้ืนที่ป่าไม้อย่างดี เน้นการปลูกปา่ ชดเชยพน้ื ท่ที ี่ถูกตัด และมีการบังคบั ใช้กฎหมายอยา่ งเข้มงวดใน การจดั การป่าไม้ ภาพ17 ภาพ18 ทวีปยโุ รปมสี ัตวป์ ่าน้อยชนิด และเป็นสัตวท์ ม่ี ีขนาดกลางลงมา พบบรเิ วณ ตอนเหนอื และทางตะวันออกของทวีปมี สตั วป์ ่าทส่ี าคญั เชน่ หมีขั้วโลก สุนัขจิ้งจอก กวาง เอลก์ กวางเรนเดียร์ ห่านป่า กระตา่ ยปา่ บเี วอร์ สว่ นทางใต้บริเวณชายฝั่ง และพ้นื ทห่ี ม่เู กาะ มเี ตา่ ทะเล และสัตว์สะเทินน้าสะเทินบกชนิดต่าง ๆ มีนกนานาชนิดกระจายอยู่ทั่วทวีป รวมทั้งสัตว์น้าตาม ธรรมชาติบรเิ วณทะเลเหนอื และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางตะวันออกเฉียงเหนือและตอนกลางของเกาะเกรตบริเตน ภูมิภาคลอร์ เรนของฝรง่ั เศส ตอนกลางของสเปน เยอรมนี สวเี ดน ออสเตรยี และยูเครน บ ริ เ ว ณ ต อ น ก ล า ง ข อ ง ท่ี ร า บ สู ง ม า ซี ฟ ซ อ ง ต ร า ล ข อ ง ฝ รั่ ง เ ศ ส ในเขตไซบีเรยี ของรัสเซยี ยเู ครน สาธาณรัฐเชก็ และในโปรตเุ กส บริเวณทะเลเหนือในเขตสหราชอาณาจักร นอร์เวย์ เดนมาร์ก เนเธอรแ์ ลนด์ และทางตะวันออกเฉยี งใตข้ องโรมาเนยี และรัสเซยี 17 Maple : https://www.nutraingredients-usa.com/Article/2018/08/23 18 Polar bear : wwf.panda.org

พบมากบริเวณเกาะเกรตบริเตนของสหราชอาณาจักรของตอนเหนอื ของ ฝร่งั เศส แควน้ รูร์ แควน้ แซกโซนใี นเยอรมนี ตอนใต้ของโปแลนด์ เบลเยียม สาธารณรฐั เชก็ โรมาเนีย ยูเครน และรสั เซยี ...................................................... ...................................................... ....... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ....... ....... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ....... ....... ภาพความหนาแนน่ ของประชากรในทวีปยโุ รป สบื คน้ : http://www.thaigoodview.com/node/88253 ประชากรหนาแนน่ ภาคกลาง และภาคใต้ของ UK ภาคเหนือของฝรั่งเศส ภาคกลางของเยอรมัน เบลเยียม เนเธอแลนด์ บางส่วนของยุโรปตะวันออก เช่น โปแลนด์ เช็ค ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ประชากรเบาบาง บริเวรคาบสมทุ รสแกนดิเนเวยี ไซบเี รยี เน่ืองจากมอี ากาศหนาว 2. กล่มุ แอลไพน์ ผิวคอ่ นขา้ ง 1. กลมุ่ นอรด์ กิ มผี ิวขาว คล้ากว่ากลุ่มนอร์ดกิ รูปร่าง รูปร่างสงู ใหญ่ ผมสีนา้ ตาลหรอื สี สงู ปานกลางกะโหลกศรษี ะ ทอง นยั น์ตาสีฟา้ กะโหลกศรี ษะ กวา้ งค่อนขา้ งกลม ผมสี ยาวรชี าวนอรเ์ วย์ สวเี ดน น้าตาล ชาวสวติ เซอรแ์ ลนด์ เดนมาร์ก ฟนิ แลนด์ ไอซแ์ ลนด์ รสั เซีย ยเู ครน ออสเตเรีย ฮังกรี เยอรมนั ฝร่งั เศส กล่มุ เชอ้ื ชาตมิ องโกลอยด์ เป็นคนผิวเหลือง รปู ร่างเล็ก นัยนต์ าสนี า้ ตาล ผมดา จมกู ค่อนขา้ งแบน กะโหลกศรีษะ 3. กลุ่มเมดเิ ตอร์เรเนยี น ผวิ คอ่ นขา้ งกลม เช่น ชาวซามิ หรือชาวแลปปใ์ นนอรเ์ วย์ สวเี ดน คอ่ นข้างคลา้ รปู รา่ งสนั ทดั ผม ฟินแลนด์ ชาวฟินน์ในฟินแลนด์ ชาวแมกยารใ์ นฮังการี และนยั นต์ าสีดากะโหลกศรษี ะยาว ชาวสเปน โปรตเุ กส อิตาลี กรซี

แบ่งเปน็ 3 กลุ่มภาษา ภาษาเยอรมันทางเหนือ ใช้ในบางประเทศในกลุม่ ส่วนใหญใ่ ช้ในกล่มุ ยุโรป เช่น ภาษานอร์เวย์ ยุโรปตะวนั ตก ยโุ รปใต้ กลาง และยโุ รปตะวนั ออก เดนมาร์ก ไอซ์แลนด์ และยุโรปตะวันออก เชน่ เช่น โปแลนด์ รัสเซยี ภาษาเยอรมนั ตะวนั ออก ภาษาสเปน ฝรง่ั เศส อิตา ลตั เวยี ลทิ ัวเนยี เบลารสุ เช่น ภาษากอทิก เลยี น โปรตุเกส บลั เกเรยี ฮงั การี มอนเตเน ภาษาเยรมันตะวนั ตก เชน่ โกร เซอร์เบีย ภาษาองั กฤษ เยอรมัน นิกายโรมันคาทอลคิ มีศูนยก์ ลางท่ี นับถอื ในกลุ่มประชากรสว่ นนอ้ ยแถบ นครรฐั วาติกัน กรุงโรม ประเทศอิตาลี ประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศที่นบั ถือสว่ นใหญ่คอื อิตาลี บอสเนีย เฮอร์แซโกวีนา รัสเซยี ฝรั่งเศส โปรตเุ กส สเปน แอลบีเรีย นกิ ายโปรแตสแตน สว่ น พระพุทธศาสนา พราหมณ์-ฮนิ ดู ใหญน่ บั ถือในประเทศเบล สว่ นใหญ่นบั ถอื ในกลุ่มผู้อพยพ เยี่ยม UK เยอรมัน เข้ามาใหม่ เชน่ กลุม่ ชาวอินเดยี ชาวจีน นิกายออทอดอกซ์ สว่ นใหญน่ ับถอื ในประเทศ โรมาเนยี ยูเครน รัสซยี เซอรเ์ บีย กรีซ ภาพ : St. Peter’s Basilica และมาซโิ ดเนยี หรอื มหาวหิ าร นักบุญเปโตร, อติ าลี

ประชากรมีการปกครอง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ท วี ป ยุ โ ร ป กลุ่มยุโรปใต้แถบคาบสมุทร ร่ ว ม กั น ใ น รู ป แ บ บ มีความเป็นเมืองมากกว่า บอลข่าน ได้พัฒนาตนเอง ประชาธิปไตย มีฐานะดี ชนบท เน่ืองจากมีความ จ า ก สั ง ค ม ช น บ ท สู่ สั ง ค ม มีการศึกษาสูง ยึดมั่นใน เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า ท า ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม จ า ก ก า ร วินัยเป็นสาคัญ ทาให้แต่ วิทยาการ วิธีคิด และ ให้บริการการท่องเที่ยว ทั้งน้ี ละประเทศเหน็ ความ วิธกี ารดาเนนิ เกิดข้ึนด้วยปัจจัยอย่างหนึ่ง สาคัญ ใน การ อ นุ รั ก ษ์ ชีวิตท่ที นั สมยั คื อ ก า ร เ ปิ ด รั บ วั ฒ น ธ ร ร ม วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ต น เ อ ง วิทยาการ และนามาปรับเข้า ซึ่งมีวัฒนธรรมในคริสต์ กับบริทบของตน จึงส่งผลให้ ศาสนาทีค่ ลา้ ยคลึงกัน มีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ มากขนึ้ การอพยพย้ายถิน่ ฐานสู่ประเทศทเ่ี จรญิ แล้วเป็นปัจจัยสาคญั ในการก่อใหเ้ กดิ การ เปลย่ี นแปลงทางสังคมในดา้ นตา่ ง ๆ ท้ังเศรษฐกจิ เทคโนโลยี การคา้ และการ ลงทุน ซงึ่ ผู้อพยพเขา้ มาทางานผิดกฎหมาย แม้ทางการ เชน่ ฝรัง่ เศส หรอื เยอรมนั จะมมี าตรการป้องกันแตก่ ไ็ ม่สามารถปราบปรามหรอื รับมือได้ ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาแรงงานล้นตลาดส่งผลให้ต้องใชง้ บประมาณแผ่นดนิ ดูแล ยุโรปอยู่ในภาคอุตสาหกรรม แต่การเกษตรก็เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ สรา้ งมูลค่าสูง เน่อื งจากมผี ลผลิตทม่ี คี ุณภาพสงู เป็นทีต่ ้องการของตลาด แหล่งเพาะปลกู สาคญั คือท่ีราบฝร่ังเศส เลยี้ งกนั ในหลายประเทศตามสภาพภมู ิอากาศ ดา้ นเหนอื ของเยอรมนี ตะวันออกของ UK เช่น เขตเมดิเตอร์เรเนยี น เลยี้ งโคเนอื้ และ ทรี่ าบคาบสมทุ รอิตาลี และในประเทศ แกะ บรเิ วณภาคพน้ื ชายฝ่ังตะวนั ตก เลีย้ งโค ยูเครน เพราะมแี หล่งน้าเพียงพอ ประกอบ นม สกุ ร สตั วป์ กี เขตทนุ ดรา เล้ียงกวางเรน กบั ดินอุดมสมบรู ณ์ จึงมพี ืชเศรษฐกิจคือ เดียร์ เขตทุ่งหญา้ งสเตปป์ เลยี้ งแพะ แกะ ขา้ วสาลี ถว่ั มันฝรั่ง ขา้ วโพด ข้าวโอ๊ด มา้ และเนอ้ื ขา้ วบารเ์ ลย์ แอปเปลิ ส้ม มะกอก องนุ่

ยโุ รปมีภูมิอากาศท่ีเหมาะแก่การทาประมง ป่าไมม้ นี ้อยลงสว่ นใหญเ่ ป็นป่าอนรุ ักษ์ แต่ คอื ตอนกลางของทะเลเหนือเรยี กวา่ ปจั จบุ นั เรม่ิ มีการปลูกป่าขึน้ ใหม่ ส่วนใหญ่ Dogerbank ซึ่งเป็นบริเวณกระแสน้าอุน่ เป็นปา่ สนไมอ้ ่อน อย่างประเทศนอรเ์ วย์ แอตแลนตกิ เหนอื ไหลมาบรรจบกับ สวเี ดน ฟนิ แลนด์ รสั เซยี เปน็ ไปเพอื่ การทา กระแสนา้ เย็นกรนี แลนดต์ ะวันออกทาให้มี ป่าหมุนเวียนเพื่อนาไปทากระดาษ กอ่ สร้าง แพลงตอนซ่ึงเปน็ อาหารของสตั ว์นา้ อย่าง เครือ่ งเรือน บรเิ วณอ่าวบอทเนยี ของสวีเดน แซลมอล คอ็ ด แฮลบิ ัต นอกจากนีม้ ี ฟินแลนด์ ทงั้ นี้รสั เซยี ยงั มีการปลกู ป่าเพือ่ ทะเลสาบแคสเปียน ทะเลดา แม่น้าวอลกา อุตสาหกรรมมากท่สี ุดของโลกเพราะมพี นื้ ที่ ปลาทจี่ บั ได้มากคอื สเตอร์เจียน เพ่อื นามา มากแตก่ ม็ ีการนาเขา้ ไม้เนอ้ื แข็งจากปา่ เขต ทาไขค่ าร์เวียร์ ซงึ่ เป็นสินค้าสง่ ออกของ รอ้ น รสั เซีย ภาพ19 ภาพ20 ภาพ21 ภาพ22 แหล่งสาคัญ เช่น เมืองยอร์กและเมืองนอตทิงแฮมทางตอนเหนือของ สหราชอาณาจกั ร แคว้นรรู ์ แควน้ ซาร์ และเมืองไลพ์ซกิ ในเยอรมนี แหล่งโมเซลในฝร่งั เศส บรเิ วณ ลมุ่ แมน่ ้าซอมเบรอะเมิสในเบลเยยี ม 19 Coal สบื ค้น : time.com/4757802/trump-100-days-coal/ 20 Bauxite สืบคน้ : https://samso.com.au/asx/bauxite-the-next-commodity-rush/ 21 Copper สบื คน้ : https://themagicisinyou.com/products/copper 22 Mine Slovenia สืบค้น : http://www.slovenia-explorer.com

แหล่งสาคญั เช่น แหลง่ คิรนู า และเยลวี ารท์ างตอนเหนือของสวเี ดน แหล่งควิวอยร็อกในยูเครน และภูมิภาคลอร์เรนทางตะวนั ออกเฉยี งเหนือของฝรั่งเศส แร่อื่น ๆ เช่น บ็อกไซต์ ทองแดง กระจายอยู่ในหลายประเทศ เช่น ยูเครน โปแลนด์ สโลวีเนีย เบลารุส และรัสเซีย การทาเหมืองแร่ในทวีปยุโรปมีท้ังประเภทเหมืองเปิด (เหมืองบนดิน) และเหมืองใต้ดินโดยใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหม่เข้ามาช่วยทาการขุดเจาะและสารวจสาย แร่ อย่างดาวเทียม คอมพิวเตอร์ เครื่องมือกล ท้ังนี้ปริมาณแร่ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ เนอ่ื งจากประเทศ ต่าง ๆ นาไปใช้ในอุตสาหกรรมมากและมกี ารขดุ แรใ่ ชก้ ันมานานแล้ว ทาให้สนิ แร่ เหลอื น้อยลง ยุโรปมีพัฒนาการทางด้านอุตสาหกรรมมาต้ังแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 ปจั จุบันเป็นศนู ย์กลางอตุ สาหกรรมชั้นนาของโลก อตุ สาหกรรมมคี วามเจริญกา้ วหน้ามากในภูมภิ าค ยุโรปตะวันตก ยุโรปใต้ และยุโรปเหนอื ส่วนยุโรปตะวันออกมีความเจริญก้าวหน้านอ้ ยกว่าภูมภิ าค อืน่ ๆ แตม่ กี ารเรง่ พัฒนาอตุ สาหกรรมให้ทันสมัยทดั เทียมภมู ิภาค มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่สร้างรายได้ ให้กับ ประเทศต่าง ๆ จานวนมาก เพราะมีแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย ซง่ึ ไดร้ บั การรักษาไว้อย่างดี ประกอบกับอากาศทเ่ี ย็นสบาย มีสง่ิ อานวยความสะดวกพรอ้ ม ท้งั ทพ่ี ัก การกิน การคมนาคมขนส่งมีความปลอดภัยสูง จึงเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว เมืองท่องเที่ยวที่ สาคัญ เช่น กรุงลอนดอน กรงุ ปารีส กรงุ อัมสเตอร์ดมั กรุงเวยี นนา กรงุ เอเธนส์ กรงุ มอสโก บริเวณภาคเหนือและภาคกลาง เชน่ เมอื งเบอรม์ งิ แฮม แมนเชสเตอร์ เชฟฟีลด์ อุตสาหกรรมหลกั เชน่ เหล็ก และเหลก็ กล้า เคร่ืองจักร ยานยนต์ เคมีภณั ฑ์ การต่อเรอื แควน้ อัลซาซ แควน้ ลอร์เรนเมอื งลยี ง กรงุ ปารสี อุตสาหกรรมหลกั เชน่ เหล็ก และเหลก็ กลา้ การทอผ้า นา้ หอม เคร่ืองแตง่ กาย รถยนต์ เครือ่ งบิน บรเิ วณล่มุ แม่น้าไรนแ์ ละแมน่ ้ารรู ์บริเวณกรงุ เบอร์ลิน เมืองมวิ นกิ และเมืองชตุทท์ การ์ท อตุ สาหกรรมหลกั เช่น เหลก็ และเหล็กกล้า เคร่ืองจักรยานยนต์ การต่อ เรอื การผลิตรถยนต์เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร บรเิ วณทีร่ าบลมุ่ แมน่ า้ โป เมืองเนเปิลส์ อุตสาหกรรมหลกั เหลก็ และเหลก็ กล้า การตอ่ เรอื เคร่อื งจกั ร อปุ กรณ์สาหรบั การขนสง่ ยานยนต์ ส่ิงทอ กล่ันนา้ มัน ผลิตชนิ้ ส่วนยานอวกาศ กรุงมอสโก เมืองเซนต์ปีเตอรส์ เบิร์กเมืองนิจนีย์นอฟโกรอด อุตสาหกรรมหลกั น้ามนั และผลติ ภัณฑน์ ้ามัน เคมีภณั ฑ์ เหลก็ แกส๊ ธรรมชาติ ยุทโธปกรณ์ ไมแ้ ละ ผลติ ภัณฑท์ ีท่ าจากไม้

ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ทาให้ประเทศในทวีปยุโรปมีการค้าระหว่างประเทศขยายตัวและเพิ่มมากข้ึนท้ังภายในและภายนอก ทวีป ประเทศท่ีมีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศสูง ได้แก่ เยอรมนี ฝรั่งเศส อังกฤษ อิตาลี เนเธอรแ์ ลนด์ ประเทศคูค่ า้ ทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ ประเทศทวปี ยุโรปดว้ ยกัน สหรัฐอเมริกา ญป่ี นุ่ จนี และ รสั เซยี มี ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง แ ล ะ มี บ ท บ า ท ท า ง เศรษฐกิจโลกมาก คือ สหภาพยุโรป มีวัตถุประสงค์เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน การเป็นตลาดเดียวทาให้ปัจจัยด้านบุคคล สินค้า บริการ และเงินทุน สามารถเคล่ือนย้ายไดอ้ ย่าง เสรีในกลมุ่ ประเทศสมาชิก ปจั จุบนั ปริมาณสนิ ค้าที่สหภาพยุโรปผลิตไดม้ ีประมาณร้อยละ 35 ของโลก เครือ่ งจกั ร ยานยนต์ อากาศยาน พลาสติก ยาและเวชภณั ฑ์ เหล็ก และเหลก็ กลา้ โลหะ เยอื่ ไม้และกระดาษ ส่งิ ทอ เหล้าอง่นุ สินค้าวัตถุดิบ เช่น น้ามันดิบ เคร่ืองจักร โลหะยานยนต์ เครอ่ื งบนิ พลาสตกิ อาหาร เสื้อผา้ สาเร็จรูป ภาพ23 ภาพ24 ผ ลผ ลิ ตที่ ผ ลิ ตได้ บางอ ย่ างมี ร าคาสู งกว่ าที่ น าเข้ า รวมท้ังปัญหาท่ีดินมีราคาสูง และขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรกรรม ท้ังนี้ แนวโน้มภาคเกษตรกรรมมี การขยายตวั มากขนึ้ ในแถบยุโรปตะวนั ออก เน่อื งจากยังมพี ้นื ทวี่ า่ งและมแี รงงานอยมู่ าก เครื่องจกั รกล เคร่อื งมอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ยานยนต์ เคร่ืองบิน เคมีภัณฑ์ เวชภัณฑ์ เภสัชกรรม การแปรรูปอาหาร ผลิตผลทางการเกษตร เคร่ืองมือสื่อสาร ท่เี ตบิ โตอยา่ งต่อเน่อื ง สินคา้ ส่วนใหญใ่ ชเ้ ทคโนโลยีสูง สินค้าจากจีน เกาหลีใต้ และประเทศอ่ืน ๆ มรี าคาตา่ กว่าสินค้าในยุโรป โดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อาหาร เคร่อื งนงุ่ หม่ ทัง้ น้ียุโรปเปน็ กลมุ่ เศรษฐกิจทเี่ ข้มแข็ง CE marking is a certification mark that ท่ีสุดทั้งในฐานะท่ีเป็นตลาดรับซื้อสินค้า มีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสูง จึงมี indicates conformity with health, safety, อานาจในการต่อรองสูง มีบทบาทในการกาหนดนโยบายทางการค้า เช่น สินค้าที่ and environmental protection standards ตลาดยุโรปรบั ซ้อื ต้องมคี วามปลอดภยั สูง ตอ้ งเป็นมติ รต่อสง่ิ แวดล้อมมกี ารประทบั ตรา for products sold within the European Economic Area ที่มา : https://en.wikipedia.org/wiki/CE_marking 23 Aircraft : thttps://th.wikipedia.org 24 Petroleum : www.sanook.com

การคมนาคมที่สะดวก ท้ังทางน้า ทางบก หรือทางอากาศ ย่ิงบริเวณใกล้แม่น้า ชายฝั่งทะเล ล้วนเป็นชุมชนหนาแน่น เป็นทาเลทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และอุตสาหกรรมขนาดใหญ่อย่างดี ย่ิง จนทาให้เปน็ ศูนยก์ ลางทางเศรษฐกิจในเมอื งสาคัญ ................................................................................................. .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

อทุ กภัยเป็นหนง่ึ ในภัยพิบตั สิ าคญั ของทวปี ยโุ รป ซงึ่ สร้างความเสียหายใหแ้ กช่ ีวิต และทรัพย์สนิ ของผู้คนเป็นจานวนมาก สาเหตุ เกิดจากพายุ และฝนตกหนักต่อเน่ือง ทาให้ระดับน้าในเขื่อน ทะเลสาบ และแม่น้าสายต่าง ๆ มปี รมิ าณมากจนระบายสู่ลมุ่ น้าด้านล่าง หรอื ออกสู่ ทะเลไม่ทันทาให้เกิดน้าล้นตล่ิง เข้าท่วมพื้นท่ีเป็น บริเวณกว้าง หรือเกิดจากหิมะละลาย ทาให้น้าท่วม ฉับพลนั ในพืน้ ท่หี นึง่ เป็นระยะเวลาส้ัน ๆ ผลกระทบ ทาให้ที่อยู่อาศัย สิ่งก่อสร้าง พั ง ท ล า ย จ า กก า ร ถู ก กร ะ แ ส น้ า ที่ ไ ห ล เ ช่ี ย ว พั ด พ า ไ ป ผู้คนและสัตว์เลี้ยงอาจจมน้าตาย พื้นท่ีเกษตรกรรม ถูกน้าท่วมเสียหาย เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด ภาครัฐต้องมีรายจา่ ยสงู ขึ้นจากการบรู ณะซ่อมแซมและ ช่วยเหลอื ผู้ประสบอุทกภยั นอกจากนี้ ยงั ทาใหข้ าดน้า สะอาดในการอุปโภคบริโภค รวมถงึ เกิดโรคระบาดได้ง่าย ภาพ25 นา้ ทว่ มเยอรมันนี ภาพ26 นา้ ทว่ มฝรงั่ เศส ยุโรปต้ังอยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ ในฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็นจัด มีหิมะตก ซึ่งบางครงั้ อาจมีพายหุ ิมะตกหนักในพนื้ ที่ชุมชนเมือง สาเหตุ เกดิ จากลมพายุที่มีกาลงั แรงพดั เอาหิมะและความหนาวเยน็ จัดเขา้ สู่แผ่นดนิ โดยมัก เกิดในบริเวณรอยต่อระหว่าง 60 องศาเหนือ ที่เรียกว่า แนวปะทะอากาศซ่ึงเป็นบริเวณที่อากาศ เย็นจัดจากข้ัวโลกมาปะทะกับอากาศอบอุ่นชื้นที่มาจากบริเวณภาคพ้ืนสมุทรหรือภาคพื้นทวีปท่ีไหล ข้ึนไปทางเหนือแนวปะทะอากาศเป็นบริเวณท่ีเกิดหิมะตกหนักมากจนกลายเป็นพายุหิมะ ซึ่งมีหิมะ ตกลงมาทบั ถมหนามากกว่า 30 เซนติเมตร ผลกระทบ หิมะท่ีตกหนักมากอาจทาให้มีผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บจากอากาศที่หนาวเยน็ จดั หรือถูกหิมะถล่มได้ อาคารบ้านเรือน รถยนต์ต้องถูกหิมะท่วมทับในระดับสูง นอกจากนี้ยังส่งผล กระทบต่อการสัญจรท้ังทางบกและทางอากาศ ทางบกอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุ หรือการจราจรตอ้ ง หยุดชะงัก ส่วนทางอากาศ อาจทาให้ต้องเล่ือนหรือยกเลิกเที่ยวบิน รวมถึงโรงเรียนต้องปิดการ เรยี นการสอนเป็นการช่วั คราว temperatures were hovering around -20 degrees and wind chills nearing -50 degrees on January 31, 2019 in Chicago, Illinois. (Photo by Scott Olson/Getty Images) 25 ภาพน้าทว่ มเยอรมันนี วนั ท่ี 04 มิ.ย. 2556 สบื ค้น : https://www.posttoday.com/world/226322 26 ภาพนา้ ท่วมฝรัง่ เศส 4 มถิ นุ ายน 2559 สบื ค้น : https://cms.kapook.com

พายหุ ิมะทน่ี ่าสนใจ และเปน็ ภัยพบิ ัตทิ สี่ รา้ งความเสยี หายต่อยโุ รป และอเมริกาเหนือคือ Polar Vortex หรอื กระแสลมวนในเขตขว้ั โลก เปน็ กระแสลมทพี่ ัดเอาความหนาวเย็นมาปกคลุมไป ทั่วพ้ืนท่ีรอบบริเวณมหาสมุทรอาร์กตกิ โดยปกติทางตอนเหนอื ของสหรัฐอเมริกาจะมีกระแสนา้ อนุ่ ไหลวนอยู่เป็นตัวกักไม่ให้ลมหนาวเคลื่อนลงมาแต่เนื่องจากผลกระทบของภาวะโลกร้อนที่ทาให้ น้าแข็งข้ัวโลกละลายส่งผลให้อุณหภูมิในมหาสมุทรต่าลง กลายเป็นทาให้เกิดปรากฏการณ์โพลาร์ วอร์เท็กซ์เคลอ่ื นลงตอนใต้เข้าสู่สหรัฐอเมรกิ า และทางเหนือของยุโรป ปรากฏการณ์ท่ีสภาวะอากาศ มีอุณหภู มิสูงข้ึน กว่า ป ก ติ มากกว่า 35 °C ติดต่อกัน เป็น หลาย วัน หรื อ หลาย สัปดาห์ และมีความรุนแรง แตกตา่ งกันไปในแต่ละพ้นื ท่ี ภาพ27 คลน่ื ความร้อนในฝรั่งเศส สาเหตุ อากาศร้อนจัดสะสมอยู่บริเวณในแผ่นดินหรือพัดพามากับกระแสลมแรงจาก ทะเลทรายเกดิ เป็นคล่นื ความร้อน เช่น กระแสลมรอ้ นจากทะเลทรายในทวีปแอฟริกาที่พดั เขา้ สู่ทวีป ยุโรปบริเวณสหราชอาณาจักร เขตเมดิเตอร์เรเนียน ทาให้เกิดความแปรปรวนของความร้อนใน อากาศ อุณหภมู สิ ูงผดิ ปกติ ผลกระทบ รา่ งกายออ่ นเพลีย เหน่ือยล้าอาจเสยี ชวี ิตดว้ ยโรค Heat Strokeทาให้ทวปี ยโุ รป โดยเฉพาะยุโรปใต้และยุโรปตะวันตก เกิดการขาดแคลนน้า และเกิดไฟป่าท่ีรุนแรง เช่น สเปน โปรตุเกส ฝรั่งเศส อิตาลี กรีซ พ้ืชผลทางการเกษตรเสียหาย สัตว์เล้ียงล้มตายนอกจากนี้ ยงั อาจเกิดนา้ ท่วมฉบั พลนั เนือ่ งจากการละลายของธารนา้ แขง็ ภาพ28 แผน่ ดนิ ไหวในอติ าลี 27 ภาพคลื่นความร้อนในฝร่ังเศส 2 กรกฎาคม 2558 สบื ค้น : https://www.posttoday.com/world/593328 28 ภาพแผ่นดินไหวในอติ าลี 02 พฤศจิกายน 2559 สืบคน้ : https://www.posttoday.com/world/463203 และ https://www.boredpanda.com/italy-earthquake-before-after/

เกิดแผ่นดินไหวบ่อยที่สุดในทวีปยุโรป คือ บริเวณตอนกลางของประเทศ อติ าลี เน่อื งจากอยู่ใกลร้ อยต่อระหวา่ งแผ่นเปลอื กโลก สาเหตุ เกิดจากการเคล่ือนที่ของแผ่นเปลือกโลกโดยทวีปยุโรปต้ังอยู่บนแผ่นเปลือกโลก ยูเรเชียเปน็ สว่ นมาก ยกเว้นพนื้ ทขี่ องประเทศอติ าลีทีต่ ้ังอยู่บนรอยตอ่ ระหว่างแผน่ เปลอื กโลกยูเรเชีย กับแผ่นเปลือกโลกแอฟริกา อีกท้ังมีรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กด้านตะวันตกเฉียงใต้ ในประเทศสเปน การเคล่ือนท่ีของแผ่นเปลือกโลกทาให้เกิดแผ่นดินไหวสภาพอาคารบ้านเรือนพัง เสยี หายจากแรงส่นั สะเทอื นของแผ่นดนิ ไหวทีร่ นุ แรงขนาดกลางและขนาดเล็กบ่อยเกือบทกุ ปี ผลกระทบ แรงส่ันสะเทือนท่ีรุนแรงทาให้อาคารบ้านเรือนพังทลาย แผ่นดินแยก หรือแผ่นดินทรุด ผู้คนได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการถูกสิ่งของหรืออาคารบ้านเรือนหล่นทับ และอาจเกดิ ไฟไหม้ตามมาได้หากในพืน้ ท่ีชมุ ชนมีท่อแก๊สรั่ว นอกจากน้ี หากเกดิ แผ่นดนิ ไหวในพ้ืนท่ี ลาดชันหรือเทือกเขาก็ทาให้เกิดแผ่นดินถล่มตามมา และถ้าเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงใต้ทะเลหรือ มหาสมุทรกจ็ ะทาให้เกิดสึนามิ .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................

1 16 ภเู ขา 31 46 2 17 32 47 3 18 33 48 4 19 34 49 5 20 35 50 6 21 36 51 7 22 37 52 8 23 38 53 9 24 39 54 10 25 40 55 11 26 41 56 ภูเขา 12 27 42 57 13 28 43 58 14 29 44 59 15 30 45 60



ทวีปแอฟริกาใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกมีพื้นท่ีประมาณ 30 km² มีทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีมีค่าอยู่เป็นจานวนมาก โดยเฉพาะป่าไม้ สัตว์ป่า และแร่ อย่าง เพชร ทองคา ทองแดง น้ามันดิบ และแก๊สธรรมชาติ ประชากรประกอบไปด้วยชนเผ่าต่าง ๆ ซึ่งบางเผ่ายังคงดารงชีวิต แบบดงั้ เดมิ ชาวยโุ รปมักเรียกว่า “ทวปี มืด” หรือ “กาฬทวีป” เพราะเปน็ ดนิ แดนทไี่ ม่มีคนรู้จักมา ก่อนต้ังอยู่ระหว่าง latitude 37°N-35°S และ longitude 17°W-51°E มี Equatorial Plane ลากผา่ นทวปี จงึ คล่อมระหวา่ ง ซีกโลกเหนอื และใต้ ทิ ศ เ ห นือ จ ร ด Mediterranean Sea, Strait of ทศิ ตะวนั ออกจรด Red Sea, Indian Ocean Gibraltar ทิ ศ ต ะ วั น ต ก จ ร ด Atlantic Ocean, Gulf of ทศิ ใต้จรด Atlantic Ocean, Indian Ocean Guinea

ปัจจุบันเป็นแหล่งนักลงทุนจานวนมากสนใจลงทุน และเริ่มมีบทบาทในประชาคมโลกมาก ข้ึน เพราะการมีทรพั ยากรมีค่าหลายชนดิ เป็นท่ีต้องการในสังคมโลก แอฟริกามีจานวนประชากร ประมาณ 1,284 ล้านคน (ปี 2561) แบ่งออกเป็น 5 ภูมิภาค มีประเทศทั้งหมด 54 ประเทศ (เกาะบางเกาะเป็นเมืองข้ึนของฝรง่ั เศส องั กฤษ ) Algeria Egypt Libya Djibouti Eritrea Ethiopia Somalia Morocco Sudan Tunissia Nile Valley South Sudan Benin Burkinafaso Indian Ocean islands CaboVerde Ivory Coast Madagascar Mauritius The Gambia Ghana Comoros Mayotte Guinea Guinea-Bissau Seychelles Liberia Mali Mauritania Niger East African Community Nigeria Senegal Uganda Rwanda Burundi Sierra Leone Togo Kenya Tanzania Angola Cameroon Chad Southeast Africa Central African Republic Gabon Mozambique Malawi Democratic Republic of the Congo Zambia Zimbabwe Republic of the Congo Equatorial Guinea São Tomé and Príncipe Botswana Eswatini (Swaziland) Lesotho Namibia South Africa

เทือกเขาแอตลาสวางตัวในแนวขนานกับ ชายฝ่ังทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในประเทศโมร็อกโก แอลจีเรีย และตูนิเซีย “ตูบคาล” เป็นยอดเขา สูงสุด มีความสูง 4,167 เมตร ในเขตประเทศโมร็อกโก การวางตัวของเทือกเขาแอตลาสทาให้ เปน็ แนวปะทะฝนกบั ภูเขา ส่งผลหนา้ เขาเขตชายฝั่งมีปริมาณฝนตกมาก แนวหลังเขาเปน็ เขตเงาฝน มฝี นตกน้อย แผนที่ 29 ภมู ปิ ระเทศสาคญั ในทวปี แอฟรกิ า 29 ภมู ิประเทศทวปิ แอฟรกิ า สบื ค้นที่ : https://imgur.com/r/imaginarymaps/nbqmC

เขตทีร่ าบสงู กว้างใหญ่ ตง้ั แตเ่ ขตทะเลทรายสะฮารา ถึงอ่าวกินี ได้แก่ ทสี่ ูงฟตู าจาโลน ทีร่ าบสูงจอส และที่สงู อาดามาวา แม่น้าทไ่ี หลผา่ นตอนกลางเป็น แม่น้าท่ีมีความสูงต่าไม่เท่ากันอย่าง แม่น้าเซเนกัล แม่น้าไนเจอร์ แม่น้าเบนเว ตอนกลาง ของทะเลทรายสะฮารามีทวิ เขาอาฮักการ์ในแอลจเี รีย ทิเบสตีในชาดทอดตัวในแนวตะวันออก ตะวันตก เป็นที่ราบสูงท่ีมีความสูงมาก เช่น ท่ีสูงเอธิโอเปีย มีภูเขาสูงอยู่ท่ัวไป เช่น เทือกเขาคิลิมันจาโรในแทนซาเนีย ท่ีมียอดเขาคีโบ สูง 5,895 เมตร สงู ทส่ี ดุ ในทวปี ยอดเขาท่มี หี มิ ะและธารน้าแขง็ ปกคลมุ ตลอดปีในประเทศเคนยา มีความสูงถึง 5,199 เมตร นอกจากนี้มีหุบเขารอยเล่ือนท่ีเรียกว่า “Great Rift Valley” เป็นหุบ เขาท่ีเกิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก ทาให้เกิดเป็นหุบเขาลึกมีทิวเขาและหน้าผาสูงชัน มีทะเลสาบต่อเนอ่ื งกันหลายแหง่ เช่น ทะเลสาบวกิ ตอเรีย ทะเลสาบแทนกนั ยกี า ทะเลสาบมาลาวี ต้นกาเนดิ แม่น้าคองโก และแมน่ า้ แซมบีซี คือที่ราบสูงในประเทศแองโกลา มีเทือกเขาดราเคนส์เบิร์กอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ แอฟริกาใต้และประเทศเลโซโท มียอดสูงสุดชื่อ “Edendale” สูง 3,482 เมตร สูงท่ีสุดในเขตน้ี ทงั้ เปน็ ตน้ กาเนิดของแม่น้าออเรนจ์ ทางตะวนั ตกเฉยี งใต้มที ะเลทรายคาลาฮารี และทะเลทรายนามิบ ชายฝั่งทะเลไม่ค่อยเว้าแหว่งมาก ไม่มีทะเล ภายใน หลายแห่งเป็นหน้าผาชันขนานกับชายฝ่ัง ชายฝ่ังจึงมีที่ราบแคบ ๆ เป็นแนวยาว โดยเฉพาะ ทางด้านตะวันออกและตอนใต้ของทวีป เช่น ที่ราบชายฝ่ังทะเลประเทศเคนยา แทนซาเนีย โมซัมบิก และแอฟริกาใต้ แม่น้าสาคัญ คือ แม่น้าไนล์ แม่น้าคองโก แม่น้าไนเจอร์ แม่น้าแซมบีซี ซ่ึงเกิดจาก ท่ีสูงตอนกลางของทวีป ท่ีราบจะเกิดขึ้นได้อย่างแคบ ๆ ก็เมื่อมีแม่น้าไหลผ่าน บางตอนสูงชัน เป็นหนา้ ผา และเป็นเกาะแก่งทาใหน้ ้าไหลแรง ใช้ประโยชนใ์ นการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ พืน้ ท่ีราบลุ่มส่วน ใหญ่จะเป็นเขตเกษตรกรรมสาคัญ และประชากรอาศัยอย่างหนาแน่น เน่ืองจากมีดินตะกอนแม่น้า อันอดุ มสมบูรณ์ โดยเฉพาะที่ราบลุ่มแม่ไนล์

บริเวณที่ต่ากว่าพื้นดินโดยรอบ เรียกว่า “แอ่งแผ่นดิน” เป็นลักษณะ ภูมิประเทศเด่นของทวีป เช่น แอ่งแผ่นดินคาลาฮารี รับน้าจากแม่น้าโอกาวางโกไหลลงสู่ทะเลสาบ อึงกามี ประเทศบอตสวานาแล้วซึมหายไปในแผ่นดิน แอ่งแผ่นดินคองโกรับน้าจากท่ีราบสูง และกลายเป็นต้นแม่น้าคองโก แอ่งแผ่นดินทางตะวันตก พบแอ่งแผ่นดินเดลจูฟ (Draa el Djouf) แอ่งอื่น ๆ เช่น แอ่งแผ่นดินชาด แอ่งแผ่นดินซูดาน แอ่งแผ่นดินกัตการา โดยแอ่งต่าง ๆ ยกเว้น แอ่งแผ่นดินคองโก มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง ด้วยเป็นพื้นที่ทุรกันดาร และเป็นทะเลทรายอย่าง ทะเลทรายสะฮารา ทะเลทรายคาลาฮารี มีภูมิอากาศแห้งแล้ง ฝนตกน้อย อุณหภูมิในเวลากลางวัน และกลางคืนแตกต่างกันมาก ทรุ กันดาร ขาดแคลนอาหาร ไม่สามารถทาเกษตรกรรมได้ แอฟริกามีลักษณะภูมิประเทศที่เป็นเเกาะขนาดใหญ่เพียงเกาะเดียว คือ เกาะมาดากัสการ์ แยกตัวจากแผน่ ดนิ ใหญ่ ส่วนเกาะขนาดเลก็ เชน่ เกาะในมหาสมทุ รอินเดีย โดยรอบเกาะมาดากัสการ์ เช่น หมู่เกาะคอโมโรสเหนือ ช่องแคบโมซัมบิก เกาะมายอต และหมู่ เกาะอัลดาบราฟากูฮาร์ ของประเทศเซเชลส์ ฯลฯ เกาะในอ่าวกินี อย่าง เกาะเซาตูเม เกาะ ปรินซิปี เกาะบีโอโก ฯลฯ เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก เช่น เกาะเซนต์เฮเลนา เกาะอัสเซนชนั ฯลฯ ลักษณะภมู ิประเทศแบบเกาะ และหมเู่ กาะ สง่ ผลใหเ้ กิดแหลง่ ทาประมงนา้ เคม็ ทีส่ าคัญของทวีป เช่น บรเิ วณมหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแอตแลนตกิ ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียน อ่าวกินี เปน็ ต้น ภาพ30 Richat Structure Richat Structure หากมองจากอวกาศ จะเห็นวงกลมเดน่ ชัด อยบู่ ริเวณในทะเลทราย ซาฮารา เขตประเทศมอริเตเนีย มีขนาดเส้น ผ่าศูนย์ กลาง 40 กม. เป็นหินตะกอนและ หินทรายมีช้ันคล้ายโดมพังทลายลงแต่ภายใน เปน็ หนิ อัคนี ความสาคญั ทางธรณวี ิทยาพบวา่ เมื่อ 100 ล้านปีในอดีตภูเขาไฟเกิดการ ระบายความรอ้ น เปลี่ยนแปลงความดันอย่าง กว้างขวาง และถล่มทลาย ต่อมาการสารวจ ใหม่มีหลักฐานแสดงมากกว่าที่เคยตีความไว้ ว่าเกิดจากการชนปะทะของอุกกาบาต เพราะ ชั้ น ข อ ง หิ น ตะ ก อ น มี โ คร ง ส ร้ า ง เดิ มไม่ เปลีย่ นแปลงใด ๆ 30 Richat Structure สบื คน้ : http://www.sunflowercosmos.org/Geology-005-Eye-of-Sahara.html

4 4 4 6 แผนที่31 ภูมปิ ระเทศทวปิ แอฟรกิ า 1. เขตภมู ิประเทศ ................................................................................................................................ 2. เขตภมู ปิ ระเทศ ............................................................................................................................... 3. เขตภูมิประเทศ ............................................................................................................................... 4. เขตภูมปิ ระเทศ ............................................................................................................................... 5. ยอดเขา ............................................................................................................................................... 6. แหลม .................................................................................................................................................. 31 ภมู ิประเทศสาคัญในทวีปแอฟริกา สืบคน้ : https://lizardpoint.com/geography/africa-physical-quiz.php

ทวีปแอฟริกามีลักษณะภูมอิ ากาศ และพชื พรรณธรรมชาติจาแนกได้ 7 เขต แผนท3ี่ 2 ลกั ษณะเขตภมู อิ ากาศทวปี แอฟรกิ า ลมค้าตะวันออกเฉียเหนือพัดจาก latitude 30°-35° N ไปเขตศูนย์สตู ร นาความร้อนแห้งแล้งจากคาบสมุทรอาหรับสู่ตอนเหนือของทวีป ลมค้าตะวันออกเฉียงใต้พัดจาก latitude 30°-35° S พัดความช้ืนจากมหาสมุทรอินเดียไปเขตศูนย์สูตรทาให้ชายฝั่งบริเวณ ตะวนั ออกเฉียงใตม้ ีฝนตกชุก 32 ลักษณะเขตภมู อิ ากาศทวีปแอฟรกิ า สบื คน้ : https://www.britannica.com/place/Africa/Mediterranean-vegetation

อากาศค่อนข้างเย็นบริเวณภูเขา และที่สูงทางภาคตะวันออกของ แอฟริกา แม้จะตั้งอยู่บริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร เนื่องจากอุณหภูมิจะลดลงตามความสูง เทือกเขา แอตลาส และเทือกเขาดราเคนส์เบิร์ก ขวางกั้นลมและความช้ืนจากทะเล ทาให้ด้านรับลมหรือ บริเวณชายฝ่ังมีฝนตกมาก ส่วนหลังเขาเป็นเขตอับฝน พื้นท่ีทะเลทรายช่วงกลางวันมีอากาศร้อน มาก กลางคืนอากาศหนาวเยน็ ค ว า ม ก ว้ า ง ใ ห ญ่ ข อ ง แ อ ฟ ริ ก า ป ร ะ ก อ บ กั บ ล ม ตะวนั ออกเฉยี งเหนือพดั มาทางเอเชยี ซ่ึงเปน็ ลมแหง้ แลง้ สร้างความรอ้ น แหง้ แล้งแก่แอฟริกเพ่ิมข้ึน เปน็ หนง่ึ ในปัจจยั ทาให้ทะเลทรายสะฮารา กว้างใหญข่ ึ้นเรื่อย ๆ ความชุ่มช้ืนจากมหาสมุทรมีน้อย เพราะมีพ้ืนท่ีสูง หรือแนวหน้าผาภเู ขาชายทะเลขวางกน้ั ทาใหท้ างตอนเหนือมอี ากาศแห้งแลง้ Sky scraper ภาพ : Atlas Mountains, Morocco : https://www.audleytravel.com/moroc the Amphitheatre is a mile high and three miles across co/places-to-go/the-atlas- mountains

ระหว่างเส้น Tropic of Cancer (23.5°N) - Tropic of Capricorn (23.5°S) มีเส้น Equator ลากผ่านกลางเส้นสมมติ ท่ีเป็นเขตร้อนของโลก เพราะเปน็ ส่วนท่แี สงอาทิตย์ใกล้ หรือสอ่ งมายังโลกมากที่สุด เป็นพื้นทสี่ ว่ นใหญ่ของแอฟริกา แอฟรกิ าจงึ เป็น เขตร้อน บางพ้ืนท่ีได้รับอิทธิพลจากความชื้นจากมหาสมุทร จึงเป็นเขตภูมิกาศร้อนช้ืนยกเว้นตอน เหนือ และตอนใต้ท่ตี ้งั อยู่ในเขตละติจูดกลาง และได้รับลมตะวันตกจงึ มอี ากาศอบอนุ่ กระแสน้าเย็น คะแนรีไหลเลียบชายฝ่ังตะวันตกเฉียงเหนือ ของทวีป และกระแสน้าเย็นเบงเกวลาไหล เลียบชายฝ่ังตะวันตกเฉียงใต้ของทวีป ส่งผล ให้แผ่นดินได้รับความชื้นน้อย และเป็น ทะเลทราย ส่วนบริเวณชายฝั่งตะวันออก เ ฉี ย ง ใ ต้ ข อ ง ท วี ป มี ก ร ะ แ ส น้ า อุ่ น อะกะลัสไหลผ่าน ทาให้บริเวณน้ีมีภูมิอากาศ แบบอบอนุ่ ช้นื รอบอา่ วกนิ ี ลุ่มแม่น้าคองโก ชายฝงั่ ตะวนั ออก ของเกาะมาดากัสการ์ มีอากาศร้อนตลอดปี ฤดูร้อนฝนตกชุกทางซีกโลกเหนือ ฤดูหนาวฝนตกชุก ทางซีกโลกใต้ พชื พรรณธรรมชาติเป็นปา่ ดงดิบ หรือป่าดบิ ช้นื ตน้ ไม้ตน้ สงู ใหญ่ ใบเขียวชอมุ่ ตลอด ปพี ชื ชัน้ ล่างเปน็ พวกบอน เฟนิ และหวาย

พบมากบรเิ วณภมู ิอากาศแถบศนู ยส์ ูตรทง้ั ตอนเหนอื และตอนใต้ และด้านตะวันตกของเกาะมาดากัสการ์ มีอุณหภูมิสูงและความช้ืนปานกลาง ฝนตกชุกในฤดูร้อน และแหง้ แล้งในฤดูหนาวท่งุ หญ้าเขตรอ้ น ต้นไม้แบบพุ่มประปรายทวั่ ไป ป่าโปร่งสลบั กับทุ่งหญ้าสงู ทงุ่ หญา้ สะวันนา ในแทนซาเนีย สบื คน้ จาก https://www.departures.com/trav el/plan-trip-mount-kilimanjaro ทางตอนเหนือที่ ทะเลทรายสะฮารา ทางตอนใต้ท่ี ทะเลทรายนามิบ และทะเลทรายคาลาฮารีกลางวันอากาศร้อนจัด กลางคืนเย็นจัด เนื่องจาก กลางวันได้รับความร้อนโดยตรงจากดวงอาทิตย์ เมฆน้อย กลางคืนทะเลทรายคายความร้อน อากาศจงึ เยน็ ปรมิ าณฝนเฉลย่ี น้อยกว่า 250 มลิ ลเิ มตรต่อปี พชื พรรณธรรมชาติสว่ นใหญเ่ ป็น ไม้ พมุ่ กระบองเพชร และไมห้ นาม พบไดร้ ะหว่างเขตทะเลทราย กับเขตสะวนั นา ทั้งตอนบน และตอนใต้ของแอฟิกา ตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะมาดากัสการ์ อากาศแห้งแล้งในฤดูหนาว มีฝนตกชุก ในฤดูร้อน เปน็ ทุง่ หญ้าแบบสนั้ ๆ มตี ้นไม้ ข้ึ น ไ ด้ น้ อ ย มั ก เ ป็ น พื ช ใ บ มั น เ ล็ ก African steppe : https://besthqwallpapers.com/animals/zebra-4k- กระบองเพชร และไมห้ นาม grassland-african-steppe-savannah-africa-45943 ขอี่ ฐู นอนเต็นท์ในซาฮารา สบื คน้ : http://manotat.com/merzouga-sahara-gallery/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook