Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 9 การเผยแพร่

บทที่ 9 การเผยแพร่

Published by varaphorn914, 2017-10-10 11:13:48

Description: บทที่ 9 การเผยแพร่

Search

Read the Text Version

บทท่ี 9 : การเผยแพรแ่ ละการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา

เนือ้ หา1. หลกั การและทฤษฎกี ารเผยแพรแ่ ละการยอมรบั นวัตกรรม2. ความหมายของการเผยแพรแ่ ละนวัตกรรม4. ทฤษฎกี ารเผยแพร่ (Diffusion Theories)5. ตวั อย่างของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศึกษา – มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม – Tele-learning – Webcast – โครงการยูนเิ น็ต Uninet – สานกั งานบรหิ ารโครงการมหาวิทยาลยั ไซเบอร์ – หอ้ งเรยี นเสมอื นจริง

1.หลกั การและทฤษฎีการเผยแพรแ่ ละการยอมรบั นวัตกรรม การเผยแพร่นวัตกรรมเพ่อื ใหน้ าไปส่กู ารปฏิบตั ิและการยอมรบั  จะทาให้ “นวตั กรรม” กลายเปน็ “เทคโนโลย”ี  กระบวนการเพือ่ ใหเ้ กิดการยอมรับนวัตกรรมนัน้ มีในทุกสาขาวิชาชีพ  ต้งั แต่เกษตรกรรม อุตสาหกรรม จนถงึ พาณชิ ยกรรม

1.หลกั การและทฤษฎีการเผยแพร่และการยอมรับนวตั กรรม  มบี ันทึกไวม้ ากในวงการอตุ สาหกรรมช่วงปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 19 โดยเฉพาะใน ประเทศสหพันธรฐั เยอรมนี สหรฐั อเมริกา และเนเธอร์แลนด์  ความพยายามเผยแพร่นวตั กรรมใหเ้ กดิ การยอมรบั จนประสบผลสาเร็จของบริษัท ใหญ่ๆ เหล่านน้ั ไดเ้ กดิ เปน็ ทฤษฎีของการเผยแพร่นวตั กรรมขึ้น และทฤษฎีเหล่านก้ี ไ็ ด้ นามาใชใ้ นการเผยแพรน่ วัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

2.ความหมายของการเผยแพร่และนวัตกรรม! การเผยแพร่ (Diffusion) = กระบวนการทีท่ าใหน้ วัตกรรมไดร้ ับการยอมรบั และถกู นาไปใชโ้ ดย สมาชกิ ของชุมชนเป้าหมาย! ฉะนน้ั การเผยแพร่จงึ เปน็ กระบวนการซ่งึ นวตั กรรม (Innovation) จะถกู นาไปถา่ ยทอด ผา่ น ช่องทางของการสื่อสาร (Communication Channels) ในชว่ ง เวลา หนึง่ (Time) กบั สมาชกิ ทอ่ี ยใู่ น ระบบสงั คม หน่ึง (Social System) ใหเ้ กดิ การยอมรบั (Adoption)

2.ความหมายของการเผยแพร่และนวตั กรรม สิ่งทม่ี ีอิทธิพลในการดาเนนิ การของกระบวนการเผยแพร่ มี 5 ประการท่มี ี1. นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง ความคิดใหม่ เทคนิควธิ กี ารใหม่ หรอื สิง่ ใหม่ทส่ี ามารถนามาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ได้2. ชอ่ งทางของการสื่อสาร (Communication Channels) ทใ่ี ชม้ ากคือการใช้สือ่ สารมวลชน แต่การสอ่ื สารระหวา่ งบุคคลแบบปากตอ่ ปากยงั เปน็ ที่ยอมรับและใชไ้ ดด้ อี ยู่ ปญั หา คอื การประเมินผลการใช้ช่องทางหรือสอื่ เพอ่ื การเผยแพร่นั้นยงั ไม่มกี ารศกึ ษาผลของการใช้อย่างเปน็ ระบบมากนกั ส่วนมากยงั ใช้การสารวจความคิดเหน็ จากผใู้ ชอ้ ยู่

2.ความหมายของการเผยแพร่และนวัตกรรม3. เวลา (Time) หรือ เง่ือนไขของเวลา ในแต่ละขน้ั ตอนของการเผยแพรแ่ ละยอมรบั อาจมีชว่ ง ของระยะเวลาในแตล่ ะขั้นแตกต่างกัน จาเปน็ ต้องมีการศกึ ษาและคาดการณไ์ ว้สาหรบั งาน การเผยแพร่นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา4. ระบบสังคม (Social System) เปน็ ธรรมชาติและวฒั นธรรมของคนในสังคมทจ่ี ะนานวัตกรรม และเทคโนโลยไี ปใช้ ฐานะทางเศรษฐกจิ ของคนในสังคมโดยรวม และกลุม่ คนท่มี ฐี านะทาง เศรษฐกจิ สงั คมที่แตกตา่ งกนั

2.ความหมายของการเผยแพร่และนวัตกรรม5. การยอมรบั (Adoption) เปน็ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกบั มนุษยใ์ นการยอมรบั (หรือปฏเิ สธ)นวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยมพี ้ืนฐานทางดา้ นจติ วทิ ยาและสงั คมวทิ ยา เปน็ องค์ความรู้สาคัญในการอธบิ ายกระบวนการในการยอมรบั (หรอื ไมย่ อมรบั )

3.สาเหตุของการศกึ ษาทฤษฎีการเผยแพร่ สาเหตทุ ่ีสาคัญ 3 ประการ (1) นกั เทคโนโลยีการศึกษาตอ้ งการทราบว่าทาไมผลผลิตของพวกเขาจงึ เป็นท่ยี อมรบั หรือไมเ่ ป็นท่ียอมรับ (2) ผลผลิตทางดา้ นเทคโนโลยีการศกึ ษาโดยนกั เทคโนโลยกี ารศึกษา และทฤษฎที ่ีใช้ ในการเผยแพร่นวัตกรรม จะทาใหส้ ามารถเตรยี มตัวและเตรยี มงานการเผยแพรใ่ ห้กับกลมุ่ ผู้ใชไ้ ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ (3) การศึกษาทฤษฎกี ารเผยแพร่นวตั กรรม จะนาไปสกู่ ารเผยแพร่นวัตกรรมอย่างเป็น ระบบ สรา้ งรปู แบบของการเผยแพร่ และรูปแบบของการยอมรับนวัตกรรมขึ้น

ทฤษฎีการเผยแพร่ (Diffusion Theories)ð นักวิจัยทท่ี าการศึกษาและสงั เคราะหผ์ ลการวิจัยต่างๆ แลว้ นามาสร้างเปน็ ทฤษฎีการเผยแพร นวตั กรรมจนมชี ่ือเสียงเปน็ ทีย่ อมรบั คือ Everett M. Rogersð หนงั สือของเขาช่อื Diffusion of Innovations ตพี ิมพ์ครัง้ แรกเม่อื ปี ค.ศ. 1960ð หนงั สือของ Roger ได้เสนอทฤษฎีท่ีเรม่ิ มคี วามชดั เจนขนึ้ สาหรับงานการเผยแพร่นวัตกรรม โดย Roger ไดใ้ ช้ 4 ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ซึ่งถูกนาไปใช้ในงานการเผยแพร่นวตั กรรมมากทีส่ ดุ และเปน็ ฐานของการพฒั นาทฤษฎีการเผยแพร่นวตั กรรมดงั ต่อไปนี้ Everett M. Rogers

ทฤษฎกี ารเผยแพร่ (Diffusion Theories)....ตอ่1.ทฤษฎีกระบวนการตัดสินใจรบั นวัตกรรม (The Innovation Decision ProcessTheory) ทฤษฎีน้ี Roger (1995) ได้ใหค้ าอธบิ ายว่า การเผยแพรเ่ ปน็ กระบวนการท่ีเกดิ ขึ้นในช่วงของเวลาหนึ่งทมี่ ีขน้ั ตอนของการเกิด 5 ข้นั ไดแ้ ก่ 1.1 ขั้นของความรู้ (Knowledge) 1.2 ขั้นของการถูกชกั นา (Persuasion) 1.3 ขัน้ ของการตดั สินใจ (Decision) 1.4 ขน้ั ของการนาไปส่กู ารปฏบิ ัติ (Implementation) 1.5 ขนั้ ของการยนื ยันการยอมรับ (Confirmation)

ทฤษฎกี ารเผยแพร่ (Diffusion Theories)....ตอ่ 2.ทฤษฏีความเป็นนวัตกรรมในเอกัตบคุ คล ( The Individual InnovativenessTheory) ตามทฤษฎีนแ้ี ยกความเปน็ นวตั กรรมในเอกัตบุคคลออกเป็น 5 กลมุ่ ตามกระบวนการของการยอมรบั เทคโนโลยี (Technology Adoption Process) ไดแ้ ก่ 2.1 กลมุ่ ผูไ้ วต่อการรับนวตั กรรม(Innovators) 2.2 กลุม่ แรกๆท่ีรบั นวัตกรรม (Early Adopters) 2.3 กลุ่มใหญแ่ รกทรี่ ับนวตั กรรม (Early Majority) 2.4 กล่มุ ใหญ่หลงั ทีร่ บั นวตั กรรม (Late Majority) 2.5 กลมุ่ สุดทา้ ยผูร้ ับนวัตกรรม (Laggards)

ทฤษฎีการเผยแพร่ (Diffusion Theories)....ตอ่3.ทฤษฎีอัตราการยอมรับ (The Theory of Rate of Adoption) Rogers (1995) ไดอ้ ธบิ ายทฤษฎนี ีไ้ วว้ ่า เปน็ การเผยแพร่นวตั กรรมในชว่ งเวลาอย่างเปน็แบบแผน เขยี นกราฟเป็นรปู ตวั S ทฤษฎนี ีแ้ สดงใหเ้ หน็ ว่า นวตั กรรมจะได้รับการยอมรับผา่ นชว่ งของระยะเวลาอย่างช้าๆ แบบค่อยเป็นคอ่ ยไป และจะค่อยๆ เพม่ิ ขึ้นอย่างรวดเร็ว และจะชะลอตัวอกี ครง้ั(ตามแผนภาพแสดงการยอมรับของนวัตกรรมเป็นรูปตัว S ) ทฤษฎนี ย้ี งั กลา่ วอีกว่า หลังจากผ่านชว่ งของการเติบโตอยา่ งรวดเรว็ แล้ว จะมกี ารชะลอตวั ลง และคงทีอ่ ยู่ หรือตกลงมา ถ้าเป็นสินคา้ ยอดขายจะลดลงอกี ด้วย แผนภาพแสดงการยอมรบั นวตั กรรมเป็นรูปตัว S ตามระยะเวลาทผี่ ่านไป

4.ทฤษฎีการยอมรับดว้ ยคณุ สมบตั ิ (The Theory ofPerceived Attributes ) Rogers (1995) ได้ขยายความทฤษฎนี ไ้ี ว้วา่ กลุ่มผมู้ ีศักยภาพในการยอมรบั นวตั กรรมตัดสินในรบั โดยใชฐ้ านของการรบั รู้รับทราบถงึ คุณสมบตั ขิ องนวตั กรรม ซ่ึงมอี ยูด่ ้วยกัน 5 ประเภทไดแ้ ก่ 4.1 นวตั กรรมนนั้ สามารถทดลองใชไ้ ด้ก่อนจะยอมรบั (Trial Ability) 4.2 นวตั กรรมนน้ั สามารถสังเกตผลทเ่ี กดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งชัดเจน (Observability) 4.3 นวัตกรรมนน้ั มขี อ้ ดีกวา่ หรือเหน็ ประโยชน์ได้ชดั เจนกวา่ สิง่ อน่ื ๆ ทมี่ อี ย่ใู นขณะนั้น หรอืส่ิงทมี่ ีลักษณะใกลเ้ คียงกนั (Relative Advantage) 4.4 ไมม่ คี วามซบั ซ้อน ง่ายตอ่ การนาไปใช้ (Complexity) 4.5 สอดคล้องกบั การปฏิบตั ิและค่านิยมทเี่ ปน็ อย่ใู นขณะนั้น (Compatibility)

ตวั อยา่ งของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศกึ ษาทางไกล มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม  ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ.2538 ถ่ายทอดสดออกอากาศเปน็ ปฐมฤกษ์ ในหลักสูตรมัธยมศกึ ษา 6 ชน้ั 6 ช่อง และเมื่อวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2545 ไดอ้ อกอากาศการเรียนการสอนในระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6  เพ่อื เฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวเนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงครองสิรริ าชสมบัติครบ 50 ปีในปกี าญจนาภิเษก พ.ศ. 2539  มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื แก้ปัญหาการขาดแคลนครู

ตวั อย่างของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ) นอกจากนี ้ยงั มีการออกอากาศช่องการอาชีพ ชอ่ งอดุ มศกึ ษา และรายการนานาชาติ อีกอยา่ งละ 1 ชอ่ ง รวมทงั้ สิน้ 15 ชอ่ ง ออกอากาศตลอด 24 ชว่ั โมงเป็นประจาทกุ วนั ทาให้สถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม สามารถให้บริการทาง การศกึ ษาครบวงจรโดยไมค่ ิดมลู ค่าถึง 15 สถานี จากทงั้ โรงเรียนวงั ไกลกงั วล วทิ ยาลยั การอาชีพวงั ไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ ให้บริการการศกึ ษาครบวงจร ทงั้ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาชมุ ชน และอดุ มศกึ ษา การออกอากาศผ่านดาวเทียม ผ้ทู ี่มีจาน KU Band หรือเป็นสมาชิก True Vision จะ สามารถชมได้ทงั้ 15 ชอ่ ง ตงั้ แตช่ ่อง True 186 ถงึ 199 ซงึ่ เป็น ระบบ DTH (Direct To Home)

ตัวอย่างของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ) • ระบบ eDLTV เปน็ ผลงานความรว่ มมือระหวา่ งมลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มกับโครงการเทคโนโลยี สารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี สานกั พฒั นา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2550 จดั ทาโครงการระบบ eLearning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเพือ่ รว่ มเฉลิมพระเกยี รติเน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 โดยนาเนอื้ หาการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มและคมู่ อื ครูปลายทางท่ีมลู นธิ ฯิ จัดทาเช่น วีดิ ทัศน์ สไลดบ์ รรยาย ใบความรู้ ใบงาน เป็นต้นมา แปลงเปน็ เน้อื หา eLearning เรยี กว่า “eDLTVระดับมธั ยมศึกษา” สามารถเรียน online ไดท้ ่ี http://edltv.thai.net

ตวั อย่างของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ ) • ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน ผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาทเี่ ป็นผลจากการเรียนกับระบบการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม หรือ “ครูต”ู้ เปน็ ที่นา่ พอใจอย่างย่ิง มีสถติ ิสงู ข้นึ ทกุ ปี ซึง่ ในขณะน้ีมีผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาจากการศึกษาด้วยระบบทางไกลผา่ นดาวเทยี ม จากทกุ ภาคของประเทศไทยและสามารถเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดับอุดมศึกษาและประสบ ความสาเรจ็ เปน็ จานวนมากและมแี นวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี

ตวั อยา่ งของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศกึ ษาทางไกล (ตอ่ )• ระบบ e-Learning ของมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อเปน็ การเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนไดก้ วา้ งขวางและง่ายดายขน้ึ มลู นธิ ไิ ดเ้ พ่ิมช่องทางใหส้ ามารถรับชมการเรียนการเรยี นการสอนไดอ้ ีก 2 ช่องทาง คือ 1) ระบบ e-Learning ผา่ นเวบ็ ไซต์ www.dlf.ac.th ซ่งึ ถา่ ยทอดการเรยี นการสอนจากโรงเรียนวังไกลกงั วลทกุ ช้นั เรียนผา่ นทางอนิ เทอรเ์ นต็ (Internet) โดยเลอื กเข้าชมไดท้ งั้ การถา่ ยทอดสด(LiveBroadcast) หรือเลือกชมรายการยอ้ นหลงั (On Demand) ไดต้ ามอธั ยาศยั 2) Application “DLTV on Mobile” โดยสามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคชน่ั เพ่ือรบั ชมบนมือถอื หรืออปุ กรณพ์ กพาอน่ื ๆได้ท้งั ระบบปฏิบัตกิ าร Android หรือ IOS

ตัวอย่างของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ )Tele-learning Tele-learning เป็น นวตั กรรมการศึกษาทางไกลทีส่ านกั งาน คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พัฒนาข้ึนมาเพือ่ เปิดโอกาสการเข้าถงึ การศกึ ษาของเยาวชนในพ้นื ท่ีหา่ งไกลให้เปน็ รูปธรรมอย่างสมบรู ณ์ Tele-learning ของสานักงาน คณะกรรมการกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ มเี นอ้ื หาครอบคลมุ ครบถว้ นตามหลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมีรปู แบบการนาเสนอเนือ้ หาการเรยี นทส่ี ร้างสรรคด์ ้วย Animation และ Multimedia ดึงดูดให้เยาวชนสนใจการเรียนมากขน้ึ ไม่นา่ เบอ่ื

ตัวอย่างของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ)เชน่ หอ้ งทดลองวทิ ยาศาสตร์ Animation ทจ่ี ะชว่ ยให้เด็กๆ ในโรงเรยี นท่ขี าดงบประมาณสร้างห้องทดลองได้มโี อกาสทาการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ ด้วยตน หรือแม้แตม่ เี กมสส์ นกุ ๆ ที่เลน่ พร้อมกบัไดค้ วามรทู้ างวิทยาศาสตร์อย่างลงตวั ทสี่ าคญั มกี ารจาลองสถานการณ์สอบเข้ามามหาวิทยาลยั จริง และมขี ้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยยอ้ นหลังหลายปี เพอ่ื ให้เยาวชนในพนื้ ท่หี า่ งไกลได้มีโอกาสเท่าเทียมเสมอภาคกับเยาวชนใน เมอื งอย่างแทจ้ รงิ

ตวั อยา่ งของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศกึ ษาทางไกล (ตอ่ )Webcastingววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี Webcasting เมอ่ื รอ้ ยปีเศษมาแลว้ มารโ์ คน่ไี ดส่งสญั ญาณวิทยุเปน็ คลืน่ แพร่กระจายออกไปในอากาศได้สาเรจ็ หลังจากน้ันก็มีการพัฒนาเคร่ืองรับวทิ ยุ ทง้ั แบบเอเอม็ เอฟเอ็ม ใช้กันทว่ั โลก ต่อมากม็ กี ารพฒั นาวธิ กี ารสง่ สญั ญาณโทรทัศน์ ทาให้มกี ารรับชมข่าวสารผา่ นทางระบบทีวี หลังจาก ค.ศ. 1990 การประยกุ ตใ์ ช้ไฮเปอรเ์ ท็กซบ์ นเครื่องขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ไดเ้ ริ่มข้ึน มีการจัดขอ้ มูลขา่ วสารไวบ้ นเคร่ืองบริการเวบ็ (Web Server) โดยใชส้ ถาปตั ยกรรมผรู้ บั / ให้บรกิ าร (Client-Server Architecture) ผู้ใชอ้ ยู่บนเคร่ืองลุกข่ายทีเ่ รยี กว่า ไคล์แอนด์ มโี ปรแกรมเช่อื มโยง ท่ีเรยี กวา่ บราวเซอร์ (Web Browser)

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ) เมอ่ื เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ไดพ้ ฒั นาให้กา้ วหนา้ ขึ้น การใช้งานขอ้ มูล ขา่ วสารเหลา่ น้ีก็ก้าวเขา้ สู้มลั ติมีเดยี มกี ารเก็บขอ้ มูลรปู ภาพ เสยี ง และวดิ โี อลักษณะโครสร้างของการให้บรกิ าร Webcastingในยคุ แรกมีลกั ษณะดังนคี้ ือคอมพวิ เตอร์ทเี่ ปน็ เครอื่ งบริการเว็บ (Web Server) ที่เกบ็ ขอ้ มูลภาพ และเสียงซง่ึ ตอ้ งใช้ความเร็วในการสง่ สงู เครื่องบริการเว็บน้จี ะต้องจดั เกบ็ ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่ตอ้ งการในแบบดจิ ิตอล แลว้ สง่ ขอ้ มลู ไปยังผูช้ ม เมอ่ื ผชู้ มขอร้องมา ผา่ นระบบเครือข่ายสารสนเทศที่มโี ครงสรา้ งของระบบ

ตัวอย่างของการเผยแพร่นวัตกรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ )ซงึ่ อาจแบง่ ได้เปน็ 3 ส่วนคอื สว่ นท่เี กยี่ วขอ้ งกับการแปลงระบบทเ่ี ป็นอนาลอ็ ก เชน่ จากสญั ญาณโทรทัศน์, สญั ญาณวดี ีทัศน์ หรอื สญั ญาณวิทยุ ให้เป็นดจิ ติ อล ซ่ึงได้แก่ ไฟล์ MPEG (MPEG File)หรอื ไฟล์ทเ่ี ป็นพวกมลั ติมีเดียอื่น ด้วยอปุ กรณ์เข้ารหสั (Encoder) หรือโปรแกรมเข้ารหสั (SoftwareEncoder) แลว้ นาเข้าไปจัดเกบ็ ไวใ้ นเคร่อื งบริการเวบ็ เครือ่ งบริการเว็บจะเชื่อมตอ่ เขา้ ระบบเครอื ข่ายสารสนเทศเพอ่ื การส่ือสารกบั คอมพวิ เตอร์ หรือโทรทัศนท์ ่ีรอ้ งขอ โดยวธิ ีการคัดลอกแฟ้มผา่ นเครอื ข่ายมายังผู้ใช้ เมอ่ื คดั ลอกมาไดค้ รบจงึ เริม่ แสดงผล ในการสง่ จากท่ีหน่งึ ไปยังอกี ที่หนึ่งต้องใช้เวลาในการสง่ สูง ดงั น้นั เทคโนโลยกี ารบบี อดั ขอ้ มูลจงึ เปน็ สิ่งสาคญั สาหรบั การใหบ้ ริการ Webcastingเทคโนโลยีการบบี อัดข้อมูลได้รับการพัฒนาขึ้นจนสามารถบีบอดั ขอ้ มลู เสียง และวดี โี อให้มีขนาดเล็กลงได้

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ ) ตอ่ มาจงึ มีการพฒั นาเทคโนโลยที ี่เรยี กว่า สตรมี มงิ (Streaming) ซงึ่ การใหบ้ รกิ ารสตรีมมิงนนั้ จะสามารถเลน่ เสียงหรือดนตรีไปพรอ้ มๆกบั ไฟล์เสียงนน้ั กาลงั ส่งมาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยไมต่ อ้ งรอจนกระท่งั ไฟล์น้ันถูกดาวน์โหลดมาหมดกอ่ น ซ่งึ ทาใหเ้ กดิ การส่ง สญั ญาณเสียงแบบ On-line บนอนิ เทอรเ์ นต็ หรือ “Real audio” และการสง่ วดี ีโอบนอินเทอร์เนต็ เสมอื นการกระจายสัญญาณทด่ี ีโอบนเครอื ข่ายหรอื “Video Live”

ตวั อยา่ งของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ)ระบบ real audio และ video live ประกอบดว้ ย เครื่องบรกิ ารเวบ็ ทรี่ บั สัญญาณเสียงโดยตรงจากแหล่งสญั ญาณเสยี ง จากสัญญาณจากสถานีวทิ ยุจริง หรอื สัญญาณวีดโี อจากสถานีสง่ หลังจากนั้นจะแปลงสญั ญาณนนั้ ใหเ้ ปน็ ข้อมลู แบบดิจิตอล พร้อมทาการบีบอดั ให้เล็กลง เพ่อื สง่ ไปยงั เคร่ืองผใู้ ช้เครื่องผ้ใู ช้จะต้องมีโปรแกรม Real Audio Player ซึง่ ประกอบติดตัง้ เข้ากับ Client Browser เม่อื ผใู้ ช้ติตอ่ ไปยงั เครื่องบริการเว็บก็จะเปิดชอ่ งสอื่ สารระหว่างกนั เคร่ืองบรกิ ารเว็บจะส่งขอ้ มูลใหอ้ ยา่ งต่อเน่ืองจนกวา่ จะเลกิ การตดิ ต่อ

ตวั อย่างของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศกึ ษาทางไกล (ต่อ) แต่เนอื่ งจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายทีม่ สี ภาพแบง่ กันใช้งาน ไมส่ ามารถกาหนดคณุ ภาพการรบั ส่งโดยตรงได้ ซงึ่ เป็นอปุ สรรคตอ่ การรับสัญญาณแบบออนไลน์ต่อเนือ่ ง ดงั นน้ั ทาง Client ซ่ึงตอ้ งสรา้ ง Buffer ในหนว่ ยความจาไว้ เพ่ือวา่ บางขณะข้อมลู ทีส่ ง่ มาขาดหาย ข้อมูลใน Buffer ยงั รองรับการใช้งานไดช้ วั่ ขณะหนึ่ง เพื่อใหส้ ัญญาณแสดงผลไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ งโดยปกตหิ ารรับสญั ญาณเสียง จะมีการกาหนดช่องส่อื สารที่ตอ่ เนอ่ื งขนาด 16 Kbps

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวัตกรรมการศกึ ษาทางไกล (ตอ่ )ปจั จัยท่ที าให้ Webcasting เปน็ ทน่ี ยิ ม• จานวนผู้ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตมากขนึ้ ซึ่งการท่ีจะใช้บรกิ าร Webcasting ไดน้ ัน้ องค์ประกอบหลกั คือ อนิ เทอรเ์ นต็ ถา้ มผี ูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตมาก จานวนผูใ้ ช้ Webcasting กจ็ ะมากขน้ึ ไปดว้ ย• ราคาในการผลิตสื่อท่เี ปน็ มัลตมิ ีเดยี ถกู ลง ซึ่งได้แกอ่ ปุ กรณ์ในการผลิต คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรม ตา่ งๆ ทาใหส้ ือ่ ส่วนใหญ่มรี ูปแบบในการผลิตใหเ้ ปน็ ดจิ ิตอลมากข้นึ ซึ่งง่ายตอ่ การให้บรกิ าร Webcasting ในการนาสือ่ ทเ่ี ป็นดจิ ิตอลมาทาการเผยแพร่ต่อไป

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ )• ความสามารถในการเขา้ ถึงลูกค้าได้ในวงกวา้ งของอินเทอร์เน็ต เนอื่ งจากการบริการแบบ Traditional Broadcast จะตอ้ งมกี ารสรา้ งสถานีการกระจายสัญญาณ ซึ่งจะมีขอบเขตจากัด แต่ อนิ เทอร์เน็ตสามารถเข้าถงึ เม่ือทาการเช่อื มตอ่ โดยใช้โทรคมนาคมพ้ืนฐานทีม่ ีอยแู่ ล้ว ซ่ึงในปัจจบุ นั พืน้ ท่คี รอบคลุมมมี าก• การให้บริการ Webcasting เป็นการตอบสนองกันระหว่างผใู้ ช้บรกิ ารกบั ผูใ้ ห้บริการ สามารถทา การโตต้ อบไดท้ ันที ถ้าผ้ใู ชบ้ ริการและผู้ให้บริการมีการเชอื่ มต่อกบั อินเทอรเ์ น็ตในเวลาพร้อมๆกัน

ตวั อย่างของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ )องค์กรและผมู้ ีสว่ นเกีย่ วข้องกบั Webcastingองคก์ รและผู้มีส่วนเกย่ี วข้องกับ Webcasting สามารถแบง่ ได้ 3 กลมุ่ คอื 1. ผใู้ หบ้ รกิ ารกระจายเสียง (Broadcasting) 2. ผู้ใหบ้ รกิ ารอินเทอรเ์ นต็ (Internet Service Provider) 3. ผใู้ หบ้ ริการ (Users

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวัตกรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ )ขัน้ ตอนการให้บริการ Webcasting กระบวนการในการทา Webcasting นั้น ประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอนซง่ึ จะคลา้ ยกบั การให้บรกิ ารTraditional Broadcast ซ่งึ ได้แก่ Pre-production, Production, Post-production และและDistribution  Pre-production หรอื การเตรยี มกอ่ นการผลติ จะมกี ารวางแผน เตรียมขอ้ มูลท่ตี อ้ งการ จะสง่  Production หรอื การผลติ โดยทว่ั ไปจะหมายถึงงานสนาม เชน่ การถ่ายทา การ บันทกึ เสยี ง ซ่ึงจะต้องใชเ้ ครอ่ื งมอื เฉพาะอยา่ ง และถ้าต้องการใหส้ อดคล้องกบั งาน Webcasting

ตัวอยา่ งของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศกึ ษาทางไกล (ตอ่ ) Post-production หรอื การปรบั แตง่ ให้เหมาะสม คอื การนาเอาส่งิ ทท่ี าไวแ้ ลว้ มาทาการ ตัดตอ่ เพม่ิ เตมิ ปรับแต่งให้เหมาะสม ก่อนทีจ่ ะนาไปเผยแพรใ่ นขัน้ ตอนตอ่ ไป การซอ้ น ตัวอกั ษร การแทรกรูปภาพ Graphic การใช้อปุ กรณ์เสรมิ การใส่เสยี ง รวมถึงการ ควบคุมระยะเวลา Distribution การเผยแพรแ่ บบดิจิตอล คือการนาขอ้ มูลไปเผยแพรผ่ า่ นอนิ เทอร์เน็ต ตงั นนั้ การจดั เก็บตอ้ งคานึงถงึ รูปแบบของแฟม้ ขอ้ มลู ทส่ี ามารถให้บรกิ าร Webcasting ได้ เช่น MPEG, JPEG, WAV, AVI เป็นตน้

ตัวอย่างของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ )ประโยชน์จาก Webcasting ประโยชนส์ าหรบั สือ่ มวลชน การใชบ้ ริการ Webcasting น้นั ในข้นั ตอนของการจดั เกบ็ ขอ้ มูล จะเป็นการเก็บเป็นดจิ ิตอล ซึง่ คณุ ภาพของข้อมูลดิจติ อล การเส่อื มสภาพจะใชเ้ วลานานมากกว่า เพราะรูปแบบขอ้ มูลในการจัดเกบ็ แบบ “สองระดับ” โอกาสท่ีจะผิดเพี้ยนเกิดข้นึ ไดย้ ากกวา่ ประโยชน์อกี ประการคือประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยในการขยายเครือขา่ ย เนอื่ งจากการรับส่งรายการวทิ ยุโทรทศั น์ ในปจั จุบนั จะใช้คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า ใช้อปุ กรณร์ ับส่งสญั ญาณดาวเทยี ม U-wave หรือใช้ Fiber OpticeและสายCoaxial Cable ซึง่ จะตอ้ งใชเ้ งินลงทนุ สูงในการให้บริการทคี่ รอบคลุมทัว่ โลก การใช้อินเทอร์เน็ตซง่ึ มีเครอื ขา่ ยครอบคลุมทว่ั โลกอยู่แลว้ ทาใหป้ ระหยัดค่าใชจ้ ่ายในส่วนน้ี

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวัตกรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ ) ประโยชนส์ าหรบั ผรู้ ับชมและรับฟัง ผ้ฟู ังหรอื ผู้ชมสามารถรับชมฟัง รบั ชมรายการโดยเพียงแต่มชี ่องทางส่ือสารพ้นื ฐานเพอื่ ติดตอ่ กับเครือข่าย ซงึ่ การติดตอ่ ในปัจจุบันใช้โครงขา่ ยโทรศพั ทแ์ ละโครงขา่ ยไรส้ าย ซึ่งมกี ารเช่อื มตอ่ เข้าถงึ ทุกบา้ นอยแู่ ล้ว การท่รี ับชมหรอื รับฟงั มลั ตมิ เี ดีย ทาให้เขา้ ใจสง่ิ ตา่ งๆ ได้ง่ายข้ึน เช่น การเรยี นการสอนทางไกลผ่านส่ืออินเทอรเ์ นต็ ซึง่ จะทาใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับประโยชนเ์ ช่นเดียวกับการเขา้ ฟังคาบรรยายได้เห็นหน้า ท่าทาง อารมณ์ของผูส้ อน ซ่งึ เปน็ ผลทางจิตวทิ ยาสาหรับผู้เรียน จะไดท้ ราบถึงเนอื้ หาท่ีเป็นประเด็นหลัก เนือ้ หาที่ต้องการเนน้ พเิ ศษ และคาอธบิ ายประกอบ

ตัวอยา่ งของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ) ประโยชนส์ าหรับผู้ใหบ้ รกิ ารอินเทอรเ์ นต็ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี Digital และคอมพวิ เตอร์ ทาให้อปุ กรณผ์ ลิตรายการวิทยุ โทรทัศนเ์ ล็กกะทดั รดั มีประสทิ ธภิ าพสูงขึ้นเทยี บเท่าอปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นหอ้ งสง่ วิทยุ โทรทศั น์ทสี่ าคัญราคาถูกจนประชาชนทั่วไปสามารถหาซอ้ื ได้ ทาใหผ้ ูท้ ต่ี อ้ งการถา่ ยทอดส่ือหรือข้อมูลทีม่ อี ยู่ได้รับการจดั การใหเ้ ปน็ มลั ตมิ เี ดยี เพือ่ ความเขา้ ใจทงี่ า่ ยข้นึ สามารถกระจายขอ้ มูลข่าวสารไปยงั ผอู้ ื่นได้โดยไม่ต้องลงทุนสงู มากนัก

ตวั อย่างของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศกึ ษาทางไกล (ต่อ) ประโยชน์สาหรับบริษทั ต่างๆ ลดต้นทุนในการตดิ ตอ่ สือ่ สารและย่นเวลา องค์กรสามารถใช้ Webcasting เปน็เครื่องมือในการตดิ ตอ่ ประสานงานระหว่างพนกั งานภายในองคก์ ร หรอื สานกั งานย่อยต่างๆ เพม่ิ โอกาสเขา้ ถึงแหลง่ ความรู้ให้กับพนักงาน เปน็ การช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพของพนักงาน โดยการให้พนกั งานสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลและแหลง่ ความรู้ได้งา่ ยขึ้น เพ่อื ใหง้ านออกมามีคุณภาพที่ดี

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ ) ประโยชน์สาหรับบริษทั ต่างๆ ขยายชอ่ งทางการเข้าถงึ กลุ่มเป้าหมาย ใชร้ ะบบเวบ็ ไซตน์ าเสนอรายการและข้อมูลท่ีต้องการผ่านอินเทอร์เนต็ เพอ่ื เผยแพรข่ อ้ มลู ตา่ งๆ ให้กว้างมากข้ึน ไม่วา่ จะเปน็ ขอ้ มูลทั่วไป ความรู้รายการสินคา้ สรา้ งความสัมพันธ์ทดี่ กี ับลกู ค้า อินเทอร์เนต็ สามารถใช้เปน็ ส่ือตน้ ทนุ ตา่ ในการเผยแพร่และใชใ้ นการดแู ลใหบ้ รกิ ารลูกคา้ ได้

ตวั อยา่ งของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศกึ ษาทางไกล (ต่อ)ประโยชน์ทางดา้ นการพฒั นาเทคโนโลยี การพัฒนาเครอื ขา่ ย ทาใหเ้ กดิ การให้บรกิ ารแบบมลั ตศิ าสต(์ Multicast) ซ่งึ ต่างกับการสง่ขอ้ มูลในแบบ Point-to-Point หรือ Unicast ถ้าต้องการออกแบบระบบที่มผี ใู้ ช้งานจานวน 20 คนในการดูภาพยนตร์แบบ MPEG3 ที่มีความยาวเร่ืองสองชัว่ โมง นัน่ หมายความวา่ นอกจากจะตอ้ งใช้เครือข่ายความเร็วสูงแลว้ ยังต้องลงทุนกับเคร่อื งบริการเว็บ (Web Server) ประสิทธิภาพสูง ซง่ึ มรี าคาสูง อกี ทง้ั เป็นการช่วยลดการใชแ้ ถบกว้างของช่องสื่อสาร (Bandwidth) ของเครือขา่ ยเน่ืองจากการสง่ขอ้ มลู แบบมลั ติศาสตค์ วามต้องการท้ังสองจะถกู ลดลง เนอ่ื งจากขอ้ มลู เพยี งชดุ เดียวสามารถถกู ส่งใหก้ บั กลุ่มเป้าหมายทตี่ อ้ งการได้ ซ่ึงจะช่วยลดค่าใช้จา่ ยอย่างมหาศาล

ตัวอยา่ งของการเผยแพร่นวัตกรรมการศกึ ษาทางไกล (ต่อ)ประโยชน์ทางด้านการศึกษา สาหรับทางด้านการศึกษา ข้อมูลในห้องเรียนส่วนใหญก่ ก็ าลังได้รับการเปล่ยี นแปลงจากขอ้ ความและรูปภาพให้กลายเป็น สตรีมวีดโี อ หรือท่ีรูจ้ กั กนั ในช่อื ของ Virtual Classroom ชว่ ยให้การเรียนการสอนทาได้สะดวกมากขน้ึ รวมทัง้ เป็นฐานข้อมลู ทางวิชาการท่ีสาคญั ซงึ่ เปน็ การส่งเสริมความกา้ วหนา้ ทางการศกึ ษา ผลประโยชนท์ ี่จะไดส้ าหรบั ครู อาจารย์ ผสู้ อน ผบู้ รรยาย จะไดเ้ หน็ ภาพ ลักษณะท่าทางเทคนคิ ตา่ งๆ ทาใหส้ ามารถพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพ

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวตั กรรมการศกึ ษาทางไกล (ต่อ)แนวโนม้ ของ Webcasting ในระเทศไทย Webcasting ในประเทศไทยเร่มิ มาประมาณหา้ ปีทแ่ี ล้ว มีการใหบ้ รกิ ารกระจายเสยี งของรายการวทิ ยตุ า่ งๆ ผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ต ชว่ งแรกใหบ้ รกิ ารจะเปน็ การดาวนโ์ หลดเป็นคลิปไปฟงั ที่เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทีบ่ ้านมากกว่าฟังสด เน่ืองจากความเรว็ ในการเชอ่ื มต่ออนิ เทอรเ์ นต็ ยงั มคี วามเรว็ ทีต่ า่ อยู่ผนู้ าในการใหบ้ รกิ ารส่วนใหญ่เปน็ ส่อื มวลชน โดยอาศยั ความร่วมมือจากบรษิ ทั ทใ่ี หบ้ รกิ ารอนิ เทอร์เน็ต (Internet Service Provider)

ตัวอย่างของการเผยแพร่นวัตกรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ) ตอ่ มาความเรว็ ในการเช่ือมต่อสูง ประกอบกบั อปุ กรณท์ ี่ใหบ้ รกิ ารมลั ติมเี ดยี มคี วามสามารถมากขึ้น ทาใหบ้ รษิ ัทต่างๆ เริ่มให้ความสนใจในการใหบ้ รกิ ารมากขน้ึ โดยเฉพาะทางด้านเสยี ง เน่ืองจากการรบั ฟงั ทม่ี ีคุณภาพทใี่ ช้ไดไ้ ม่จาเปน็ ต้องใชค้ วามเร็วในการเชอื่ มตอ่ อนิ เทอร์เนต็ มากนักเมอื่ เทยี บกับภาพ ในปัจจุบันสถานวี ทิ ยุในประเทศไทยเกือบทุกสถานมี กี ารใหบ้ ริการ Webcasting แล้ว สาหรบัแนวโน้มในอนาคตของการฟงั วทิ ยุผา่ นอนิ เทอร์เนต็ น่าจะเปน็ ลักษณะการฟังผ่านโทรศพั ท์เคลื่อนท่ี เพราะโทรศัพทเ์ คลอ่ื นทส่ี ามารถพาไปไดท้ กุ ท่ี และเทคโนโลยี GPRS ทาใหโ้ ทรศพั ท์เคล่ือนทม่ี คี วามสะดวกต่อการเชื่อมต่อกบั อินเทอรเ์ น็ต มากขึ้น นอกจากนีก้ ารให้บริการไร้สายของเวบ็ ไซตย์ ังสามารถสรา้ งรายได้ให้เวบ็ ไซตด์ ว้ ย

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ) ปัจจุบนั มีเว็บไซตห์ ลายเว็บไซต์ทใ่ี หบ้ ริการผ่านโทรศพั ท์เคล่ือนที่ ซง่ึ ได้แก่ สยามทูยู.คอม(www.siam2you.com), ชินน.ี่ คอม (www.shinee.com), และ www.mweb.co.thซงึ่ การใหบ้ รกิ ารไรส้ ายเป็นการปรบั แนวทางการสรา้ งรายไดม้ ากเดมิ ท่อี าศยั คา่ โฆษณา (แบนเนอร)์ และผู้สนับสนุนเว็บ (สปอนเซอรช์ ิป) เป็นรายได้หลัก มาเป็นการสร้างรายไดจ้ ากการใหค้ าปรกึ ษา การออกแบบ และการพฒั นาเว็บไซต์ และบริการไร้สาย สาหรบั ในส่วนของสถานโี ทรทัศน์ ในชว่ งแรกๆ จะเป็นลักษณะของคลปิ รายการบางรายการ ซึง่ จะต้องใชว้ ิธีดาวน์โหลดไปชม ซึง่ จะมีท้ังภาพและเสียง ตอ่ มามีการพัฒนาใหช้ มรายการได้ตามเวลาท่ีออกอากาศไปพร้อมๆกัน ตวั อย่างเวบ็ ไซต์ที่ใหบ้ ริการ Webcasting ได้แก่สถานโี ทรทศั นไ์ อทวี ี และเว็บไซต์ขององคก์ ารสอื่ สารมวลชล เป็นตน้

ตัวอยา่ งของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ ) ส่วนของการท่องเทีย่ วการให้บริการ Webcasting จะใช้ Webcam เพื่อเปน็ การประชาสัมพนั ธแ์ หล่งทอ่ งเท่ยี วโดย Webcam เป็นกล้องวดี โี อท่ีเชอื่ มต่ออยกู่ ับอนิ เทอรเ์ น็ต ซ่ึงจะทาการแพร่ภาพไดท้ ัง้ ภาพน่งิ และภาพเคล่อื นไหว ออกมาเปน็ ระยะๆ แนวโนม้ การให้บริการ Webcamสาหรับเวบ็ ไซต์ทอ่ งเทยี่ ว ไม่สูงมากนกั เน่อื งจากคุณภาพในการรบั ชมยงั ไมส่ ามารถตอบสนองความต้องการของผ้เู ข้าชมและไม่สามารถดงึ ใหผ้ ู้เขา้ ชมเว็บไซตม์ าสนใจไดเ้ ทา่ ที่ควร แนวโน้มในอนาคต ถา้ มีการพฒั นาคุณภาพของภาพให้ดีขึน้ แนวโน้มในการให้บรกิ ารน่าจะสงู ตามไปดว้ ย

ตัวอย่างของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ)ในสว่ นของกลมุ่ การศกึ ษาจะมลี ักษณะเป็นวดี ีทัศนแ์ ต่ส่วนใหญจ่ ะเป็นการใหบ้ รกิ ารในลักษณะดาวน์โหลดไฟลไ์ ปฟงั หรอื ชมมากกวา่ เน่ืองจากการชมวิดที ศั น์ผ่านอินเทอรเ์ น็ตคณุ ภาพยงั ไมด่ ีนักในปัจจุบนัสาหรับแนวโนม้ ดา้ นการศกึ ษา ต้องอาศยั ความรว่ มมอื จากรฐั บาลในการสนับสนนุ ทง้ั ทางด้านโครงขา่ ย งบประมาณ และกฎกระทรวง เนือ่ งจากในปจั จุบนั ที่ยังไมม่ ีการเรียนการสอนผ่านอินเทอรเ์ น็ต อย่างเปน็ ทางการเพราะว่า ก.พ. ยงั ไมร่ องรบั ตดิ ข้อกฎระเบยี บท่ีทบวงมหาวิทยาลัยที่ใช้อยูใ่ นปัจจบุ ัน ดังนน้ั แนวโน้มการศกึ ษาในการใหบ้ ริการ Webcasting ตอ้ งอาศัยแรงผลักดันจากรฐั บาล

ตวั อย่างของการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ ) โดยสรุปปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ แนวโนม้ ของ Webcasting ในประเทศไทย ไดแ้ ก่จานวนผใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ตในประเทศไทย เน่อื งจากอนิ เทอร์เน็ตเป็นสิ่งหลกั ของ Webcasting ผูท้ ีจ่ ะสามารถใช้ Webcasting จะต้องสามารถเชอ่ื มต่ออนิ เทอรเ์ น็ตได้ ดงั น้นั จานวนผ้ใู ห้บรกิ ารWebcasting จะเปน็ สัดสว่ นของจานวนผู้ใช้อนิ เทอรเ์ น็ต การพัฒนาซอฟแวร์ ถ้ามีการพฒั นาซอฟแวร์ให้มีการใชง้ านทีง่ ่าย และสะดวกตอ่ การใช้งาน แนวโน้มในการใหบ้ รกิ ารก็จะสูงข้นึ

ตวั อยา่ งของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศกึ ษาทางไกล (ตอ่ ) ค่าใช้จ่ายและข้ันตอนในการให้บรกิ าร Webcasting ในสว่ นของผู้ให้บริการ ตน้ ทุนในการใหบ้ รกิ ารเป็นส่ิงสาคัญ ถา้ ค่าใชจ้ า่ ยในการใหบ้ รกิ ารไม่สูง ผู้ให้บรกิ ารกส็ ามารถให้บริการไดง้ า่ ย ไม่จาเป็นตอ้ งตัง้ งบประมาณที่สูง สามารถเปดิ ใหบ้ ริการได้ทันที เนอื่ งจากในการใหบ้ รกิ ารจะต้องมผี ้ดู แู ลระบบ สามารถใชพ้ นกั งานที่มีอย่ใู นการใหบ้ ริการ ซ่ึงจะชว่ ยประหยดั งบประมาณ ความต้องการของผ้ใู ชบ้ รกิ าร โดยปจั จยั นีส้ ง่ ผลตอ่ แนวโนม้ ในการใหบ้ รกิ าร เนือ่ งจากเทคโนโลยีมสี ่วนในการกาหนดพฤติกรรมผบู้ ริโภค และยังเปน็ ตวั กาหนดตลาด การให้บริการWebcasting จะสง่ ผลให้พฤติกรรมผู้บรโิ ภคเปล่ยี นไป ถ้าพฤติกรรมผู้บริโภคหรือผใู้ ห้บรกิ ารเปลี่ยนไปคอื Webcasting เป็นสว่ นหน่งึ ของชวี ติ ตลาดการให้บรกิ าร Webcasting กจ็ ะมีการแข่งขนั กันมากข้ึน

ตวั อย่างของการเผยแพร่นวตั กรรมการศกึ ษาทางไกล (ต่อ) การพัฒนาเร่ืองคณุ ภาพในการให้บริการ การทจี่ ะตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคน้นัคุณภาพเป็นปญั หาหลกั สาหรบั การให้บรกิ ารในปจั จบุ ัน การรบั ชมรบั ฟัง ภาพกระตกุ และสัญญาณขาดหาย ทาให้ไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคได้ ดังน้นั การพัฒนาคุณภาพในการบรกิ ารเป็นปจั จยั หลักต่อแนวโน้มในการให้บริการ แนวโน้มของการพัฒนาความเร็วในการเชอื่ มต่ออินเทอร์เนต็ เนอ่ื งจากความเร็วในการเช่ือมตอ่ มีผลต่อคุณภาพในการให้บริการ ดังนัน้ ถา้ แนวโน้มของความเรว็ ในการเชื่อมตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ มีความเรว็ ขึ้น กจ็ ะทาให้มีการพฒั นาในเร่ืองคณุ ภาพในการให้บริการท่ดี ีขึน้

ตัวอยา่ งของการเผยแพรน่ วตั กรรมการศึกษาทางไกล (ตอ่ ) การเตบิ โตของเครือขา่ ย MBONE ทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบสาคัญของการให้บรกิ าร Webcastingการสนบั สนุนสง่ เสริมจากรฐั บาลในหลายๆ ดา้ น ได้แก่ การพฒั นาเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ งบประมาณในการพฒั นา e-learning ซึง่ เปน็ ส่วนหนึ่งของ Webcasting เป็นต้น รายไดจ้ ากการให้บริการ ในปจั จุบันรายได้จากการให้บริการยงั ไม่เหน็ เป็นรูปธรรมมากนกั ความรคู้ วามเขา้ ใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอรอ์ ินเทอร์เน็ตของบุคลากร

ตัวอย่างของการเผยแพรน่ วัตกรรมการศึกษาทางไกล (ต่อ)ผลกระทบของการให้บรกิ าร Webcasting สาหรับการศึกษาผลกระทบของการให้บรกิ าร Webcasting แบง่ เปน็ 3 กลุ่ม คือ กลมุ่สื่อสารมวลชน กลมุ่ ทอ่ งเท่ยี ว และกล่มุ การศกึ ษากลมุ่ สื่อสารมวลชน สาหรับกลมุ่ สือ่ สารมวลชนนนั้ จากการวา่ พบวา่ มีการตน่ื ตัวกนั มากในการให้บรกิ ารWebcasting โดยในระยะแรกการให้บริการมีเพียง 2-3 เว็บไซต์เทา่ น้ันท่ีมกี ารให้บรกิ าร แต่ในปัจจุบันมีเกอื บทุกเวบ็ ไซตท์ ีใ่ หบ้ ริการ Webcasting เนอื่ งจากเปน็ การเข้าถงึ ผชู้ มผฟู้ งั ได้มาข้ึน เปน็ การเพิ่มช่องทางสือ่ สารนอกจากการติดตอ่ ผ่านวิทยุหรอื โทรทศั น์ ซึง่ เป็นการตดิ ต่อทางเดยี ว แต่ Webcastingสามารถตอบสนองไดท้ ั้งสองทาง คอื ผ้รู ับฟงั ผู้รบั ชม สามารถติดต่อกลับมายังผู้ดาเนนิ รายการได้

ตวั อยา่ งของการเผยแพร่นวัตกรรมการศกึ ษาทางไกล (ตอ่ )กล่มุ ทอ่ งเที่ยว ผลกระทบของ Webcasting ต่อกลมุ่ ท่องเที่ยวไมส่ งู มากนกั เนอื่ งจากบริษทั สว่ นใหญห่ รอืเวบ็ ไซตส์ ว่ นใหญท่ ่อี ยใู่ นกลุ่มท่องเที่ยวจะมตี ้นทุนไมส่ งู วิธแี กไ้ ขบางเวบ็ ไซต์จะใช้ Video Clip แทน เว็บไซตเ์ รมิ่ แรกทใ่ี หบ้ รกิ ารคอื Sabuyและต่อมาพยายามขยายวงโดยการเข้าไปใหบ้ ริการกับเว็บไซตอ์ น่ื ๆแตก่ ไ็ มไ่ ดร้ บั ความร่วมมือเทา่ ทคี่ วร สังเกตไดจ้ ากจานวนเวบ็ ไซตท์ ใ่ี ห้บริการWebcam คือ www. Thailandlivccam.com ซ่ึงสามารถ รบั ชมจากสถานท่ตี ่างๆ ในประเทศไทยได้ไดแ้ ก่ กรุงเทพฯ, เชียงใหม่, ชลบุร,ี พทั ยา เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook