Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 11002)

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 11002)

Published by banmolibrary, 2019-02-06 22:01:48

Description: ระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

สุขศทึกชรษา1าย1วพ0ิชลา0ศ2ึกษา ระดับประถมศึกษา สำลนิขักสงิทาธนปเปลนดัขกอรงะสทำรนวกังงศาึกนษกาธศิกนา.ร

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ( ทช11002 ) ระดบั ประถมศกึ ษา (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนา ย หนังสือเรยี นเลมน้ีจัดพิมพด วยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์เิ ปนของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 12/2555

2 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ า สุขศกึ ษา พลศกึ ษา ( ทช 11002 ) ระดับประถมศึกษา (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ลขิ สทิ ธ์เิ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับท่ี 12/2555

3

4 สารบญั หนา 8 บทท่ี 1 รา งกายของเรา 9 เรื่องท่ี 1 วัฎจกั รชวี ิตของมนุษย เรอ่ื งที่ 2 โครงสราง หนาที่และการทํางานของอวัยวะภายนอก ภายใน ที่สําคัญ 11 ของรางกาย เรื่องที่ 3 การดูแลรักษาปองกนั ความผดิ ปกตขิ องอวัยวะสําคัญของรางกาย 17 อวยั วะภายนอกและภายใน 22 23 บทท่ี 2 พฒั นาการทางเพศของวัยรุน การคุมกาํ เนิดและโรคติดตอทางเพศสมั พนั ธ 25 เร่ืองที่ 1 พัฒนาการทางเพศของวัยรุน 26 เร่ืองที่ 2 การดแู ลสุขภาพเบ้ืองตนในวัยรุน 30 เร่ืองที่ 3 การคุมกําเนิด 33 เร่ืองที่ 4 วิธีการสรางสมั พนั ธภาพทีด่ ีระหวา งคนในครอบครัว 36 เร่ืองท่ี 5 การสอ่ื สารเร่ืองเพศในครอบครัว 46 เรื่องที่ 6 ปญหาที่เกี่ยวของกับพัฒนาการทางเพศของวัยรุน 51 เรื่องท่ี 7 ทักษะการจัดการกับปญหา อารมณ และความตองการทางเพศของวัยรุน 54 เร่ืองท่ี 8 หลากหลายความเชื่อทีผ่ ดิ ในเรอ่ื งเพศ 60 เร่ืองที่ 9 กฎหมายที่เก่ียวของกับการลวงละเมิดทางเพศ 65 เรื่องที่ 10 โรคติดตอทางเพศสัมพันธ 66 72 บทท่ี 3 การดแู ลสขุ ภาพ 74 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญและคุณคาของอาหาร และโภชนาการ 75 เร่อื งท่ี 2 การเลือกบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ 77 เรื่องท่ี 3 วิธีการถนอมอาหารเพื่อคงคุณคาของสารอาหาร 79 เร่ืองที่ 4 ความสําคัญของการมีสุขภาพดี 80 เรื่องที่ 5 หลักการดูแลสุขภาพเบอ้ื งตน 81 เร่ืองท่ี 6 ปฏิบัติตนตามหลักสุขอนามัยสวนบุคคล 82 เรื่องท่ี 7 คุณคาและประโยชนของการออกกําลังกาย 86 เรื่องที่ 8 หลักการและวิธอี อกกําลงั กายเพือ่ สุขภาพ 87 เรื่องท่ี 9 การปฏิบัติตนในการออกกําลังกายรูปแบบตาง ๆ เรื่องท่ี 10 ความหมาย ความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ เรื่องท่ี 11 ประเภทและรูปแบบของกิจกรรมนันทนาการ

บทท่ี 4โรคติดตอ 5 เร่ืองที่ 1 โรคตับอกั เสบจากเช้อื ไวรสั เร่ืองท่ี 2 โรคไขเ ลอื ดออก 89 เรื่องที่ 3 โรคไขห วัดธรรมดา 90 เร่ืองที่ 4 โรคเอดส 91 เร่ืองที่ 5 โรคฉหี่ นู 92 เร่ืองท่ี 6 โรคมือเทาเปอย 93 เร่ืองที่ 7 โรคตาแดง 95 เรื่องท่ี 8 โรคไขห วัดนก 97 98 บทท่ี 5 ยาสามัญประจําบาน 99 เรอื่ งที่ 1 หลักการและวิธีการใชยาสามญั ประจําบาน 101 เร่ืองท่ี 2 อนั ตรายจากการใชยา และความเชอ่ื ทีผ่ ิดเกีย่ วกบั ยา 102 107 บทท่ี 6 สารเสพติดอันตราย 111 เร่อื งที่ 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพติด 112 เร่ืองท่ี 2 อันตรายจากสารเสพติด 114 116 บทท่ี 7 ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส ิน 117 เรื่องท่ี 1 อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ในชีวิตประจาํ วนั 119 เรือ่ งท่ี 2 อันตรายท่ีเกิดขึ้นในบาน 119 เรื่องท่ี 3 อันตรายที่เกิดขึ้นจากการเดินทาง 121 เรื่องท่ี 4 อันตรายจากภัยธรรมชาติ 124 125 บทท่ี 8 ทกั ษะชีวติ เพื่อการคิด 126 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต 10 ประการ 132 เรื่องท่ี 2 ทักษะชีวิตท่ีจาํ เปน 132 132 บทท่ี 9 อาชีพกับงานบริการดานสุขภาพ 142 ความหมายงานดานบริการดานสุขภาพ การนวดแผนไทย ธรุ กจิ นวดแผนไทย

6 คําแนะนําการใชห นงั สือเรยี น หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ิต รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ระดับประถมศึกษา รหัส ทช 11002 เปนหนังสือเรียนทีจ่ ัดทําขึน้ สําหรับผูเ รียนทีเ่ ปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียน สาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ผูเ รียนควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง และ ขอบขายเนื้อหาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนือ้ หาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามทีก่ ําหนด แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมตามทีก่ ําหนด ถาผูเ รียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจใน เนื้อหาน้ันใหมใหเขา ใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเร่อื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรือ่ งของแตละเรือ่ ง เพือ่ เปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนือ้ หาใน เร่อื งน้ัน ๆ อีกคร้งั และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเรือ่ ง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบ กับครูและเพอ่ื น ๆ ทร่ี ว มเรยี นในรายวิชาและระดับเดียวกนั ได 4. หนงั สอื เรยี นเลม นี้มี 8 บท บทที่ 1 รางกายของเรา บทที่ 2 พัฒนาการทางเพศของวัยรุน การคุมกําเนิดและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ บทที่ 3 การดูแลสขุ ภาพ บทที่ 4โรคตดิ ตอ บทที่ 5 ยาสามัญประจําบาน บทที่ 6 สารเสพตดิ อนั ตราย บทที่ 7 ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส นิ บทที่ 8 ทักษะชีวติ เพื่อการคิด บทที่ 9 อาชีพกับงานบริการดานสุขภาพ

7 โครงสรางหลกั สตู รรายวชิ าสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ติ ระดบั ประถมศึกษา สุขศกึ ษา พลศึกษา (ทช11002) สาระสําคัญ เปนสาระที่เกี่ยวของกับธรรมชาติการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย เมือ่ มนุษยมีการ พัฒนาการดานสรีระ เจริญเติบโต แลวมนุษยตองดูแลและสรางเสริมพฤติกรรมสุขภาพทีด่ ีของตนเอง และครอบครัว ปฏิบัติตนจนเกิดเปนนิสัย รูจ ักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ ตลอดจนสงเสริม สุขภาพพลานามัย ของตนเองและครอบครัว ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั 1. อธิบายธรรมชาติการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยได 2. บอกหลักการดูแลและสรางเสริมสุขภาพที่ดีของตนเองและครอบครัว 3. ปฏิบตั ิตนในการดแู ลและสรา งเสรมิ พฤติกรรมสขุ ภาพพลานามัยจนเปนกิจนสิ ยั 4. ปองกนั และหลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมเสย่ี งตอ สุขภาพและความปลอดภัยดว ยกระบวนการทักษะชีวติ ขอบขายเนอ้ื หาวชิ า บทที่ 1 รางกายของเรา บทที่ 2 พัฒนาการทางเพศของวัยรุน การคุมกําเนิดและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ บทที่ 3 การดแู ลสขุ ภาพ บทที่ 4โรคตดิ ตอ บทที่ 5 ยาสามัญประจําบาน บทที่ 6 สารเสพตดิ อนั ตราย บทที่ 7 ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยสนิ บทที่ 8 ทักษะชีวิตเพือ่ การคิด บทที่ 9 อาชีพกับงานบริการดานสุขภาพ

8 บทท่ี 1 รางกายของเรา สาระสําคัญ รางกายของมนุษยประกอบดวยอวัยวะตางๆ ทัง้ ภายใน และภายนอกที่ทําหนาทีต่ างๆ ตาม ความสําคัญของโครงสรางรางกายมนุษย รวมถึงการปองกันดูแลรักษาไมใหเกิดอาการผิดปกติ เพือ่ ให รางกายไดมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตามวัฏจักรชีวิตของมนุษยและมสี ุขภาพกายท่ีสมบรู ณตามวยั ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวงั 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการตามวัยของรางกายได 2. อธิบายโครงสรางและการทํางานของอวัยวะภายใน และภายนอกได 3. อธิบายวิธีการดูแลรักษาปองกันความผิดปกติของอวัยวะที่สําคัญของรางกาย ทัง้ ภายใน และภายนอกได ขอบขา ยเน้ือหา เรือ่ งท่ี 1 วัฏจักรชวี ิตของมนษุ ย เร่อื งท่ี 2 โครงสราง หนาที่และการทํางานของอวัยวะภายนอก ภายใน ที่สําคัญของรางกาย เรื่องที่ 3 การดูแลรักษาปองกัน ความผิดปกติของอวัยวะสําคัญของรางกาย อวัยวะ เรือ่ งที่ 1 วฎั จกั รชวี ติ ของมนษุ ย ธรรมชาตขิ องชวี ิตมนษุ ย ธรรมชาติของมนุษยประกอบไปดวยการเกิด แก เจ็บ ตาย ซึง่ เปนธรรมดาของชีวิตที่ ทุกคนหลกี ไมพ น ดังนัน้ ควรเรียนรูและปฏิบตั ิตนดวยความไมประมาท 1. การเกดิ ทุกคนเกิดมาจากพอซึ่งเปนเพศชาย และแมซึง่ เปนเพศหญิงโดยธรรมชาติได กําหนดใหเพศหญิงเปนคนอุมทองตามปกติประมาณ 9 เดือน จะคลอดจากครรภมารดา เจริญเติบโตเปน ทารก แลวพัฒนาการเปนวัยเด็ก วัยรุน วัยผูใ หญ วัยชรา ตามลําดับ รางกายของคนเราก็จะคอยๆ เปลี่ยนไปตามวัย

9 2. การแก เมือ่ อายุมากขึน้ รางกายจะมีการเปลีย่ นแปลงที่เห็นไดชัด เชน เมื่ออยูใ นชวงชรา รา งกายจะเสื่อมสภาพลง ผิวหนังเห่ียวยน การเคลือ่ นไหวชาลง คนสวนใหญเ รียกวา “คนแก” 3. การเจ็บ การเจ็บปวยของมนุษยสวนใหญเกิดจากการขาดดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกตองและ สมํ่าเสมอ คนสวนใหญมักเคยเจ็บปวย บางคนเจ็บปวยเล็กๆ นอยๆ หรือมาก จนตองรับการรักษาจาก แพทย ถาไมด ูแลรกั ษาสุขภาพตนเอง รางกายยอ มออ นแอและมโี อกาสจะรับเช้ือโรคเขาสูรางกายไดงาย กวาบุคลที่รักษาสุขภาพสม่ําเสมอ 4. การตาย ความตายเปนสิ่งที่ทุกคนหนีไมพน เกิดแลวตองตายดวยกันทุกคน แตการตายนั้น ตอง ถึงวัยที่รางกายเสือ่ มสภาพไปตามธรรมชาติ เมือ่ อยูใ นวัยหนุมสาวจึงควรดูแลรักษาสุขภาพและ ดํารงชีวิตดวยความไมประมาท การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการตามวยั การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย จะเริม่ ตัง้ แตเกิด ซึง่ แบงไดเปน 5 ชวงวัย โดยแตละวัยจะมีลักษณะและพัฒนาการเฉพาะของวัย การเจริญเติบโต (Growth) หมายถึง การเปลีย่ นแปลงในขนาดรูปราง สัดสวน ตลอดจนกระดูก กลามเน้ือ และอวัยวะทุกสวนของรางกายตามลําดับขั้น พัฒนาการ (Development) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของมนุษยทุกสวนทีต่ อเนือ่ งกัน ตั้งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิต ซึ่งเปนกระบวนการเปลีย่ นแปลงทัง้ รางกายและจิตใจผสมผสานกันไปเปน ขั้นๆ จากระยะหนึ่งไปสอู ีกระยะหนงึ่ ทําใหเ กิดการเจรญิ กาวหนาเปนลาํ ดบั ซ่ึงแบง เปน 5 ชวงวัย ดังนี้ 1. วยั ทารก (Infancy) ต้งั แตเ กดิ – 2 ป เด็กในวัยนีจ้ ะมีพัฒนาการทางดานรางกายทีร่ วดเร็วมากในขวบปแรกเปน 2 เทาจาก แรกเกิด ปถัดมาพัฒนาการจะเพิม่ ขึน้ เพียง 30 % จากนัน้ จะเจริญเติบโตขึน้ ตามลําดับ ตามแผนของการ พฒั นา วัยทารกจะสามารถรบั รูสง่ิ ตา งๆ ไดใ นระดับเบื้องตน เชน รูจักสํารวจ คนหา ทําความเขาใจ และ ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมรอบๆ ตัว รูจ ักใชอวัยวะสัมผัสสิง่ ตางๆ วัยนีต้ องอาศัยการเลีย้ งดูเอาใจ ใสมากทีส่ ุด 2. วยั เดก็ (Childhood) ตง้ั แต 3-12 ป

10 การเจริญเติบโตในวัยนีส้ วนใหญเปนเรือ่ งของกระดูกกลามเนื้อ และการประสานกับ ระบบตางๆ ในรางกาย ความแตกตางระหวางบุคคลและเพศตรงกันขาม จะปรากฏชัดเจน โดยวัยเด็ก แบง ออกเปน 3 ชวง ดังน้ี 2.1 วัยเด็กตอนตน (3-5 ป) รูจ ักใชภาษา หัดพูด กินขาว ลางมือ รูจักสังเกต อยากรู อยากทดลอง และเลน 2.2 วยั เดก็ ตอนกลาง (6-9 ป) เริ่มไปโรงเรียนตองปรับตัวเขากับคนแปลกหนา และทํา ความเขาใจกับระเบียบของโรงเรียน รูจักเลือกตัดสินใจ รับผิดชอบการทํางานของตนเองได 2.3 วัยเด็กตอนปลาย (10-12 ป) เพศชาย-หญิง จะแสดงความแตกตางชัดเจนในดาน พฤตกิ รรมและความสนใจ เดก็ หญงิ จะโตกวาเดก็ ชาย มีทกั ษะการใชภาษาที่ดีขึน้ ทาํ ตามคําสั่งได เรียนรู บทบาทที่เหมาะสมกับเพศของตน และจะเลนเฉพาะกลุมที่เพศเดียวกัน 3. วยั รุน (Adolescence) อายรุ ะหวา ง 13-20 ป วัยนีเ้ ปนชวงหัวเลี้ยวหัวตอของชีวิต เนือ่ งจากเปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จติ ใจและตอ งปรับตัวเขากบั ส่ิงใหมๆ ที่เกิดขึ้น รวมทัง้ ปรับตัวใหเขากับสังคม บางครัง้ ทําใหเกิดปญหา ตางๆ ขึ้น โดยเฉพาะปญหาทางเพศ เริ่มใหความสนใจกับเพศตรงกันขาม เริม่ มองอนาคต คิดถึงการมี อาชีพของตน คิดถึงครอบครัว อยากรู อยากเห็น อยากแสดงความสามารถ บางครัง้ แสดงออกในทางที่ ไมถ ูกตอง จงึ ทาํ ใหเ กิดปญ หาขึ้น ผูป กครองหรือผูใหญ ควรใหแ นะนาํ ทเ่ี หมาะสม 4. วัยผูใหญ (Adulthood) อายุระหวา ง 21-60 ป วัยนี้รางกายเจริญเติบโตเต็มที่แลว มีรูปรางสมสวน รางกายแข็งแรง แตเนือ่ งจากความ เจริญเติบโตและพัฒนาการทางกาย และใจของแตละคนตางกัน เชนคนทีเ่ ปนลกู คนโต ตอ งดูแลนองๆ ก็ อาจจะเปนผูใ หญเร็วกวานองคนเล็ก หรือคนทีก่ ําพราพอแม ก็ยอมเปนผูใหญเร็วกวาคนที่มีพอแมอยู ใกลชิด สรุปไดวาวัยนี้ เปนวัยทีม่ ีความเจริญดานตางๆ ทัง้ ดานความสนใจ ทัศนคติ และคานิยม โดยเฉพาะเรื่องอาชีพ การเลือกคูครอง และการมชี วี ติ ครอบครัว เปนวัยทมี่ พี ละกําลัง มีความสามารถใน การทํางานมากที่สุด เพราะเปนวัยที่ตองรับผิดชอบในหนาที่ เพื่อครอบครัวและประเทศชาติ 5. วยั ชรา (Old Age) อายุ 60 ปข ้ึนไป วัยนี้เปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ รวมทัง้ สมองในทาง เลือ่ มลง จึงประสบปญหาสุขภาพมากกวาวัยอืน่ มีอาการหลงลืม มักจะจําเรือ่ งราวในอดีต เหมาะทีจ่ ะ เปนทีป่ รึกษาใหคําแนะนําแกผูอ ื่น เพราะเปนผูท ีป่ ระสบการณมากอน วัยนีม้ ักมีอารมณคอนขางเครียด โกรธ และนอยใจงา ย

11 เรื่องท่ี 2 โครงสรา ง หนาที่และการทํางานของอวัยวะภายนอก ภายใน ที่สําคัญของรางกาย อวัยวะและระบบตา งๆ ในรางกาย อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน อวัยวะภายนอก เปนอวัยวะที่มองเห็นได เชน ตา หู จมูก ปากและผิวหนัง อวัยวะ เหลานี้มีหนาที่การทํางานตางกัน อวัยวะภายใน เปนอวยั วะท่ีอยใู นรางกายที่มีความสําคัญมาก เพราะเปนสวนหนึง่ ของ ระบบตางๆ ภายในรางกาย โดยอวัยวะภายนอกและอวัยวะภายในมีการทํางานทีส่ ัมพันธกัน หากสวน ใดสว นหนึง่ บกพรอ ง หรือไดรับอนั ตรายกอ็ าจมผี ลกระทบตอ สว นอ่นื ได 1. อวัยวะภายนอก มีดังนี้ 1.1 ตา เปนอวัยวะท่ที าํ ใหมองเห็นสิง่ ตา งๆ และชว ยใหเ กดิ การเรียนรู เพราะถาไม มีดวงตา สมองจะไมสามารถรับรูแ ละจดจําสิง่ ทีอ่ ยูร อบตัว นอกจากนัน้ ตายังแสดงออกถึงอารมณ ความรูส ึกตางๆ เชน ดีใจ เสียใจ ตกใจ สวนประกอบของตา ท่สี ําคญั มีดังน้ี (1) ค้ิว เปนสวนประกอบทีอ่ ยูเหนือหนังตาบน ทําหนาทีป่ องกันอันตราย ไมใหเกิดกับดวงตา โดยปองกันสิ่งสกปรก เหงือ่ น้าํ และสิ่งแปลกปลอมที่อาจไหลหรือตกมาจาก หนาผาก หรือศีรษะ เขา สดู วงตาได (2) หนังตา และเปลือกตา ทําหนาที่เปดปดตา เพื่อรับแสง และปองกัน อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ แกตา และกระจกตา โดยอตั โนมตั ิเมอ่ื มสี งิ่ อันตรายเขามาใกลต า (3) ขนตา เปนสวนประกอบทีอ่ ยูห นังตาบน หนังตาลาง ทําหนาที่ปองกัน อนั ตราย เชน ฝนุ ละออง ไมใหท ําอนั ตรายแกตา (4) ตอมนา้ํ ตา เปนสวนประกอบของตาที่อยูในเบาตา ทางดานหางคิ้วบริเวณ หนังตาบน ทําหนาที่ซับน้ําตา มาชวยใหตาชุมชื้น และขับสิ่งสกปรกออกมากับน้ําตา 1.2 หู เปนอวัยวะรับสัมผัสทีท่ ําใหไดยินเสียงตางๆ เชน เสียงเพลง เสียงพูดคุย การไดย ินเสียง ทําใหเ กิดการสือ่ สารระหวา งกนั ถา หูผิดปกติไมไดยินเสียงใดเลย สมองไมสามารถแปล ความไดวาเสียงตางๆ เปนอยางไร สวนประกอบของหู สวนประกอบของหูแบงเปน 3 สว น คอื หูช้นั นอก หูช้ันกลาง หชู ้นั ใน

12 (1) หชู ัน้ นอกประกอบดว ยสว นตา งๆ ดงั น้ี • ใบหู ทําหนาทีร่ บั เสียงสะทอ นเขาสรู ูหู • รูหู ทําหนาทีเ่ ปนทางผานของเสียง ใหเขาไปสูส วนตางๆ ของรูหู ภายในรูหูจะมีตอมน้าํ มัน ทําหนาทีผ่ ลิตไขมันทําใหหูชุมชืน้ และดักจับฝุน ละออง และสิง่ แปลกปลอม ทีเ่ ขามาภายในรูหู และเกิดเปนขี้หู นอกจากนั้น ภายในรูหูยังมีเยือ่ แกวหู ซึ่งเปนเยือ่ แผนกลมบางๆ กั้น อยรู ะหวางหชู นั้ นอก กับหูชน้ั กลาง ทาํ หนา ที่ถายทอดเสียงผานหชู ้นั กลาง (2) หูชั้นกลาง มีลักษณะเปนโพรง ประกอบดวยสวนตางๆ ไดแก กระดูก รูปคอน กระดูกรูปทัง่ และกระดูรูปโกลน เปนกระดูกชิ้นนอกติดอยูก ับหูชั้นใน กระดูกทัง้ 3 ช้ิน ดังกลาว ทาํ หนาทีร่ บั คลนื่ เสยี งตอจากเยอ่ื แกว หู (3) หูช้ันใน มีลักษณะเปนรูปหอยโขง เปนสวนทีอ่ ยูดานในสุด ทําหนาที่ ขับคลื่นเสียงโดยผานประสาทรับเสียงสงตอไปยังสมอง และสมองก็แปลผลทําใหรูว าเสียงที่ไดยินคือ เสยี งอะไร 1.3 จมูก เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําหนาทีห่ ายใจเอาอากาศเขาและออกจากรางกาย และมีหนาทีร่ ับกลิ่นตางๆ ถาจมูกไมสามารถทําหนาทีไ่ ดตามปกติ จะไมไดกลิน่ อะไรเลย หรือทําให ระบบการหายใจและการออกเสียงผิดปกติ สวนประกอบของจมกู จมูกเปนอวัยวะภายนอกทีอ่ ยูบ นใบหนา ชวยเสริมใหใบหนาสวยงาม จมูก แบง ออกเปน 3 สว น ดงั น้ี (1) สันจมูก เปนสวนที่มองเห็นจากภายนอก เปนกระดูกออน ทําหนาที่ ปองกนั อันตรายใหกับอวยั วะภายในจมกู (2) รูจมูก รูจมูกมี 2 ขาง ทําหนาทีเ่ ปนทางผานของอากาศ ทีห่ ายใจเขาออก ภายในรูจมกู มีขนจมกู และเยือ่ จมูก ทําหนาทกี่ รองฝุนและเชอ้ื โรคไมใ หเ ขาสหู ลอดลมและปอด (3) ไซนัส เปนโพรงอากาศครอบจมูกในกะโหลกศีรษะ จํานวน 4 คู ทํา หนา ที่พดั อากาศเขาสูปอด และปรับลมหายใจใหมีอุณหภูมิและความชื้นพอเหมาะ 1.4 ปากและฟน เปนอวัยวะสําคัญของรางกายที่ใชในการพูด ออกเสียง และ รับประทานอาหาร โดยฟนของคนเราจะมี 2 ชุด คือ ฟนนา้ํ นมและฟน แท

13 (1) ฟนน้ํานม เปนฟนชุดแรก มีทัง้ หมด 20 ซี่ เปนฟนบน 10 ซี่ ฟนลาง 10 ซ่ี ฟนน้าํ นมเริม่ งอกเมือ่ อายุประมาณ 6-8 เดือน จะงอกครบเมือ่ อายุ 2 ขวบ ถึง 2 ขวบครึง่ และจะคอยๆ หลุดไปเมื่ออายุประมาณ 6 ขวบ (2) ฟนแท เปนฟนชุดทีส่ อง ทีเ่ กิดขึน้ มาแทนฟนน้าํ นมทีห่ ลุดไป ฟนแทมี 32 ซี่ ฟน บน 16 ซี่ ฟนลา ง 16 ซ่ี ฟน แทจ ะครบเมอ่ื อายุประมาณ 21- 25 ป ถาฟนแทผุหรือหลุดไป จะไม มฟี นงอกขน้ึ มาอีก หนาทข่ี องฟน ฟน มีหนาที่ในการเคี้ยวอาหาร เชน ฉีก กัด บดอาหารใหละเอียด ฟนจึงมี หนา ทีแ่ ละรูปรา งตางกนั ไป ไดแก ฟน หนา มีลกั ษณะคลายลม่ิ ใชก ัดตดั ฟนเขี้ยว มีลักษณะปลายแหลม ใชฉีกอาหาร และฟนกราม มีลักษณะแบน กวาง ตรงกลางมีรองใชบดอาหาร 1.5 ผิวหนัง เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําใหรูส ึก รอน หนาว เจ็บปวด เพราะภายใต ผิวหนังเปนที่รวมของเซลลประสาทรับความรูส ึก นอกจากนัน้ ผิวหนังยังทําหนาทีป่ กคลุมรางกาย และ ชวยปองกันอวัยวะภายในไมใหไดรับอันตราย และยังชวยระบายความรอนภายในรางกายทางรูเหงือ่ ตามผวิ หนงั อกี ดว ย สว นประกอบของผิวหนัง แบง ออกเปน 2 ช้ัน ดังนี้ (1) ชัน้ หนังกําพรา เปนชั้นบนสุด เปนชั้นที่จะหลุดเปนขี้ไคล แลวมีการ สรา งข้ึนมาทดแทนขนึ้ เรอ่ื ยๆ และเปนผิวหนังชั้นที่บงบอกความแตกตางของสีผิวในแตละคน (2) ชน้ั หนงั แท เปน ผวิ หนงั ทีห่ นากวา ชนั้ หนงั กําพรา เปนแหลงรวมของตอม เหงื่อ ตอมไขมัน และเซลลประสาทรับความรูสึกตางๆ 2. อวัยวะภายใน อวัยวะภายในเปนอวัยวะทีอ่ ยูใ ตผิวหนัง ซึง่ เราไมสามารถมองเห็น อวัยวะภายใน เหลานี้มีมากมายและทํางานประสานสัมพันธกันเปนระบบ 2.1 ปอด ปอดเปนอวยั วะภายในอยา งหนง่ึ อยใู นระบบหายใจ ปอดมี 2 ขา ง ต้งั อยู บริเวณทรวงอกทั้งทางดานซายและดานขวา จากตนคอลงไปจนถึงอก ปอดมีลักษณะนิ่มและหยุน เหมือนฟองนํ้า ขยายใหญเทา กับซ่โี ครงเวลาทข่ี ยายตัวเต็มท่ี มีเยอื่ บางๆ หุม เรยี กวา เยอ่ื หมุ ปอด ปอด ประกอบดวยถุงลมเล็กๆ จํานวนมากมาย เวลาหายใจเขาถุงลมจะพองออกและเวลาหายใจออกถุงลมจะ แฟบ ถุงลมนี้ประสานติดกนั ดว ยเยอื่ ประสานละเอียดเตม็ ไปดวยเสน เลือดฝอยมากมาย เลอื ดดําจะไหล ผา นเสน เลอื ดฝอยเหลานั้น แลวคายคารบอนไดออกไซดออก และรับเอาออกซิเจนจากอากาศที่เรา

14 หายใจเขาไปในถุงลมไปใชในกระบวนการเคมีในการสันดาปอาหารของรางกาย กระบวนการที่เลือด คายคารบอนไดออกไซด และรับออกซิเจนขณะท่อี ยูใ นปอดน้ี เรียกวา การฟอกเลอื ด หนา ที่ของปอด ปอดจะทําหนาที่สบู และระบายอากาศ ฟอกเลือดเสียใหเปนเลือดดี การหายใจ มอี ยู 2 ระยะ คือ หายใจเขาและหายใจออก หายใจเขา คือ การสูดอากาศเขาไปในปอดหรือถุงลมปอด เกดิ ข้ึนดว ยการหดตัวของกลามเนือ้ กะบังลม ซ่งึ กนั้ อยรู ะหวางชอ งอกกบั ชองทอ ง เมอื่ กลามเนือ้ กะบงั ลมหดตัวจะทําใหชองอกมีปริมาตรมากขึ้น อากาศจะวิ่งเขาไปในปอด เรียกวาหายใจเขา เมื่อหายใจเขา สุดแลว กลา มเน้อื กะบงั ลมจะคลายตัวลง กลา มเน้อื ทอ งจะดนั เอากลา มเนือ้ กะบงั ลมข้นึ ทาํ ใหชอ งอก แคบลง อากาศจะถูกบีบออกจากปอด เรียกวา หายใจออก ปกติผูใหญหายใจประมาณ 18-22 ครงั้ ตอ นาที ผูที่มีอายุนอยการหายใจจะเร็วขึ้นตามอายุ 2.2 หัวใจ เปน อวัยวะทปี่ ระกอบดว ย กลามเนื้อ ภายในเปนโพรง รูปรางเหมือนดอกบัวตูม มี ขนาดราวๆ กําปนของเจาของ รอบๆ หัวใจมีเยื่อบางๆ หุม อยูเ รยี กวา เยื่อหมุ หวั ใจ ซงึ่ มอี ยู 2 ช้นั ระหวางเย่อื หมุ ทง้ั สองชั้นจะมีชอ ง ซง่ึ มนี ้ําใสสเี หลอื งออนหลออยูตลอดเวลา เพ่ือมใิ หเ ย่ือทงั้ สองช้ันเสียดสีกนั และทาํ ใหหวั ใจเตน ได สะดวกไมแ หง ตดิ กบั เยอ่ื หมุ หัวใจ หัวใจตั้งอยูระหวา งปอด ทั้งสองขาง แตคอนไปทางซายและอยูหลังกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก โดยปลายแหลมชี้เฉียงลงทาง ลาง และชไี้ ปทางซาย ภายในหัวใจจะมโี พรง ซ่ึงภายในโพรงนจ้ี ะมผี นังก้ันแยกออกเปน หองๆ รวม 4 หอง คอื หอ งบน 2 หอง และหองลาง 2 หอง สําหรับหองบนจะมีขนาดเล็กกวาหองลาง หนาที่ของหัวใจ หัวใจมจี งั หวะการบีบตวั หรือท่ีเราเรียกวาการเตน ของหวั ใจ เพ่ือสบู ฉีดเลือด แดงไปหลอเลี้ยงรางกายตามสวนตางๆ ของรางกาย ขณะที่คลายตัวหัวใจหองบนขวาจะรับเลือดดํามา จากท่ัวรา งกาย และจะถกู บีบผานลิ้นทก่ี ้ันอยูล งไปทางหองลา งขวา ซงึ่ จะถูกฉีดไปยังปอดเพ่ือคาย คารบอนไดออกไซดและรับออกซิเจนใหมกลายเปนเลือดแดง ไหลกลับเขามายังหัวใจหองบนซายและ ถกู บีบผา นล้นิ ที่กั้นอยูไปทางหองลา งซา ย จากนนั้ กจ็ ะถูกฉีดออกไปเลยี้ งท่วั รางกาย ถาเราใชนิว้ แตะ บริเวณเสนเลอื ดใหญ เชน ขอมอื หรือขอ พบั ตา งๆ เราจะรสู ึกไดถงึ จงั หวะการบีบตัวของหวั ใจ ซ่ึงเรา เรียกวา ชพี จร

15 หัวใจเปนอวัยวะทีส่ ําคัญทีส่ ุด เพราะเปนอวยั วะท่บี อกไดวา คนนัน้ ยงั มชี วี ิตอยูได หรอื ไม ถา หากหัวใจหยดุ เตนกห็ มายถงึ วา คนคนนน้ั เสยี ชวี ติ แลว การเตน ของหวั ใจน้ัน ในคนปกติ หวั ใจจะเตน ประมาณ 70-80 ครั้งตอนาที หัวใจตองทาํ งานหนักตลอดชวี ิต ท้งั เวลาหลบั และตื่น เวลาทห่ี วั ใจจะไดพักผอน บา งกค็ อื ตอนทเ่ี รานอนหลับ หัวใจจะเตนชาลง เราจึงตองระมัดระวังรักษาหัวใจใหแข็งแรงอยูเสมอ โดยอยา ใหห วั ใจตองทาํ งานหนกั มากจนเกนิ ไป 2.3 กระเพาะอาหาร มีรปู รางเหมอื นนาํ้ เตา คลายกระเพาะหมู มีความจุประมาณ 1 ลิตร อยูต อ หลอดอาหารและอยูในชอ งทองคอนไปทางดา นซา ย หนาท่ีสําคัญของกระเพาะอาหาร คือ มีหนาที่ในการยอยอาหารที่มีขนาดเล็ก ลง และละลายใหเปนสารอาหาร แลวสงอาหารทีย่ อยแลวไปยังลําไสเล็ก แลวลําไสเล็กจะดูดซึมไปใช ประโยชนแกรางกายตอไป สวนทีไ่ มเปนประโยชนที่เรียกวากากอาหารจะถูกสงตอไปยังลําไสใหญ เพือ่ ขับถายออกจากรางกายเปนอุจจาระตอไป สิง่ ทีช่ วยใหกระเพาะยอยอาหารก็คือ น้าํ ยอยซึง่ มีสภาพ เปนกรด น้ํายอยในกระเพาะจะมีเปนจํานวนมากเมื่อถึงเวลารับประทานอาหาร ถาไมรับประทานอาหาร ใหตรงเวลาน้าํ ยอยจะกัดเนือ้ เยือ่ ในบริเวณกระเพาะไดเชนกัน อาจจะทําใหเกิดเปนแผลในกระเพาะ อาหารได วิธีที่จะชวยปองกันไดก็คือ ดืม่ น้าํ สะอาดใหมากๆ และรับประทานอาหารใหตรงเวลา งด รับประทานอาหารที่มีรสจัด 2.4 ลําไสเล็ก มีลักษณะเปนทอกลวงยาวประมาณ 6 เมตร ขดอยูในชองทอง ตอนบน ปลายบนเชื่อมกับกระเพาะอาหาร สวนปลายลางตอกับลําไสใหญ หนาท่ีสําคัญของลําไสเล็ก คือ ยอยอาหารตอจากกระเพาะอาหาร จนอาหารมี ขนาดเล็กพอที่จะดูดซมึ เขาสูก ระแสเลือด เพ่ือนาํ ไปเล้ยี งสว นตางๆ ของรางกาย 2.5 ลําไสใหญ เปนอวัยวะทีอ่ ยูใ นระบบทางเดินอาหาร ลําไสใหญของคนมีความ ยาวประมาณ 1.5 เมตร เสนผานศูนยกลางประมาณ 6 เซนติเมตร แบง ออกเปน 3สว น คอื (1) กระเปาะลําไสใหญ เปน ลาํ ไสใหญส วนแรก ตอจากลําไสเล็ก ทําหนาที่รับ กากอาหารจากลําไสเลก็ (2) โคลอน (Colon) เปนลําไสใหญสวนที่ยาวทีส่ ุดประกอบดวยลําไสใหญ ขวา ลําไสใหญกลาง และลําไสใหญซาย มีหนาทีด่ ูดซึมนํ้าและพวกวิตามินบี12 ทีแ่ บคที่เรียในลําไส ใหญสรา งข้ึน และขับกากอาหารเขา สลู าํ ไสใหญสว นตอไป

16 (3) ไสตรง เมื่อกากอาหารเขาสูไสตรงจะทําใหเกิดความรูสึกอยากถายขึ้น เพราะความดนั ในไสต รงเพมิ่ ขึ้นเปนผลทําใหก ลา มเนื้อหูรูดท่ีทวารหนักดานใน ซ่ึงจะทําใหเกิดการถาย อุจจาระออกทางทวารหนักตอไป หนาที่ของลําไสใ หญ (1) ชว ยยอ ยอาหารเพยี งเลก็ นอย (2) ถายระบายกากอาหาร ออกจากรางกาย (3) ดดู ซมึ น้าํ และสารอเิ ลค็ โตรลัยต เชน โซเดยี ม และเกลอื แรอ ื่น ๆ จาก อาหารที่ถูกยอยแลว ทีเหลืออยูในกากอาหาร รวมทั้งวิตามินบางอยางที่สรางจากแบคทีเรีย ซงึ่ อาศัยอยู ในลําไสใ หญ ไดแก วิตามนิ บรี วม วิตามินเค ดวยเหตุนีจ้ งึ เปนชอ งทางสาํ หรบั ใหน้ํา อาหารและยาแก ผูปวยทางทวารหนักได (4) ทําหนาที่เก็บอุจจาระไวจนกวาจะถึงเวลาอันสมควรที่จะถายออกนอก รางกาย 1.5 ไต เปนอวัยวะสวนหนึ่งในระบบขับถาย จะขับถายของเสียจากรางกายออกมา เปนน้าํ ปสสาวะ ไตของคนเรามี 2 ขาง มีรูปรางคลายเมล็ดถัว่ แดง ยาวประมาณ 12 เซนติเมตร อยูติด ผนังชอ งทองดานหลังตาํ่ กวา กระดกู ซโ่ี ครงเลก็ นอ ย หนาทีส่ ําคัญของไต คือ กรองของเสียออกจากเลือดแดง แลวขับของเสียออก นอกรางกายในรูปของปสสาวะ เรอื่ งท่ี 3 การดูแลรกั ษาปองกัน ความผิดปกติของอวัยวะสําคญั ของรา งกาย อวยั วะภายนอก และภายใน การดูแลรักษาปองกัน ความผิดปกติของอวัยวะสําคัญของรางกาย อวัยวะภายนอกและภายในมี ความสําคัญของรางกาย จําเปนตองดูแลรักษาใหสามารถทํางานไดตามปกติ เพราะถาอวัยวะสวนใด สวนหนึ่งเกิดความบกพรองหรือเกิดความผิดปกติ ระบบการทํางานนัน้ ก็จะบกพรองก็จะบกพรองหรือ ผิดปกติดวย มีวิธีการงาย ๆ ในการดูแลรักษาอวัยวะตาง ๆ ดังนี้ 1. การดแู ลรกั ษาตา ตามคี วามสาํ คัญ ทาํ ใหม องเห็นสง่ิ ตางๆ จึงควรดแู ลรักษาตาใหดดี วยวิธี ดังตอไปนี้ 1. ไมควรใชสายตาจองหรือเพงส่ิงตางๆ มากเกินไป ควรพักสายตาโดยการหลับตา หรือ มองออกไปยังทีก่ วา งๆ หรือพ้นื ท่ีสีเขยี ว

17 2. ขณะอานหรือเขียนหนังสือ ควรใหแสงสวางอยางเพียงพอ และควรวางหนังสือใหหาง จากตาประมาณ 1 ฟุต 3. ไมควรอา นหนงั สอื ขณะอยูบ นยานพาหนะ เชน รถ หรอื รถไฟทีก่ ําลงั แลน 4. ดโู ทรทศั นใ หห า งจากจอภาพไมน อ ยกวา 3 เทา ของขนาดจอภาพ 5. เมื่อมีฝุนละอองเขาตา ไมควรขยต้ี า ควรใชวิธีลืมตาในนา้ํ สะอาด หรือลางดว ยนํ้ายาลางตา 6. ไมค วรใชผา เช็ดหนารวมกบั ผูอ่นื เพราะอาจตดิ โรคตาแดงจากผูอ่นื ได 7. หลกี เลยี่ งการมองบรเิ วณท่ีแสงจา หรอื หลีกเลยี่ งสถานท่ีทีม่ ฝี ุนละอองฟงุ กระจาย 8. อยาใชยาลางตาเม่ือไมมีความจําเปน เพราะตามธรรมชาตินํ้าในเปลือกตาทําหนาท่ีลาง ตาดที ่สี ุด 9. บริหารเปลือกตาบนและเปลือกตาทุกวันดวยการใชน้ิวช้ีรูดกดไปบนเปลือกตาจากค้ิว ไปทางหางตา 2. การดูแลรกั ษาหู หูมีความสําคัญตอการไดยิน ถาหูผิดปกติจนไมสามารถไดยินเสียงตางๆ การทํา กิจกรรมในชวี ิตประจาํ วนั ก็ไมร าบรนื่ เกดิ อปุ สรรค ดังนนั้ จึงควรดแู ลรกั ษาหใู หทําหนา ทใ่ี หดีอยเู สมอ 1. หลีกเลีย่ งแหลงที่มีเสียงดังอึกทึก ถาหลีกเลีย่ งไมไดควรปองกันตนเอง โดยหา อุปกรณมาอดุ หู หรือครอบหู เพื่อปองกันไมใ หแกวหูฉีกขาด 2. ไมควรแคะหดู วยวัสดใุ ดๆ เพราะอาจทาํ ใหหูอักเสบเกิดการตดิ เชอื้ 3. เมื่อมีแมลงเขาหู ใหใชน้ํามันมะกอก หรือน้าํ มันพาราฟลหยอดหู ทิง้ ไวสักครูแ มลง จะตาย แลว จงึ เอยี งหใู หแ มลงไหลออกมา 4. ขณะวายน้ํา หรืออาบน้าํ พยายามอยาใหน้ําเขาหู ถามีน้ําเขาหูใหเอียงหูใหน้ํา ออกมาเอง 5. เมื่อเปนหวัดไมควรสัง่ น้าํ มูกแรงๆ เพราะเชือ้ โรคอาจผานเขาไปในรูหู เกิดอักเสบ ตดิ เชอื้ กลายเปน หนู าํ้ หนวก และเมอ่ื มีส่ิงผิดปกติเกิดขน้ึ กับหู ควรปรกึ ษาแพทย 3. การดแู ลรักษาจมูก จมูกเปนอวัยวะรับสัมผัสที่มีความสําคัญ ทําใหไดกลิน่ และหายใจเอาอากาศบริสุทธิ์ เขาสูปอด ควรดแู ลรักษาจมกู ใหทําหนาทีไ่ ดต ามปกตดิ วยวธิ ดี ังน้ี 1. หลกี เล่ียงบริเวณทมี่ ฝี ุนละอองฟุงกระจาย 2. ไมค วรแคะจมูกดว ยวสั ดุแข็ง เพราะอาจทําใหจมกู อักเสบ 3. ไมควรสง่ั น้าํ มกู แรงๆ ถา เปน หวดั เรือ้ รัง ไมค วรปลอยท้งิ ไว ควรปรกึ ษาแพทย

18 4. ถามีความผิดปกติเกิดขึ้นกับจมูก ควรปรึกษาแพทย 4. การดูแลรกั ษาปากและฟน 1. ควรแปรงฟนใหถกู วธิ หี ลังอาหารทุกมอ้ื หรือควรแปรงฟน อยา งนอยวนั ละ 2 ครง้ั 2. ไมควรกัดหรือฉีกของแข็งดวยฟน และควรพบทนั ตแพทยเ พอื่ ตรวจฟน ทกุ 6 เดอื น 3. ออกกําลังเหงือกดวยการถู นวดเหงือก ตอนเชา และกลางคืนกอนนอน โดยการอม เกลอื หรือเกลอื ปน ผสมสารสม ปนประมาณ 5 นาที แลว นวดเหงอื ก 4. รับประทานผัก ผลไมสดมากๆ และหลีกเลีย่ งรับประทานลูกอม ช็อคโกแลตและ ขนมหวานๆ 5. การดูแลรกั ษาผวิ หนัง 1. อาบนํา้ อยางนอ ยวนั ละ 2 คร้งั หลงั จากอาบนํา้ เสร็จ ควรเช็ดตวั ใหแหง 2. สวมเส้ือผาทส่ี ะอาด ไมเปยกชื้น และไมร ัดรูปจนเกนิ ไป 3. รับประทานอาหารทีม่ ีประโยชนและดืม่ น้าํ มากๆ ออกกําลังกายอยางสม่าํ เสมอ หลกี เลย่ี งแสงแดดจา และระมัดระวังในการใชเครื่องสําอาง 4. เม่ือผวิ หนงั ผดิ ปกติ ควรปรกึ ษาแพทย 6. การดูแลรกั ษาปอด มีขอ ควรปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1. ควรอยูในสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ถายเทไดเสมอ หลีกเลี่ยงอยูใ นสถานที่ที่มีฝูง ชนแออดั 2. ควรหายใจทางจมูก เพราะในจมูกมีขนจมูกและเย่ือเสมหะซ่ึงจะชวยกรองฝุน ละออง และเชื้อโรคไมใหเขาไปในปอด หลีกเลี่ยงการหายใจทางปาก 3. ไมควรนอนคว่ํานานๆ จะทําใหปอดถูกกดทับทํางานไมสะดวก 4. ไมค วรสบู บุหร่ี เพราะจะสงผลใหเ ปน อนั ตรายตอปอด 5. ควรนั่งหรือยืนตัวตรง ไมควรสวมเสือ้ ผาทีร่ ัดแนน เพราะจะทําใหปอดขยายตัวไม สะดวก 6. ควรรกั ษารางกายใหอบอนุ เพื่อปอ งกันการเปนหวัด 7. ควรบริหารปอด ดวยการหายใจยาวๆ วันละ 5-6 ครัง้ ทุกวัน ทําใหปอดขยายตัวได เตม็ ที่ 8. ควรระวังการกระทบกระเทือนอยางรุนแรงจากภายนอก เชน หนาอก แผนหลัง เพราะจะกระทบกระเทอื นไปถงึ ปอดดว ย

19 9. ควรพักผอนใหเต็มที่ การออกกําลังกายหรือการเลนใดๆ อยาใหเกินกําลังหรือ เหนอ่ื ยเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหป อดตอ งทาํ งานหนกั จนเกนิ ไป 10. ควรตรวจสขุ ภาพ หรือเอ็กซเรยปอดอยา งนอ ยปละ 1 คร้งั 7. การดแู ลรักษาหัวใจ มวี ิธีการปฏิบัตดิ งั น้ี 1. ควรออกกําลังกายสม่ําเสมอ เหมาะสมกับสภาพรางกาย และวัย ไมหักโหมเกินไป เพราะจะทําใหหัวใจตองทํางานมาก อาจเปนอันตรายได 2. ไมด ่ืมนํา้ ชา กาแฟ สบู บุหร่ี ดม่ื สุราหรอื เครอื่ งดื่มท่ีมีสารกระตนุ เพราะมีสารกระตุน ทาํ ใหห วั ใจทาํ งานหนกั จนอาจเปน อนั ตรายแกก ลา มเนอ้ื หวั ใจได 3. ไมรับประทานยา ที่จะกระตุนในการทํางานของหัวใจโดยไมปรึกษาแพทย 4. การนอนคว่ํา เปนเวลานานๆ จะสงผลทําใหหัวใจถูกกดทับทํางานไมสะดวก 5. ไมควรนอนในสถานท่อี ากาศถายเทไมส ะดวก หรือสวมเส้อื ผาท่ีรดั รูปจนเกินไป จะ ทําใหระบบการทํางานของหัวใจไมสะดวก 6. ระมัดระวังไมใหหนาอกไดรับความกระทบกระเทือน เพราะอาจเปนอันตรายกับ หวั ใจได 7. ไมควรวิตกกังวล กลัว ตกใจ เสียใจมากเกินไป เพราะจะสงผลตอการทํางานของ หวั ใจ 8. ไมควรรับประทานอาหารที่มีไขมันและน้ําตาลมากเกินไป เพราะจะทําใหเกิดไขมัน เกาะภายในเสน เลอื ดและกลา มเนือ้ หวั ใจ ทาํ ใหหวั ใจตองทํางานหนกั ขนึ้ จะเปน อันตรายได 9. เมื่อเกิดอาการผิดปกติของหัวใจ ควรปรึกษาแพทย 8. การดแู ลรักษากระเพาะอาหารและลาํ ไส ควรปฏิบตั ิดงั น้ี 1. ควรรับประทานอาหาร ที่มีประโยชน ไมแข็ง ไมเหนียว หรือยอยยาก หรือมีรสจัด เกนิ ไป เพราะทําใหกระเพาะอาหารทํางานหนักหรือทําใหเกิดเปนแผลได 2. ควรใหร างกายอบอุน ในเวลานอนตอ งสวมเส้อื ผา หรือหม ผาเสมอ เพ่ือมิใหทองรับ ความเย็นจนเกินไป จนอาจเกิดอาการปวดทอง 3. ควรควบคุมอารมณ เพราะความเครียด ความวิตกกังวล ก็ทําใหกระเพาะอาหาร หลงั่ นา้ํ ยอยออกมามาก 4. เค้ยี วอาหาร ใหละเอียดกอนกลืน และไมร บี รับประทาน เพราะจะทําใหอาหารยอย ยาก 5. ไมควรสวมเสือ้ ผาคับหรือรัดเข็มขัดแนนเกินไป จะทําใหกระเพาะอาหารทํางาน ไมส ะดวก

20 6. ไมควรรับประทานจุบจิบ เพราะจะทําใหกระเพาะอาหารตองทํางานอยูเ สมอไมมี เวลาพกั 7. ควรรับประทานอาหารใหเปนเวลา ไมปลอยใหหิวมาก หรือรับประทานอาหาร มากเกินไป จะทําใหกระเพาะอาหารตองทํางานหนัก หรือเกิดอาการอาหารไมยอย แนนทองได 8. ไมรับประทานของหมักดอง จะทําใหเกิดอาการทองเสียหรือทองรวงได 9. ปฏิบัติตนตามหลักสุขนิสัยที่ดี โดยรักษาความสะอาดมือ ภาชนะและอาหรที่ รบั ประทานเพอ่ื ปอ งกนั เชอ้ื โรคจะเปน อนั ตรายตอ กระเพาะอาหารได 10. ควรรับวัคซีนปองกันโรค เมือ่ เกิดโรคติดตอระบาดในชุมชน เชน อหิวาตกโรค บิด พยาธิตา งๆ ทอ งรว ง 9. การดแู ลรักษาไต ควรปฏิบตั ดิ งั น้ี 1. ควรรับประทานอาหาร น้ํา เกลือแร ใหเหมาะสมตามสภาวะของรางกาย 2. ควรหลีกเลีย่ งการใชยาหรือรับประทาน ยาที่มีผลเสียตอไต เชน ยาซัลฟา ยาแก ปวด และแกอ กั เสบตอ เนอ่ื งเปน เวลานาน 3. ไมค วรกลน้ั ปส สาวะเอาไวน านๆหรอื สวนปส สาวะ 4. ผูท่ีมีอาการของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ควรรักษาเพราะจะสงผล กระทบตอการทํางานของไต 5. เมื่อเกิดอาการผิดปกติที่สงสัยวาจะเปนโรคไต เชน เทา ตัว หรือหนาบวม ปส สาวะเปน สคี ล้าํ เหมอื นสนี ํา้ ลา งเน้ือ หรอื ปส สาวะบอยผิดปกติ ควรปรกึ ษาแพทย 6. ควรตรวจสขุ ภาพ ตรวจปส สาวะ อยางนอยประจําปละ 1-2 ครง้ั กิจกรรมทา ยบท 1. ใหผูเรียนแบงกลุม ศึกษาพัฒนาการของมนุษยตามวัยตางๆ แลวใหแตละกลุม อภิปราย นําเสนอผลงานแตละกลุม 2. ใหผ เู รยี นเปรยี บเทียบความแตกตา งที่เกดิ ขึ้นในแตล ะวัย และชว ยกนั สรุปผล 3. ใหผูเ รียนบอกความแตกตางของการดูแลรักษาอวัยวะภายในและภายนอกพรอม อภปิ รายวิธกี ารปองกนั และดูแลรกั ษา

21 บทท่ี 2 พฒั นาการทางเพศของวยั รุน การคุมกําเนิดและโรคติดตอ ทางเพศสมั พนั ธ สาระสําคัญ มีความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับปญหาและการพัฒนาทางเพศของวัยรุน ในเรือ่ งตางๆ ทัง้ เพศชาย และเพศหญงิ ทม่ี ีปญ หาทแี่ ตกตางกนั ออกไปตลอดจนเรยี นรูในเรื่องของกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการลวง ละเมิดทางเพศ และมีความรูใ นการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองใหพนจากโรคติดตอในเวลามี เพศสมั พนั ธ ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั 1. เรยี นรเู กี่ยวกบั การพฒั นาการทางเพศ และการดแู ลสุขภาพของวัยรนุ 2. เรียนรเู กยี่ วกบั การปอ งกันปญหาทจี่ ะเกดิ จากสาเหตุตา งๆ ของวัยรนุ 3. เรียนรูในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวของกับการลวงละเมิดทางเพศ 4. เรยี นรูใ นเร่อื งของโรคตดิ ตอ ตา งๆ ที่เกิดจากการมีเพศสมั พนั ธ ขอบขา ยเนื้อหา เร่ืองที่ 1 พัฒนาการทางเพศของวัยรุน เรือ่ งที่ 2 การดแู ลสขุ ภาพเบอ้ื งตน ในวยั รุน เรือ่ งที่ 3 การคุมกําเนิด เร่ืองที่ 4 วิธีการสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางคนในครอบครัว เรอื่ งท่ี 5 การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว เร่ืองที่ 6 ปญหาที่เกี่ยวของกับพัฒนาการทางเพศของวัยรุน

22 เร่อื งท่ี 7 ทักษะการจัดการกับปญหา อารมณ และความตองการทางเพศของวยั รุน เรอ่ื งท่ี 8 หลากหลายความเชือ่ ที่ผดิ ในเร่อื งเพศ เรือ่ งท่ี 9 กฎหมายที่เกี่ยวกับการลวงละเมิดทางเพศ เร่ืองท่ี 10 โรคติดตอทางเพศสัมพันธ

23 บทท่ี 2 พฒั นาการทางเพศของวัยรนุ การคมุ กาํ เนดิ และโรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พันธ เร่อื งท่ี 1 พฒั นาการทางเพศของวยั รนุ วยั รุน ชวงอายุระหวาง 8 - 18 ป เปน วัยท่ีรางกายเปล่ียนจากเด็กไปเปนผูใหญ เรยี กวา วยั รุนหรือวัยเจรญิ พนั ธุ มกี ารเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นหลายอยางทง้ั ทางรา งกายและจิตใจ โดยมีฮอรโมน เปนตวั กระตนุ การทจ่ี ะบอกใหแนช ัดลงไปวา เดก็ ชายและเด็กหญงิ เขา สวู ยั รนุ เมอ่ื ใดนัน้ เปนเรือ่ ง คอนขางยาก เพราะเด็กทั้งสองเพศนอกจากจะแตกเนื้อหนุมสาวไมพรอมกันแลว คนแตละคนในเพศ เดยี วกันก็ยังแตกเนอ้ื หนุมสาวไมพ รอ มกันอกี ดวย แตพ อจะกลา วโดยท่วั ไปไดวา เดก็ หญิงจะเขา สวู ัยรุน ในอายรุ ะหวา ง 13 - 15 ป และเดก็ ชายจะเรมิ่ เมื่ออายุ 15 ป โดยเด็กหญิงจะมีอตั ราการเจริญเติบโต ทางดานรางกายในชวงนี้เร็วกวาเด็กชายประมาณ 1 - 2 ป แตทั้งน้ีขึน้ อยูกบั ลกั ษณะหรือแบบแผนการ เจริญเตบิ โตของแตล ะคน ฮอรโ มนเพศ หญิงและชายเมื่อเขา สชู วงวัยรุน ตอมไฮโปเตลามัส (Hypothalamus) ซึง่ เปน ตอมเลก็ ๆ ในสมอง เริม่ สง สัญญาณผานตอ มใตสมองพิทอู ิตารี (Pituitary gland หรอื Master gland) ซ่งึ เปน ตอ มไรท อ ทีส่ าํ คัญที่สดุ ของรา งกาย เพราะมหี นา ท่ีผลติ ฮอรโมนท่แี ตกตางกนั เพอ่ื ไปกระตุนและ ควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆ รวมถึงอวัยวะที่เกี่ยวกับเพศ คือ รังไขสําหรบั ผูหญิงในการผลติ ฮอรโ มนเพศ เอสโทรเจน (Estrogen) และลกู อณั ฑะสาํ หรับผชู ายผลติ ฮอรโ มนเพศ เทสทอสเทอโรน (Testosterone) ฮอรโ มนเอสโทรเจน และฮอรโ มนเทสทอสเทอโรน ซง่ึ เปนฮอรโมนเพศนี้ ทําให รา งกายวยั รุนเจริญเตบิ โตอยา งรวดเรว็ มไี ขมันและกลา มเนือ้ เพ่มิ ข้ึน ตัวสงู ขน้ึ มขี นข้ึนบรเิ วณอวยั วะ เพศ รกั แร และสว นตา งๆ ของรางกาย มีกล่นิ ตัว มีสิว ผูห ญิงจะมสี ะโพกผาย ตน ขา หนา อกและกน ใหญ ขึน้ และมีประจําเดือน สวนผูชาย เสียงจะแตกหาว ฝน เปยก และทั้งหญงิ ชายจะเรม่ิ มคี วามรูสึกตองการ ทางเพศ หรือมอี ารมณเ พศ นอกจากการเปลี่ยนแปลงทางรางกายแลว วัยรุนหญิงชายยังมีการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจ อารมณและความรูสึก โดยเริ่มมีความสนใจ หรือความรูสึกพึงพอใจเปนพิเศษตอบางคนที่อาจเปนทั้ง เพศเดยี วกนั และตา งเพศ วยั รุน เปนวยั ท่รี างกายมคี วามพรอมในการผลิตเซลลเ พศเพื่อการสบื พนั ธุ คนทั่วไปจึงตัดสินการ เขาสูว ัยรุน โดยพิจารณาจากการมีประจําเดือนครั้งแรก (เด็กหญิงราว 13 ป) และการหลั่งน้าํ อสุจิครั้ง แรก (เด็กชายอายุประมาณ 11 ป) แตปรากฏการณทั้งสองไมคอยแนนอนนัก เชน การหลัง่ น้ําอสุจิอาจ

24 เกิดชากวาการเปลี่ยนแปลงทางรางกายดานอื่นๆ สําหรับการมาของประจําเดือนครัง้ แรกของเด็กหญิงก็ เชน กัน การสุกของไข (ไขตก) ในบางคนอาจไมมีความสัมพันธกับการมีประจําเดือนเสมอไป และการ ตกไขฟองแรกๆ อาจไมทําใหเกิดประจําเดือนก็เปนได รวมทั้งการมีประจําเดือนครั้งแรกอาจเกิดขึ้น กอนหรือหลังการเปลี่ยนแปลงของรางกายสวนอืน่ ๆ เมือ่ เขา สวู ัยรนุ แลว ไดเ ปน เวลานาน การมปี ระจําเดอื นครั้งแรก ขณะแรกคลอดรังไขข องเด็กหญิงจะมไี ขท ีย่ ังไมเ จริญอยแู ลว หลายพนั ใบ เม่ือนับจากชวงวยั รนุ เปนตนไป ทุกๆ 28 วนั จะมไี ข 1 ใบที่เจริญเตม็ ทแี่ ลวหลุดออกมาเขาสทู อนําไข เรยี กวา การตกไข ขณะเดยี วกัน เย่ือบุโพรงมดลูกจะมีหลอดเลอื ดงอกมาหลอ เลยี้ งมากมาย เพือ่ เตรยี มรบั ไขท ่ีผสมกับอสจุ ิ หากไมไ ดรบั การผสม เยื่อบโุ พรงมดลูกจะลอกหลดุ ออกมาเปนเศษเนอื้ เยอ่ื และเลือดไหลออกมาทาง ชอ งคลอด เรยี กวา ประจาํ เดือน อายขุ องเด็กหญงิ ท่ปี ระจาํ เดือนมาครงั้ แรกยอ มแตกตา งกนั สว นมากจะ มอี ายุ 12-13 ป แตบางคนอาจเริ่มตั้งแตอายุ 10 ป บางคนก็ลาชาไปถึง 16 ป ซึง่ ยังไมน บั วาเปน เรอ่ื ง ผดิ ปกติ การฝนเปยก การหลง่ั นํ้าอสจุ ินนั้ จะเร่ิมเกิดข้ึนในชว งอายปุ ระมาณ 11 ป แตก็อาจเกิดขนึ้ เร็วหรือชากวา น้ีดงั ท่ี กลาวมาแลวขางตน ข้นึ อยกู ับแตล ะคน การฝนเปยกเปน ลักษณะทางธรรมชาติของเด็กผูชายท่ี แตกเนื้อหนุม เมอ่ื รางกายผลิตนาํ้ อสจุ ิและเก็บสะสมไว เมอ่ื มีปริมาณมากเกินไป รางกายจะขบั ออกมา ตามกลไกธรรมชาติ มกั เกดิ ขึ้นในชว งท่ีกาํ ลังฝนโดยอาจนึกถึงส่ิงที่กระตุนอารมณท างเพศ เมอ่ื ตื่น ข้ึนมาก็พบวามีของเหลวเปยกชื้นตรงเปากางเกงนอน หรือเปอนบนที่นอน จึงเรียกวา “ฝน เปยก” หรอื อกี กรณีการเลน ตอสูก ับเพอ่ื นๆ อาจปลุกเรา และกระตุนองคชาตได จะทําใหนํ้าอสุจิเลด็ ลอดออกมาตาม ธรรมชาติ ที่เรยี กวา “การหล่งั อยางไมรูตัว” ท้งั นี้ เด็กชายแตล ะคนอาจมีความถี่ในการฝน เปย กแตกตาง กัน ต้งั แตไมเคยฝน เปย กเลยจนกระท่งั สัปดาหละหลายๆ ครั้ง จึงไมควรถือเรื่องนีเ้ ปนเรื่องความผดิ ปกติ ทางเพศของวัยรุนชาย น้ําอสุจิเปนของเหลวสีขาวขุน ประกอบ ดวยตัวอสุจิและสารคัดหลั่งจากตอม ลูกหมากและตอมพักตวั อสุจิ ซง่ึ จะถกู ขับออกมาพรอมกันผานทางทอ นาํ อสุจิ ในนํ้าอสุจิเพียงหยดเดยี ว จะมสี เปร มหรอื ตวั อสจุ ิประมาณ 1,500 ตวั ขณะทีผ่ ชู ายถงึ จดุ สดุ ยอด จะหลั่งน้ําอสุจิออกมาประมาณ 1 ชอนชา ซ่ึงมอี สุจิอยถู งึ 300 ลานตวั และเช้ืออสจุ ิเพียงหนึ่งตัวกส็ ามารถเขาไปผสมกับไขไ ดเ ม่ือมี เพศสมั พันธแ บบสอดใส วยั รุนชายจะมอี สุจิทส่ี มบรู ณเม่ืออายุราว 13 - 14 ป การจดั การอารมณเพศ หรือการชวยตัวเอง วัยรุนหญิงชายตางก็เริ่มมีความรูสึกหรืออารมณทางเพศเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ (วยั รุนเปนวยั ท่ีมี ความรูสึกทางเพศสูงสุด) การชวยตวั เอง เปน วธิ กี ารจัดการเพอ่ื ผอนคลายอารมณเพศ ซึ่งเปนเรื่องปกติ

25 ธรรมดาของทั้งหญิงและชาย โดยการลูบคลําอวัยวะเพศของตนเองจนถึงจุดสุดยอด แตละคนอาจมี วิธกี ารแตกตางกันไป การตง้ั ครรภ เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพนั ธระหวา งชายและหญิง เมื่อมกี ารหลั่งนํ้าอสุจิในชอ งคลอด ตวั อสุจิ จะวายเขาไปในมดลูกจนถงึ ทอ นาํ ไข และพบไขข องฝายหญงิ พอดี กจ็ ะเกิดการผสมระหวางอสจุ ิกับไข หรือที่เรยี กวา “การปฏิสนธิ” แตถาไมม ีไข อสจุ จิ ะตายไปเองภายในเวลา 2 - 3 วนั เรื่องท่ี 2 การดูแลสุขภาพเบือ้ งตน ในวัยรนุ วธิ ีการดูแลผวิ หนา ใหสะอาดเพ่อื ลดการมีสิว การลา งหนา ดว ยน้ําสะอาดเพียงอยางเดียว และซับหนาใหแหงอยางเบามือ เปนการถนอมผิวที่ ไดผลดี เปนวธิ ที ีแ่ พทยผ ิวหนังแนะนาํ ใหใช เพือ่ ลดการระคายเคือง แตการลางหนาดวยสบหู รือครมี ลาง หนาบอยครงั้ ซ่งึ จะไปชะลางไขมันท่ีผวิ สรางขน้ึ ตามธรรมชาติ เมือ่ ผวิ แหงตงึ กจ็ ะกระตุนใหตอมไขมัน ยิ่งทํางานมากขึ้น การทาํ ความสะอาดอวัยวะเพศหญิง ใหลางจากดานหนาไปดานหลังดวยสบูและน้ําสะอาด ไมจําเปนตองใชสเปรยหรือน้าํ ยาลางทํา ความสะอาดชองคลอดอีก เนือ่ งจากชองคลอดมีระบบทําความสะอาดตามธรรมชาติอยูแลว บางคนใช แลวอาจเกิดอาการระคายเคืองจากสารเคมีเหลานัน้ เพราะผิวบริเวณนัน้ บอบบางมาก ระหวางมี ประจาํ เดือน ควรเปลี่ยนผาอนามัยทุก 2 - 3 ช่ัวโมงเพื่อปอ งกันกล่ิน การทําความสะอาดอวัยวะเพศชาย ทบ่ี ริเวณใตหนังหุมปลายของผูชายจะมเี มือกขาวเหลอื งขุนๆ เรียกวา ‘ข้ีเปย ก’ ซึ่งทําใหม ีกลิ่น การลางทําความสะอาดอวัยวะเพศชายจงึ ตองดงึ หนังหมุ ปลายอวยั วะเพศขนึ้ เพื่อทําความสะอาดบริเวณ สว นหวั ของอวยั วะเพศ (ถา หนังหุม ปลายตงึ เกนิ ไป ใหค อยๆ ดงึ ขนึ้ ทลี ะนอยในระหวา งอาบนํ้าโดยใช สบูช วย)

26 อาการผดิ ปกติบริเวณอวยั วะเพศ เชน คนั ในชองคลอด ตกขาวมากจนผดิ สังเกต อวยั วะเพศมกี ล่ินเหม็นมาก มีสผี ดิ ไปจากเดิม หรือเวลาปสสาวะแลวรูสึกเจ็บเหมือนปสสาวะไมสุด สามารถขอคําปรึกษาจากหนวยงานที่ใหบริการ ดานสขุ ภาพวัยรุน หรือคลิกเขา ไปทคี่ ลินกิ สุขภาพ www.teenpath.net กล่นิ ตัว เม่ือเขา สวู ยั รนุ ตอ มไขมันจะผลิตความมันออกมาตามรูขุมขนเพิ่มขึ้น ตอ มเหงื่อกเ็ ชนกันผลติ เหงื่อออกมามากโดยเฉพาะเวลาวิ่งเลน เดินเร็วในอากาศรอน เหงอ่ื ออกมาจากรเู ปด ของตอ มเหงื่อซงึ่ อยู ไมหางจากรูเปดขุมขนมากนัก เมื่อท้งั ความมนั และนํ้าเหงื่อไหลซมึ ออกมาจากรูเปด บนผิวพรรณสัก ระยะเวลาหนง่ึ และมีสภาพแวดลอมทอี่ บั ช้ืนนานพอเหมาะ บรรดาเช้อื จลุ ินทรียตางๆ ที่อาศัยอยูตาม ธรรมชาติบนผิวพรรณเรากจ็ ะพากันเจริญเติบโตแพรพันธุอ อกมาจาํ นวนมาก พรอมทง้ั สงกลิ่นเหมน็ อับ ออกมาเปนกลิ่นตัวแรงๆ นอกจากนน้ั อาหารประเภท เครอื่ งเทศ กระเทยี ม ทุเรยี น ซ่ึงเปนอาหารทม่ี ีกลน่ิ แรง อาจระเหย ออกมาจากลมหายใจ ขับถายออกมาทางตอมเหงื่อ ตอมไขมัน ตอมกลิ่น หรือเปน บอเกิดในการสรา ง สารประกอบมีกลิ่นไดแลว จึงปลดปลอยออกมาทางชองระบายของรางกายไดอีกทอดหนึ่ง รวมทั้ง รองเทาหุมสน รองเทาผา ใบ ลว นเปน บอ เกดิ ของกลน่ิ เหม็นอับไดเ ชนกนั วิธีการทําความสะอาดดวยการอาบน้ํา ฟอกสบูทกุ คร้ังทม่ี เี หง่ือออกมาก โดยเฉพาะผทู ่ีมผี วิ มนั ตองหมั่นสระผม ถูรกั แรซ ึ่งเปนจดุ อบั ทีม่ ักสง กลน่ิ รุนแรงเสมอดวยสารสมเปนวิธีพน้ื บานที่ไดผลดี เรอื่ งที่ 3 การคมุ กาํ เนดิ การแสวงหาขอมูลเกี่ยวกับวิธีการคุมกําเนิด ถือเปนการแสดงความรับผิดชอบทั้งตอตัวเอง และคนที่เรามีความสัมพันธด วย มีคนจํานวนมากยงั เชอื่ วาเรือ่ งเพศเปนเรื่องนา อาย ทาํ ใหไมก ลาหา ความรใู นเรื่องนอ้ี ยางเปดเผย จึงสง ผลใหขาดความรู หรือมีความเชือ่ ทผ่ี ิดๆ จนสงผลตอสขุ ภาพทาง เพศ ทั้งที่การมีขอมูลถูกตอง รอบดานและเพียงพอในเรื่องเพศจะชวยใหทุกคนมีทางเลือกที่เหมาะสม ท่สี ุดกับเงื่อนไขของตนเองเม่ือตองตัดสนิ ใจในเรอื่ งเพศ เชน การสื่อสารกับคู/คนรอบขาง การมี เพศสัมพันธท ป่ี ลอดภัย ฯลฯ

27 วธิ ีการคมุ กําเนดิ แบบตางๆ ถงุ ยางอนามยั • มีหลายขนาด ควรเลือกขนาดที่เหมาะสมกับอวัยวะเพศ ควรดวู ันผลติ หรอื วนั หมดอายกุ อ น การใช • ใชสวมเมื่ออวัยวะเพศแข็งตัว โดยใหบีบปลายถุงยางอนามัยเพื่อไลลมขณะสวม เริ่มสวมจาก ตรงปลายอวยั วะเพศรดู เขา หาตวั แลว รูดใหส ดุ โคนอวยั วะเพศ • เมื่อเสรจ็ กจิ ใหถ อดถุงยางอนามัยขณะทอ่ี วัยวะเพศยังแขง็ ตัว โดยจับที่ขอบถุงยางและคอยๆ รดู ออก หากปลอ ยใหอ วยั วะเพศออ นตวั ในชองคลอดอาจทาํ ใหถ งุ ยางอนามยั หลดุ ได • ในขณะนี้ ถงุ ยางอนามยั เปนวิธีคุมกาํ เนิดแบบช่วั คราวทีม่ ปี ระสิทธภิ าพในการคมุ กาํ เนดิ และ สามารถปองกันการติดเชื้อเอชไอวี รวมทั้งโรคติดตอทางเพศสัมพันธอื่นๆ เชน เรมิ หดู หงอน ไก หนองใน ซิฟล สิ แผลริมออ น ไปพรอมกนั ได ยาเมด็ คมุ กาํ เนดิ ทัว่ ไป • ยาคุมกําเนิดชนิดเม็ดมี 2 แบบคือ แบบ 21 เม็ด และแบบ 28 เมด็ ซ่ึงมปี ระสิทธภิ าพไม แตกตา งกนั • ยาคุมชนิด 28 เม็ด เม็ดยาที่เพิ่มขึ้นมา 7 เมด็ เปนวิตามนิ ที่ชวยใหกนิ ยาตอเนอื่ งโดยไมลืม • วธิ กี ารกินยาคมุ แผงแรก ใหเริม่ กนิ เมด็ แรกภายใน 5 วันแรกของการมีประจําเดือน แลว กนิ ตดิ ตอกนั ทกุ วนั วันละ 1 เมด็ จนหมดแผง • สําหรับยาคุม 21 เมด็ เมื่อกินหมดแผง ใหเวนไป 7 วันแลวจงึ เรม่ิ แผงใหม สวนยาคุม 28 เมด็ ใหก ินแผงใหมติดตอไปไดเ ลย • ออกฤทธ์ิคุมกาํ เนดิ โดย 1) ยับย้งั ไมใหมีการเจริญเตบิ โตของไข และปอ งกนั ไขตก 2) ทําให เยื่อบุโพรงมดลูกบางลงไมเหมาะแกการฝงตัวของตัวออน 3) ทําใหมกู ท่ปี ากมดลูกเหนียวขน ไมเ หมาะแกการใหอ สจุ ิเคลอ่ื นผานเขาไปในโพรงมดลกู 4) เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของ ทอ นาํ ไข ทาํ ใหไ ขทผ่ี สมแลวเดินทางไปถงึ มดลกู เร็วเกินไปจนไมสามารถฝงตวั ได • ถาลมื กิน 1 วัน ใหกนิ 2 เมด็ ในวนั ถดั ไป • ถา ลืมกิน 2 วนั ใหก นิ 2 เมด็ ในวันท่ีสาม และอกี 2 เม็ดในวันท่ี 4 • ถา ลืมกนิ 3 วนั ขน้ึ ไป ควรหยุดกนิ ยาคมุ แผงนน้ั ไปเลย และใชว ธิ คี มุ กาํ เนดิ ชนดิ อ่ืนไปกอน เชน ใชถ ุงยาง แลวจึงเริ่มกินแผงใหมในการมีประจําเดือนรอบถดั ไป

28 • หากเร่มิ กินเปน คร้งั แรก ตอ งกินไป 14 วนั แลว จงึ จะมผี ลตอการปองกันการตง้ั ครรภ หากมี เพศสัมพันธในชวงเวลาดังกลาว ควรใชถุงยางอนามัยควบคูไปดวย • แมผูหญงิ จะเปน คนกินยาคุม แตผ ชู ายควรมสี ว นรวมในการชว ยเตือนใหก นิ ยาตอ เนอ่ื ง ยาเม็ดคมุ กาํ เนิดแบบฉกุ เฉนิ • ตอ งกิน 2 เมด็ จึงมีประสิทธิภาพในการคุมกําเนิด • เมด็ แรก กนิ ทนั ทหี รือภายใน 72 ชั่วโมง (สามวัน) หลังการมีเพศสัมพันธ ประสทิ ธภิ าพจะ ขนึ้ กับเวลาทก่ี ินภายหลงั การมเี พศสมั พนั ธ หากกนิ ไดเ ร็วเทา ไร ความสามารถในการ ปองกันการต้ังครรภก ็จะสูงขึ้นเทานัน้ เมด็ ทสี่ อง กินหางจากเม็ดแรก 12 ช่ัวโมง • หากกินถูกวธิ ี มีประสทิ ธภิ าพปองกนั การต้ังครรภ 75% • การกนิ ยาคมุ ฉกุ เฉินมีประสิทธิภาพต่ํากวาวธิ คี มุ กําเนดิ แบบปกตทิ ่ัวๆ ไป ดงั นั้น ควรใชใน กรณฉี กุ เฉินเทาน้ัน ไมควรใชเปนวิธกี ารคมุ กาํ เนิดประจาํ การนับระยะปลอดภยั หรือนับหนา 7 หลัง 7 เปน วิธคี ุมกําเนดิ แบบธรรมชาติ วิธนี ใี้ ชไ ดผลเฉพาะผูหญิงท่ีมรี อบเดือนมาสม่าํ เสมอเทา น้ัน ซึง่ ไมเหมาะกับวยั รุน ซงึ่ รางกายยงั อยูใ นชว งฮอรโ มนเพศปรบั ตวั อาจมีรอบเดือนไมส ม่าํ เสมอ การนบั หนา เจด็ หลังเจ็ด ใหใ ช “วนั แรก” ของการมปี ระจําเดอื น นบั เปนวนั ที่ 1 หนา เจ็ดคอื นบั ยอ นขน้ึ ไปใหค รบเจด็ วัน สว นหลงั เจด็ ใหนบั ตอจากวันแรกทม่ี ปี ระจาํ เดือนไปใหค รบ 7 วนั ดงั ตัวอยาง

29 12 3 4 5 6 7 89 10 11 12 13 14 21 ระยะหนา เจด็ วนั แรกของ ระยะหลงั เจ็ด การมปี ระจําเดือน 15 16 17 18 19 20 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 การหลัง่ ขางนอก การหลงั่ ขา งนอก เปนวธิ กี ารคมุ กาํ เนิดแบบธรรมชาติ ไดผลไมแนนอน เพราะขณะทสี่ อดใส ฝา ยชายจะมนี ้ําคัดหลั่งจํานวนหน่งึ ออกมากอ น ซ่ึงจะมอี สจุ ิปะปนอยดู วย ตัวอสจุ ิน้นั สามารถวายไป ผสมกับไข การตัง้ ครรภจึงเกดิ ข้นึ ไดกอนผูชายจะหลั่งน้ําอสุจภิ ายนอกเสียอีก นอกจากน้นั การหลัง่ ภายนอกยงั เปน วธิ ีการทข่ี ึ้นอยูก ับฝายชาย โดยทฝ่ี า ยหญงิ ไมสามารถ ควบคุมไดเลย

30 o การกินยาคุมกาํ เนิดชนดิ เมด็ ยาคุมกําเนิดแบบฉุกเฉนิ การนับวนั และการหลงั่ ขา ง นอก ลวนเปนวิธีคุมกําเนิดท่ีไมสามารถปอ งกนั การติดเชื้อเอชไอวี และเชื้อ โรคติดตอทางเพศสัมพันธ o ถงุ ยางอนามยั เปนวธิ ีเดียวที่ชวยปอ งกันการตัง้ ครรภ ปองกนั การติดเชื้อเอชไอวี และเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เรอื่ งท่ี 4 วธิ กี ารสรา งสัมพนั ธภาพท่ดี รี ะหวางคนในครอบครัว ครอบครัว หมายถึง กลุม คนตั้งแต 2 คนขึน้ ไปมาเกีย่ วพันกัน และสืบสายเลือด ไดแก พอ แม ลูก และอาจมีญาติ หรือไมใชญาติมาอาศัยอยูด วยกัน ซึง่ ถือเปนสมาชิกครอบครัว เชนกัน มีความรัก มี ความผกู พันซ่งึ กันและกนั ครอบครัวมหี นา ทห่ี ลอ หลอม ขดั เกลาสมาชกิ ในครอบครวั ใหเ ปนคนดี รรู ะเบียบและกฎเกณฑ ของสังคม อีกทัง้ ยังสรางความเปนตัวตนของทุกคน เชน ลักษณะนิสัย ความคิด ความเชื่อ ความสนใจ เปนตน การสรา งสมั พันธภาพในครอบครัว ความขดั แยง ระหวางพอแมแ ละลูกเปน เรอื่ งท่ีเกดิ ขน้ึ เสมอ เพราะความแตกตางของวัยและ ประสบการณ ความหว งใยของพอ แมท ป่ี รากฏผา นการวากลา ว ตกั เตอื น หามปราม ใหค วามรสู กึ ไม ไวใจและกังวลเกนิ ความจาํ เปนตอลกู โดยเฉพาะลูกที่อยูในวยั รุน เปลี่ยนพฤติกรรม เนื่องจากพอแมใชประสบการณของตนมาคาดเดาถึงผลที่อาจเกิดขึ้นเมื่อ เห็นการกระทําของลูก การตําหนิจึงมักมาพรอมกับทาทีขุนเคือง โมโห บน ทําใหดูเหมือนวาพอแม ชอบใชอารมณ ไมใชเหตุผล ไมค อ ยยอมรบั สง่ิ ทเ่ี ปนอยขู องลูกวยั รุน ความตองการของตัวเองเปนท่ีตงั้ ไมพยายามเขา ใจอกี ฝายหนึ่งวา ตองการอะไร ยอมทําให เกิดความขัดแยงกัน การหาทางออกจึงตองเริ่มจากตัวเองกอนในการเปดใจมองหาความหมายที่อีกฝาย พยายามสื่อสารผานการกระทําซึ่งเราอาจไมชอบใจ การเขาใจความหมายที่แทจริงจะชวยใหเกิดการ สือ่ สารระหวา งกัน ไมติดกับอารมณและทา ทขี องกันและกัน การเรยี นรถู ึงความแตกตา งของวัยและประสบการณของทั้งสองฝาย จะชวยสรางความเขาใจ ลดขอ ขดั แยง และส่ือสารกนั ไดมากขนึ้

31 ปจ จยั ที่ชวยสงเสรมิ ใหม สี มั พนั ธภาพทีด่ ีตอกนั ไดแ ก • การชมเชยหรือชื่นชมอยางเหมาะสม • การติเพ่ือกอ • การแกไขความขัดแยงในเชิงสรางสรรค การชมเชยหรอื ช่ืนชม คนสวนใหญไ มวา จะอยูในครอบครวั หรอื อยใู นสงั คมภายนอกครอบครวั มักจะไมค อยชื่นชม หรือชมเชยกัน พอแมสวนใหญเ ชื่อวา ถาชมลกู บอยๆ เด็กจะเหลิง อาจกลายเปนคนไมดีได ทําใหพ อแม ไมช มเมื่อลูกกระทําส่ิงทด่ี ีหรือมีพฤติกรรมในลักษณะทเ่ี ปน สิง่ ทพ่ี อแมตองการ จงึ ทําใหเ ด็กขาด กาํ ลังใจ ขาดนาํ้ หลอ เลยี้ งจิตใจ คนเราโดยทั่วไปตองการคําชมเชย โดยการชมเชยที่จะสรางเสริมสัมพันธภาพใหดีควรมี ลักษณะดงั นี้ • ชมพฤติกรรมท่ีเพง่ิ เกดิ ขน้ึ ใหมๆ • การชมควรเนนทีพ่ ฤติกรรมทที่ าํ ไดดี และชมทลี ะ 1 พฤตกิ รรม • บอกความรสู ึกของเราตอพฤติกรรมน้นั อยา งจรงิ ใจ • ชมเฉพาะสิ่งที่ควรชม • ไมชมมากเกินกวาความเปนจริง ตัวอยา ง เชน ลกู บอกกบั แมว า “วันนี้ แมทํากับขาวอรอยมาก ทาํ ใหกินไดมาก ลูกรูสึกมีความสุข ภูมใิ จท่มี ี แมทํากับขาวอรอย” แมบ อกกับลกู วา “วนั น้ี แมร ูสกึ ภมู ใิ จท่ีลกู ชวยลางชามในตอนเย็นไดส ะอาดเรียบรอยดีมาก โดยท่ีแมไมตองเรยี กใหทาํ ”

32 การตเิ พ่อื กอ คนสว นใหญ ไมช อบฟง คาํ ติ การติติงทไี่ มเหมาะสม มักจะทําใหเกิดผลเสียหายตามมา เชน เกิด การทะเลาะกันได แตก ารติในเชิงสรางสรรคก็มีประโยชน และสามารถเสริมสรา งสมั พนั ธภาพที่ดไี ด โดยมลี กั ษณะดงั น้ี • ตอ งแนใ จวา เขาสนใจท่ีจะรับฟง คําติ และพรอมทจ่ี ะรับฟง • เร่ืองทจี่ ะติ ตองเปนเรอื่ งที่เพ่ิงเกดิ ขน้ึ ไมใชเ กิดขึ้นเมือ่ นานมาแลว • ส่ิงทจ่ี ะติ ตอ งเปน ส่ิงที่เปล่ียนแปลงได • พูดถงึ พฤติกรรมทต่ี ิใหช ัดเจน เปน รปู ธรรม • บอกทางแกไ ขไวดว ย เชน ควรทําอยา งไรใหดขี ้ึน • รักษาหนาของผูรบั คาํ ตเิ สมอ เชน ไมส มควรติตอหนาคนอื่น • เลอื กเวลาและจังหวะท่ีเหมาะสม เชน ผรู ับคาํ ติมีอารมณสงบหรอื แจม ใส ไมตใิ นชวงท่ีมี อารมณโกรธ ตัวอยางเชน หากพอหรือแมตอ งการติลูกวยั รุน ในเร่ืองการคยุ โทรศพั ทน าน ควรเลือกเวลาที่ลูก มีอารมณสงบ พรอมที่จะรับฟง และพูดตใิ นเชิงสรา งสรรควา “วันนี้ลูกคยุ โทรศัพทก ับเพ่อื นมานาน 2 ช่ัวโมงแลว แมค ิดวาลกู ควรหยุดคุยโทรศัพทไดแ ลว และหันมาทําการบาน อานหนังสือ แลว เขา นอน จะดกี วา ไหม” การแกไ ขความขดั แยง ในเชิงสรา งสรรค หนทางในการแกไขปญหา เมื่อเกิดความขัดแยงในครอบครัวคอื การสอ่ื สารท่ีดี ซ่ึงตองอาศยั ทักษะและความสามารถ ดังตอไปนี้ • แสดงความปรารถนาอยางแนว แนที่จะรวมกันรักษาความสมั พันธทด่ี ตี อ กนั ไว • มุงมั่นเชิงสรางสรรค เปนไปในทางการปรึกษากัน • ใหความสาํ คัญ และต้งั ใจฟงความคดิ เห็นของอีกฝายหน่งึ • แสดงความคิดเห็นของเราใหชัดเจนและสื่อสารใหอีกฝายหนึ่งไดรับทราบ • ไมถ อื วา การยอมรับความคิดเหน็ ของผูอนื่ เปน เรื่องแพห รอื เปน เรือ่ งที่เสียหาย • ยอมรับฟงความคิดเห็นของกันและกัน

33 • หลกี เลยี่ งการใชอ ารมณ ขู คุกคาม ดื้อร้ัน • ชวยกันเลือกหาทางออกที่ยอมรับไดทั้ง 2 ฝาย ตัวอยางการแกไขความขัดแยงระหวางคูสมรส • คสู มรสทง้ั 2 คนจะตองเปด ใจรบั ฟง กนั กอ นโดยการพูดทีละคน และรบั ฟง กนั โดยพดู ให จบประโยคหรือจบประเด็นทีละคน และรับฟง ใหเขาใจวา อีกคนตั้งใจจะส่อื อะไรใหท ราบ • ถาฝา ยหนง่ึ พดู แทรกในขณะที่อีกคนพดู ไมจ บประเด็น ก็จะทาํ ใหส ่ือสารกันไมได • ถา คนหนึ่งหรอื ท้ัง 2 คน โกรธ โมโห ขมขู ก็จะยิ่งทําใหไมสามารถแกไขความขัดแยงได ตองหลกี เล่ยี งการใชอ ารมณ พยายามพดู คุยกนั ดว ยอารมณที่สงบ และตั้งใจฟงความคิดเห็น ของอีกฝายหนึ่ง • ทายทีส่ ดุ ชว ยกนั เลอื กหรือตัดสนิ ใจมองหาทางออกที่ทั้งคยู อมรบั ได เร่อื งที่ 5 การสื่อสารเร่ืองเพศในครอบครัว พอแมทมี่ ลี กู กาํ ลังเปนวัยรนุ ลวนพบปญ หาเดยี วกนั คือ “พดู กับลกู ไมคอยจะรเู รื่อง คุยกนั ได แปบ ๆ ก็ขัดคอกนั ทะเลาะกนั แลว” ชวงเวลาแหงการเชื่อฟง ไมวาพอแมพ ดู อะไร ลกู ก็ เออ ออ หอหมก ไปดว ยไดห มดไปแลว เม่ือลูกยา งเขาสวู ัยท่ีกําลังจะเร่มิ เปนหนมุ เปน สาว และยิ่งยากมากขึน้ เมอ่ื หวั ขอ ของการพูดคยุ เกีย่ วกบั ความประพฤตทิ ีพ่ อแมเปนหวง เพราะลูกกําลังจะเปนหนมุ เปน สาวนเ่ี อง เพราะไมเคยมีใครสอนเราซึ่งเปนพอแมมากอนวาตองคุยกับลูกยังไง ดังนั้น เมื่อเกิดความไม สบายใจ กังวลใจกับพฤติกรรมของลกู เราจงึ มักเลือกวธิ เี ดียวกับท่พี อ แมป ฏบิ ตั กิ บั เราเมื่อเราเปน เด็ก คอื เงยี บ บน หรือดา วา ซึ่งวิธีการเหลา นั้นเปน การสรางกาํ แพงระหวา งเรากบั ลกู ใหยิ่งสูงข้ึน และยากตอ การปนปายขาม โดยเฉพาะเมื่อเปนเรื่องเพศ ซึ่งเปนเรื่องที่หลายครอบครัวไมเคยเอยปากสนทนาเมื่ออยู ดว ยกนั พรอ มหนา

34 ลองเร่ิมตนจากการตอบคาํ ถามตัวเองกอน การกอบกชู ว งเวลาดๆี ที่เคยมีเมื่อตอนลูกยงั เปน เดก็ เล็กๆ ใหก ลับมาแมล กู จะเขาสูวยั รนุ แลว เปนเรอื่ งทีท่ ําได แตตองอาศัยการฝกฝน ทําบอยๆ และแมจ ะยากเพียงใด กเ็ ปนเรื่องท่พี อแมควรตอง เรียนรู ตองฝก การพูดคยุ กบั ลูกดว ยทา ทีทแี่ สดงใหลูกเหน็ ถึงความรกั ความหวงใย และสรา งความ ไววางใจ เพราะผลดีจะตกอยูทลี่ ูกของเรา เม่ือความสัมพนั ธใ นครอบครวั ดขี ้ึน กอนจะเริ่มตนคุยกับลูก ลองทบทวน ถามตัวเองในใจวา • มีเรื่องอะไรบางที่เราพูดไดอยางสบายใจ • มีเร่ืองอะไรท่ีเหน็ ๆ อยตู าํ ตา แตไ มเ คยพดู เลย • มีเรื่องอะไรที่เปนความลับสุดยอดของครอบครัว ซึ่งตองปดไว ไมสามารถเปดเผยไดจริงๆ เพราะจะสงผลกระทบถึงสมาชิกในครอบครัว • มีความลับอะไรในครอบครัวที่เกี่ยวของกับเรื่องศาสนา • มศี ีลธรรม จริยธรรมขอไหนบางท่ีเราไดแตพ ูด แตท าํ ตามไมไ ด การตอบคําถามเหลานี้ คือการเริ่มตนที่จะทําการสํารวจและทําความเขาใจกับกฏ กติกาความคิด ความเชื่อของครอบครัวเราที่มีตอเรื่องตางๆ ทําใหเรารูวาทําไมเราถึงคิดและประพฤติเชนนั้น และจะ ชว ยเตอื นเราวามีหลายเรื่องอาจไมสอดคลองกับครอบครัวของเราหรือกับของคนอื่น เราจึงควรเปดใจ กวา งข้นึ ซึ่งการเปดใจยอมรับประสบการณใหมๆ คือจุดเรม่ิ ตนของการสื่อสารทไ่ี ดผล

35 ส่ิงท่ีตอ งระวงั เม่อื ส่อื สารเร่ืองเพศกับลูก ไมค วรหลกี เลี่ยง บา ยเบีย่ ง ลองพยายามทําส่ิงนี้ หรือ เปลีย่ นเรอ่ื งคยุ - ตั้งใจฟงคําถามลูก และฉวยโอกาสพูดคุยโดยยกตัวอยางจาก สถานการณตา งๆ ในขณะนั้น เชน ระหวางดูโฆษณา ละครทีวี เดนิ เลน ในหา ง นงั่ รถ ฯลฯ - ใหค ําตอบสัน้ ๆ ถายงั ไมสะดวกใจจะคุย เชน อยใู นทีส่ าธารณะ หรืออยใู นชวงเวลาที่ยังไมเหมาะสมวา “เดย๋ี วเราคอยคยุ เร่ืองน้ีกัน ที่บา น” หรือ “รอใหแ ม/พอ วางกอ นนะ เด๋ียวจะคุยใหฟ ง” ไมควรไลใหไปถามพอ - บอกลูกไปตรงๆ วา “ไมรู แตจะลองไปหาคําตอบให” หรอื ชวน หรือ ถามแมแทน ลูกใหชวยกันหาคาํ ตอบวา เพราะอะไร - หากคณุ ลาํ บากใจ อายทจี่ ะพดู กค็ วรใหลกู รับรูวา “แมก ระดาก ปาก ยงั ไมกลาพดู ขอเวลาหนอ ย แลว จะตอบ” ไมค วรหวั เราะ ลอ เลยี น หรือ การหัวเราะหรือลอเลียนคําถามของเด็กในเรื่องเพศ จะทําใหลูกเกิด แสดงใหลูกเห็นวาคําถามของ ความสบั สน และกงั วลใจ สง ผลใหใ นอนาคตเมื่อลกู เกดิ ปญหาใน ลกู เปน เร่ืองตลก เร่ืองเพศ ลูกจะไมสามารถตัดสินใจไดวาควรทําอยางไร ส่งิ ทค่ี วรทาํ คอื การสนับสนุน หรือแสดงออกท้ังนํ้าเสียง กรยิ า วาจา ในทางท่ีทําใหลกู รวู าเมือ่ ไหรท มี่ คี ําถามในเร่ืองเพศ ใหมาปรึกษาหรือ ถามกับพอแมไดเสมอ

36 ส่ิงท่ีตอ งระวัง ลองพยายามทาํ สิ่งนี้ ไมควรใชนาํ้ เสียงตาํ หนิ หา ม เปดใจรับฟง แสดงใหล กู เหน็ วา พอแมมคี วามสนใจเร่ืองตา งๆ ท่ี ปรามเมื่อไดยินคําถามที่แสดง เก่ยี วของกบั เรือ่ งเพศ และเห็นวา เปน เรื่องธรรมชาติ ไมใชเรื่อง ความอยากรูอยากเห็นในเรื่อง ผดิ ปกติ เพศของลูก ไมค วรใชค ําเรียกอวยั วะตางๆ ใชคาํ เรียกอวัยวะตา งๆ ท่เี กยี่ วของกับเร่ืองเพศท่ถี กู ตองตามความเปน ดว ยน้าํ เสยี งดถู ูก ติเตยี น จริง ไมควรใหล กู ฟงขอ มูลตางๆ การพูดคยุ เรื่องเพศกบั ลูก ตองเลอื กใชค าํ ศพั ทท ่สี อดคลอ งกับวยั ของ มากมายในคราวเดียว ลูก ไมใ ชศัพทท่ียากเกนิ กวาลกู จะเขา ใจ เชน การตอบคําถามวา เดก็ เกดิ มาจากไหน กบั เดก็ วยั 5 ป ตองใชการอธิบายที่ตา งจากการ ตอบคําถามแกเดก็ วยั 8 ป และ 11 ป เรอื่ งที่ 6 ปญ หาทเ่ี กย่ี วของกับพฒั นาการทางเพศของวัยรุน เมื่อรางกายเจริญเติบโตเขาสูวัยรุน หญิงและชายมีการเปลี่ยนแปลงหลายดานทั้งทางรางกาย จติ ใจ สงั คม และพัฒนาการทางเพศ ซึ่งเปนพัฒนาการตามธรรมชาติของมนุษย การเปลี่ยนแปลงที่ สาํ คัญคอื ในผชู ายมกี ารฝนเปยก และในผหู ญงิ มปี ระจําเดอื น ซง่ึ หมายถึงภาวะท่ีนําไปสูการตงั้ ครรภได พัฒนาการทางรางกายนี้มีความจําเปนที่แตละบุคคลตองดูแลสุขอนามัยสวนบุคคล และเขาใจกลไกการ สืบพันธุข องรางกายเพอื่ ทจ่ี ะดาํ รงอยูไดอยา งมสี ขุ ภาวะที่ดี ประจาํ เดือน การตั้งครรภ และการแทง ผูหญิงมปี ระจําเดอื นไดอยา งไร การมีประจาํ เดอื น หรอื ระดู (Menstruation) เปนกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในสตรี โดยรงั ไขจะผลิตไขข ้นึ มาทุกเดือน เมื่อไขส กุ รา งกายเตรยี มพรอม เพื่อรองรับไขท อ่ี าจถูกผสมโดยเชือ้ อสจุ ขิ องฝายชาย โดยผนังมดลูกจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ถา ไมมีการผสมระหวางไขและเช้ืออสุจขิ อง ฝายชาย ผนังมดลกู จะลอกหลดุ ออกมาเปนเลือด ท่เี รยี กวา “ประจาํ เดือน” กระบวนการทง้ั หมดกนิ เวลา

37 ประมาณ 28 วนั หรือคลาดเคลอ่ื นมากหรือนอยกวา 7 วัน และมกั จะมีครง้ั ละ 3-7 วนั จํานวนเลอื ดท่ี ออกมาในแตละเดือนประมาณ 30–80 มิลลลิ ิตร เมอ่ื รางกายของผูห ญงิ เริ่มมกี ารเปล่ยี นแปลงจากเดก็ หญงิ เขา สูว ยั สาว นอกเหนือจากการ เปลี่ยนแปลงทางสรีระภายนอกแลว การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือ การมีประจาํ เดือนนน่ั เอง เด็กผหู ญงิ จะเรมิ่ มปี ระจาํ เดือนคร้ังแรกในอายุราว 11–15 ป การมีประจําเดือนครั้งแรกจะชาหรอื เร็ว ขึ้นกับพัฒนาการของสมอง กรรมพันธุ และสขุ ภาพกายและใจของคน ๆ น้นั ในชว งปแรก ๆ ที่มี ประจาํ เดือนใหม ๆ และในวัยใกลห มดประจาํ เดือน รอบเดอื นมกั จะไมสม่ําเสมอและบางเดือนอาจไมมี การตกไข และโดยเฉล่ียแลว วยั หมดประจาํ เดือนจะเกดิ ข้ึนเมอื่ มีอายปุ ระมาณ 45–50 ปซึง่ เปนเวลาทีร่ งั ไขหยุดสรางไขออกมา วงจรการเกิดประจาํ เดอื น • การตกไข ชวงประมาณกึ่งกลางของรอบเดือน ตอมใตสมองจะหลั่งฮอรโมนออกมาตัวหนึ่ง ซึ่งมีผล ทาํ ใหรังไขปลดปลอยไขออกมาเพื่อรอการผสม • หลังจากตกไข หลังจากไขต ก กจ็ ะเคล่อื นไปตามทอนาํ ไขไ ปสมู ดลกู ขณะเดยี วกนั รังไขกเ็ รมิ่ ผลิตฮอรโมน เพอื่ ทาํ ใหผ นังมดลูกเริม่ สรางตัวใหห นาขึ้น ขณะเดียวกันก็มเี ลอื ดมาหลอ เลยี้ งมดลูกมากขึน้ และพรอ ม ทจ่ี ะรองรับไขท อี่ าจถกู ผสม • ระหวางมปี ระจาํ เดือน เม่ือไขเดินทางมาถึงมดลกู และไมไดรับการผสม ซ่งึ อาจเปนเพราะไมไ ดมเี พศสัมพันธ หรือมี เพศสมั พนั ธโ ดยมกี ารปอ งกันการตง้ั ครรภ ระดบั ฮอรโมนเอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรนจะลดลง อยา งรวดเร็ว ทาํ ใหผ นงั มดลูกหลดุ ลอกออกกลายเปน ประจาํ เดือน โดยปกติผหู ญิงจะมีประจําเดือนอยู ในชว ง 3-5 วนั • หลงั จากหมดประจําเดือน หลังจากหมดประจาํ เดือน ฮอรโมนจากตอมใตส มองในกระแสเลอื ด กเ็ ร่ิมกระตุนใหไขในรังไข เจริญขึ้น ขณะเดยี วกนั ฮอรโมนจากรงั ไขก็เรมิ่ กระตุนการสรางตัวของผนังมดลูก

38 ลกั ษณะของประจําเดอื นท่ปี กติ ลกั ษณะของประจําเดือนปกติคือเลือดที่ออกจากชองคลอดอยางสม่ําเสมอ ทุก 28 วนั ± 7 วนั ประจําเดือนที่ออกมา ประกอบดวยน้ําเมือกจากปากมดลูก น้ําชองคลอด น้ําเมือกและชิ้นสวนของเยื่อบุ มดลกู และเลือด ซงึ่ สวนประกอบเหลา นเี้ หน็ ไมช ัดเจนเพราะสีของเลอื ด ประจาํ เดือนที่ปกตมิ สี ีคลํา้ ไม มเี ลอื ดกอ น ไมม ีกลิน่ จนกระท่ังมีแบคทีเรียและมกี ารสัมผสั อากาศภายนอกชอ งคลอด จึงทําใหม กี ลน่ิ เกิดขึ้น ปกติจะมาประมาณ 3-7 วัน หากผิดไปจากน้อี าจถอื วา ผดิ ปกติ ปญ หาและอาการที่มกั เกดิ ขึ้นในชว งมปี ระจาํ เดือน กอ นหนา ทจ่ี ะมปี ระจาํ เดอื น ในชวงระหวางที่มีการตกของไข สวนมากผูหญิงจะมีอาการที่บงบอกลวงหนากอน บางคนอาจ มีอาการปวดถวงบริเวณทองนอย หรือปวดหลัง อาจปวดมากหรือนอยแตกตางกันไป อาจมีอาการรวม ของทองเสีย และรูสึกคลื่นไส มีบางรายอาจปวดศีรษะเพิ่มเขามาอีกอยางหนึ่ง ในชว งแรก กอ น ประจําเดือนมา มักมีอาการตกขาว และมีอาการเจบ็ คัดเตา นมรวมดวยกไ็ ด ในระหวางนี้ ผูหญงิ หลายราย จะมีความรสู กึ ไมสบายใจ ซมึ เศรา หรือหงดุ หงิด รําคาญใจไดง า ย ซง่ึ ถอื เปนเร่อื งปกติธรรมดา และ อาการอยางนี้จะหายไปไดเองเมื่อประจําเดือนออกมาแลว ตามสถิติพบวา อาการปวดจะรุนแรงมากขึ้น ใสชวงอายุ 18–24 ปแ ลวกจ็ ะทเุ ลาลง อาการปวดประจาํ เดือนจะหายไปไดภ ายหลงั หญิงน้นั ตัง้ ครรภแ ละ คลอดบุตร ซึ่งเชื่อวาเปนเพราะปากมดลูกที่ถางขยาย มีผลใหเกิดการทําลายปลายประสาทที่อยูบริเวณ ดังกลา ว วิธีการบําบัดอาการอาการปวดทองปวดเกร็ง สามารถทําไดดวยวิธีงาย ๆ คือการประคบบริเวณ หนาทองดวยการใชกระเปาน้ํารอน และนอนพักเพื่อทุเลาอาการ หรืออาจรับประทานยาระงับปวดชนิด ธรรมดา หรือใหยาชวยคลายการหดเกร็งของกลามเนื้อมดลูก นอกจากนี้ควรออกกําลังอยางสม่ําเสมอ จะชวยปองกันมิใหปญหาการปวดทองประจําเดือนรุนแรงไดดวย อาการปวดประจาํ เดือนอีกประเภทหนงึ่ ที่อาจไมป กตทิ ีผ่ ูหญิงควรระวงั สว นใหญอาการจะ เกิดขึ้นภายหลังจากหญิงนั้นมีประจําเดือนเปนเวลานานหลายป เชน อาการของโรคภายในชองเชิงกราน ซ่ึงเกิดจากภาวะการติดเช้ือในองุ เชงิ กรานชนิดเรือ้ รงั ทาํ ใหมผี ังผืดยดึ อวัยวะในชอ งเชิงกรานไวดวยกนั หรอื ภาวะเย่ือบุผนงั โพรงมดลูกเจรญิ ผดิ ทใี่ นอุงเชงิ กราน หรือเพราะมเี นอ้ื งอกของกลา มเนือ้ ผนังมดลกู นอกจากนกี้ ารใสห ว งคุมกําเนดิ กเ็ ปน สาเหตุทีพ่ บบอย ในภาวะเหลา น้จี ะมีอาการปวดประจาํ เดือน แตกตา งกนั ไป เชน ยงั คงปวดทอ งแมป ระจาํ เดือนหยดุ ไปแลว หลายวนั หรือมอี าการปวดทวีข้นึ อยาง มากในแตละวงจรรอบประจําเดือนตามกาลเวลาที่ผานไป หรือบางครั้งอาจรูสึกหรือคลํากอนที่ ทองนอ ยไดเอง หากมีอาการเหลา นค้ี วรรบี ปรึกษาแพทยเพื่อการวินิจฉัยท่ถี ูกตอง

39 ประจาํ เดือนไมมา ตามปกติ ประจําเดือนจะมาครั้งแรกเมื่ออายุระหวาง 11–15 ป ชาหรือเร็วแตกตางกันไปบาง หากประจําเดือนไมมาเมื่อถึงเวลา หรือวัยที่ควรจะตองมี ถือวามีความผิดปกติ สาเหตุทปี่ ระจําเดือนไมมา เกิดขน้ึ ไดดังน้คี ือ 1. ไมม ีมดลกู 2. ไมมีรังไข 3. ไมมีชองคลอดโดยกําเนิด 4. มีรังไขแตเกิดความผิดปกติของรังไข 5. เยอ่ื พรหมจารีไมเปด 6. เกดิ ความผดิ ปกติของชองคลอด 7. เกิดความผิดปกติของมดลูก บางรายอาจมีประจําเดือนขาดหายไป ก็ควรตองพิจารณาสาเหตุความผิดปกติที่เกิดขึ้น หากเกิด ขาดหายไปโดยไมทราบสาเหตุ ควรรีบปรึกษาแพทยทันที สาเหตุของประจําเดือนขาดหายไปอาจเกิด จากสาเหตุเชน 1. เกดิ การตัง้ ครรภ 2. ใชยาคุมกําเนิด เชน ยาฉดี คมุ กําเนดิ 3. หลังการคลอดบุตรหรอื กาํ ลงั ใหน ้ํานมบตุ รอยู 4. เกิดอาการเครียดทางจิตใจมาก 5. ไดรบั การผาตัดเอามดลูกออก หรือรงั ไขออกทง้ั สองขา งแลว ทัศนคติและความเชื่อเก่ียวกับประจําเดอื น ประสบการณข องผูหญิงเกีย่ วกบั ประจําเดือน มิใชเพียงเปนแคส วนหนึ่งของชวี ิต ทเ่ี ปนเร่ือง ของธรรมชาติ หากแตยังสะทอนใหเห็นถึงอิทธิพลความเชื่อ ศาสนาและวัฒนธรรมในสังคมที่มา กําหนดวิธกี ารปฏิบัติตอ ภาวะการมปี ระจาํ เดอื นของผหู ญิง อนั สะทอ นใหเห็นถงึ ความคิดและทศั นคติ ของสังคมที่มีตอผูหญิง และโดยมากมักเปนทัศนะในดานลบมากกวาดานบวก ดังเชน การหา มผูหญงิ เขาสูพธิ กี รรมทางศาสนา หรือหา มหญงิ สงั สรรคก ับผูอนื่ หากหญงิ นั้นอยใู นชว งมีประจาํ เดือน เปนตน นอกจากนี้ อิทธิพลความเชื่อบางอยางมีผลตอการปฏิบัติตัวในระหวางมีประจําเดือนของผูหญิง เชน ความเชื่อในการงดเวนการออกกําลังกาย การอาบน้ําหรือสระผม หรือไมมีเพศสัมพันธระหวา งนี้

40 ขอ เทจ็ จรงิ ในเรื่องเหลา นไี้ มป รากฏชดั บางเรื่องกพ็ อสามารถหาเหตผุ ลได และบางเร่ืองกไ็ มม ีเหตผุ ลท่ี ชดั เจน ดงั เชน การหา มการมีเพศสัมพนั ธขณะมีประจาํ เดอื น ซงึ่ ในทางการแพทยไ มม ีขอหา มใดๆ แต ไมเ ปน ทน่ี ยิ ม ก็เพราะเลือดประจาํ เดือนจะออกมาเลอะเทอะ และทส่ี าํ คญั กค็ อื โอกาสจะมกี ารอกั เสบตดิ เชื้อไดง ายขึ้น เพราะปากมดลูกเปดออกเล็กนอย และในมดลูกจะมแี ผลเนอ่ื งจากมีการลอกหลดุ ของเยือ่ บมุ ดลกู การตง้ั ครรภ การตั้งครรภเกิดจากการปฏสิ นธิ หรือการผสมของไข กับตวั อสจุ ขิ องฝา ยชาย ในชว งก่ึงกลาง ของรอบประจาํ เดือน ซ่งึ เปน ระยะทฝ่ี ายหญงิ มไี ขส ุก เมอ่ื ไขแ ละอสุจผิ สมกนั แลว ไขทีไ่ ดร ับการผสม จะเดินทางมาฝงตัวบนเย่ือมดลูกซ่งึ หนาขึน้ แลวแบงตัวออกเร่ือยๆ กลายเปน เดก็ ตัวเล็กๆ จนอายุครบ 9 เดอื นจงึ คลอดออกมา ขณะที่ต้ังครรภแม และลูกมีการเชื่อมโยงกันของเลือดผานทางรก เม่ือเรมิ่ ต้ังครรภผ หู ญงิ จะมีอาการตา งๆ ทส่ี งั เกตไดดงั น้ี • ประจําเดือนขาด ประจําเดือนที่เคยมีมาสม่ําเสมอทุกเดือน จะหายไปไมมาอีกเลยตลอดระยะเวลา ตัง้ ครรภ ประมาณ 38-40 สปั ดาห • อาการคลืน่ ไส อาเจียน วิงเวียนศีรษะ มักจะมีอาการในสามเดือนแรก อาการเหลา น้ีมักเปนในตอนเชา ซึง่ เราเรียกวา แพทอง นน่ั เอง • เตานมคัด หวั นมและอวัยวะเพศจะมสี คี ลาํ้ ลง มักพบในครรภแรก บางครั้งอาจมนี ้าํ นมเหลอื ง ออกมาเมื่อบีบหวั นม • เดก็ ดิ้น ในครรภแรก จะรสู กี วา เด็กเริ่มดิ้นเมื่ออายุครรภป ระมาณ 20 สปั ดาห สว นในครรภ หลงั จะเรม่ิ ด้ินเม่ืออายคุ รรภประมาณ 16 สัปดาห ถาเดก็ ท่ีเคยด้ินอยูแลว ด้ินนอยลง ตองรีบ ไปพบแพทย • ปสสาวะบอย เนื่องจากมดลูกโตขึ้น และไปกดทับกระเพาะปสสาวะ แตถาปสสาวะบอยขึ้น มีอาการ แสบขัด หรือปสสาวะขุน ตองรีบไปพบแพทย • มีอารมณหงุดหงิด

41 การตรวจการตง้ั ครรภ หากผหู ญิงเราไมแ นใจวาตัง้ ครรภหรือไม สามารถตรวจสอบไดที่คลินิก สถานพยาบาลทั้งของ รฐั และเอกชน หรือสามารถซ้ือชุดตรวจการตง้ั ครรภไดต ามรา นขายยาทว่ั ไป ซึ่งเปนการตรวจหา ฮอรโมนในปสสาวะ เปนวธิ ีท่งี า ย สะดวก และประหยดั ซงึ่ ผลการตรวจจะคอ นขางแมน ยาํ สาํ หรบั ผูห ญงิ ที่อายุครรภประมาณ 27 วนั หลงั ปฏสิ นธิ ขอควรปฏบิ ัติกอ นการทดสอบการตงั้ ครรภเ อง เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพการตง้ั ครรภ คอื 1. งดนา้ํ หรือเครื่องด่มื ใดๆ ต้ังแตส องทมุ และถา ยปส สาวะใหห มดกอนเขา นอนของคืนกอนทจี่ ะ เก็บปสสาวะ 2. เกบ็ ปสสาวะ ครง้ั แรกทถี่ ายปสสาวะเม่ือต่ืนนอนในตอนเชา ลงในภาชนะที่สะอาด 3. ไมควรรับประทานยาใดๆ ทั้งสิ้นใน 48 ชั่วโมงกอนเก็บปสสาวะ 4. ในกรณีที่ยังไมทดสอบทันที ควรเก็บปสสาวะใสชองเก็บอาหารปกติของตูเย็น เพราะฮอรโมน ที่ขบั ออกมาในปส สาวะของผหู ญิงตัง้ ครรภ จะเสื่อมสลายในอุณหภูมิหอง อะไรคือทอ งนอกมดลูก ทองนอกมดลกู คือ การฝงตวั นอกโพรงมดลูกของไขทถ่ี กู ผสมซงึ่ จะเจริญตอ ไปเปน รกและ ทารก แตตําแหนง ท่ไี ขฝง ตวั กลับอยูผดิ ท่ี ตาํ แหนงทเ่ี กิดข้ึนบอ ยคือในทอนําไข แตอ าจมีบางรายเกดิ ขน้ึ ทคี่ อมดลูก ชองทอ ง รงั ไขแ ละตําแหนง อื่น ๆ ไดด ว ย สาเหตสุ ําคญั ของการเกดิ ทองนอกมดลูกคือ กลไก การนาํ ไขเสียไป โดยรทู อ นาํ ไขผดิ ปกติ ทําใหไขท ่ผี สมแลวไมสามารถเคลอื่ นผา นไปไดสะดวก มกั มี สาเหตุมาจากการอกั เสบตดิ เช้อื เช้ือทีส่ าํ คัญคอื หนองใน ซง่ี กอใหเกดิ ความผดิ ปกติของเยอื่ บุผนงั ทอนาํ ไขโดยตรง นอกจากนี้การอักเสบหรอื พยาธสิ ภาพเร้ือรงั ของชอ งเชิงกราน ก็ทาํ ใหเกิดพงั ผดื ทีย่ ดึ ทอนาํ ไข มใิ หเ คลอ่ื นไหวไดสะดวก ทาํ ใหการเคลื่อนยา ยไขท ผี่ สมใหเดินทางสมู ดลูกไมไดตามกาํ หนด อาการทเี่ กิดขน้ึ คือประจําเดือนจะขาดไปชว งหนงึ่ แตม กั ไมมอี าการแพทอ งเดนชัด เมื่อภาวะ วิกฤตดังกลา วเกิดข้นึ ก็จะทําใหมีอาการปวดทองเฉียบพลันที่ทองนอยขางใดขางหนึ่งอยูตลอดเวลา แลวรสู กึ หนา มืด ใจสั่น หรือเปน ลม อาจมีเลอื ดออกทางชองคลอดกระปริบกระปรอยรวมดว ยหรือไมม ี ก็ได ในบางราย เลือดที่ตกในชองทองมีจํานวนมาก ก็จะไประคายกะบังลมที่กั้นระหวางชองปอดและ ชองทอง ทําใหมีอาการเจ็บปวดท่ีหวั ไหลข า งขวาได ผปู วยจะซีดมาก กระสับกระสาย เหงื่อออก สติสัมปชัญญะเลือนราง มีอาการรุนแรงเฉียบพลัน ถึงขั้นช็อกได หากนําสงโรงพยาบาลไมทัน อาจ อันตรายถึงชีวิตได เพราะรางกายขาดเลือด

42 ในสตรีทที่ าํ หมันแลว ก็อาจเกดิ อุบัติเหตขุ องการตัง้ ครรภนอกมดลูกไดแมว า โอกาสเสี่ยงมนี อ ย มาก สาเหตุเกิดจากทอนาํ ไขทถี่ ูกผกู ตดั ออกไปแลวบางสวนจากการผาตดั กลับเชอื่ มกันไดใหม หรือมีรู เปดถงึ กันไดใ หม เปนเหตุใหต้งั ครรภไ ด ตามสถิตพิ บวาเกิดขึ้นนอยกวา 1 ใน 1,000 ราย และในจาํ นวน นเ้ี ปน การทองนอกมดลกู สว นหนง่ึ หากเปรยี บเทยี บอัตราสว นกบั การตั้งครรภปกติแลว พบวา เปอรเ ซน็ ตก ารตัง้ ครรภนอกมดลูกเกิดขนึ้ สูงในหญิงทที่ องภายหลังการทําหมนั แลว การระมดั ระวังมใิ หเกดิ การอักเสบในชอ งเชงิ กราน และมิใหเ กิดโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ จึง เปน การปองกนั มิใหเกิดการทองนอกมดลกู ได หากรูส กึ มีผิดขาวผดิ ปกติ หรอื ปสสาวะแสบขดั อยานิ่ง นอนใจ ควรไปใหแพทยต รวจเพือ่ การรกั ษาในระยะแรกเร่ิม เพราะอาการโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ สําคัญโดยเฉพาะหนองในในผหู ญิงน้นั จะไมมีอาการเดน ชัดเทา อาการในเพศชาย

43 อาการปกติระหวา งต้ังครรภ การดูแล การปอ งกนั และขอปฏบิ ตั ิในการบรรเทาอาการ อาการ การดูแล /ลดอาการ/ปองกนั คลนื่ ไส  กนิ อาหารคร้ังละนอย แตบอยคร้งั หลกี เลยี่ งอาหาร มนั ๆ  พักผอ นใหเ พยี งพอ ทาํ จติ ใจใหสดช่ืน บวม  ยกขาใหสูงระหวางวัน  เวลานอนใหต ะแคงซา ย  เลอื กรองเทา ไมร ัดรูปและไมสงู ตะครวิ ท่เี ทา  เวลาเปน ใหนอนหงายเหยียดเทาตรง และเหยียด ปลายหัวแมเทาขึ้น  หมน่ั นวดท่ีนอ ง และระวงั อยาใหเ ทา เยน็ จัด ออ นเพลีย เหน่ือยงาย หนามืด เปน  อยาเปลีย่ นอิริยาบถโดยกระทันหนั ลม เวียนศีรษะ เบ่ืออาหาร  พักผอ นใหเพียงพอ ปวดแสบบรเิ วณลน้ิ ป  ไมท านอาหารใหอ่ิมเกินไป แตท านใหบอยครัง้ ขน้ึ ปวดหลงั  นอนในทา ศีรษะสงู ทองผกู  ดืม่ นมและนา้ํ มากๆ ไมควรด่ืมนํา้ อดั ลม ตกขาว  ทํางาน ออกกําลังกายเบาๆ  นง่ั หลงั ตรง และยนื ตวั ตรง  นอนตะแคงโดยกอดหมอนขาง  ดื่มนา้ํ มากๆ อยางนอ ยวนละ 10 แกว  ออกกําลังกายเบาๆ  ถา ยอจุ จาระใหเ ปนเวลา  รบั ประทานผักผลไม และอาหารท่ีมีเสน ใยเพิม่ ขึ้น • ในชวงตั้งทองอาจมีอาการตกขาวมากกวาปกติ มีสี ขาวปนเทาหรอื เหลืองออน แตไมม ีกลนิ่ และไมค ัน ซึ่งเปนเรื่องปกติ ใหดูแลความสะอาดโดยการลางดวย น้าํ สบูออ น ๆ ที่อวัยวะเพศภายนอกก็เพียงพอ ไม จําเปนตองใชนํา้ ยาฆาเชอื้ โรค

44 การแทง การแทง หมายถึง การสิ้นสุดของการต้งั ครรภใ นระยะกอนท่เี ดก็ จะเตบิ โตพอท่ีจะมชี ีวิตรอดได โดยมีอายุครรภนอ ยกวา 28 สปั ดาห และ/หรือ นาํ้ หนกั เด็กนอ ยกวา 1,000 กรมั ชนดิ ของการแทง การแทงแบงออกไดเปน 2 ชนดิ คือ 1. แทง ทีเ่ กดิ ข้ึนเอง คือ การแทง บุตรท่เี กิดขน้ึ โดยไมม กี ารใชยา เครื่องมือ หรอื วิธกี ารใดๆทัง้ สิน้ 2. แทงที่เกดิ จากการกระทํา แบงออกไดเ ปน ๒ ชนดิ คือ 2.1 การทาํ แทง เพอ่ื การรักษา 2.2 การทําแทงที่ผิดกฎหมาย สาเหตุของการแทง ที่เกิดขึน้ เอง ความผิดปกติของตวั ออ น ซง่ึ อาจเกิดจากความผดิ ปกตขิ องตัวออนเอง ซึ่งพบบอ ยถงึ รอยละ 60 ความผิดปกติในตัวมารดา ซึ่งอาจเกิดจากความผิดปกติของมดลูก การอกั เสบ ติดเชื้อ เชน ซฟิ ลิส ซ่งึ อาจจะทําใหแทงได นอกจากนี้ยังมีสาเหตุตางๆ อีกมากมาย บางสาเหตุก็ไมสามารถรักษา หรือปองกันได บาง สาเหตกุ ส็ ามารถปอ งกันได เพราะฉะนนั้ ผูทเี่ คยแทงควรจะตองไปพบแพทยเ พ่อื ตรวจหาสาเหตุ และ ปอ งกันกอ นที่จะต้งั ครรภในครง้ั ตอไป เพราะอาจจะเกิดการแทงซา้ํ ได และขณะตั้งครรภค วรจะตอง ระมดั ระวงั เปน พเิ ศษ และอยูในความดแู ลของแพทย อาการของการแทงที่เกดิ ขน้ึ เอง โดยทัว่ ไป หญิงมคี รรภเมอ่ื จะแทง ลกู จะเริ่มตน ดวยอาการเลอื ดออกกระปริบกระปรอยทาง ชองคลอด ซึ่งเปนเลือดที่ออกจากโพรงมดลูก เรียกการแทงอยูในระยะคุกคาม อาจรวมกับอาการปวด ทอ งนอ ยท่ีบรเิ วณตรงกลางเหนือหัวเหนา จากนน้ั มดลูกเรมิ่ บีบรัดตัว เมือ่ การแทงลกุ ลามมากขึ้นจน การต้ังครรภไ มอาจดาํ เนนิ ตอ ไปได เลือดกจ็ ะออกมากขน้ึ อาการปวดทองจะรุนแรงขึ้น สุดทายมดลูกจะ หดตัวบบี ไลตวั ออนหรอื ทารกและรกออกมา ซง่ึ อาจหลดุ ออกมาจากโพรงมดลูกไดท้ังหมด เรียกวาแทง ครบ โดยมากการแทงออกมาครบเชนนี้จะเกิดในชวงอายุครรภที่ออนเดือนมาก ๆ คือไมเกิน 8 สปั ดาห หลังจากวันแรกของการมีประจําเดือนครั้งสุดทาย ถา อายคุ รรภม ากกวานี้ ส่งิ ทแ่ี ทง ออกมาอาจจะไมค รบ หมดทกุ อยาง สวนใหญ มีเพียงแตทารกและกอนเลอื ด แตรกยังคงคา งอยู เพราะยิ่งอายุครรภมาก รกจะ เจริญมากขน้ึ ทําใหไมหลดุ ออกจากโพรงมดลกู ไดงาย ๆ การแทง เชน นี้ถือวาเปนแทง ไมครบ มผี ลตอ

45 สขุ ภาพของผูห ญิงคือทําใหผูหญิงตกเลือดไดอยางมากจนเปนอันตรายตอชีวิต การบําบัดคือการขูด มดลกู เพอ่ื เอารกสวนที่เหลือออกใหห มด ขอ ปฏิบัติและการปอ งกันการแทง ที่เกิดข้ึนเอง 1. เมอ่ื รวู าตนเองประจําเดือนขาด หรือสงสัยวา จะตง้ั ครรภ ควรมาพบแพทยตั้งแตเน่ินๆ และมา พบทุกครั้งตามนดั 2. บอกประวัติการเจ็บปวยในอดีต และโรคทางกรรมพันธุ เชน ธาลัสซีเมีย เบาหวาน ความดัน โลหติ สูง ใหแ กแ พทยท ราบ 3. ถาตงั้ ครรภเม่ืออายมุ าก (35 ปข ึน้ ไป) ควรรีบมาพบแพทย 4. ถาเคยมีการแทงมากอน ตองแจงใหแพทยทราบ 5. ในระหวา งต้ังครรภ ถาเกดิ อาการผิดปกติ เชน เลือดออก ตองรบี มาพบแพทย โดยดว น แมว า จะ ยังไมถึงเวลานดั 6. รับประทานยาบํารุงที่แพทยใหอยางสม่ําเสมอ 7. หลกี เลยี่ งการมีเพศสมั พันธใ นขณะท่ีมี เลอื ด หรือ น้ําใสๆ ไหลออกมาทางชอ งคลอด 8. ควรตง้ั ครรภใ นระยะหางกนั อยา งนอ ย 2 ป 9. ควรหลีกเลี่ยง ของมึนเมา เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน แบะส่งิ เสพติด การแทงท่ีเกดิ จากการกระทาํ ตามกฎหมายไทย การทําแทงเปนการกระทําผิดกฎหมาย แตกฎหมายมีขอยกเวนใหมีการทํา แทงไดบางประการ ซึ่งจะตองเปนการกระทําของแพทยและมีขอบงชี้ขัดเจน เชน อันตรายตอสุขภาพ ของมารดา หรือหญงิ ตง้ั ครรภเ พราะถกู ขม ขืน เปน ตน นอกเหนือจากกรณีเหลาน้ี การทําแทงถอื เปนการ ผิดกฎหมายทง้ั สิ้น สาเหตุของการทําแทงสวนใหญของผูหญิงไทยมาจากการตั้งครรภไมพึงประสงค เคยมีผู ศกึ ษาวจิ ยั สาเหตแุ ละกลุม อายขุ องผทู าํ แทง พบวา วัยรุนมีการตั้งครรภไมพงึ ประสงคคอ นขา งสงู โดยมี ตนเหตุมาจากการไมใ ชวิธีคุมกาํ เนิดปอ งกันเมื่อมีเพศสัมพันธ แตกเ็ ปนท่สี ังเกตพบวา ในกลุม ผใู หญ หญิงที่แตงงานแลวก็พบมีการไปทําแทงในสัดสวนที่ไมนอย ซึ่งมีสาเหตุสวนใหญมาจากความลมเหลว จากการใชว ิธคี ุมกาํ เนิด ยังมีผูหญิงจํานวนมากที่ไมมีความรูความเขาใจเพียงพอเกี่ยวกับผลกระทบที่ตามมาจากการทํา แทงที่ผิดกฎหมาย ซึ่งนอกจากเปนอันตรายตอชีวิตอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในรายที่อายุครรภมาก

46 ยิ่งอันตรายมาก อาการแทรกซอนที่พบไดบอยจากการทําแทงที่ผิดกฎหมาย ที่อาจมีทั้งอาการแทรกซอน ในระยะสน้ั และระยะยาวตอ ชวี ติ ของหญงิ คนนน้ั เชน • การตกเลือด อาจมีเลือดออกมากผิดปกติ ถา ไมไดรับเลือดทดแทน หรือชวยเหลอื ได ทนั ทว งทกี อ็ าจถงึ แกชีวิตได • มดลกู ทะลุ อาจจะตอ งตัดมดลกู ทงิ้ • มดลกู แตก จะตองตดั มดลูกท้ิงทําใหหมดโอกาสท่ีจะมีลูกไดอีก • การอกั เสบติดเช้ือ อันเกิดจากกระบวนการทําแทงที่ใชเครื่องมือที่ไมสะอาดปราศจาก ความระมัดระวังในมาตรการการปองกันการแพรเชิ้อโรค ทําใหเกิดการอักเสบติดเชื้อจากการ ขูดมดลกู ซึง่ สง ผลตามมาในปญหาสุขภาพอ่ืน ๆ ทําใหส ้ินเปลืองคาใชจา ยในการรักษา เน่ืองจากเชือ้ ทีก่ อใหเ กดิ การอกั เสบมกั เปนแบคทีเรียทีม่ ีอานภุ าพในการกระจายเช้ือไดรนุ แรง มาก จึงตองใชการรักษาเปนเวลานาน หากไมหายขาดก็จะทําใหเกิดการติดเชื้ออักเสบเรื้อรังใน อวยั วะอุง เชิงกราน และหากรักษาหายขาดจากการอักเสบแลว ผหู ญงิ คนน้ันกอ็ าจมีการปญ หา ดานการมีบุตรยากตอไปได เรื่องที่ 7 ทกั ษะการจัดการกับปญ หา อารมณ และความตองการทางเพศของวัยรุน เพศสัมพันธเปนเรื่องของความรับผิดชอบตอตนเอง เคารพความรูสึกของคูของตน ไตรตรอง วิเคราะหถึงผลดี ผลเสีย และเปนสทิ ธิสว นบคุ คลท่จี ะตัดสินใจ แตตอ งไมส รา งปญหาภาระแกผ อู ่นื ภายหลงั และเมอ่ื มคี วามผิดพลาดเกิดขึ้นก็เปนเรื่องทจ่ี ะแกไขและหาทางออกที่เหมาะสมตอไป และ กอนทจ่ี ะคิดถงึ การมีเพศสมั พนั ธ ตองแสวงหาความรูเกยี่ วกบั เร่ืองเพศสัมพนั ธ และสขุ ภาพอนามยั ท่ี เกย่ี วขอ งกับเพศสัมพนั ธ เพ่อื จะไดป ลอดภยั ไมเ กิดการต้ังครรภทีไ่ มตองการ และไมเกิดการติดโรค รวมท้ังปญหาอ่ืน ๆ ทางดา นจิตใจ ทจี่ ะตามมา สิ่งที่ตามมาจากการตัดสินใจมีเพศสัมพันธ จึงมีทั้งดานบวกและดานลบ การวิเคราะหถึงผลที่จะ ตามมาลวงหนา จะชวยใหเราสามารถเตรียมการ และคิดวิธีการปองกันและ/หรือหลกี เลยี่ งไมใ หต ัวเอง และคนทเ่ี ก่ียวขอ งตองเผชิญกับปญ หาที่อาจตามมา ดงั นั้น เมื่อคิดและคาดการณไดล ว งหนา วา สิง่ ท่ี ตัวเองตองการและไมตองการใหเกิดขึ้นคืออะไร ก็สามารถใชเปนเหตุผลประกอบการตัดสินใจวาจะทํา หรอื ไมท าํ เพราะผลที่เกิดข้ึน เปน เรื่องท่ีเราจะตอ งเผชญิ และรับผิดชอบดวยตัวของเราเอง การเรยี นรูท่ีจะประเมินสถานการณ หรือการคาดเดาไดวา อะไรบางที่จะนําไปสูการมี เพศสัมพันธของตนเอง เราพรอ มทจ่ี ะเผชิญสถานการณน้ันหรือไมอ ยางไร การคาดการณและตอบ

47 ตัวเองไดชดั เจนจะชวยใหเ ราควบคุม จัดการ และแกไขสถานการณไ ดดีกวา การไมไ ดเ ตรยี มตวั ซง่ึ อาจ สงผลตอสง่ิ ที่ตามมาทีไ่ มพ งึ ประสงค เชน การต้งั ครรภท ่ีไมพ รอ มและความเส่ียงตอการตดิ เชอ้ื เอชไอวี เปน ตน เชนเดียวกับการเรียนรูและฝกฝนทักษะการยืนยันความตองการและการตอรองเพื่อใหบรรลุ ความตอ งการของทงั้ สองฝา ยเปนเรื่องสําคัญ การเรยี นรูน้ดี ําเนินไปตลอดชีวิต การเผชญิ กับความรูสกึ ผิด อารมณโกรธ หว่นั เกรงกับความรูสกึ ของผูอืน่ ท่มี ีตอตนเองหรือรสู กึ วา ตนเองดอยคา เปน ประสบการณรวมของทุกคน การเริม่ ตนและฝก ฝนในชีวิตประจําวันจะชว ยใหเราทาํ ไดดขี น้ึ และจะ นําไปสูก ารพฒั นาความสัมพันธของทง้ั ฝายใหแ นนแฟนยิ่งขน้ึ การเรียนรูความตอ งการของตัวเอง และส่ิงท่อี าจมีอิทธิพลตอความคิด และการตัดสินใจของ ตวั เองเปนเร่ืองสําคญั ของวัยรนุ เพราะในสถานการณห ลายอยา งทว่ี ัยรุน เผชิญ การเขาใจความตอ งการ ของตัวเองอยางชัดเจนจะชวยใหวัยรุนสามารถสื่อสาร ตอรอง หรือปฏิเสธเพื่อใหเปนไปตามความ ตองการของตนเองได นอกจากนน้ั การเรียนรูเทคนคิ การชักชวน จะทาํ ใหเหน็ วา คนสวนใหญม ีวธิ กี ารหลายอยางใน การโนมนาวใจ หรือชกั จงู คนอ่ืนใหค ลอยตาม ท้ังน้ี อาจทําไปโดยไมส นใจความตองการของอกี ฝาย และไมเคารพในการตัดสินใจที่แตกตางไปจากสิ่งที่ตัวเองตองการ การเรียนรู ยอมรับ และเคารพความ คดิ เหน็ ที่แตกตางของบุคคลเปน พ้ืนฐานสําคัญในการสรา งสมั พันธภาพและการอยรู วมกัน เสนทางความคิดเพอื่ ตดั สนิ ใจ 1. เรอ่ื งทีต่ อ งตัดสนิ ใจคอื อะไร เรอ่ื ง.................................................................................

48 2. ทางเลือกทมี่ อี ยูม ีอะไรบา ง ทางเลือกท่ี 3 ทางเลือกอนื่ ๆ ทางเลอื กท่ี 1 ทางเลอื กที่ 2 คดิ ตอ...มที างเลือกอืน่ อีก 3. คิดถงึ ผลท่ีตามมาของแตล ะทางเลือก วาจะเกดิ อะไรขน้ึ ถา เราเลอื ก ผลบวก ผลลบ  มีความเสยี่ งอะไรบาง?  ความเส่ยี งนน้ั มีโอกาสทจี่ ะเกดิ ขึน้ มากแคไหน?  ถาเกิดข้ึนแลวเราจดั การ/รบั ไดห รือไม?  จะลดความเสยี่ งของทางเลือกทเ่ี ราอยากเลอื ก ไดอ ยา งไร? 4. ความตอ งการท่ีแทจ ริงของเราคอื • เรารูวาคนอืน่ อยากใหเ ราทําอะไร • แลว เรารไู หมวา เราอยากทาํ อะไรท่ีเปนความตองการท่ีแทจ รงิ ของตวั เราเอง 5. ตดั สนิ ใจ ทางเลอื ก 1. ..................................................................................................... 2. .....................................................................................................

49 ฉันเปนแบบไหน บคุ ลิก 3 แบบ ในเร่อื งการกลาแสดงความคิดเห็น ความตอ งการและการตอบสนองความตอ งการของ ตวั เอง 1. “ฉนั จะเอาแบบน้ี ฉนั ไมสนใจวาเธออยากเลอื กแบบไหน” (Aggressive) คนบุคลิกนี้ไมคอ ยสนใจความตอ งการของผูอนื่ กลา แสดงออก กลา ทาํ เพอื่ ใหไดตามที่ ตองการ • ไมช อบใหข ดั ใจ คนทไี่ มคอ ยสนใจความตองการของผูอื่นเปนคนที่รูวาตัวเองตองการอะไรและ เดนิ หนาเพือ่ ใหไดม า การไดตามที่ตองการเปนเรื่องสาํ คญั จึงทาํ ใหเปนคนทีไ่ มใ หความ สนใจกับผลท่ีเกิดกับผูอ่นื มากนกั มกั ทําใหเพือ่ นอดึ อัดใจ 2.“ฉันรูเธออยากไดอะไร และฉนั เลอื กไดวาฉนั จะทาํ อะไร” (Assertive) คนบคุ ลกิ น้ี จะยอมรบั ในสทิ ธแิ ละความตองการของผอู ่ืน รูจักปกปอ งสิทธแิ ละตอบสนอง ความตองการของตัวเอง • กลา ถามและกลาบอก คนที่ยอมรบั ในสิทธแิ ละความตอ งการของผูอื่น ขณะเดียวกนั ก็รูจักปกปอ งสทิ ธิ และตอบสนองความตองการของตัวเอง เปนผูที่มีความสุขและสรางสัมพันธภาพทยี่ ั่งยนื ได 3. “สําหรับฉนั อะไรก็ได” (Passive) คนบุคลิกนี้ มักคลอยตามผูอื่น ไมคอยกลาแสดงความตองการและความรูสึกของตัวเอง โดยเฉพาะเร่อี งท่ีตอ งขัดใจผูอ่นื ปฏเิ สธไมเปน • ไมค อ ยกลา บอก คนท่มี ักคลอ ยตามผอู ื่นเปนคนทไ่ี ปกับเพือ่ นไดดี ไมมีความขัดแยง ไมคอยแสดง ความตองการและความรสู กึ ออกมาโดยเฉพาะเรอ่ี งที่ตองขดั ใจผูอื่น เมอ่ื อยูใน สถานการณอยากปฏิเสธจึงยากที่จะบอกยืนยันความตองการของตัวเอง