Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 48_อารีรัตน์_งานวิจัย_นบ10 final

48_อารีรัตน์_งานวิจัย_นบ10 final

Published by stabun.dpm, 2021-05-07 04:18:36

Description: 48_อารีรัตน์_งานวิจัย_นบ10 final

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษา เร่อื ง การจดั การความรใู นองคการ : การจดั ทาํ หลกั สตู รดานการบรหิ ารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย จัดทาํ โดย นางสาวอารรี ัตน วจิ ิตรพชั รผล รหสั ประจาํ ตัวนกั ศกึ ษา 48 เอกสารฉบบั นเี้ ป0นสว1 นหนึ่งในการศึกษาอบรม หลกั สูตร นักบรหิ ารงานปอ2 งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุน1 ท่ี 10 ระหว1างวันที่ 7 มกราคม – 10 เมษายน 2557 วิทยาลัยปอ2 งกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมปอ2 งกันและบรรเทาสาธารณภัย

(ก) คำนำ การศึกษาวิจัยเรื่องการจัดการความรู้ในองค์การ : การจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการ ความเสี่ยงจากสาธารณภัย ฉบับน้ี เป็นเอกสารทางวิชาการซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ซึ่งจัดข้ึนระหว่างวันที่ 7 มกราคม - 10 เมษายน 2557 ณ วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดปทุมธานี โดยผู้วิจัยได้ดาเนินการ ศึกษาวิจัยบนพ้ืนฐานของแนวคิดเร่ืองการจัดการความรู้ในองค์การ การบริหารจัดการความเสี่ยงจาก สาธารณภัย และการเทียบเคียงหลักสูตรด้านดังกล่าวของหน่วยงาน/ องค์การระหว่างประเทศ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษารายละเอียดและสาระสาคัญขององค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการความเส่ียง จากสาธารณภยั เพื่อนาไปพฒั นาการจัดทาหลักสตู รด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยของ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยให้เหมาะสมกบั กลุม่ เป้าหมายระดบั ตา่ ง ๆ ตามหลกั มาตรฐานสากล ผู้ศึกษาวิจัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า งานวิจัยฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน และผู้สนใจ ทวั่ ไป ไดน้ าไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการปฏบิ ตั ิงานท่เี กีย่ วข้องบา้ งไมม่ ากกน็ ้อย อารีรตั น์ วิจิตรพชั รผล นกั บริหารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) ร่นุ ท่ี 10 เมษายน 2557

((ขก)) กิตตกิ รรมประกำศ การศึกษาวิจัยเร่ืองการจัดการความรู้ในองค์การ : การจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการ ความเส่ียงจากสาธารณภัย ฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี โดยได้รับการสนับสนุนอย่างดีย่ิงจากคณะผู้เช่ียวชาญ ด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยในการแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการนาไปพัฒนาการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการ ความเสี่ยงจากสาธารณภัยของวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในอนาคตต่อไป นอกจากน้ี การศกึ ษาวจิ ยั ดงั กลา่ วยงั ไดร้ บั ความกรณุ าเป็นอยา่ งดจี ากทา่ นอาจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ ขนิษฐบุตร และท่าน อาจารยว์ รชพร เพชรสวุ รรณ ที่ได้สละเวลาให้คาปรึกษาและความรู้ พร้อมท้ังตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ จึงขอกราบขอบพระคณุ คณะผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์ท้ังสองท่านเป็นอย่างสูง รวมทั้ง ขอขอบคุณคณะผู้บริหารของวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้อานวยการโครงการ และ เจ้าหนา้ ทีโ่ ครงการ ทไี่ ดอ้ านวยความสะดวกในการศึกษาวิจัยจนสาเรจ็ ไว้ ณ โอกาสน้ี สุดท้ายนี้ ผู้ศึกษาวิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และบุคคลในครอบครัวท่ีเป็นกาลังใจ สาคญั ท่สี ุดในการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ใหส้ าเร็จดว้ ยดีตลอดมา อารีรตั น์ วจิ ติ รพัชรผล

((คข) บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ ำร แนวคิดเร่ืองการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management : DRM) เป็นการบริหารจัดการสาธารณภัยแบบครบวงจรตั้งแต่ระยะก่อน ขณะ และหลังเกิดสาธารณภัย โดยแทรกแนวคิดเรื่องการลดความเสี่ยงไว้ในมาตรการต่าง ๆ ของวงจรสาธารณภัย โดยเชื่อว่าหากทุกภาคส่วน ต้ังแตร่ ะดบั โลก ประเทศ ชุมชน และประชาชนทุกคนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในกลไกตา่ ง ๆ ดา้ นการลดความเส่ียง จากสาธารณภยั จะสามารถสรา้ งมาตรการปอ้ งกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย และการเตรียมความพร้อม เพ่ือรบั มอื สาธารณภัยตา่ ง ๆ ทจี่ ะเกิดขึ้นในอนาคตและสามารถลดความสูญเสียได้ระดับหนึง่ ประเทศไทยถูกจัดลาดับให้อยู่ในประเทศท่ีมีความเสี่ยงต่ออุทกภัยเป็นอันดับท่ี 7 ของโลก ซึ่ง หากไม่มีการเตรียมความพร้อมและการป้องกันในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว คาดว่าในอีก 17 ปี ข้างหน้า ประเทศไทยจะมมี ลู คา่ ความเสยี หายและความสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นอันดับท่ี 4 ของโลก รองจาก สหรัฐฯ รัสเซีย และญี่ปุ่น ในการนี้ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะหน่วยงานหลักด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยของประเทศจึงได้ตระหนักถึงการดาเนินมาตรการใด ๆ เพ่ือลดความสูญเสียให้ น้อยที่สุด ท้ังนี้ การจัดการความรู้ด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยผ่านกระบวนการฝึกอบรม เชื่อว่าเป็นแนวทางหนง่ึ ในการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ของประเทศ ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาค้นคว้าตามหลักการจัดการความรู้ในองค์การเพ่ือแสวงหา รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราห์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยเพื่อนามาจัดทาหลักสูตรด้าน การบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยให้แก่กลุ่มเป้าหมายระดับต่าง ๆ แยกเป็นระดับสูง ระดับกลาง และระดับต้น โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี 1) เพื่อศึกษารายละเอียดและสาระสาคัญขององค์ ความรู้เกี่ยวกับ การบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย และ 2) เพื่อศึกษาและจัดทาหลักสูตรด้าน การบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยระดับสูง (ระดับหัวหน้ากลุ่มงาน /ชานาญการพิเศษ) ระดับกลาง (ระดบั ชานาญการ/ ปฏิบัติการ) และระดับต้น (ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร/ประชาชน) การศกึ ษาครง้ั นี้ เปน็ การศึกษาเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูลจากการศึกษา วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และจัดเก็บข้อมูลการสัมภาษณ์ของผู้เช่ียวชาญด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภยั จานวน 8 ท่าน จากหน่วยงานระหว่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารของกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั แลว้ นามาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ตามหลกั วชิ าการ ซงึ่ สรปุ ผลการวิจัย มีดังน้ี จากการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญทั้ง 8 ท่าน และวิเคราะห์เนื้อหาวิชาในภาพรวมท่ีจะบรรจุไว้ใน หลักสูตร พบว่ามีหัวข้อวิชาในระยะก่อนเกิดภัยจานวน 24 หัวข้อวิชา ระยะขณะเกิดภัยจานวน 27 หัวข้อวชิ า และระยะหลังเกดิ ภัยจานวน 7 หวั ข้อวิชา รวมท้ังส้นิ 58 หัวขอ้ วิชา

(((คขง) การวิเคราะห์เน้ือหาวิชาในภาพรวมของหลักสูตร DRM แยกตามกลุ่มเป้าหมายแต่ละระดับ ได้แก่ ระดับสูง (ระดับหัวหน้ากลุ่มงาน /ชานาญการพิเศษ) ระดับกลาง (ระดับชานาญการ/ ปฏิบัติการ) และระดับต้น (ระดับปฏิบัติการ/ประชาชน) โดยพิจารณาตามแนวคิดเกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรด้าน การบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยของหน่วยงานด้านการฝึกอบรมของกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยและหน่วยงานฝึกอบรมของต่างประเทศ ได้แก่ สหภาพพม่า สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา รวมท้ัง องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ ศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย พบว่าในหลักสูตร ระดับสูง มีจานวนหัวข้อวิชาท้ังหมด 27 หัวข้อ หลักสูตรระดับกลาง จานวน 28 หัวข้อ และหลักสูตร ระดับตน้ จานวน 25 หัวขอ้ ประเด็นสาคญั ซึง่ ผู้เชี่ยวชาญไดใ้ หข้ ้อคดิ เหน็ ไว้เพ่อื พัฒนาหลกั สูตรให้มีความสมบูรณ์ย่ิงข้ึนต่อไป ได้แก่ ประเด็นเก่ียวกับการจัดกลุ่มเป้าหมาย การจัดชุดวิชา ความเข้มข้นของเนื้อหาวิชาของหลักสูตรแต่ ละระดับ ความครอบคลุมเนอื้ หาทัง้ หมดในหลกั สูตร DRM การจัดให้มีการการศึกษาดูงานด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั และการบรรจุวิชาเก่ยี วกับหลักการแถลงข่าวแกส่ อื่ มวลชนสาหรับนักบริหาร และ วชิ าคุณธรรมและจริยธรรมไวใ้ นหลักสูตร จากผลการศึกษาที่ได้ ผู้วิจัยซึ่งรับผิดชอบงานด้านการพัฒนาหลักสูตรของวิทยาลัยป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั จะได้นาไปพฒั นาตอ่ ยอดเป็นหลักสูตรแกน หลักสูตรหนึ่งของกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยต่อไปในอนาคต เพ่ือสนองตอบนโยบายรัฐบาลด้านการบริหารจัดการสาธารณภัย โดยการพัฒนา ศักยภาพ และขีดความสามารถของบุคลากรในหน่วยงานให้มีองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการสาธารณภัย เทียบเท่าระดับสากล และอาจขยายผลการจัดทาหลักสูตรให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอ่ืน ๆ เช่น เจ้าหน้าท่ี ระดับทอ้ งถิ่น และนกั วชิ าการดา้ นการศกึ ษาต่อไป

สารบญั (จ) คานา หน้า กติ ติกรรมประกาศ (ก) บทสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร (ข) สารบัญ (ค) สารบญั ตาราง (จ) สารบัญแผนภาพ (ช) บทท่ี 1 บทนา (ซ) ความสาคญั และทม่ี าของปญั หาวิจัย 1 วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตการศกึ ษา 3 ประโยชน์ทใ่ี ช้ในการศึกษา 3 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 4 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกับตวั แปรเร่อื งการจัดการความร้ใู นองคก์ าร 5 แนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกบั การบรหิ ารจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั 8 แนวคิดเก่ียวกับการจดั ทาหลักสูตรด้านการบริหารจดั การความเสีย่ ง 15 จากสาธารณภยั ของหนว่ ยงานดา้ นการฝึกอบรมในระดับสากล 29 กรอบแนวคิด บทท่ี 3 ระเบียบวิธวี ิจยั 30 ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ 30 เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 30 การตรวจสอบเคร่ืองมือ 30 องคป์ ระกอบแบบสมั ภาษณ์ 31 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล บทที่ 4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 32 ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลท่วั ไปเก่ียวกับผใู้ ห้สมั ภาษณ์ 33 ส่วนท่ี 2 ข้อมูลเกีย่ วกบั การวิเคราะหเ์ น้ือหาวิชาในการจัดทาหลักสูตร 37 ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สว่ นที่ 3 ข้อมลู เกี่ยวกบั ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะในการจัดทาหลักสูตร ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย

บทที่ 5 บทสรปุ ผลการศึกษาวจิ ัยและข้อเสนอแนะ (ฉจ) สรุปผลการศกึ ษา การอภิปรายผล 43 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ 46 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจัยครงั้ ตอ่ ไป 48 48 บรรณานกุ รม 49 ภาคผนวก แบบสมั ภาษณ์ผู้เช่ยี วชาญ แบบเสนอโครงรา่ ง ประวัตผิ ูเ้ ขียน

ซช สารบญั ตาราง หนา้ 1 : คาอธบิ ายขนั้ ตอนในการดาเนนิ การตามกระบวนการจดั การความรู้ในองค์การ 8 2 : ความสัมพนั ธ์ระหว่างโอกาสเกิดภัยและผลกระทบเพอื่ การวิเคราะห์ความเสี่ยง 14 3 : สรปุ รายละเอยี ดหลกั สูตรการจดั การสาธารณภยั (Disaster Management) 15 สาหรับเจ้าหนา้ ที่ผรู้ ับผิดชอบงานด้านสาธารณภัยแห่งสหภาพพมา่ 4 : สรปุ รายละเอียดหลักสตู รด้านการจดั การสาธารณภยั ที่สอดแทรกไวใ้ นหลกั สูตรต่าง 17 สาหรับการอบรมบุคลากรของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5 : สรุปรายละเอียดหลักสูตร DRM ท่ีดาเนินการโดยศนู ยเ์ ตรียมความพร้อม 19 ปอ้ งกนั ภยั พบิ ัติแห่งเอเชีย 6 : สรปุ รายละเอียดหลักสตู ร DRM ท่ีดาเนินการโดยกรมบรรเทาทกุ ขแ์ ละการตั้งถิน่ ฐานใหม่ 20 แห่งสหภาพพม่า (Myanmar Relief and Resetlement Department: DRR 7 : สรปุ รายละเอียดหลักสตู ร DRM ทดี่ าเนนิ การโดย สถาบันฝึกอบรมด้านการจัดการ 21 สาธารณภยั ของประเทศสงิ คโปร์ 8 : สรุปรายละเอียดหลกั สตู รด้าน DRM ทด่ี าเนินการโดย หนว่ ยงานดา้ นการจัดการ 23 สาธารณภัยของประเทศสหรฐั อเมรกิ า 9 : สรปุ รายละเอยี ดข้อมลู โดยรวมเพอื่ จัดทาหลกั สูตรด้านการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั 26 10 : ผลการแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเน้ือหาวิชาในการจัดทา 33 หลักสูตรด้านการ บริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระยะก่อนเกิดภัย 11 : ผลการแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาในการจัดทา 35 หลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระยะขณะเกิดภัย 12 : ผลการแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเก่ียวกับเนื้อหาวิชาในการจัดทา 36 หลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระยะหลังเกิดภัย 13 : ผลการแสดงความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเก่ียวกับเน้ือหาวิชา 37 ในการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระดับสูง 14 : ผลการแสดงความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเน้ือหาวิชา 39 ในการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระดับกลาง 15 : ผลการแสดงความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญเก่ียวกับเน้ือหาวิชา 40 ในการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ระดับต้น

ซช สารบัญ แผนภาพ หน้า 1 : กระบวนการการจดั การความรใู้ นองคก์ าร 6 2 : วงจรการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management Cycle) 11 3 : แผนภมู แิ สดงความสมั พันธ์ระหว่างการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk 12 Reduction: DRR), การจัดการสาธารณภยั (Disaster Management: DM) และการบริหารจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management: DRM) 4 : ปัจจยั สาหรบั การพัฒนาที่ย่งั ยืนและการลดความเสี่ยงสาธารณภยั 13 5 : ความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม 29

บทที่ 1 บทนา การจดั การความรใู้ นองค์การ : การจดั ทาหลักสตู รด้านการบรหิ ารจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ความเปน็ มาของเรื่องและสถานการณ์ปัจจบุ ัน รายงานสถานการณ์สาธารณภัยของโลกโดยศูนย์ลดภัยพิบัติแห่งเอเชีย (Asian Disaster Reduction Center : ADRC) พบวา่ ในระยะเวลา ๑๐ ปีที่ผ่านมาน้ี สาธารณภัยเกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ เกือบ ทัว่ ทกุ มมุ โลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง ๕ ปีหลัง สาธารณภัยที่เกิดข้ึนมีขนาดความรุนแรง และปริมาณความถ่ี เพ่ิมมากข้ึนจากชว่ งต้นทศวรรษมาก ซง่ึ สาเหตุปัจจัยสาคัญส่วนหน่ึงมาจากสภาพภูมิอากาศที่เปล่ียนแปลงของ โลก และผลกระทบจากการกระทาของมนุษย์ท้ังทางตรงและทางอ้อม ดังเช่น เหตุการณ์แผ่นดินไหว /สึนามิ ใน เฮติ อินโดนีเซีย จีน นิวซีแลนด์ และญ่ีปุน พายุไต้ฝุน/เฮอลิเคน ในฟิลิปปินส์ จีน ญีปุน สหรัฐฯ และแคนาดา มวลความร้อนในสหรฐั ฯ และประเทศแถบยุโรป อทุ กภยั ในปากีสถาน ออสเตรเลีย และไทย เป็นต้น ปจั จบุ นั ประเทศตา่ ง ๆ ท่ัวโลก ไดต้ ระหนักถึงมหัตภัยร้ายแรงจากสาธารณภัยท่ีไม่อาจคาดเดา ได้ว่าจะเกิดขึ้นท่ีไหน เมื่อไหร่ และอย่างไร จึงได้ให้ความสาคัญต่อการลดความเส่ียงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction : DRR) โดยเช่ือว่าหากทุกภาคส่วนต้ังแต่ระดับโลก ประเทศ ชุมชน และประชาชนทุกคนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในกลไกต่าง ๆ ด้านการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยในระดับหนึ่ง จะสามารถสร้างมาตรการปูองกัน และลดผลกระทบจากสาธารณภัย และการเตรียมความพร้อมต่าง ๆ เพ่ือรับมือสาธารณภัยท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต และสามารถลดความสูญเสียได้ระดับหนง่ึ ทงั้ นี้ กลไกในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภัยระดับสากลท่ีสาคัญ เช่น กรอบการดาเนินงานเฮียวโกะ (Hyogo Framework for Action 2005‐2015) ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการ จัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน (ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response) และยุทธศาสตร์ในการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติของประเทศต่าง ๆ (Strategic National Acton Plan: SNAP) เป็นต้น จากประเด็นเรื่องการลดความเส่ียงจากสาธารณภัย ทาให้เกิดแนวคิดเรื่องการบริหาร จัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management : DRM) ซ่ึงเป็นการบริหารจัดการแบบ ครบวงจรต้ังแต่ระยะก่อน ขณะ และหลังเกิดสาธารณภัย โดยแทรกแนวคิดเร่ืองการลดความเสียงไว้ในมาตรการ ต่าง ๆ ของวงจรสาธารณภัย ประเทศไทยเปน็ ประเทศหน่งึ ทปี่ ระสบกับสาธารณภยั ซง่ึ ส่งผลใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ชวี ติ และ ทรัพย์สินของประชาชนจานวนมหาศาล ดังเช่นหลายประเทศดังกล่าวในข้างต้น ยกตัวอย่าง เหตุการณ์ มหาอุทกภัยเม่ือปี ๒๕๕๔ เป็นเหตุการณ์ท่ีสร้างความสูญเสียและความเสียหายคร้ังใหญ่ท่ีสุดของประเทศ

2 ธนาคารโลกไดท้ าการศึกษาและประเมินมูลค่าความเสยี หายจากเหตุการณ์ดังกล่าว พบว่ามีมูลค่าความสูญเสีย และความเสียหายจานวนถึง 1.44 ล้านล้านบาท และจัดลาดับให้ประเทศไทยอยู่ในประเทศที่มีความเสี่ยงต่อ อุทกภัยเป็นอันดับที่ 7 ของโลก ทั้งน้ี หากไม่มีการเตรียมความพร้อมและการปูองกันในอนาคตอย่างมี ประสิทธิภาพแล้ว คาดว่าในอีก 17 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะมีมูลค่าความเสียหายและความสูญเสียทาง เศรษฐกจิ เปน็ อนั ดับท่ี 4 ของโลกรองจากสหรฐั ฯ รัสเซยี และญปี่ ุน กรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานกลางด้านการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยของประเทศตามพระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงควรท่ีจะต้องสร้าง และดาเนนิ มาตรการใด ๆ ในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้ เกิดขึ้นแก่ประชาชนในประเทศ ทั้งน้ี โดยให้ความสาคัญกับแนวคิดเรื่องการบริหารจัดการความเสี่ยงจาก สาธารณภัย เพื่อให้สอดคล้องตามแนวทางสากล และในฐานะที่ประเทศไทยได้ร่วมลงนามในกรอบแผนงานและ ความรว่ มมอื ตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วข้างต้น การจัดการความรู้ในองค์การ (Knowledge Management : KM) เป็นแนวทางหน่ึงในการ บริหารจัดการความรู้ โดยการแสวงหา รวบรวม แลกเปลี่ยน และเผยแพร่องค์ความรู้ซึ่งกันและกันของบุคลากรใน หน่วยงาน เพื่อขับเคล่ือนการดาเนินงานในองค์การให้บรรลุผลสาเร็จตามเปูาหมายขององค์การอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งในกระบวนการแลกเปล่ียน เรียนรู้ หรือเผยแพร่ความรู้สามารถดาเนินการได้โดยผ่าน กระบวนการฝึกอบรมได้แนวทางหน่ึง ทั้งน้ี องค์ความรู้ที่จะนามาถ่ายทอดผ่านกระบวนการฝึกอบรมน้ัน จึงควร เป็นองค์ความรู้ท่ีผ่านกระบวนการจัดการความรู้มาเป็นอย่างดี มีการกลั่นกรอง เพื่อนามาสร้างหลักสูตรท่ีมี คุณภาพ และเกิดประโยชน์ต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งก็คือบุคลากรของกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย สว่ นหน่งึ ซงึ่ เมอ่ื บุคลากรได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ผ่านกระบวนการฝึกอบรมแล้ว ก็จะสามารถนาไปปรับใช้ให้ เกดิ ประโยชน์ตอ่ การปฏิบัตงิ านในหนา้ ทีไ่ ดเ้ ปน็ อยา่ งดตี ่อไป ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงทาการศึกษาเร่ือง การจัดการความรู้ในองค์การ : การจัดทาหลักสูตร ด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย โดยการศึกษาค้นคว้าตามหลักการจัดการความรู้ใน องค์การเพ่ือแสวงหา รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราห์ความรู้เก่ียวกับการบริหารจัดการความเสี่ยงจาก สาธารณภัยเพ่ือนามาจัดทาหลกั สูตรดา้ นการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยให้แก่กลุ่มเปูาหมาย ระดับต่าง ๆ เพ่ือให้สามารถนาองค์ความรู้ไปปรับใช้ในการปูองกันและบรรเทาสาธารรภัยให้เกิด ประโยชนต์ อ่ ตนเอง และการปฏบิ ตั งิ านในองค์การต่อไป วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา การศกึ ษาคร้งั น้ี มวี ตั ถุประสงค์ดังต่อไปน้ี 1. เพือ่ ศกึ ษารายละเอยี ดและสาระสาคัญขององค์ความรเู้ กย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การความเสี่ยงจาก สาธารณภัย

3 2. เพ่ือศึกษาและจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยระดับสูง (ระดับหัวหน้ากลุ่มงาน /ชานาญการพิเศษ) ระดับกลาง (ระดับชานาญการ/ ปฏิบัติการ) และระดับต้น (ระดับปฏบิ ัติการ/ประชาชน) ขอบเขตการศกึ ษา ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพสาหรับการศึกษาคร้ังน้ี โดยจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลจากการศึกษา จากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ จานวน 8 ท่าน จากหน่วยงานระหว่างประเทศ ผู้เช่ียวชาญ และผู้บริหารของกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย แล้วนามาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ตามหลักวชิ าการ ตัวแปรที่เก่ยี วข้องกบั การศกึ ษา ประกอบดว้ ย ตวั แปรตาม คือองค์ความรู้ด้านการบริหารจดั การความเสีย่ งจากสาธารณภยั ตัวแปรอิสระ คอื 1. หลกั สตู รดา้ นการบรหิ ารจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภยั ระดบั สงู 2. หลกั สูตรด้านการบรหิ ารจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัยระดบั กลาง 3. หลกั สูตรด้านการบริหารจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั ระดบั ตน้ ระยะเวลาในการศึกษาเรม่ิ ต้งั แต่ วันที่ 7 มกราคม ถึง 10 เมษายน 2557 ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการศกึ ษา ผลจากการศกึ ษามีประโยชนต์ ่อฝุายที่เก่ียวข้อง ดังน้ี ฝุายวิชาการของวิทยาลัยปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยสามารถนาหลักสูตรด้านการบริหาร จัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัยท่ีได้จากการวิจัยคร้ังน้ีไปพัฒนาให้มีความเหมาะสมเพื่อให้ฝุายฝึกอบรม ของวิทยาลัยฯ ได้นาไปใช้ในการฝึกอบรมกับกลุ่มเปูาหมายระดับต่าง ๆ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยสามารถนาองค์ความรู้ท่ีได้รับไปปรับใช้ในการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และการปฏิบัติงานในหน่วยงานเพื่อให้บรรลุผลสาเร็จตามเปูาหมาย ขององคก์ ารต่อไป นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ คานยิ ามศัพท์เฉพาะในการศกึ ษาคร้ังนี้ ไดแ้ ก่ 1. ความเส่ยี งสาธารณภัย (Disaster Risk) หมายถึง แนวโนม้ ที่ชุมชนหรือสงั คมใด ๆ จะไดร้ บั ผลกระทบ จากเหตุการณ์สาธารณภัย ท้ังความเสียหายทางทรัพย์สิน และการสูญเสียชีวิต สุขภาพ การดารงชีวิต รวมถงึ ผลกระทบในเชิงสังคมและเศรษฐกิจ 2. การบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management) หมายถึง กระบวนการเชิงระบบซ่ึงเป็นกระบวนการทางด้านการบริหารจัดการ การตัดสินใจในองค์กร การใช้

4 ทรพั ยากรและทักษะทางการปฏิบัติงาน เพื่อดาเนินการตามยุทธศาสตร์และนโยบายท่ีวางไว้ รวมถึงการพัฒนา ปรบั ปรุงทักษะต่าง ๆ ในการรับมือกับเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบอันร้ายแรงจากสภาวะอันตรายของภัย และลดโอกาสท่ีจะทาให้ภัยคุกคามกลายเป็นสาธารณภัย การจัดการสาธารณภัยครอบคลุมถึงการหา มาตรการแกไ้ ขปญั หาทงั้ ระยะสั้นและระยะยาว มุ่งที่การวางแผนต้ังแต่ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุและหลัง เกิดเหตุจนครบกระบวนการ ซึ่งประกอบด้วยการปูองกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) และการเตรียมความพร้อม (Preparedness) ในระยะก่อนเกิดเหตุ การตอบโต้เหตุการณ์ ฉุกเฉนิ (Emergency Response) ในขณะเกิดเหตุ และการฟนื้ ฟู (Recovery) ภายหลงั เหตกุ ารณ์ 3. จัดการความเสี่ยง (Treat the risk) หมายถึง การจัดการกับความเส่ียงท่ีควรได้รับการแก้ไข หรอื เป็นความเส่ยี งท่ีไม่สามารถยอมรับได้ สามารถทาได้หลายระดับ เช่น 1) การบรรเทาความเส่ียงนั้นให้ ลดลง ด้วยมาตรการเพื่อปูองกัน ลดผลกระทบและเตรียมความพร้อมก่อนเกิดเหตุ หรือ 2) การถ่ายโอน ความเส่ียงด้วยการทาประกันภัย การต้ังกองทุนกู้ยืมสาหรับเหตุการณ์สาธารณภัย หรือกลไกทางการเงิน ตา่ ง ๆ หรือ 3) การขจดั ความเสย่ี งอย่างส้ินเชิง จากการย้ายถิน่ ฐาน 4. การปอู งกัน (Prevention) หมายถึง มาตรการหรือแนวทางต่าง ๆ เพ่ือช่วยขจัดผลกระทบเชิง ลบจากเหตุการณ์สาธารณภัยให้หมดไปอย่างสิ้นเชิง ท้ังน้ี มาตการเพ่ือการปูองกันควรมีการปฏิบัติก่อนที่ จะเกิดเหตุการณ์ภัยนั้น ๆ เช่น การสร้างเข่ือนเพื่อปูองกันอุทกภัย หรือการไม่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง ใด ๆ ในเขตพ้ืนทที่ ม่ี คี วามเส่ยี งสูง 5. การลดผลกระทบ (Mitigation) หมายถึง มาตรการหรือแนวทางต่าง ๆ เพ่ือช่วยจากัดหรือลด ความรุนแรงของเหตุอันตรายท้ังหลายเพ่ือไม่ให้กลายเป็นสาธารณภัย หรือเพื่อลดผลกระทบท่ีภัยต่าง ๆ อาจมตี อ่ ชมุ ชน สงั คม และส่ิงแวดล้อม 6. การเตรียมความพร้อม (Preparedness) หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีช่วยให้เกิดความสามารถ ในการคาดการณ์ รับมือ และจัดการกับผลกระทบจากสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ ทาให้สามารถ ดาเนนิ การไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพทั้งในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังการเกิดสาธารณภัย เช่น การติดตั้งระบบเตอื นภยั อย่างครบวงจร การกาหนดพืน้ ทีเ่ สย่ี ง การวางแผนเสน้ ทางอพยพ การฝึกอบรมใน การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น การจัดเตรียมถุงยังชีพ การจัดวางแผนผังการประสานงาน และการฝึกซ้อม การบญั ชาการเหตกุ ารณ์ฉกุ เฉนิ 7. การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response) หมายถึง มาตรการหรือแนวทางต่าง ๆ ท่ีสามารถ นาใช้ได้ทันทีเม่ือเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน เพ่ือรักษาชีวิต และลดผลกระทบด้านสุขภาพและอนามัย รวมทั้ง เพื่อรักษาความปลอดภัยและให้ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ใน ที่นหี้ มายรวมถึงแนวทางการตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉินของทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ชุมชน และหน่วยงาน ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องท้ังหมด เช่น การกู้ชีพกู้ภัย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การแจกถุงยังชีพและสิ่งของ บรรเทาทุกข์ การบัญชาการในเหตุการณ์ฉุกเฉิน การประสานงานเพ่ือลาเลียงผู้ปุวย การบริหารจัดการ ศูนย์อพยพ ท้งั นี้ การตอบโตเ้ หตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ ควรเกิดข้ึนอย่างเรว็ และทนั ทเี มอ่ื เกิดภาวะฉุกเฉินขึ้น เพื่อลด ผลกระทบในระยะส้นั ตอ่ ชีวติ และสขุ ภาพของผู้ประสบภยั อยา่ งทันท่วงที

5 8. การฟ้ีนฟู (Recovery)หมายถึง การปรับสภาพระบบสาธารณูปโภค การดารงชีพ และสภาวะ วิถีความเป็นอยู่ของชุมชนที่ประสบภัยให้กลับสู่สภาวะปกติ หรือพัฒนาให้ดียิ่งข้ึนกว่าเก่าตามความ เหมาะสมโดยการนาเอาปัจจัยตา่ ง ๆ เพ่ือลดความเส่ียงสาธารณภัยเข้ามาช่วยในการฟ้ืนฟูสภาพด้วย ท้ังน้ี การฟ้ืนฟูหมายรวมถึง การซ่อมแซมและสร้างใหม่ (Reconstruction) หรือการฟ้ืนฟูโครงสร้างและ สิ่งก่อสร้างท่ีได้รับผลกระทบ และการเยียวยา (Rehabilitation) หรือการฟื้นฟูสภาพจิตใจของผู้ได้รับ ผลกระทบ ตลอดจนการฟื้นฟสู ภาวะความเปน็ อยู่ให้สามารถกลบั มาดารงชวี ิตไดเ้ ชน่ เดมิ หรือดีกวา่ เดมิ

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี ระเบียบกฎหมาย และงานวิจยั ที่เกีย่ วข้อง บทนเี้ ป็นการนาเสนอ แนวคิด ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วขอ้ งกับตวั แปรของการศกึ ษา ซึ่งผู้วจิ ัยไดท้ าการสืบค้นจากเอกสารทางวชิ าการ และแหลง่ ขอ้ มลู ต่างๆ โดยแบง่ เนอื้ หาของบทนเ้ี ป็น 3 ส่วน คือ 1. แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกับตัวแปรเร่อื งการจดั การความรู้ในองค์การ 2. แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกับการบรหิ ารจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภัย 3. แนวคิดเก่ียวกับการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ของหน่วยงานดา้ นการฝกึ อบรมในระดับสากล รายละเอยี ดในแต่ละส่วนท่ีกลา่ วมาข้างตน้ มสี าระสาคัญ ดังนี้ 1. แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกบั การจัดการความรู้ในองค์การ 1.1 ความสาคัญของการจัดการความรู้ในองค์การ (Knowledge Management : KM) เป็น กระบวนการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การ ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนา ให้เป็นระบบ เพื่อให้บุคลากรทุกคน สามารถเข้าถึงความรู้ และสามารถนาไปพัฒนาตนเองให้เกิดประโยชน์ต่อ การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การพัฒนาองค์ความรู้ในองค์การอย่างต่อเน่ือง จะทาให้ เกิดการสร้างฐานความรู้หรือทุนปัญญาขึ้นในองค์การน้ัน ๆ ซ่ึงนาไปสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization หรือ LO) ซึ่งถือเป็นปัจจัยสาคัญต่อการเพ่ิมขีดสมรรถนะในเชิงแข่งขันเพื่อการบรรลุ เปาู หมายขององคก์ าร ความสาคัญของการจัดการความรู้ในองค์การดังกล่าวข้างต้น หน่วยงานภาครัฐได้กาหนดให้ มีการดาเนินกิจกรรมเก่ียวกับการจัดการความรู้ในองค์กรไว้ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 11 เพ่ือให้ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนา ความรใู้ นสว่ นราชการ ให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมท้ังต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรท่ีมีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เ กิดผลสัมฤทธ์ิ ตามพระราชกฤษฎีกาดงั กล่าว 1.2 ประเภทขององคค์ วามร้ใู นองค์กร มี 2 ประเภท ได้แก่ 1. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit หรือ Codified Knowledge) คือความรู้ท่ีสามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ ดว้ ยวธิ ตี ่างๆ เชน่ การบนั ทึก ทฤษฎี แนวปฏบิ ัติ คู่มอื ต่างๆ

6 2. ความรู้ที่ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สัญชาตญาณของแตล่ ะบุคคล ซ่ึงยากตอ่ การเล่าหรอื เขยี นออกมาใหผ้ ้อู ่ืนทราบหรือเขา้ ใจ จาเป็นต้องอาศัย กระบวนการตา่ ง ๆ เปลยี่ นให้เปน็ ความรทู้ ่ชี ัดแจ้งซ่งึ สามารถแลกเปลี่ยนกันได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทางาน งานฝีมอื การคิดเชิงวิเคราะห์ 1.3 กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) การดาเนินงาน จัดการความร้ใู นองคก์ ร สามารถจาแนกออกเปน็ 7 ขั้นตอนดงั นี้ ภาพที่ 1 : กระบวนการการจัดการความรใู้ นองคก์ าร ท่ีมา : สานกั งานพฒั นาระบบราชการ

7 ท่มี า ขั้นตอน (Process) คาอธิบาย เราต้องมีความร้เู ร่ือง 1. การบ่งช้คี วามรู้ (Knowledge เป็นการพจิ ารณาองคค์ วามรู้ท่ีจาเป็นต่อการ อะไร?เรามีความรู้ Identification) บรรลุวสิ ัยทศั น์/พนั ธกจิ /เปูาหมายขององค์กร เรื่องน้ันหรือยัง? และพิจารณาวา่ องคก์ รมีองค์ความรู้นหี้ รอื ยัง อยู่ ในรปู แบบใด หรืออยู่ทีบ่ ุคคลใด ความร้อู ยู่ท่ีใคร?อยใู่ น 2. การสรา้ งและแสวงหาความรู้ เป็นการสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ หรอื แสวงหา รูปแบบอะไร?จะเอา (Knowledge Creation and ความรจู้ ากภายนอก หากองค์ความรทู้ ี่จาเป็นต่อ มาเก็บรวมกนั ได้ Acquisition) องค์กรนน้ั ยังไม่มีหรือมีไม่เพียงพอ รวมถึงการ อยา่ งไร? รักษาความรเู้ กา่ และการกาจัดความรู้ทีใ่ ช้ไมไ่ ด้ แล้ว จะแบง่ ประเภทหัวขอ้ 3. การจดั ความรใู้ ห้เปน็ ระบบ เป็นการวางโครงสรา้ งความรู้ เพอื่ เตรียมพร้อม อย่างไร? (Knowledge Organization) สาหรับการเกบ็ ความรู้อยา่ งเปน็ ระบบในอนาคต จะทาใหเ้ ข้าใจง่าย 4. การประมวลและกลั่นกรอง เป็นการปรับปรงุ รปู แบบ เนื้อหาเอกสารหรือ และสมบูรณ์ได้ อย่างไร? ความรู้ (Knowledge องค์ความรใู้ ห้สมบรู ณ์ มีมาตรฐาน และใช้ภาษา Codification and Refinement)เดียวกัน เรานาความรมู้ าใช้งาน5. การเข้าถงึ ความรู้ เป็นการทาใหผ้ ้ใู ช้ความรสู้ ามารถเข้าถึงองค์ ไดง้ ่ายหรอื ไม่? (Knowlegde Access) ความรู้ท่ตี ้องการไดง้ ่ายสะดวก โดยอาจใช้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board หรือ บอรด์ ประชาสัมพนั ธม์ าชว่ ยเพือ่ อานวยความ สะดวก มกี ารแบ่งบันความรู้ 6. การแบ่งปนั แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ทาไดห้ ลายวิธกี าร กรณเี ป็นความรู้ที่ชดั แจ้งอาจ ให้กันหรือไม่? (Knowledge Sharing) จัดทาเปน็ เอกสาร ฐานความรู้ หรือเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็นต้น กรณีเปน็ ความรู้ทฝี่ ังลกึ ใน บคุ คล อาจจัดทาเป็นระบบ ทีมขา้ มสายงาน (Cross-functional Team) กจิ กรรมกลุม่

8 ท่ีมา ขั้นตอน (Process) คาอธบิ าย ความรนู้ นั้ ทาใหเ้ กิด 7. การเรยี นรู้ (Learning) คุณภาพและนวตั กรรม (Innovation & Quality ประโยชนก์ บั องค์กร Circles : IQCs) ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ หรอื หรือไม่? ชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ (Communities of Practice : CoP) ระบบพ่เี ลย้ี ง (Mentoring System) การ สบั เปล่ยี นงาน (Job Rotation) การยมื ตัว บคุ ลากรมาชว่ ยงาน หรอื เวทีแลกเปลีย่ นความรู้ (Knowledge Forum) เป็นตน้ เป็นการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการ ตัดสินใจ แก้ปัญหาและปรับปรงุ องค์กร ตารางที่ 1 : คาอธบิ ายขั้นตอนในการดาเนินการตามกระบวนการจดั การความรใู้ นองคก์ าร 1.4 ปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จ (Key Success Factors) ของการจดั การความรู้ ปัจจัยสาคัญที่สนับสนุนให้การดาเนินกิจกรรมด้านการจัดการความรู้ในองค์การประสบ ผลสาเร็จ ส่วนใหญ่ ประกอบด้วยปัจจัย ดังน้ี นโยบายและการสนับสนุนของผู้บริหาร การเปิดโอกาส/ การสร้างทีมขบั เคล่อื นให้บุคลากรท่มี ีความต้ังใจและสนใจในการพัฒนาองค์การไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้เข้ามามีบทบาทในการดาเนินงานจัดการความรู้ การดาเนินกิจกรรมตามหลักการกระบวนการคุณภาพ PDCA (Plan Do Check Act) เพื่อให้การดาเนินการจัดการความรู้ในองค์กรเกิดการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และพฒั นาอย่างมคี ณุ ภาพ การสร้างความตระหนักและการมสี ่วนร่วมของบุคลากรต่อการดาเนินกิจกรรม การจัดให้มีเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การให้รางวัล/ยกย่องชมเชย แก่บุคลากรที่มีผลงาน การจัดเอกสารประกัน คุณภาพ (QA Document) เพื่อให้การดาเนินงานการจัดการความรู้ในองค์กร สามารถตรวจสอบและ ประกันคุณภาพได้ การส่ือสารภายในองค์กรเพ่ือให้บุคลากรในองค์กรทุกคน ทุกระดับสามารถติดตาม ขอ้ มลู ข่าวสาร เช่น การจดั ทาวารสาร/จลุ สารการจัดการความรู้ การจัดทาเว็บไซต์การจัดการความรู้ เป็นต้น (วิจารณ์ พานชิ : มปป.) 2. แนวคิด ทฤษฎเี ก่ยี วกบั การบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย 2.1 การศึกษาประวัติศาสตร์การจัดการสาธารณภัยระดับโลก เร่ิมต้นในช่วงทศวรรษ 1950- 1960 เป็นการศึกษาสาธารณภัย 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) สาธารณภัยทางด้านความมั่นคงและทางสังคมซ่ึง

9 เป็นผลสืบเน่ืองมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และ 2) สาธารณภัยซ่ึงเป็นผลมาจากภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย แผ่นดินไหว หิมะถล่ม ความแห้งแล้ง เป็นต้น ต่อมาได้มีการศึกษาสาธารณภัยในทางมานุษยวิทยาซ่ึง ปาริฉตั ร ครองขนั ธ์ (2556) ได้กล่าวถึงแนวคิดในการศกึ ษาไว้ 3 ประเดน็ หลกั ดงั น้ี 1) แนวคิดเร่ืองการจัดระเบียบและพฤติกรรม มงุ่ เนน้ ไปทีเ่ ร่อื งพฤตกิ รรมของบุคคลและสังคมที่ ได้รับผลกระทบจากสาธารณภัยในแบบต่าง ๆ ปฏสิ มั พันธ์ระหว่างบคุ คล สังคม และการจดั ระเบียบ สังคมจะเกดิ ข้นึ เพ่ือการเตือนภัย การรบั ผลกระทบ และความสญู เสียทตี่ ามมา 2) แนวคดิ เร่ืองการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและการพฒั นา โดยอาศยั แนวคิดทฤษฎวี ิวฒั นาการ และการศึกษาแบบองค์รวม เพ่อื แสดงใหเ้ หน็ การปรบั ตวั ของสงั คมมนษุ ยต์ ่อการเปลี่ยนแปลง ทางธรรมชาติ เป็นการศึกษาการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมในระยะยาว และ 3) แนวคดิ เรอื่ งอานาจกบั การควบคมุ ทรัพยากร เปน็ การศึกษาแนวคิดเรื่องนเิ วศนว์ ัฒนธรรม และความสัมพนั ธเ์ ชงิ เศรษฐกิจการเมอื ง เชน่ มองวา่ รัฐมีนโยบายทางการเมืองและเศรษฐกิจ บางประการ แม้จะมีเปูาหมายเพื่อขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ก็เป็นนโยบายที่ไม่เหมาะสม กับระบบนเิ วศน์วิทยา เช่น นโยบายการทาเหมืองแร่ การตัดไม้ การชลประทาน การสรา้ งเขือ่ น และโรงงานอุตสาหกรรม อาจส่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงที่อยู่อาศัย การโยกย้ายถ่ินฐาน การทาลาย สภาพแวดลอ้ ม และเปน็ ปัจจัยทท่ี าใหส้ ภาพแวดล้อมเส่ือมโทรม และนาไปสู่การเกดิ สาธารณภัย เป็นต้น (น.19) 2.2 ประวัติศาสตร์การจัดการสาธารณภัยของสหรัฐอเมริกา ปาริฉัตร ครองขันธ์ (2556) กล่าวถึงวิวัฒนาการการจัดการสาธารณภัยของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อ แนวคดิ และการจัดตง้ั องคก์ ารดา้ นการจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยในปัจจบุ ัน โดยแบง่ เป็นช่วงเวลา ตา่ ง ๆ ดงั น้ี • ยุคตน้ 1800-1950 เนน้ การปอู งกันอคั คีภยั • ชว่ งทศวรรษ 1950 ยคุ สงครามเย็นและการเกดิ แนวคิดการปอู งกนั ภยั ฝาุ ยพลเรือน (Civil Defense) • ช่วงทศวรรษ 1960 การรับมือเหตฉุ ุกเฉนิ จากภัยธรรมชาติ • ช่วงทศวรรษ 1970 การบรู ณาการงานดา้ นการจัดการภาวะฉุกเฉนิ • ช่วงทศวรรษ 1980 การปูองกนั ภัยฝุายพลเรอื นเพื่อเผชญิ เหตสุ งครามนิวเคลยี ร์ • ชว่ งทศวรรษ 1990 การรับมือสาธารณภัยทุกประเภท • ปี 2001 การจดั การภัยก่อการรา้ ย ภยั ธรรมชาติ และก่อตั้งหนว่ ยงานใหม่ (น.19) ทที่ 2.3 ประวัติศาสตร์และแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัยในประเทศไทย ชุมชนของไทย ในพ้ืนที่เส่ียงหรือประสบสาธารณภัยมีการเรียนรู้และส่ังสมภูมิปัญญาเพื่อปรับวิถีชีวิตให้อยู่ร่วมกับ ความแปรปรวนของธรรมชาติตามฤดูกาลได้เป็นอย่างดี เช่น ลักษณะของบ้านใต้ถุนสูง การมีรูปแบบ การเพาะปลูกให้เข้ากับสภาพอากาศ การเลือกใช้และปรับปรุงพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีและ ปริมาณน้าซ่ึงเปน็ การปรบั ตวั เพอื่ เผชญิ กบั ภัยธรรมชาติทไี่ มร่ นุ แรงนกั และเนื่องจากในอดีต สาธารณภัยใน

10 ประเทศไทยมีค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ ประเทศไทยจึงมีประสบการณ์ในการจัดการ สาธารณภัยค่อนข้างจากัด และมีเฉพาะกับภัยท่ีเกิดข้ึนเป็นประจา ได้แก่ ภาวะน้าท่วม พายุฝน และภัย แล้งที่เกดิ ขน้ึ ตามฤดกู าลซึง่ มคี วามรนุ แรงไม่มากนกั การเตรียมการต่าง ๆ จึงอยู่บนสมมุติฐานของลักษณะ ภยั ขนาดยอ่ มท่ีมขี อบเขตความรนุ แรงระดับหน่งึ เทา่ นั้น ระบบการเตรียมพร้อม การจัดการในภาวะฉุกเฉิน และการกู้ภัยจึงไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการรองรับภัยขนาดใหญ่ ในทางปฏิบัติ การจัดการสาธารณภัย ในยุคแรก ๆ เน้นเรื่องการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ และการโต้ตอบกับสถานการณ์ฉุกเฉินหรือเหตุการณ์ วิกฤติ นโยบาย ยุทธศาสตร์และกิจกรรมจึงมุ่งไปท่ีการจัดสรรทรัพยากรและบุคลากรเพื่อดาเนินการ ระหว่างเกิดเหตุ การบรรเทาทุกข์ และการฟื้นฟูหลังเกิดเหตุเป็นหลัก เนื่องจากแนวคิดในยุคแรกมองว่า รัฐบาลมีหน้าที่ในการปูองกันและตอบสนองต่อสาธารณภัย ซ่ึงแนวคิดน้ีเป็นผลมาจากยุคสงครามท่ี การต่อต้านการรุกรานจากศัตรูที่เป็นอันตรายต่อพลเมือง และเป็นหน้าท่ีของรัฐบาลในการใช้กาลังทหาร ต่อมา จึงได้เปล่ียนแนวคิดให้การจัดการสาธารณภัยเป็นเร่ืองของชุมชนและสังคมเพราะเกิดแนวคิดท่ีว่า สาธารณภัยส่งผลกระทบต่อชุมชน จึงต้องฝึกให้ชุมชนหรือสังคมตอบสนองต่อสาธารณภัยด้วยตัวเอง (ปารฉิ ตั ร ครองขันธ์, 2556) 2.4 แนวคดิ เกี่ยวกับการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management) เปน็ แนวคดิ การจดั การสาธารณภัยที่ยอมรบั ในสากล โดยเน้นท่ีการเตรียมการในเชิงรุกมากกว่าการจัดการ สาธารณภัย (Disaster Management) ในอดีต และให้ความสาคัญท่ีการจัดการความเส่ียงต่อการเกิด สาธารณภัย ปาริฉัตร ครองขนั ธ์ (2556) ไดใ้ ห้ความหมายของการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั ไว้วา่ “กระบวนการเชิงระบบซึ่งเป็นกระบวนการทางด้านการบริหารจัดการ การตัดสินใจในองค์กร การใช้ทรัพยากรและทักษะทางการปฏิบัติงาน เพ่ือดาเนินการตามยุทธศาสตร์และนโยบายท่ีวางไว้ รวมถึงการพัฒนาปรับปรุงทักษะต่าง ๆ ในการรับมือกับเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบอันร้ายแรง จากสภาวะอันตรายของภยั และลดโอกาสที่จะทาให้ภัยคุกคามกลายเป็นสาธารณภัย การจัดการ สาธารณภัยครอบคลุมถงึ การหามาตรการแกไ้ ขปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาว มุ่งท่ีการวางแผน ตงั้ แตก่ ่อนเกดิ เหตุ ขณะเกิดเหตแุ ละหลงั เกดิ เหตจุ นครบกระบวนการ ซงึ่ ประกอบด้วยการปูองกัน และลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) และการเตรียมความพร้อม (Preparedness) ในระยะก่อนเกิดเหตุ การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Response) ในขณะเกิดเหตุ และการฟ้ืนฟู (Recovery) ภายหลังเหตุการณ์” โดยมีหลักในการบริหารจัดการความเส่ียงจาก สาธารณภัย ดังน้ี 1) มุ่งประเมินและวิเคราะห์โอกาส ความเป็นไปได้ในการเกิดภัยซึ่งเป็นสาเหตุ ไม่ใช่เน้นที่เหตุการณ์สาธารณภัย 2) เน้นการปูองกันก่อนเกิดเหตุ ท้ังในการลดผลกระทบและ การเตรยี มความพรอ้ มเพ่ือเผชิญเหตุการณ์ฉุกเฉิน 3) มีผู้เก่ียวข้องมากมายหลายกลุ่ม 4) มีเปูาหมาย ท่ีจะบูรณาการแนวทางการปูองกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยเข้ากับการพัฒนาที่ยั่งยืน (น. 21-22) ดงั แสดงตามภาพที่ 2

11 ภาพที่ 2 : วงจรการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management Cycle) ท่ีมา : ดดั แปลงจาก ASEAN Disaster Risk Management Course; United Nations Office for the Coordination of Humanitarian Affairs (UNOCHA) 2.5 แนวคดิ เกีย่ วกบั การลดความเสยี่ งจากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction) เปน็ แนวคดิ และแนวทางการปฏิบตั ิในยคุ ปัจจุบนั ท่ีมงุ่ เน้นการลดความเส่ียงจากภัยโดยความรว่ มมือของทุก ภาคส่วนในการวเิ คราะหค์ วามเส่ียงในดา้ นต่าง ๆ และจดั การความเสี่ยงอันเป็นสาเหตุของการเกิดสาธารณภัย ให้ลดน้อยลง เช่น การลดการเผชิญสภาวะที่เป็นอันตราย การลดความล่อแหลม (Exposure) ความเปราะบาง (Vunerability) ของชุมชนและสิ่งแวดล้อม การกาหนดให้มีการใช้ท่ีดินและทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ และการปรับปรงุ การเตรยี มความพร้อมเพื่อรบั เหตุการณ์ เปน็ ต้น การลดความเส่ยี งจากสาธารณภยั เน้นในชว่ งกอ่ นเกิดภยั โดยมีขอบเขตการดาเนินงานที่ครอบคลุม 3 ด้านหลัก ๆ ได้แก่ การปูองกัน การลดผลกระทบและการเตรียมความพร้อม ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีสามารถ ทาได้ทกุ วัน สว่ นการจัดการสาธารณภัยน้ัน จะดาเนนิ การต่อเม่ือเกิดภัยขึ้นโดยครอบคลุมถึงการตอบโต้ใน สภาวะฉกุ เฉินและการฟ้นื ฟู (ภาพท่ี 3) อย่างไรก็ตาม หากเมือ่ เกดิ ภัยขึ้นแล้วก็สามารถประยุกต์ใช้แนวคิด การลดความเส่ียงจากสาธารณภัยให้เป็นส่วนหนึ่งของการฟ้ืนฟูได้ ดังเช่นแนวความคิดการสร้างใหม่ให้ ดกี ว่าเดมิ (Build Back Better)

12 ภาพท่ี 3 : แผนภูมแิ สดงความสมั พันธ์ระหวา่ งการลดความเส่ยี งจากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction: DRR), การจดั การสาธารณภัย (Disaster Management: DM) และการบรหิ ารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management: DRM) ท่ีมา: ดดั แปลงจาก ADPC, 2012 คาอธบิ ายความหมายการลดความเส่ยี งจากสาธารณภัยและการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั การเกิดสาธารณภัยแต่ละครั้งมักประกอบด้วยปัจจัยสาคัญ ได้แก่ ภัย (Hazard) ความเปราะบาง (Vulnerability) และความสามารถในการรบั มอื (Capacity) ซง่ึ ปัจจยั เหลา่ นี้ จะส่งผลต่อระดบั ความเสี่ยง (Risk) ท่ีจะทาให้ เกิดสาธารณภัย ซึ่งในส่วนของปัจจัยที่เป็นภัย (Hazard) ถ้าเป็นภัยทางธรรมชาติแล้ว เป็นส่ิงที่ควบคุมได้ ยาก ในขณะที่ปัจจัยด้านความเปราะบางและความสามารถในการรับมือนั้นเป็นผลต่อเน่ืองมาจากปัจจัย ทางสังคมและเศรษฐกิจท่ีสามารถควบคุมได้ เช่น ถ้าประชาชนสร้างบ้านเรือนที่ไม่ถูกหลักทางวิศวกรรม และตั้งถ่ินฐานอยู่ในบริเวณริมแม่น้าซึ่งมีโอกาสได้รับผลกระทบจากน้าท่วม ก็จะมีความล่อแหลมเปราะบางสูง ซึ่งจะทาให้มีความเสี่ยงจากภัยสูงขึ้นตามมา ในขณะท่ีถ้าประชาชนมีระบบเตือนภัยที่ดีหรือประชาชนมี การเตรียมความพร้อมสาหรับการอพยพเมื่อได้ยินการเตือนภัย ประชาชนเหล่านั้นก็ถือว่ามีความสามารถ ในการรับมือสูง ซึ่งก็จะทาให้ความเส่ียงภัยต่าลง ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาจึงได้ มีการปรับเปล่ียน กระบวนทัศน์ในเรื่องการบริหารจัดการสาธารณภัย จากการจัดการสาธารณภัย (Disaster Management) ที่ เน้นการบรรเทาทุกข์ภายหลังจากที่ภัยเกิดขึ้นแล้ว ไปสู่การเตรียมความพร้อมและการลดผลกระทบก่อน เกิดเหตุ และได้มีการยอมรับความสาคัญของการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยโดยผนวกไว้ใน แผนการพัฒนาต่างๆ มากขึ้นโดยเช่ือว่าการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาท่ี ยัง่ ยนื ซึ่งเป็นเปูาหมายสาคญั ของสหประชาชาตใิ นทศวรรษน้ี

13 2.6 แนวทางการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยกับการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื การเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศของโลกในปัจจุบันซ่ึงมีสาเหตุหลักมาจากการทาลายสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของมนุษย์ เป็น ปัจจัยหนึ่งท่ีมีผลให้เกิดความเสี่ยงต่อสาธารณภัยทางธรรมชาติซ่ึงส่งผลกระทบต่อประชากรโลก โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง เช่น เด็ก สตรีผสู้ งู อายุ ผพู้ กิ าร จึงมีแนวคิดนอกเหนือจากการลดความเส่ียงจาก สาธารณภัยแล้ว ได้แก่ แนวคิดเรื่องการปรับตัวเพ่ือรับการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศภายใต้กรอบ การพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน ซ่ึงปารฉิ ัตร ครองขันธ์ (2556) ไดก้ ลา่ วถงึ ปจั จัยหลกั 2 ประการในกระบวนการทางาน เพ่ือลดความเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัยและนาไปสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน ได้แก่ 1) การบริหารจัดการที่ดี และ 2) การสร้างความสามารถในการจดั การสาธารณภัยในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชุมชนหรือระดับประเทศ ซ่ึงถือเป็นการทางานร่วมกนั ระหว่างภาครัฐและชุมชน กล่าวคือ ภาครัฐมีหน้าท่ีสร้างสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัย โดยเปิดโอกาสให้ทุกกลุ่มสังคมเข้าร่วมในการวางแผนดาเนินการและเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้อง ส่วนชุมชนก็มี หน้าที่สร้างความสามารถในการรับมือกับสาธารณภัย ไม่ว่าจะเป็นการสร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ การพัฒนา ทักษะในการช่วยเหลือ กู้ภัย ประเมินสถานการณ์หรือการให้ความช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนให้พร้อม รบั มือกบั ภัยได้ (ภาพที่ 4) ภาพที่ 4 : ปัจจยั สาหรบั การพฒั นาทย่ี งั่ ยืนและการลดความเสี่ยงสาธารณภัย 2.7 กระบวนการบรหิ ารจดั การความเสีย่ งสาธารณภยั 1) กาหนดบริบท (Establish context) เป็นการค้นหาข้อมูลเบ้ืองต้นของพื้นท่ี เพื่อทา ความเขา้ ใจเก่ียวกับสภาพแวดล้อม ตัวอย่างของบริบทที่ควรพิจารณา ได้แก่ ขอบเขตอานาจในการดาเนินการ ของหน่วยงานด้านการจัดการสาธารณภัย ชื่อพ้ืนท่ีและขอบเขตการปกครองที่รับผิดชอบองค์ประกอบ

14 และบทบาทของกลุ่มท่ีต้ังข้ึนมาหรือมีอยู่แล้วในการดาเนินการจัดการสาธารณภัย พันธมิตรหรือผู้มีส่วน เก่ียวข้องทงั้ หมด กระบวนการตดิ ตามและประเมินผล ปัจจัยทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งและสง่ิ แวดลอ้ ม 2) ระบคุ วามเสีย่ งภัย (Identify the risk) เป็นการกาหนดภยั หรือสภาพอันตราย และรวบรวมความรู้เกี่ยวกับสภาพอันตรายน้ัน ๆ ทาได้โดยกาหนดความเปราะบางและสิ่งที่มีความเส่ียง สาธารณภัย ระบุความสามารถที่มีและตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างสภาพอันตรายหรือภัย กับสิ่งท่ีมี ความเสยี่ ง และความสามารถ ซ่ึงจากขั้นตอนน้ี จะได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพอันตรายหรือภัย ข้อมูลเก่ียวกับ ส่ิงที่มีความเสี่ยงภัย (Elements At Risk) ข้อมูลเก่ียวกับความสามารถของชุมชนหรือองค์กร ซ่ึงอยู่ในรูปของ ตารางที่แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งภยั หรอื สภาพอนั ตราย สง่ิ ทมี่ คี วามเสยี่ งและความสามารถ บทท่ี 1 3) วเิ คราะห์ความเส่ียง (Analyze the risk) เปน็ การประมวลข้อมลู ปัจจัยความเสีย่ ง ท้ังหมด โดยใช้ตวั ชว้ี ดั เชน่ ความถข่ี องการเกดิ ภยั และระดับผลกระทบทีอ่ าจเกดิ ขึน้ เพ่ือกาหนดระดับของ ความเส่ียง โดยสามารถอาศัยตารางท่ี 2 ในการพิจารณา หรืออาจกาหนดระดับความเสี่ยงเป็นตัวเลข เช่น ความเสี่ยงน้อย กาหนดให้เป็นเลข 1 ความเส่ียงสูง กาหนดให้เป็นเลข 2 ความเส่ียงสูงสุดกาหนดให้เป็นเลข 3 เป็นตน้ โอกาสเกดิ สงู โอกาสเกดิ สูง ผลกระทบต่า ผลกระทบต่า โอกาสเกดิ สูง โอกาสเกดิ สูง ผลกระทบตา่ ผลกระทบต่า ตารางท่ี 2 : ความสมั พันธ์ระหว่างโอกาสเกิดภยั และผลกระทบเพือ่ การวิเคราะห์ความเสยี่ ง 4) ประเมินความเสี่ยง (Evaluate the risk) เป็นการประเมินว่าความเส่ียงใดเป็นความเส่ยี ง ในระดับทีร่ ับได้ หรอื รับไมไ่ ด้ และจดั ลาดบั ตามความสาคัญเพอ่ื กาหนดวธิ กี ารแก้ไข 5) จัดการความเสี่ยง (Treat the risk) เป็นการจัดการกับความเส่ียงท่คี วรไดร้ ับการแก้ไข หรือเปน็ ความเสี่ยงทีไ่ ม่สามารถยอมรับได้ สามารถทาได้หลายระดับ เช่น 1) การบรรเทาความเสี่ยงน้ันให้ ลดลงดว้ ยมาตรการเพื่อปูองกัน ลดผลกระทบและเตรียมความพร้อมก่อนเกิดเหตุ หรือ 2) การถ่ายโอนความเส่ียง ด้วยการทาประกันภัย การตงั้ กองทุนกู้ยืมสาหรับเหตุการณ์สาธารณภัย หรือกลไกทางการเงินต่าง ๆ หรือ 3) การขจดั ความเสี่ยงอย่างส้นิ เชงิ จากการย้ายถิ่นฐาน เป็นตน้

15 3. แนวคิดเก่ียวกับการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ของหนว่ ยงานด้านการฝกึ อบรมในระดับสากล ผู้ศกึ ษาไดร้ วบรวมองค์ความรู้เก่ียวกับการจัดทาและฝึกอบรมหลักสูตรด้านการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภัยจากหนว่ ยงาน /สถาบนั /องคก์ ารด้านการฝึกอบรมต่าง ๆ ท้ังในและต่างๆประเทศ เพื่อนามาใช้ ประกอบในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์องค์ความรู้ท่ีสาคัญในการจัดทาหลักสูตรด้านการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภัยที่มีมาตรฐานสากล ท้ังน้ี ผู้ศึกษาได้ทบทวนองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ดังกล่าว ได้แก่ วิทยาลัยปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์เตรียมความพร้อมปูองกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย (Asian Disaster Preparedness Center : ADPC) กรมบรรเทาทุกข์และการต้ังถิ่นฐานใหม่แห่งสหภาพพม่า (Myanmar Relief and Resetlement Department: DRR) สถานบันฝึกอบรมด้านการจัดการสาธารณภัย ของประเทศสิงคโปร์ (Singapore Civil Defence Academy : SCDA) หน่วยงานด้านการจัดการสาธารณภัย ของประเทศสหรัฐอเมรกิ า (Federal Emergency Management Agency : FEMA) 3.1 หลักสูตรท่ีดาเนินการโดยวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมปูองกันและบรรเทา สาธารณภัย ที่ผ่านมาได้จัดทาและดาเนินการฝึกอบรมหลักสูตรด้านการบริหารจัดการสาธารณภัยให้แก่ ผู้เข้ารับการอบรมจากสหภาพพม่า และจัดทาชุดวิชาด้านการจัดการสาธารณภัยสอดแทรกไว้ในหลักสูตร ตา่ ง ๆ สาหรับการอบรมบุคลากรของกรม โดยมเี น้ือหาสาระ ดังน้ี 3.1.1 หลกั สตู รการจัดการสาธารณภยั (Disaster Management) สาหรับเจา้ หน้าท่ี ผ้รู ับผดิ ชอบงานด้านสาธารณภยั แหง่ สหภาพพมา่ หัวข้อวิชา สาระสาคัญ ชว่ั โมง 3 1. ความเปน็ มาและ 1. ภารกจิ ของกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย 3 3 ภารกจิ ของกรมปูองกนั 2. ยุทธศาสตร์ วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ ของกรมปูองกันและบรรเทา 3 และบรรเทาสาธารณภยั สาธารณภยั 3 2. หลักการบริหาร 1. กระบวนการและองคป์ ระกอบของการบริหารจัดการสาธารณภัย จัดการสาธารณภัยของ 2. พระราชบัญญัตปิ ูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.2550 ประเทศไทย และกฎหมายที่เกย่ี วข้อง 3. อาเซียนกับการ 1. กฎหมาย ขอ้ ตกลงระหว่างประเทศดา้ นสาธารณภยั บรหิ ารจดั การสาธารณภัย 2. ความรว่ มมือในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดา้ นสาธารณภยั ของประเทศไทย 4. แผนปูองกันและ 1. แผนปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั ชาติ พ.ศ.2553-2557 บรรเทาสาธารณภยั ของ 2. แผนปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดบั ตา่ งๆ ประเทศไทยและการนา 3. การฝึกซ้อมแผนปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย แผนไปสูก่ ารปฎบิ ตั ิ 5. การส่งเสรมิ การมสี ว่ น 1. โครงการชุมชนเขม้ แข็งเตรียมพร้อมปูองกันภยั

16 หวั ข้อวิชา สาระสาคญั ชวั่ โมง 3 ร่วมของชมุ ชนในการ 2. อปพร. OTOS และ ERT 3 ปอู งกนั และบรรเทา 3. การฝกึ ซอ้ มแผนปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย 3 6 สาธารณภยั 12 6. การจดั การภัยพิบตั ิ 1. แนวทางในการลดความเสย่ี ง (การบริหารจัดการความเส่ียงจาก 6 โดยอาศยั ชมุ ชนเปน็ ฐาน ภยั พิบตั ิ การเรยี งลาดบั ความเสยี หายท่เี ปน็ ผลกระทบจากภัยพบิ ตั ิ การเพิ่มความสามารถของชมุ ชนเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ) 2. แนวทางการจดั การความเสี่ยงจากภยั พบิ ัตโิ ดยอาศยั ชมุ ชนเป็นฐาน 3. การประเมินความเส่ียงภัยโดยอาศัยชุมชนเปน็ ฐาน 4. การประเมินความเสียหายและความต้องการการชว่ ยเหลอื 7. การเตรยี มความ 1. เคร่ืองมือในการบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤต พรอ้ มรับภยั และการ 2. การควบคุม ส่อื สาร สง่ั การ ตัดสินใจในภาวะวกิ ฤต บรหิ ารจดั การในภาวะ 3. ระบบบัญชาการในภาวะวิกฤต วกิ ฤต 8. โครงการความ 1. แนวทางการดาเนนิ การความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย ปลอดภัยทางถนนใน 2. ระบบการจัดการดา้ นการรณรงคข์ ับขีป่ ลอดภยั ประเทศไทย 3. การดาเนนิ การปแี ห่งความปลอดภัยทางถนน 9. ระบบการบัญชาการ 1. บทนาและภาพรวมของ ICS 100 เหตุการณ(์ Incident 2. ความรเู้ บอื้ งต้นเกย่ี วกับการสง่ั การในเหตฉุ ุกเฉนิ Command System : 3. หนา้ ท่ขี องผบู้ ังคบั บัญชาสถานการณ์และเจ้าหนา้ ที่สัง่ การ ICS) 4. สถานที่ในการสัง่ การและความรบั ผดิ ชอบของเจา้ หน้าที่สั่งการ 5. ความเป็นผนู้ าและการจดั การ 6. การแบ่งสายการบังคับบัญชา และการจัดการตามวตั ถปุ ระสงค์ 7. ตาแหน่งและหนา้ ท่ีในการปฏบิ ัตกิ าร 8. ความยดื หยนุ่ ขององคก์ ร และการถา่ ยทอดสั่งการ 10. GIS Application 1. ความรู้เบื้องตน้ เก่ยี วกบั GIS , RS, GPS 2. ความรู้ข้ันสงู เกย่ี วกบั Geo - Informatics 3. ระบบการเตือนภัยลว่ งหนา้ 4. Geo – Informatics สาหรบั การจัดการภัยพิบตั ิ 5. การประยุกต์ใชก้ ับสาธารณภัยประเภทต่างๆ 11. Sentinel Asia 1. ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ียวกับระบบ Sentinel Asia System 2. โครงการ Glide – ASEAN 3. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสาธารณภัยใน

17 หวั ข้อวิชา สาระสาคัญ ช่ัวโมง ประเทศไทย 12 12 4. การใช้เครอื่ งมอื ในการสืบค้นข้อมลู สารสนเทศสาธารณภัยของ 6 45 กรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 12. ระบบการแจ้งเตอื น การแจ้งเตือนภยั ในประเทศไทย ภัย 13. ระบบบริการ การจัดการสาธารณภยั โดยใช้ระบบบรกิ ารทางการแพทย์ฉุกเฉิน การแพทย์ฉุกเฉิน 14. สมั มนา ระดมสมอง 1. อภปิ รายความรู้ด้านการจัดการสาธารณภัย การแก้ไขปัญหา 2. การนาเอาความรดู้ า้ นการจดั การสาธารณภัยไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น สาธารณภยั ประเทศพม่า 15. การศกึ ษาดงู านด้าน 1. ศกึ ษาดงู านการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั และชมการสาธติ การปูองกนั และบรรเทา การปูองกันและระงับ โครงการชมุ ชนเขม้ แข็ง ระบบการเตือนภยั สาธารณภัย และระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จานวน 93 ช่ัวโมง 15 วนั ตารางท่ี 3 : สรปุ รายละเอียดหลกั สตู รการจดั การสาธารณภยั (Disaster Management) สาหรบั เจ้าหน้าท่ีผ้รู บั ผิดชอบงานด้านสาธารณภัยแหง่ สหภาพพมา่ 3.1.2 ชุดวชิ าดา้ นการจดั การสาธารณภยั ทสี่ อดแทรกไว้ในหลักสูตรตา่ ง ๆ สาหรบั การอบรม บุคลากรของกรม หัวข้อวิชา สาระสาคญั ชั่วโมง 1. หลกั การจดั การ 1. คานยิ ามและประเภทสาธารณภัยตามพระราชบัญญัติปูองกัน 3 สาธารณภยั ของ และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ประเทศไทย 2. การจดั การสาธารณภัย - การเตรียมความพร้อม - ก่อนเกิดภัย (การปอู งกันและลดผลกระทบ) - ขณะเกดิ ภัย (การบรหิ ารจดั การในภาวะฉุกเฉิน) - หลังเกดิ ภัย (การจัดการหลังเกดิ ภยั ) 3. ผู้เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การภัยพบิ ัติตาม พ.ร.บ.ปูองกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. 2550 - ระดบั นโยบาย/ระดบั ปฏิบัติการ 2. แผนการปูองกนั และ 1. แผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั ระดับชาติ 3

18 หวั ข้อวิชา สาระสาคัญ ช่วั โมง 3 บรรเทาสาธารณภยั 2. แผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยกลุ่มจังหวัด จังหวัด และแผนปฏบิ ัติการระดบั ท้องถน่ิ 3. แนวทางการฝึกซ้อมแผนระดับชาติ กลุ่มจังหวัด และระดับ จงั หวดั 3. การจัดการความเสีย่ ง 1. หลักการจัดการความเส่ียงภัยพบิ ตั โิ ดยอาศัยชมุ ชนเป็นฐาน ภัยพิบัตโิ ดยอาศยั ชมุ ชน 2. ข้ันตอนการจัดการความเส่ียงภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน เป็นฐาน (CBDRM) 3. การเสริมสรา้ งศักยภาพชุมชน 4. การปฏิบัตเิ ม่อื เกดิ 1. การเฝาู ระวัง การแจ้งเตือนภัย และการประเมินสถานการณ์ 3 สาธารณภัย 2. การจดั ตั้งศนู ย์อานวยการเฉพาะกจิ 3 - การประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉนิ 5. การบญั ชาการ - การส่อื สารในภาวะฉุกเฉนิ เหตกุ ารณ์ (Incident - การค้นหาและกภู้ ัย Command System : - การอพยพ (จัดระบบ แบ่งกลุ่ม จัดลาดบั ฯลฯ) ICS) - การรกั ษาความสงบเรียบร้อย - การพิสจู นเ์ อกลกั ษณ์บุคคล - การประเมินความเสียหายและความต้องการเบ้อื งตน้ - การประสานการปฏบิ ัติองค์กรสาธารณกศุ ล - การรบั บริจาค - การประสานความช่วยเหลือจากตา่ งประเทศ - การรายงาน - การขอใช้เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยพิบัตกิ รณี ฉกุ เฉนิ 3. การประกาศเขตพนื้ ทีป่ ระสบภัยพบิ ัติ 4. การช่วยเหลือและฟื้นฟูบรู ณะผปู้ ระสบภยั และพื้นทปี่ ระสบภัย 5. กรณศี ึกษาและแนวทางการแก้ไขปัญหา 1. ความสาคญั ของระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ 2. โครงสร้าง/องค์ประกอบ บทบาทหน้าท่ีของแต่ละส่วนใน การตอบโต้เหตุฉกุ เฉนิ 3. การจัดองคก์ รการกภู้ ยั 4. ตาแหน่งและความรับผิดชอบใน ICS 5. การบัญชาการเหตุการณ์ในภาวะวิกฤต (การตัดสินใจและ

19 หวั ข้อวิชา สาระสาคัญ ชั่วโมง การสั่งการ) 3 6. ระบบบรกิ ารทาง 6. แผนการเตรยี มประสานงานสาหรับการกู้ภัยเหตุฉุกเฉิน 3 การแพทย์ฉกุ เฉนิ 1.ความหมายของระบบบรกิ ารทางการแพทย์ฉุกเฉิน : EMSS (Emergency Medical 2. ลักษณะการทางานระบบบรกิ ารทางการแพทยฉ์ ุกเฉิน Service System) 3. การใหค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยประเภทตา่ งๆ 7. การใหค้ วาม 4. กรณีศึกษาการให้บรกิ ารทางการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ช่วยเหลอื และการ 1. การใหค้ วามชว่ ยเหลอื โดยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สงเคราะห์ผู้ประสบภยั 2. การใหค้ วามช่วยเหลือตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงิน ทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 3. การให้ความช่วยเหลือโดยงบกลาง 4. เงนิ บริจาคจากแหลง่ อ่นื 5. พระราชบัญญัติสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยเน่ืองจากการ ช่วยเหลือราชการ การปฏิบัติงานของชาติ หรือการปฏิบัติหน้าที่ มนุษยธรรม พ.ศ. 2553 ตารางท่ี 4 : สรุปรายละเอยี ดหลกั สูตรดา้ นการจดั การสาธารณภยั ท่ีสอดแทรกไวใ้ นหลักสูตรตา่ ง ๆ สาหรับ การอบรมบุคลากรของกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 3.2 หลักสูตรที่ดาเนินการโดยศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย (Asian Disaster Preparedness Center : ADPC) ชดุ วิชา/หัวข้อวิชา ขอบเขต/สาระสาคญั บทท่ี 1: ภาพรวมการบรหิ าร  คาศัพทแ์ ละแนวคดิ พนื้ ฐานเก่ียวกับการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั จัดการสาธารณภยั  ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับการบริหารจัดการสาธารณภยั  รปู แบบและลกั ษณะของอุทกภัย (Nature of Flood) บทที่ 2: ความรู้เกย่ี วกบั อุทกภัย  การระบแุ ละประเมินความเสี่ยงอทุ กภัย และความเสยี่ งจากอุทกภัย  การจัดการพื้นท่รี าบน้าทว่ มถึงแบบบรู ณาการ บทท่ี 3 : การวางแผนและการ  มาตรการเพอ่ื ลดผลกระทบความเส่ยี งอุทกภัย บริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง  มาตรการการเตรยี มตัวเพือ่ ลดความเส่ยี งอุทกภยั อุทกภยั ในพน้ื ท่รี าบน้าท่วมถึง อย่างบูรณาการ

20 ชุดวชิ า/หัวข้อวิชา ขอบเขต/สาระสาคญั ส่วนที่ 1: “การเตือนภยั อยา่ งครบวงจร” บทท่ี 4 : การรบั มือสถานการณ์ ฉุกเฉนิ จากอุทกภัย สว่ นท่ี 2: “การวางแผนเตือนภยั และอพยพ” บทที่ 5 : การประเมนิ ความ เสยี หายและการวางแผนฟนื้ ฟู  การวางแผนบริหารจดั การสถานการณฉ์ ุกเฉินจากอุทกภยั การ บรหิ ารจดั การอาสาสมัครในภาวะสาธารณภัย บทที่ 6 : แนวทางการนาหลักการ บริหารจัดการความเสีย่ งอุทกภัย  ตอนที่ 5.1 : การประเมินความเสียหายและการวางแผนฟื้นฟู ไปปฏบิ ัติ ตอนท่ี 5.2: การประกันภัยและการบริหารความเส่ียงด้านการเงนิ อนั เนือ่ งมาจากอุทกภัย  ตอนที่ 6.1: การบูรณาการแนวความคิดการลดความเส่ียง สาธารณภัยเพ่อื จัดทาแผนพัฒนา ตารางท่ี 5 : สรปุ รายละเอยี ดหลักสตู ร DRM ทดี่ าเนินการโดยศนู ย์เตรยี มความพร้อมปอ้ งกันภยั พิบตั ิแห่งเอเชยี 3.3 หลักสูตรท่ีดาเนินการโดยกรมบรรเทาทุกข์และการตั้งถ่ินฐานใหม่แห่งสหภาพพม่า (Myanmar Relief and Resetlement Department: DRR) ชดุ วิชา/หัวข้อวิชา ขอบเขต/สาระสาคญั ชุดวิชาท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ - แนวคิดและคานยิ ามศัพท์ด้านการจดั การความเสีย่ งจากสาธารณภยั เก่ยี วกับการจดั การความเสี่ยง ความเสี่ยงสาธารณภยั จากสาธารณภัย - DRM Cycle - Disaster Model ชดุ วิชาที่ 2 ความเสี่ยงและ - ระบบการจัดการสาธารณภัยในพม่า สาธารณภยั ที่เกิดจากธรรมชาติ - ความเส่ียง ในสหภาพพม่า - ปจั จยั ด้านสภาพภูมิอากาศท่ีเปลี่ยนแปลงซง่ึ ส่งผลให้เกิดความเสยี่ ง ชดุ วชิ าท่ี 3 แนวทางการจัดการ - ภัยทางธรรมชาตขิ องพมา่ ทเี่ กดิ จากนา้ สภาพภูมิอากาศ และอคั คีภยั ความเส่ียงจากสาธารณภยั - แนวทางการบรหิ ารจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภยั - การเตรยี มความพร้อมรบั มือสาธารณภัย ชดุ วชิ าที่ 4 การสร้างความ - การตอบโตส้ าธารณภัย ปลอดภัยและการพร้อมรับและ - การฟนื้ ฟูสาธารณภัย ฟน้ื กลบั เรว็ - การปูองกนั และลดผลกระทบจากสาธารณภัย - การสรา้ งความปลอดภัยจากสาธารณภยั - การสรา้ งความตระหนักใหแ้ ก่ประชาชนในอนาคต

21 ชดุ วิชา/หัวข้อวิชา ขอบเขต/สาระสาคญั - การพัฒนาและบรรจุเร่อื งการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยไว้ใน ชุดวิชาที่ 5 ประเด็นแทรกซ้อน แผนพฒั นาและการดาเนนิ แผนงานต่าง ๆ เกย่ี วกับการบริหารจัดการความ - ปจั จยั แทรกซอ้ นท่ีมผี ลต่อการจดั การความเสีย่ งจากสาธารณภัย เส่ียงจากสาธารณภัย ทค่ี วรพจิ ารณา ไดแ้ ก่ เพศ อายุ กล่มุ เปราะบาง การจดั การความ เสี่ยงจากสาธารณภัยโดยชุมชนเปน็ ฐาน และการสาธารณสุข ตารางท่ี 6 : สรุปรายละเอียดหลักสูตร DRM ที่ดาเนินการโดยกรมบรรเทาทุกข์และการต้ังถ่ินฐานใหม่แห่งสหภาพ พม่า (Myanmar Relief and Resetlement Department: DRR 3.4 หลักสูตรที่ดาเนินการโดยสถาบันฝึกอบรมด้านการจัดการสาธารณภัยของประเทศสิงคโปร์ (Singapore Civil Defence Academy : SCDA) หลักสตู รด้านการจัดการสาธารณภยั (Disaster Management) ทด่ี าเนนิ การโดย SCDA ประเทศสงิ คโปร์ ส่วนใหญเ่ ปน็ หลักสูตรนานาชาติ ซึ่งผู้วิจยั ได้สบื คน้ ข้อมลู ทางไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์ พบว่ามจี านวน 3 หลักสตู ร ดังน้ี (http://www.scdf.gov.sg/content/scdf_internet/en/general/e- services/course-seminars.html) หลักสูตรที่ 1 หลกั สตู รท่ี 2 หลกั สตู รที่ 3 ระยะเวลา : 10 วัน ระยะเวลา :14 วัน ระยะเวลา : 7วนั กลุ่มเป้าหมาย : ระดับหวั หนา้ งานดา้ น กล่มุ เป้าหมาย : เจา้ หน้าทีภ่ าครฐั / กล่มุ เป้าหมาย : เจา้ หน้าท่ีระดบั การเผชญิ เหตฉุ ุกเฉนิ จากหน่วยงาน หวั หน้าหน่วยระงับอคั คภี ยั ที่ อาวุโสท่ีทาหนา้ ทก่ี าหนดนโยบายหรือ ภาครฐั ทีร่ ับผิดชอบด้านการจดั การ รบั ผิดชอบการเผชญิ เหตุฉกุ เฉนิ รบั ผิดชอบงานด้านการจัดการ สาธารณภัยและการลดความเส่ยี งจาก สถานการณ์ฉกุ เฉนิ / หวั หนา้ หนว่ ย สาธารณภัย หัวข้อวิชา : ระงับอคั คีภยั และสถานการณ์ฉกุ เฉิน หวั ขอ้ วชิ า : 1. การจดั การสาธารณภยั และความ หวั ขอ้ วิชา : 1. แนวคิดเกี่ยวกบั ความเสยี่ งสาธารณ เสย่ี งจากสาธารณภยั (Risk and 1. ความเปล่ียนแปลงของภัยทาง ภัย การจดั การสาธารณภยั และภาวะ Disaster Management) ธรรมชาติ (Dynamic of Natural วิกฤต (Principles of risk, crisis and 2. การวางแผนเผชญิ เหตุฉกุ เฉิน Hazards) disaster management) บทบาทของหนว่ ยงานภาครัฐ การ 2. ระบบการจดั การสถานการณว์ กิ ฤต 2. กรอบงานนโยบายดา้ นการลดความ ให้ความชว่ ยเหลือจากหน่วยงาน (Crisis Management System) เส่ียงจากสาธารณภยั และการจดั การ ระหวา่ งประเทศ และองคก์ รเอกชน 3. การจัดการภยั จากการก่อการรา้ ย (Policy frameworks for risk (Contigency Planning และโรคตดิ ต่อ (Managing reduction and management )เช่น Role of Government Agency, emerging threats-Terrorism and building codes...เปน็ ต้น infectious Disease)

22 หลักสูตรท่ี 1 หลกั สูตรที่ 2 หลักสตู รท่ี 3 3. การเตรยี มความพร้อมรับมือสาธารณ International Assistance & 4. หนว่ ยงานด้านการตอบโต้ ภยั และระบบการเตือนภยั ลว่ งหน้า NGOs) สถานการณ์ฉุกเฉนิ (Organisation (Preparedness and early warning 3. การจัดการกบั ผูเ้ สียชีวติ และไดร้ ับ of Emergency Response Force) systems) ผลกระทบจากสาธารณภยั (Mass 5. กรอบงานด้านการจัดการสาธารณ • มาตรการปูองกันและลดผลกระทบ Casualty Management) ภัยที่มปี ระสิทธภิ าพ (Management และการลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั 4. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ Frameworks for Effective (Risk Reduction and mitigation (Application of Technology) Disaster Management) measures) 5. การจัดการสถานการณ์วิกฤต 6. ความร่วมมือระหว่างทหารและ • การวางแผนเผชญิ เหตฉุ ุกเฉินและ (Critical Incident Stress พลเรือน (Civil- Military ความตอ่ เนื่อง (Contingency and Management) Cooperation) continuity Planning) 6. การจัดการสื่อและสารสนเทศ 7. การสร้างชมุ ชนเข้มแข็งทสี่ ามารถรู้ • การวางแผนความต่อเน่อื งทางธรุ กจิ (Information & Media รบั และปรับตัวจากผลกระทบของ (Business continuity planning) Management) สาธารณภยั (Building Resilience • บทบาทของภาครฐั องคก์ ารระหวา่ ง 7. การวางแผนและการฝกึ ซ้อม๖ Community) ประเทศ และองค์การเอกชน (Roles of (Planing & Conduct of 8. บทบาทของหน่วยงาน Government Agencies, Roles of Exercise) สหประชาชาติและองคก์ รเอกชนใน International Organisations and การใหค้ วามช่วยเหลอื ด้านมนุษยธรรม NGOs) (Role of UN Agency and NGOs • ศักยภาพผูน้ าในสถานการณว์ ิกฤต in Humanitarian) (Home Team Crisis Leadership 9. ศกั ยภาพของผู้นาในสถานการณ์ Competency Framework) วิกฤต (Crisis Leadership • บทบาทและการใช้เทคโนโลยี Compentency Framework) สารสนเทศ (Role of and 10. การสรา้ งความปลอดภยั จาก Application of Technologies) สาธารณภยั (Management of • การจัดการสถานการณ์วกิ ฤต(Critical Security in Disaster) Incident Stress Management) 11. การใช้เทคโนโลยีในการจดั การ • การจัดการสารสนเทศและส่ือ สถานการณ์ (Use of Technologies (Information & Media in managing incidents) Management) 12. การส่อื สารในภาวะวิกฤตและการ • การวางแผนและการจัดการฝกึ ซอ้ ม จดั การส่อื (Crisis Communication การจัดการสาธารณภัย (Planning & and Media Management) Conduct of Exercises) ตารางท่ี 7 : สรุปรายละเอียดหลักสูตร DRM ที่ดาเนินการโดย สถาบันฝึกอบรมด้านการจัดการสาธารณภัยของ ประเทศสงิ คโปร์

23 3.5 หลักสูตรท่ีดาเนินการโดยหน่วยงานด้านการจัดการสาธารณภัยของประเทศสหรัฐอเมริกา (Federal Emergency Management Agency : FEMA) Federal Emergency Management Agency (FEMA) และ Emergency Management Institute (EMI) ได้ร่วมกันจัดทาโครงการฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการเหตุการณ์สาธารณภัยระดับชาติ (National Incident Management System Training Program) หรือเรียกโดยย่อว่า NIMS Training Program ประกอบด้วยชดุ วชิ าสาคัญต่าง ๆ ท่ีจาเป็นสาหรับผู้เข้ารับการอบรมซึ่งเป็นเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานด้านการ จัดการสาธารณภัยในระดับท้องถิ่นถึงระดับประเทศ ในรูปแบบช้ันเรียน และระบบออนไลน์ โดยมีเปูาหมาย โครงการเพ่ือพัฒนาศักยภาพ (ทักษะ ความรู้ ความสามารถ) ของผู้เข้ารับการอบรมให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถข้ันพื้นฐานไปจนถึงศักยภาพหลักที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการงาน สาธารณภัย เช่น ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์การบริหารจัดการสาธารณภัย แนวโน้มสาธารณภัยในอนาคต การกาหนดนโยบายการบริหารจัดการสาธารณภัย องค์ความรู้ในการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การติดต่อส่ือสาร การบริหารจัดการทรัพยากรและการสั่งการ กฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวข้อง การประเมินความเส่ียงจากสาธารณภัย การเป็นผู้นาในการจัดการสาธารณภัย และการตัดสินใจอย่างมี ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการงบประมาณ การบริหารสาธารณะ การวางแผนและการพัฒนาชุมชนเพื่อ การจัดการสาธารณภัย การสร้างเครือข่ายระหว่างภาครัฐ เอกชน และองค์กรเอกชน และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการจดั การสาธารณภัย เป็นต้น การฝกึ อบรมดา้ นการบริหารจดั การเหตกุ ารณส์ าธารณภัยระดับชาติ ประกอบดว้ ยชดุ วิชาหลกั เกี่ยวกับการบัญชาการสถานการณ์ (Incident Command System : ICS) และระบบการบริหารจัดการ สาธารณภัยระดับชาติ (National Incident Management System : NIMS) ซ่ึงผู้วิจัยได้สรุปสาระสาคัญ ในชุดวิชาที่จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ดังน้ี (ตารางที่ 8) ชดุ วิชา สาระสาคัญ  IS-100.b - (ICS 100) กลมุ่ เปา้ หมาย : เจา้ หน้าทีร่ ฐั ทีร่ บั ผดิ ชอบงานด้านการวางแผนฉกุ เฉิน การเผชิญเหตุ และการฟนื้ ฟู Introduction to เนือ้ หา : - หลกั การ โครงสร้าง ของระบบบัญชาการณเ์ หตุการณ์ Incident Command (Principle and Element) System - การนา ICS ไปใช้ในหน่วยงานราชการ ( Application & Public Work) - หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของสว่ นตา่ ง ๆ ตามโครงสรา้ ง (Position & Responsibility)

24 ชุดวิชา สาระสาคัญ  IS-700.a National กลุ่มเป้าหมาย : เจา้ หนา้ ท่รี ฐั ทรี่ ับผิดชอบงานด้านการจดั การสาธารณภยั เนือ้ หา : - หลักการ โครงสร้าง ของระบบบญั ชาการณเ์ หตุการณ์ Incident (Principle and Element) Management System (NIMS), - การนา ICS ไปใช้ในหนว่ ยงานราชการ ( Application & An Introduction Public Work)  IS-701.a NIMS - หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบของสว่ นตา่ ง ๆ ตามโครงสร้าง Multiagency (Position & Responsibility) Coordination กลุ่มเปา้ หมาย : เจา้ หนา้ ทีร่ ฐั ทรี่ ับผดิ ชอบงานดา้ นการจัดการสาธารณภยั System (MACS) เนอ้ื หา : - การนาระบบประสานงานตา่ งๆ มาใช้รว่ มกับ ICS Course - องค์ประกอบของ MACS (personnel, procedures,  IS-702.a National protocols, business practices, communication) Incident Management - การประยุกตใ์ ชร้ ะบบ MACS ในการเผชิญสถานการณ์และ System (NIMS) บูรณาการเขา้ กบั ระบบปกติ (Common system) ในระดับท้องถน่ิ ถึง Public Information ระดับชาติ Systems - กระบวนการและการจดั หาทรัพยากรท่ีจาเป็นสาหรบั การ  IS-703.a NIMS จดั การสถานการณ์ทสี่ ัมพนั ธก์ ับ MACS Resource Management - การประสานงานท่ีมีประสทิ ธิภาพ และการกาหนดนโยบายใน Course การนา MACS ไปใช้ กลมุ่ เป้าหมาย : เจา้ หนา้ ทีร่ ัฐทร่ี ับผดิ ชอบงานด้านการจัดการขอ้ มูล สาธารณภยั เนื้อหา : - การนาระบบข้อมูลสารสนเทศสาธารณะไปใช้กับระบบการ จัดการสาธารณภยั ระดบั ชาติ (NIMS Public Information System) ใน พื้นทป่ี ฏบิ ัตงิ าน - การเชือ่ มโยง/ประสานงานข้อมลู (Joint Information System : JIS) และหนว่ ยงาน (Joint Information Center: JIC) - กระบวนการในการเก็บข้อมูล ตรวจสอบ ประสานงาน และ เผยแพร่ข้อมูล กล่มุ เป้าหมาย : เจ้าหน้าที่รฐั ระดับผบู้ ัญชาการเหตุการณ์/ หัวหนา้ / ระดบั ปฏบิ ัติการในการเผชญิ เหตุ/ ภาคเอกชน /อาสาสมัคร เน้ือหา : - งานชว่ ยเหลอื การวางแผนจดั การทรัพยากร - การแยกประเภทและเตรยี มทรัพยากรก่อนเกิดภัย - การจดั การทรพั ยากรขณะ และหลงั เกดิ สาธารณภัย

25 ชดุ วชิ า สาระสาคญั  IS-800.b National กลมุ่ เป้าหมาย : เจ้าหน้าทรี่ ฐั ท่ีรับผิดชอบงานดา้ นการจดั การสาธารณภัย เน้อื หา : - แนวคดิ หลกั การของกรอบงานด้านการตอบโตส้ าธารณภัย Response ระดบั ชาติ Framework, An Introduction - บทบาทและความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานที่กาหนดไวใ้ น กรอบงาน - การสนบั สนนุ การตอบโตส้ าธารณภัยระดับชาติ - การประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องกับการตอบโต้ สาธารณภยั ทกุ ภาคสว่ น - การวางแผนเพื่อเตรยี มพร้อมระดับชาติ ตารางที่ 8 : สรุปรายละเอียดหลักสูตรด้าน DRM ที่ดาเนินการโดย หน่วยงานด้านการจัดการสาธารณภัยของ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ผลที่ไดจ้ ากการศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีและข้อมูลจากหลักสูตรฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการความ เส่ียงจากสาธารณภัยของหน่วยงานต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ทาให้ผู้วิจัยสามารถนามาวิเคราะห์ และ สังเคราะห์ ข้อมูลโดยรวมเพ่ือจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการสาธารณภัยของกรมปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัยเพอ่ื นาไปสู่การตอบคาถามการศึกษา ดังนี้ 1) องคค์ วามรเู้ ก่ยี วกบั การบรหิ ารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยมีรายละเอียดและสาระสาคัญ อยา่ งไรบ้าง 2) หลกั สตู รดา้ นการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยในระดับสากลมีเน้ือหาวิชา และขอบเขต การศกึ ษาอบรมอยา่ งไร ทง้ั นี้ ผวู้ ิจยั ไดส้ รปุ สาระสาคัญดังปรากฎในตารางท่ี 9

ก่อน การประเมินความเสีย่ ง การป้องกนั ลดผลกระทบ การเตรยี มพรอ้ ม ความรเู้ บ้อื งต้นเกยี่ วกบั การ พรบ. ปภ. 50 การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม ของชุมชนในการปูองกนั จัดการความเสยี่ งจาก และบรรเทาสาธารณภัย CBDRM สาธารณภยั อุตุนิยมวทิ ยากบั การแจ้ง ความเสยี่ งและสาธารณภยั ท่ี แผนปอู งกันและบรรเทาสา เตือนภยั เกดิ จากธรรมชาตใิ น ธารณภัยของประเทศไทย การฝกึ ซ้อมแผนอพยพ ประเทศตา่ ง ๆ และการนาแผนไปส่กู าร ปฎิบตั ิ กรอบงานนโยบายด้านการ แผน ปภ. จงั หวัด ลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย และการจัดการ หลักการบริหารจัดการสา ธารณภัยของประเทศไทย การใช้ท่ีดิน และการจดั ผัง การเตรียมความพร้อมรับภัย เมืองโดยรวม และการบรหิ ารจดั การใน ภาวะวกิ ฤต อาเซียนกับการบริหาร การเตอื นภัยอย่างครบวงจร

ขณะ หลัง การฟื้นกลบั สภาพเดมิ การตอบโต้ การฟ้นื ฟู การฟนื้ ฟูบรู ณะส่งิ การจดั ตัง้ ศูนย์อานวยการ การฟนื้ ฟบู ูรณะสงิ่ สาธารณ สาธารณประโยชน์ เฉพาะกจิ และ ICS ประโยชน์ การปฏิบัตเิ ม่ือเกดิ ภยั การจดั การกับผู้เสยี ชวี ิตและ การสรา้ งความปลอดภยั และ ได้รบั ผลกระทบจากสา การฟื้นกลับสสู่ ภาพเดิมจาก ธารณภัย สาธารณภยั การบรหิ ารจัดการ บทบาทของหน่วยงาน ผบู้ าดเจ็บและเสียชีวติ สหประชาชาติและองค์กร เอกชนในการให้ การรายงานและ ความชว่ ยเหลือดา้ น ประชาสัมพันธ์ มนษุ ยธรรม (Role of UN Agency and NGOs in Humanitarian) การอพยพและการจัดตั้ง การประเมนิ ความเสียหายและการวางแผนฟื้นฟู ศนู ย์อพยพ การจัดระบบส่ือสาร การให้ความชว่ ยเหลือและ การบูรณะฟ้นื ฟูทางธรุ กจิ / เศรษฐกจิ / ระบบนิเวศร์/

ก่อน การวางแผนเตือนภัยและ อพยพ จดั การสาธารณภยั ของ Stock piling ประเทศไทย มาตรการเพ่ือลดผลกระทบ การจดั ทา SOP ในการ ความเส่ยี งสาธารณภัย เผชญิ ภยั พบิ ตั ิ การประกนั ภยั และการ บริหารความเส่ยี งด้าน GIS Application การเงินอันเน่ืองจากอุทกภัย การบูรณาการแนวคิดการ Sentinel Asia System ลดความเสี่ยงภัยพบิ ตั ิเพือ่ จัดทาแผนพฒั นา การวางแผนและการจัดการ ประเดน็ แทรกซ้อนเก่ียวกบั ฝึกซ้อมการจดั การสาธารณภยั การบริหารจดั การความ เส่ยี งจากสาธารณภยั การวางแผนเผชิญเหตุ ฉกุ เฉนิ และความต่อเน่ือง การวางแผนความต่อเนื่อง ทางธรุ กจิ BCP

27 ขณะ หลัง สงเคราะห์ ผปู้ ระสบภัย ชุมชน การสรุป รายงาน การนาแนวคิด DRM มาใช้ในการบรู ณะฟ้ืนฟู ซอ่ มสรา้ ง สถานการณ์ การบรหิ ารจดั การความ การตดิ ตามประเมินผลการบรู ณะฟื้นฟู และการจัดการ ขดั แย้งในภาวะวิกฤต ข้อมลู การบรหิ ารจัดการ อาสาสมคั รในภาวะภยั พบิ ัติ ศักยภาพผู้นาใน สถานการณ์วกิ ฤต การสื่อสารในภาวะวิกฤต และการจดั การส่อื ความรว่ มมือระหวา่ งทหาร และพลเรือน

ก่อน การวางแผนเผชญิ เหตุ ฉกุ เฉิน ตารางท่ี 9 : สรุปรายละเอยี ดขอ้ มลู โดยรวมเพอ่ื จัดทาหลกั สูตรดา้ นการบรหิ ารจดั การสาธารณภ

28 ขณะ หลัง การจดั การสารสนเทศและ ส่อื National Incident Management System (NIMS), NIMS Multiagency Coordination System (MACS) Course National Incident Management System (NIMS) Public Information Systems NIMS Resource Management Course National Response Framework, บทบาทของหนว่ ยงานภาครฐั การให้ความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานระหวา่ งประเทศ และ NGO ภัย

ตัวแปรตาม คือองคค์ วามรู้ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภยั ตัวแปรอสิ ระ คือ 1. หลกั สูตรด้านการบรหิ ารจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภัยระดับสูง 2. หลกั สูตรด้านการบริหารจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภยั ระดบั กลาง 3. หลักสตู รด้านการบรหิ ารจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั ระดับตน้ กรอบแนวคดิ ในการศึกษา ภาพท่ี 5 : ความสัมพันธ์ระหวา่ งตวั แปรอสิ ระและตัวแปรตาม องค์ความรูด้ า้ นการบริหาร 1. หลกั สตู รด้าานนกกาารรบบรริหหิ าารรจจัดัดกกาารรความเส่ียง จดั การความเสยี่ งจาก ความเสี่ยงจากสาธารณภยั ระดับสูง สาธารณภยั จากสาธารณภัยระดบั สงู 22.. หหลลักักสสตููตรรดด้า้านนกกาารรบบรรหิ ิหาารรจจัดัดกกาารรความเสย่ี ง ความเสี่ยงจากสาธารณภัยระดบั กลาง จากสาธารณภัยระดบั กลาง 33.. หหคลลวักักาสสมตููตเสรรด่ียด้างา้ นจนากกกาารสรบาบธรรหิาหิ ราาณรรจภจัดัยัดกรกาะารดรคับวาตมน้ เสยี่ ง จากสาธารณภัยระดบั ตน้ กรอบแนวคิดข้างต้นแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภัย กับ หลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยระดับสูง กลาง และต่า ภายใต้แนวความคิดเรื่องการจัดการความรู้ในองค์การ ของ สานักงาน ก.พ.ร. (2549) และแนวคิดเร่ือง การบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยของศูนย์เตรียมความพร้อมปูองกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย (2556) และข้อมูลหลักสูตรด้านการจัดการสาธารณภัยของกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแ ละหน่วยงาน ฝึกอบรมของต่างประเทศ

31 บทที่ 3 ระเบยี บวิธีวจิ ัย เน้อื หาของบทนเี้ ปนการอธบิ ายถงึ วธิ ีการวิจัยสําหรับการศึกษาในคร้ังนี้ ซ่ึงใช%การวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด%วย กล-ุมผู%ให%สัมภาษณ1ซ่ึงเปนผ%ูเชี่ยวชาญด%านการจัดการสาธารณภัย และเคร่ืองมือท่ีใช%ใน การศึกษา เพ่อื ตอบคําถามการศึกษาที่ตัง้ ไว% ผูใหสมั ภาษณ กล-ุมผ%ูให%สัมภาษณ1 ได%แก- ผู%เชี่ยวชาญด%านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย จํานวน 8 ท-าน ได%แก- ผ%ูเช่ียวชาญและผู%บริหารของกรมป7องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย1เตรียมความพร%อม ปอ7 งกันภยั พบิ ัตแิ ห-งเอเชยี และโครงการพัฒนาแหง- สหประชาชาติ เคร่อื งมอื ทีใ่ ชในการศกึ ษา ผู%วิจัยใช%แบบสัมภาษณ1เปนเคร่ืองมือเพ่ือเก็บรวบรวมข%อมูลจากผู%ให%สัมภาษณ1 โดยมีรายละเอียด จากการสร%างแบบสัมภาษณเ1 ปนขน้ั ตอน ดงั นี้ 1. ศึกษาวิธีการสร%างแบบสมั ภาษณ1จากเอกสารงานวจิ ยั และทฤษฎที ่เี กย่ี วขอ% ง 2. สร%างแบบสัมภาษณ1แบบมีโครงสร%างเพอ่ื ถามความคดิ เหน็ ในประเดน็ เน้ือหาวิชาในการจัดทาํ หลักสูตรด%านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย 3. นําแบบสัมภาษณ1ท่ีไดส% รา% งขนึ้ มาเสนอตอ- อาจารยท1 ี่ปรึกษาเพื่อปรับปรุงแกไ% ข 4. ทําการปรับปรุงแก%ไขและนําเสนอให%อาจารย1ท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกต%องอีกครั้งหนึ่ง เพ่ือใหอ% าจารย1ทป่ี รึกษาอนมุ ัติก-อนนาํ แบบสัมภาษณไ1 ปใช%จรงิ การตรวจสอบเคร่ืองมือ ผู%วิจยั ได%นําเสนอแบบสมั ภาษณท1 ีไ่ ด%สรา% งข้ึนต-ออาจารย1ทีป่ รึกษาเพอ่ื ตรวจสอบความครบถว% นและ ความสอดคล%องของเน้ือหาของแบบสมั ภาษณ1ที่ตรงกบั เร่ืองทจี่ ะศึกษา องคประกอบของแบบสมั ภาษณ ผู%วิจยั ได%ออกแบบแบบสมั ภาษณซ1 งึ่ ประกอบด%วย 3 สว- น ดงั นี้ สว- นท่ี 1 เปนคาํ ถามเกีย่ วกับขอ% มลู ท่วั ไปของผู%ตอบคําถาม ไดแ% ก- ชอื่ – สกุล ตําแหนง- และหน-วยงาน ต%นสงั กดั ลักษณะเปนคําถามปลายเปดA

31 ส-วนที่ 2 เปนคําถามปลายปAดเกย่ี วกับการวเิ คราะห1เนื้อหาวิชาในการจัดทาํ หลักสตู รดา% นการบรหิ าร จัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ส-วนท่ี 3 เปนคําถามปลายเปAดเพื่อสอบถามข%อคิดเห็นและข%อเสนอแนะอ่ืนๆ เก่ียวกับเน้ือหาวิชาใน การจัดทําหลักสูตรด%านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย การเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล ผ%ูวิจัยได%ดําเนินการเก็บข%อมูลโดยการนัดเวลาทําการสัมภาษณ1ผ%ูเช่ียวชาญแต-ละท-าน จนครบ จํานวน 8 ท-าน จากน้ันจึงนําแบบสัมภาษณ1ท่ีตอบคําถามแล%วมาวิเคราะห1และสังเคราะห1/รวบรวมข%อมูล ตามหลักวิชาการ

32 บทท่ี 4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู บทนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการอธิบายและการตอบคาถามวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ ตัวแปรแต่ละตัว ซ่ึงข้อมูลดังกล่าว ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมจากแบบสัมภาษณ์ท่ีสร้างข้ึน และได้ ดาเนินการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยจากหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง จานวนทั้งสิ้น 8 ท่าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 เปน็ ข้อมลู ทั่วไปเก่ยี วกบั ผ้ใู ห้การสมั ภาษณ์ สว่ นท่ี 2 เปน็ ข้อมลู เกย่ี วกับการวิเคราะห์เน้ือหาวชิ าในการจัดทาหลักสูตรด้านการ บริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ตามตารางท่ี 10 - 12 ส่วนที่ 3 เป็นขอ้ มลู เกี่ยวกบั ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะในการจัดทาหลักสูตรด้านการ บริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ตามตารางท่ี 13 - 15 สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไปเก่ียวกบั ผใู้ หก้ ารสัมภาษณ์ ผูใ้ ห้การสมั ภาษณ์ เปน็ ผู้เชี่ยวชาญทีป่ ฏิบตั งิ านเก่ยี วข้องกบั การบริหารจดั การความเสีย่ ง จากสาธารณภัย จานวน 8 ท่าน ดงั น้ี 1) นายสพุ ร รตั นนาคนิ ทร์ ผเู้ ชี่ยวชาญด้านสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2) นางสาวลกั ขณา มนิมนากร ผู้อานวยการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3) นางสาวชชฎาภร บญุ พรี ะณัช นักวเิ ทศสัมพนั ธช์ านาญการพเิ ศษ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 4) นายอารณุ ปนิ ตา นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 5) นายสนั ติ บุษบงทอง นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 6) ดร.มุทริกา พฤกษาพงษ์ เจา้ หนา้ ทีโ่ ครงการความรว่ มมอื ทางวชิ าการระหว่าง กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยและโครงการ พฒั นาแหง่ สหประชาชาติ 7) นางสาวฐิติพร สินสุพรรณ ผจู้ ัดการโครงการ ศนู ย์เตรยี มความพร้อมป้องกันภยั พิบตั ิแหง่ เอเชีย (Asian Disaster Preparedness Center: ADPC)

33 8) นางสาววรฎิ ฐา วรรณทอง Senior Project Coordinator ศนู ยเ์ ตรยี มความพร้อมป้องกนั ภัยพิบัติแห่งเอเชยี (Asian Disaster Preparedness Center: ADPC) สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู เก่ยี วกบั การวิเคราะห์เนือ้ หาวชิ าในการจัดทาหลักสูตรด้านการบริหาร จัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามท่ีปรากฎในตารางที่ 10 - 12 ตารางท่ี 10 : ผลการแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเก่ียวกับเน้ือหาวิชาในการจัดทา หลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ระยะก่อนเกิดภัย จานวนผู้เช่ียวชาญท่ีเลือกเน้ือหาวิชา ชุดวิชา /หัวข้อวิชา สาหรับกลุ่มเป้าหมายระดับต่างๆ (ก่อนเกิดภัย) สูง กลาง ต้น หน. กลุ่มงาน/ ชานาญการ/ ปฏิบัติการ/ ชานาญการพิเศษ ปฏิบัติการ ประชาชน  ความเสีย่ งและสาธารณภยั ที่เกิดจากธรรมชาติในประเทศต่าง ๆ 6 6 3  กรอบงานนโยบายด้านการลดความเสีย่ งจากสาธารณภัยและ 6 7 3 การจัดการ  อาเซียนกบั การบริหารจดั การสาธารณภัยของประเทศไทย 6 6 3  หลกั การบรหิ ารจดั การสาธารณภยั ของประเทศไทย 577  การบรู ณาการแนวคดิ การลดความเส่ียงภยั พิบัตเิ พอ่ื จดั ทา 7 5 1 แผนพฒั นา  พระราชบญั ญตั ิป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 6 5 5  แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของประเทศไทยและ 6 7 3 การนาแผนไปสกู่ ารปฎิบตั ิ  แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั 675  การวางแผนเผชิญเหตฉุ กุ เฉิน 675  การบรหิ ารจัดการความต่อเน่อื งทางธรุ กิจ (Business 742 Continuity Management : BCM) 577  การวางแผนเตอื นภยั และอพยพ

34 ชุดวิชา /หัวข้อวิชา จานวนผู้เชี่ยวชาญท่ีเลือกเนื้อหาวิชา (ก่อนเกิดภัย) สาหรับกลุ่มเป้าหมายระดับต่างๆ สูง กลาง ต้น  การวางแผนและการจดั การฝกึ ซ้อมการจัดการสาธารณภยั  มาตรการเพ่ือลดผลกระทบความเสีย่ งสาธารณภัย หน. กลุ่มงาน/ ชานาญการ/ ปฏิบัติการ/  การใชท้ ดี่ นิ และการจดั ผงั เมืองโดยรวม ชานาญการพเิ ศษ ปฏิบัติการ ประชาชน  การประกันภยั และการบริหารความเสีย่ งดา้ นการเงินอนั 576 เนอ่ื งจากอุทกภัย 764  การจัดทา SOP ในการเผชญิ ภยั พบิ ตั ิ 742  การเตรยี มความพร้อมรบั ภัยและการบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤต  การเตอื นภยั อยา่ งครบวงจร 640  อตุ นุ ยิ มวทิ ยากบั การแจ้งเตือนภยั  การสง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนในการบริหารจดั การ 774 675 ความเสย่ี งจากสาธารณภัย (CBDRM) 577  การฝกึ ซอ้ มแผนอพยพ 465  GIS Application  Sentinel Asia System 577  การจัดทาและประยกุ ต์ใชค้ ลังขอ้ มลู สาธารณภัย 677 572 241 776 ผลการศึกษาตามตารางท่ี 10 พบว่า ผู้เช่ียวชาญส่วนใหญม่ คี วามเหน็ วา่ เนื้อหาส่วนใหญ่ มีความสาคญั แตกต่างกนั ตามระดบั กลมุ่ เปา้ หมายในการอบรม ซ่ึงในหลักสูตรระดับต้นผู้เช่ียวชาญเห็นว่า วชิ าการบูรณาการแนวคดิ การลดความเส่ียงภัยพิบตั เิ พื่อจดั ทาแผนพฒั นา การบริหารจัดการความต่อเน่ือง ทางธุรกิจ (Business Continuity Management : BCM) GIS Application, Sentinel Asia System การใชท้ ่ดี ิน และการจดั ผังเมืองโดยรวม มคี วามสาคัญน้อย

35 ตารางท่ี 11 : ผลการแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเน้ือหาวิชาในการจัดทา หลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระยะขณะเกิดภัย จานวนผู้เช่ียวชาญท่ีเลือกเน้ือหาวิชา ชุดวิชา /หัวข้อวิชา สาหรับกลุ่มเป้าหมายระดับต่างๆ (ขณะเกิดภัย) สูง กลาง ต้น หน. กลมุ่ งาน/ ชานาญการ/ ปฏิบัติการ/ ชานาญการพเิ ศษ ปฏิบัติการ ประชาชน  การปฏบิ ตั เิ มอ่ื เกดิ ภัย 577  National Incident Management System (NIMS) 7 7 2  NIMS Multiagency Coordination System (MACS) 7 6 0 Course  National Incident Management System (NIMS) 7 6 1 Public Information Systems  NIMS Resource Management 761  National Response Framework 753  ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณ์ (ICS) 773  การบรหิ ารจัดการผู้บาดเจบ็ และเสียชีวติ 662  การอพยพและการจัดต้ังศูนยอ์ พยพ 676  การจดั ระบบส่อื สาร 663  การสรปุ รายงานสถานการณ์ 376  การส่อื สารในภาวะวิกฤตและการจดั การข้อมลู ข่าวสารและ 7 7 4 สอื่ ประชาสัมพนั ธ์  การบริหารจัดการความขดั แย้งในภาวะวกิ ฤต 751  การบรหิ ารจดั การอาสาสมคั รในภาวะภยั พิบตั ิ 764  ศกั ยภาพผ้นู าในสถานการณว์ กิ ฤต 640  การจดั การกบั ผเู้ สยี ชีวิตและไดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั 5 6 3

36 ชุดวิชา /หัวข้อวิชา จานวนผู้เชี่ยวชาญท่ีเลือกเน้ือหาวิชา (ขณะเกิดภัย) สาหรับกลุ่มเป้าหมายระดับต่างๆ สูง กลาง ต้น  การใหค้ วามช่วยเหลือและสงเคราะห์ ผปู้ ระสบภยั  บทบาทของหนว่ ยงานสหประชาชาตแิ ละองค์กรเอกชนใน หน. กลุ่มงาน/ ชานาญการ/ ปฏิบัติการ/ ชานาญการพิเศษ ปฏิบัติการ ประชาชน การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านมนุษยธรรม  ระบบ Logistics 364  ความร่วมมอื ระหว่างทหารและพลเรอื นในการเผชิญ 650 สถานการณ์ 772 773 ผลการศกึ ษาตามตารางที่ 11 พบว่า ผ้เู ชยี่ วชาญสว่ นใหญ่มคี วามเหน็ วา่ เนอื้ หาส่วนใหญ่ มีความสาคัญ แตกต่างกันตามระดับกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม ซ่ึงในหลักสูตรระดับต้นผู้เช่ียวชาญ ส่วนใหญ่ให้ความสาคัญน้อยกับวิชาต่อไปน้ี ได้แก่ วิชา National Incident Management System (NIMS) NIMS Multiagency Coordination System (MACS) Course, National Incident Management System (NIMS) Public Information Systems การบริหารจัดการความขัดแย้งในภาวะวิกฤต ศักยภาพผู้นาในสถานการณ์วิกฤต บทบาทของหนว่ ยงานสหประชาชาตแิ ละองค์กรเอกชนในการใหค้ วามชว่ ยเหลือดา้ นมนุษยธรรม และระบบ Logistics ตารางที่ 12 : ผลการแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเก่ียวกับเน้ือหาวิชาในการจัดทา หลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ระยะหลังเกิดภัย จานวนผู้เช่ียวชาญท่ีเลือกเนื้อหาวิชา ชุดวิชา /หัวข้อวิชา สาหรับกลุ่มเป้าหมายระดับต่างๆ (หลังเกิดภัย) สูง กลาง ต้น หน. กลุ่มงาน/ ชานาญการ/ ปฏิบัติการ/ ชานาญการพเิ ศษ ปฏิบัติการ ประชาชน  การฟ้ืนฟบู ูรณะส่ิงสาธารณ ประโยชน์ 676  การสรา้ งความปลอดภัยและการฟื้นกลบั สสู่ ภาพเดมิ จาก 7 7 6 สาธารณภัย  การประเมนิ ความเสียหายและการวางแผนฟ้ืนฟู 676

37 จานวนผู้เชี่ยวชาญท่ีเลือกเนื้อหาวิชา ชุดวิชา /หัวข้อวิชา สาหรับกลุ่มเป้าหมายระดับต่างๆ (หลังเกิดภัย) สูง กลาง ต้น หน. กลุ่มงาน/ ชานาญการ/ ปฏิบัติการ/ ชานาญการพเิ ศษ ปฏิบัติการ ประชาชน  การบูรณะฟน้ื ฟูทางธรุ กจิ / เศรษฐกิจ/ ระบบนเิ วศร/์ ชมุ ชน 6 6 4  การนาแนวคิด DRM มาใชใ้ นการบูรณะฟื้นฟู ซ่อมสร้าง 7 6 5  การติดตามประเมนิ ผลการบรู ณะฟ้นื ฟู และการจัดการ 7 6 3 ขอ้ มูล  บทบาทของหน่วยงานภาครฐั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื จาก 7 5 0 หนว่ ยงานระหวา่ งประเทศ และองค์กรเอกชน ผลการศึกษาตามตารางที่ 12 พบวา่ ผ้เู ชย่ี วชาญส่วนใหญม่ ีความเห็นวา่ เน้อื หาส่วนใหญ่ มีความสาคัญ ยกเว้นในหลักสูตรสาหรับกลุ่มเป้าหมายระดับต้น ที่เห็นว่า วิชาบทบาทของหน่วยงาน ภาครฐั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานระหวา่ งประเทศ และองค์กรเอกชน ไม่มีความสาคัญท่ีจะต้อง บรรจไุ วใ้ นหลักสตู ร สว่ นท่ี 3 เป็นข้อมลู เกี่ยวกบั ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะในการจัดทาหลักสูตรด้านการ บริหารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ตารางที่ 13 : ผลการแสดงความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญเก่ียวกับเน้ือหาวิชาใน การจัดทาหลักสูตรด้านการบริหารจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระดับสูง หลกั สูตร DRM ระดบั สูง คาอธบิ ายเหตุผล 1 กรอบงานนโยบายดา้ นการลดความเส่ยี งจากสาธารณภยั และการจดั การ  ผ้บู รหิ ารควรมีความรูค้ วามเขา้ ใจใน 2 อาเซยี นกบั การบรหิ ารจัดการสาธารณภยั ของประเทศไทย ระดับนโยบาย สามารถตัดสินใจและขับเคลื่อน 3 หลกั การบริหารจดั การสาธารณภัยของประเทศไทย การบูรณาการแนวคิดด้านการลดความเสี่ยง 4 การบูรณาการแนวคดิ การลดความเสีย่ งภยั พบิ ตั ิเพ่อื จดั ทาแผนพัฒนา ภัยพิบัติให้สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน 5 พระราชบัญญัตปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 จากสว่ นกลางไปสู่ระดับทอ้ งถนิ่ 6 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของประเทศไทยและการนา  ผบู้ ริหารควรมคี วามเขา้ ใจในการ แผนไปสกู่ ารปฎิบัติ วางแผนและการปฏิบตั กิ ารเพอื่ เตรยี มรับมือกอ่ น 7 การวางแผนเผชิญเหตุฉุกเฉนิ เกดิ ภัย การบญั ชาการ ประสานงาน ขณะเกิดภยั 8 การบริหารจัดการความตอ่ เนือ่ งทางธุรกิจ BCM แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี ย ห า ย ก า ร น า เ อ า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook