- 44 - การปฎบิ ัตงิ าน เป้าหมาย จานวนผเู้ รียน ผลการประเมนิ ร้อยละ คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา ปฎบิ ตั ิ ไม่ปฎบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) ท้งั หมด ผ่าน เกณฑ์ คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ของผ้เู รียน 1. การมีคณุ ลักษณะและค่านิยมทีด่ ี 90 991 906 91.42 ยอด ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด 906 เยี่ยม 1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรม เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรมเคารพในกฎ 91.42 กตกิ า 1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีค่านิยมและ 906 91.42 จิตสานึกตามท่ี สถานศึกษากาหนด โดย 90 991 906 ไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี 91.42 ยอด ของสงั คม 906 เยีย่ ม 2. ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็น 906 ไทย 991 906 91.42 2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความภูมิใจ 90 906 ในทอ้ งถ่ิน เห็นคุณคา่ ของความเป็นไทย 991 906 91.42 2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีส่วนร่วม 906 ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทย 90 91.42 ยอด รวมทงั้ ภูมิปัญญาไทย เยย่ี ม 3. มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลากหลาย 91.42 3.1 ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและ 91.42 ยอด อยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคล เยีย่ ม ในด้านเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา วฒั นธรรม ประเพณี 91.42 4. สขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม 906 91.42 89.84 ดีเลิศ 4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีการรักษา สุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณแ์ ละสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละ ชว่ งวยั 4.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถอยู่ ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไมม่ คี วามขัดแยง้ กบั ผ้อู น่ื สรุปผลการประเมิน = ผลรวม ผลการประเมนิ ทกุ ประเดน็ พจิ ารณา/ จานวนประเดน็ พจิ ารณา
- 45 - วธิ ีคานวณ ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = (จานวนผ้เู รยี นผ่านเกณฑท์ โี่ รงเรยี นกาหนด X 100) / จานวนผู้เรยี นท้ังหมด เกณฑ์การแปลผลการประเมินคณุ ภาพ รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 หมายถงึ กาลงั พัฒนา ร้อยละ 50.00 – 59.99 หมายถึง ปานกลาง ร้อยละ 60.00 – 74.99 หมายถึง ดี รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 หมายถึง ดีเลศิ ร้อยละ 90.00 – 100.00 หมายถึง ยอดเยยี่ ม จดุ เน้นและกระบวนการพฒั นาท่ีส่งผลตอ่ ระดับคณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 1 วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนประจาชายแบบ Public School ของอังกฤษ มีการบริหารจัดการ ตามธรรมเนียมปฎิบัติเฉพาะของวชิราวธุ วิทยาลัย ปกครองนักเรียนตามระบบ Public School ในปัจจุบันได้ กาหนดพันธกิจการจัดการศึกษาตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและ รองรับการปรับเปลี่ยนอย่างฉับพลันทุกมิติ คือให้ความสาคัญกับศักยภาพเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล ให้อิสรภาพในการเรียนรู้ อย่างสนุกสนานเพลิดเพลินตามความสนใจอย่างสมดุลทั้งด้านวิชาการ (Academic Knowledge และการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ (Human Quality) สร้างสุภาพบุรุษท่ีเป็นพลเมืองคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรมและศีลธรรม รู้จักหน้าที่ มีวินัยและรับผิดชอบ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีความเป็นไทย เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มุ่งมั่นบากบ่ันท่ีจะเผชิญความท้าทาย สามารถสร้าง ชีวติ และสงั คมทมี่ ีความสุขไดใ้ นอนาคต การพัฒนานักเรียนให้บรรลุตามพันธกิจดังกล่าวโรงเรียนใช้กิจกรรมเป็นเครื่องมือในการพัฒนา นักเรียนตามแนวทางของวชิราวุธวิทยาลัย ทั้งด้านวิชาการและด้านกิจการนักเรียน คิดเป็นอัตราส่วน ในเวลา 24 ช่ัวโมงทน่ี กั เรียนอยใู่ นโรงเรียนประมาณ 6 : 24 = 1 : 4 อย่างสมดุล ประกอบดว้ ย 2 สว่ น ดังน้ี 1. การพฒั นานักเรยี นของสายงานกจิ การนักเรยี นผ่านระบบคณะและฝ่ายกจิ กรรม ฝ่ายผู้กากับคณะมีบทบาทสาคัญในการดูแลนักเรียนอย่างรอบด้านเกี่ยวกับการใช้ชีวิตในฐานะ นักเรียนโรงเรียนประจา ทาหน้าที่เสมือนพ่อ-แม่ ให้นักเรียนรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัยและมีความสุข เป็นผู้ให้ คาปรึกษา/ช่วยแก้ปัญหาและอบรมส่ังสอนนักเรียนตามแนวพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ดูแลรับผิดชอบความเป็นอยู่ของนักเรียนในคณะ ฝึกภาวะผู้นาให้กับนักเรียนและ หัวหน้านักเรียน พัฒนาคุณลักษณะพึงประสงค์ ร่วมมือกับฝ่ายวิชาการในการดูแลนักเรียนเร่ืองการเรียนและ ความประพฤติของนักเรียนเฉพาะเป็นรายบุคคล และตดิ ตอ่ /ประสานงานกับผูป้ กครองอยา่ งใกลช้ ิด รูปแบบการดูแลปกครองนักเรียนของคณะแบบ Public School คือการอยู่เป็นคณะ ภายในคณะ มีระบบอาวุโส ระบบหัวหน้าคณะเป็นระบบพี่ดูแลน้องด้วยความเมตตากรุณา และหวังดี ทาหน้าท่ีช่วยเหลือ ดูแลนักเรียนร่วมกับ ผู้กากับคณะ และครูประจาคณะ เร่ืองระเบียบวินัยของน้องๆ สร้างความสามัคคี ในหมู่คณะภายใต้บรรยากาศท่ีเป็นมิตรและอบอุ่น เป็นผู้นาในการทากิจกรรมและมอบหมายหน้าท่ีต่าง ๆ
- 46 - ในคณะให้ทกุ คนมสี ่วนรว่ ม กจิ กรรมน้ีเป็นการเสรมิ สรา้ งภาวะผู้นาทดี่ ีให้กบั รุน่ พ่ีและการเป็นผตู้ ามทด่ี ีให้กับรุ่น นอ้ งผ่านประสบการณ์ตรง โดยผ้กู ากบั คณะเปน็ ผกู้ ากบั ดแู ลและใหค้ าปรึกษา การจัดนักเรียนเข้าพักในคณะจะมีจานวนนักเรียนเฉลี่ยเท่า ๆ กัน คณะเด็กเล็กมี 3 คณะแต่ละคณะ ประกอบด้วยนักเรียน ป.4 ป.5 และ ป.6 อยู่ร่วมกัน คณะเด็กโตมี 6 คณะ แต่ละคณะประกอบด้วยนักเรียน ม.1 – ม.6 อยรู่ ว่ มกัน นกั เรยี น ม.6 ของแตล่ ะคณะจะได้รบั การคัดเลือกเป็นหวั หน้าคณะ กิจวัตรและข้อปฎิบัติของนักเรียนวชิราวุธในการอยู่ร่วมกันแบบโรงเรียนชายท่ีสืบทอดกันมา คือ การเข้าพักและการทากิจกรรมร่วมกันเป็นคณะ ได้แก่ การเรียน การเล่นกีฬา การรับประทานอาหาร การสวดมนต์ และการเขา้ นอน เป็นต้น สาหรับกิจกรรมในกิจวัตรประจาวัน ซ่ึงฝึกให้นักเรียนสามารถดูแลและใช้ชีวิตด้ วยตนเอง ขณะอยู่ในคณะ ดว้ ยการปฎบิ ตั ติ ามตารางเวลาประจาวัน สร้างความตระหนกั เรือ่ งการตรงตอ่ เวลา เพื่อปลกู ฝัง ให้นักเรียนมีวินัยในตนเองและเรียนรู้การบริหารจัดการตนเอง (วันปกติต้ังแต่ 6.00 น. - 23.00 น. และ วันหยุดต้ังแต่ 7.00 น. - เข้านอนเวลา 23.00 น.) กติกาของการอยู่ร่วมกันอย่างมีมารยาทสังคมและให้เกียรติ ผู้อ่ืน การทบทวนบทเรียนและทาการบ้านทีเ่ รยี กวา่ คาบเพรบ (เวลา 19.00 - 21.00 น.) กจิ กรรมทเี่ สริมสร้าง ให้นักเรียนเป็นผู้มีศาสนาและศีลธรรม ได้แก่ สวดมนต์เช้า-เย็น และการร่วมพิธีกรรมทางศาสนาตามโอกาส ตา่ ง ๆ ทาให้นกั เรียนมีจติ ใจที่ใสสะอาด กิจกรรมของฝ่ายคณะจึงเป็นการอบรม ฝึกฝน กล่อมเกลาให้นักเรียนรู้จักหน้าที่ รับผิดชอบตนเอง และรู้จักการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนมีความผูกพันระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้อง การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และ ส่ิงแวดล้อม รวมท้ังการรู้จักหน้าที่ ช่วยเหลือผู้อื่น การเสียสละเพ่ือส่วนรวม มีความรักหมู่คณะและ มีความกตัญญู รวมทั้งการได้ฝึกความเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี อันเป็นอัตลักษณ์สาคัญประการหนึ่งของ วชิราวุธวทิ ยาลัย ฝ่ายกิจกรรมจัดให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรมในภาคบ่ายของทุกวันประมาณ 1 ชั่วโมงหลังจากเรียน ด้านวิชาการเสร็จ ประกอบด้วยกิจกรรมดนตรี ศิลปะและออกแบบเทคโนโลยี เพื่อสร้างให้นักเรียน เป็นผู้มีสุนทรียภาพ มีจิตใจอ่อนโยนมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์งาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ การแก้ปัญหา ฝึกการทางานเป็นทีม และมีจิตเป็นนวัตกร ช่วยให้ค้นพบความถนัดหรือพรสวรรค์ของตนเอง กิจกรรมกีฬาเป็นจุดเด่นของนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัยนอกจากเพ่ือสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว นกั เรียนยังได้รบั การหลอ่ หลอมบคุ ลกิ ภาพ เกิดความสามัคคี ฝกึ ให้มจี ิตใจท่เี ข้มแขง็ รแู้ พ้ ร้ชู นะและการใหอ้ ภัย มีการจัดให้นักเรียนเลือกเล่นกีฬาหลากหลายประเภท มีสนามฝึกซ้อมและห้องเสริมสร้างสมรรถภาพที่ได้ มาตรฐานให้นักเรียนอย่างเพียงพอ ประเภทของกีฬา ได้แก่ รักบ้ีฟุตบอล ซ่ึงเป็นกีฬาท่ีเป็นเอกลักษณ์ของ โรงเรียน ฟุตบอล บาสเกตบอล ว่ายน้า แบดมินตัน สควอซ ไฟว์ เทนนิส เทเบิลเทนนิส กรีฑา มีการจัด การแข่งขันกีฬาเพื่อให้นักเรียนฝึกบริหารจัดการ เกิดความรักในหมู่คณะ และเสียสละ ที่เป็นประเพณีของ โรงเรียนคือการแข่งขันกีฬาภายในระหว่างคณะเป็นฤดูกาล และการแข่งขันกรีฑาเป็นประจาในเดือน กุมภาพันธ์ คณะ ที่ชนะเลิศจะได้เข้ารับพระราชทานถ้วยรางวัลจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในโอกาส เสด็จพระราชทานประกาศนียบัตรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ของทุกปีการศึกษา นอกจากจะมีการแข่งขัน กีฬาตา่ ง ๆ แลว้ ยังมกี ารแขง่ ขันระเบียบวินัย และการแข่งขันทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ทีเ่ ปน็ กจิ กรรมเฉพาะ ของวชริ าวธุ วิทยาลัย
- 47 - 2. ด้านวิชาการนักเรียนเข้าชั้นเรียนวิชาการภาคเช้าวันละ 6 คาบ ต้ังแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ การเป็น นักเรียนประจาทาให้นักเรียนไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทาง ร่างกายมีความพร้อมในการศึกษาเล่าเรียนและ ทากิจกรรมในห้องเรียน นอกจากนั้น นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรในวันพุธ มีการจดั รายวชิ าท่หี ลากหลายทันสมยั เตรียมนักเรียนให้มีความพรอ้ มสาหรบั การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและ ฉับพลันในอนาคต มีความยืดหยุ่นให้นักเรียนมีอิสระในการเลือกเรียน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้น นักเรียนเป็นสาคัญ ด้วยวิธีสอนแบบ Active Learning ให้นักเรียนมีความเพลิดเพลินในการเรียนรู้และให้ครู สร้างบรรยากาศเชิงบวกในช้ันเรียน มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยเคร่ืองมือที่เหมาะสม นอกจากน้ันมีการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นต่อการจัดการเรยี นการสอนของครเู มอื่ สิ้นสุดปกี ารศกึ ษา ด้วยบริบทดังกล่าวเป็นบทบาทสาคัญของสายงานกิจการนักเรียนและสายงานวิชาการในการร่วมกัน พัฒนานกั เรียนให้บรรลตุ ามเปา้ หมายพันธกจิ ของโรงเรยี น จุดเน้นหรอื กระบวนการทส่ี ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รียนประกอบดว้ ย 2 กระบวนการ ดงั น้ี ก ร ะ บ ว น ก า ร ท่ี 1 ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า นั ก เ รี ย น ข อ ง ค ณ ะ แ ล ะ ฝ่ า ย กิ จ ก ร ร ม หนว่ ยงานที่รายงานขอ้ มูล สายงานกจิ การนกั เรียน เนื่องจากปีการศึกษา 2564 มีสถานการณ์ Covid-19 ที่รุนแรงทาให้นักเรียนไม่สามารถมาเรียน ในโรงเรียนได้หรือถ้ามีการมาเรียนในโรงเรียนการจัดกิจกรรมบางอย่างไม่สามารถดาเนินการได้ ทาให้ต้อง มีการปรับรูปแบบเพื่อให้เกิดความเหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียน กิจกรรมบางอย่างนักเรียน สามารถร่วมผ่าน Online ในกรณี Onsite มีการบริหารจัดการจานวนนักเรียนให้สามารถเว้นระยะห่าง และ มีการตรวจล่วงหน้าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม ข้ันตอนการจัดกิจกรรมของสายงานกิจการนักเรียนในช่วง สถานการณ์ Covid-19 ที่สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2563 ท่ีแนะนาให้วชิราวุธวิทยาลัยพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) ซึ่งเป็น กระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้น ความสนใจและความคิดสร้างสรรค์จากผู้เรียนที่เน้นคุณภาพ แม้สถานการณ์โควิด-19 จะเป็นข้อจากัด ในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและต่อเน่ือง อย่างไรก็ตาม ฝ่ายกิจกรรมได้เตรียมแผนในการจัดกิจกรรมท่ีมี ความหลากหลายและเขม้ ขน้ มากข้นึ เม่ือกลบั สสู่ ถานการณ์ปกติ มดี ังต่อไปนี้ ขั้นวางแผน มีการประชุมสายงานกิจการนักเรียนทบทวนการดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค จากการดาเนินงาน ท่ีผ่านมา และร่วมกันกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาให้บรรลุพันธกิจของโรงเรียน สร้างสุภาพบุรุษที่เป็น พลเมืองคุณภาพ และมีทักษะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อพร้อมรับการปลี่ยนแปลงในอนาคตมุ่งเน้น ให้นักเรียน มีความม่ันใจในตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเอง การจัดการตนเอง และการสร้างแรงบันดาลใจ ให้ผู้อื่น การทางานร่วมกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะการเป็นผู้นา การแก้ปัญหา อย่างมี ประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ ศึกษาความสนใจและความต้องการของนักเรียนเพ่ือกาหนดรูปแบบในการจัด กิจกรรมดนตรี ศิลปะและออกแบบเทคโนโลยี กิจกรรมกีฬา และกิจกรรมชมรม และสมาคม กาหนด แนวทางในการพัฒนาการจัดกิจกรรมดนตรี ศิลปะและออกแบบเทคโนโลยี กิจกรรมกีฬา และกิจกรรมชมรม และสมาคม กาหนดแนวทางในการพัฒนาองค์ความรู้อย่างรอบด้านให้กับนักเรียน คณะร่วมกับฝ่ายกิจกรรม วางแผนจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายและสมดุล เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพมนุษย์(Human Quality)
- 48 - ภายใต้ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จาเป็นเพื่อให้นักเรียนสามารถดารงชีวิตได้ อย่างมีความสุขและ ประสบความสาเร็จในแตล่ ะช่วงของชีวติ บนพืน้ ฐานของการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ข้นั ดาเนนิ การ ก. ด้านการจัดกิจกรรมดนตรี กีฬา ชมรมและสมาคม มรี ายละเอียดดังนี้ 1) จัดกิจกรรมดนตรี โดยการประสานความร่วมมือกับวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ใน การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ควบคู่กับครูพิเศษกิจกรรมดนตรีของวงต่าง ๆ มีการถ่ายทอดและ นาเสนอผลงานผ่านทางช่องทางออนไลน์ เช่น กิจกรรม “The longest day” วงเมโลดิกา วชิราวุธวิทยาลัย ผ่านระบบ online และร่วมกับฝ่ายวิชาการจัดการแข่งขัน VC Oke Singing Contest รอบ Audition และ รอบชงิ ขนะเลศิ ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคารทวปี ญั ญา 2) จัดกิจกรรมกีฬา ในปีการศึกษา 2564 ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมกีฬาผ่านรูปแบบ Online ได้แก่ กิจกรรมการประกวดวิดีโอคลิปการออกกาลังกาย ให้นักเรียนที่สนใจเข้าร่วมประกวด ส่งคลิปบันทึก การออกกาลังกาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนฝึกการออกกาลังกายด้วยตนเอง และการใช้ความคิด สร้างสรรค์ ในการนาเสนออย่างเหมาะสม และการจัดกิจกรรมฟุตบอล Online VC Football Training “อยู่ท่ไี หนกฝ็ ึกฝนเพือ่ พฒั นาตนเองได้ ขอใหเ้ รามุ่งมนั่ และตง้ั ใจ” โดยจดั ทาวิดีโอการฝึกซ้อมของนักเรยี นท่ีเป็น นักกีฬาฟุตบอล รุ่นอายุ 10 - 12 ปี ที่ฝึกซ้อมในรูปแบบออนไลน์ทุก ๆ วัน ต้ังแต่เดือน เม.ย - จนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมีการฝึกซ้อม แบ่งเป็นรุ่นต่าง ๆ มีการดูแลและพัฒนารปู แบบการฝกึ โดยโค้ชผู้ฝึกสอนจากทีมสโมสรชลบรุ ี FC ในขณะท่นี กั เรียนเขา้ เรยี น Onsite ในภาคเรียนท่ี 2 เพือ่ ใหน้ กั เรยี นไดแ้ ข่งขันกีฬาจึงมีการจัดกิจกรรมกีฬา 2 รายการ ได้แก่ จัดการแข่งขันการแข่งขันฟุตบอล 9 คน VC Sandbox League 2021 \"5 ธันวาคม พ.ศ. 2564\" และจัดการแข่งขันบาสเกตบอล VC Basketball 3x3 ระหว่างวันท่ี 7 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2564 การ ร่วม แข่งขันกีฬาภายนอก มี 4 รายการ ได้แก่ กีฬาฟุตบอล ส่งนักกีฬารุ่น 12 ปี เข้าร่วมแข่งขันรายการ Project 1 Football Club การแข่งขันสควอชรายการ Thailand Squash Youth Championship 2021 ระหว่างวันที่ 26 - 28 มีนาคม พ.ศ. 2564 กีฬารักบ้ีฟุตบอล วชิราวุธวิทยาลัย เข้าร่วมแข่งขัน \"รักบ้ี 7 คน ชิงชนะเลิศภูมิภาคแห่งประเทศไทย – ภาคกลาง และชิงขนะเลิศแห่งประเทศไทย\" โดยทีมรักบ้ี วชิราวุธวิทยาลัย รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ได้รับตาแหน่งชนะเลิศเขตภาคกลาง และ ชนะเลิศ (ร่วม) ชิงแชมป์ ประเทศไทย ประจาปี 2564 กีฬาว่ายน้า นายประทิน คุปติวิทยากุล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 คณะพญาไท ได้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาว่ายน้าระหว่างโรงเรียนของกรมพลศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564 โดย สง่ นกั เรยี นเข้าแข่งขันในรุน่ อายไุ ม่เกนิ 18 ปี ผลการแข่งขนั สามารถทาลายสถติ ิของกรมพลศึกษา 3) จัดกิจกรรม (สมาคมและชมรม) เน้นการพัฒนาเพื่อบูรณาการและพัฒนาให้เกิดทักษะ อย่างรอบด้านเป็นการส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของนักเรียนในรูปแบบพี่สอนน้อง โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มี ส่วนร่วม ในการดาเนินการ และฝึกฝนให้นักเรียนมีโอกาสรับผิดชอบ และถ่ายทอดความรู้ตลอดจนขั้นตอน การทางานต่าง ๆ จากรุ่นพ่ีสู่รุ่นน้อง มีโอกาสได้ดาเนินกิจกรรมร่วมกันทั้งกิจกรรมภายในคณะ และกิจกรรม ภายนอกคณะ การดาเนินการส่วนใหญ่จัดเมื่อนักเรียนเข้ามา Onsite ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งบูรณาการกิจกรรมชมรมและสมาคม ดังนี้
- 49 - - กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ก่อนสถานการณ์ Covid-19 รุนแรงรวม 2 กิจกรรม คือ กิจกรรม “แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรม สร้างจิตอาสา” ณ วัดบางหลวง และเก็บขยะในแม่น้าเจ้าพระยา จังหวัด ปทุมธานี วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 และกิจกรรม International Award (ข้ันพ้ืนฐาน) กิจกรรมผจญภัย ท่ีสอดแทรกความรู้และทักษะต่าง ๆ ระดับข้ัน Bronze ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าเขาน้าพุ จังหวัด กาญจนบุรี ระหวา่ งวันท่ี 5 - 6 เมษายน พ.ศ. 2564 - กิจกรรมลูกเสือ จัดท้ังรูปแบบ Online และ Onsite รวม 4 กิจกรรม คือ กิจกรรมลูกเสือในระดับ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรูปแบบ Online และ Onsite กิจกรรมลูกเสือพิเศษสาหรับ นักเรยี นวชิราวุธวิทยาลัย ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึง 3 ทส่ี นใจเขา้ รว่ มทาง Online ทกุ วันศกุ ร์ กจิ กรรมเข้า ค่ายลูกเสือ(พิเศษ) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ระหว่างวันที่ 4 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564 และกิจกรรมเข้าค่ายลูกเสอื ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 และ 6 ระหวา่ งวนั ที่ 11 - 12 ธันวาคม พ.ศ. 2564 และ 20 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2564 - ชมรมผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ส่งนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมอบรมและแข่งขันการนาเสนอผลงานแผน ธุรกิจ พร้อมกับนักเรียนจากโรงเรียนต่าง ๆ ใน โครงการ Pitch@School ท้ังรูปแบบ Online และ Onsite รวมทั้งร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการในเร่ือง ทักษะการสร้าง Pitch Deck และ การนาเสนอรูปแบบ Pitching ใหช้ นะใจกรรมการ ผา่ นระบบ Online - ชมรมกิจกรรมยุวมัคคุเทศก์และหอประวัติ จัดกิจกรรมสาหรับนักเรียนใหม่ ระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 เรียนร้เู กยี่ วกับวชิราวุธวิทยาลยั ระหวา่ งวนั ที่ 11 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564 - ชมรมและสมาคม จัดกิจกรรมในคาบ 7 และคาบ 8 รูปแบบ Online ระหว่างเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2564 ทั้งคณะเด็กเล็ก และคณะเด็กโต จานวนนักเรียนเข้าร่วม 721 คน ประกอบด้วยชมรม และสมาคมต่อไปน้ี ดนตรีหลัก ดนตรีเพ่ือความบันเทิง เกษตร Gaming นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ จิตอาสา ภาพยนตร์ Boardgame ยุวมัคคเุ ทศก์หอประวตั ิ ศลิ ปะออกแบบและเทคโนโลยี อนุรักษ์ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และห้องสมุด และจัดกิจกรรมคริสต์มาสและปีใหม่ 2021 - 2022 (ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา) ระหว่าง วนั ท่ี 24 - 25 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 สาหรับนกั เรยี นที่ Onsite 4) กิจกรรมนาเสนอวิถีวชิราวุธผ่านรูปแบบส่ือ Online ดาเนินการจัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ Online “Insight Vajiravudh” ผ่าน facebook VC Student Activies เพ่ือนาเสนอเร่ืองราวเกร็ดความรู้ ความสนใจเกี่ยวกับโรงเรียน และสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนผ่านวิทยากรที่มีความ รู้ในเนื้อหา ที่น่าสนใจต่างๆ ดังนี้ 1) Insight Vajiravudh EP. 1-2 เรื่องหอประชุมวชิราวุธวิทยาลัย 2) Insight Vajiravudh EP. 3 เร่อื งRugby กฬี าทีไ่ มไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งแค่กีฬา 3) Insight Vajiravudh EP. 4 เร่ืองเล่า หนา้ พระ 4) Insight Vajiravudh EP. 5 เร่ือง Passion นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และ5) Insight Vajiravudh EP. 6 เร่ืองกวา่ จะมาเป็นหวั หนา้ ข. ด้านกิจกรรมส่งเสริมพัฒนา/อบรมนักเรยี นสายงานกิจการนักเรยี น ในปีการศกึ ษา 2564 เน่ืองจากในช่วงท่ีนักเรียนเข้ามาเรียนแบบ Onsite โรงเรียนให้นักเรียนอยู่ในโรงเรียนยาวนาน กวา่ ปกติจงึ มีการจดั กจิ กรรมในวันเสาร์ดว้ ยการเชญิ วทิ ยากรหรือศิษยเ์ ก่ามาบรรยาย เกีย่ วกับการพฒั นาตนเอง การปรบั ตัวในการอย่รู ว่ มกันและเกร็ดความรู้เก่ียวกับโรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง ดังนี้ - จัดการบรรยายเรื่อง “การค้นหาตัวเอง” ให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา 6 และประถมศึกษา ปที ่ี 6 โดย คณุ เดชนะ สโิ รรส นกั เรยี นเกา่ รุน่ 56 ผทู้ รงคณุ วุฒิดา้ นทรัพยากรมนุษย์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ วันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2564 จัดการบรรยายพิเศษเร่ือง ในหัวข้อ “ทาไมรัชกาลท่ี 6 จึงทรงตั้งโรงเรียน มหาดเล็กหลวง” ให้กับนักเรียนวชิราวธุ วิทยาลัยในระดับมัธยมศึกษาโดย คุณเช้ือพร รังควร เลขานุการมูลนิธิ
- 50 - พระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2564 จัดการบรรยาย เรอ่ื งบทบาทหนา้ ที่และมารยาทในการอยู่ร่วมกันในโรงเรยี น พรอ้ มพบปะพูดคุยและจัดกิจกรรมให้กบั นักเรียน ร ะ ดั บ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 4 - 6 โ ด ย ที่ ป รึ ก ษ า ว ชิ ร า วุ ธ วิ ท ย า ลั ย ด ร . อ า ภ า รั ต น์ มหาขันธ์ อดีตรองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนาด้านพัฒนาอย่างยั่งยืน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์) และ คุณธนาภรณ์ พรมสุวรรณ อดีตอธิบดีกรม ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) ระหว่างวันท่ี 10 - 11 ธันวาคม พ.ศ. 2564 จัดการบรรยาย เ ร่ื อ ง ก า ร แ ต่ ง ก า ย ที่ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ก า ร ท า ค ว า ม เ ค า ร พ ใ น ชุ ด เ ค รื่ อ ง แ บ บ ใ ห้ กั บ นั ก เ รี ย น ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดย พล.ต.ท.อรรถกฤษณ์ ธารีฉัตร นายกสมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัยฯ วนั ที่ 22 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 ขั้นนเิ ทศ ตดิ ตาม การประเมินผลจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนพบว่านักเรียนพึงพอใจระดับดีมากทุกกิจกรรม สาหรบั รูปแบบการจดั กิจกรรมชมรมและสมาคมจะใช้เตม็ รปู แบบในปกี ารศึกษา 2565 ค ณ ะ แ ล ะ ฝ่ า ย กิ จ ก ร ร ม ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง นั ก เ รี ย น เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง แต่ด้วยข้อจากัดจากสถานการณ์โควิดจึงไม่สามารถดาเนินการได้อย่างเต็มท่ี ทั้งน้ี มุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ในปีการศึกษา 2565 เม่ือสถานการณ์ดีข้ึน จะสามารถพัฒนารูปแบบกิจ กรรมที่มีความหลากหลาย เพ่อื สนับสนุนการดาเนินงานของสายงานวชิ าการและการพัฒนาผู้เรยี นได้อย่างเหมาะสมย่งิ ข้ึน ขน้ั ประเมนิ ผลและปรับปรุงพฒั นา ก. ผลลพั ธ์ทเ่ี กดิ จากการพฒั นารปู แบบการจดั กิจกรรม ฝา่ ยกิจกรรมได้รปู แบบการจัดกิจกรรมสมาคมร่วมบูรณาการกับการจัดกจิ กรรมชมรมของฝ่ายวิชาการ เพ่ือลดความซ้าซ้อน และกาหนดวิธีการวัด-ประเมินผลของฝ่ายกิจกรรมใหม่คือไม่มีการวัดผลกิจกรรมดนตรี กีฬาและศิลปะ กิจกรรมชมรมอยู่ภายใต้สมาคมโดยท้ังกิจกรรมชมรมและสมาคมนักเรียนมีบทบาทในการ จัดต้ัง เร่มิ ดาเนนิ การในปกี ารศกึ ษา 2565 ข. ผลลัพธท์ ่เี กิดจากการพฒั นานกั เรยี น ทาให้นักเรยี นมีผลการประกวดแข่งขันภายนอกดา้ นกฬี า ดนตรี ศิลปะ ปีการศึกษา 2564 ดังน้ี - กฬี ารกั บี้ฟุตบอล นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย เข้าร่วมแข่งขัน \"รักบ้ี 7 คน ชิงชนะเลิศภูมิภาคแห่งประเทศไทย - ภาคกลาง และชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย\" โดยทีมรักบีว้ ชิราวธุ วิทยาลัย รนุ่ อายุไมเ่ กิน 16 ปี ไดร้ ับรางวลั ช น ะ เ ลิ ศ เ ข ต ภ า ค ก ล า ง แ ล ะ ช น ะ เ ลิ ศ ( ร่ ว ม ) ชิ ง แ ช ม ป์ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป ร ะ จ า ปี 2 5 6 4 จากสมาคมรกั บีฟ้ ุตบอลแห่งประเทศไทยดแู ลและฝึกซ้อมโดย กฬี ารกั บฟ้ี ุตบอล - การประกวดผู้ประกอบการ นักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ได้เข้าร่วมงาน Workshop และกิจกรรม UN International Day of Education and Pitch @ School Awards Ceremony จัดโดย Gen Thailand ร่วมกับสาธิตปัญญาภิวัฒน์ โดยได้รับรางวัลชมเชยการนาเสนอแผนธุรกิจ \"น้าท่อม\" และรางวัลชนะเลิศ การแข่งขัน Board Game \" Land of Growth\" ดแู ลและฝกึ ซ้อมโดย ฝ่ายกิจกรรมและหมวดออกแบบและเทคโนโลยี - ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี
- 51 - วชริ าวธุ วิทยาลัยส่งทีมหุ่นยนต์ เข้ารว่ มแขง่ ขัน World Robot Olympiad Thailand 2021 ประเภท ท่ัวไป รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี (Junior) ระหว่างวันท่ี 23-25 ตุลาคม 2564 ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 จาก LEGO Gammaco และ อพวช. ดูแลและฝึกซ้อมโดย ฝา่ ยกจิ กรรมและหมวดออกแบบและเทคโนโลยี กระบวนการท่ี 2 กระบวนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์ COVID – 19 หน่วยงานที่ รายงานข้อมูล สายงานวชิ าการ เนื่องจากปีการศึกษา 2564 มีสถานการณ์ของโรคระบาด COVID – 19 ต่อเน่ืองจากปีการศึกษา 2563 เป็นปีที่ 2 ทาให้ฝ่ายวิชาการต้องพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิธีการเข้ามา เรียนในโรงเรียนของนักเรียนตามสถานการณ์ความรุนแรงการระบาดของโรคซ่ึงเป็นตัวกาหนดการ เขา้ - ไม่เขา้ มาเรียนในโรงเรยี น ในปกี ารศกึ ษา 2563 มวี ธิ ีการจดั ใหน้ กั เรียน เข้า - ไมเ่ ขา้ มาเรียนในโรงเรียน คือ กาหนดกลมุ่ ให้นักเรยี นมาและไม่มาโรงเรยี นเป็นระดบั ชั้น กลุม่ ท่ไี มม่ าโรงเรยี นครูจัดการเรยี นการสอนแบบ Online อย่างเดียว กลุ่มท่ีมาโรงเรียนครูจัดการเรียนการสอนแบบ Onsite อย่างเดียว ซ่ึงพบว่า การกาหนด กลุ่มให้นักเรียนมาหรือไม่มาโรงเรียนนั้นไม่ตอบสนองความต้องการ/ความพร้อมของนักเรียนและผู้ปกครอง ดังน้นั ในปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นจงึ ปรับวธิ ีการจัดให้นกั เรยี นเข้า-ไมเ่ ขา้ มาเรยี นในโรงเรยี นใหม่ คอื กาหนด เฉพาะจานวนที่เหมาะสมสาหรับการควบคุมป้องกันตามมาตรการ Sandbox ของกระทรวงศึกษาธิการและ กระทรวงสาธารณสุขเท่าน้ัน ส่วนตัวนักเรียนน้ันเปิดโอกาสให้นักเรียนเลือกและสมัครใจด้วยตนเอง โดยฝ่ายวิชาการดาเนินการจัดการเรียนการสอนรองรับเป็น 3 รูปแบบคือ Online Onsite และ Hybrid มีเป้าหมายให้นักเรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ตามหลักสูตรให้ถดถอยน้อยท่ีสุด ซ่ึงมี กระบวนการบรหิ ารจดั การการจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์ COVID – 19 ดงั นี้ ขน้ั วางแผน - ฝ่ายวิชาการวิเคราะห์ข้อมูลจานวนนักเรยี น เข้า-ไม่เข้า มาเรียนในโรงเรียน เพ่ือวางแผนจัดนักเรียน แต่ละระดับชั้นเข้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม Onsite กลุ่มละไม่เกิน 20 คน เพื่อการเว้นระยะห่า ง กลุ่ม Online ห้องเรียนละไม่เกิน 25 คน เพื่อการควบคุมชั้นเรียนได้ท่ัวถึง สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลายใชว้ ิธีจัดเป็นกลุ่มบูรณาการกันตามแผนการเรียน - ออกแบบการจดั การเรียนการสอนเป็น 3 รปู แบบ คือ 1). รูปแบบ Online คอื การจดั การเรยี นการ สอน Online อย่างเดียว สาหรับกลุ่มนักเรียนท่ีเรียนท่ีบ้าน 2). รูปแบบ Onsite คือ การจัดการเรียนการสอน ในห้องเรียนสาหรับกลุ่มนักเรียนที่มาเรียนในโรงเรียน และ 3). รูปแบบ Hybrid คือจัดการเรียนการสอนท้ัง แบบผสมผสาน Online และ Onsite ในเวลาเดียวกันเนื่องจากวิชานั้นมีนักเรียนเรียนทั้งท่ีบ้านและมาเรียนที่ โรงเรยี น - วางแผนปรับสภาพแวดล้อมและกระบวนการเรียนการสอนรองรับวิถีการจัดการศึกษาในยุค Disruptive Technology และสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยจัด Sandbox Safety Zone in School และจัดสิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิตอลต่าง ๆ เช่น Smart Board ในหอ้ งเรียน IPAD สาหรบั ครูทกุ คน เพ่ือใชพ้ ฒั นากระบวนการเรียนการสอน - วางแผนการใช้ห้องเรียน Online Onsite และ Hybrid ห้องเรียน Onsite และ Hybrid มีพื้นที่ท่ี เพียงพอให้นกั เรียนมรี ะยะหา่ ง หอ้ งเรียนละไมเ่ กนิ 20 คน
- 52 - - ประชุมหัวหน้าหมวดเตรียมความพร้อมด้านอัตรากาลังครูเพ่ือการจัดตารางสอน และ ด้าน การจัดการเรียนการสอนของครู กาหนดเง่ือนไขให้ครูพิเศษสอน Online เพ่ือป้องกันการติดต่อของโรค ระบาดดังน้ันห้องเรยี น Onsiteและ Hybridของครูพเิ ศษมกี ารจัดครชู ว่ ยดูแลนักเรยี นในหอ้ งเรยี นเพิ่มอกี 1 คน - วางแผนพัฒนาครูให้สามารถใช้เทคโนโลยีในการสร้างสื่อ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและวัดผล ประเมินผล อยา่ งมีประสิทธภิ าพ จดั ซื้อ/จัดหาให้การสนบั สนุนด้านเทคโนโลยี - ประชมุ หัวหน้าหมวดและครูผสู้ อนชแี้ จงแนวปฎบิ ัติงานและทาความเข้าใจการเตรียมความพร้อมใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท้ัง 3 รูปแบบ และมอบหมายให้ครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning รวมท้งั ออกแบบการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ตามสภาพจริง - กาหนดผู้รับผิดชอบกากับ ติดตามและนิเทศการเรียนการสอนประกอบด้วย รองผู้บังคับการสาย งานด้านวิชาการ ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าหมวด โดยให้ครูผู้สอนทุกรายวิ ชาเชิญทุกท่าน เข้าห้องเรียน Online เพ่ือสังเกตการสอนตลอดภาคเรียน และให้มีการจัดประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้เทคนิค การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อการสอน พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน และปัญหาอุปสรรค เปน็ ระยะตลอดปกี ารศึกษา ข้ันดาเนินการ 1. การดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอน สาหรับปกี ารศึกษา 2564 เป็นปที ี่อยใู่ นชว่ งสถานการณ์ Covid-19 มีการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ภาคเรยี น ช่วงเวลา จานวนวนั วธิ ีเรียนของ วิธสี อน ภาคเรียนที่ 1 นกั เรียน ตลอดภาคเรียน 79 วนั Online Online ภาคเรยี นท่ี 2 ช่วงท่ี 1 15 วนั Online Online ช่วงท่ี 2 25 วนั Hybrid รวม ช่วงท่ี 3 20 วัน Online + Onsite Online ช่วงท่ี 4 10 วัน Online Hybrid ชว่ งที่ 5 10 วัน Online 155 วนั Online + Onsite Online ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เน่ืองจากเป็นช่วงที่มีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรง โรงเรียน ให้นักเรียนเรียนที่บ้านทุกคนและครูผู้สอนทุกคนปฎิบัติงานท่ีที่พัก (Work From Home) การจัดการเรียน การสอนจึงใช้รูปแบบ Online อย่างเดียว ผ่าน Platform Google Classroom และ Zoom ซ่ึงครูและ นักเรียนต่างมีความเข้าใจวิธีการอย่างดีเนื่องจากต่อเน่ืองจากปีการศึกษา 2563 โดยครูประจาวิชา เปิดห้องเรียนและเชิญนักเรียน เข้าห้องเรียน ตรวจสอบรายช่ือนักเรียน จัดทาเอกสาร/ส่ือประกอบการเรียน การสอน (ถ้าเปน็ หนังสือหรือเอกสารโรงเรียนจัดส่งไปให้นักเรียนท่ีบ้านก่อนเปิดภาคเรียน) การมอบหมายงาน การกาหนดคะแนน การวัดและประเมินผล ไว้ท่ีหน้า Stream ให้นักเรียนศึกษาล่วงหนา้ หรือย้อนหลงั สาหรับ การวัดและประเมินผล พบว่า ครูเลือกใช้อย่างหลากหลายตามความเหมาะสมตามสภาพจริงให้สอดคล้องกับ มาตรฐานตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ท่ีระบุไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เช่นการประเมินผลจากการตอบคาถาม
- 53 - ในขณะเรียน การมีส่วนร่วมในช้ันเรียน การทาแบบฝึกหัดและชิ้นงานท่ีได้รับมอบหมาย การนาเสนอผลงาน และการทดสอบยอ่ ยเปน็ ตน้ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนให้นักเรียนเลือกเข้า -ไม่เข้าเรียนในโรงเรียน ตามความสมัครใจ พบว่า มีนักเรียนสมัครเข้ามาเรียนโดยรวมประมาณร้อยละ 60 ของนักเรียนทั้งหมด ท้ังน้ี โรงเรียนมีแนวปฎิบัติในการเข้าโรงเรียนตามมาตรการ Sand Block School ของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เน่ืองจากวชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนประจา การเข้าเรียนแบบ Onsite หมายถึง การมาเรียนและเข้าพัก ในโรงเรียน สายงานด้านกิจการนักเรียนทาหน้าท่ีบริหารจัดการท่ีเกี่ยวข้องกับกิจวัตรประจาวันของนักเรียน ประจา จัดทาคู่มือให้ปฎิบัติตามมาตรการความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด กาหนดระยะเวลาให้นักเรียนอยู่ โรงเรียนรอบละ 2 เดือน จึงจะให้กลับบ้านได้และระหว่างอยู่ในโรงเรียนจะไม่ได้รับอนุญาตให้ออกไป นอกโรงเรียนเด็ดขาด การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะมีแนวปฎิบัติท่ีชัดเจนให้นักเรียนปฎิบัติ มีการบริหาร จัดการเกี่ยวกับอาคารท่ีพัก มีการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีและสัญญาณเครือข่ายในที่พักให้นักเรี ยนใช้ อย่างเพยี งพอเพือ่ รองรับการเรียน Online ในคณะ สาหรับการจัดการเรียนการสอนของฝา่ ยวิชาการในรอบนี้นัน้ จะมีนักเรียนท้ังกลุ่มที่อยู่บ้านและกลุ่มที่ อยู่โรงเรียน ฝ่ายวิชาการจึงจัดกลุ่มนักเรียนเข้าช้ันเรียนใหม่ และจัดการเรียนการสอนเป็น 3 รูปแบบ คือ Online Onsite และ Hybrid ตามรายละเอยี ดการจัดห้องเรียนและตารางเรยี นของนกั เรียน การบริหารจัดการสาหรับครูผู้สอนเน่ืองจากมีนักเรียนทั้งเข้ามาเรียนและไม่เข้ามาเรียนในโรงเรียน ฝ่ายวิชาการจึงแบ่งครูผู้สอนเป็นสองกลุ่ม ขณะที่ครูกลุ่มที่ 1 เข้ามาสอน Onsite /Hybrid ในโรงเรียน ครูกลุ่มท่ี 2 ก็จะสอน Online อยู่ที่ที่พัก สลับกันเช่นนี้ทั้ง 2 กลุ่ม โรงเรียนเปิดการสอนได้เป็นเวลา 2 เดือน สถานการณ์แพร่ระบาดของเช้ือไวรัสมีความรุนแรงอีกคร้ัง โรงเรียนจึงปิดโรงเรียนให้นักเรียนเรียนท่ีบ้านแบบ Online จนจบภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 สาหรับการวัดและประเมินผลใช้การวัดแบบ Formative Assessment มีการประเมินผลตามสภาพจริง เก็บคะแนนย่อย ๆ จากช้ินงาน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การทาแบบฝึกหัด การกาหนดภาระงาน ตามบริบทของรายวิชาให้สอดคล้องกับมาตรฐานตัวช้ีวัด/ ผลการเรียนรู้ท่ีระบไุ วใ้ นแผนการจดั การเรียนรู้ โดยใหค้ รผู ู้สอนพิจารณาตามความเหมาะสม 2. การดาเนนิ การพัฒนาครู เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนของครูมีประสิทธิภาพมากขึ้น สร้างแรงจูงใจในการเรียนของนักเรียน ฝ่ายวิชาการจึงจัดพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีของครูด้วยการอบรม Upskill Introduction Designer ให้กับ ครทู ุกคน 3 รนุ่ ๆ ละ 20-25 คนรุ่นละ 3 วนั เพือ่ ใหค้ รูออกแบบการเรยี นรู้ทบ่ี ูรณาการเนื้อหาสาระการเรียนรู้ กับเครื่องมือเทคโนโลยีเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืนทาให้ครูมีส่อื ใช้ประกอบการสอนในแต่ละบทเรียนท่ีน่าสนใจ นอกจากนั้นโรงเรียนยังสร้างห้อง Studio ท่ีทันสมัยจานวน 3 ห้อง เอื้อให้ครูใช้ในการผลิตสื่อการเรียน การสอนอย่างเพียงพอ สนับสนุนด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนท้ัง Hardware Software Applications ต่าง ๆ และขยายเครือข่าย ให้เพียงพอเพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของครูและ นักเรียนรวมท้ังมอบหมายครูหรือบุคลากรท่ีชานาญด้าน IT ให้ทาหน้าที่อานวยความสะดวก และช่วยเหลือครู และนักเรียนในการแก้ปัญหาด้านเทคโนโลยี ทั้งในการสร้างส่ือการสอนและขณะมีการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนตลอดเวลา ด้านการจัดการเรียนการสอนจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียน การสอน ฝ่ายวิชาการจัดให้มีการประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนทาง ZOOM ทั้งกลุ่มใหญ่และ กลุ่มย่อย อย่างต่อเนื่องมีการเรียนรู้ แชร์ประสบการณ์การสอนซึ่งกันและกัน เพื่อนาไปปรับปรุงพัฒนา การจัดการเรียนการสอนและแก้ปญั หาต่าง ๆ ทเ่ี กดิ จากการสอน Online Onsite และ Hybrid
- 54 - ข้ันนเิ ทศ ติดตาม - การนิเทศและติดตาม โดยรองผู้บังคับการสายงานวิชาการ ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ และหัวหน้า หมวดวิชา กรณีการเรียนการสอนแบบ Onsite ใช้วิธีเย่ียมช้ันเรียน กรณีการเรียนการสอนแบบ Online ผนู้ ิเทศจะเขา้ ร่วมชั้นเรยี นเป็น Co-teacher ใน Google Classroom เพ่อื สงั เกตการณก์ ารจัดกิจกรรม/การใช้ สอื่ การสอนของครู และสงั เกตพฤติกรรมการเรียน Online ของนกั เรียน - การปรับปรุง/พัฒนา มีการสร้าง Line Group ของครูผู้สอนเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้พัฒนาและ แก้ปัญหาจากการสอนซึ่งเป็นช่องทางที่สามารถแก้ปัญหาได้ทันเวลา จัดประชุมครูทาง Online ผ่าน ZOOM ทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อยอย่างสม่าเสมอเพื่อพูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็น แจ้งปัญหาและขอการสนับสนุน ในเร่ืองต่าง ๆ จากฝ่ายวิชาการ มีการประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้ครูสะท้อนคิดด้วยตนเอง เรื่องวิธีการสอน และการใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนอยู่เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง แล้วนาไปปรบั ปรุงพฒั นาการสอนของตนเอง ขั้นประเมินผลและปรบั ปรุงพฒั นา - สารวจความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของครูโดยใช้ แบบสอบถามด้วย Google Form พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความพงึ พอใจระดบั มาก - สารวจความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครูโดยใช้แบบสอบถาม Google Form นักเรยี นผูป้ ระเมิน จานวน 412 คน ครผู รู้ ับการประเมนิ จานวน 64 คน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในภาพรวมระดับดี (ค่าเฉล่ีย 4.20) และการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนท่ีนักเรียนมีค่าเฉล่ียความพึงพอใจสูงสุด 3 รายการตามลาดับคือครูใช้คาพูดท่ีดีในช้ันเรียน ทาให้นักเรียนสบายใจและมีกาลังใจ (ค่าเฉลี่ย 4.21) ครูสนใจนักเรียนอย่างท่ัวถึงในชั้นเรียน (ค่าเฉลี่ย 4.17) และครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนเสมอ (ค่าเฉล่ีย 4.16) (รายละเอียดปรากฏดังตารางแสดงผล การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจดั การเรียนการสอนของครูประจาปีการศึกษา 2564 ( - ส่งข้อมลู ที่ได้จากการประเมินคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนของครเู ฉพาะเป็นรายบคุ คลให้ครูทุก คนเพือ่ ใหน้ าไปจดั ทา ID Plan สาหรบั ปรับปรุงและพัฒนาตนเองต่อไป - นาผลการประเมนิ ในภาพรวมได้เผยแพร่และนาเสนอตอ่ ฝ่ายบริหาร ครูและผู้เก่ียวขอ้ งรบั ทราบ เพื่อ ฝ่ายบริหารนาไปใชเ้ ป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาครใู ห้มปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึ้นและครูผ้สู อนนาไปปรบั ปรงุ และ พัฒนาตนเองตอ่ ไป
- 55 - ตารางท่ี 3.1 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครูจานวน 64 คน ประจาปีการศกึ ษา 2564 (นกั เรียนผู้ประเมนิ จานวน 412 คน) รายการ ระดบั ความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย ระดบั คณุ ภาพ 1. ครูมีวิธีสอนท่ชี ่วยให้นักเรยี นเข้าใจเนือ้ หางา่ ยข้ึน 4.13 ดี 2. ครใู ห้นักเรยี นทากิจกรรมในชน้ั เรยี นเสมอ 4.03 ดี 3. ครูให้นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ ในชนั้ เรยี นเสมอ 4.16 ดี 4. ครใู ชส้ ื่อ IT ทท่ี ันสมัยดึงดูดความสนใจทาใหเ้ ข้าใจเนื้อหายงิ่ ขน้ึ 3.98 ดี 5. ครแู นะนาแหลง่ เรียนรหู้ ลากหลายทาใหส้ บื ค้นความร้งู า่ ยขึน้ 4.00 ดี 6. จานวนแบบฝึกหัด การบ้าน ชิน้ งาน รายงานท่คี รมู อบหมาย กาลังดี 3.87 ดี 7. ครมู ีวธิ เี ก็บคะแนนหลายวธิ ีทาใหน้ กั เรยี นได้คะแนนดีขน้ึ 4.04 ดี 8. ครูสนใจนักเรียนอย่างทวั่ ถึงในชนั้ เรยี น 4.17 ดี 9. ครสู ร้างบรรยากาศในชนั้ เรียนให้นร.สนุกสนานและอยากเรียน 3.92 ดี 10. ครูใช้คาพูดทีด่ ใี นช้ันเรียนทาให้นกั เรียนสบายใจและมีกาลงั ใจ 4.21 ดี 4.20 ดี เฉลีย่
- 56 - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ การปฏบิ ัตงิ าน ผลสาเร็จ ผล ปฎบิ ตั ิ ไมป่ ฎบิ ตั ิ การประเมนิ ประเดน็ พิจารณา จานวนข้อ ระดับคุณภาพ 1. มเี ปา้ หมายวสิ ัยทศั น์และพันธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน 5 1.1 กาหนดเป้าหมายท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ยอดเย่ยี ม ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา 5 ยอดเยีย่ ม ชาติ นโยบายของรัฐบาล และต้นสง้ กดั 5 ยอดเย่ยี ม 1.2 กาหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ท่ีสอดคล้อง เช่ือมโยง กับ เปา้ หมาย แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ นโยบายของ รฐั บาลและตน้ สง้ กัด 1. 3 กา ห นด เ ป้า หมา ย วิสั ย ทัศ น์ แ ล ะ พันธกิจ ทันต่ อ การเปลี่ยนแปลงของสังคม 1.4 นาเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการอานวยการวชริ าวธุ วทิ ยาลัย 1.5 นาเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียนเผยแพร่ ตอ่ สาธารณชน 2. มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 2.1 มกี ารวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาอย่างเป็นระบบ 2.2 มีการนาแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบประเมินผลและ ปรับปรงุ พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง 2.3 มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษาจัดระบบ ดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน และระบบการนิเทศภายใน 2.4 สถานศึกษามกี ารนาข้อมลู มาใช้ในการพัฒนาสถานศกึ ษา 2.5 สถานศึกษาให้บุคลากรและผู้ที่เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัด การศึกษา 3. ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผู้เรียนผู้เรยี นรอบด้าน ตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย 3.1 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา 3.2 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนา หลักสูตรตามความต้องการของผู้เรียน ท่ีสอดคล้องกับบริบทของ สถานศกึ ษา ชมุ ชน และท้องถนิ่ 3.3 บริหารจัดการเก่ียวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพ ผู้เรียนรอบด้านเชอ่ื มโยงวถิ ชี ีวติ จรงิ
- 57 - ประเด็นพจิ ารณา การปฏบิ ัตงิ าน ผลสาเรจ็ ผล ปฎบิ ตั ิ ไมป่ ฎบิ ตั ิ การประเมิน 3.4 กาหนดหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลุมการจัดการเรียน การสอนทุกกลมุ่ เปา้ หมาย จานวนข้อ ระดับคุณภาพ 3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้ทัน 4 ดีเลิศ ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสังคม 4. พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ 5 ยอดเยย่ี ม 4.1 ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญ 5 ยอดเย่ยี ม ทางวชิ าชีพ 4.2 จัดให้มชี มุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี 4.3 นาชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี เขา้ มาใช้ในการพฒั นางานและ การเรยี นรู้ของผู้เรยี น 4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บุคลากร ที่มีผลตอ่ การเรยี นรู้ของผ้เู รยี น 4.5 ถอดบทเรียนเพ่ือสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการท่ีเป็นแบบอย่าง ท่ดี ีทสี่ ่งผลตอ่ การเรียนรขู้ องผู้เรียน 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัด การเรียนร้อู ยา่ งมีคุณภาพ 5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรียน ท่ีเอื้อ ต่อการเรียนรู้ และคานึงถงึ ความปลอดภัย 5.2 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอกห้องเรียน ท่ีเอ้ือ ตอ่ การเรยี นรู้ และคานึงถงึ ความปลอดภัย 5.3 จัดสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นรายบคุ คล และเป็นกลุ่ม 5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ และ มคี วามปลอดภยั 5.5 จัดให้ผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากการจัดสภาพแวดล้อม ตามศักยภาพของผู้เรียน 6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ 6.1 ได้ศึกษาความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมกับ สภาพของสถานศกึ ษา 6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือบริหารจัดการและ การจดั การเรียนรู้ทเี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา
- 58 - ประเด็นพิจารณา การปฏบิ ตั งิ าน ผลสาเรจ็ ผล ปฎบิ ตั ิ ไมป่ ฎบิ ัติ การประเมิน 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและ การจดั การเรยี นรูท้ ี่เหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา จานวนข้อ ระดบั คุณภาพ 6.4 ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริการ จดั การและการจัดการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา 6.5 ติดตามผลการใช้บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ สถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริการจัดการและการจัดการเรียนรู้ ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา สรปุ ผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมินทุกประเด็นพิจารณา/ 4.83 ยอดเยีย่ ม จานวนประเดน็ พิจารณา หมายเหตุ ผลสาเร็จ หมายถึง จานวนขอ้ ท่ปี ฏบิ ัติในแต่ละประเดน็ พิจารณา เกณฑ์การแปลผลการประเมิน เกณฑ์แปลผลสาเรจ็ เกณฑแ์ ปลผลค่าเฉลีย่ จานวนข้อท่ีปฎิบัติ ระดับคะแนน คา่ เฉลยี่ ระดับคุณภาพ ปฏิบัติ 1 ขอ้ 1 คะแนน 1.00 – 1.49 กาลังพฒั นา ปฏบิ ตั ิ 2 ขอ้ 2 คะแนน 1.50 – 2.49 ปานกลาง ปฏบิ ัติ 3 ข้อ 3 คะแนน 2.50 - 3.49 ปฏิบัติ 4 ขอ้ 4 คะแนน 3.50 – 4.49 ดี ปฏบิ ัติ 5 ข้อ 5 คะแนน 4.50 – 5.00 ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม จุดเนน้ และกระบวนการพฒั นาทส่ี ่งผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานท่ี 2 กรอบแนวคิดในการบรหิ ารจดั การวชริ าวุธวิทยาลัย สืบเน่ืองจากใน พ.ศ. 2564 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทาน พระบรมราชานุมัติแต่งต้ังให้ นายเกียรติคุณ ชาติประเสริฐ ดารงตาแหน่งผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย แทนผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรวุธ กิจกุศล ซึ่งครบวาระในการดารงตาแหน่ง (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2564) ดังน้ัน ด้านการบริหารจัดการ ได้มีการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และผลการดาเนินงานที่ผ่านมา ปีการศึกษา 2560 - 2564 และกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกจิ ปีการศึกษา 2564 - 2568 ข้ึนใหม่ เพ่ือเป็นการกาหนด ทิศทางและมุ่งความสาเร็จสู่ผลลัพธ์เดียวกัน ปรับเปลี่ยนผังโครงสร้างบริห ารเพื่อให้การทางาน มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนและปรับกระบวนการในการจัดทาแผนปฎิบัติการและงบประมาณ โดยมีกรอบแนวคิด ในการบรหิ ารจัดการดังน้ี การบริหารจัดการของวชิราวุธวิทยาลัย ตามยุทธศาสตร์ของโรงเรียนจะมุ่งเน้นการเปิดอิสรภาพ การเรียนรู้ใหแ้ ก่นักเรียนในสาคัญ โดยมีแนวคิดการพัฒนาการบริหารและการจัดการท่ีอิงมาตรฐานการพัฒนา
- 59 - คุณภาพท่ีเป็นสากล ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาในหลากหลายด้านพร้อมกัน อันประกอบไปด้วย การพัฒนา ด้านการนาองค์กร การพัฒนาด้านกลยุทธ์ การพัฒนาด้านบริการแก่ผู้รับบริการ (ในท่ีนี่ คือ นักเรียน) และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น การพัฒนาด้านระบบสารสนเทศ การพัฒนาด้านบุคลากร (ครู ผู้กากับคณะ และ บุคลากรอื่น) การพัฒนาด้านกระบวนการทางาน อันจะนาไปสู่ผลลัพธ์อันพึงประสงค์ คือ นักเรียนวชิราวุธ ได้มีอิสรภาพในการเรียนรู้เพ่ือเติมเต็มศักยภาพ เพื่อท่ีจะเป็นสุภาพบุรุษวชริ าวธุ ท่ีมีสมดุลท้ังด้านวชิ าการ และ คณุ ภาพความเป็นมนุษย์ มีการออกแบบระบบการบริหารจัดการโรงเรียนที่มีลักษณะเฉพาะตามโครงสร้างบริหารท่ีปรับปรุง ใหม่ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ๆ คือ สายงานวิชาการ สายงานกิจการนักเรียน สายงานบริหาร และสายงาน กลยุทธ์องค์กรพัฒนาองค์กร ซึ่งการแนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการของโรงเรียนนั้นแยกเป้าหมาย การพัฒนาออกเปน็ สองส่วน คือ ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการที่ตอบสนองความต้องการของนักเรียนเป็นหลัก (Front-End) ประกอบด้วย สายงานวิชาการ และสายงานกิจการนักเรียน โดยในส่วนน้ีจะมุ่งเน้นท่ีจะพัฒนาการบริหาร จัดการให้ตอบสนองเป้าหมายนักเรียนวชิราวุธ (ตลอดจนความคาดหวังของครอบครัว) คือ การพัฒนาระบบ นเิ วศนท์ างการเรยี นรู้ (Vajiravudh Learning Ecosystem) โดยนกั เรยี นวชริ าวุธจะตอ้ งไดร้ ับการศึกษา ที่ มีคุณภาพสามารถทาให้มีความรู้เพ่ือที่จะนาไปใช้ในชีวิตและการศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป ตลอดจนนักเรียน วชิราวุธจะต้องมีโอกาสท่ีจะได้สร้างชื่อเสียงความภาคภูมิใจให้แก่ตนเองผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่พึงมี และ เนื่องจากวชิราวุธวิทยาล้ยเป็นโรงเรียนประจา ดังน้ันนักเรียนจะต้องมีความอบอุ่นในการกินอยู่ในโรงเรียน อยา่ งมีคุณภาพชีวติ ทีเ่ หมาะสม แนวทางการพัฒนา ส่วนท่ี 1 การบริหารจัดการท่ีตอบสนองความต้องการของนักเรียนเป็นหลัก (Front - End) ประกอบด้วย สายงานวิชาการ และสายงานกิจการนักเรียน ดังนี้ 1. การพัฒนาหลักสูตรและ รูปแบบการเรียนรู้ ปรับหลักสูตรในส่วนของวิชาเพ่ิมเติมและเพ่ิมเติมเลือกให้มีความทันสมัย 2. ปรับรูปแบบ การเรียนรู้ให้มีการผสมผสานระหว่างการเรียนรู้เชิงกายภาพ (Physical Learning) ให้ครอบคลุมการเรียนรู้ ในห้องเรียน การเรียนรู้นอกห้องเรียน และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการแข่งขันต่าง ๆ และการเรียนรู้เชิง ดิจิทัล (Digital Learning) ให้ครอบคลุมการเรียนรู้ด้วย e-Book, Mixed Media, Collaborative learning, Gamification เป็นต้น 2. การพัฒนาครู และผกู้ ากบั คณะ โดยพฒั นาความรูแ้ ละทักษะใหม่ ๆ ในการสอนและ จิตวิทยาการดูแลนักเรียนให้แก่ครูและผู้กากับคณะ จัดทา Teacher Portfolio มีการพัฒนาระบบคณะและ กาหนดรายละเอียดงานของผู้กากับคณะให้ชัดเจน และ 3. การพัฒนาความร่วมมือกับพันธมิตร มีการสร้าง เครือข่ายความร่วมมือในระดับโรงเรียน เพ่ือให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนด้วยกันเอง ระดับสถาบันอุดมศึกษาช้ันนาท้ังในประเทศและต่างประเทศ เพ่ือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนในการเข้า ศกึ ษาตอ่ ในระดบั อุดมศกึ ษาต่อไป และระดับสถาบันการศึกษาด้านภาษา เชน่ ภาษาจีน ภาษาญ่ปี ุ่น เปน็ ตน้ ส่วนท่ี 2 การบริหารจัดการท่ีตอบสนองการบริหารจัดการภายในโรงเรียนเป็นหลัก (Back-End) ประกอบดว้ ย สายงานบรหิ าร และสายงานกลยุทธ์องค์กรและพัฒนาองค์กร โดยในสว่ นนจี้ ะมงุ่ เน้นที่จะพัฒนา กลไกการบรหิ ารจัดการและการปฏิบตั ิงานให้มีประสิทธิภาพสูง (เรว็ แม่นยาสงู ประหยัด และโปรง่ ใส) เพื่อให้ การบริหารจดั การโรงเรียนท้ังระบบมปี ระสิทธิภาพสูงไปด้วย แนวทางการพัฒนาส่วนที่ 2 การบริหารจัดการที่ตอบสนองการบริหารจัดการภายในโรงเรียน เป็นหลัก (Back-End) อันประกอบด้วย สายงานบริหาร และสายงานกลยุทธ์องค์กรพัฒนาองค์กรนั้น จะมี จุดที่ควรพัฒนา คือ 1. การปรับกระบวนการทางานให้เป็นอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพสูง โดยจัดทา
- 60 - คู่มือมาตรฐานการทางาน ปรับกระบวนการทางานให้เป็นมาตรฐานที่เน้นความรวดเร็ว ความแม่นยา ความประหยัด และความโปร่งใส นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการทางาน 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศ พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารการศึกษา อาทิ ระบบฐานขอ้ มูลนักเรยี น ระบบงานทะเบยี นและวัดผล การศึกษา พัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร อาทิ ระบบการเงิน/การบัญชี ระบบจัดซ้ือ ระบบบริหารสหกรณ์ เป็นต้น และพัฒนาเว๊บไซต์ของโรงเรียน 3. การพัฒนาบุคลากรสายงานสนับสนุน การพัฒนาความรู้และทักษะใหม่ ๆ ให้แก่บุคลากรโดยให้มีที่ปรึกษาเข้ามาชว่ ย และการเปิดโอกาสให้บุคลากร ได้แสดงความคิดเห็นในการพัฒนางาน และ 4. การพัฒนาระเบียบการทางานและโครงสร้างการทางาน โดยการปรับปรุงระเบียบสาคัญที่อาจจะล้าสมัยให้มีความทันสมัยและรัดกุมเหมาะสมกับสถานการณ์ ปัจจุบัน มากขึน้ และการปรบั ปรุงโครงสร้างการทางานใหม้ คี วามเหมาะสมมากขนึ้ ดังน้ัน จุดเน้นและกระบวนการท่ีส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 คือ กระบวนการกาหนด เปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ พันธกจิ ของวชิราวธุ วิทยาลัย (ปีการศึกษา 2564 – 2568) ดงั น้ี กระบวนการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ของวชิราวุธวิทยาลัย (ปีการศึกษา 2564 - 2568) หน่วยงานที่รายงานขอ้ มลู สายงานยุทธศาสตร์และพัฒนาองคก์ ร มีขน้ั ตอนดงั นี้ ข้ันการวิเคราะหย์ ุทธศาสตร์ (Strategic Analysis) ผู้บังคับการได้จัดตั้งคณะทางานจัดทายุทธศาสตร์ของโรงเรียนปีการศึกษา 2564 - 2568 โดยให้ คณะทางานได้รวบรวมข้อมูลนาเข้าที่สาคัญเพื่อใช้ในการจัดทายุทธศาสตร์ของโรงเรียน ประกอบด้วย พระราชประสงค์ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวรัชกาลท่ี 6 แนวทางการพัฒนาโรงเรยี นของผูบ้ ริหารในอดีต ตลอดจนแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาในอนาคต อาทิ ฉากทัศน์ของระบบการศึกษาในอนาคต (Scenario of Future Education System) 21st Century Skills เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals) จากนั้นได้นาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมดมาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของโรงเรียน (SWOT Analysis) และวิเคราะห์หากลยุทธ์ด้วย TOWS Matrix และนาไปสู่การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยทุ ธศาสตร์ รายละเอียดแสดงดังภาพท่ี 6 – ภาพท่ี 9 ภาพที่ 6 แสดงพระบรมราโชบายของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั
- 61 - ภาพที่ 7 แสดงคาแปลพระราชบันทึก(บางส่วน)ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ภาพที่ 8 แสดงฉากทัศน์ของระบบการศึกษาในอนาคต
- 62 - ภาพที่ 9 แสดงทักษะของศตวรรษท่ี 21 ขัน้ การกาหนดยุทธศาสตร์ (Strategic Formulation) เม่ือคณะทางานจัดทายุทธศาสตร์ได้ร่างยุทธศาสตร์ของโรงเรียนแล้ว จึงได้นาเสนอร่างยุทธศาสตร์ ต่อคณะกรรมการอานวยการเพื่อให้รว่ มกาหนดทศิ ทาง (Strategic Direction) และกาหนดประเด็นการพัฒนา โรงเรียน (Strategic Issues) โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการอานวยการและคณะทางาน จัดทายุทธศาสตร์ ในลักษณะของการประชุมเชิงปฏิบัติการ และมีกิจกรรมการระดมสมอง จนได้ออกมาเป็น ยุทธศาสตร์ของโรงเรียนอันประกอบไปด้วย วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) นิยามของวิถีวชิราวุธ ค่านิยมองคก์ ร (Values) และเปา้ หมาย (Goals) ดงั ภาพที่ 10 ภาพท่ี 10 แสดงภาพรวมยุทธศาสตร์ของวชิราวธุ วทิ ยาลยั
- 63 - วิสัยทศั น์ (Vision) อิสรภาพในการเรียนรู้ เพื่อเติมเตม็ ศักยภาพของผูเ้ รยี น (Liberalizing Individual Potential) พันธกิจ (Mission) ให้ความสาคัญกับศักยภาพเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลให้อิสรภาพในการเรียนรู้อย่างสนุกสนาน เพลิดเพลินตามความสนใจสร้างสมดุลในด้านวิชาการกับการเสริมสร้างทัศนคติและบุคลิกภาพภายใต้วิถี วชริ าวุธ เพ่อื สร้างสภุ าพบรุ ษุ ท่ีเป็นพลเมืองคณุ ภาพ มีความรู้ความสามารถ มีคณุ ธรรมและศีลธรรม รูจ้ ักหน้าที่ มวี นิ ยั และรบั ผิดชอบ เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม มีความเป็นไทย เท่าทนั โลกท่เี ปลยี นแปลงอย่างรวดเร็ว มงุ่ ม่ัน บากบัน่ ที่จะเผชญิ ความท้าทาย และสามารถสรา้ งชวี ิตและสังคมทีม่ ีความสขุ ได้ในอนาคต เป้าหมายของโรงเรียน (Goal) “หน่ึงในโรงเรียนประจาชายล้วนท่ีดีท่ีสุดในโลกโรงเรียนประถมท่ีเป็นเลิศในการสร้างทัศนคติและ บคุ ลิกภาพ และเปน็ โรงเรียนมธั ยมทีเ่ ปน็ เลศิ ในการสรา้ งศักยภาพและความร้ดู ้านวิชาการ” คุณคา่ (Values) หมายถึง การสร้างนักเรียนให้เป็นสุภาพบุรุษ ที่มีค่านิยมและเจตคติท่ีดีเก่ียวกับความจงรักภักดี (Loyalty) ความซื่อสัตย์ (Integrity) การให้เกียรติผู้อื่น (Respect) ความอ่อนน้อมถ่อมตน (Humble) ความรบั ผิดชอบ (Accountability) การเหน็ แก่สว่ นรวม (Social Responsibility) นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ อิสรภาพในการเรียนรู้ คือ เสรีภาพท่ีโรงเรียนมอบให้ตามความสนใจของผู้เรียนแต่ละค น ในบรรยากาศการเรียนรู้อย่างเพลิดเพลินเพ่ิมเติมจากหลักสูตรพ้ืนฐานของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้ ศลี ธรรมและจรรยาบรรณของสังคมทีเ่ หมาะสม วิถีวชิราวุธ คือ “ระบบนิเวศแห่งการเรียนรู้” (Vajiravudh Learning Ecosystem) เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง (Student Centric) ภายใต้บรรยากาศท่ีมีอิสรภาพในการเรียนรู้ (Liberalizing) อย่าง สนุกสนานเพลินเพลิน (Play & Learn) เพื่อตอบสนองศักยภาพ (Potential) และความใฝ่รู้ (Curiosity) ของ ผู้เรียนแต่ละคน (Individual) ภายใต้สมดุลระหว่างองค์ความรู้ (Academic Knowledge) กับการพัฒนา คณุ ภาพมนษุ ย์ (Human Quality) ขั้นการถา่ ยทอดยุทธศาสตร์และนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ เม่ือได้ยุทธศาสตร์ของวชิราวุธวิทยาลัยเป็นทางการแล้ว ผู้บังคับการได้ถ่ายทอดยุทธศาสตร์ให้แก่ บุคลากรของโรงเรียนได้รับทราบโดยทั่วกัน ต้ังแต่ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง และผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดับโดยการส่ือสารผ่านหลากหลายช่องทาง อาทิ การประชุมผู้บริหาร การถ่ายทอดผ่านช่องทางดิจิทัล เปน็ ต้น จัดทาเอกสาร “วิสัยทศั น์ พันธกิจและเป้าหมายวชิราวธุ วทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา 2564 – 2568 จดั ประชมุ เผยแพรแ่ ก่ครูและบุคลากร ผา่ นระบบ Zoom และเผยแพร่ทางเวบ็ ไซต์ประกาศให้ทราบทว่ั กนั จดั ทา แผนวิสัยทัศน์และกลยุทธ์การบริหารวชิราวุธวิทยาลัย ประจาปีการศึกษา 2564 – 2568 จัดทาแผนพัฒนา เพ่ือให้ครูและบุคลากรนาไปใช้ในการทาแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2565 และฝ่ายบริหารนาไปใช้ใน การกาหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนาและใช้เป็นองค์ประกอบในการอนุมัติ กากับ ติดตาม โครงการ/ งบประมาณ
- 64 - ขนั้ จัดทาแผนปฎิบัตกิ ารและงบประมาณประจาปีการศึกษา 2564 ด้วยตระหนักถึงความคุ้มค่าและความมีประสิทธิภาพในการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ในปีการศึกษา 2564 ผู้บังคับการจึงมอบหมายท่ีปรึกษาให้ดาเนิน การวางแผนและจดั ให้มีกระบวนการจัดทางบประมาณประจาปีการศกึ ษา 2564 ดงั น้ี - จัดให้มีการอบรม “แนวทางการจัดทางบประมาณสาหรับการดาเนินงานในปีการศึกษา 2564” จานวน 2 คร้ัง แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องจากทุกสายงาน เพื่อให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือในการทางาน มีการปรับปรุงแบบเสนอแผนงานและแบบเสนอโครงการ เพ่ือผู้บริหารและบุคคลากรได้เห็นภาพรวม งบประมาณ ตัวช้ีวัด ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และแนวทางต่อยอดการใช้ประโยชน์จากผลการดาเนินงาน อย่างชัดเจน นาไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งบประมาณจากการจัดลาดับความสาคัญ และการลด งบประมาณทซี่ ้าซ้อน - จัดประชุมบุคลากรทุกสายงานเพื่อพฒั นาแผนงานและข้อเสนอโครงการแบบบูรณาการความร่วมมือ อย่างเข้มข้น โดยเฉพาะระหว่างสายงานวิชาการและสายงานกิจการนักเรียน เพื่อพัฒนาหลักสูตร/กิจกรรม ใหม้ คี วามเช่ือมโยงและสอดคลอ้ งในการสรา้ งความสมดลุ ระหว่าง AK กับ HQ และนาเสนอต่อคณะผบู้ รหิ าร - ในส่วนของคณะผู้บริหาร ผลการพิจารณาแผนงานและข้อเสนอโครงการในปีการศึกษา 2564 วชิราวุธวิทยาลัยจึงให้ความสาคัญต่อการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นอนั ดับแรก เพอื่ เพิ่มความพร้อมและประสิทธิภาพในการจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ตามแต่ละ สถานการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ทงั้ แบบ On line และ On site รวมถงึ ระบบของ Smart Classroom ด้วย - ผลลัพธ์จากการดาเนินการโรงเรียนมีแผนพัฒนาและปฎิบัติการที่มีโครงการ/กิจกรรมคลอบคลุม ทกุ กลยทุ ธแ์ ละมกี ารจัดสรรงบประมาณทเ่ี น้นความจาเปน็ ประหยดั และคุม้ ค่า - ขั้นประเมินผลและนาผลไปปรับปรุง/พัฒนา จากผลการประเมินคุณภาพภายในปีการศึกษา 2563 ด้านบริหารจัดการท่ีได้มาตรฐานสากล คณะกรรมการมีข้อเสนอแนะให้วชิราวุธวิทยาลัยทาการบริหารจัดการ ทรัพย์สิน เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจ โดยคานึงถึงความคุ้มค่าการลงทุนและความเสี่ยงที่ผ่าน การประเมินผลได้ผลเสียอย่างรอบด้าน (Intelligent Risk) ซึ่งในปีการศึกษา 2564 วชิราวุธวิทยาลัยได้ ดาเนินการก่อนแล้วในด้านความคุ้มค่าและประสิทธิภาพในการลงทุน ในส่วนของความเสี่ยงท่ีผ่านการ ประเมินผลได้ผลเสียอย่างรอบด้าน (Intelligent Risk) วชิราวุธวทิ ยาลัยจะได้ดาเนินการตามข้อเสนอแนะในปี การศกึ ษาต่อไป - คณะกรรมการกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานโครงการ/งาน ตามแผนวิสัยทัศน์และกล ยุทธ์การบริหารวชิราวุธวิทยาลัย ประจาปีการศึกษา 2564 – 2568 ทุกปีการศึกษา นาผลการประเมินมา วิเคราะห์และสรุปผลการดาเนนิ งาน และใช้เป็นสารสนเทศในการปรับปรุงพัฒนาในปีตอ่ ไป
- 65 - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ จานวนครูท้ังหมด 64 คน การปฏบิ ัตงิ าน เปา้ หมาย จานวนครู ผลการประเมนิ ร้อยละ ร้อยละ คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ บรรจุ ผา่ น ปฏบิ ตั ิ เกณฑ์ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ ปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิต 90 64 62 96.88 ยอด ได้ เย่ยี ม 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน 64 100.00 การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการ 64 100.00 คิดและการปฏิบัติจริง 100.00 64 1.2 มีแผนการจดั การเรยี นร้ทู ีส่ ามารถนาไปใช้ 82.81 จัดกจิ กรรมไดจ้ รงิ 53 100.00 1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสาหรับ 64 89.06 ดเี ลศิ ผู้ที่มีความจาเป็น และต้องการความช่วยเหลือ 90 64 57 89.06 พิเศษ 89.06 57 89.06 1 . 4 ฝึ ก ทั ก ษ ะ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ แ ส ด งออก 57 85.94 ดีเลศิ แสดงความคิดเห็นสรุปองค์ความรู้ และนาเสนอ 57 87.50 ผลงาน 90 64 55 56 82.81 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ 53 2 . ใ ช้ ส่ื อ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ แหลง่ เรียนรทู้ เ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 2 . 1 ใ ช้ ส่ื อ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ในการจัดการเรียนรู้ 2.2 ใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการจดั การเรียนรู้ 2.3 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ ด้วยตนเองจากส่ือทห่ี ลากหลาย 3. มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก 3.1 ผู้สอนมีการบริหารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการมปี ฏสิ ัมพันธเ์ ชิงบวก 3.2 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้เด็ก รักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักท่ีจะ เรยี นรู้ สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกนั อย่างมีความสขุ
- 66 - การปฏบิ ตั งิ าน เป้าหมาย จานวนครู ผลการประเมนิ รอ้ ยละ ร้อยละ คุณภาพ ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ บรรจุ ผ่าน ปฏบิ ตั ิ เกณฑ์ 87.50 ดเี ลิศ 4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ 90 64 56 89.06 ดีเลิศ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 89.69 ดีเลิศ 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ 50 การจัดการเรยี นรู้อย่างเปน็ ระบบ 4.2 มีขั้นตอนโดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัด และประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายใน 62 การจดั การเรยี นรู้ 4.3 เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่มีสว่ นเกีย่ วข้อง มีส่วน รว่ มในการวดั และประเมินผล 4.4 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้ ในการพัฒนาการเรียนรู้ 5. มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อน 90 64 57 กลับ เพื่อพัฒนาปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ 5.1 ผมู้ สี ่วนเกย่ี วข้องร่วมกันแลกเปล่ยี นความรู้ และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ 5.2 นาข้อมูลป้อนกลับไปใช้ในการปรับปรุง และพฒั นาการจดั การเรียนรู้ของตนเอง ผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทกุ ประเดน็ พจิ ารณา/จานวนประเดน็ พจิ ารณา หมายเหตุ ผลการประเมนิ (รอ้ ยละ) = (100 X จานวนครผู ่านเกณฑ์ทโ่ี รงเรียนกาหนด)/จานวนครูทงั้ หมด เกณฑก์ ารแปลผลการประเมินคณุ ภาพ รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 หมายถงึ กาลงั พัฒนา ร้อยละ 50.00 – 59.99 หมายถึง ปานกลาง รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 หมายถึง ดี รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 หมายถงึ ดเี ลศิ ร้อยละ 90.00 – 100.00 หมายถึง ยอดเย่ียม จุดเน้นและกระบวนการพฒั นาทส่ี ง่ ผลตอ่ ระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 3 จุดเน้นหรือกระบวนการท่ีส่งผลต่อระดับคุณภาพของการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นนักเรียนเป็น สาคัญประกอบด้วย 2 กระบวนการ คือ กระบวนการพัฒนาครูสู่ครูมืออาชีพวชิราวุธวิทยาลัย และ กระบวนการพัฒนาบุคลากรสายงานกิจการนักเรียนให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพในการดูแลนักเรียนเป็น สาคัญ ดังนี้
- 67 - กระบวนการที่ 1 กระบวนการพัฒนาครสู คู่ รูมอื อาชีพวชิราวธุ วิทยาลัย หน่วยงานที่รายงานขอ้ มูล สายงานวชิ าการ ผลจากการประเมินคณุ ภาพภายในวชิราวุธวทิ ยาลัย ประจาปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการประเมิน มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการสร้างความพร้อมของระบบการพัฒนาครูผู้สอนและบุคลากร เพื่อให้เกิด ความเช่ือม่ันท่ีจะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ที่เป็นส่วนสาคัญต่อความสาเร็จในการนาหลักสูตรท่ีเน้นการพัฒนา สมรรถนะของผู้เรียนไปปฏิบัติ และเสนอแนวทาง ดังน้ี 1. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนและบุคลากรสายสนับสนุน มีความพร้อมที่จะดาเนินการตามในข้ันตอนการปฏิบัติ 2. มุ่งมองอนาคตของการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันที่ อาจจะเกิดข้ึนอย่างไม่รู้ตัว 3. สนับสนุนให้ครูเข้าใจแนวทางใหม่ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน 4. เขา้ ถงึ ทรัพยากรและความรู้ใหม่ ๆ ในการสร้างสภาพแวดล้อมในชน้ั เรียนให้เอื้ออานวยต่อการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ และ 5. ส่งเสริมการทางานเป็นทีม ร่วมกันคิด ร่วมปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อใหก้ ารเรยี นการสอนเป็นไปอย่างมคี ุณภาพ นอกจากนั้นแล้ว ในปัจจุบันด้วยบริบทของยุคดิจทิ ัลทาใหม้ ีช่องทางมากมายท่ีนักเรียนสามารถเรียนรู้ ได้อย่างกว้างขวางรวดเร็วและว่องไวด้วยตนเองหรือจากการสนับสนุนของผู้ปกครองท่ีคาดหวังให้นักเรียน มีทักษะและสมรรถนะที่จาเป็นของศตวรรษที่ 21 และโลกแห่งอนาคต ที่มีความสามารถในการแข่งขัน ครูผู้สอนจึงจาเป็นต้องปรับบทบาทและกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองกับความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครองและสังคม ครูต้องตระหนักในการพัฒนาสมรรถนะและทักษะของตนเองให้มีความสามารถในการ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ พร้อมที่จะสร้างทักษะและสมรรถนะให้เกิดแก่ผู้เรียนทั้งด้าน วิชาการ (Academic Knowledge) และด้านคุณลักษณะของนักเรียน คือ รอบรู้ มีบุคลิกภาพดี มีศีลธรรมและคุณธรรม มีความกตัญญู รักชาติศาสน์กษัตริย์เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และสามารถสร้างชีวิต และสงั คมท่ีมคี วามสขุ ไดใ้ นอนาคต ดงั นั้น ครจู ึงควรมีความรู้เกี่ยวกบั ดา้ นการศกึ ษา เทคนคิ การสอนต่าง ๆ และจติ วทิ ยาเด็กตามวัยตา่ ง ๆ เพ่ือสามารถเลือกวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็น Active Learning ได้ดีและเข้าใจนักเรียน มีการใช้ หลักจิตวิทยาจัดการชั้นเรียนได้ดี และสามารถดูแลเสริมสร้างคุณลักษณะท่ีดีให้กับนักเรียนได้ นอกจากน้ัน มีความจาเป็นที่ครูจะต้องมีความสามารถในการใช้ดิจิทัลและภาษาเพ่ือสร้างสื่อการสอนและจัดกิจกรรม การเรยี นรูด้ ว้ ย Application ต่าง ๆ ท่ีทนั สมัย รวมท้งั เปน็ ผรู้ ักการพฒั นาตนเองและรักการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ด้วยคุณประโยชน์ท่ีจะเกิดแก่นักเรียนดังกล่าวและเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการพัฒนาครู วชิราวุธวิทยาลัยจึงให้มีการพัฒนาสมรรถนะครู เป็นโครงการต่อเน่ืองปีการศึกษา 2564 - 2565 ดว้ ยกระบวนการพัฒนาครูสู่มืออาชพี ดังตอ่ ไปน้ี ข้นั วางแผน ฝ่ายบริหารระดับสูงประกอบด้วย ผู้บังคับการ รองผู้บังคับการสายงานวิชาการ ท่ีปรึกษาผู้บังคับการ ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ร่วมกันวางแผนกาหนดยุทธ์ศาสตร์ในการเสริมสร้างและพัฒนาครูให้มีสมรรถนะ ของการเป็นครูมืออาชีพ กาหนดเป้าหมายการพัฒนา ฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานพัฒนาครูและคณะ ทบทวน เอกสารการประเมินครูวชิราวุธวิทยาลัยพบว่าไม่มีการกาหนดสมรรถนะครูมาก่อน ศึกษาเอกสารและกรอบ การประเมินครูของสถาบันต่าง ๆ เพ่ือนามาปรับให้เข้ากับบริบทของวชิราวธุ วทิ ยาลยั ได้ข้อสรุปนามากาหนด องค์ประกอบหลักและรายการย่อยของสมรรถนะครูวชิราวุธวทิ ยาลยั จัดทา (ร่าง) สมรรถนะครูมืออาชีพ และ จดั ทาแผนพฒั นาครูสมู่ ืออาชีพ
- 68 - ขั้นดาเนินการกาหนดสมรรถนะครูมืออาชีพวชิราวธุ วิทยาลยั ฝ่ายวิชาการประชุมครูเพื่อสร้างความตระหนัก ความจาเป็นของการปรับตัวและพัฒนาตนเองให้ทัน กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วในยุคดิจิทัล และวิสัยทัศน์ของโรงเรียนในปัจจุบันที่ปรับเปลี่ยน เช่นเดียวกัน พร้อมกับสร้างแรงจูงใจให้ครูมีเป้าหมายในการพัฒนานักเรียนร่วมกัน ประชุมผู้เก่ียวข้องและ ผทู้ รงคุณวุฒิพิจารณาและปรับแก้ (ร่าง) องคป์ ระกอบสมรรถนะ “ครมู อื อาชีพวชิราวธุ วิทยาลัย”ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1. ด้านศาสตร์การสอน หมายถึง การท่ีครูมีความรู้เก่ียวกับด้านการศึกษา ทฤษฎีการสอนหรือ เทคนิควิธีสอนอย่างหลากหลายและสามารถเลือกใช้วิธีการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่สอดคล้องกับเนื้อหา สาระที่สอน สามารถจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียน การสอนในช้ันเรียนอย่างมี ประสิทธิภาพ มี 20 รายการ 2. ด้านดิจิทัลและภาษา หมายถึง การที่ครูมีความสามารถในการใช้ดิจิทัลและ ภาษาเพื่อนามาพัฒนาส่ือและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้น่าสนใจและมีความทันสมัย มี 8 รายการ 3. ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรยี น หมายถึง การทค่ี รูสามารถนาหลักจิตวิทยามาใช้ในการจัดการชั้นเรียนเป็นบวก เขา้ ใจนักเรยี น/ช่วยเหลือนักเรยี นเป็นรายบคุ คล จดั กิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสมกบั วยั ของนักเรียนมี 8 รายการ 4. ด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง การท่ีครูมีการศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมอยู่เสมอเพ่ือจะได้นา ความรู้ใหม่ ๆ มาพัฒนานักเรียนให้ทันการเปล่ียนแปลง และสร้างลักษณะนิสัยการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับ ตนเองและนักเรียน มี 5 รายการ ขน้ั ดาเนินการพฒั นาครูสู่ครมู ืออาชพี วชิราวธุ วิทยาลัย - จัดทาสมรรถนะครูมืออาชีพวชิราวุธวิทยาลัยที่ผ่านการพิจารณาแล้วนาเสนอต่อที่ประชุมฝ่ าย บรหิ าร/คณะกรรมการวิชาการ จัดทาเปน็ แบบประเมินให้ครูประเมินตนเองและนาผลการประเมินมาวเิ คราะห์ ระดบั คุณภาพจากการประเมินตนเองของครูในแตล่ ะสมรรถนะ - นาผลการประเมินมาวิเคราะห์สรุปเป็นภาพรวมรายหมวดวิชาเพ่ือดูว่าแต่ละสมรรถนะมีคุณภาพ ระดับใด สมรรถนะใดที่มีระดับคุณภาพมากถือวา่ เป็นจดุ แข็งของครูควรเสรมิ สรา้ งให้มีมากยิ่งขึ้น สมรรถนะใด มีระดบั คณุ ภาพตา่ ต้องการเสริมสร้างเร่งด่วน - ประชุมหัวหน้าหมวดและผู้เกี่ยวข้อง โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิเป็นท่ีปรึกษา ร่วมกันวางแผนกาหนดยุทธ์ ศาสตร์การพฒั นาครรู ายหมวดวชิ าและครูวางแผนพฒั นาตนเองด้วย ID Plan - พัฒนาสมรรถนะครูด้านดิจทิ ัล ด้วยการจัดอบรมเชงิ ปฎิบตั ิการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีการสอน ด้วยการจัดอบรม Upskill Introduction Designer ให้ครูทุกคน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆ ละ 3 วัน ต้ังแต่เดือน มีนาคม - เมษายน พ.ศ. 2565 ผลการอบรมครูสามารถนาเสนอหรือสร้างส่ืออย่างน้อยคนละ 1 ช้ินงาน (มีผลงานนาเสนอในเว็บไซต์ของโรงเรียน และผลการประเมนิ แสดงในภาคผนวก) - พัฒนาสมรรถนะครูด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียนด้วยการจัดอบรมเร่ืองเสริมพลังครูเพื่อปรับปรุง พฤตกิ รรมเดก็ วยั เรยี นและวัยรนุ่ โดยคณะวทิ ยากรจากสถาบนั สุขภาพจติ และวยั ร่นุ ราชนครินทร์ จานวน 2 วัน ในวันท่ี 10 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2565 เพอื่ ให้ครมู ีความรู้ และความเขา้ ใจ ในการนาหลักจิตวิทยามาประยกุ ต์ใช้ ในการออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะกับวัยนักเรียน สามารถใชค้ าพูดท่ีเป็นบวกในช้ันเรียนให้ มีบรรยากาศความสุข และช่วยแก้ปัญหานักเรียนท่ีมปี ัญหาในชน้ั เรียนด้วยหลักจิตวทิ ยา (ผลการประเมินแสดง ในภาคผนวก ข)
- 69 - - พัฒนาสมรรถนะครูด้านศาสตร์การสอนด้วยการจัดประชุมเชิงปฎิบัติการ 2 เร่ือง คือ เรื่องที่ 1 การจัดการเรียนร้เู ชิงรุก โดยคณะวทิ ยากรจากจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั เพ่อื ให้ครูมีความรู้ความเข้าใจเชอื่ มโยง สู่หลักสูตรสมรรถนะและสามารถออกแบบและจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning รวมทั้ง การเขียนบันทึกหลังสอนเพื่อนาสู่การวิจัยในชั้นเรียนต่อไป ผลการอบรมครูทุกคนมีแผนการสอนรายชั่วโมง ทุกรายวชิ าปกี ารศึกษา 2565 (วันที่ 28 - 29 มนี าคม พ.ศ. 2565) เร่อื งท่ี 2 จากการสอบสู่การสอน เนน้ ให้ครู สามารถออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดให้นักเรียน โดยคณะวิทยากรจากคณะ ศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (วนั ท่ี 30 - 31 มนี าคม พ.ศ. 2565) - พัฒนาสมรรถนะด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิต โรงเรียนสร้างบรรยากาศท่ีกระตุ้นและผลักดันให้ครู ใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อย่างกระตือรือร้น ด้วยการให้ครูได้รับทุนศึกษาต่อในสาขาท่ีสนใจหรือตามความจาเป็น ของวชิราวุธวิทยาลัย เปิดโอกาสให้เข้ารับการอบรมกับหน่วยงาน/สถาบันการศึกษาภายนอก สาหรับ ภายในโรงเรียนครูมีการรวมกลุ่มประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในกลุ่มอยู่เป็นประจา และโรงเรียนเปิดเวที ใหค้ รูมีโอกาสนาเสนอผลงานทโ่ี ดดเด่น ข้นั การนเิ ทศ ตดิ ตาม ในการจัดกิจกรรมอบรมพัฒนาครู ผู้บริหารระดับสูง รองผู้บังคับสายงานวิชาการ และผู้อานวยการ ฝ่ายวิชาการให้ความสาคัญเข้าร่วมกิจกรรมและสังเกตการณ์ตลอดการอบรม เพ่ือสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ร่วมกัน มีการประเมินผลการอบรมทุกครั้ง และนาผลการอบรมมาพัฒนาการทางาน เช่น การอบรม เรื่อง การจัดการเรียนรู้เชิงรุก เมื่อเปิดภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ครูทุกคนต้องจัดทาแผนการเรียนรู้ตาม แนวทางท่ไี ด้รบั การอบรมทุกรายวชิ า การอบรม Upskill Introduction Designer ครตู ้องมีสอ่ื การสอนดิจิทัล อยา่ งนอ้ ย 1 ชน้ิ ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน เป็นตน้ ข้ันประเมินผลและปรบั ปรุงพัฒนา ผลการดาเนินงานตามกระบวนการพัฒนาครูสู่มืออาชีพ ทาให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ครูมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการออกแบบการสอนและการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรและจุดเน้นของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการออกแบบและจัดทาแผ น การจัดการเรียนรู้ทั้งการสอนแบบ Online และ Onsite ท่ีมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning ส่งเสริมการคิด ระดบั สูงการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและ ตัวช้ีวัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูสามารถจัดการเรียนการสอนผ่านแพลตฟอร์ม Google Classroom ในช่วงวิกฤติการแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูทุกคนใช้ส่ือการเรียนรู้ที่หลากหลาย และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ครูมีการพัฒนาการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวกเนื่องจากได้รับความรู้เกี่ยวกับ จิตวิทยา การใช้คาพูดเชิงบวกกับนักเรียนในการสอน การพัฒนาวนิ ัย การปรับพฤติกรรม และใช้กิจกรรมกล่มุ กิจกรรมเพ่ือนช่วยเพ่ือน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการสร้างบรรยากาศเชิงบวก ในการเรียนดว้ ยการใช้คาพดู เชงิ บวก การใช้แรงเสรมิ และใชค้ าถามกระต้นุ ผู้เรียนให้คดิ มกี ารประเมนิ ผลตาม สภาพจรงิ ที่ครอบคลมุ ตามตัวช้วี ดั และผลการเรยี นรู้ มกี ารประเมนิ ผ้เู รียนไดเ้ หมาะสม นักเรยี นได้มีสว่ นร่วมใน การประเมินผล และให้ข้อมูลกับงานของเพื่อน นักเรียนได้ปรับและพัฒนางานระหว่างดาเนินการ ตามคาแนะนาของครู ครูทุกคนมีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ซึ่งกนั และกันอย่างต่อเน่ือง
- 70 - กระบวนการที่ 2 กระบวนการพัฒนาบุคลากรสายงานกจิ การนักเรยี นให้มีความเช่ยี วชาญ ทาง วชิ าชีพในการดูแลนกั เรยี นเป็นสาคญั หนว่ ยงานท่ีรายงานข้อมลู สายงานกิจการนักเรียน วชิราวุธวิทยาลัย มุ่งพัฒนานักเรียนให้ความรู้ทางวิชาการท่ีมีความสมดุลท้ังด้าน AK กับ HQ ภายใต้ การเรียนรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ท่ีเน้นการพัฒนาศักยภาพเฉพาะตัวของนักเรียนแต่ละคนตามหลัก พหปุ ญั ญา (Multiple Intelligences) 8 ดา้ น ผา่ นกระบวนการจดั การเรยี นรู้อย่างเพลิดเพลนิ (Play & Learn) ในการนี้ผู้บริหารวชิราวุธวิทยาลัย จึงได้มอบนโยบายที่ชัดเจนแก่ฝ่ายกากับคณะในการดูแลและพัฒนาการ อยูอ่ าศัยและใช้ชวี ิตในคณะของนักเรยี นให้มีความสุข (Happy Living Place) เสมอื นเปน็ บ้านท่ี 2 โดยผู้กากับ คณะเปรียบเสมือนผู้ปกครองที่คอยดูแลเอาใจใส่ด้วยการให้ความรัก ความอบอุ่นและความเข้าใจอย่างใกล้ชิด รวมท้ังเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตนที่ดี ในการน้ี รองผู้บังคับการสายงานกิจการนักเรียนจึงได้ร่วมกับที่ปรึกษาในการพัฒนาบุคลากรสายงาน กิจการนักเรียน โดยเฉพาะฝ่ายกากับคณะให้มีความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มทักษะความเชี่ยวชาญในการกากับ ดูแลคณะ เพ่ือส่งเสริม/สนับสนุนการทางานท้ังในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียนให้เกิดความความไว้วางใจและ ความเคารพ (Trust & Respect) และในส่วนที่เกยี่ วข้องกับสายงานวิชาการให้สามารถบรู ณาการการทางานได้ อย่างผสมผสานกลมกลืน ผ่านกระบวนการบรรยาย/อบรม/อบรมเชิงปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นการดาเนินงาน ท่ีสอดคล้องกับผลการประเมินคุณภาพภายในปีการศึกษา 2563 ด้านบริหารจัดการที่ได้มาตรฐานสากล ซึ่งคณะกรรมการมีข้อเสนอแนะให้วชิราวุธวิทยาลัยสร้างความพร้อมของระบบการพัฒนาครูผู้สอนและ บุคลากร เพื่อให้เกิดความเช่ือม่ันท่ีจะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ที่เป็นส่วนสาคัญต่อความสาเร็จในการนา หลักสูตรท่ีเน้นการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนไปปฏิบัติ การพัฒนาบุคลากรสายงานกิจการนักเรียนให้มี ความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ มขี ัน้ ตอนดังนี้ ขั้นวางแผน มีการวางแผนการจัดประชุม โดยจัดทาแบบสอบถามเพ่ือการพัฒนาประสิทธิภาพของบุคคลากรและ กระบวนการทางาน รวมท้ัง สารวจความต้องการในการฝึกอบรม (Training Need Survey) แล้วจึงทาการ ออกแบบการจัดบรรยาย/อบรม/อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร ในเรอื่ งทสี่ าคญั /จาเปน็ ให้เหมาะสม ขัน้ ดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การจัดบรรยาย/อบรม/อบรมเชิงปฏิบัติการ ใน 4 ดา้ น ดงั นี้ 1) ดา้ นการเรียนรแู้ ละทักษะ ในศตวรรษท่ี 21 และการพฒั นาศกั ยภาพตามหลักพหปุ ญั ญา 6 เรือ่ ง ไดแ้ ก่ How to be a good mentor. How to develop 21st century skills. Active listening: The art of empathetic conversation. How to practice constructive dialogue. Self แ ล ะ Critical thinking,problem solving, decision making skills 2) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 เรื่อง ได้แก่บทบาท หน้าที่และมารยาทในการอยู่ร่วมกัน ในโรงเรียน และ การสร้างเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษาโดยใชห้ ลักการพ้ืนฐานของคุณธรรมและ จรยิ ธรรม3) ด้านพฤตกิ รรมนักเรียน 2 เร่ือง ไดแ้ ก่ ปัญหาพฤติกรรมนักเรยี นอันเน่ืองมาจากปัญหาสขุ ภาพและ จิต และ การปรับพฤติกรรมเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น Health and educational regional operation: HERO 4) ด้านการบูรณาการความร่วมมือกับฝ่ายวิชาการ 4 เร่ือง ได้แก่ แนวทางการบูรณาการสมาคมต่าง ๆ
- 71 - แนวทางการบูรณาการโครงการฝ่ายกิจกรรมและฝ่ายวิชาการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทิศทางการพัฒนาครู และการพฒั นาศกั ยภาพผ้เู รยี น ในหัวข้อ “SEP for SDGs via BCG Economy Model” ขน้ั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและนาผลไปปรับปรุง/พฒั นา มีการประเมินผลผ่านการพูดคุยซักถามถึงความรู้ ความเข้าใจ การนาเอาความรู้ไปใช้ประโยชน์ และ การนาเสนอผลงานรายบุคคล ร่วมกับการสังเกตการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ภายหลังการดาเนินงานเป็น ระยะเวลา 6 เดือน ในภาพรวม พบว่า บุคลากรทั้งหมด มีความสนใจ ใส่ใจและต้ังใจท่ีจะเรียนรู้ จากการเข้า ห้องประชุมเร็วและครบทุกคน (เว้นกรณีติดสอน ติดประชุมสาคัญ) และหลังเลิกอบรมแล้วยังอยู่ประชุมกลุ่ม ย่อย/ร่วมกันทางานต่อเน่ือง การเปลี่ยนจากพูดน้อย สงวนท่าที เป็นต้ังใจแลกเปล่ียน/แสดงความคิดเห็นและ เปิดใจท่ีจะรับความชว่ ยเหลือจากสมาชิกคนอื่น การเปิดใจรับส่งิ ใหม่เพื่อนามาปรับใชใ้ นการพัฒนาการทางาน เกดิ การสลาย “Silo” ทั้งระหวา่ งคณะในดว้ ยกนั และระหวา่ งคณะในกับคณะเด็กเล็ก มีการเสนอตัวช่วยเหลือ ใ น ก า ร พั ฒ น า ก า ร ท า ง า น ร ว ม ทั้ ง มี ก า ร ส่ ง ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย ก่ อ น ก า ห น ด เ ว ล า ในส่วนที่ต้องมีการปรับปรุง/พัฒนา เนื่องจากบุคลากรส่วนใหญ่ไม่สามารถสร้างความคิดรวบยอด (Conceptualized) ในเรื่องต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนางานทั้งในภาพใหญ่และภาพเฉพาะของตนเองได้ เนื่องมาจากไม่เคยผ่านกระบวนการอบรมเพ่ือสร้างทักษะน้ี จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง บุคลากร บางคนมักเร่ิมต้นความคิดด้วยข้อจากัดต่าง ๆ จึงจาเป็นต้องช่วยสร้างความเชื่อม่ันในศักยภาพของตนเอง พรอ้ มทงั้ ต้องชแ้ี จง เพอื่ ให้สามารถทาความเข้าใจกบั ขอบเขต ภาระหนา้ ท่ีของตนเองใหช้ ัดเจน
- 72 - 3.2 สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1คุณภาพของผูเ้ รียน ดเี ลศิ 1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร และ การคิดคานวณ ดีเลิศ 2. มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และ ดเี ลิศ แกป้ ัญหา 3. มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ดีเลศิ 4. มคี วามสามารถในการในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ดเี ลศิ 5. มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 6. มีความรทู้ กั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม 7. การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมทีด่ ตี ามที่สถานศึกษากาหนด ยอดเยี่ยม 8. ความภูมใิ จในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย ยอดเยย่ี ม 9. การยอมรับทีจ่ ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม 10. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเย่ียม 1. มเี ป้าหมายวิสยั ทศั น์และพนั ธกิจท่สี ถานศึกษากาหนดชัดเจน ยอดเยยี่ ม 2. มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม 3. ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก ยอดเยย่ี ม กลุ่มเป้าหมาย 4. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี ดเี ลิศ 5. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอ้อื ตอ่ การจักการเรียนรู้ อยา่ งมีคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม 6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ดีเลิศ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ ยอดเยยี่ ม 2. ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ดีเลิศ 3. มกี ารบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก ดเี ลิศ 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และ นาผลมาพฒั นาผเู้ รียน ดีเลศิ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพ่ือพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ดเี ลิศ
- 73 - 3.3 จดุ เด่น 3.3.1 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผูเ้ รียน มีจุดเดน่ ดงั นี้ 1) วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนที่ก่อตั้งโดยพระมหากษัตริย์ มีการจัดการศึกษาแบบโรงเรียน ประจาชาย ด้วยวิถีวชิราวุธที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตน สืบทอดพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสอนให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สาคัญคือมีระเบียบวินัย รักและดารงไว้ซ่ึง ขนบธรรมเนียมประเพณีตามวิถีวชิราวุธ มีการจัดการศึกษาอย่างรอบด้านท้ังวิชาการและกิจกรรมท่ีมุ่งเน้น การพัฒนา Soft Skills เพอื่ ให้เปน็ สภุ าพบุรษุ วชิราวุธ 2) นักเรียนท่ีสาเร็จการศึกษาจากวชริ าวุธวทิ ยาลัยมีอัตลักษณ์เป็นสุภาพบุรุษ มีภาวะผู้นา ที่มีค่านิยม และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับความจงรักภักดี ความซ่ือสัตย์ การให้เกียรติผู้อ่ืน ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความ รบั ผิดชอบ และ การเห็นแกส่ ่วนรวม 3.3.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีจดุ เด่นดงั นี้ 1) การมีนโยบาย และวิสัยทัศน์ และท่ีมุ่งเน้นการใช้วิถีวชิราวุธ เป็นกระบวนการหลักและเครื่องมือ ในการกล่อมเกลาและพัฒนานักเรียนวชิราวธุ วิทยาลยั ให้เป็นสุภาพบุรุษทม่ี ีสมดลุ ทั้งด้านวิชาการ และคุณภาพ ความเป็นมนุษย์ โดยจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศของการอยู่ร่วมกัน และจัดการศึกษาของโรงเรียนประจา ทาให้เกดิ การหลอ่ หลอมอุปนิสยั ของนกั เรียน 2) มีการปรับวิสัยทัศน์เพื่อการขับเคลือ่ นเป็น “อิสรภาพในการเรยี นรเู้ พื่อเติมเต็มศักยภาพของผ้เู รยี น (Liberalizing Individual Potential)” และกาหนด Corporate Goal “เป็นหน่ึงในโรงเรียนประจาชายที่ดี ท่สี ุดในโลก” ภายใตว้ ถิ วี ชริ าวธุ ที่เน้น “ระบบนเิ วศน์แหง่ การเรียนรู้ (Vajiravudh Learning Ecosystem)” 3) มีการถ่ายทอดวิสัยทัศน์และค่านิยมสู่การปฏิบัติโดยผ่านระบบการนาองค์กร (Leadership System) ไปยังบุคลากรใหม่และเก่า และผู้ส่งมอบอย่างทั่วถึง เช่น บริษัท outsource ที่เป็นผู้จัดหาครู ต่างชาติ ครูภาษาไทย และคู่ความร่วมมือท่ีเป็นทางการท่ีสาคัญ ได้แก่ นักเรียน ศิษย์เก่า และผู้ปกครอง ผ่านระบบ Online และ Onsite 4) วชิราวุธวิทยาลัย มีเงินกองทุนเพื่อการพัฒนา (Endowment Fund) ท่ีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงมีพระราชกระแสให้วชิราวุธวิทยาลัยเป็นผู้ดาเนินการบริหาร จัดการทรัพย์สินต่าง ๆ ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการเบิกจ่าย และมีความคล่องตัว ในการบรหิ ารทรัพย์สิน 5) วชิราวุธวิทยาลัยจัดสวัสดิการและการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับนักเรียนและบุคลากรอย่างทั่วถึง ท้ังด้านความเป็นอยู่ ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านสุขภาพ เป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้บุคลากร นักเรยี นและผปู้ กครองมีความผกู พันและความภักดตี อ่ โรงเรยี น (Engagement and Loyalty) 3.3.3 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั มจี ุดเด่นดังน้ี 1) โรงเรียนมีการวเิ คราะห์สมรรถนะของบคุ ลากรสายวิชาการรายบุคคลเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียน การสอน 2) มีการปรับสภาพแวดล้อมและกระบวนการเรียนการสอนรองรับวิถีการจัดการศึกษาในยุค Disruptive Technology และสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยจัด Sandbox Safety Zone in School และจัดสิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิทัลเพื่อใช้พัฒนา กระบวนการจดั การเรยี นการสอน
- 74 - 3) มีกระบวนการการพัฒนาครูผู้สอนและบุคลากร ทาให้เกิดความเชื่อมั่นที่จะปฏิบัติตามแนวทาง ใหม่ท่เี ปน็ ส่วนสาคัญตอ่ ความสาเร็จในการนาหลกั สูตรทีเ่ น้นการพฒั นาสมรรถนะของผเู้ รยี นไปปฏบิ ัติ 4) มีการปรับองค์กรให้มีความทันสมัยรองรับการเข้าสู่ยุคดิจิตัลเต็มรูปแบบ โดยนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานทุกภาคส่วน ต้ังแต่ด้านวิชาการ การพัฒนานักเรียน การพัฒนาทรัพยากร บคุ ลากร และระบบสารสนเทศการบรหิ ารจัดการเพ่ือการตัดสนิ ใจ 3.4 จดุ ที่ควรพัฒนา 3.4.1 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น มีจุดควรพัฒนาดงั นี้ 1) การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ ตอบสนองต่อความสามารถในการเปลี่ยนแปลงการแข่งขัน เช่น ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ความเป็นผู้ประกอบการ 2) การพฒั นาหลกั สูตรและรูปแบบการเรยี นรู้ การพัฒนาหลักสูตรน้ัน นอกจากทีม่ ีหลักสูตรท่ีตรงตาม หลักสูตรแกนกลางของระทรวงศึกษาธิการแล้ว จะมีการพัฒนาหลักสูตรในส่วนของวิชาเพ่ิมเติมและ เพ่ิมเติมเลือกท่ีเหมาะสมกับบริบทของการศึกษาในอนาคต นอกจากนั้นจะต้องปรับรูปแบบการเรียนการสอน ให้มีความเหมาะสมกับความสนใจของนักเรียน ดังนั้นรูปแบบการเรียนรู้จะมีท้ังการเรียนรู้แบบกายภาย (Physical Learning) และการเรียนรู้แบบดิจทิ ัล (Digital Learning) และเนน้ การเรยี นรู้เชงิ รกุ 3) การพัฒนาความร่วมมอื กับพนั ธมิตร เพ่ือใหเ้ ป็นการเปิดโอกาสให้นกั เรียนไดอ้ ย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงจาเป็นตอ้ งมีการพฒั นาเครือขา่ ยความร่วมมือทางการศึกษาและกจิ กรรม เพอื่ เปน็ การเสรมิ ใหก้ ารเรียนรู้ของ นักเรียนมีความหลากหลาย และเป็นการเปิดโอกาสให้แก่นักเรียนเพื่อการศึกษาต่อและการสร้างช่ือเสียง ในกจิ กรรมต่าง ๆ ไดด้ ้วย 4) การพัฒนาความเป็นอยู่ของนักเรยี นให้มีความสุข การส่งเสรมิ และพัฒนาบุคลากรผรู้ ับผิดชอบและ ผู้มีส่วนร่วมให้เกิดความเข้าใจในหลักการและเป้าหมายในการพัฒนาเดียวกัน ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพ ในด้านการดูแลให้นักเรียนมีความสุข รวมท้ังการพัฒนานักเรียนตามศักยภาพรายบุคคล และ การนาเทคโนโลยมี าใช้ในการบริหารจัดการด้านกจิ การนกั เรียน 3.4.2 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มจี ดุ ควรพฒั นาดงั น้ี 1) การกาหนดแผนและตวั ชว้ี ัดที่นาไปส่เู ปา้ หมายหรือวสิ ยั ทัศนข์ องโรงเรียน ภายใต้การมสี ว่ นรว่ มของ ประชาคมทุกภาคสว่ น 2) การบริหารจัดการทรัพย์สิน เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจ โดยคานึงถึงความคุ้มค่าการลงทุน และความเสีย่ งทผ่ี า่ นการประเมินผลไดผ้ ลเสยี อยา่ งรอบด้าน (Intelligent Risk) 3) การปรับกระบวนการทางานให้เปน็ อัตโนมัติและมีประสิทธิภาพสูง การพัฒนากระบวนการทางาน จะต้องเน้นให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นโดยการปรับกระบวนการทางานให้สั้นลง และถ้าเป็นไปได้ ควรจะประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชเ้ พอื่ เพิ่มประสทิ ธิภาพให้การทางานรวดเร็วและแมน่ ยามากขึน้ 4) การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพือ่ ให้การทางานในฝ่ัง Back-End มปี ระสิทธภิ าพสูง สามารถทางาน รองรับการบริหารจัดการด้านอ่ืนได้อย่างเต็มท่ีมีความรวดเร็ว มีความแม่นยาสูง อีกทั้งนาไปสู่ความประหยัด และโปร่งในของกระบวนการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบ จึงควรจะมีการพัฒนาระบบสารสนเทศให้มี ความทนั สมยั สอดรับกบั ความต้องการของผบู้ ริหาร 5) การพัฒนาบุคลากรสายงานสนับสนุน เพ่ือเป็นการยกระดับการทางานและเป็นขวัญและกาลังใจ ใหแ้ กบ่ คุ ลากรในสว่ น Back-End จึงควรเปดิ โอกาสใหม้ กี ารพฒั นาบุคลากรสานงานสนับสนนุ
- 75 - 6) การพัฒนาระเบียบการทางานและโครงสรา้ งการทางาน เพื่อให้การบริหารจัดการมีความรอบคอบ และคล่องตัวมากข้ึน จึงควรมีการพิจารณาถึงระเบียบการทางานและโครงสร้างการทางานที่เหมาะสม โดยหากมีระเบียบปฏิบัติเรือ่ งใดที่อาจจะล้าสมัยและภายใต้โครงการการทางานเดิมท่ีไม่รองรับการพัฒนาของ โรงเรยี นได้อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ ก็จะมีการปรบั ระเบียบปฏิบตั แิ ละโครงสร้างการทางานให้เหมาะสมยงิ่ ขน้ึ 3.4.3 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั มจี ุดควรพัฒนาดังน้ี 1) การใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็น อัตรากาลัง สมรรถนะและขีดความสามารถ ในการวางแผนดาเนินงาน กากับติดตามและประเมินผล ในการพัฒนาครูและบุคลากรให้สอดคล้องกับ วิสัยทศั น์ นโยบายของวชิราวธุ วิทยาลัย 2) ความสามารถในการจัดกระบวนการการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) ควรปรับและ เปล่ียนเนื้อหารายวิชาให้เหมาะสมกับรูปแบบกิจกรรม เพื่อกระตุ้นความสนใจและความคิดสร้างสรรค์ จากผเู้ รียนที่เนน้ คุณภาพ 3) การยกระดับความรู้ความสามารถของครูและผู้กากับคณะ ให้สามารถรองรับรูปแบบการเรียนรู้ ในอนาคตได้ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองการยกระดับทักษะ (Skillset) มีความสามารถในการ Coaching และเป็น Mentor นักเรยี นในกลมุ่ และชว่ งวยั ตา่ งๆ รวมทัง้ การพฒั นานกั เรยี นตามศักยภาพรายบคุ คล 4) มีการทางานเป็นทีม ร่วมกันคิด ร่วมปรึกษาหารือ แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน เพื่อให้การ เรียนการสอนเปน็ ไปอยา่ งมคี ณุ ภาพ 3.5 แนวทางการพฒั นา 3.5.1 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รียน มีแนวทางการพัฒนาดังนี้ 1) การวางแผนและทบทวนหลักสูตรท่ีมีความสมดุลระหว่างวิชาการและการพัฒนาผู้เรียนตามวิถี วชิราวุธโดยคานึงถึงการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบให้นักเรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนี้ การกาหนดผลลัพธ์ การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ท่ีเป็นรูปธรรมชัดเจนและใช้ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ในการออกแบบจัดทาหลักสูตรแบบย้อนกลับ (Backward Curriculum Design) กาหนดวิธีการประเมินผลที่ สะท้อนการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) เชิงคุณภาพ และมีการนาผลการประเมินมา ปรับปรุงการเรียนการสอน การปรับหลักสูตรในส่วนของวิชาเพ่ิมเติมและเพิ่มเติมเลือกให้มีความทันสมัย โดย นาเอาแนวคิดสาคัญใหม่ๆ นาไปประกอบการปรับหลักสูตรน้ี การปรับรูปแบบการเรียนรู้ให้มีการผสมผสาน ระหว่างการเรียนรู้เชิงกายภาพ (Physical Learning) ให้ครอบคลุมเร่ือง การเรียนรู้ในห้องเรียน การเรียนรู้ นอกห้องเรียน และการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมการแข่งขันตา่ งๆ และการเรยี นร้เู ชิงดจิ ิทัล (Digital Learning) ให้ ครอบคลมุ การเรยี นรู้ด้วย e-Book, Mixed Media, Collaborative learning, Gamification เปน็ ต้น 2) การพัฒนาความร่วมมือกับพันธมิตร ด้วยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในระดับโรงเรียน เพ่ือให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนด้วยกันเอง สร้างเครือข่ายความรว่ มมือกับสถาบันการศึกษาด้าน ภาษา เช่น ภาษาจนี ภาษาญป่ี นุ่ เปน็ ตน้ สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือกบั สถาบันอดุ มศึกษาชั้นนาท้ังในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อเป็นการเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนในการเขา้ ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาต่อไป 3) การพัฒนาความเปน็ อยขู่ องนกั เรยี นให้มีความสขุ มีการพัฒนาความเป็นอยู่ หอพัก สภาพแวดล้อมการใช้ชีวิตภายในคณะ ให้นักเรียนมีความเป็นอยู่ท่ี ผาสกุ ทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ โดยสรา้ งความสัมพนั ธ์เชงิ บวกในทุกระดบั การปรบั เปล่ยี นรูปแบบกิจกรรมใน คณะท่ีเน้นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงบทบาท ความรู้ ความสามารถ และหน้าที่ตามความถนัดและ ความสนใจ พฒั นาระบบบริหารจดั การข้อมลู นักเรยี นในการดูแลนักเรียนโดยใช้ฐานข้อมลู จากระบบ SCHOOL
- 76 - MIS ของโรงเรียน เพ่ือให้มีความความถูกต้อง สะดวกรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน พัฒนาด้วยการปรับ สภาพแวดล้อมโดยการใช้ประโยชน์จากการเป็นโรงเรียนประจาให้นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะการใช้ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ ล ะ ภ า ษ า อ่ื น ๆ ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ในชีวิตประจาวนั 4) การกาหนดตัวช้ีวัดเพ่ิมเติมในการประเมินคุณลักษณะพึงประสงค์ด้านวิชาการให้ตอบสนอง ต่อ Corporate Goal ของโรงเรียน และนาผลประเมินของนักเรียนจากทุกภาคส่วนทั้งฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจกรรมนักเรียน และฝ่ายกากับคณะมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกัน เพื่อเป็นสารสนเทศในการพัฒนานักเรียน รายบุคคลใหม้ คี ุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ 5) การใช้ข้อมูลคู่เทียบที่เป็นโรงเรียนในลักษณะเดียวกัน ในการพัฒนาคุณภาพของนักเรียน และ การใช้ข้อมูลจากการทดสอบมาตรฐานทั้งระดับชาติและนานาชาติในการพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอน อย่างตอ่ เน่ือง 6) จัดให้มีศูนย์ระบบฐานข้อมูลนักเรียน life design center (ตั้งแต่นักเรียนแรกเข้า) เพอื่ ใหน้ กั เรียนคน้ พบตนเอง สร้างแรงบันดาลใจใหน้ ักเรยี นออกแบบชีวิตในอนาคตเพื่อการศึกษาต่อและอาชีพ ทีค่ าดหวงั 3.5.2 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มีแนวทางการพฒั นาดงั นี้ 1) กาหนดและจัดทาตวั ช้ีวัดที่สาคัญ แผนปฏิบัติการและกลยุทธ์ที่ใช้ จัดให้มีระบบการวัดและติดตาม ผลการดาเนินงานตามตวั ชวี้ ัด และถา่ ยทอดแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตามเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ใช้ข้อมูลความคิดเห็น ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสารสนเทศอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องในการทบทวน วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ แผนกลยทุ ธ์ และใช้ผลการประเมนิ ในการปรับปรุงพฒั นาในรอบต่อไป 2) การปรับกระบวนการทางานให้เป็นอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพสูง มีแนวทางการพัฒนา ดังนี้ จัดทาคู่มือมาตรฐานการทางาน ปรับกระบวนการทางานให้เป็นมาตรฐานท่ีเน้นความรวดเร็ว ความแม่นยา ความประหยดั และความโปร่งใส และประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลในการทางาน 3) การพัฒนาระบบสารสนเทศ มีแนวทางการพัฒนา ดังน้ี พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร การศึกษา อาทิ ระบบฐานข้อมูลนักเรียน ระบบการทะเบียนและวัดผลการศึกษา พัฒนาและปรับปรุงระบบ สารสนเทศเพ่ือการบริหาร อาทิ ระบบการเงิน/การบัญชี ระบบจัดซื้อ ระบบบริหารสหกรณ์ เป็นต้น พัฒนาเว็บไซต์ของโรงเรียน และการใช้ระบบบริหารจัดการโรงเรียน School MIS เพ่ือช่วยเหลือและ พัฒนางานด้านกิจการนกั เรยี น 4) การพัฒนาบุคลากรสายงานสนับสนุน มีแนวทางการพัฒนา ดังน้ี การยกระดับทักษะ (Skills) ความรู้ (Knowledge) ให้เพิ่มมากข้ึนแก่บุคลากร โดยให้มีที่ปรึกษาผู้ทงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ ในท่ีสุด จะทาให้บุคลากรเหล่านี้ได้นาความรู้ความสามารถมาปรับการทางานให้ดีขึ้น และการเปิดโอกาสให้บุคลากร ได้แสดงความคดิ เหน็ ในการพัฒนางานอย่างกวา้ งขวาง 5) การพัฒนาระเบียบการทางานและโครงสร้างการทางาน มีแนวทางการพัฒนา ดังน้ี การปรับปรุง ระเบียบสาคัญท่ีอาจจะล้าสมัยให้มีความทันสมัยและรัดกุมเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันมากข้ึน และ การปรบั ปรุงโครงสร้างการทางานให้มีความเหมาะสมมากข้ึน
- 77 - 3.5.3 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั มแี นวทางการพฒั นา ดงั น้ี 1) หมวดวชิ ามกี ารจดั ทาแผนพฒั นาการจัดการเรียนการสอนและสมรรถนะครเู ปน็ รายบุคคล 2) มีแผนพัฒนาครูให้มีประสบการณ์และมีความชานาญในการสอนแบบ Active Learning และ สามารถเลือกใช้ Active Learning Techniques ได้สอดคล้องกับสมรรถนะหรือ Learning Outcomes ที่ประสงค์ให้นักเรียนบรรลุ จัดหาและพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นโดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัย เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการสอน 3) จัดหาและพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นโดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ การสอน ส่งเสริมให้ครูจัดทา Teacher Portfolio และ ID Plan จัดทาสมรรถนะครูและความก้าวหน้า ในอาชีพตามมาตรฐานวชริ าวธุ วทิ ยาลัย 4) มีแผนการพัฒนาผู้กากับคณะ ผู้ช่วยผู้กากับคณะ หัวหน้าครูคณะ และบุคลากรในสายงานกิจการ นักเรียน ดังน้ี จัดอบรมพัฒนาศักยภาพและทักษะสมัยใหม่ท่ีสาคัญ/จาเป็นในด้านต่าง ๆ เช่น การแนะแนว และการดูแลนักเรียน การอบรมจิตวิทยาเด็กและวัยรุ่นอย่างต่อเน่ือง การออกแบบกิจกรรม กาหนด รายละเอียดงานของผู้กากับคณะให้ชัดเจนและพัฒนาบทบาท หน้าที่ และการจัดการสร้างความสัมพันธ์เชิง บวกภายในคณะ ส่งเสริมการดูแลความประพฤตินักเรียน เน้นวินัยเชิงบวกควบคู่กับกวดขันระเบียบวินัย เพ่อื ใหเ้ ป็นสภุ าพบุรุษ ใหอ้ สิ รภาพทางความคดิ และพยายามให้เกดิ วินัยในตนเองมากกว่าการบังคบั เพอื่ นาไปสู่ กระบวนการดูแลแบบครบวงจร “2PC” (Protective, Preventive, Curative/Corrective) ตัวอย่าง คือ Protective หมายถึงการปกป้อง เช่น การปกป้องนักเรียนจากเว็บไซต์ที่ไม่พึงประสงค์ Preventive หมายถึง การป้องกัน เช่น การป้องกันการด้อยค่า (Bully) ในหมู่เพ่ือน และ Curative/Corrective หมายถึง การรักษา ฟ้ืนฟู เช่น การพบนักจติ วทิ ยาเพื่อรักษาอาการกังวลสูง 3.6 ความตอ้ งการช่วยเหลือ 1) ความร่วมมือในการ MOU เพื่อรับนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัยเข้าศึกษาต่อของเครื อข่าย ระดบั อดุ มศึกษาทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ 2) ความร่วมมอื ดา้ นครผู ู้สอนเจ้าของภาษาทงั้ ภาษาองั กฤษและภาษาท่ีสองท่ีมีคุณภาพ
- 78 - ภาคผนวก
- 79 - ภาคผนวก ก 1. ประกาศโรงเรยี น เร่อื งกาหนดมาตรฐานการศึกษาและคา่ เป้าหมายวชริ าวธุ วิทยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2564 2. รายละเอียดเกณฑค์ ณุ ภาพของประเด็นพจิ ารณาตามมาตรฐานการศกึ ษา 3. รายงานการประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร เร่ืองการใหค้ วามเหน็ ชอบผลการประเมนิ ตนเองของวชริ าวธุ วทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2564 (SAR 64) 4. คาสัง่ แต่งต้งั คณะกรรมการจัดทารายงานการประเมินตนเองของวชิราวุธวิทยาลัย ปี การศกึ ษา 2564 (SAR 64) 5. หลักฐานแสดงการเผยแพร่ผลการประเมนิ ตนเองของวชิราวุธวิทยาลัย ปีการศกึ ษา 2564 (SAR 64)
- 80 -
- 81 -
- 82 - รายละเอียดเกณฑ์คุณภาพของประเด็นพิจารณา ตามมาตรฐานการศึกษาวชริ าวธุ วทิ ยาลัย ปีการศึกษา 2564 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ประเดน็ พจิ ารณา เกณฑ์คณุ ภาพ ก.ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น 1.มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น คาอธิบาย นักเรยี นมีทักษะในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สารและ การสอ่ื สารและการคดิ คานวณ การคดิ คานวณ ตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากาหนดในแตล่ ะระดับชน้ั 1.1 ร้อยละของผ้เู รยี นมีทักษะในการ ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ผี ลการทดสอบความสามารถการอ่านในตัวชวี้ ัด อ่านในแต่ระดบั ช้นั ตามเกณฑ์ท่ี ของรายวชิ าภาษาไทยพื้นฐานและภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน ระดบั ผา่ น สถานศึกษากาหนด 1.2 ร้อยละของผู้เรยี นมีทกั ษะในการ รอ้ ยละของนักเรียนทมี่ ผี ลการทดสอบความสามารถการเขยี นใน เขยี นในแต่ ระดบั ช้ันตามเกณฑ์ที่ ตวั ชว้ี ดั ของรายวิชาภาษาไทยพื้นฐานและภาษาอังกฤษพื้นฐาน ระดบั สถานศึกษากาหนด ผา่ น 1.3 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมที ักษะในการ ร้อยละของนกั เรียนทีม่ ผี ลการทดสอบความสามารถด้านการสอ่ื สารใน ส่อื สารในแต่ระดับชัน้ ตามเกณฑ์ท่ี ตวั ชว้ี ดั ของรายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐานและภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน ระดบั สถานศกึ ษากาหนด ผา่ น 1.4 ร้อยละของผเู้ รยี นมที ักษะในการ ร้อยละของนกั เรียนทม่ี ผี ลการเรยี นของรายวิชาคณิตศาสตรพ์ นื้ ฐาน คิดคานวณในแตร่ ะดบั ช้ันตามเกณฑท์ ี่ ต้งั แต่ระดับดขี ึ้นไป สถานศกึ ษากาหนด 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คาอธิบาย นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย ใครค่ รวญ ไตรต่ รองอยา่ งรอบคอบโดยใช้ เหตผุ ลประกอบการ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา ตดั สินใจ มกี ารอภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ แก้ปัญหาอยา่ งมี เหตุผล 2.1 ร้อยละของผู้เรยี นมีความสามารถ รอ้ ยละของนกั เรียนที่มผี ลการเรยี นวชิ าพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย ในการคดิ จาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ตงั้ แต่ระดับดขี น้ึ ไป ไตรต่ รองอย่างรอบคอบโดยใช้ เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ 2.2 ร้อยละของผเู้ รียนมกี ารอภปิ ราย ร้อยละของนกั เรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นของกลมุ่ รายวิชาพื้นฐานที่มีตวั ชวี้ ัด แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ใหน้ ักเรยี นมกี ารอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ต้งั ตร่ ะดบั ดีขึ้นไป 2.3. รอ้ ยละของผู้เรียนมกี าร รอ้ ยละของนักเรียนที่มผี ลการเรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน ตัง้ แต่ แก้ปญั หาอยา่ งมีเหตุผล ระดับดีข้นึ ไป
- 83 - ประเด็นพิจารณา เกณฑ์คณุ ภาพ 3. มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม คาอธิบาย นกั เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ท้ังตวั เองและการ ทางานเป็นทมี เชอ่ื มโยงองคค์ วามรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรคส์ ง่ิ 3.1 รอ้ ยละของผู้เรียนมีความสามารถ ใหม่ ๆอาจเปน็ แนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลติ ในการรวบรวมความรไู้ ดท้ ั้งตวั เองและการ รอ้ ยละของนกั เรียนทมี่ ผี ลการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศลิ ปะ และ ทางานเป็นทมี ออกแบบ ต้งั แต่ระดับดขี ึน้ ไป 3.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถเชือ่ มโยง รอ้ ยละของนกั เรยี นท่มี ผี ลการเรยี นกลมุ่ วิชาเพม่ิ เตมิ ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ องคค์ วามรแู้ ละประสบการณม์ าใชใ้ นการ วทิ ยาศาสตรเ์ ช่นรายวิชาสะเตม็ ศกึ ษา โครงงานสะเต็ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่ ๆ อาจเปน็ ออกแบบและเทคโนโลยไี ดแ้ กโ่ ครงงานนวตั กรรม โครงงานสมองกล และกลมุ่ แนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชนิ้ งาน สาระการเรยี นรศู้ ิลปในการคิดสรา้ งสรรคช์ น้ิ งาน ต้ังแต่ระดับดีข้นึ ไป ผลผลติ 4. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี คาอธบิ าย นกั เรยี นความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สารสนเทศ และการส่ือสาร และมคี วามสามารถในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือพฒั นา ตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางานอยา่ งสรา้ งสรรค์ 4.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมีความสามารถ และมีคณุ ธรรม ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ร้อยละของนักเรยี นที่มผี ลการเรยี นรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี ต้ังแตร่ ะดบั ส่อื สาร ดขี ้ึนไป 4.2 ร้อยละของผเู้ รียนมีความสามารถ ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นกลุ่มวิชาเพม่ิ เตมิ ในรายวชิ าท่เี กยี่ วกับการใช้ ในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์งาน และจริยธรรมในการใช้ส่ือดจิ ทิ ัลอยา่ ง สอ่ื สารเพือ่ พัฒนาตนเอง และสงั คมใน สรา้ งสรรค์ ตัง้ แตร่ ะดับดีขึ้นไป ด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน อย่างสร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม คาอธบิ าย นักเรียนมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนและจบหลกั สูตรตามทส่ี ถานศึกษา 5. มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตาม กาหนด หลกั สตู รสถานศกึ ษา 5.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นบรรลกุ ารเรยี นรู้ รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ผี ลการประเมินตามหลักสตู รสถานศกึ ษาท่ีกาหนดและได้ ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา เลอื่ นชนั้ ทุกระดบั ช้นั 6. มีความรู้ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ี คาอธิบาย นักเรียนมคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ด่ี ใี นการศึกษาต่อ และ ต่องานอาชพี การการจดั การ การทางานหรืองานอาชีพ 6.1 รอ้ ยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ รอ้ ยละของนักเรยี นทม่ี ผี ลการเรยี นกลมุ่ รายวิชาเพิ่มเติมบงั คบั เฉพาะสาขา หรอื พน้ื ฐานและเจตคติทดี่ ีในการศกึ ษาตอ่ แบบวดั เจตคตติ ่อการศกึ ษาตอ่ และการทางาน ตงั้ แตร่ ะดบั ดีขน้ึ ไป 6.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี วามรู้ ทักษะ รอ้ ยละของนกั เรยี นท่มี ผี ลการเรยี นรายวิชาทเี่ ปน็ พื้นฐานอาชีพและเป็นภาค พ้นื ฐานและเจตคติท่ดี ีในการจัดการ การ ปฎบิ ตั ไิ ด้แก่วิชาการงานอาชีพ ศลิ ปศกึ ษา และออกแบบเทคโนโลยี ต้งั แตร่ ะดับ ทางานหรอื งานอาชีพ ดีข้ึนไป
- 84 - ประเดน็ พจิ ารณา เกณฑ์คณุ ภาพ ข. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน 1.การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทดี่ ตี ามท่ี คาอธิบาย ผูเ้ รยี นมพี ฤติกรรมเปน็ ผู้ทม่ี ีคณุ ธรรม จริยธรรม สถานศกึ ษากาหนด เคารพในกฎกตกิ า มคี า่ นิยมและจติ สานกึ ตามที่ สถานศกึ ษา กาหนด โดยไมข่ ดั กับกฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดขี องสงั คม และมีความเปน็ สุภาพบรุ ุษวชิราวธุ 1.1 รอ้ ยละของผ้เู รยี นมพี ฤติกรรมเป็นผ้ทู ีม่ ี ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ผี ลการประเมินคุณลกั ษณะพงึ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมเคารพในกฎกติกา ประสงคข์ องนกั เรยี นวชิราวธุ วิทยาลัยตั้งแตร่ ะดบั ผา่ น 1.2 ร้อยละของผ้เู รียนมคี ่านยิ มและจิตสานกึ รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะพงึ ตามท่ี สถานศึกษากาหนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมาย ประสงคข์ องนกั เรยี นวชริ าวุธวทิ ยาลัยตงั้ แตร่ ะดับผา่ น และวัฒนธรรมอนั ดีของสงั คม 2.ความภูมใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย คาอธบิ าย นกั เรยี นมคี วามภมู ใิ จในความเป็นวชริ าวธุ วทิ ยาลัย เห็น คณุ ค่าของความเปน็ ไทย และมีสว่ นรว่ มใน การอนุรักษ์ วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทัง้ ภูมิปญั ญา ไทย 2.1รอ้ ยละของผูเ้ รียนมคี วามภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ เห็น รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ผี ลการประเมินกิจกรรมชมรม/ คณุ ค่าของความเป็นไทย สมาคม ดนตรี กฬี าและศลิ ปะ ผา่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด 2.2 ร้อยละของผูเ้ รียนมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์ รอ้ ยละของนักเรียนท่ีมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมท่กี จิ การนกั เรยี น วฒั นธรรมและประเพณไี ทยรวมทั้งภมู ปิ ญั ญาไทย จดั ในการอนุรกั ษ์ วฒั นธรรมและประเพณีไทยรวมทงั้ ภมู ิ ปัญญาไทย 3. มกี ารยอมรบั ทีจ่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ ง คาอธิบาย นกั เรยี นยอมรับและอยรู่ ว่ มกนั บนความ และหลากหลาย แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลในดา้ นเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี -รอ้ ยละของผู้เรยี นยอมรบั และอยู่ร่วมกนั บน ร้อยละของนักเรียนทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสือและรักษา ความ แตกต่างระหวา่ งบคุ คลในดา้ นเพศ วัย เชื้อ ดนิ แดน และร่วมเขา้ คา่ ยกิจกรรมลูกเสอื นานาชาติ ชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 4.สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม คาอธบิ าย นกั เรียนมีการรกั ษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ อารมณแ์ ละสงั คม และแสดงออกอย่าง เหมาะสมในแตล่ ะ ช่วงวัย 4.1 ร้อยละของผเู้ รียนมกี ารรักษาสขุ ภาพกาย รอ้ ยละของนกั เรียนที่มผี ลการวดั สมรรถภาพทางกายผา่ น สขุ ภาพจติ อารมณ์และสังคม และแสดงออกอยา่ ง เกณฑ์ของกรมพลศึกษา /รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ีน้าหนกั เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวัย และสว่ นสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย/ ร้อยละของนักเรยี น ที่มผี ลการเรียนวชิ าพลศึกษา ตัง้ แตร่ ะดบั ดีข้ึนไป 4.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถอยรู่ ว่ มกบั คนอื่น ร้อยละของนกั เรยี นทไ่ี มม่ ปี ัญหาดา้ นการเรยี นและด้านความ อย่างมคี วามสขุ เขา้ ใจผู้อืน่ ไมม่ ีความขดั แย้งกบั ประพฤตเิ กี่ยวกบั ความขดั แย้งกบั ผอู้ ่นื ผูอ้ นื่
- 85 - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เกณฑค์ ณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา 1. มีเปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจท่สี ถานศึกษา คาอธบิ าย สถานศกึ ษากาหนดเปา้ หมายวิสยั ทศั น์ และ กาหนดชัดเจน พนั ธกิจ ท่ีสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของวชริ าวธุ วิทยาลยั เชื่อมโยงกับแผนการศึกษาชาติ และนโยบายของรฐั บาล และตน้ ส้งกดั มีความทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงของสงั คม 1.1 กาหนดเปา้ หมายทสี่ อดคลอ้ งกบั บริบทของ สถานศึกษา ความตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน วัตถุประสงคข์ องแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรฐั บาล และต้นส้งกัด สถานศกึ ษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 ขอ้ ระดับกาลังพฒั นา 1.2 กาหนดวิสยั ทศั น์ และพนั ธกิจ ทส่ี อดคลอ้ ง สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 2 ขอ้ ระดับปานกลาง เช่ือมโยง กับเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการ สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 3 ข้อ ระดบั ดี สถานศึกษาปฏิบตั ไิ ด้ 4 ข้อ ระดบั ดเี ลศิ ศกึ ษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและต้นส้งกัด 1.3 กาหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจ ทันต่อ สถานศึกษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 ขอ้ ระดับยอดเยย่ี ม การเปลย่ี นแปลงของสงั คม 1.4 นาเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ ผา่ นความ เห็นชอบจากคณะกรรมการอานวยการวชิราวธุ วิทยาลยั 1.5 นาเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ของโรงเรียน เผยแพร่ ต่อสาธารณชน 2. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา คาอธบิ าย สถานศึกษาวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา อย่างเปน็ ระบบ และผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียมสี ว่ นร่วมในการ วางแผน 2.1 มีการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาอยา่ ง เป็นระบบ 2.2 มกี ารนาแผนไปปฏบิ ตั ิ ตดิ ตามตรวจสอบประเมินผล สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 1 ข้อ ระดบั กาลังพัฒนา และปรบั ปรุงพัฒนางานอยา่ งตอ่ เน่ือง 2.3 มีการบรหิ ารอตั รากาลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษา สถานศกึ ษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 ข้อ ระดบั ปานกลาง จดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน และระบบการนเิ ทศ สถานศกึ ษาปฏบิ ตั ิได้ 3 ข้อ ระดับดี ภายใน สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 4 ขอ้ ระดบั ดีเลิศ สถานศึกษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 ข้อ ระดับยอดเย่ยี ม 2.4 สถานศึกษามกี ารนาขอ้ มลู มาใชใ้ นการพัฒนา สถานศึกษา 2.5 สถานศึกษาใหบ้ ุคลากรและผทู้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝา่ ยมี สว่ นรว่ มในการวางแผน ปรบั ปรงุ พัฒนาและรว่ ม รบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา
- 86 - ประเดน็ พิจารณา เกณฑค์ ณุ ภาพ 3. ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผู้เรียน คาอธิบาย สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงาน ผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทกุ วิชาการ ในด้านการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา ตาม กลมุ่ เป้าหมาย ความต้องการของผู้เรียนสอดคล้องกับบรบิ ทของวชิราวธุ วิทยาลัย ใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลงของสังคม 3.1 บริหารจดั การเกย่ี วกบั งานวิชาการ ในด้านการ ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย มกี ารจัดกจิ กรรมเสรมิ พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา หลักสตู ร ท่เี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นเช่อื มโยงวถิ ชี วี ิต จริง 3.2 บรหิ ารจัดการเกย่ี วกับงานวชิ าการ ในดา้ นการ พัฒนาหลกั สตู รตามความต้องการของผเู้ รยี น ที่ สถานศึกษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 ข้อ ระดับกาลังพัฒนา สอดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษา ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ สถานศึกษาปฏิบตั ไิ ด้ 2 ขอ้ ระดับปานกลาง สถานศกึ ษาปฏิบตั ิได้ 3 ข้อ ระดับดี 3.3 บรหิ ารจัดการเกยี่ วกับกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรท่ี สถานศกึ ษาปฏิบตั ไิ ด้ 4 ขอ้ ระดับดเี ลิศ เน้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านเช่ือมโยงวิถีชีวติ จรงิ สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 5 ขอ้ ระดับยอดเย่ียม 3.4 กาหนดหลักสตู รสถานศึกษาครอบคลมุ การ คาอธิบาย สถานศกึ ษาส่งเสรมิ สนบั สนุน พฒั นาครู จัดการเรยี นการสอนทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย บุคลากร ใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพิ จดั ให้มชี ุมชน การเรยี นรทู้ างวิชาชพี เพ่ือใชใ้ นการพัฒนางานและการ 3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพฒั นาหลักสูตร เรียนรูข้ องผเู้ รียน และมกี ารนิเทศติดตามการทางานของ ใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลงของสงั คม ครูและบุคลากร 4. พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทาง วชิ าชพี สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 1 ข้อ ระดับกาลงั พัฒนา สถานศึกษาปฏิบตั ไิ ด้ 2 ข้อ ระดบั ปานกลาง 4.1 ส่งเสริม สนับสนนุ พัฒนาครู บคุ ลากร ใหม้ คี วาม สถานศกึ ษาปฏิบตั ไิ ด้ 3 ข้อ ระดบั ดี เชี่ยวชาญทางวิชาชพิ สถานศกึ ษาปฏิบตั ิได้ 4 ขอ้ ระดบั ดีเลิศ 4.2 จดั ให้มีชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ สถานศึกษาปฏิบตั ไิ ด้ 5 ข้อ ระดบั ยอดเยยี่ ม 4.3 นาชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี เข้ามาใชใ้ นการ พฒั นางานและการเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น 4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บคุ ลากร ทม่ี ผี ลตอ่ การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น 4.5 ถอดบทเรยี นเพอ่ื สรา้ งนวัตกรรมหรือวิธีการทเ่ี ป็น แบบอย่างทด่ี ีท่สี ่งผลตอ่ การเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น
- 87 - ประเดน็ พจิ ารณา เกณฑค์ ณุ ภาพ 5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่ คาอธิบาย สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ เอื้อต่อการจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ สังคมภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ให้มี ความเพียงพอ พร้อมใช้และคานึงถึงความปลอดภยั เนน้ ความ เปน็ แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียนดา้ นประวัตสิ ษสตร์ การ อนรุ ักษ์ธรรมชาตสิ ่งิ แวดล้อม และสถาปัตยกรรม 5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายใน ห้องเรียน ทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ และคานึงถึงความ ปลอดภัย 5.2 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอก สถานศึกษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 ขอ้ ระดบั กาลงั พัฒนา ห้องเรยี น ท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ และคานงึ ถึงความ สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 2 ข้อ ระดับปานกลาง สถานศกึ ษาปฏิบตั ไิ ด้ 3 ข้อ ระดับดี ปลอดภัย 5.3 จัดสภาพแวดล้อมท่สี ง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการ สถานศกึ ษาปฏบิ ตั ิได้ 4 ขอ้ ระดบั ดเี ลศิ สถานศึกษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 ขอ้ ระดบั ยอดเยย่ี ม เรียนรเู้ ป็นรายบคุ คล และเปน็ กลมุ่ 5.4 จดั สภาพแวดลอ้ มทางสังคม ทเี่ ออื้ ตอ่ การ เรยี นรู้ และมคี วามปลอดภยั 5.5 จดั ใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ช้ประโยชนจ์ ากการจดั สภาพแวดล้อมตามศักยภาพของผเู้ รียน 6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ คาอธิบาย สถานศึกษาบรหิ ารจดั การ จัดหาและพัฒนาดา้ น การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ เทคโนโลยีอยา่ งเป็นระบบเพอื่ บรกิ ารดา้ นบริหารจดั การและ การจดั การเรยี นรู้ 6.1 ได้ศกึ ษาความต้องการเทคโนโลยสี ารสนเทศที่ เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา 6.2 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อบรหิ าร จัดการและการจดั การเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกับสภาพ สถานศกึ ษาปฏิบตั ไิ ด้ 1 ขอ้ ระดบั กาลงั พัฒนา สถานศกึ ษาปฏิบตั ิได้ 2 ข้อ ระดบั ปานกลาง ของสถานศึกษา 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ บริหาร สถานศึกษาปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 ขอ้ ระดบั ดี จดั การและการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกับสภาพ สถานศึกษาปฏิบตั ไิ ด้ 4 ข้อ ระดบั ดเี ลิศ สถานศึกษาปฏบิ ตั ิได้ 5 ข้อ ระดบั ยอดเยีย่ ม ของสถานศึกษา 6.4 ให้บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ ใช้ในการ บรกิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกับ สภาพของสถานศกึ ษา 6.5 ติดตามผลการใชบ้ รกิ ารระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใชใ้ นการบรกิ าร จดั การและการจดั การเรยี นร้ทู ีเ่ หมาะสมกับสภาพ ของสถานศึกษา
- 88 - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ประเด็นพจิ ารณา เกณฑ์คณุ ภาพ 1. จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง คาอธิบาย ครูมีการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ มีการทา และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ แผนการจดั รียนรูแ้ ละจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการ เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่เี น้นใหผ้ เู้ รยี นได้ 1.1 จัดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ เรยี นรู้ มีทักษะการแสดงออก สามารถแสดงความคดิ เห็นสรุป ตวั ชว้ี ัดของหลักสูตรสถานศึกษาทเี่ นน้ ใหผ้ ู้เรยี นได้ องค์ความรู้ และนาเสนอผลงาน โดยผ่านกระบวนการคดิ และ เรียนรู้ โดยผา่ นกระบวนการคดิ และการปฏิบตั จิ รงิ การปฏบิ ตั จิ ริง 1.2 มีแผนการจดั การเรยี นรู้ทสี่ ามารถนาไปใช้จดั รอ้ ยละของครทู จ่ี ดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ กจิ กรรมไดจ้ รงิ ตวั ชีว้ ดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาทเี่ น้นให้ผูเ้ รียนได้เรยี นรู้ โดย 1.3 มีรปู แบบการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะสาหรับผู้ท่ีมี ผา่ นกระบวนการคดิ และการปฏิบตั จิ รงิ มผี ลการประเมิน ความจาเปน็ และต้องการความชว่ ยเหลือพิเศษ ระดับดีขึน้ ไปจากการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้หรือสังเกต 1.4 ฝึกทักษะให้ผู้เรยี นไดแ้ สดงออก แสดงความ การสอน คิดเห็นสรุปองคค์ วามรู้ และนาเสนอผลงาน รอ้ ยละของครทู มี่ ีแผนการจัดการเรยี นร้ทู ่สี ามารถนาไปใชจ้ ัด 1.5 สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้ผูเ้ รยี นสามารถ กิจกรรมได้จริง มผี ลการประเมินระดบั ดีขึน้ ไปจากการตรวจ นาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ แผนการจดั การเรยี นรู้หรือสังเกตการสอน 2. ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่ี ร้อยละของครทู มี่ รี ปู แบบการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะสาหรบั ผ้ทู ม่ี ี เออื้ ต่อการเรียนรู้ ความจาเป็น และตอ้ งการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษ มผี ลการ ประเมนิ ระดบั ดขี ึน้ ไปจากการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ 2.1 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละของครทู ม่ี ีการจดั กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะใหผ้ ู้เรียนได้ 2.2 ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ในการ แสดงออก แสดงความคดิ เห็นสรุปองคค์ วามรู้ และนาเสนอ จัดการเรยี นรู้ ผลงาน อยา่ งสม่าเสมอ มีผลการประเมินระดบั ดีขนึ้ ไป จาก การประเมนิ ความคิดเหน็ ของนกั เรียนตอ่ การจัดการเรยี นการ สอนของครู รอ้ ยละของครูทสี่ ามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรยี น สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ มผี ลการประเมนิ ระดับดขี ้ึนไป จากการประเมินความคิดเหน็ ของนักเรียนตอ่ การจดั การเรยี นการสอนของครู คาอธิบาย ครมู ีการใช้ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แหลง่ เรียนรู้ และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในการจัดการเรยี นรแู้ ละ สร้างโอกาสใหผ้ ้เู รียนได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากสอ่ื ท่ี หลากหลาย ร้อยละของครูทมี่ กี ารใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศในการจดั การ เรียนรู้ มีผลการประเมนิ ระดับดีขน้ึ ไป จากการประเมนิ ความ คิดเหน็ ของนกั เรยี นตอ่ การจดั การเรียนการสอนของครู ร้อยละของครทู ใ่ี ช้แหล่งเรียนรู้ และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในการ จดั การเรียนรู้ มผี ลการประเมนิ ระดับดขี ึ้นไป จากการประเมนิ ความคดิ เหน็ ของนกั เรียนตอ่ การจดั การเรียนการสอนของครู
- 89 - ประเด็นพจิ ารณา เกณฑค์ ณุ ภาพ 2.3 สรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รอ้ ยละของครทู มี่ ีการสร้างโอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดแ้ สวงหาความรู้ จากสื่อที่หลากหลาย ด้วยตนเองจากสื่อท่ีหลากหลาย มผี ลการประเมนิ ระดับดีขนึ้ ไป จากการประเมนิ ความคิดเห็นของนักเรียนตอ่ การจดั การเรียน การสอนของครู 3. มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก คาอธิบาย ครูบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น โดยเนน้ การมปี ฏสิ มั พันธ์ และบรรยากาศเชิงบวก ทาใหเ้ ด็กรกั ครู ครรู กั เดก็ และเดก็ รัก เดก็ เดก็ รักทจี่ ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรู้รว่ มกนั อยา่ งมีความสุข 3.1 ผสู้ อนมีการบรหิ ารจดั การชั้นเรียน โดยเนน้ การมี ร้อยละของครทู ม่ี กี ารบริหารจัดการชน้ั เรียน โดยเนน้ การมี ปฏิสมั พนั ธ์เชิงบวก ปฏสิ มั พันธเ์ ชงิ บวก มีผลการประเมนิ ระดบั ดขี ึน้ ไป จากการ ประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรยี น 3.2 ผสู้ อนมีการบรหิ ารจดั การช้นั เรียนใหเ้ ด็กรกั ครู ครู รอ้ ยละของครทู ม่ี ีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนให้เด็กรกั ครู ครรู ัก รักเดก็ และเด็กรกั เด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถ เดก็ และเด็กรักเดก็ เด็กรักทีจ่ ะเรยี นรู้ สามารถ เรียนรรู้ ่วมกนั อยา่ งมีความสขุ เรยี นรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ มผี ลการประเมินระดบั ดขี ้นึ ไป จากการประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี น 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ คาอธิบาย ครมู กี ารเลอื กใช้เคร่ืองมือและวธิ กี ารวดั และ และ นาผลมาพัฒนาผู้เรยี น ประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจดั การเรยี นรู้ รวมทัง้ มกี ารตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจดั การ เรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.1 มกี ารตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการจัดการ รอ้ ยละของครูทม่ี ีการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจดั การ เรยี นรอู้ ย่างเป็นระบบ เรยี นรอู้ ยา่ งเป็นระบบ 4.2 มขี ัน้ ตอนโดยใชเ้ ครือ่ งมอื และวิธกี ารวดั และ ร้อยละของครทู มี่ ีขั้นตอนในการใชเ้ คร่อื งมอื และวธิ ีการวดั และ ประเมินผลที่เหมาะสมกับเปา้ หมายในการจดั การ ประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสมกบั เป้าหมายในการจัดการเรยี นรู้ เรยี นรู้ 4.3 เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นและผ้ทู ีม่ สี ่วนเกยี่ วขอ้ งมีสว่ น ร้อยละของครทู เี่ ปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนและผทู้ ม่ี สี ่วนเกยี่ วขอ้ งมี รว่ มในการวดั และประเมินผล ส่วน ร่วมในการวดั และประเมนิ ผล มีผลการประเมนิ ระดับดีขน้ึ ไป จากการประเมนิ ความคดิ เห็นของนักเรยี นตอ่ การจดั การ เรียนการสอนของครู 4.4 ใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั แกผ่ เู้ รียนเพ่ือนาไปใชใ้ นการ ร้อยละของครทู ่มี กี ารใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับแกผ่ ู้เรยี นเพอื่ นาไปใชใ้ นการพัฒนาการ พัฒนาการเรียนรู้ เรยี นรู้ มผี ลการประเมินระดบั ดีขนึ้ ไป จากการประเมนิ ความคดิ เหน็ ของนกั เรียน ตอ่ การจัดการเรียนการสอนของครู 5. มีการแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั คาอธิบาย ครเู ปิดโอกาศใหผ้ มู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องร่วมกนั แลกเปล่ยี น เพ่ือพฒั นาปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ ความร้แู ละประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้ และนาขอ้ มลู ปอ้ นกลับไปใช้ในการปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของ ตนเอง 5.1 ผมู้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งร่วมกนั แลกเปลี่ยนความรแู้ ละ ร้อยละของครูท่ใี หผ้ มู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องรว่ มกันแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ในการจดั การเรียนรู้ และประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ 5.2 นาข้อมลู ปอ้ นกลบั ไปใช้ในการปรับปรงุ และ ร้อยละของครทู มี่ กี ารนาขอ้ มลู ปอ้ นกลบั ไปใชใ้ นการปรบั ปรุง พฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ องตนเอง และพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องตนเอง
- 90 - รายงานการประชุม คณะกรรมการสง่ เสริมและพัฒนาระบบประกนั คุณภาพวชิราวุธวทิ ยาลยั (ผา่ นสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ โปรแกรม ZOOM Meeting) คร้งั ท่ี พิเศษ/2565 วันพุธท่ี 24 พฤษภาคม 2565 เวลา 14.00 – 16.00 น. ณ หอ้ งประชุมชน้ั 1 อาคารนวมภูมินทร์ ……………………………………………….. ผู้มาประชุม 1. นายเกยี รตคิ ุณ ชาติประเสรฐิ ผบู้ ังคับการ 2. ดร.ธนาวชิ ญ์ 3. นายพรพงศ์ จนิ ดาประดิษฐ์ ที่ปรกึ ษา 4. ดร.อญั ชลี 5. นายเจษฎา กนษิ ฐานนท์ รองผู้บงั คับการสายงานกลยทุ ธ์ฯ 6. ดร.พิพฒั น์ 7. นายไตรเทพ ประกายเกียรติ รองผู้บังคบั การสายงานวชิ าการ 8. นายปรีชาพล 9. นางสาวสุธาทิพย์ กาจนโบษย์ รองผบู้ ังคับการสายงานบริหาร (ออนไลน)์ 10. นางทองสุข พรพรรณนุกูล ผู้อานวยการฝ่ายบรหิ าร อสู่ กลุ ผู้อานวยการฝ่ายกจิ กรรม สมานหมู่ ผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการ (ออนไลน)์ กสฤิ กษ์ สายงานกลยุทธแ์ ละพัฒนาองคก์ ร ทบั เจริญ แผนกประกนั คณุ ภาพการศึกษา ผู้เขา้ รว่ มประชุม มหาขันธ์ ทปี่ รกึ ษา (ออนไลน)์ นาควิจิตรพงศ์ ทีป่ รกึ ษา 1. ดร.อาภารตั น์ รัศมี สายงานกิจการนักเรียน 2. นายปฐวฐี ์ พรมนา้ ฉา่ สายงานวชิ าการ 3. นายฐิตินันท์ สรุ ิยะเจรญิ สายงานวชิ าการ 4. นางสาวพรธิวา 5. ดร.วุฒิชยั เรมิ่ ประชุมเวลา 14.00 น.
- 91 - ระเบยี บวาระที่ 1 เรอ่ื งทแี่ จง้ ให้ทราบ นายพรพงศ์ กนิษฐานนท์ รองผูบ้ งั คบั การสายงานยุทธศาสตร์ แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบใน เร่อื งต่อไปน้ี เรื่อง 1.1 ผลการประเมินภายนอกรอบที่ 4 แจ้งให้ท่ีประชุมทราบผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบที่ ส่ี ดังนี้ จากการที่ วชิราวุธวิทยาลัย ส่งเอกสารรายงานการประเมินตนเองของวชิราวุธวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 เพื่อ ขอรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบที่ ส่ี แล้วน้ัน ขณะน้ีโรงเรียนได้รับการแจ้งและ รับรองผลการประเมินฯเรียบร้อยแล้ว ผลการประเมินคือวชิราวุธวิทยาลัยได้รับการรับรองคุณภาพ ให้มีคุณภาพระดับ ดี ทุกมาตรฐานการศึกษา และสายงานกลยุทธ์ฯจะจัดส่งไฟล์ผลการประเมินฯ ให้กับทุกสายงานเพ่ือนาไปเผยแพร่ให้ครูและบุคลากรในสังกัดทราบ และใช้เป็นข้อมูลในการจัดทา แผนพัฒนาเพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนางานต่อไป ระเบยี บวาระท่ี 2 เรอื่ งเพ่ือพิจารณาเหน็ ชอบ เรื่อง 2.1 ผลการประเมนิ ตนเองของวชริ าวุธวิทยาลัยประจาปีการศึกษา 2564 ตามท่ีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษาได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ผลการดาเนินงานตาม มาตรฐานการศกึ ษาของวชริ าวุธวทิ ยาลัย ประจาปีการศกึ ษา 2564 ของทกุ สายงาน เพอื่ จัดทารายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2564 มผี ลการประเมินสรปุ ไดด้ งั นี้ มาตรฐาน ที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ได้ระดับคุณภาพ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ได้ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม และ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน เปน็ สาคัญ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ (เอกสารรายละเอยี ดดงั แนบ ไฟล์ SAR 64) ผลการพจิ ารณา ที่ประชุมพิจารณามีมติ เห็นชอบ ผลการประเมินตนเองของวชิราวุธ วิทยาลยั ประจาปกี ารศึกษา 2564 มอบหมายเลขานุการ เผยแพรผ่ ลการประเมนิ ตนเองของวชริ าวุธวิทยาลัย ใหผ้ ูม้ สี ่วนได้ส่วน เสียทุกกลุม่ รบั ทราบ และเผยแพรส่ สู่ าธารณชนผ่านการส่อื สารในระบบดจิ ทิ ลั ของโรงเรยี น ตอ่ ไป ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องอนื่ ๆ - ไม่มี - เลกิ ประชุมเวลา 15.00 น. นางสาวสธุ าทิพย์ กสฤิ กษ์ ผู้บันทกึ การประชุม นางทองสุข ทบั เจรญิ ผตู้ รวจทาน
- 92 -
- 93 -
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226