Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบ่งปันเป็ นธรรมทาน
ภาค ๑ คําทาํ วตั รเชาและเย็น (นาท)ี คําบูชาพระรตั นตรยั (๐๑:๓๒) ปพุ พภาคนมการ (๐๑:๒๘) คาํ ทําวตั รเชา (๑๘:๕๓) (๐๓:๓๑) ๑. พทุ ธาภถิ ตุ ิ (๐๑:๒๖) ๒. ธัมมาภิถตุ ิ (๐๒:๔๒) ๓. สงั ฆาภถิ ตุ ิ (๐๓:๒๐) ๔. รตนัตตยปั ปณามคาถา (๐๗:๕๔) ๕. สงั เวคปรกิ ิตตนปาฐะ (๑๗:๒๙) คําทําวตั รเยน็ (๐๑:๕๐) (๐๔:๑๖) ๑. พทุ ธานสุ สติ (๐๑:๐๖) ๒. พุทธาภคิ ตี ิ (๐๔:๐๒) ๓. ธมั มานสุ สติ (๐๒:๒๐) ๔. ธมั มาภคิ ตี ิ (๐๓:๕๕) ๕. สังฆานสุ สติ ๖. สังฆาภคิ ตี ิ
เนอ้ื ธรรม (นาท)ี ภาค ๒ บทสวดมนตพ ิเศษ (๔๑:๒๕) บทพิเศษ ๑ (ตอนเชา) (๐๑:๔๓) ๑. สรณคมนปาฐะ (๐๒:๐๔) ๒. อฏั ฐสกิ ขาปทปาฐะ (๐๒:๒๙) ๓. ท๎วัตตงิ สาการปาฐะ (๐๒:๒๑) ๔. เขมาเขมสรณทปี กคาถา (๐๑:๓๓) ๕. อรยิ ธนคาถา (๐๓:๑๑) ๖. ตลิ กั ขณาทิคาถา (๐๑:๑๖) ๗. ภารสุตตคาถา (๐๒:๐๐) ๘. ภทั เทกรตั ตคาถา (๐๒:๒๕) ๙. ธัมมคารวาทคิ าถา (๐๒:๐๙) ๑๐. โอวาทปาฏโิ มกขคาถา (๐๑:๓๐) ๑๑. ปฐมพทุ ธภาสิตคาถา (๐๖:๓๐) ๑๒. ธาตุปจ จเวกขณปาฐะ (๐๐:๕๔) ๑๓. ปจฉมิ พทุ โธวาทปาฐะ (๐๒:๔๑) ๑๔. บทพจิ ารณาสังขาร (๐๒:๕๕) ๑๕. สพั พปต ตทิ านคาถา (๐๕:๔๔) ๑๖. ปฏฐนฐปนคาถา
เนือ้ ธรรม (นาท)ี บทพิเศษ ๒ (ตอนเย็น) (๓๔:๐๖) (๑๕:๔๒) ๑๗. อริยอฏั ฐังคกิ มัคคปาฐะ (๐๕:๐๒) ๑๘. อตตี ปจจเวกขณปาฐะ (๐๕:๕๙) ๑๙. ปพพชติ อภิณหปจจเวกขณปาฐะ (๐๐:๕๒) ๒๐. ปจ ฉมิ พทุ โธวาทปาฐะ (๐๖:๓๑) ๒๑. อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (๐๕:๓๐) บทพเิ ศษ ๓ (๑๙:๔๘) ๒๒. ตังขณกิ ปจ จเวกขณปาฐะ (๐๑:๔๑) ๒๓. ปจ จเวกขณอโุ บสถศีล บทพเิ ศษ ๔ ๒๔. บทแผเมตตา
คําทําวัตรเชาและเย็น (เร่ิมตน ดว ย คาํ บูชาพระรัตนตรยั และ ปุพพภาคนมการ) คาํ บชู าพระรตั นตรัย อะระหัง สมั มาสมั พทุ โธ ภะคะวา, พระผมู ีพระภาคเจา , เปนพระอรหนั ต, ดับเพลงิ กิเลสเพลงิ ทกุ ขส ิน้ เชงิ , ตรสั รชู อบไดโ ดยพระองคเ อง; พทุ ธัง ภะคะวนั ตงั อะภวิ าเทม.ิ ขา พเจาอภวิ าทพระผูมพี ระภาคเจา , ผรู ู ผูตนื่ ผเู บกิ บาน. (กราบ ๑ ครั้ง) สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรม เปน ธรรมทพ่ี ระผูมพี ระภาคเจา , ตรสั ไวด แี ลว ; ธมั มงั นะมสั สาม.ิ ขาพเจานมสั การพระธรรม. (กราบ ๑ ครง้ั ) สปุ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, พระสงฆ สาวกของพระผมู พี ระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว; สงั ฆงั นะมามิ. ขาพเจานอบนอ มพระสงฆ. (กราบ ๑ ครง้ั )
ปพุ พภาคนมการ (คาํ นมสั การ) (หนั ทะ มะยงั พทุ ธสั สะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการงั กะโรมะ เส.) (เชญิ เถิด เราทงั้ หลาย ทาํ ความนอบนอมอันเปนสว นเบอื้ งตน แดพระผมู พี ระภาคเจา เถิด.) นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองคน ้ัน; อะระหะโต, ซง่ึ เปน ผูไ กลจากกเิ ลส; สมั มาสมั พทุ ธสั สะ. ตรัสรชู อบไดโดยพระองคเอง. (วา ๓ ครงั้ )
๑. พุทธาภถิ ตุ ิ (คาํ สรรเสรญิ พระพทุ ธเจา ) (หนั ทะ มะยงั พทุ ธาภถิ ตุ งิ กะโรมะ เส.) (เชญิ เถดิ เราท้ังหลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระพทุ ธเจา เถดิ .) โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจานัน้ พระองคใ ด; อะระหัง, เปน ผไู กลจากกเิ ลส; สมั มาสมั พทุ โธ, เปนผูต รสั รูชอบไดโดยพระองคเอง; วชิ ชาจะระณะสมั ปน โน, เปนผถู ึงพรอ มดวยวชิ ชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผไู ปแลว ดวยด;ี โลกะวทิ ,ู เปน ผรู โู ลกอยางแจม แจง ; อะนุตตะโร ปรุ สิ ะทมั มะสาระถ,ิ เปน ผูสามารถฝกบุรษุ ที่สมควรฝกได อยา งไมม ใี ครยิง่ กวา ; สัตถา เทวะมะนสุ สานงั , เปนครูผสู อน ของเทวดาและมนษุ ย ทั้งหลาย; พทุ โธ, เปน ผรู ู ผตู ื่น ผูเบกิ บานดวยธรรม; ภะคะวา, เปนผูม ีความจําเรญิ จําแนกธรรม สงั่ สอนสตั ว;
โย อมิ งั โลกงั สะเทวะกงั สะมาระกัง สะพร๎ หั ม๎ ะกงั , สสั สะมะณะพร๎ าหม๎ ะณงิ ปะชงั สะเทวะมะนสุ สัง สะยงั อะภญิ ญา สจั ฉิกตั ว๎ า ปะเวเทส,ิ พระผมู พี ระภาคเจา พระองคใด, ไดทรงทาํ ความดบั ทุกขใ หแ จง ดว ยพระปญ ญาอันยิง่ เองแลว, ทรงสอนโลกนี้ พรอ มทง้ั เทวดา, มาร พรหม, และหมสู ตั ว พรอ มทั้งสมณพราหมณ, พรอ มทง้ั เทวดาและมนุษยใหร ตู าม; โย ธมั มงั เทเสส,ิ พระผมู พี ระภาคเจา พระองคใ ด, ทรงแสดงธรรมแลว ; อาทกิ ลั ย๎ าณงั , ไพเราะในเบือ้ งตน ; มชั เฌกลั ย๎ าณงั , ไพเราะในทา มกลาง; ปะรโิ ยสานะกลั ย๎ าณงั , ไพเราะในทสี่ ุด; สาตถงั สะพย๎ ญั ชะนัง เกวะละปะรปิ ณุ ณงั ปะรสิ ทุ ธงั พร๎ ัหม๎ ะจะรยิ ัง ปะกาเสส,ิ ทรงประกาศพรหมจรรย, คอื แบบแหงการปฏิบตั ิอนั ประเสรฐิ บริสทุ ธ์ิ บรบิ รู ณ สน้ิ เชงิ , พรอ มทงั้ อรรถะ (คาํ อธิบาย) พรอมท้งั พยัญชนะ (หวั ขอ); ตะมะหงั ภะคะวนั ตงั อะภปิ ชู ะยามิ, ขา พเจาบชู าอยางยิง่ เฉพาะพระผูม พี ระภาคเจา พระองคน นั้ ; ตะมะหงั ภะคะวนั ตงั สริ ะสา นะมาม.ิ ขา พเจา นอบนอ มพระผมู พี ระภาคเจา พระองคนนั้ ดว ยเศยี รเกลา . (กราบระลึกพระพทุ ธคณุ )
๒. ธัมมาภถิ ุติ (คาํ สรรเสรญิ พระธรรม) (หนั ทะ มะยงั ธมั มาภถิ ตุ ิง กะโรมะ เส.) (เชิญเถดิ เราทง้ั หลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถิด.) โย โส สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรมนั้นใด, เปนส่ิงทพี่ ระผมู พี ระภาคเจา ไดต รัสไวดีแลว ; สนั ทิฏฐโิ ก, เปน ส่ิงทผ่ี ูศึกษาและปฏบิ ตั ิ พึงเห็นไดดวยตนเอง; อะกาลโิ ก, เปน สิง่ ทป่ี ฏิบตั ไิ ด และใหผลได ไมจาํ กัดกาล; เอหปิ ส สโิ ก, เปน สิ่งทคี่ วรกลาวกะผอู น่ื วา ทา นจงมาดเู ถดิ ; โอปะนะยโิ ก, เปน สง่ิ ทคี่ วรนอ มเขา มาใสตวั ; ปจ จตั ตงั เวทติ พั โพ วญิ หู ,ิ เปน สิง่ ทผ่ี รู กู ็รไู ดเฉพาะตน; ตะมะหงั ธมั มงั อะภปิ ชู ะยาม,ิ ขา พเจา บูชาอยา งยง่ิ เฉพาะพระธรรมนนั้ ; ตะมะหงั ธมั มงั สริ ะสา นะมาม.ิ ขา พเจานอบนอ มพระธรรมน้ัน ดว ยเศียรเกลา. (กราบระลกึ พระธรรมคุณ)
๓. สังฆาภถิ ุติ (คาํ สรรเสรญิ พระสงฆ) (หนั ทะ มะยงั สงั ฆาภิถตุ งิ กะโรมะ เส.) (เชญิ เถิด เราทง้ั หลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระสงฆเถิด.) โย โส สปุ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆสาวกของพระผมู ีพระภาคเจาน้ัน หมใู ด, ปฏิบัตดิ แี ลว; อชุ ปุ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆสาวกของพระผมู ีพระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบตั ติ รงแลว ; ญายะปะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมูใด, ปฏบิ ตั เิ พอ่ื รธู รรม เปน เครอื่ งออกจากทกุ ขแลว ; สามจี ปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมใู ด, ปฏบิ ตั ิสมควรแลว ; ยะททิ งั , ไดแกบ คุ คลเหลา น้คี อื ; จตั ตาริ ปรุ สิ ะยคุ านิ อัฏฐะ ปรุ สิ ะปุคคะลา, คแู หงบรุ ษุ ๔ คู,* นบั เรยี งตวั บุรษุ ได ๘ บรุ ษุ ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, นนั่ แหละ สงฆส าวกของพระผมู พี ระภาคเจา ;
อาหเุ นยโย, เปนสงฆค วรแกส กั การะท่เี ขานาํ มาบูชา; ปาหเุ นยโย, เปนสงฆค วรแกส กั การะทีเ่ ขาจัดไวตอ นรับ; ทกั ขเิ ณยโย, เปน ผคู วรรับทกั ษณิ าทาน; อญั ชะลกี ะระณโี ย, เปน ผทู บ่ี คุ คลท่วั ไปควรทําอัญชล;ี อะนตุ ตะรงั ปญุ ญกั เขตตงั โลกสั สะ, เปนเนอ้ื นาบุญของโลก, ไมมนี าบญุ อ่ืนยงิ่ กวา ; ตะมะหงั สงั ฆงั อะภปิ ชู ะยาม,ิ ขาพเจา บูชาอยางยง่ิ เฉพาะพระสงฆหมนู น้ั ; ตะมะหงั สงั ฆงั สริ ะสา นะมาม.ิ ขา พเจา นอบนอ มพระสงฆหมนู ้นั ดว ยเศยี รเกลา. (กราบระลกึ พระสงั ฆคณุ ) * ๔ คคู ือ โสดาปต ติมรรค, โสดาปตติผล, สกทาคามมิ รรค, สกทาคามิผล, อนาคามมิ รรค, อนาคามผิ ล, อรหัตตมรรค, อรหตั ตผล.
๔. รตนตั ตยปั ปณามคาถา (คาถานอบนอ มพระรตั นตรยั ) (หนั ทะ มะยงั ระตะนตั ตะยปั ปะณามะคาถาโย เจวะ สงั เวคะปะรกิ ติ ตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทง้ั หลาย กลาวคาํ นอบนอมพระรตั นตรยั และบาลที ่ีกําหนดวตั ถุเครื่องแสดงความสงั เวชเถิด.) พทุ โธ สสุ ทุ โธ กะรณุ ามะหณั ณะโว, พระพุทธเจา ผูบ รสิ ทุ ธิ์ มีพระกรุณาดจุ หว งมหรรณพ; โยจจนั ตะสทุ ธพั พะระญาณะโลจะโน, พระองคใ ด มีตาคือญาณอันประเสรฐิ หมดจดถึงที่สดุ ; โลกสั สะ ปาปปู ะกเิ ลสะฆาตะโก, เปนผูฆา เสยี ซงึ่ บาป และอปุ กิเลสของโลก; วันทามิ พทุ ธงั อะหะมาทะเรนะ ตงั , ขาพเจาไหวพระพุทธเจา พระองคน ้นั โดยใจเคารพเอื้อเฟอ ; ธมั โม ปะทโี ป วยิ ะ ตสั สะ สตั ถโุ น, พระธรรมของพระศาสดา สวางรงุ เรอื งเปรียบดวงประทีป; โย มคั คะปากามะตะเภทะภนิ นะโก, จําแนกประเภทคอื มรรค ผล นิพพาน, สวนใด; โลกุตตะโร โย จะ ตะทตั ถะทปี ะโน, ซึ่งเปนตวั โลกตุ ตระ, และสวนใดทช่ี ีแ้ นวแหง โลกุตตระนัน้ ; วันทามิ ธมั มงั อะหะมาทะเรนะ ตงั , ขา พเจาไหวพระธรรมนนั้ โดยใจเคารพเออ้ื เฟอ ;
สงั โฆ สเุ ขตตาภย๎ ะตเิ ขตตะสญั ญโิ ต, พระสงฆเปน นาบญุ อันยงิ่ ใหญกวา นาบุญอนั ดที ัง้ หลาย; โย ทิฏฐะสนั โต สคุ ะตานโุ พธะโก, เปนผเู ห็นพระนพิ พาน, ตรัสรตู ามพระสุคต, หมูใ ด; โลลปั ปะหโี น อะรโิ ย สเุ มธะโส, เปน ผูละกเิ ลสเครอื่ งโลเล เปนพระอรยิ เจา มปี ญญาด;ี วันทามิ สงั ฆงั อะหะมาทะเรนะ ตงั , ขาพเจาไหวพระสงฆหมนู นั้ โดยใจเคารพเอือ้ เฟอ ; อจิ เจวะเมกนั ตะภปิ ชู ะเนยยะกงั , วตั ถตุ ตะยัง วนั ทะยะตาภสิ งั ขะตงั , ปญุ ญงั มะยา ยงั มะมะ สพั พปุ ท ทะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสทิ ธิยา. บญุ ใด ทขี่ า พเจา ผูไ หวอยซู ง่ึ วตั ถุ ๓, คือพระรตั นตรยั อันควรบชู าย่ิงโดยสว นเดียว, ไดก ระทาํ แลวเปน อยางยง่ิ เชนนน้ี ,้ี ขออุปททวะ (ความช่วั ) ท้งั หลาย, จงอยา มแี กขา พเจาเลย, ดว ยอาํ นาจความสําเร็จ อนั เกิดจากบญุ นน้ั .
๕. สังเวคปริกติ ตนปาฐะ (คาํ แสดงสงั เวช) อธิ ะ ตะถาคะโต โลเก อุปปน โน, พระตถาคตเจาเกดิ ข้นึ แลว ในโลกน้ี; อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ, เปนผูไ กลจากกิเลส, ตรสั รชู อบไดโ ดยพระองคเ อง; ธมั โม จะ เทสโิ ต นิยยานโิ ก, และพระธรรมทท่ี รงแสดง เปน ธรรมเคร่อื งออกจากทุกข; อุปะสะมโิ ก ปะรนิ พิ พานโิ ก, เปนเคร่ืองสงบกเิ ลส, เปน ไปเพ่อื ปรนิ พิ พาน; สมั โพธะคามี สคุ ะตปั ปะเวทโิ ต, เปน ไปเพอื่ ความรูพ รอ ม, เปนธรรมทพ่ี ระสคุ ตประกาศ; มะยนั ตงั ธมั มงั สุตว๎ า เอวงั ชานามะ, พวกเราเมือ่ ไดฟงธรรมน้นั แลว , จงึ ไดรอู ยางนี้วา:– ชาตปิ ทกุ ขา, แมค วามเกดิ ก็เปน ทุกข; ชะราป ทกุ ขา, แมค วามแก กเ็ ปน ทุกข; มะระณมั ป ทกุ ขงั , แมความตาย กเ็ ปนทุกข; โสกะปะรเิ ทวะทกุ ขะโทมะนสั สปุ ายาสาป ทกุ ขา, แมความโศก ความร่ําไรราํ พนั ความไมส บายกาย ความไมส บายใจ ความคบั แคน ใจ ก็เปนทกุ ข;
อัปปเ ยหิ สมั ปะโยโค ทกุ โข, ความประสบกบั สงิ่ ไมเปนท่ีรักท่ีพอใจ ก็เปน ทุกข; ปเ ยหิ วปิ ปะโยโค ทกุ โข, ความพลดั พรากจากส่งิ เปน ท่ีรักท่ีพอใจ กเ็ ปน ทกุ ข; ยมั ปจ ฉงั นะ ละภะติ ตมั ป ทกุ ขงั , มีความปรารถนาสง่ิ ใด ไมไ ดส่งิ นน้ั นัน่ ก็เปนทุกข; สงั ขิตเตนะ ปญจปุ าทานกั ขันธา ทกุ ขา, วา โดยยอ อปุ าทานขนั ธทงั้ ๕ เปน ตวั ทุกข; เสยยะถที งั , ไดแ กส ่งิ เหลานค้ี ือ:– รปู ปู าทานกั ขันโธ, ขันธ อันเปน ทีต่ งั้ แหงความยดึ มน่ั คือรปู ; เวทะนปู าทานกั ขนั โธ, ขันธ อนั เปนทีต่ ง้ั แหงความยึดมน่ั คอื เวทนา; สญั ปู าทานกั ขนั โธ, ขนั ธ อนั เปน ที่ตง้ั แหงความยึดม่นั คือสัญญา; สงั ขารปู าทานกั ขนั โธ, ขนั ธ อันเปนทต่ี งั้ แหงความยึดม่นั คอื สังขาร; วญิ ญาณปู าทานกั ขันโธ, ขนั ธ อันเปนทต่ี งั้ แหงความยดึ มนั่ คอื วญิ ญาณ;
เยสงั ปะรญิ ญายะ, เพอื่ ใหสาวกกําหนดรอบรอู ปุ าทานขันธ เหลา นี้เอง; ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึงพระผมู ีพระภาคเจา นั้น เม่ือยงั ทรงพระชนมอ ย;ู เอวงั พะหุลงั สาวะเก วิเนต,ิ ยอ มทรงแนะนําสาวกท้งั หลาย เชน น้ีเปน สว นมาก; เอวัง ภาคา จะ ปะนสั สะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนสุ าสะนี พะหลุ า ปะวตั ตะต,ิ อนึง่ คาํ ส่งั สอนของพระผมู พี ระภาคเจา นั้น, ยอ มเปน ไปในสาวกท้ังหลาย, สว นมาก, มสี ว นคือการจาํ แนกอยางนีว้ า :– รปู ง อะนิจจงั , รปู ไมเทย่ี ง; เวทะนา อะนจิ จา, เวทนาไมเทีย่ ง; สญั ญา อะนจิ จา, สัญญาไมเ ท่ยี ง; สงั ขารา อะนจิ จา, สงั ขารไมเ ทย่ี ง; วญิ ญาณงั อะนจิ จงั , วิญญาณไมเ ทีย่ ง; รปู ง อะนัตตา, รปู ไมใชต ัวตน; เวทะนา อะนตั ตา, เวทนาไมใ ชต ัวตน; สญั ญา อะนตั ตา, สญั ญาไมใ ชตวั ตน; สงั ขารา อะนตั ตา, สงั ขารไมใชตัวตน; วิญญาณงั อะนตั ตา, วญิ ญาณไมใ ชต ัวตน;
สพั เพ สงั ขารา อะนจิ จา, สงั ขารทง้ั หลายทง้ั ปวง ไมเทยี่ ง; สพั เพ ธมั มา อะนัตตาต,ิ ธรรมทงั้ หลายทง้ั ปวง ไมใ ชต วั ตน ดงั น;้ี เต (หญงิ วา ตา) มะยัง โอตณิ ณามห๎ ะ, พวกเราทง้ั หลาย เปน ผูถ กู ครอบงาํ แลว; ชาตยิ า, โดยความเกดิ ; ชะรามะระเณนะ, โดยความแกและความตาย; โสเกหิ ปะรเิ ทเวหิ ทกุ เขหิ โทมะนสั เสหิ อุปายาเสห,ิ โดยความโศก ความราํ่ ไรราํ พัน ความไมส บายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคน ใจ ท้ังหลาย; ทกุ โขตณิ ณา, เปน ผูถ กู ความทกุ ข หยง่ั เอาแลว ; ทกุ ขะปะเรตา, เปน ผมู คี วามทกุ ข เปน เบอื้ งหนาแลว ; อปั เปวะนามมิ สั สะ เกวะลสั สะ ทกุ ขกั ขนั ธสั สะ อนั ตะกริ ยิ า ปญ ญาเยถาต.ิ ทําไฉน การทาํ ท่ีสดุ แหงกองทกุ ขท้ังสิน้ นี้, จะพึงปรากฏชดั แกเราได.
(สาํ หรบั อบุ าสก-อบุ าสกิ าสวด) จริ ะปะรนิ พิ พตุ มั ป ตงั ภะคะวันตงั สะระณัง คะตา, เราทั้งหลาย ผถู ึงแลว ซ่งึ พระผมู พี ระภาคเจา, แมป รินพิ พานนานแลว พระองคนน้ั เปน สรณะ; ธมั มญั จะ สงั ฆญั จะ, ถงึ พระธรรมดวย ถึงพระสงฆด วย; ตสั สะ ภะคะวะโต สาสะนงั ยะถาสะติ ยะถาพะลงั มะนะสิกะโรมะ อะนปุ ะฏปิ ช ชามะ, จกั ทําในใจอยู ปฏบิ ัติตามอยู ซ่ึงคาํ สั่งสอนของพระผมู พี ระภาคเจา นนั้ ตามสติกําลงั ; สา สา โน ปะฏปิ ต ต,ิ ขอใหความปฏบิ ัตนิ ั้นๆ ของเราท้งั หลาย; อมิ สั สะ เกวะลสั สะ ทกุ ขกั ขันธสั สะ อนั ตะกริ ยิ ายะ สงั วตั ตะตุ. จงเปน ไปเพ่อื การทําที่สดุ แหงกองทุกข ทง้ั สนิ้ น้ี เทอญ.
(สาํ หรบั ภกิ ษ-ุ สามเณรสวด) จริ ะปะรนิ พิ พตุ มั ป ตัง ภะคะวันตงั อทุ ทสิ สะ อะระหันตงั สมั มาสมั พทุ ธงั , เราท้ังหลาย อทุ ิศเฉพาะพระผมู พี ระภาคเจา , ผไู กลจากกิเลส, ตรัสรชู อบไดโ ดยพระองคเอง, แมปรนิ พิ พานนานแลว พระองคนนั้ ; สทั ธา อะคารสั ม๎ า อะนะคารยิ งั ปพ พะชติ า, เปนผูม ศี รัทธา ออกบวชจากเรือน ไมเกย่ี วของดวยเรอื นแลว ; ตสั ม๎ งิ ภะคะวะติ พร๎ หั ม๎ ะจะรยิ งั จะรามะ, ประพฤตอิ ยซู ง่ึ พรหมจรรย ในพระผมู ีพระภาคเจา พระองคน ้ัน; ภกิ ขนู ัง สกิ ขาสาชวี ะสะมาปน นา, ถงึ พรอมดวยสกิ ขาและธรรมเปน เครอ่ื งเลย้ี งชวี ิต ของภกิ ษทุ ้ังหลาย; ตงั โน พร๎ หั ม๎ ะจะรยิ ัง อมิ สั สะ เกวะลสั สะ ทกุ ขกั ขันธัสสะ อนั ตะกริ ยิ ายะ สงั วตั ตะต.ุ ขอใหพรหมจรรยข องเราทง้ั หลายน้นั , จงเปน ไปเพอ่ื การทําที่สุดแหง กองทุกข ทงั้ สน้ิ น้ี เทอญ. (จบคําทาํ วัตรเชา )
๑. พุทธานุสสติ (คาํ ระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา ) (หนั ทะ มะยงั พทุ ธานสุ สะตนิ ะยงั กะโรมะ เส.) (เชิญเถดิ เราท้ังหลาย ทําความตามระลึกถึงพระพุทธเจา เถดิ .) ตัง โข ปะนะ ภะคะวนั ตงั เอวงั กัลย๎ าโณ กิตตสิ ทั โท อพั ภคุ คะโต, กก็ ิตตศิ ัพทอ ันงามของพระผูมพี ระภาคเจาน้นั , ไดฟ ุง ไปแลวอยางน้วี า:– อติ ปิ โส ภะคะวา, เพราะเหตุอยางน้ีๆ พระผมู ีพระภาคเจาน้นั ; อะระหงั , เปนผูไกลจากกิเลส; สมั มาสมั พทุ โธ, เปน ผตู รสั รูช อบไดโ ดยพระองคเ อง; วชิ ชาจะระณะสมั ปน โน, เปน ผถู ึงพรอมดวยวชิ ชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผไู ปแลว ดวยดี; โลกะวทิ ,ู เปน ผรู โู ลกอยา งแจม แจง; อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทมั มะสาระถ,ิ เปน ผสู ามารถฝกบุรุษทส่ี มควรฝก ได อยา งไมม ใี ครยงิ่ กวา ; สัตถา เทวะมะนสุ สานงั , เปน ครผู สู อน ของเทวดาและมนษุ ย ทัง้ หลาย; พทุ โธ, เปน ผูรู ผตู นื่ ผูเบกิ บานดว ยธรรม; ภะคะวาต.ิ เปน ผมู ีความจําเรญิ จําแนกธรรม สั่งสอนสตั ว, ดงั นี้.
๒. พุทธาภคิ ตี ิ (คาํ สรรเสรญิ พระพทุ ธเจา ) (หนั ทะ มะยงั พทุ ธาภคิ ตี งิ กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระพุทธเจา เถดิ .) พทุ ธว๎ าระหนั ตะวะระตาทคิ ุณาภิยตุ โต, พระพุทธเจาประกอบดว ยคุณ, มีความประเสรฐิ แหงอรหนั ตคุณ เปน ตน; สทุ ธาภญิ าณะกะรณุ าหิ สะมาคะตตั โต, มีพระองคอันประกอบดว ยพระญาณ, และพระกรณุ าอนั บรสิ ทุ ธ;์ิ โพเธสิ โย สชุ ะนะตงั กะมะลงั วะ สโู ร, พระองคใ ด ทรงกระทาํ ชนท่ีดใี หเบิกบาน, ดุจอาทิตยท าํ บวั ใหบาน; วันทามะหัง ตะมะระณงั สริ ะสา ชเิ นนทงั , ขาพเจา ไหวพระชินสหี ผไู มมีกเิ ลสพระองคน ั้น ดว ยเศยี รเกลา ; พทุ โธ โย สพั พะปาณนี งั สะระณงั เขมะมตุ ตะมงั , พระพุทธเจา พระองคใด เปนสรณะอนั เกษมสูงสดุ ของสัตวท ้งั หลาย; ปะฐะมานสุ สะติฏฐานงั วนั ทามิ ตงั สิเรนะหงั , ขา พเจา ไหวพระพทุ ธเจาพระองคน ้นั อันเปน ทีต่ ง้ั แหงความระลกึ องคท่หี นึ่ง ดวยเศยี รเกลา ;
พทุ ธสั สาหสั ม๎ ิ ทาโส (หญงิ วา ทาส)ี วะ พทุ โธ เม สามกิ สิ สะโร, ขา พเจา เปน ทาสของพระพทุ ธเจา, พระพุทธเจาเปน นาย มอี สิ ระเหนอื ขา พเจา ; พทุ โธ ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ สั สะ เม, พระพุทธเจาเปนเคร่อื งกาํ จดั ทกุ ข, และทรงไวซ่ึงประโยชนแ กข า พเจา ; พทุ ธสั สาหงั นิยยาเทมิ สะรรี ญั ชวี ติ ัญจทิ งั , ขาพเจามอบกายถวายชวี ติ น้ี แดพระพทุ ธเจา ; วันทนั โตหงั (หญงิ วา ตหี งั ) จะรสิ สามิ พทุ ธสั เสวะ สโุ พธติ งั , ขา พเจา ผไู หวอ ยูจักประพฤตติ าม, ซง่ึ ความตรัสรูดขี องพระพทุ ธเจา; นัตถิ เม สะระณงั อญั ญัง พทุ โธ เม สะระณงั วะรงั , สรณะอืน่ ของขา พเจา ไมม ,ี พระพทุ ธเจา เปน สรณะอนั ประเสรฐิ ของขา พเจา ; เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ วฑั เฒยยงั สตั ถสุ าสะเน, ดวยการกลาวคาํ สตั ยน ี,้ ขาพเจา พงึ เจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา; พทุ ธงั เม วนั ทะมาเนนะ (หญงิ วา มานายะ) ยงั ปญุ ญงั ปะสุตงั อธิ ะ, ขา พเจา ผูไหวอ ยูซึง่ พระพทุ ธเจา , ไดขวนขวายบญุ ใดในบดั น้;ี
สพั เพป อนั ตะรายา เม มาเหสุง ตสั สะ เตชะสา. อันตรายทงั้ ปวงอยาไดมแี กขา พเจา ดว ยเดชแหงบญุ นั้น. (กราบหมอบลงวา ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดว ยกายกด็ ี ดว ยวาจาก็ดี ดวยใจกด็ ี; พทุ เธ กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยา ยงั , กรรมนาตเิ ตยี นอนั ใด ท่ีขา พเจากระทาํ แลว ในพระพทุ ธเจา ; พทุ โธ ปะฏคิ คณั ห๎ ะตุ อจั จะยนั ตงั , ขอพระพทุ ธเจา จงงดซงึ่ โทษลว งเกนิ อันน้ัน; กาลนั ตะเร สังวะรติ งุ วะ พทุ เธ. เพอ่ื การสาํ รวมระวงั ในพระพทุ ธเจา ในกาลตอ ไป. * บทขอใหงดโทษน้ี มิไดเปน การขอลางบาป เปน เพียรการเปดเผยตวั เอง และคําวา โทษในทนี่ ้ี มิไดห มายถงึ กรรม หมายถงึ โทษเพยี งเล็กนอ ยซึ่งเปน “สว นตัว” ระหวางกนั ท่ีพึงอโหสิกนั ได การขอขมาชนดิ น้ี สําเร็จผลไดในเมอ่ื ผขู อตง้ั ใจทาํ จรงิ ๆ และเปน เพียงศีลธรรม หรอื สิ่งที่ควรประพฤติ.
๓. ธัมมานุสสติ (คาํ ระลกึ ถงึ พระธรรม) (หนั ทะ มะยงั ธมั มานสุ สะตนิ ะยงั กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราท้งั หลาย ทําความตามระลึกถึงพระธรรมเถิด.) สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรม เปน สง่ิ ท่พี ระผมู ีพระภาคเจา ไดตรสั ไวด ีแลว ; สนั ทฏิ ฐโิ ก, เปน ส่งิ ทผ่ี ูศ กึ ษาและปฏบิ ตั ิ พงึ เห็นไดด ว ยตนเอง; อะกาลโิ ก, เปนสิง่ ทป่ี ฏบิ ัติได และใหผลได ไมจ ํากดั กาล; เอหปิ ส สโิ ก, เปนสิ่งทค่ี วรกลาวกะผอู ื่นวา ทา นจงมาดเู ถดิ ; โอปะนะยิโก, เปน ส่ิงทคี่ วรนอมเขา มาใสตัว; ปจ จตั ตงั เวทติ พั โพ วญิ หู ตี ิ. เปนส่ิงทผ่ี รู กู ร็ ูไดเ ฉพาะตน, ดงั น.ี้
๔. ธัมมาภคิ ีติ (คาํ สรรเสรญิ พระธรรม) (หนั ทะ มะยงั ธมั มาภคิ ตี งิ กะโรมะ เส.) (เชญิ เถิด เราท้ังหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระธรรมเถิด.) สว๎ ากขาตะตาทิคณุ ะโยคะวะเสนะ เสยโย, พระธรรม เปนสงิ่ ท่ีประเสริฐ เพราะประกอบดวยคณุ , คอื ความที่พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั ไวดแี ลว เปน ตน; โย มคั คะปากะปะรยิ ตั ตวิ โิ มกขะเภโท, เปน ธรรมอนั จาํ แนกเปน มรรค ผล ปรยิ ตั ิ และนพิ พาน; ธมั โม กโุ ลกะปะตะนา ตะทะธารธิ าร,ี เปนธรรมทรงไวซ ่ึงผทู รงธรรม จากการตกไปสูโ ลกทช่ี ่ัว; วนั ทามะหัง ตะมะหะรงั วะระธมั มะเมตงั , ขาพเจา ไหวพ ระธรรมอันประเสริฐน้นั อนั เปนเคร่อื งขจดั เสยี ซึ่งความมืด; ธมั โม โย สพั พะปาณนี งั สะระณงั เขมะมตุ ตะมงั , พระธรรมใด เปน สรณะอนั เกษมสงู สดุ ของสัตวท ้งั หลาย; ทตุ ิยานสุ สะตฏิ ฐานัง วนั ทามิ ตงั สเิ รนะหงั , ขา พเจา ไหวพระธรรมน้ัน อนั เปน ท่ตี ้งั แหงความระลึก องคท สี่ อง ดว ยเศยี รเกลา ;
ธมั มสั สาหัสม๎ ิ ทาโส (หญงิ วา ทาส)ี วะ ธมั โม เม สามกิ สิ สะโร, ขาพเจา เปนทาสของพระธรรม, พระธรรมเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา; ธมั โม ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ สั สะ เม, พระธรรมเปน เครอื่ งกําจดั ทกุ ข, และทรงไวซง่ึ ประโยชนแ กข าพเจา ; ธมั มสั สาหงั นยิ ยาเทมิ สะรรี ญั ชวี ติ ตญั จทิ งั , ขา พเจามอบกายถวายชวี ติ น้ี แดพ ระธรรม; วันทนั โตหงั (หญงิ วา ตหี งั ) จะรสิ สามิ ธมั มสั เสวะ สธุ มั มะตงั , ขาพเจาผไู หวอ ยูจักประพฤตติ าม, ซ่งึ ความเปนธรรมดขี องพระธรรม; นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั ธมั โม เม สะระณงั วะรงั , สรณะอนื่ ของขาพเจาไมม ,ี พระธรรมเปน สรณะอนั ประเสริฐของขา พเจา ; เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ วัฑเฒยยงั สัตถสุ าสะเน, ดวยการกลาวคําสัตยน ี้, ขา พเจาพงึ เจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา;
ธมั มงั เม วนั ทะมาเนนะ (หญงิ วา มานายะ) ยัง ปญุ ญงั ปะสุตงั อธิ ะ, ขา พเจา ผไู หวอ ยูซ่งึ พระธรรม, ไดขวนขวายบุญใดในบดั น;้ี สพั เพป อนั ตะรายา เม มาเหสงุ ตสั สะ เตชะสา. อนั ตรายท้ังปวง อยา ไดมแี กขา พเจา ดวยเดชแหงบญุ นนั้ . (กราบหมอบลงวา ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดว ยกายกด็ ี ดว ยวาจาก็ดี ดว ยใจก็ด;ี ธมั เม กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยา ยงั , กรรมนาตเิ ตยี นอันใด ทีข่ า พเจา กระทําแลว ในพระธรรม; ธมั โม ปะฏคิ คัณห๎ ะตุ อจั จะยนั ตงั , ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษลว งเกนิ อนั น้ัน; กาลนั ตะเร สงั วะรติ งุ วะ ธมั เม. เพือ่ การสาํ รวมระวงั ในพระธรรม ในกาลตอ ไป. * บทขอใหง ดโทษนี้ มิไดเปน การขอลา งบาป เปน เพยี รการเปด เผยตวั เอง และคาํ วา โทษในทนี่ ี้ มไิ ดหมายถงึ กรรม หมายถงึ โทษเพียงเล็กนอ ยซึ่งเปน “สวนตวั ” ระหวางกนั ท่ีพึงอโหสกิ นั ได การขอขมาชนดิ น้ี สาํ เรจ็ ผลไดในเมอื่ ผูขอตั้งใจทาํ จรงิ ๆ และเปน เพียงศีลธรรม หรือส่ิงทคี่ วรประพฤต.ิ
๕. สงั ฆานุสสติ (คาํ ระลกึ ถงึ พระสงฆ) (หนั ทะ มะยงั สังฆานสุ สะตนิ ะยัง กะโรมะ เส.) (เชญิ เถิด เราทงั้ หลาย ทําความตามระลกึ ถึงพระสงฆเถดิ .) สปุ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆส าวกของพระผูมีพระภาคเจา หมใู ด, ปฏบิ ตั ิดแี ลว ; อชุ ปุ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบัติตรงแลว; ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆส าวกของพระผมู ีพระภาคเจา หมูใ ด, ปฏบิ ตั ิเพอื่ รธู รรม เปนเครอ่ื งออกจากทกุ ขแลว; สามีจปิ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆส าวกของพระผูม พี ระภาคเจา หมูใ ด, ปฏบิ ัติสมควรแลว ; ยะททิ งั , ไดแ กบ ุคคลเหลา นค้ี อื ; จัตตาริ ปรุ สิ ะยคุ านิ อัฏฐะ ปรุ สิ ะปคุ คะลา, คูแหงบรุ ษุ ๔ คู,* นบั เรยี งตัวบรุ ษุ ได ๘ บรุ ุษ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, นั่นแหละ สงฆส าวกของพระผมู พี ระภาคเจา ;
อาหเุ นยโย, เปนสงฆค วรแกสกั การะที่เขานาํ มาบูชา; ปาหเุ นยโย, เปน สงฆค วรแกสกั การะที่เขาจดั ไวตอนรับ; ทกั ขิเณยโย, เปนผคู วรรับทกั ษิณาทาน; อัญชะลกี ะระณโี ย, เปนผทู ่ีบคุ คลท่วั ไปควรทาํ อญั ชลี; อะนตุ ตะรงั ปญุ ญกั เขตตงั โลกสั สาต.ิ เปน เนอ้ื นาบุญของโลก, ไมมนี าบญุ อ่ืนย่ิงกวา, ดงั น.ี้ * ๔ คคู อื โสดาปต ตมิ รรค, โสดาปตตผิ ล, สกทาคามมิ รรค, สกทาคามผิ ล, อนาคามิมรรค, อนาคามผิ ล, อรหัตตมรรค, อรหตั ตผล.
๖. สังฆาภิคีติ (คาํ สรรเสรญิ พระสงฆ) (หนั ทะ มะยงั สงั ฆาภคิ ตี งิ กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทง้ั หลาย ทาํ ความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระสงฆเถดิ .) สทั ธมั มะโช สปุ ะฏิปต ตคิ ุณาทิยตุ โต, พระสงฆท เ่ี กดิ โดยพระสัทธรรม, ประกอบดว ยคุณ มีความปฏบิ ัตดิ ี เปน ตน ; โยฏฐพั พโิ ธ อะรยิ ะปคุ คะละสงั ฆะเสฏโฐ, เปนหมแู หง พระอรยิ บุคคลอันประเสรฐิ ๘ จาํ พวก; สลี าทธิ มั มะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มกี ายและจติ อนั อาศยั ธรรมมีศลี เปนตน อันบวร; วนั ทามะหงั ตะมะรยิ านะคะณงั สสุ ทุ ธงั , ขาพเจาไหวห มแู หงพระอริยเจาเหลา น้ัน อนั บรสิ ุทธดิ์ วยดี; สงั โฆ โย สพั พะปาณนี งั สะระณัง เขมะมตุ ตะมงั , พระสงฆห มใู ด เปนสะระณะอันเกษมสงู สุด ของสตั วทัง้ หลาย; ตะตยิ านสุ สะติฏฐานงั วนั ทามิ ตัง สเิ รนะหงั , ขา พเจาไหวพ ระสงฆห มนู นั้ อันเปนท่ตี ้งั แหง ความระลกึ องคท ีส่ าม ดว ยเศียรเกลา; สงั ฆสั สาหสั ม๎ ิ ทาโส (หญงิ วา ทาส)ี วะ สงั โฆ เม สามกิ สิ สะโร, ขา พเจาเปน ทาสของพระสงฆ, พระสงฆเปนนาย มีอิสระเหนือขา พเจา ;
สงั โฆ ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ ัสสะ เม, พระสงฆเ ปน เครือ่ งกําจดั ทุกข, และทรงไวซ ง่ึ ประโยชนแกข าพเจา ; สงั ฆสั สาหัง นยิ ยาเทมิ สะรรี ญั ชวี ติ ญั จทิ งั , ขา พเจา มอบกายถวายชีวติ นี้ แดพระสงฆ; วนั ทนั โตหงั (หญงิ วา ตีหงั ) จะรสิ สามิ สงั ฆสั โสปะฏปิ น นะตงั , ขา พเจา ผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความปฏิบตั ิดขี องพระสงฆ; นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั สงั โฆ เม สะระณงั วะรงั , สรณะอ่นื ของขาพเจา ไมม ,ี พระสงฆเ ปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา ; เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ วฑั เฒยยงั สัตถสุ าสะเน, ดวยการกลา วคําสตั ยนี,้ ขา พเจา พึงเจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา; สงั ฆงั เม วนั ทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปญุ ญงั ปะสุตงั อธิ ะ, ขาพเจา ผไู หวอยูซ่งึ พระสงฆ, ไดข วนขวายบุญใดในบัดน;ี้ สพั เพป อนั ตะรายา เม มาเหสงุ ตสั สะ เตชะสา. อนั ตรายท้ังปวง อยา ไดม แี กข า พเจา ดวยเดชแหงบุญน้นั .
(กราบหมอบลงวา ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดวยกายกด็ ี ดวยวาจากด็ ี ดว ยใจกด็ ี; สงั เฆ กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยา ยงั , กรรมนา ติเตียนอันใด ที่ขา พเจากระทําแลว ในพระสงฆ; สงั โฆ ปะฏคิ คัณห๎ ะตุ อจั จะยนั ตงั , ขอพระสงฆ จงงดซ่งึ โทษลว งเกนิ อนั นัน้ ; กาลนั ตะเร สังวะรติ งุ วะ สงั เฆ. เพ่ือการสาํ รวมระวงั ในพระสงฆ ในกาลตอ ไป. * บทขอใหง ดโทษนี้ มิไดเ ปนการขอลางบาป เปน เพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา โทษในทน่ี ้ี มิไดหมายถึงกรรม หมายถงึ โทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สว นตัว” ระหวา งกนั ท่พี ึงอโหสิกนั ได การขอขมาชนดิ น้ี สําเรจ็ ผลไดใ นเมอ่ื ผูขอตงั้ ใจทําจริงๆ และเปนเพยี งศีลธรรม หรือสงิ่ ทค่ี วรประพฤติ. (จบคาํ ทาํ วัตรเย็น)
๑. สรณคมนปาฐะ (คาํ ระลกึ ถงึ พระรตั นตรยั ) (หนั ทะ มะยงั ตสิ ะระณะคะมะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชญิ เถดิ เราทง้ั หลาย จงกลา วคาถาเพื่อระลกึ ถงึ พระรตั นตรยั เถิด.) พทุ ธงั สะระณงั คัจฉาม,ิ ขาพเจา ถือเอาพระพทุ ธเจา เปน สรณะ; ธมั มงั สะระณัง คัจฉาม,ิ ขา พเจาถือเอาพระธรรมเปน สรณะ; สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉาม.ิ ขา พเจา ถือเอาพระสงฆเปน สรณะ. ทตุ ยิ มั ป พทุ ธัง สะระณงั คัจฉาม,ิ แมค รั้งทสี่ อง ขา พเจาถอื เอาพระพทุ ธเจา เปน สรณะ; ทตุ ิยมั ป ธมั มงั สะระณัง คัจฉาม,ิ แมค รงั้ ทสี่ อง ขาพเจา ถอื เอาพระธรรมเปน สรณะ; ทตุ ยิ มั ป สงั ฆงั สะระณัง คัจฉาม.ิ แมค รง้ั ทส่ี อง ขา พเจา ถอื เอาพระสงฆเปน สรณะ. ตะตยิ มั ป พทุ ธัง สะระณัง คจั ฉาม,ิ แมค รั้งทส่ี าม ขา พเจาถอื เอาพระพทุ ธเจา เปน สรณะ; ตะตยิ มั ป ธมั มงั สะระณัง คัจฉาม,ิ แมคร้ังทสี่ าม ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ; ตะตยิ มั ป สงั ฆงั สะระณัง คัจฉาม.ิ แมครัง้ ทสี่ าม ขา พเจาถือเอาพระสงฆเ ปน สรณะ.
๒. อฏั ฐสกิ ขาปทปาฐะ (คาํ แสดงศลี ๘) (หนั ทะ มะยงั อฏั ฐะสกิ ขาปะทะปาฐงั ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลา วคาํ แสดงศลี ๘ เถิด.) ปาณาตปิ าตา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เครอื่ งเวนจากการฆา ; อะทนิ นาทานา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เครอื่ งเวน จากการถือเอาส่ิงของ ท่ีเจา ของไมไ ดใหแลว ; อะพร๎ หั ม๎ ะจะรยิ า เวระมะณ,ี เจตนาเปน เครือ่ งเวน จากการกระทาํ อันมใิ ชพ รหมจรรย; มสุ าวาทา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เครอื่ งเวนจากการพดู ไมจ รงิ ; สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เครื่องเวน จากการดม่ื สรุ า และเมรยั , อนั เปน ทต่ี ้ังของความประมาท; วิกาละโภชะนา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เคร่อื งเวนจากการบรโิ ภคอาหารในเวลาวิกาล;
นจั จะ คตี ะ วาทติ ะ วสิ กู ะ ทสั สะนะ มาลาคนั ธะ วิเลปะนะ ธาระณะ มณั ทะนะ วภิ สู ะนฏั ฐานา เวระมะณ,ี เจตนาเปน เคร่อื งเวน จากการฟอนราํ , การขบั เพลง การดนตรี, การดูการเลนชนดิ เปน ขา ศึกตอกศุ ล, การทดั ทรงสวมใส การประดับ การตกแตง ตน, ดว ยพวงมาลา ดวยเครอ่ื งกลนิ่ และเคร่อื งผดั ทา; อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณ.ี เจตนาเปน เคร่ืองเวนจากการนั่งนอนบนที่นอนสงู และที่นอนใหญ.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140