Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ 20 ปี

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ 20 ปี

Published by ภานุพงษ์ อินทะพาท, 2021-09-12 12:53:41

Description: ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ 20 ปี

Search

Read the Text Version

1ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพัฒนาท้องถนิ่ ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพือ่ การพฒั นาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรับปรุง 11 ตุลาคม 2561)

“...ข้าพเจ้าได้ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏตอ่ เนอื่ งมาเปน็ เวลากวา่ 30 ปแี ล้ว ทาำ ใหร้ ้สู กึ มีความสุขและผูกพันกับมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งหลายอย่างมาก ไปทกุ ครง้ั กม็ คี วามสขุ อยากให้ทุกคนมีกำาลังใจที่จะทำาให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ ของเรา เป็นประโยชนก์ บั ประชาชน เป็นประโยชน์ตอ่ ภมู ภิ าค และท้องถิน่ จริงๆ จังๆ ในเรอื่ งการดาำ รงชวี ิต ในเรื่องความรู้ ทว่ั ไป และขอ้ สำาคญั คอื ผลิตคนดี ผลิตคนดที ีเ่ ห็นประโยชนแ์ ก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และสงั คม คิดวา่ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเปน็ สถาบันท่ี เป็นประโยชนแ์ ละเปน็ กลไกท่ีพฒั นาประเทศ ได้อยา่ งยง่ิ ถ้าหากต้งั ใจ รว่ มกนั และคุยกันมากๆ จะเป็นสถาบัน หลักท่พี ฒั นาประเทศและประชาชนไดอ้ ยา่ งมาก...” 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ณ พระท่นี ง่ั อัมพรสถาน 2 ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั เพ่อื การพัฒนาท้องถนิ่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรบั ปรงุ 11 ตุลาคม 2561)

3ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏ เพ่อื การพัฒนาท้องถ่นิ

สารจาก พลเอก ดาวพ์ งษ์ รัตนสวุ รรณ องคมนตรี ยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั เพื่อการพฒั นาท้องถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ด้วยพระมหากรุณาธิคุณและสายพระเนตรอันยาวไกลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ที่ทรงใหค้ วามสำาคญั กบั การศกึ ษา และทรงม่งุ หมายให้การศกึ ษาสรา้ งคนไทย ให้มคี ุณลักษณะ 4 ประการ ไดแ้ ก่ มที ศั นคตทิ ี่ดี และถกู ต้อง มพี นื้ ฐานชีวิตท่มี ัน่ คงเข้มแขง็ มอี าชีพ มีงานทำา และเป็นพลเมืองดีมรี ะเบยี บวนิ ยั อันเป็นสว่ นสาำ คญั ในการ สรา้ งความมน่ั คงให้กบั ประเทศ กอปรกับการเสดจ็ พระราชดาำ เนินพระราชทานปริญญาบตั รให้กับบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ตลอดระยะเวลากวา่ 30 ป ี ที่ได้ทรงติดตามและทอดพระเนตรเหน็ ศักยภาพอยา่ งเขา้ พระทัยลึกซ้งึ ถงึ แกน่ แท้ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ท่จี ดั ตัง้ ขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ ป็นแหล่งผลติ ครูทีม่ ีคณุ ภาพ เป็นแหลง่ ความรู้วชิ าการ และเปน็ ปราชญ์แหง่ การพัฒนาทอ้ งถิน่ อนั เปน็ กลไกสาำ คญั ท่จี ะสามารถเข้าถงึ ต้นตอแห่งปัญหาของพสกนิกรของพระองค์ในแต่ละท้องที่ และสามารถดาำ เนินการแก้ไข และพัฒนาอย่างมุ่งเป้าเพื่อให้ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในทุกด้าน จึงทรงมอบหมายภารกิจให้องคมนตรีแนะนำา มหาวิทยาลัยราชภฏั ใหท้ ำางานใหเ้ ขา้ เป้าในการยกระดบั การศึกษาและพฒั นาท้องถ่ินในท้องทีต่ น เมอื่ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ทง้ั 38 แหง่ ทัว่ ประเทศไดท้ ราบถึงพระอัจฉริยภาพ จึงน้อมนำาพระราโชบายด้านการศึกษา มาจดั ทำาเป็นแผนยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพอ่ื การพฒั นาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ท่สี อดคล้องกบั ภารกจิ ในการจดั ตง้ั มหาวิทยาลยั และไดท้ บทวนแผนฯ ฉบับดงั กลา่ ว เมอื่ วนั ท ่ี 11 ตลุ าคม 2561 ใหช้ ัดเจนยิง่ ขึน้ ทง้ั เปา้ หมาย กลยทุ ธ์ และตวั ชวี้ ดั ท่ีมงุ่ ผลิตบณั ฑติ ให้มีคณุ ภาพและพร้อมด้วยคุณลักษณะท้ัง 4 ประการ เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาตาม พระราโชบาย ม่งุ ผลิตครูคุณภาพและพฒั นาทอ้ งถนิ่ ท้งั ทางดา้ นสังคม เศรษฐกิจ ส่งิ แวดลอ้ มและการศึกษา ตามสภาพปญั หา และความตอ้ งการทแี่ ทจ้ รงิ ของชมุ ชน โดยน้อมนาำ แนวพระราชดาำ รสิ ู่การปฏิบตั ิเพอ่ื ให้เกดิ การพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ งและยั่งยนื ขอใหผ้ บู้ ริหาร คณาจารย ์ และบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ซ่ึงเปน็ “คนของพระราชา ข้าของแผ่นดนิ ” มุ่งมนั่ และตั้งใจปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏที่อยู่ในมือท่านฉบับนี้ และจะต้องคำานึงถึงบริบทที่แท้จริง ของพื้นที่บริการที่แต่ละมหาวิทยาลัยรับผิดชอบในการจัดทำาแผนงานโครงการและกิจกรรมที่สอดรับกัน โดยมีการวิเคราะห์ และประเมินอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังต้องให้ความสำาคัญกับการสื่อสาร การบูรณาการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ท้ังภายในมหาวทิ ยาลัย นอกมหาวทิ ยาลัย และระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏดว้ ยกันเอง ดังนแี้ ลว้ จงึ นับไดว้ ่าเป็นการรวม สรรพกำาลังของมหาวิทยาลัยราชภัฏท่ัวประเทศร่วมกันขับเคล่ือนให้บรรลุเป้าหมายการยกระดับคุณภาพการศึกษาและ พัฒนาท้องถิน่ ดว้ ยองคค์ วามร้อู ย่างเต็มภาคภมู ิ พลเอก ดาว์พงษ์ รตั นสวุ รรณ องคมนตรี 4 ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพ่ือการพฒั นาท้องถ่นิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรับปรงุ 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั 5เพ่ือการพฒั นาทอ้ งถนิ่ คาำ นาำ มหาวิทยาลัยราชภัฏน้อมนำาพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็น สถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยจัดทำายุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภฏั เพือ่ การพฒั นาท้องถนิ่ ระยะ 20 ป ี (พ.ศ. 2560 - 2579) ข้นึ ตอ่ มาไดม้ ี การทบทวนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) เมื่อวันที ่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีสว่ นร่วมของ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ท้งั 38 แห่ง เพ่ือให้การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการ พัฒนาทอ้ งถนิ่ อยู่บนฐานความร้ ู ความเข้าใจรว่ มกัน ทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) จึงจัดทาำ คู่มอื ฉบับน้ขี น้ึ เพ่อื ให้การดำาเนิน การของมหาวิทยาลัยราชภัฏตรงตามเจตนารมณ์ของแผนยุทธศาสตร์ บนพ้ืนฐานศักยภาพและบริบทของแต่ละมหาวิทยาลัยนำาไปสู่ผลสัมฤทธ์ิตาม เป้าหมายของยุทธศาสตร์ คู่มือฉบับนี้ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด โครงการหลกั คำาสำาคญั (Keyword) หลักการและแนวทางการดาำ เนินการ และคำาอธิบายตัวชว้ี ดั ที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) ขอบพระคุณ พลเอกดาว์พงษ ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี และทีมงานทีใ่ ห้ความเมตตา แนะนำา และให้กำาลังใจในการจัดทำายุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนา ทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ป ี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรบั ปรงุ 11 ตลุ าคม 2561) มหาวิทยาลัยราชภัฏหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นสถาบันการศึกษาที่เป็น ประโยชนแ์ ละเป็นกลไกในการพัฒนาประเทศและประชาชนสืบไป ที่ประชมุ อธิการบดมี หาวิทยาลยั ราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) มกราคม 2562

รายชื่อมหาวทิ ยาลัยราชภฏั 38 แห่ง ภาคเหนือ ภาคใต้ 1. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาำ แพงเพชร 1. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี 2. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย 2. มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช 3. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ่ 3. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 4. มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ 4. มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา 5. มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 5. มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา 6. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์ 7. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำาปาง 8. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ตก 1. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ 1. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม 3. มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย ์ 3. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ 4. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม 4. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี 5. มหาวิทยาลัยราชภฏั รอ้ ยเอ็ด 6. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย 7. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ 8. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 9. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ นิ ทร ์ 10. มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธาน ี 11. มหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี ภาคกลาง (กรรตั งุ นเทโกพสมินหทารน)์ คร 1. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี 1. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม 2. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 2. มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี 3. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 3. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา 4. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรำาไพพรรณี 4. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร 5. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ 5. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา 6 ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพอื่ การพัฒนาทอ้ งถน่ิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรับปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั 7เพอ่ื การพัฒนาท้องถ่ิน สารบัญ วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ 8 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น 11 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ และพัฒนาครู 25 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 35 ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 45 แผนทีน่ าำ ทางยุทธศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ 55 เพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2560 – 2579)

วิสยั ทศั น มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบนั ท่ผี ลติ บณั ฑิตที่มี อตั ลักษณ์ มคี ณุ ภาพ มสี มรรถนะ และเป็นสถาบันหลัก ท่ีบรู ณาการองค์ความรสู้ นู่ วัตกรรมในการพฒั นาท้องถิน่ เพ่อื สรา้ งความมัน่ คงใหก้ บั ประเทศ พนั ธกิจ ผลิตบณั ฑิตให้มคี ณุ ภาพ มที ศั นคตทิ ีด่ ี เป็นพลเมืองดใี นสงั คม และมีสมรรถนะตามความตอ้ งการของผใู้ ช้บณั ฑติ วจิ ัยสรา้ งองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมทีม่ คี ุณภาพและไดม้ าตรฐานเป็นท่ียอมรบั มุ่งเนน้ การบรู ณาการเพือ่ นาำ ไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม พฒั นาทอ้ งถ่นิ ตามศักยภาพ สภาพปัญหาและความต้องการทแี่ ทจ้ รงิ ของชุมชน โดยการถา่ ยทอดองค์ความรู ้ เทคโนโลยี และนอ้ มนำาแนวพระราชดาำ รสิ ่กู ารปฏิบตั ิ สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือกบั ทกุ ภาคส่วนเพ่ือการพัฒนาท้องถน่ิ และเสริมสรา้ ง ความเข้มแข็งของผู้นำาชุมชนใหม้ ีคณุ ธรรมและความสามารถในการบริหารงาน เพือ่ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม บริหารจดั การทรัพยากรภายในมหาวทิ ยาลัยอย่างมปี ระสทิ ธิภาพด้วย หลกั ธรรมาภิบาล พร้อมรองรบั บรบิ ทการเปลี่ยนแปลงเพอ่ื ให้เกดิ การพัฒนา อยา่ งต่อเน่อื งและยัง่ ยืน 8 ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพือ่ การพฒั นาท้องถนิ่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรับปรงุ 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ 9เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถ่นิ คาำ สาำ คัญ (Key Word)

10 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

11ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอื่ การพัฒนาทอ้ งถนิ่ 1 ยทุ ธศาสตรที่ การทพ้อฒั งถนน่ิ า

12 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

13ยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏ ุยทธศาสตร ่ีท 1 เพอื่ การพฒั นาทอ้ งถ่ิน กยารทุ พธฒัศานสาตทรอ้ ท์ งี่ ถ1ิ่น เปา้ หมาย ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ดา้ นการศึกษา กลยุทธ 1. สรา้ งและพัฒนาความร่วมมือกบั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ในการวางแผนพัฒนาเชิงพน้ื ท่ ี และ ดำาเนินโครงการตามพันธกิจและศักยภาพของมหาวิทยาลัยโดยกำาหนดเป้าหมายเชิงปริมาณ และคุณภาพ รวมถึงกำาหนดเวลา (Timeline) ในการดำาเนินการทุกขั้นตอนอย่างเป็นรูปธรรม (ระยะสน้ั ระยะกลาง และระยะยาว) ทัง้ นตี้ อ้ งไดร้ บั ความเห็นชอบจากผ้วู ่าราชการจังหวัดดว้ ย 2. บรู ณาการความร่วมมอื ในมหาวทิ ยาลัยและภายนอกมหาวทิ ยาลัย (ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม) ในการดาำ เนนิ โครงการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายอยา่ งมนี ยั สำาคญั 3. บูรณาการการจดั การเรียนการสอน การวิจัยของนกั ศกึ ษา และอาจารย์กบั การพัฒนา ท้องถ่นิ

ตวั ชว้ี ดั 1.1 มีฐานขอ้ มลู ของพื้นที่บริการ (ศกั ยภาพชมุ ชน สภาพปญั หา และความต้องการที่แท้จรงิ ของชุมชน) เพอ่ื ใชใ้ นการวเิ คราะห ์ ประเมนิ และวางแผนงานพฒั นาเชิงพ้นื ทต่ี ามศกั ยภาพ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1.2 จาำ นวนหมบู่ ้าน โรงเรยี น ท่ีมหาวิทยาลัยราชภฏั ดาำ เนินโครงการอนั เปน็ ผลจาก การวางแผนพัฒนาเชิงพืน้ ท่ี 1.3 ร้อยละสะสมของจำานวนหมู่บ้านที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเข้าดำาเนินโครงการพัฒนา เปรียบเทียบกับจำานวนหมู่บ้านทั้งหมดในพื้นที่บริการ (การกระจายตัวเชิงพื้นที่) 1.4 จำานวนโครงการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ และจำานวนโครงการฯ สะสม (แยกประเภทตามเป้าหมาย) 1.5 จำานวนภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ที่รวมมือกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ดาำ เนินโครงการพัฒนาทอ้ งถิ่นในพื้นทบี่ รกิ าร 1.6 อัตราส่วนโครงการพัฒนาท้องถิ่นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นแกนนำา เปรียบเทียบกับ โครงการพัฒนาทอ้ งถิ่นท้งั หมดของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1.7 จาำ นวนผ้เู ขา้ รว่ มโครงการทเ่ี กยี่ วกับการน้อมนาำ พระราโชบายด้านการศึกษา เพอ่ื เสริมสร้าง คุณลกั ษณะคนไทยทีพ่ งึ ประสงคท์ ั้ง 4 ประการ สู่การปฏิบัตใิ นพื้นทีบ่ รกิ ารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1.8 อัตราการอ่านออกเขยี นได ้ ของประชากร โดยเฉพาะประชากรในวยั ประถมศึกษา ในพ้นื ที่บรกิ าร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1.9 รอ้ ยละของหมู่บ้านที่มดี ัชนชี ้วี ัดความสขุ มวลรวมชุมชนเพ่ิมขึ้น 1.10 อตั ราการเพ่มิ ขึ้นของรายไดค้ รวั เรือนในพ้ืนท่ีการพฒั นาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1.11 มแี หลง่ เรยี นร้ดู ้านศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญั ญาท้องถิน่ เพ่อื เสรมิ สรา้ งคณุ คา่ และจิตสาำ นึก รกั ษท์ อ้ งถนิ่ 1.12 จาำ นวนวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการใหมใ่ นพื้นที่บรกิ ารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ทีป่ ระสบความสำาเร็จ จากการสนบั สนุนองค์ความรจู้ ากมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1.13 อัตราการอพยพของประชากรวัยทาำ งานในท้องถนิ่ ลดลง โครงการหลกั 1. โครงการจดั ทำาฐานขอ้ มูล (Big Data) ของพื้นที่บรกิ ารเพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือชว่ ยตัดสินใจ ในการวางแผนพัฒนาท้องถิน่ ตามบทบาทและศักยภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2. โครงการติดอาวุธทางปัญญา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (บ่มเพาะประชาชนให้พร้อมด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ) 3. โครงการส่งเสริมสุขภาวะชมุ ชน เพ่อื สร้างความสขุ มวลรวมชุมชน 14 ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั เพ่อื การพัฒนาทอ้ งถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรับปรงุ 11 ตลุ าคม 2561)

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏ 15เพอ่ื การพัฒนาท้องถิน่ คำาสำาคญั (Key Word) สรา้ งและพัฒนา การกาำ หนดพื้นทีแ่ ละประเดน็ ปญั หาตรงกับความต้องการของจังหวดั ความรว่ มมือกับ ผู้วา่ ราชการจังหวัด ส่วนราชการ หรือองคก์ รและประชาชนในพ้นื ท่ี ผ้วู า่ ราชการจังหวดั และสอดคลอ้ งกับแผนยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาพน้ื ที่ อยา่ งมีนัยสำาคญั เกดิ ผลการพฒั นา มผี ลลัพธ ์ ผลสมั ฤทธิ ์ ผลกระทบเชงิ บวกกับชมุ ชน ท้องถน่ิ ในประเดน็ สาำ คัญอยา่ งเปน็ รูปธรรม หม่บู า้ น หมูบ่ า้ นท่ีได้รับการพฒั นา การพัฒนาพนื้ ท่ีใดๆ ใหก้ ำาหนดเป้าหมาย เป็นหน่วย หมบู่ ้านทไี่ ด้รบั การพฒั นาเพอื่ ให้สอดคลอ้ งกบั หน่วยนบั เชิงพ้ืนท ่ี ของกระทรวง มหาดไทยซึ่งใช้หมบู่ า้ นเป็นหน่วยนับฐาน (Unit Base) ในการพัฒนาทอ้ งถนิ่ ติดอาวุธทางปญั ญา การบม่ เพาะใหป้ ระชาชนในพน้ื ทม่ี ีความพรอ้ มดว้ ยคุณลกั ษณะคนไทย ตามพระราโชบายด้านการศึกษา 4 ประการ คอื 1. มที ัศนคติท่ีดแี ละถกู ต้อง 2. มพี ืน้ ฐานชีวิตท่ีมั่นคงเขม้ แขง็ 3. มงี านทาำ มีอาชีพ 4. เป็นพลเมืองด ี มรี ะเบียบวนิ ยั สุขภาวะชุมชน คนในชุมชนมสี ุขภาวะท่สี มบูรณ์ทั้งดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สงั คมและปญั ญา คือ มีความสขุ อยใู่ นสงั คมโลก สร้างใหเ้ กิดสังคมอยู่เยน็ เป็นสุข สขุ ภาวะชุมชน ุยทธศาสตร ่ีท 1 ติดอาวุธทางปัญญา หมบู่ า้ น อย่างมีนยั สำาคญั คผสรว้วู าา้่างรมแารลชว่ ะกมพามรฒั อื จกนงั บัหาวดั

16 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏ 17เพือ่ การพัฒนาท้องถ่นิ ุยทธศาสตร ่ีท 1

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาทอ้ งถิ่น ตวั ช้วี ดั ท่ี 1.1 มีฐานขอ้ มูลของพื้นทบ่ี รกิ าร (ศกั ยภาพชุมชน สภาพปัญหา และความ หนว่ ยนับ ตอ้ งการที่แทจ้ รงิ ของชุมชน) เพอื่ ใชใ้ นการวเิ คราะห์ ประเมนิ และวางแผน งานพัฒนาเชิงพืน้ ทีต่ ามศักยภาพของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ น คาำ อธิบาย ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บขอ้ มูล การวิเคราะห์ ประมวลผล การรายงานและการนาำ เสนอขอ้ มูล ท้ังในรูปแบบ เพือ่ ให้มหาวิทยาลัยราชภฏั มีขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จริงในพืน้ ที่ เอกสาร รูปแบบดจิ ิทัล หรอื รปู แบบอื่น ที่สามารถสืบค้น บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ นำาไปสู่การวางแผนการ วิเคราะห์ นำาเสนอในเชิงสารสนเทศ Infographics ได้อยา่ ง พัฒนาเชิงพื้นที่ให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาอย่างมี ถูกตอ้ ง เขา้ ใจงา่ ย สะดวก และรวดเรว็ นัยสำาคัญ สามารถแกป้ ัญหาของพนื้ ทไ่ี ด้ตรงประเดน็ มีฐานข้อมลู ของพื้นทบ่ี ริการ หมายความถึง ฐานขอ้ มลู การจัดเก็บข้อมูล สารสนเทศระดับหมู่บ้านในพื้นท่ีบริการของมหาวิทยาลัย ราชภฏั ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ด้านส่งิ แวดลอ้ ม และดา้ น นับจำานวนหมู่บ้านในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย การศึกษาประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป สภาพปัญหา ความ ราชภัฏ ที่มีการจัดทำาฐานข้อมูลครบถ้วนทั้ง 4 ด้านและมี ตอ้ งการศกั ยภาพชมุ ชน หรือขอ้ มูลอนื่ ทั้งท่เี ป็นข้อมลู ปฐมภมู ิ การนำาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเชิงพื้นท่ีอย่างเป็น และข้อมลู ทตุ ิยภูมิ โดยจำาแนกตามเปา้ หมาย ในการพฒั นา รูปธรรม ครอบคลุมครบทั้ง 4 ด้าน โดยมีระบบและการจัดการ ตัวช้วี ัดท่ี 1.2 จำานวนหมู่บา้ น จาำ นวนโรงเรียนทีม่ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ดาำ เนินโครงการ หนว่ ยนบั อันเป็นผลจากการวางแผนการพัฒนาเชงิ พ้ืนที่ หมู่บ้าน โรงเรียน คำาอธิบาย งานประจำาปี และได้มีการดำาเนินโครงการอย่างเป็นรูปธรรม ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบกิจกรรมสัมพันธ์ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมีการวางแผนและดำาเนิน หรอื ลักษณะอน่ื ๆ ท่สี ่งผลต่อการพฒั นาชมุ ชน ท้องถน่ิ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า เ ชิ ง พ้ื น ท่ี นำ า ไ ป สู่ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ของหมู่บ้าน โรงเรียน กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่บริการของ การจัดเก็บข้อมูล มหาวิทยาลัยราชภัฏอย่างเป็นรูปธรรมให้บรรลุเป้าหมาย ของการพฒั นาอยา่ งมนี ยั สาำ คญั นับจำานวนหมู่บ้าน โรงเรียนที่มีการดำาเนินโครงการ จำานวนหมู่บ้าน จำานวนโรงเรียน หมายความถึง ตามแผนการพัฒนาอยา่ งเป็นรูปธรรม หมู่บา้ น โรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายตามแผนการพัฒนา เชิงพื้นที่ท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏกำาหนดในแผนการปฏิบัติ 18 ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่อื การพฒั นาทอ้ งถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรับปรงุ 11 ตุลาคม 2561)

ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั 19เพอ่ื การพัฒนาท้องถ่นิ ตวั ช้วี ดั ที่ 1.3 ร้อยละสะสมของจำานวนหมบู่ า้ น จำานวนโรงเรียนทมี่ หาวิทยาลัยราชภฏั หน่วยนบั เใขน้าพดน้ื ำาทเน่ีบินรโกิ คารรงก(กาารรพกัฒระนจาาเปยรตียัวบเชเทิงพยี บน้ื ทกบั่ี) จำานวนหมู่บ้านท้ังหมด รอ้ ยละ คำาอธิบาย ทีม่ ีการดาำ เนินการต่อเน่อื ง หรอื เป็นพน้ื ท่ีใหม่ ทั้งนี้นับจำานวน หมู่บ้าน โรงเรียนที่มีการดำาเนินโครงการการพัฒนาอย่าง เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏดำาเนินโครงการพัฒนา เป็นรูปธรรมโดยมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2560 จน ท้องถ่ินในพ้ืนที่บริการอย่างต่อเน่ืองและครอบคลุมท่ัวพ้ืนท่ี ถงึ ปีทีพ่ จิ ารณา ในระยะเวลาตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อ การพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ป ี (พ.ศ. 2560 – 2579) ให้ การจดั เก็บข้อมลู บรรลเุ ปา้ หมายของการพฒั นาอยา่ งมนี ัยสาำ คัญ ร้อยละสะสมของจาำ นวนหมู่บา้ น จาำ นวนโรงเรยี นท่ี นับจำานวนหมู่บ้าน โรงเรียน ที่มีการดำาเนินโครงการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เขา้ ดาำ เนนิ โครงการ หมายความถงึ หมบู่ า้ น พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งแต่ โรงเรยี น ทเี่ ปน็ กล่มุ เปา้ หมายตามแผนการพฒั นาเชงิ พนื้ ทีท่ ี่ ปี พ.ศ. 2560 (โรงเรยี น หมู่บ้านเดิม ที่ดำาเนินการตอ่ เนอื่ ง มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาำ หนดในแผนการปฏิบตั งิ านประจาำ ปี นับจำานวนเป็น 1 แห่ง) โดยคำานวณเป็นร้อยละเทียบกับ และได้มีการดำาเนินโครงการอย่างเป็นรูปธรรมไม่ว่าจะเป็น จำานวนหมู่บ้าน โรงเรียนทั้งหมดในพื้นที่บริการที่กำาหนด รปู แบบกิจกรรมสัมพนั ธ์ บรกิ ารวิชาการ วิจัยหรอื ลกั ษณะ ในพ้ืนที่เป้าหมายของมหาวิทยาลยั ราชภฏั อื่นๆ ท่สี ง่ ผลต่อการพัฒนาชุมชนทอ้ งถิ่นโดยอาจเป็นพืน้ ทเ่ี ดิม ร้อยละสะสมฯ = (จาำ นวนหมู่บา้ น โรงเรียนปที ี่ 1 + จำานวนหมู่บ้าน โรงเรยี นปที ่ี 2 + จาำ นวนหม่บู า้ นปีท่ี n ) X 100 จำานวนหมู่บา้ น โรงเรยี นท้ังหมดในพนื้ ท่ีบริการทกี่ าำ หนดเป็นพ้ืนท่ีเปา้ หมายของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ตัวชีว้ ัดที่ 1.4 จาำ นวนโครงการพัฒนาทอ้ งถน่ิ ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏ หน่วยนับ และจำานวนโครงการฯ สะสม (แยกตามประเภทเปา้ หมาย) โครงการ คาำ อธิบาย โครงการพัฒนา 4 ด้าน คือ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ดา้ น ุยทธศาสตร ่ีท 1 สิ่งแวดล้อม และด้านการศึกษา และมีการดำาเนินการ เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ ดำาเนินโครงการพัฒนา โครงการอย่างเป็นรูปธรรมโดยมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ตง้ั แต่ปี ทอ้ งถิน่ ครอบคลุมครบถว้ นเปา้ หมายการพฒั นาท้งั 4 ดา้ น พ.ศ. 2560 จนถึงปีท่ีพจิ ารณา คือดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ด้านส่งิ แวดล้อม และดา้ น การศกึ ษา อยา่ งเปน็ รูปธรรมใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของการพัฒนา การจัดเก็บข้อมลู อยา่ งมีนยั สำาคญั จำานวนโครงการพัฒนาท้องถ่ินของมหาวิทยาลัย นับจำานวนโครงการพัฒนาท้องถิ่น โดยจำาแนกเป็น ราชภัฏหมายความถึง โครงการตามแผนการพัฒนาเชงิ พ้นื ท่ ี จำานวนโครงการด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสังคม ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ในพื้นที่บริการที่มหาวิทยาลัยราชภัฏรับผิดชอบ จำาแนก และดา้ นการศกึ ษา ทมี่ ีการดำาเนนิ โครงการ อย่างเปน็ รปู ธรรม ตามเปา้ หมายของโครงการพฒั นา 4 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ เฉพาะปที พ่ี ิจารณา ด้านสงั คม ดา้ นสิง่ แวดล้อม และดา้ นการศึกษา โดยมีการ นบั จาำ นวนโครงการพฒั นาทอ้ งถน่ิ สะสมโดยจาำ แนกเปน็ ดำาเนินการโครงการอยา่ งเป็นรูปธรรมในปีทพี่ จิ ารณา จาำ นวนโครงการด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ดา้ นสง่ิ แวดล้อม จาำ นวนโครงการพัฒนาท้องถ่นิ สะสม หมายความถึง และด้านการศกึ ษา ท่ีมกี ารดาำ เนินโครงการ อยา่ งเป็นรปู ธรรม โครงการตามแผนการพัฒนาเชิงพื้นที่ ในพื้นที่บริการที่ ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2560 จนถงึ ปที ่พี ิจารณา มหาวิทยาลัยราชภัฏรับผิดชอบ จำาแนกตามเป้าหมายของ

ตัวช้วี ัดที่ 1.5 จำานวนภาคเี ครือขา่ ยท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม หนว่ ยนบั ทีร่ ่วมมือกับมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ดำาเนินโครงการพฒั นาท้องถิ่นในพื้นทบ่ี รกิ าร ภาคีเครอื ขา่ ย คาำ อธบิ าย โครงการพัฒนาท้องถิ่นในลักษณะอื่น ที่มีข้อมูลเชิงประจักษ์ เป็นรูปธรรม เพื่อให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือตามศักยภาพ และบทบาทหน้าที่ระหวา่ ง ภาคีเครอื ข่าย และมหาวิทยาลัย การจัดเกบ็ ข้อมูล ราชภฏั ในการพฒั นาท้องถิ่นอย่างมีประสทิ ธิภาพ นาำ ไปสู่ ความยัง่ ยนื ของการพัฒนาทอ้ งถิน่ อย่างมนี ัยสำาคญั นับจำานวนภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมในการดำาเนิน ภาคีเครือข่าย หมายความถึง เครือข่ายความร่วมมือ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ร่ ว ม กั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม หรือกลุม่ องคก์ ร ต่าง ๆ หรือทีม่ หาวิทยาลัยราชภัฏ เขา้ ไปรว่ มในการดาำ เนินโครงการ ท่ี เ ข้ า ร่ ว ม ใ น ก า ร ดำ า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถ่ิ น กั บ พฒั นาทอ้ งถ่นิ รว่ มกับภาคนี ้นั ๆ ในปที พ่ี ิจารณา โดยมขี อ้ มลู มหาวิทยาลัยราชภัฏ หรือที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเข้าไปร่วม เชงิ ประจกั ษ ์ ในการร่วมกนั ดำาเนินโครงการ อาทเิ ช่น บันทึก ในการดำาเนินโครงการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับภาคีนั้น ๆ โดย ขอ้ ตกลงความร่วมมือ คำาส่งั แต่งตง้ั คณะกรรมการ การจัดสรร ลักษณะความร่วมมือเป็นความร่วมมืออย่างเป็นทางการ งบประมาณ การกำาหนดหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบในการดาำ เนนิ มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) และมีการดำาเนิน โครงการ หรือขอ้ มูลอ่ืน ๆ ท้งั น้ไี มน่ บั ในกรณี เขา้ ร่วมใน กิจกรรมตาม MOU ในปีน้นั ๆ การเขา้ ร่วมเป็นคณะทำางาน ฐานะผ้รู บั เชญิ ในกจิ กรรม คณะกรรมการในการดำาเนินโครงการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกัน การร่วมมืออย่างไม่เป็นทางการหรือการมีส่วนร่วมใน ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1.6 อัตราส่วนโครงการพัฒนาทอ้ งถนิ่ ท่ีมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เป็นแกนนาำ หนว่ ยนบั เปรียบเทยี บกับโครงการพัฒนาทอ้ งถ่นิ ท้งั หมดของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอ้ ยละ คาำ อธิบาย งานร่วมกับภาคีเครือข่าย หรือเป็นการดาำ เนินงานเฉพาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทีม่ หี น่วยงานอ่นื มารว่ มในกจิ กรรม เพอ่ื ใหม้ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เปน็ องคก์ รนาำ ในการพฒั นา ท้องถิ่น มีโครงการพัฒนาท้องถิ่นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏมี การจัดเก็บขอ้ มลู บทบาทหลกั ในการดำาเนินการ โดยการมสี ่วนร่วมขององคก์ ร หน่วยงานอน่ื ๆ โดยนาำ แนวคิด องค์ความร ู้และความเชีย่ วชาญ นับโครงการพัฒนาท้องถ่ินท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏ ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั เป็นแกนนำาในการขับเคล่อื น หรอื เ ป็ น แ ก น นำ า โ ด ย นั บ ท้ั ง โ ค ร ง ก า ร ท่ี ดำ า เ นิ น ก า ร เ ฉ พ า ะ เป็นองคก์ รหลักในการดำาเนินโครงการพฒั นาทอ้ งถนิ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏและโครงการท่ีมีหน่วยงานอ่ืนร่วม อัตราส่วนโครงการพัฒนาท้องถิ่นท่ีมหาวิทยาลัย ดำาเนินการ ทั้งนี้ต้องมีหน่วยงานอื่นเข้าร่วมในกิจกรรม ราชภัฏ เปน็ แกนนาำ หมายความถงึ โครงการพัฒนาทอ้ งถน่ิ เทียบกับจำานวนโครงการพัฒนาท้องถ่ินท่ีกำาหนดในแผน ท่มี ีการดำาเนนิ การในปีทีพ่ ิจารณา โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปฏิบตั ิราชการทงั้ หมด เปน็ เจา้ ภาพ เปน็ แม่งาน หรือมบี ทบาทหลักในการดำาเนิน อัตราส่วนฯ = จำานวนโครงการพฒั นาทอ้ งถิ่นที่ดาำ เนนิ การ โดยมมี หาวิทยาลัยราชภัฏเปน็ แกนนาำ X 100 % จาำ นวนโครงการพัฒนาทอ้ งถิ่นท้ังหมดทีอ่ ยู่ในแผนปฏิบตั ริ าชการประจำาปี 20 ยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภฏั เพือ่ การพฒั นาท้องถนิ่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรงุ 11 ตุลาคม 2561)

ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏ 21เพอื่ การพัฒนาท้องถิ่น ตวั ช้วี ัดที่ 1.7 จาำ นวนผู้เข้าร่วมโครงการท่เี กีย่ วกับการน้อมนาำ พระราโชบายดา้ น หนว่ ยนบั การศึกษา เพอื่ เสริมสรา้ งคุณลกั ษณะคนไทยทพ่ี งึ ประสงค์ 4 ประการ สกู่ ารปฏิบัติในพืน้ ท่บี ริการของมหาวิทยาลยั ราชภฏั คน คำาอธบิ าย ดงั นี้ 1) มีทศั นคตทิ ่ีดีและถูกต้อง 2) มีพ้ืนฐานชวี ติ ที่มัน่ คง เขม้ แขง็ 3) มีอาชีพ มีงานทำา และ 4) เปน็ พลเมอื งด ี มวี ินัย เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 ประการ ตามพระราโชบายด้านการศกึ ษา โดยมีมหาวทิ ยาลัย การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ราชภัฏหรือภาคีเครือข่ายเป็นหน่วยงานขับเคลื่อนสู่การ ปฏิบัติในพื้นที่บริการ นับจำานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมเสริมสร้าง ผู้เขา้ ร่วมโครงการ หมายความถึง ประชาชน เยาวชน คุณลกั ษณะคนไทยทีพ่ ึงประสงค ์ 4 ประการ ที่มหาวิทยาลยั นกั ศกึ ษา อาจารย์ บคุ ลากรในพน้ื ทบี่ ริการทีเ่ ข้าร่วมกจิ กรรม ราชภัฏหรือภาคีเครือข่ายจัดขึ้นในทุกโครงการ ทุกกิจกรรม เสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 ประการ ในปีทพี่ ิจารณา ที่มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หรือภาคีเครือขา่ ย จัดขน้ึ กิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 4 ประการ หมายความถึงกิจกรรมมุ่งใหค้ นไทยมคี ณุ ลกั ษณะ ตัวช้วี ดั ท่ี 1.8 อตั ราการอ่านออกเขยี นไดข้ องประชากร โดยเฉพาะประชากร หนว่ ยนับ ในวัยประถมศึกษา ในพืน้ ที่บรกิ ารของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ร้อยละ คำาอธบิ าย งา่ ยๆ) จับใจความจากเรือ่ งทอ่ี า่ น ตอบคำาถามจากเร่อื งทีอ่ า่ น ุยทธศาสตร ่ีท 1 บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่สำาคัญที่ เพื่อสง่ เสรมิ ทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได ้ ของประชาชน พบเห็นในชีวติ ประจาำ วนั คาดคะเนจากเร่ืองที่อา่ น และสรปุ ในพื้นทีบ่ รกิ าร โดยเฉพาะประชากร ในวยั ประถมศกึ ษา ความร ู้ ขอ้ คิดจากเรอ่ื งทอ่ี ่านไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล การอา่ นออกเขยี นได ้ หมายความถึง การอ่านออกเขยี น 2. การเขียน หมายถงึ ความสามารถในการเขยี นคาำ ได้ของประชาชน โดยอา้ งอิงเกณฑ์ท่สี ำานกั งานคณะกรรมการ ประโยค หรือเรือ่ งของนกั เรียน ดังน้ี การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (สพฐ.) กำาหนดดงั น้ี 2.1 การเขียนคำา หมายถึง การเขียนคำาที่เป็น 1. การอ่าน หมายถงึ ความสามารถในการอา่ นออก วงคำาศัพท์ที่กำาหนดในแต่ละระดับชั้นปี โดยวิธีการเขียนคำา เสียงและการอา่ นรู้เร่อื งของนักเรยี น ดงั นี้ ตามคำาบอก (ประเมินเฉพาะชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3) 1.1 การอ่านออกเสยี ง หมายถงึ การอา่ นคำา ประโยค 2.2 การเขยี นประโยค/เรอื่ ง หมายถงึ การเขยี น หรอื ข้อความส้นั ๆ ทีเ่ ป็นวงคาำ ศัพท ์ ท่กี ำาหนดในแตล่ ะระดบั ประโยคงา่ ย ๆ การเขยี นเรอื่ งสน้ั ๆ เกย่ี วกับประสบการณ์ ชน้ั ปี ทั้งท่เี ปน็ คาำ ทีม่ คี วามหมายโดยตรงหรือคำาทม่ี ีความหมาย หรือจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ การเขียนย่อความ และ โดยนยั ที่ใชใ้ นชวี ิตประจำาวนั การเขียนเรยี งความ 1.2 การอ่านรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคำา ประโยค ประชากรในวัยประถมศึกษา หมายความถึง นักเรียน ข้อความสนั้ ๆ หรือเรอื่ งราวที่เปน็ วงคำาศัพทท์ ่ีกาำ หนดในแตล่ ะ ในระดับประถมศึกษาในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย ระดบั ช้ันปี ท้งั ทเ่ี ป็นคาำ ทมี่ คี วามหมายโดยตรงหรอื คาำ ทม่ี คี วาม ราชภัฏ ทั้งที่เป็นการศึกษาในระบบและการศึกษาตาม หมายโดยนัย ทใ่ี ช้ในชวี ิตประจาำ วนั โดยสามารถบอกข้อคิดท่ี อธั ยาศยั ไดจ้ ากการอา่ นร้อยแกว้ ร้อยกรอง สำาหรบั เดก็ (เปน็ ข้อความ

การจัดเกบ็ ขอ้ มลู นบั จาำ นวนนกั เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษาในพืน้ ทบี่ ริการของมหาวิทยาลัยราชภฏั ท่ีผา่ นการประเมนิ การอา่ นออกเขียนได้ อ้างอิงเกณฑ์ที่สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กำาหนดทั้งที่เป็นการศึกษาในระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ตอ่ จาำ นวนนกั เรียนในระดบั ประถมศกึ ษาทั้งหมดในพื้นทบ่ี ริการของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ทัง้ ทีเ่ ป็นการศึกษาในระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั จำานวนนกั เรียนในระดบั ประถมศึกษาในพน้ื ทบี่ รกิ ารของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ท่ผี ่านการประเมนิ การ อัตราสว่ นฯ = อา่ นออกเขยี นได้ อา้ งองิ เกณฑ์ทส่ี ำานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (สพฐ.) กำาหนด X 100 % จำานวนนักเรียนในระดับประถมศึกษาท้งั หมดในพ้นื ที่บรกิ ารของมหาวิทยาลัยราชภฏั ตวั ช้วี ัดท่ี 1.9 รอ้ ยละของหมบู่ า้ นทีม่ ดี ชั นชี ว้ี ดั ความสขุ มวลรวมชุมชนเพม่ิ ข้ึน หน่วยนบั รอ้ ยละ คาำ อธบิ าย สภาพแวดลอ้ มดีมีระบบนิเวศที่สมดุล และ 6) เป็นชุมชน ประชาธิปไตย มธี รรมาภิบาล หรอื เกณฑอ์ น่ื ท่ีมีมาตรฐาน เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ทาำ ใหป้ ระชาชน เทียบเคียงกัน ในพื้นทบ่ี ริการของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั “อย่ดู ี มสี ุข” ส่งผล ให้ดัชนชี ี้วัดความสุขมวลรวมชุมชนเพิม่ ขน้ึ การจัดเก็บขอ้ มูล ดชั นชี ว้ี ดั ความสขุ มวลรวมชมุ ชน หมายความถงึ ความสขุ มวลรวมชมุ ชนตามเกณฑก์ ารประเมนิ “ความอยู่เยน็ เปน็ สขุ ” มหาวิทยาลัยราชภัฏใช้ผลการประเมินความสุข หรือความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน ชุมชน (Gross Village มวลรวมของหมบู่ า้ น ชมุ ชน (Gross Village Happiness : GVH) Happiness : GVH) ของกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวง ของกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย หรือใช้ผลการ มหาดไทย มี 6 องค์ประกอบ 23 ตวั ชวี้ ดั ประกอบดว้ ย ประเมินของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ตามแนวทางของ GVH หรือ 1) การมีสุขภาวะ 2) เศรษฐกิจชุมชุมเข้มแข็งเป็นธรรม ผลการประเมินของหน่วยงานอืน่ ทีม่ มี าตรฐานเทยี บเคียงกนั 3) ครอบครัวอบอนุ่ 4) การบรหิ ารจดั การชมุ ชนด ี 5) การมี ตัวช้ีวัดท่ี 1.10 อัตราการเพิ่มข้ึนของรายได้ครัวเรือนในพื้นท่ีการพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ หน่วยนับ ร้อยละ คำาอธบิ าย รายได้ครัวเรือนเดิม ซึ่งเป็นผลมาจากการดำาเนินโครงการ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ท้งั โดยตรงหรอื โดยอ้อม เพื่อให้การพัฒนาท้องถิ่นด้านเศรษฐกิจ และการ เสริมสรา้ งคณุ ลักษณะคนไทยทพ่ี งึ ประสงค์ มีอาชีพ มีรายได้ การจัดเกบ็ ขอ้ มูล สามารถพึ่งพาตนเองและดแู ลครอบครวั ได้ อัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้ครัวเรือน หมายความถึง ข้อมูลรายได้ของครัวเรือนก่อนการดำาเนินโครงการ รายได้ของสมาชิกทุกคนในครัวเรือนประกอบด้วยค่าจ้าง ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ และข้อมูลรายได้ของครัวเรือน เงินเดอื น เงินรางวัล เงินโบนัส กำาไรสุทธจิ ากการประกอบ ภายหลงั การดาำ เนนิ โครงการของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ทงั้ จาก ธุรกิจ รายไดจ้ ากทรัพย์สนิ ค่าเชา่ ทด่ี ิน ค่าลขิ สทิ ธ ์ิ ดอกเบยี้ รายได้ที่เกิดขึ้นจริงหรือรายได้จากการประมาณการตามหลัก และเงนิ ปนั ผล เงินได้รบั เปน็ การชว่ ยเหลอื บำาเหน็จ บาำ นาญ การทางวิชาการ เงินทุนการศึกษา และรายได้อื่นๆ ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ อัตราฯ = (รายได้ครัวเรอื นหลังเขา้ รว่ มโครงการ - รายได้ครัวเรือนกอ่ นเขา้ ร่วมโครงการ) (บาท/ป)ี X 100 % รายได้ครวั เรือนก่อนเขา้ ร่วมโครงการ (บาท/ป)ี 22 ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั เพอ่ื การพัฒนาทอ้ งถน่ิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรบั ปรุง 11 ตลุ าคม 2561)

ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั 23เพอื่ การพัฒนาท้องถนิ่ ตัวชี้วัดที่ 1.11 มแี หล่งเรียนรู้ด้านศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น หนว่ ยนบั เพ่อื เสรมิ สร้างคุณค่า และจติ สำานึกรกั ษท์ ้องถิ่น แหล่ง คำาอธิบาย โครงการ งานประเพณดี า้ นศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณ ี ภมู ปิ ญั ญา ท้องถ่ิน ที่มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ดาำ เนนิ การหรือรว่ มกับภาคี เพ่อื ใหม้ หาวิทยาลยั ราชภฏั มคี วามโดดเดน่ เข้มแข็ง เครือข่ายดำาเนินการอย่างต่อเน่ืองนำาไปสู่การสร้างความ ในการทำานบุ ำารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา ตระหนัก ความรัก หวงแหน ของประชาชน เยาวชน นักศกึ ษา ทอ้ งถ่นิ เสรมิ สร้างคณุ คา่ และจติ สำานึกรกั ษท์ อ้ งถิ่น บรู ณาการ ในพื้นท่ีบริการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ให้เกิดการพฒั นาพ้ืนท ี่ โดยการสรา้ งองคค์ วามรจู้ ากการศกึ ษา วิจัย ส่งเสริม พัฒนาต่อยอดศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ภูมิปัญญาท้องถิ่น จนเป็นแหล่งเรียนรู้สำาคัญของชุมชน ทอ้ งถน่ิ หรือประเทศชาติ นับจำานวนแหล่งเรียนรู้ จำานวนโครงการกิจกรรม แหลง่ เรยี นร้ดู า้ นศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณ ี ภมู ปิ ัญญา ที่ดำาเนินการจากแหล่งเรียนรู้ฯ จำานวนการใช้ประโยชน์ ทอ้ งถิ่น หมายความถงึ องคค์ วามรู้ งานวิจยั ตาำ รา หนงั สอื จากแหล่งเรียนรู้ฯ ที่มีการดำาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม เอกสาร นิทรรศการถาวร ฐานข้อมลู สารสนเทศ สือ่ ประสม เว็บไซต์ สถานที่ งานวิชาการลักษณะอื่น ๆ หรือกิจกรรม ตวั ชวี้ ัดที่ 1.12 จาำ นวนวิสาหกจิ ชมุ ชน ผูป้ ระกอบการใหมใ่ นพืน้ ท่ีบริการของมหาวิทยาลัยราชภฏั หนว่ ยนับ ทปี่ ระสบความสำาเรจ็ จากการสนับสนุนองค์ความรู้จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วสิ าหกิจชุมชน/ราย คำาอธบิ าย เพื่อการพฒั นาจากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ุยทธศาสตร ่ีท 1 ประสบความสำาเรจ็ หมายความถงึ วสิ าหกจิ ชมุ ชน เพ่ือให้วิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการใหม่ใน ผู้ประกอบการใหม่ ซึ่งได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้เพื่อ พื้นท่ีบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏประสบความสำาเร็จ การพัฒนาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ ดำาเนินการบรรลุ ในการประกอบการส่งผลให้เกิดอาชีพ รายได้ และยกระดับ ตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง หรือมีความก้าวหน้าใน เศรษฐกิจในชุมชนท้องถิ่น การดาำ เนนิ การ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมในดา้ นรายได ้ ผลประกอบการ วิสาหกจิ ชุมชน หมายความถงึ กลุ่มคนในพนื้ ท่บี ริการ ดา้ นการตลาด ด้านภาพลกั ษณ ์ หรืออน่ื ๆ ท่แี สดงถงึ ความ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่รวมตัวกันเพ่ือประกอบกิจการ สาำ เรจ็ ตามเปา้ หมาย วัตถปุ ระสงคห์ รือแผนงานตามที่กำาหนด อย่างหนึ่งอย่างใดโดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดต้ังอย่างชัดเจน ซ่ึงได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาจาก การจดั เก็บขอ้ มูล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ผูป้ ระกอบการใหม่ หมายความถงึ บคุ คลหรอื นิตบิ คุ คล นับจำานวนวิสาหกจิ ชุมชน ผปู้ ระกอบการใหม ่ ทีป่ ระสบ ท่ีประกอบการในพ้ืนทีบ่ ริการของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั โดย ความสำาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม จากการได้รับการสนับสนุน เป็นการประกอบการธุรกจิ บรกิ ารใหม ่ มีวตั ถปุ ระสงค์ของ องค์ความร้เู พื่อการพัฒนาจากมหาวทิ ยาลัยราชภฏั การจดั ตง้ั ธรุ กจิ อยา่ งชดั เจน ซง่ึ ไดร้ บั การสนบั สนนุ องคค์ วามรู้

ตัวชี้วดั ท่ี 1.13 อัตราการอพยพของประชากรวัยทาำ งานในทอ้ งถน่ิ ลดลง หนว่ ยนบั ร้อยละ คาำ อธิบาย การจดั เก็บข้อมูล เพื่อให้ทอ้ งถิน่ มกี ารพัฒนาดา้ นเศรษฐกิจ คนในท้องถิน่ ข้อมูลการย้ายถ่ินของประชากรวัยทำางานจากการ สามารถดาำ รงชพี อยู่ในถนิ่ ฐานตนเอง อยา่ งมีความสขุ ส่งผล สำารวจหรอื รายงานของหน่วยงานราชการ การวจิ ัยหรือแหลง่ ให้การอพยพย้ายถ่ินเพ่ือหางานทำาในเมืองหลวง หรือเมือง ข้อมูลอื่นท่ีมีความเช่ือถือได้เชิงวิชาการเช่นสำานักงานสถิติ ใหญล่ ดลง แห่งชาต ิ จัดหางานจังหวดั พัฒนาชมุ ชนจังหวัด ฯลฯ โดย อัตราการอพยพของประชากรวัยทำางานในท้องถิ่น เปรียบเทียบปที ี่มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ดำาเนินโครงการพัฒนา หมายความถึง ประชากรในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย ท้องถิน่ กบั ปีก่อนหนา้ ราชภฏั ที่มอี ายุระหว่าง 15-60 ปี ทมี่ ีการย้ายถิ่นด้วยเหตุ ตา่ ง ๆ ลดลงเมอ่ื เทยี บกับชว่ งเวลาทีผ่ ่านมา ทั้งน้ีเปน็ ผลจาก การดำาเนินโครงการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ อตั ราฯ = (อตั ราการยา้ ยถนิ่ ฯ ปกี ่อนประเมนิ – อัตราการยา้ ยถิ่นฯ ปีประเมิน) (รอ้ ยละ) X 100 % อตั ราการยา้ ยถนิ่ ฯ ปีกอ่ นประเมิน (รอ้ ยละ) 24 ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพือ่ การพัฒนาทอ้ งถ่ิน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏ 25เพ่อื การพฒั นาทอ้ งถิน่ 2 ยทุ ธศาสตรท ่ี และพกัฒารนผาลคติ รู

26 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ 27 เพอ่ื การพัฒนาทอ้ งถิน่ การยผทุ ลธิตศแาลสะตพรัฒท์ ่ีน2าครู เป้าหมาย บณั ฑติ ครูมหาวิทยาลยั ราชภฏั มอี ตั ลกั ษณ์ และสมรรถนะ เปน็ เลิศ เป็นที่ตอ้ งการ ของผูใ้ ชบ้ ณั ฑติ บณั ฑิตครขู องมหาวิทยาลยั ราชภัฏ สมบรู ณ์ดว้ ยคณุ ลกั ษณะ 4 และถ่ายทอด / บม่ เพาะ ให้ศษิ ยแ์ ต่ละชว่ งวัย บณั ฑิตครูมหาวิทยาลัยราชภฏั ุยทธศาสต รที่ ท่เี ขา้ สวู่ ชิ าชีพไดร้ ับ การเสรมิ สมรรถนะ ุยทธศาสต รที่ 2 เพอ่ื รองรบั การเปลย่ี นแปลง กลยุทธ 1. ปรบั ปรุงหลักสูตรครศุ าสตร ์ หลกั สูตรศกึ ษาศาสตร์ และกระบวนการผลติ ให้มสี มรรถนะ เป็นเลิศ เปน็ ท่ียอมรับดว้ ย School Integrated Learning และสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของ ประเทศ 2. พฒั นาสมรรถนะครูของครูให้มคี วามเปน็ มอื อาชพี 3. บ่มเพาะนักศกึ ษาครศุ าสตร ์ นกั ศกึ ษาศึกษาศาสตรใ์ หม้ สี มรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชีพ พรอ้ มด้วยจติ วญิ ญาณความเป็นครูและคณุ ลกั ษณะ 4 ประการ คอื 1) มที ศั นคติทด่ี ีและถกู ตอ้ ง 2) มีพืน้ ฐานชวี ิตท่มี น่ั คงเขม้ แขง็ 3) มีงานทาำ มีอาชีพ 4) เป็นพลเมอื งด ี มีระเบยี บวนิ ัย 4. จดั ทำาแผนการดำาเนนิ งานตามข้อ 1 – 3 โดยกำาหนดเปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ รวมถงึ ขน้ั ตอนและระยะเวลา (Timeline) ในการปฏิบตั ิงาน ทง้ั ระยะสนั้ ระยะกลาง และระยะยาว เพ่ือให้สามารถบรรลเุ ป้าหมายได้อย่างเปน็ รูปธรรม

ตัวชี้วัด 2.1 มีการปรับปรงุ หลักสูตรครุศาสตร ์ ศกึ ษาศาสตร์และกระบวนการผลติ ครู เพือ่ ใหบ้ ัณฑติ ครู ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอตั ลกั ษณ ์ สมรรถนะและคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ พร้อมดว้ ย คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ตามพระราโชบายดา้ นการศึกษาและคุณลักษณะครูศตวรรษท่ี 21 2.2 ร้อยละครูของครูท่ีมีประสบการณส์ อนในโรงเรยี นตอ่ ปกี ารศึกษา 2.3 รอ้ ยละของบัณฑิตครทู ่ีสำาเร็จการศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ท่สี อบบรรจผุ า่ นเกณฑ์ ของหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครฐั และเอกชน ภายในเวลา 1 ปี 2.4 มี Platform เพ่อื สร้างเครือขา่ ยแลกเปลีย่ นเรียนรู้ระหว่างบณั ฑิตคร ู มหาวิทยาลยั ราชภฏั ท่เี ข้าสวู่ ชิ าชพี 2.5 ผลคะแนน O-NET หรือผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นทีเ่ พิ่มขึ้นจาก การพฒั นาสมรรถนะ ครปู ระจาำ การของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ 2.6 สดั สว่ นบณั ฑติ ครูทไ่ี ด้รับการบรรจุเข้าทาำ งานในภมู ภิ าค 2.7 ผลงานการวจิ ัยสาขาวิชาชีพครูท่ีได้รบั ตีพิมพเ์ ผยแพรท่ ง้ั ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาต ิ หรอื นำาไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การผลติ และพฒั นาครูเพ่ิมขึ้น โครงการหลัก 1. โครงการผลติ ครูเป็นเลศิ เพอ่ื พัฒนาทอ้ งถ่ินในระบบปดิ 2. โครงการสนับสนนุ DLTV เพอ่ื แก้ปญั หาขาดแคลนครใู ห้กับโรงเรยี นขนาดเล็ก 3. โครงการจัดทำาคลังข้อสอบวดั แววความเป็นครขู องมหาวิทยาลัยราชภฏั 4. โครงการจัดทำา Platform เครือข่ายแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ระหวา่ งบัณฑติ ครูจากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทเี่ ข้าสู่วิชาชีพ 5. โครงการพัฒนาโรงเรยี นสาธิตให้เป็น ศูนยฝ์ กึ ปฏิบตั ิการและการวจิ ยั เป็นต้นแบบ ให้กับโรงเรียนในทอ้ งถน่ิ 28 ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภฏั เพือ่ การพฒั นาท้องถนิ่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรงุ 11 ตลุ าคม 2561)

ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั 29เพ่ือการพัฒนาท้องถน่ิ คาำ สำาคัญ (Key Word) การผลิตครู การผลติ บณั ฑิตวชิ าชีพครูของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั การพฒั นาครู การยกระดบั วิชาการ วิชาชีพ ทกั ษะในวชิ าชพี ท่เี หมาะสมกับสภาวการณท์ ่ี เปลี่ยนแปลง (Re-skill and Up-skill) ของครปู ระจำาการท่สี าำ เร็จการศกึ ษา จาก มหาวิทยาลยั ราชภัฏทั้งทส่ี าำ เรจ็ จากมหาวิทยาลยั ราชภฏั ในพ้นื ท่ี รบั ผิดชอบ และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอื่น อัตลักษณบ์ ณั ฑิตคร ู บัณฑิตครูมหาวิทยาลัยราชภฏั คือ บณั ฑติ ครทู มี่ ีจติ วิญญาณความเป็นครู ของมหาวทิ ยาลัย และสมบูรณ์พรอ้ มดว้ ยคุณลกั ษณะคนไทยทพ่ี งึ ประสงค์ตามพระราโชบาย ราชภัฏ ด้านการศึกษา 4 ประการ คอื 1. มีทัศนคตทิ ี่ดแี ละถูกต้อง 2. มีพื้นฐานชีวิตทมี่ ัน่ คงเข้มแข็ง 3. มีงานทาำ มอี าชีพ 4. เปน็ พลเมอื งดี มรี ะเบยี บวินัย สมรรถนะบณั ฑติ คร ู บณั ฑิตครมู หาวิทยาลัยราชภัฏมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี ครแู ละทักษะ ของมหาวทิ ยาลัย การเรยี นรู้แหง่ ศตวรรษท่ ี 21 มีความสามารถในการถ่ายทอดและ บ่มเพาะให้ ราชภัฏ เดก็ แตล่ ะชว่ งวยั มีคุณลกั ษณะคนไทยท่พี ึงประสงค์ตามพระราโชบาย ดา้ นการศกึ ษา 4 ประการ และทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 รองรบั การเปลี่ยนแปลง ความพร้อมในการจดั การศึกษา การเรียนการสอนในบริบทของการ ุยทธศาสต รที่ เปลี่ยนแปลงโลก ประเทศ และการเปลยี่ นแปลงในชุมชน ท้องถ่ิน ุยทธศาสต รที่ 2 แนวทางการพฒั นาครู : ยกระดับกระบวนการผลิตครูและการบม่ เพาะจติ วิญญาณครูราชภัฏ

ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลิตและพัฒนาครู ตัวช้ีวดั ท่ี 2.1 มกี ารปรับปรงุ หลักสตู รครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ และกระบวนการผลติ ครู หน่วยนับ เพ่ือให้บณั ฑิตครขู องมหาวทิ ยาลัยราชภัฏมีอัตลักษณ์ สมรรถนะ และคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ พร้อมด้วยคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ตามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษาและคุณลักษณะครศู ตวรรษที่ 21 หลกั สตู ร/กระบวนการ คาำ อธบิ าย เชิงวิชาการ วิชาชีพ พร้อมด้วยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามพระราโชบายด้านการศึกษา 4 ประการ คือ เพ่ือให้บัณฑิตท่ีสำาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 1) มที ัศนคตทิ ี่ดีและถูกตอ้ ง 2) มีพน้ื ฐานชีวิตท่มี ัน่ คง เข้มแขง็ ครุศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต 3) มีงานทาำ มีอาชีพ และ 4) เปน็ พลเมอื งที่ดี มรี ะเบยี บวินยั ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั มีอัตลักษณ ์ สมรรถนะและคุณภาพ สมรรถนะบณั ฑติ ครมู หาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมายความถงึ ตามมาตรฐานวิชาชีพพร้อมด้วยคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ บัณฑิตครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีความรู้ทักษะ และ ตามพระราโชบายด้านการศึกษาและคุณลักษณะครูศตวรรษ ทัศนคติตามมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพที่กำาหนด ที ่ 21 การปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑติ หลักสตู ร การจดั เก็บข้อมูล ศกึ ษาศาสตร์บณั ฑติ หมายความถึงการพฒั นาหลกั สูตรใหม่ หลักสตู รปรบั ปรุง การทบทวนสาระรายวิชา การทบทวนสอื่ นับจำานวนหลักสูตรท่ีมีการปรับปรุงพัฒนาในปี วธิ กี ารสอนของเนือ้ หาวิชาของหลักสูตร หรือการดาำ เนินการ ท่พี จิ ารณา โดยพจิ ารณาเฉพาะหลักสูตร ทผ่ี ่านความเห็นชอบ ใดๆ เพื่อให้หลักสูตรการผลิตครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากสภาวิชาการ สว่ นหลกั สูตรท่ีมีการทบทวนสาระรายวิชา สามารถผลิตครูตามเปา้ หมาย การทบทวนสื่อ วิธีการสอนของเนื้อหาวิชาของหลักสูตร กระบวนการผลิตครู หมายความถึงกระบวนการ หรอื การดาำ เนนิ การอ่ืน ใหม้ ขี อ้ มูลเชิงประจกั ษ์และส่งผลต่อ ในการคัดเลือกผู้เรียน จัดการเรียนการสอน การพัฒนา การพฒั นาบัณฑิตครอู ย่างเปน็ รูปธรรม อาจารย์ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ การประเมินผล นบั จำานวนกระบวนการผลติ ครูท่ีมีการปรับปรุง พัฒนา การเรียนรู้ การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ หรือการ และดำาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ส่งผลให้เกิดการพัฒนา ดำาเนินการใด ๆ เพอ่ื เปน็ การบ่มเพาะ ปลูกฝงั ปรับเปลี่ยน บณั ฑิตครูอย่างแทจ้ ริง พฤติกรรมผเู้ รียน เพ่ือใหก้ ารผลิตคร ู ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏ สามารถผลิตครตู ามเป้าหมาย อตั ลกั ษณบ์ ณั ฑติ ครมู หาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมายความถงึ บัณฑิตครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีความรู้ ความสามารถ 30 ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏเพือ่ การพัฒนาท้องถ่ิน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรับปรุง 11 ตุลาคม 2561)

31ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพ่ือการพัฒนาทอ้ งถ่ิน ตัวช้วี ัดท่ี 2.2 มี Platform เพ่ือสรา้ งเครือข่ายแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหว่างบัณฑิตครู หนว่ ยนบั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ทีเ่ ขา้ สูว่ ิชาชพี ระบบ คำาอธบิ าย เพือ่ ใหเ้ กิดชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี หรอื Professional Learning Community (PLC) เพื่อให้เกิดเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงวิชาการ วิชาชีพระหว่างบัณฑิตครูที่สำาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย การจดั เก็บขอ้ มูล ราชภัฏและเป็นครูประจำาการ อันจะนำาไปสู่การยกระดับ สมรรถนะ ทักษะในวิชาชีพที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ นับจำานวนระบบ รูปแบบ วิธีการ สื่อ ช่องทาง ที่เปล่ยี นแปลง (Re skill and Up Skill) ที่ทำาให้เกิดเครือข่ายระหว่างครูประจำาการท่ีเป็นบัณฑิตของ มี Platform เพื่อสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยมีกิจกรรมและการดำาเนินการของ ระหวา่ งบณั ฑติ ครมู หาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมายความถงึ การสรา้ ง เครือข่าย มีสมาชิกในเครือข่ายอย่างชัดเจนและมีการนำา ระบบ รูปแบบ วิธีการ สื่อ ช่องทาง เพื่อให้เกิดเครือข่าย ผลการเข้าร่วมเครือข่ายไปสู่การพัฒนาวิชาชีพครูอย่างเป็น ระหว่างครูประจำาการท่ีเป็นบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏ รูปธรรม และอาจารย ์ ผู้เช่ยี วชาญ หรอื ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิในชอ่ งทางตา่ ง ๆ ทง้ั ระบบออนไลน ์ (Online) และระบบออฟไลน์ (Offline) ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.3 รอ้ ยละครขู องครทู ี่มปี ระสบการณ์สอนในโรงเรียนตอ่ ปกี ารศึกษา หน่วยนับ รอ้ ยละ คำาอธบิ าย ในรปู แบบใดๆ เทียบกบั จาำ นวนอาจารย์ในหลกั สูตรครุศาสตร์ ุยทธศาสต รที่ บัณฑิต หลกั สตู รศึกษาศาสตรบ์ ณั ฑติ ทง้ั หมด เพอื่ ให้ครขู องคร ู (อาจารยท์ ีส่ อนในหลกั สตู รครศุ าสตร์ ุยทธศาสต รที่ 2 บัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต) มีประสบการณ์ การจดั เก็บข้อมลู การจดั การเรียนการสอนในโรงเรยี น สามารถนำาประสบการณ์ ของการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาบูรณาการ นับจำานวนอาจารย์ท่ีสอนหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต กับองค์ความรู้และหลักวิชาการเพื่อถ่ายทอดสู่นักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพ่ือให้พร้อมสำาหรับการเป็นครูประจำาการในโรงเรียนอย่าง ที่เคยเป็นครู อาจารย์ในโรงเรียนระดับต่าง ๆ หรือผ่าน แท้จรงิ ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ร้ า ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ส อ น ใ น โ ร ง เ รี ย น ค รู ข อ ง ค รู ที่ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ส อ น ใ น โร ง เรี ย น ในรูปแบบใดๆ ที่มีการดำาเนินการอย่างเป็นรูปธรรมในปี ตอ่ ปกี ารศกึ ษา หมายความถงึ อาจารยท์ ส่ี อนหลกั สตู รครศุ าสตร์ การศึกษาที่พิจารณา เทียบกับจำานวนอาจารย์ที่สอน บัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต ของมหาวิทยาลัย ในหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต ราชภัฏ ท่ีเคยเป็นคร ู อาจารยใ์ นโรงเรยี นระดบั ตา่ งๆ หรอื ท้งั หมดในปีการศกึ ษาน้ัน ผ่านกระบวนการสร้างประสบการณ์การสอน ในโรงเรียน รอ้ ยละครขู องครู = จำานวนอาจารย์ท่สี อนหลกั สตู รครุศาสตร ์/ ศกึ ษาศาสตร์ ท่ีมปี ระสบการณก์ ารสอนในโรงเรยี น X 100 จาำ นวนอาจารยท์ ่ีสอนหลกั สูตรครศุ าสตร์ / ศกึ ษาศาสตร์ ท้ังหมดในปกี ารศึกษาน้ัน

ตวั ชี้วัดท่ี 2.4 ร้อยละของบัณฑติ ครูท่จี บจากมหาวิทยาลยั ราชภฏั ที่สอบบรรจผุ ่านเกณฑ์ หน่วยนบั ของหน่วยงานต่าง ๆ ทงั้ ภาครัฐและเอกชน ภายในเวลา 1 ปี ร้อยละ คำาอธิบาย การจัดเกบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื ใหบ้ ณั ฑติ ครทู จ่ี บจากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มคี วามรู้ นับจำานวนบัณฑิตท่ีสอบผ่านการบรรจุเข้าทำาหน้าท่ี ความสามารถ ทำางานตรงตามวิชาชีพและเป็นที่ต้องการ ครใู นโรงเรียนต่าง ๆ รวมถึงผ้ทู ีไ่ ด้ขน้ึ บญั ช ี รอการบรรจุดว้ ย ของหน่วยงานและเป็นกำาลังสำาคัญในการพัฒนานักเรียน เทยี บกบั จาำ นวนบัณฑิตที่สาำ เร็จการศึกษาในปกี ารศึกษานัน้ ๆ และการศกึ ษาของประเทศ บัณฑิตครูที่จบจากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ที่สอบบรรจุ ผา่ นเกณฑ์ของหนว่ ยงานต่าง ๆ ทัง้ ภาครฐั และเอกชน ภายใน เวลา 1 ปี หมายความถึง บัณฑิตครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่ผ่านการสอบบรรจุ สอบคัดเลือกเป็นครูในโรงเรียน สถานศึกษาภายหลังสำาเร็จการศึกษาแล้ว 1 ปี เทียบกับ บัณฑิตหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตร์ บณั ฑิต ที่สำาเรจ็ การศึกษาในปนี ัน้ ๆ รอ้ ยละบณั ฑติ = จาำ นวนบัณฑิตทีส่ อบบรรจุผา่ นเกณฑก์ ารคดั เลือกเป็นครู ภายในเวลา 1 ปี X 100 จำานวนบัณฑิตทงั้ หมดที่สาำ เรจ็ การศึกษาในปีการศึกษานนั้ ตวั ช้วี ัดท่ี 2.5 ผลคะแนน O-NET หรือผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทีเ่ พม่ิ ข้ึนจากการพฒั นา หนว่ ยนับ สมรรถนะครปู ระจาำ การของมหาวิทยาลัยราชภัฏ คะแนน คำาอธิบาย การจดั เกบ็ ข้อมลู เพื่อให้บัณฑิตครูท่ีสำาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย ข้อมูลคะแนน O-NET หรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ราชภัฏ ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะ และนาำ ไปสู่การปฏิบัติ ของผู้เรียน ของครูที่เข้าร่วมโครงการกิจกรรมพัฒนา เพื่อพัฒนานักเรียนของตน นำาไปสู่การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ สมรรถนะครูประจำาการ โดยเปรียบเทียบผลคะแนนผู้เรียน การเรียนร้ขู องผ้เู รยี น ก่อนและหลังการดำาเนินการเฉพาะคะแนนท่ีตรงกับหัวข้อ ผลคะแนน O-NET หรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หรือประเด็นการพฒั นานน้ั ๆ ที่เพิ่มขึ้นหมายความถึงผลการทดสอบมาตรฐาน หรือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ภายใต้การดูแลของ ครูประจำาการซึ่งเป็นบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีแนวโน้มการเปล่ียนแปลงท่ีดีข้ึนซึ่งเป็นผลจากการพัฒนา สมรรถนะครปู ระจำาการของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั 32 ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพอื่ การพฒั นาทอ้ งถ่ิน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรับปรงุ 11 ตุลาคม 2561)

33ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั เพือ่ การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ตวั ชี้วดั ที่ 2.6 สัดสว่ นบัณฑติ ครูทีไ่ ด้รับการบรรจุเขา้ ทำางานในภมู ิภาค หนว่ ยนับ ร้อยละ คาำ อธบิ าย การจดั เก็บข้อมลู เพื่อให้บัณฑิตครูท่ีสำาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย จำานวนบัณฑิตที่บรรจุในภูมิลำาเนาของตนเอง ราชภฏั ไดร้ ับการบรรจเุ ข้าทำางานในภมู ิภาคของตน มีสว่ น โดยพิจารณาจากสำาเนาทะเบียนบ้านของบัณฑิต เทียบกับ ในการนำาความรู้ ความสามารถไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น จำานวนบัณฑิตทั้งหมดที่สำาเร็จการศึกษาในปีนั้น ๆ ของตน สัดส่วนบัณฑิตครูที่ได้รับการบรรจุเข้าทำางานใน ภูมิภาคหมายความถึงบัณฑิตครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่บรรจุเข้าทำางานในภูมิลำาเนาของตนเอง โดยภูมลิ าำ เนา หมายรวมถึง จังหวัด กลุ่มจังหวัดที่อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน เทยี บกบั บัณฑติ ท่ีสำาเร็จการศกึ ษาทั้งหมดในปกี ารศึกษานัน้ ๆ รอ้ ยละบณั ฑติ = จาำ นวนบัณฑติ ทีผ่ า่ นเกณฑ์การคดั เลือกเปน็ ครู ในภมู ภิ าค X 100 จำานวนบณั ฑิตทงั้ หมดที่สำาเรจ็ การศกึ ษาในปีการศกึ ษาน้ัน ตัวชี้วัดที่ 2.7 ผลงานการวิจัยสาขาวิชาชีพครู ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติ ุยทธศาสต รที่ หน่วยนับ และนานาชาติ หรือนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิตและพัฒนาครูเพิ่มขึ้น ผลงาน ุยทธศาสต รที่ 2 คำาอธิบาย การจดั เก็บข้อมูล เพ่ือให้เกิดการพัฒนาทางวิชาการด้านการผลิตและ นับจำานวนผลงานการวิจัยสาขาวิชาชีพครูที่ได้รับ พฒั นาครู อยา่ งกว้างขวางและเป็นทีย่ อมรบั ซง่ึ เป็นผลจาก การตีพมิ พเ์ ผยแพร่ทั้งในระดับชาติและนานาชาต ิหรือนาำ ไปใช้ การวจิ ยั และการใช้ประโยชน์จากการวิจัยในสาขาวชิ าชีพครู ให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิตและพัฒนาครูอยา่ งเปน็ รูปธรรม ผลงานการวิจัยสาขาวิชาชีพครู หมายความถึง ผลงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้องกบั การผลิตครู การพฒั นาคร ู ซึง่ ได้รบั การตพี ิมพ์ เผยแพร่ในวารสารเฉพาะวิชาชพี คร ู หรือวารสาร ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวิชาชีพครู ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับ ชาติหรือนานาชาติ หรอื การนาำ ผลงานการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ในการผลิตหรือพัฒนาครูอย่างเป็นรูปธรรม มีผลสัมฤทธิ์ เชิงประจกั ษ์

34 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั 35เพ่อื การพฒั นาทอ้ งถนิ่ 3 ยทุ ธศาสตรท ่ี คุณภากพากรยารกศรกึ ะดษับา

36 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ 37เพ่อื การพัฒนาทอ้ งถ่ิน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา เป้าหมาย มหาวิทยาลัยราชภฏั มีความเป็นเลิศ ในการสร้างความมั่นคงใหก้ บั ประเทศ ดว้ ยการบรู ณาการองคค์ วามรู้ ยุทธศาสต รที่ สูน่ วตั กรรม เพอื่ การพัฒนาเชงิ พ้ืนท่ี ยุทธศาสตร ีท่ ยกระดับคณุ ภาพบณั ฑติ ใหเ้ ป็น ุยทธศาสต รที่ 3 ที่ต้องการของผู้ใชบ้ ัณฑิต ด้วยอตั ลักษณ์ ด้านสมรรถนะและคณุ ลกั ษณะ 4 พร้อมรองรับบริบททีเ่ ปลยี่ นแปลง อาจารยแ์ ละบุคลากร ทางการศึกษาทกุ สาขาวชิ า เปน็ มอื อาชพี มสี มรรถนะเปน็ ทยี่ อมรับ ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ กลยทุ ธ 1. ปรับปรุงหลักสูตรเดิมให้ทันสมัยและพัฒนาหลักสูตรใหม่ในรูปแบบสหวิทยาการ ที่ตอบสนองการพัฒนาทอ้ งถ่ินและสอดคล้องกบั แนวทางการพฒั นาประเทศ 2. พฒั นาศักยภาพผูส้ อนให้เป็นมอื อาชีพ 3. พฒั นาหอ้ งปฏิบัตกิ าร อุปกรณ์การเรียนรู้เพอื่ สนบั สนนุ การผลติ บณั ฑติ 4. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้บูรณาการกับการทำางานและเสริมสร้างทักษะและ จติ สำานกึ ในการพฒั นาท้องถ่นิ 5. ผลติ บัณฑิตไดต้ ามความตอ้ งการของผ้ใู ช้บณั ฑติ ทั้งด้านสมรรถนะวชิ าชพี ทกั ษะบณั ฑิต ศตวรรษท ่ี 21 และคุณลักษณะ 4 ประการ คอื (1) มที ศั นคตทิ ีด่ ีและถูกต้อง (2) มีพ้ืนฐานชีวติ ท่ีม่นั คง เขม้ แขง็ (3) มีอาชพี มีงานทำา และ (4) มีความเปน็ พลเมอื งด ี มรี ะเบียบวนิ ัย 6. จัดทำาแผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาในลักษณะการ Reprofile อย่าง เป็นรูปธรรม โดยกำาหนดเป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมถึงระยะเวลาและขั้นตอน การดาำ เนินการ (Timeline) ในการปฏิบัติอยา่ งชัดเจน

ตวั ช้ีวัด 3.1 จาำ นวนหลกั สตู รทถี่ กู ปรับปรุงใหท้ ันสมัยและหลกั สตู รใหม่ในรปู แบบสหวทิ ยาการ ทต่ี อบสนองตอ่ การพฒั นาท้องถ่นิ และสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาประเทศ 3.2 ผลงานของนักศึกษา อาจารย ์ ท่ไี ดร้ บั การตีพิมพ์เผยแพร่หรือไดร้ บั รางวัล ในระดบั ชาติและนานาชาติ 3.3 รอ้ ยละของนักศึกษาท่ไี ดร้ ับประกาศนียบัตรวชิ าชีพท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั สาขา ทส่ี ำาเร็จการศกึ ษา 3.4 ระดบั ความสามารถด้านการใชภ้ าษาอังกฤษของผ้สู ำาเร็จการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR หรอื มาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเทียบเท่า 3.5 อัตราการได้งานทำา ทำางานตรงสาขา ประกอบอาชีพอสิ ระทงั้ ตามภมู ลิ ำาเนา และนอกภูมิลาำ เนา ของบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ ภายในระยะเวลา 1 ปี 3.6 ผลการประเมินสมรรถนะของบัณฑิตโดยสถานประกอบการผใู้ ชบ้ ัณฑิต 3.7 อตั ราการศึกษาตอ่ ในพน้ื ทขี่ องประชากรวัยอุดมศกึ ษาเพ่ิมข้ึน โครงการหลัก 1. โครงการบูรณาการองค์ความรู้สูน่ วตั กรรมราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาเชิงพนื้ ท่ี 2. โครงการพฒั นาความรว่ มมอื กับเครอื ขา่ ย สถานประกอบการและองคก์ รวิชาชพี เพื่อจดั การเรยี นรู้ 3. โครงการบ่มเพาะใหบ้ ณั ฑติ มที กั ษะ เป็นผปู้ ระกอบการร่นุ ใหม ่ ภายใตบ้ ริบท ของการพฒั นาท้องถน่ิ อย่างยั่งยนื 38 ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏเพื่อการพัฒนาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรงุ 11 ตลุ าคม 2561)

ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั 39เพอื่ การพฒั นาท้องถ่ิน คำาสาำ คัญ (Key Word) ยกระดบั คุณภาพ การยกระดับคุณภาพวิชาการ วิชาชพี ของบณั ฑิตมหาวิทยาลยั ราชภัฏ การศกึ ษา ใหม้ ีอัตลกั ษณแ์ ละสมรรถนะบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ทักษะบัณฑิต มที กั ษะทางวชิ าการและวชิ าชพี ทส่ี อดคลอ้ งกบั ทักษะในศตวรรษที ่ 21 ยุทธศาสต รที่ ศตวรรษที่ 21 ตามเกณฑ์ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ประกอบดว้ ย 4 กลมุ่ หลัก ได้แก่ ยุทธศาสตร ีท่ 1. กลุ่มวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบดว้ ย (1) ภาษาแม่และภาษา ุยทธศาสต รที่ 3 สำาคัญของโลก (2) ศลิ ปะ (3) คณติ ศาสตร ์ (4) การปกครองและหนา้ ท่ี พลเมอื ง (5) เศรษฐศาสตร ์ (6) วิทยาศาสตร ์ (7) ภมู ิศาสตร ์ และ (8) ประวัตศิ าสตร์ 2. กลุ่มทกั ษะชีวติ และอาชพี (Life and Career Skills) ประกอบดว้ ย (1) ความยืดหยนุ่ และการปรับตัว (2) การริเร่มิ สรา้ งสรรคแ์ ละ เปน็ ตัวของตวั เอง (3) ทกั ษะสงั คมและสงั คมข้ามวฒั นธรรม (4) การเป็นผู้สรา้ งหรือผู้ผลิต และความรับผดิ ชอบเช่อื ถอื ได้ และ (5) ภาวะผ้นู ำาและความรบั ผิดชอบ 3. กล่มุ ทักษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม (Learning and Innovation Skills) ประกอบด้วย (1) ความรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (2) การคดิ อย่าง มวี จิ ารณญาณและการแกป้ ัญหา และ (3) การสอ่ื สารและการรว่ มมือ 4. กลุ่มทกั ษะสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology Skills) ประกอบด้วย (1) ความร้ดู า้ นสารสนเทศ (2) ความรูเ้ กย่ี วกบั ส่ือ และ (3) ความรู้ดา้ นเทคโนโลยี

ยุทธศาสตรที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ตวั ชี้วดั ท่ี 3.1 จาำ นวนหลกั สูตรท่ีถกู ปรับปรุงให้ทันสมยั และหลักสูตรใหมใ่ นรปู แบบสหวทิ ยาการ หน่วยนับ ทตี่ อบสนองต่อการพัฒนาท้องถ่นิ และสอดคล้องกบั การพัฒนาประเทศ หลักสตู ร คาำ อธิบาย พหุวิทยาการ คอื วิธีการที่นาำ เอาความรหู้ ลายศาสตร ์ หรือ หลายอนุศาสตร์เข้ามาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อประโยชน์ เพื่อให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสอดคล้องกับ ในการวิเคราะห์และวิจัยจนกระท่ังผู้เรียนสามารถพัฒนา ความต้องการของท้องถิ่น สังคมและการพัฒนาประเทศ ความรู้ องค์ความรู้เป็นศาสตร์ใหม่ขึ้นหรือเกิดอนุศาสตร์ เป็นหลักสูตรท่ีมีความทันสมัยเตรียมคนไทยพร้อมรับการ ใหม่ขน้ึ หรอื เป็นการนำาวิทยาศาสตร์ประยกุ ต์ ไปใช้พัฒนา เปลีย่ นแปลง ความรู้และทักษะเชิงปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อประโยชน์ใน การปรับปรุงหลักสูตรหมายความถึงหลักสูตรของ การดาำ เนนิ งานในดา้ นอตุ สาหกรรม เกษตรกรรม พาณชิ ยกรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั ทม่ี กี ารปรับปรุงหรือ พัฒนาขน้ึ ใหม ่ โดย การศึกษา เคหะการ และการดูแลสุขภาพ เพื่อสร้าง เป็นหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ความชำานาญเฉพาะทาง สอดคล้องกบั การพัฒนาประเทศ หลักสูตรสหวิทยาการ หมายความถึง หลักสูตรที่มี การจัดเกบ็ ข้อมลู ลักษณะ พหุวิทยาการหรือสหวิทยาการ คือ การใช้ความรู้ จากองค์ความรู้หลายสาขาวิชา หลายศาสตร์ หรือหลาย นับจำานวนหลักสูตรที่มีการปรับปรุง พัฒนาในปี อนุศาสตร์ หรือจากการปฏิบัติ มาผสมผสานใช้ในการเรียน ประเมิน โดยพิจารณาเฉพาะหลกั สูตร ท่ีผา่ นความเห็นชอบ การสอน การวเิ คราะห์ วิจยั และสังเคราะหข์ ึ้นเป็นองคค์ วามรู้ จากสภาวชิ าการ ใหม ่ และพัฒนา เป็นศาสตร์ใหมข่ ึน้ เพราะฉะน้นั หลักสูตร ตัวชว้ี ัดที่ 3.2 ผลงานของนกั ศึกษา อาจารย์ ที่ไดร้ ับการตีพิมพเ์ ผยแพรห่ รอื ได้รบั รางวัล หน่วยนบั ระดับชาติ และนานาชาติ ผลงาน คำาอธิบาย งานหรอื โครงการทม่ี ผี เู้ ขา้ รว่ มจากหลายองคก์ ร หลายหนว่ ยงาน ทั่วทุกภาคของประเทศ หรือมีการกำาหนดเป็นลายลักษณ์ เพื่อให้นักศึกษา อาจารย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ อักษรว่าเปน็ รางวลั ระดับชาติ มีคณุ ภาพ มศี ักยภาพ สามารถสรา้ งสรรค์ผลงาน จนเป็นที่ รางวัลระดับนานาชาติ หมายความถึง รางวัลจาก ยอมรบั ของสงั คมไทยและสังคมโลก กจิ กรรม งานหรือโครงการมผี ูเ้ ขา้ ร่วมงานจากหลายประเทศ ผลงาน ของนักศกึ ษา อาจารย์ หมายความถงึ ผลงาน หลายภูมิภาคในโลก อาจจัดขึ้นในประเทศไทยหรือจัดใน ของนกั ศกึ ษา อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ซง่ึ เกดิ จากความรู้ ต่างประเทศกไ็ ด้ หรอื มกี ารกำาหนด เป็นลายลักษณอ์ ักษรว่า ความสามารถท่ีได้รับการบ่มเพาะจากการศึกษาหรือการ เป็นรางวัลระดบั นานาชาต ิ ทำางานในมหาวิทยาลยั และได้นาำ เสนอส่สู าธารณะ ในรปู แบบ การตีพมิ พ ์ เผยแพร ่ ประกวด แขง่ ขนั หรอื ได้รับการยกยอ่ ง การจัดเก็บข้อมูล ได้รบั รางวลั ในระดับชาติหรอื นานาชาติ อาทิเชน่ งานวิจยั งานสรา้ งสรรค ์ การประดษิ ฐ ์ การคดิ ค้น งานประพนั ธ์ หรือ นับจำานวนผลงานของนักศึกษา อาจารย์ ของ งานในลักษณะอืน่ ๆ มหาวิทยาลัยราชภฏั ในปีประเมนิ ท่ีได้รับ การตีพิมพ์เผยแพร่ รางวัลระดับชาติ หมายความถึง รางวัลจากกิจกรรม หรือได้รับรางวัลระดับชาตหิ รอื นานาชาติ 40 ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพ่อื การพฒั นาท้องถ่นิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรับปรุง 11 ตลุ าคม 2561)

41ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั เพ่อื การพัฒนาทอ้ งถ่นิ ตัวชีว้ ัดที่ 3.3 ร้อยละของนกั ศกึ ษาท่ไี ด้รับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ท่เี กย่ี วข้อง หนว่ ยนับ กบั สาขาทสี่ ำาเร็จการศึกษา รอ้ ยละ คาำ อธิบาย การจัดเกบ็ ขอ้ มูล เพื่อให้นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีสมรรถนะ นับจำานวนนักศึกษาท่ีได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มคี ณุ ภาพ มีศกั ยภาพในสาขาวชิ าท่ีศกึ ษา จนเปน็ ทย่ี อมรับ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่สำาเร็จการศึกษาของนักศึกษา ของสถานประกอบการ หรือแวดวงวชิ าชพี นั้นๆ เทียบกับจำานวนนักศกึ ษาทงั้ หมด ในชว่ งเวลาทมี่ ีการ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หมายความถึงประกาศนยี บตั ร ประเมนิ วุฒบิ ัตร เกียรตบิ ตั ร หรือเอกสาร หลกั ฐาน และสิ่งบ่งช้ใี ด ๆ ที่แสดงถึงมาตรฐานความรู้ ความสามารถ สมรรถนะ ยุทธศาสต รที่ ศักยภาพของบุคคลว่าเป็นผู้ที่สำาเร็จการศึกษา ฝึกอบรม ยุทธศาสตร ีท่ การทดสอบ การประเมนิ หรอื อน่ื ๆ ในลกั ษณะเดียวกนั ทาง วิชาการหรอื วิชาชีพ ซง่ึ ออกหรือรับรองโดยองค์กร หน่วยงาน ุยทธศาสต รที่ 3 บคุ คลท่เี ปน็ ท่ียอมรบั ในสาขาวชิ านน้ั ๆ ร้อยละฯ = จาำ นวนนักศกึ ษาท่ีได้รับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (คน) X 100 จำานวนนกั ศึกษาท้ังหมดที่ในปกี ารศกึ ษาน้นั (คน) ตัวช้ีวดั ท่ี 3.4 ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาองั กฤษของผ้สู ำาเร็จการศกึ ษาระดับ หนว่ ยนับ ปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR หรอื มาตรฐานสากลอืน่ ๆ ที่เทียบเทา่ ร้อยละ คาำ อธบิ าย การจัดเกบ็ ขอ้ มูล เพ่ือให้ผู้สำาเร็จการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ นับจำานวนผู้สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มี มีทักษะและความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษ ในชีวิต ระดบั ความสามารถตามเกณฑ์ CEFR หรอื เกณฑม์ าตรฐาน ประจำาวันและการทำางานได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐาน สากลอื่นๆ ที่เทียบเท่าเทียบกับผู้สำาเร็จการศึกษาทั้งหมด ทีเ่ ป็นท่ียอมรบั ในปที ป่ี ระเมิน มาตรฐาน CEFR หมายความถึงมาตรฐานสากลที่ใช้ อธิบายระดับความเชี่ยวชาญทางภาษา (Common European Framework of Reference for Languages) ใช้สำาหรับการเรียนการสอนและ การประเมินในการเรียน ภาษาอังกฤษ บอกถึงความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ทง้ั 4 ทกั ษะ คือ ทกั ษะการพูด การฟัง การอ่านและการเขียน ร้อยละฯ = จำานวนผ้สู าำ เร็จการศกึ ษาทผี่ ่านเกรณ์ X 100 จาำ นวนผสู้ าำ เรจ็ การศึกษาในปที ปี่ ระเมินท้งั หมด

ตัวช้ีวัดท่ี 3.5 อัตราการได้งานทาำ ทาำ งานตรงสาขา ประกอบอาชีพอิสระท้ังตามภูมลิ าำ เนา หน่วยนบั และ นอกภูมลิ าำ เนา ของบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภายในระยะเวลา 1 ปี ร้อยละ คำาอธบิ าย การจดั เกบ็ ขอ้ มูล เพ่ือให้ผู้สำาเร็จการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ คำานวณค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทำา มอี าชพี มีรายได้สามารถดูแลตวั เองและครอบครวั ได้ หรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ี ตามสตู รการคาำ นวณ การได้งานทาำ ทำางานตรงสาขา ประกอบอาชีพอิสระ ค่าร้อยละน้ีไม่นาำ บณั ฑติ ท่ศี ึกษาต่อ เกณฑท์ หาร อุปสมบท หมายความถึง บัณฑิตปริญญาตรีที่สำาเร็จการศึกษาใน และบัณฑิตทม่ี งี านทาำ แล้ว แตไ่ ม่ได้เปล่ียนงานมาพจิ ารณา หลักสูตรภาคปกต ิ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาในสาขา นัน้ ๆ ทีไ่ ดง้ านทาำ ทำางานตรงสาขาหรือ มีกจิ การของตนเอง ทมี่ ีรายได้ประจำาภายในระยะเวลา 1 ป ี นบั จากวนั ที่สาำ เร็จ ก า ร ศึ ก ษ า เ ม่ื อ เ ที ย บ กั บ บั ณ ฑิ ต ท่ี สำ า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ปี การศึกษานั้น การมีงานทำานับการทำางานสุจริตทุกประเภท ทส่ี ามารถสรา้ งรายไดป้ ระจาำ เพอ่ื เลย้ี งชพี ตนเองได ้ การคาำ นวณ ร้อยละของผู้มีงานทำาของผู้สำาเร็จการศึกษา ที่ลงทะเบยี น เรียนในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลาให้คำานวณเฉพาะ ผู้ทเี่ ปล่ยี นงานใหม่หลงั สาำ เรจ็ การศกึ ษาเทา่ น้ัน รอ้ ยละฯ = จาำ นวนบณั ฑติ ปริญญาตรที ่ไี ด้งานทำาหรือประกอบอาชพี อิสระ (คน) X 100 จาำ นวนบณั ฑติ ที่ตอบแบบสำารวจ (คน) ตวั ช้ีวัดท่ี 3.6 ผลการประเมนิ สมรรถนะของบณั ฑติ โดยสถานประกอบการผูใ้ ช้บัณฑติ หนว่ ยนบั ระดับ คาำ อธบิ าย ความคิดเห็นของสถานประกอบการซึ่งเป็นผู้ใช้บัณฑิตนั้นๆ โดยการประเมินพจิ ารณาตามเกณฑ ์ 5 ระดบั แก ่ ดมี าก ด ี เพื่อให้บัณฑิตมีสมรรถนะเป็นท่ีต้องการของสถาน ปานกลาง น้อย น้อยมาก ประกอบการ สมรรถนะ หมายความถึงความสามารถของบัณฑิต การจดั เก็บขอ้ มลู ปรญิ ญาตรีท่สี ำาเร็จการศกึ ษาในหลักสตู รภาคปกติ ภาคพิเศษ และ ภาคนอกเวลาในสาขาน้ัน ๆ ตามท่ีมหาวิทยาลัยกำาหนด คำานวณค่าเฉลี่ยของระดับผลการประเมินสมรรถนะ การประเมนิ สมรรถนะ หมายความถึง การดาำ เนนิ การ ของบัณฑิตโดยสถานประกอบการผู้ใช้บัณฑิต จากจำานวน เพ่ือชี้บ่งความร ู้ ความสามารถของบัณฑิต ที่สาำ เรจ็ การศึกษา สถานประกอบการท่ีตอบแบบสาำ รวจ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากการทดสอบ การประเมิน การสอบถาม หรอื การดาำ เนินการ ในลักษณะใดๆ ซงึ่ เป็น 42 ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏเพอ่ื การพัฒนาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบับปรับปรุง 11 ตุลาคม 2561)

43ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพ่อื การพัฒนาท้องถ่ิน ตัวชว้ี ดั ท่ี 3.7 อัตราการศึกษาต่อในพ้นื ท่ีของประชากรวยั อุดมศึกษาเพ่ิมขึ้น หนว่ ยนบั รอ้ ยละ คาำ อธบิ าย การจดั เกบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื ใหป้ ระชากรวยั อดุ มศกึ ษา ศกึ ษาตอ่ ในมหาวทิ ยาลยั นับจำานวนประชากรวัยอุดมศึกษาท่ีศึกษาต่อใน ราชภัฏ หรือมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในพื้นที่บริการของ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั และสถาบนั อดุ มศกึ ษาทง้ั รฐั และเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลดการย้ายถิ่นไปศึกษาต่อนอกพื้นที่ ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เทียบกับจำานวน แสดงถึง การยอมรับในมาตรฐาน และคุณภาพการศึกษา นักเรียนที่สำาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของมหาวิทยาลยั ในพ้ืนท่ี หรอื เทยี บเทา่ ในพน้ื ทบ่ี รกิ ารของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั คาำ นวณ อัตราการศึกษาต่อในพื้นท่ีของประชากรวัยอุดมศึกษา เป็นร้อยละของปีประเมนิ เทียบกับปกี อ่ นหน้า เพม่ิ ขึ้น หมายความถงึ ร้อยละของนักเรียนที่เข้าศกึ ษาใน สถาบันอุดมศึกษาในพื้นท่ีบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยุทธศาสต รที่ (จาำ นวนนกั ศึกษาชั้นปีที่ 1 ในปีการศึกษาท่ีประเมนิ ) เทียบกับ ยุทธศาสตร ีท่ ประชากรท่ีสำาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทยี บเทา่ ทง้ั หมดในพืน้ ทบ่ี ริการของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ุยทธศาสต รที่ 3 ร้อยละฯ = ร้อยละการศึกษาต่อในพืน้ ทป่ี ีประเมิน - รอ้ ยละการศึกษาในพนื้ ทป่ี ีกอ่ นหน้า X 100 รอ้ ยละการศกึ ษาตอ่ ในพื้นท่ใี นปกี อ่ นหน้า

44 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏ 45เพื่อการพัฒนาทอ้ งถ่ิน 4 ยุทธศาสตรท่ี กาบรพรหิ ัฒารนจาดัรกะบาบร

46 ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถิน่ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรุง 11 ตุลาคม 2561)

ยุทธศาสต ร ่ีท ยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ 47เพอื่ การพฒั นาท้องถน่ิ ยุทธศาสตร ่ที 4ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การพฒั นาระบบบริหารจดั การ เปา้ หมาย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ไดร้ บั การยอมรบั ระดับชาติ และนานาชาตดิ ้านการเปน็ สถาบันการศกึ ษาเพอ่ื ท้องถ่ิน ทสี่ รา้ งความมั่นคงใหก้ บั ประเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มรี ะบบบริหาร ที่มีประสทิ ธภิ าพ และคลอ่ งตัว มงุ่ เนน้ การสร้างธรรมาภบิ าล ความพร้อมและความสามารถปรับตัว อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล กับสถานะมหาวิทยาลยั ในกาำ กบั ของรัฐ กลยทุ ธ 1. ส่งเสริมบุคลากรท่ีเป็นคนดีและคนเก่งให้พัฒนาและแสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ และศกั ยภาพในการพฒั นามหาวิทยาลัยและท้องถ่นิ อย่างเตม็ ที่ 2. เพิ่มบทบาทการเป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือท้องถิ่นโดยให้ความสำาคัญกับ การบูรณาการการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่น และการสร้างผลประโยชน์ จากทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา 3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภายในและต่างประเทศเพ่ือเสริม สร้างประสิทธผิ ลตามวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ 4. ปรับปรงุ พัฒนาระบบบริหารจดั การโดยเฉพาะฐานข้อมลู งบประมาณ และบคุ ลากรใหท้ นั สมัย รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ โปรง่ ใส และมธี รรมาภบิ าล

ตวั ชี้วดั 4.1 จำานวนอาจารย์และนกั ศึกษา ศษิ ย์เก่า ที่ได้รับรางวลั ในระดบั ชาต ิ นานาชาติ 4.2 อัตราส่วนจาำ นวนผลงานวิจยั และองคค์ วามรู้ต่างๆ ทเ่ี ปน็ ทรัพยส์ ินทางปญั ญาต่อจาำ นวนผลงาน ดังกลา่ วทถี่ ูกนำาไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม 4.3 ผลการสาำ รวจการรับรูข้ ่าวสาร (นโยบาย แผนพัฒนาตา่ งๆ ที่สำาคัญระดบั ชาติ ระดับจังหวดั ระดบั องค์กร) ของบุคลากรภายในมหาวิทยาลยั ราชภัฎ 4.4 จาำ นวนฐานขอ้ มลู เพือ่ การบรหิ ารจัดการและการตัดสินใจตามพนั ธกจิ หลักของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถน่ิ 4.5 ระดบั ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสการบรหิ ารงานภาครฐั 4.6 จาำ นวนเครือข่ายความร่วมมอื กบั องคก์ รภายในและตา่ งประเทศ 4.7 ระบบบรหิ ารจดั การท่มี ีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล 4.8 ฐานขอ้ มูลศษิ ยเ์ ก่าและกจิ กรรมสมั พันธเ์ พอื่ ขยายเครอื ขา่ ยและปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มูลศษิ ย์เก่า 4.9 ผลสาำ รวจความคดิ เหน็ ความพึงพอใจของประชาชน และผู้รบั บริการทมี่ ตี อ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ โครงการหลัก ใไหมม้่ปปีร.บัร..จะปหตสะรสาสาิทุงกมาำ่งพธเมผยรภิ ฒัหลทุจ็ าาใไธพนหดวศาิทด้ก้ผารยา้วลสะรยบาดตดลหบไีรำาดัยลบทเย้รนกัรี่ า1าหินิธชกการ–ภ.รรา.ฏั.จ3มรดัภกบิ าารล 1. โครงการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ บคุ ลากรส่คู วามเปน็ เลศิ 2. โครงการ “ราชภฏั โพลล์” 3. โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ มหาวิทยาลัยสูค่ วามเปน็ เลศิ 4. โครงการเครือข่ายสมั พันธ์เพื่อการ พัฒนาทอ้ งถ่นิ 5. โครงการพัฒนาสิง่ อาำ นวยความ สะดวก สภาพแวดล้อมและการจัดการเรียน การสอนท่ที ันสมยั ข้อคิดจาก พล.อ.ดาว์พงษ์ รตั นสวุ รรณ องคมนตรี 48 ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพือ่ การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) (ฉบบั ปรบั ปรงุ 11 ตลุ าคม 2561)

ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั 49เพื่อการพัฒนาท้องถน่ิ คำาสาำ คญั (Key Word) การพฒั นาระบบ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มรี ะบบบริหารจัดการที่มธี รรมาภบิ าล มคี วามคล่องตวั บรหิ ารจัดการ มบี ุคลากรทม่ี ีความเป็นมอื อาชีพ เป็นทย่ี อมรับระดับชาตแิ ละนานาชาติ ในการเปน็ สถาบันเพอ่ื ท้องถิ่นท่สี ร้างความม่นั คงให้กับประเทศ ยุทธศาสต ร ่ีท ราชภัฏโพลล์ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตร ่ที 4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั เปน็ แหล่งข้อมูลสารสนเทศทีถ่ กู ต้อง เปน็ ธรรม เป็นที่พงึ่ ท่ี น่าเชอ่ื ถือไดส้ ำาหรบั ท้องถ่นิ ในสถานการณแ์ ละความเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook