Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการ 2563

แผนปฏิบัติการ 2563

Published by watmabmakham, 2020-09-08 05:59:50

Description: แผนปฏิบัติการโรงเรียนวัดมาบมะขาม 2563

Search

Read the Text Version

โรงเรียนวดั มาบมะขาม Watmabmakham school แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ๒๕๖๓ สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒

ก คำนำ แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ของโรงเรียนวัดมาบมะขาม จัดทาข้ึนเพื่อใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ท่ีสอดคล้องกับนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒ โดยเนน้ การดาเนนิ งานตามแนวทางของการปฏิรูปการศึกษา เพือ่ พฒั นานกั เรยี นและโรงเรียนตามทีก่ าหนด ในวิสัยทัศน์ เป้าหมาย เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียน ให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขท้ังกาย และใจ ในการจัดทาแผนปฏิบัติการ ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากบุคลากรทุกฝ่ายของโ รงเรียน รวมทัง้ ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐานแล้ว หวังเปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ แผนปฏิบัติการ ฉบับนี้ ผู้ท่ีได้รับมอบหมายการดาเนินการ จะนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายสูงสดุ ของการจัดการศกึ ษาไดเ้ ปน็ อยา่ งดตี อ่ ไป (นายฉัตรชยั เกตนุ วม) ผู้อานวยการโรงเรียนวดั มาบมะขาม ๑ เมษายน ๒๕๖๓

สำรบัญ ข ส่วนที่ ๑ บทนำ หนา้ ประวตั ิโรงเรียน ๑ ขอ้ มลู พืน้ ฐาน ๑ - ภารกิจของสถานศกึ ษา ๓ ๘ สว่ นที่ ๒ ทิศทำงกำรปฏบิ ัติรำชกำรของโรงเรยี น - ปรชั ญาของโรงเรยี น วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ ๙ - เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ จดุ เน้น ๙ ๑๐ สว่ นที่ ๓ ประมำณกำร รำยรับ-รำยจำ่ ย ประจำปขี องโรงเรยี น ๑๑ ส่วนท่ี ๔ รำยละเอยี ดของโครงกำร กิจกรรมและควำมสอดคล้อง - กลุม่ บรหิ ารวิชาการ ๑๓ - กลมุ่ บรหิ ารท่ัวไป ๒๔ - กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล ๔๑ - กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ ๖๔ ๖๘ ภำคผนวก ๗๖

๑ ส่วนที่ ๑ บทนำ ประวตั โิ รงเรยี น โรงเรียนวัดมาบมะขาม เปิดเรียนครั้งแรก เมื่อวันจันทรท์ ่ี ๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๗๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. โดย นายเย้อื น ทัดคา ปลัดอาเภอชนั้ สอง พรอ้ มด้วย นายผนิ พูลศลิ ป์ สารวัตรการศกึ ษา นายแหนม คาเอี่ยม กานันตาบลตาสัง ทาพิธีเปิด โดยอาศัยศาลาวัดมาบมะขาม เป็นสถานที่เล่าเรียน ซึ่งทางการได้แต่งต้ัง นายสุภาพ บางเหลือง ดารงตาแหน่ง ครูใหญ่ นายสนั่น สกุลเดช เป็นครูน้อย และใช้ช่ือโรงเรียนว่า “ โรงเรียนประชาบาลตาบลบางตาหงาย ๒ ” ( วดั มาบมะขาม ) ซงึ่ ดารงอยู่ดว้ ยงบประมาณแผน่ ดนิ เปิดเรยี นครงั้ แรก มนี ักเรยี นรับหมายเขา้ เรยี นตามพระราชบญั ญัติประถมศกึ ษา พุทธศักราช ๒๔๗๘ มาตรา ๑๒ มีนักเรียนชาย ๖๙ คน นักเรียนหญิง ๔๒ คน รวม ๑๑๑ คน และให้เปิดทาการสอน ตามหลักสูตรของกระทรวงธรรมการ โดยให้ปิดประจาสัปดาห์ วันโกนครึ่งวัน วันพระเต็มวัน และ ปิดภาคฤดูร้อน ๑๙ วัน ฤดูทานา ๔๕ วัน ฤดูเก็บเก่ียว ๑ เดือน ส่วนจะปิดวันไหนนั้นให้อยู่ในดุลยพินิจ ของครใู หญ่ ขอ้ มลู พนื้ ฐำน ๑. ท่ตี ้งั โรงเรียนวัดมาบมะขาม สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ตาบลเจริญผล อาเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ รหัสไปรษณีย์ ๖๐๑๘๐ โทรศัพท์ ๐๕๖-๘๗๓-๑๑๘ ท่ีอยู่จดหมายอีเล็กทรอนิกส์ [email protected] เปิดสอนระดับการศึกษา ปฐมวัย ถึง ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ มีเนื้อที่ ๑๔ ไร่ ๒ งาน ๗๒ ตารางวา มีเขตพ้ืนที่รับผิดชอบทาง การศึกษา ๒ หมบู่ ้าน คือ หมู่ที่ ๔ และ หมทู่ ่ี ๖ ตาบลเจรญิ ผล ๒. บุคลำกร ตารางที่ ๒.๑ แสดงจานวนบคุ ลากรแตล่ ะประเภทในโรงเรยี น จานวน (คน) ประเภทบคุ ลากร ๑ ๘ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ๑ ข้าราชการครู ๑ พนกั งานราชการ ๑ ธรุ การ ๑๒ อัตราจ้าง (นกั การภารโรง) รวม

๒ ตารางที่ ๒.๒ ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ท่ี ช่อื -ช่ือสกุล อายุ อายุ ตาแหนง่ /วทิ ยฐานะ คุณวุฒิ วิชาเอก สอนวิชา/ชนั้ (ปี) ราชการ ๑ นายฉัตรชัย เกตุนวม (ป)ี ๒ นางสมพิศ พลู ทอง ๓ นายเทวญั ชาญเชาว์ ๔๔ ๑๔ ผูอ้ านวยการ ป.บัณฑิต การบรหิ าร แนะแนว ชานาญการ การศึกษา ๔ นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบ้านโข้ง ๕ นางสาเภา ขนุ ทวี ๔๙ ๒๕ ครชู านาญการพิเศษ คบ. ประถมศึกษา อนุบาล ๒-๓ ๖ นายสุเมธ สร้อยฟ้า ๗ นางสมุ ารยี ์ จันทรา ๔๖ ๑๒ ครชู านาญการพิเศษ กศม. การบริหาร ช้ัน ป.๔-๕-๖ ๘ นายปญั ญาพล เจรญิ ศลิ ป์ การศกึ ษา ๙ นายมนตรี เกดิ ผล ๒๘ ๓ ครูผูช้ ่วย คบ. คอมพิวเตอร์ ชน้ั ป.๑-๖ ๑๐ นายธรรมศกั ดิ์ เริงเกษตร์กรณ์ ๑๑ นายผดุงเกยี รติ แตงนอ้ ย ๕๘ ๓๗ ครูชานาญการพเิ ศษ ศษ.บ ประถมศกึ ษา ชั้นป.๒ ๑๒ นายบรรลือ เอือ้ กลาง ๕๗ ๓๔ ชานาญการ กศ.บ พละศึกษา ชน้ั ป.๓ ๕๗ ๓๔ ชานาญการพเิ ศษ ศษ.บ ประถมศึกษา ชนั้ ป.๔-๖ ๕๗ ๓๕ ชานาญการ คบ. ภาษาไทย ชั้นป.๕-๖ ๕๙ ๓๖ ชานาญการ คบ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ป.๓-๖ ๔๘ ๑๑ พนกั งานราชการ พธ.บ. พระพุทธศาสนา/ วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ๔๒ ๑๐ ธรุ การ วท.บ. เทคโนโลยี - อุตสาหกรรม ๔๘ ๑๐ นกั การภารโรง ป.๖ - - (อตั ราจา้ ง)

๓ ๓. คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขัน้ พื้นฐำนโรงเรยี นวดั มำบมะขำม ๓.๑ นายทวี โยธา ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ประธานคณะกรรมการ ๓.๒ นายบญุ ตา คงสิบ ผแู้ ทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน รองประธานคณะกรรมการ ๓.๓ นายพิมพ์พิพฒั น์ อาตางาม ผู้แทนองคก์ รชมุ ชน กรรมการ ๓.๔ นายจรญู บางเหลือง ผู้แทนศิษยเ์ ก่า กรรมการ ๓.๕ นางอบุ ล เจรญิ ขา ผ้แู ทนผู้ปกครอง กรรมการ ๓.๖ นายเสกสนั ต์ ศรีมงคล ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ ๓.๗ พระครนู มิ ิต ปัญญาวฒุ ิ ผแู้ ทนองค์กรศาสนา กรรมการ ๓.๘ นายเทวัญ ชาญเชาวน์ ผู้แทนครู กรรมการ ๓.๙ นายฉัตรชัย เกตุนวม ผอู้ านวยการโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ ๔. จำนวนนกั เรยี น (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒) ตำรำงท่ี ๔.๑ แสดงจำนวนหอ้ งเรียน จำนวนนกั เรยี น ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ชั้น/เพศ ชำย หญงิ รวม จำนวนห้องเรยี น อนบุ าล ๒ ๑๖ อนุบาล ๓ ๑๔ ๗ ๒๓ ๑ รวมระดบั อนุบำล ๓๐ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ๑๕ ๑๑ ๒๕ ๑ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑๒ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๑๑ ๑๘ ๔๘ ๒ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๑๓ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๑๑ ๑๒ ๒๗ ๑ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๑๓ รวมระดบั ประถมศกึ ษำ ๗๕ ๑๕ ๒๗ ๑ รวมทงั้ หมด ๑๐๕ ๘ ๑๙ ๑ ๖ ๑๙ ๑ ๗ ๑๘ ๑ ๖ ๑๙ ๑ ๕๔ ๑๒๙ ๖ ๗๒ ๑๗๗ ๘

๔ ตำรำงท่ี ๔.๒ เป้ำหมำยของนกั เรียน ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ระดับช้ันชนั้ /ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ จำนวนห้องเรียน อนุบาล ๒ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๑ อนบุ าล ๓ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๑ ๕๖ ๕๘ ๖๐ ๒ รวมระดบั อนุบำล ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๑ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๑ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๑๑๑ ๑๑๗ ๑๒๓ ๖ รวมระดบั ประถมศกึ ษำ ๑๖๗ ๑๗๕ ๑๘๓ ๘ รวมทง้ั หมด ๕. อำคำรเรียนอำคำรประกอบ ๕.๑ อาคารเรียน มที ้งั หมด ๓ ดังนี้ ๑) อาคารแบบ ๐๑๗ ก เป็นอาคารคร่ึงตึกคร่ึงไม้ ๒ ชั้น จานวน ๘ ห้องเรียน ประกอบด้วย ห้องเรียนช้ันประถมศึกษาที่ ๓ ห้องสมุด ห้องประชุม ห้องธุรการ ห้องเรียนภาษาอังกฤษ หอ้ งกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ หอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์ ห้องพสั ดุ ๒) อาคารแบบ สปช.๑๐๓/๒๖ เป็นอาคารคอนกรีตยกพ้ืน ใต้ถุนโล่ง จานวน ๖ ห้องเรียน ประกอบด้วย ห้องเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ห้องเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒ ห้องเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ ห้องเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ห้องเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ห้องเรียน พระพุทธศาสนา ๓) อาคารอเนกประสงค์แบบ สปช.๒๐๓/๒๖ เป็นอาคารคอนกรีตยกพื้น จานวน ๒ ห้องเรยี น ประกอบด้วย หอ้ งเรียนชั้นอนุบาลปที ี่ ๒ หอ้ งเรียนชนั้ อนบุ าลปที ี่ ๓ ๕.๒ สว้ ม จานวน ๒ หลัง ๖. สนำมกฬี ำ จานวน ๒ สนาม ไดแ้ ก่ สนามฟุตบอล สนามวอลเลย่ ์บอล ๗. สภำพชุมชนโดยรวม สภาพชมุ ชนโดยรอบบริเวณโรงเรียนมลี ักษณะเป็นชุมชนชานเมอื ง ต้งั อยใู่ นเขตองคก์ าร บริหารสว่ นตาบลเจริญผล อาเภอบรรพตพสิ ัย จังหวัดนครสวรรค์ ประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม คา้ ขายทว่ั ไป และอาชีพรับจ้าง มีรายได้น้อย

๕ ๘. กำรประกอบอำชพี (ของผปู้ กครองนักเรยี น) ผ้ปู กครองนักเรยี น รอ้ ยละ ๘๕ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ร้อยละ ๙ ประกอบอาชพี คา้ ขายทั่วไป และรอ้ ยละ ๖ ประกอบอาชีพรับจ้าง ๙. กำรนบั ถอื ศำสนำ (ของผปู้ กครองนกั เรียน) ผ้ปู กครองนกั เรยี น ร้อยละ ๑๐๐ นับถอื ศาสนาพุทธ ๑๐. ฐำนะทำงเศรษฐกจิ (ของผู้ปกครองนกั เรยี น) ผู้ปกครองนักเรยี นมีรายได้โดยเฉล่ีย ๒๐,๐๐๐ บาท/ครอบครวั /ปี ๑๑. ควำมสัมพนั ธก์ บั ชุมชน โรงเรียนได้ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาสถานศึกษา โดยขอความร่วมมอื จากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กองทนุ หมบู่ ้านบา้ นมาบมะขาม องคก์ ารบรหิ าร สว่ นตาบลเจริญผล ผูน้ าชมุ ชนและกลุ่มองค์กรต่างๆ เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการพัฒนาโรงเรยี น ๑๒. แหลง่ เรยี นรู้ ตาราง ๑๒.๑ แสดงแหลง่ เรียนรูภ้ ายในและแหล่งเรยี นร้ภู ายนอก แหล่งเรยี นรูภ้ ายใน แหลง่ เรียนรภู้ ายนอก ๑. หอ้ งสมดุ ๑. กลุม่ ผลิตเฟอรน์ ิเจอร์ ๒. ห้องคอมพวิ เตอร์ ๒. ชมุ ชนลาวครงั่ ๓. ห้องพระพุทธศาสนา ๓. ดงแม่นางเมอื ง ๔. หอ้ งกิจกรรมสหกรณ์ ๑๓. ปรำชญช์ ำวบ้ำน/ภูมปิ ัญญำทอ้ งถน่ิ ๑๓.๑ นายชัชชยั เพ่มิ กสิกรณ์ ให้ความรู้ เรอ่ื ง การทาโตะ๊ ผลติ ภัณฑจ์ ากเนื้อไม้ ๑๓.๒ นายนาค ทิพย์ศร ให้ความรู้ เรอ่ื ง ภาษาลาวครงั่ ๑๓.๓ นายบุญตา คงสิบ ใหค้ วามรู้ เรื่อง ประวัติความเปน็ มาเมอื งโบราณ สมยั ทวาราวดี (ดงแม่นางเมอื ง)

๖ ภำรกิจของสถำนศึกษำ ๑. จดั ทานโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกับนโยบายและแผนของ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา นครสวรรค์ เขต ๒ ตลอดจนความต้องการของชมุ ชนและท้องถิ่น ๒. จัดตง้ั งบประมาณ และรับผิดชอบการใชจ้ ่ายงบประมาณของสถานศกึ ษา ๓. พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และ ความต้องการของนักเรยี น ชมุ ชน และท้องถิ่น ๔. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมและสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ ตลอดจนการปรบั ปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา อย่างต่อเนอื่ ง ๕. ออกระเบยี บ ข้อบงั คบั ประกาศและแนวปฏบิ ตั ิต่างๆ ตามทก่ี ฎหมายกาหนด ๖. กากับ ติดตาม ประเมินผลตามแผนงาน/โครงการ และประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจน การพจิ ารณาความดคี วามชอบ การพัฒนา และการดาเนนิ การทางวินยั กับครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ใน สถานศกึ ษาตามกฎหมายกาหนด ๗. ระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา รวมทั้งปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจดั หาผลประโยชน์ จาก ทรัพยส์ ินของสถานศึกษา ๘. จดั ใหม้ รี ะบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหค้ วามร่วมมอื ในการประเมนิ คุณภาพ การศกึ ษา จากหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา รวมทงั้ การรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ สถานศกึ ษาสานักงานเขต พื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒ และผู้มสี ่วนได้ สว่ นเสีย ๙. ส่งเสรมิ ความเข้มแข็งใหก้ ับชุมชน และสรา้ งความสมั พันธ์กับสถานศึกษาและสถาบนั อืน่ ใน ชมุ ชน และ ทอ้ งถิน่ ๑๐. ปฏบิ ัตหิ น้าที่อน่ื ท่ีเก่ยี วกบั กจิ การภายในสถานศกึ ษาหรอื ตามทไี่ ด้รับมอบหมายและตามท่ี กฎหมายอ่นื กาหนด

๗ สว่ นท่ี ๒ กำรวิเครำะห์สภำพแวดลอ้ มของสถำนศกึ ษำ ๑. สภำพแวดล้อมภำยนอกสถำนศึกษำ สภาพแวดลอ้ มภายนอกของโรงเรียนวดั มาบมะขาม จาก ๔ ปัจจยั คอื ๑.๑ ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ท่ีตั้งของโรงเรียนอยู่นอกตัวเมืองนครสวรรค์และ สภาพแวดล้อม ทางกายภาพเป็นชุมชนขนาดเล็ก แนวโน้มของประชากรท่ีจะต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพน้ื ทบ่ี รกิ าร มีจานวนลดนอ้ ยลง เน่อื งจากอัตราการเกิดของเด็กและค่านยิ มของผู้ปกครองในการส่งเด็ก เข้าไปเรยี นในโรงเรยี นยอดนิยมภายในตัวเมอื ง ทาให้จานวนนักเรียนในสถานศึกษามจี านวนนอ้ ยลง ผปู้ กครอง และชุมชน ให้ความสาคัญต่อการจัดกิจกรรมการศึกษาของโรงเรียน ทาให้การดาเนินงานต่างๆ เป็นไป ด้วยความราบรื่น ถือได้ว่าปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรมเป็นปัจจัยท่ีเป็นโอกาสมากกว่าอุปสรรคต่อ การดาเนินภารกิจของโรงเรียน กล่าวคือ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้นาชุมชน ผู้ปกครอง เห็นความสาคญั ของการศึกษา สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมต่างๆโรงเรียน จึงจัดการศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ อีกท้ังผู้ปกครองมีการประกอบอาชีพต่างๆ อย่างหลากหลาย สามารถใช้เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินให้นักเรียนได้ ศึกษาและเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการจัดการศึกษาคือ ผู้ปกครองบางส่วน มอี าชพี ทไ่ี มม่ ่นั คง มฐี านะยากจน ครอบครวั หย่ารา้ งและต้อง ย้ายทีอ่ ยเู่ พ่อื ประกอบอาชีพบอ่ ยๆ ทาให้นกั เรียน เรียนไม่ต่อเนื่อง บางส่วนต้องอยู่กับญาติพี่น้อง ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนโดยรวม ตลอดจนปัญหาด้านสังคมท่ีทาให้นักเรียนอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อ การเก่ยี วข้อง เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาการพนัน ปัญหาการตดิ เกม เปน็ ตน้ ๑.๒ ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานและการแพร่กระจายของเทคโนโลยีใน ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ไฟฟ้า เครือข่ายการสื่อสารและอินเทอร์เน็ต ทาให้การเข้าถึงเทคโนโลยีของ นกั เรยี นและผู้ปกครองทาได้ง่ายและสะดวก ตลอดจนความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สามารถนามาใช้ประโยชนท์ ั้งในการบรหิ ารจัดการ การใหบ้ ริการและการพฒั นาการศึกษา ให้ มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น สามารถช่วยลดความซ้าซ้อนในการปฏิบัติงาน เพ่ิมประสิทธิภาพ ในการทางาน ประสิทธิภาพในการติดต่อส่ือสารรวดเร็วขึ้น โดยไม่มีข้อจากัดด้านสถานที่และเวลา สาหรับ ด้านการศกึ ษา สามารถเพิม่ ประสทิ ธิภาพการเรยี นรู้ของนกั เรยี น การใหบ้ รกิ ารแกผ่ ้ปู กครอง ประชาชน ชุมชน และสังคม ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต เป็นปัจจัยที่เป็นโอกาส ต่อการดาเนินภารกิจของโรงเรียนเป็นอย่างมาก โดยโรงเรียนได้ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีมาพัฒนากระบวน การเรียนรู้ของนักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพตอบสนองต่อความต้องการของผู้ปกครองชุมชนและสังคม ที่ต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้และทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เพ่ือโอกาสที่ดีในอนาคตประกอบกับ การนาภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทาให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ต่างๆ อย่างหลากหลาย ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรค คือ ระบบสัญญาณของเครือข่ายผู้ให้บริการไม่เสถียรทาให้ สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่ดีพอ นอกจากน้ีการซ่อมบารุง วัสดุ อุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี มีราคาค่อนข้างสูงทาให้ การดาเนนิ การมคี า่ ใช้จ่ายเปน็ จานวนมาก ๑.๓ ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ภาวะทางเศรษฐกิจและฐานะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ของ ผู้ปกครองและประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพรบั จ้างทั่วไป เป็นอุปสรรค ในการดาเนินงานคือ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ มีฐานะทางเศรษฐกจิ ในระดบั ยากจนถงึ ปานกลาง จงึ ช่วยสง่ เสรมิ และ สนับสนุนด้านสื่อ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนและการดาเนินการของโรงเรยี น

๘ ได้ไม่มากนัก งบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรจากรัฐในการจัดการศึกษามีจานวนจากัด และผู้ปกครองมีฐานะ ยากจน เกดิ การวา่ งงานของผปู้ กครอง/ครวั เรอื น ปจั จัยท่เี ป็นโอกาสในการจดั การศกึ ษา คอื นโยบายเรยี นฟรี ๑๕ ปี ไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ยของรัฐบาล ทาใหแ้ บง่ เบาภาระค่าใช้จ่ายของผปู้ กครอง นกั เรียนมโี อกาสมากขน้ึ ๑.๔ ปัจจัยทางด้านการเมืองและกฎหมาย เป็นปัจจัยท่ีเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินงานของ โรงเรียนตามภารกิจ คือ ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายจัดการศึกษา เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง การบริหารจัดการศึกษา และการปฏิรูปการศกึ ษาทีย่ งั ไม่แลว้ เสร็จ อกี ท้ังแนวนโยบายจากสว่ นกลางมีผลทาให้ เกิดภาระต่อการปฏิบัติหนา้ ที่ของครู ในการให้ความรู้แก่นักเรียน เนื่องจากครู มีภาระเพิ่มเติมนอกเหนือจาก งานสอนตามปกติ เป็นภาระงานท่ีเกิดจากนโยบายจากส่วนกลางมีมากเกินไป แต่ปัจจัยท่ีเป็นโอกาส คือ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๔๕ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๕๓ ทาใหค้ รมู กี ารพัฒนาตนเองและจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายมากข้นึ นักเรยี นได้รับ การพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ ตลอดจนการไดร้ ับการสนับสนนุ ในด้านตา่ งๆ จากองคก์ รสว่ นท้องถน่ิ และชมุ ชน ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกตามปัจจัย ๔ ด้าน ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า โรงเรียนวัดมาบมะขาม มีปัจจัยท่ีเป็นอุปสรรคมากกว่าปัจจัยที่เป็นโอกาส กล่าวคือ สภาพความพร้อมทาง ด้านเศรษฐกิจของครอบครัวในการให้การสนับสนุนการศึกษามีน้อย เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตร มรี าคาตกต่า ครอบครวั มีรายไดน้ อ้ ย แต่ยังมโี อกาสอยู่บา้ ง คือ ไดร้ ับการส่งเสริมและสนับสนุนจากชุมชนและ หนว่ ยงานตน้ สังกดั สามารถพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี นใหเ้ กิดผลตามเปา้ หมายของโรงเรียน ๒. กำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมภำยในสถำนศึกษำ สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาโรงเรียนวัดมาบมะขาม พิจารณาจากจุดแข็งและจุดอ่อน จาก ๖ ปจั จยั ดงั น้ี ๒.๑ ปัจจัยทางด้านโครงสร้างและนโยบาย เป็นจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ โรงเรียน วัดมาบมะขาม มีการบริหารงาน กาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย เป้าหมาย และภารกิจที่ชัดเจน ทาให้บุคลากร มีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ เน้นการทางานเป็นหมู่คณะ ทุกคนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างขวัญและ กาลังใจลดการขัดแย้ง ทาให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ แต่ยังมีจุดอ่อนอยู่บ้างในเรื่องของการปฏิบัติ ตามนโยบาย บางส่วนยังไม่ได้ประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้เนื่องจากการมีครูจานวนจากัดและ มีความจาเป็นท่ี ครูส่วนหน่ึงต้องทาการสอนไม่ตรงกับสาขาวิชาเอก แต่ก็ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนอยา่ งต่อเนือ่ ง ตลอดจนตอ้ งปฏิบัตหิ นา้ ท่อี ่ืนๆ ไม่เกย่ี วกบั การเรียนการสอนควบคูไ่ ปด้วย ๒.๒ ปัจจัยด้านผลผลิตและการให้บริการ ถือว่าเป็นจุดแข็ง มากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ คุณภาพของนักเรียน ซึ่งถือว่าเป็นผลผลิตจากการให้บริการโดยเฉลี่ยมีคุณภาพตามมาตรฐาน นักเรียนมี ผลสัมฤทธ์ิและ ผลการทดสอบระดับชาติอยใู่ นเกณฑ์ที่นา่ พงึ พอใจ อัตราการสอบเข้าศึกษาต่อของนักเรียนใน ระดับทส่ี งู ขน้ึ ผู้ปกครองพงึ พอใจรวมไปถึงการใหบ้ ริการทางดา้ นปริมาณ ถือวา่ เปน็ จดุ แขง็ เนือ่ งจากสามารถ ให้บริการได้ ครอบคลุมพื้นท่ีเขตบริการ และประชากรทุกกลุ่มเป้าหมาย จุดอ่อนอยู่ที่จานวนนักเรียนในเขต พนื้ ทีบ่ รกิ ารมนี ้อย เน่ืองจากประชากรวัยเรยี นลดลง ค่านิยมการเข้าไปเรียนในโรงเรียนยอดนิยม การประกอบ อาชพี และการอพยพ ยา้ ยถ่ินของผูป้ กครอง เป็นตน้ ๒.๓ ปัจจัยด้านบุคลากร เป็นปัจจัยท่ีมีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน เนื่องจากผู้บริหารมีวสิ ัยทศั น์ สามารถบริหารจัดการครูและบุคลากรให้จัดการเรียนการสอนแก่นักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ ครูและ บุคลากร ทางการศึกษามีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน และมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง สามารถจัด กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังยังเป็นครูในพื้นที่ ทาให้มีความผูกพันและมุ่งมั่นเป็นอย่างดี

๙ จุดอ่อน คือ ข้าราชการครูส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยใกล้เกษียณอายุ ทาให้มีผลกระทบต่อการจัดเรียนการสอน พอสมควร ๒.๔ ปัจจัยด้านการเงิน เป็นปัจจัยท่ีมีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ ผู้บริหารโรงเรียน มีความสามารถในการบริหารงบประมาณ และการเงินแบบมุ่งเน้นผลงาน ทาให้เกิดความโปร่งใส คล่องตัว ตรงตามความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครองและครู มีการจัดทาบัญชีการเงินอย่างเป็นระบบ ทาให้สะดวก ตอ่ การคน้ หาและตรวจสอบได้ มกี ารระดมทรพั ยากรเพ่ือใชใ้ นการบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๒.๕ ปัจจัยด้านวัสดุอุปกรณ์ มีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน คือ การสารวจความต้องการวัสดุ อุปกรณ์อย่างมีระบบส่งผลให้ครูผู้สอนได้รับวัสดุอุปกรณ์ตามท่ีต้องการอย่างมีคุณภาพ การจัดสถานท่ี แหล่งเรยี นรู้ ภายในสถานศกึ ษาท่พี ร้อมสาหรับจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเปน็ อยา่ งดี สว่ นที่เปน็ จุดออ่ น คือ วัสดุ ครุภัณฑ์ บางอย่างต้องใช้งบประมาณการซ่อมบารุง ดูแลรักษา เป็นจานวนมาก เช่น ระบบเครือข่าย สัญญาณอินเทอร์เน็ต เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง ทาให้ การดาเนนิ การต่างๆ ไมค่ ลอ่ งตวั เทา่ ท่คี วร ๒.๖ ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ มีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน คือ โรงเรียนมีการมอบอานาจ และหน้าท่ี ทาให้ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน มีการจัดทาแผนปฏิบัติการและโครงการประกอบการบริหารงาน ทงั้ ระยะสนั้ และระยะยาว ทาใหบ้ ุคลากรปฏบิ ัตงิ านได้ตรงตามเปา้ หมาย คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มีส่วนร่วมในการวางแผนการจดั การศกึ ษาทกุ ขั้นตอน ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ตามปัจจัยทั้ง ๖ ด้านข้างต้น สรุปได้ว่าโรงเรียน วัดมาบมะขาม มีจุดแขง็ มากกว่าจุดอ่อน กลา่ วคือ คุณภาพของนักเรียนซึง่ ถือว่าเปน็ ผลผลิตจากการให้บริการ โดยเฉลีย่ มีคุณภาพตามมาตรฐานนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ และผลการทดสอบระดบั ชาตอิ ยู่ในเกณฑ์ท่นี ่าพงึ พอใจ อัตราการสอบเข้าศึกษาต่อของนักเรียนในระดับท่ีสูงขึ้น ผู้ปกครองพึงพอใจ มีการบริหารและปฏิบัติงาน อย่างเป็นระบบ บุคลากร มีความสามารถเฉพาะด้าน การบริหารงบประมาณตรงตามความต้องการของ การจัดการศึกษา มีความ พร้อมในด้านวัสดุ อุปกรณ์ และสามารถระดมทุนทรัพยากรต่างๆ มาสนับสนุน กิจกรรมการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี แต่มีจุดอ่อนคือ จานวนประชากรวัยเรียนลดลง งบประมาณได้รับ การจัดสรรตามจานวนนกั เรยี น และ ครู อยู่ในชว่ งวัยใกล้เกษียณอายุราชการ ทาใหม้ ผี ลกระทบตอ่ การจัดเรียน การสอนพอสมควร ๓. กำรประเมนิ สถำนภำพของโรงเรยี นวัดมำบมะขำม จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของโรงเรียนวัดมาบมะขาม ที่ได้นาเสนอไป ในเบือ้ งต้นแลว้ น้นั กล่าวโดยสรุปวา่ โรงเรยี นวดั มาบมะขาม มปี จั จัยท่เี ปน็ โอกาสจากสภาพแวดลอ้ ม ภายนอก ทเ่ี อื้อตอ่ การดาเนนิ ภารกิจในการจัดการศึกษาของโรงเรียนได้เปน็ อย่างดี โดยเฉพาะการสง่ เสรมิ และสนับสนุน กิจกรรมต่างๆ จากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชนและองค์กรส่วนท้องถน่ิ ปจั จยั ทเ่ี ป็น อุปสรรค คอื การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสังคมและวัฒนธรรม ประชากรวัยเรยี นลดลง ผ้ปู กครองมีฐานะยากจน ครอบครวั หย่าร้าง สง่ ผลกระทบตอ่ การเรียนของนักเรยี น และผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน มีจดุ แข็ง มากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีการบริหารและปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพต่อการจัดการเรียนรู้ แต่มีจุดอ่อนคือ ข้าราชการครูส่วนใหญ่ อยใู่ นชว่ งวยั ใกล้เกษียณอายุ ดงั นั้นสถานภาพของโรงเรียนวดั มาบมะขาม จงึ อยู่ในลักษณะ “ ไม่เอื้อแตแ่ ข็ง ”

๑๐ ๔. ผลกำรวิเครำะหส์ ภำพแวดลอ้ ม/ SWOT โรงเรียนวัดมำบมะขำม จุดแข็ง ( strengths ) จดุ ออ่ น ( weakness ) -คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานมสี ว่ นร่วม -จานวนประชากรวยั เรยี นลดลงและ ผปู้ กครอง วางแผนการจดั การศึกษา บางส่วนมีค่านิยมในการส่งนักเรยี นไปเรียนโรงเรยี น - การบรหิ ารงาน กาหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย ยอดนิยม เปา้ หมาย และภารกิจที่ชัดเจน การปฏิบตั ิงานอย่าง - ความเจริญด้านเทคโนโลยี ทาใหพ้ ฤตกิ รรม เปน็ ระบบ ทางานเป็นหมู่คณะ คา่ นิยมในการใชเ้ ทคโนโลยีที่ ไมเ่ หมาะสม เชน่ - มอบอานาจหนา้ ท่ี ลดข้ันตอนการทางาน การเลน่ เกมออนไลน์ของนกั เรียนส่งผลตอ่ การเรยี น - ครมู คี วามรูค้ วามสามารถเฉพาะดา้ น เปน็ ครใู น - วสั ดุอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี ใช้งบประมาณซอ่ ม พ้ืนที่ บารุงและดูแลรักษา จานวนมาก - นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ และผลการทดสอบระดับชาติ - การใชเ้ ทคโนโลยีมากขึ้นทาให้คา่ ใช้จ่าย เป็นท่ีนา่ พอใจ ดา้ นสาธารณปู โภคสูง - มอี ัตราการสอบเข้าศกึ ษาตอ่ ท่ีดี ใหบ้ รกิ ารครอบคลุมทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย -ได้รับการสนับสนุนทง้ั จากทอ้ งถ่ินและชมุ ชน โอกำส ( opportunities ) อปุ สรรค ( threats ) - ผ้ปู กครองประกอบอาชีพหลากหลาย / มีภมู ิ - ผปู้ กครองสว่ นหนงึ่ มีอาชีพไมม่ ่ันคง ยา้ ยท่ีอยู่บอ่ ย ปญั ญาท้องถนิ่ และ แหลง่ เรียนรู้ที่ใชจ้ ดั การเรยี น ครอบครัวหยา่ รา้ ง สง่ ผลกระทบตอ่ การเรยี นของ การสอนเพียงพอ นักเรียนพอสมควร - นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา ทาให้ครมู กี ารพัฒนา - เสถยี รภาพทางเศรษฐกิจโดยรวมไมแ่ นน่ อน ตนเองและจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ี ผู้ปกครองมีฐานะยากจน หลากหลายมากข้นึ นกั เรยี นไดร้ ับการพฒั นาเต็ม - นโยบายการศกึ ษาเปล่ยี นแปลงบอ่ ย ตามศักยภาพ - คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผปู้ กครองให้ ความสาคญั พร้อมสนับสนุนการจดั การศกึ ษา

๑๑ ส่วนที่ ๓ ประมำณกำรรำยรบั รำยจำ่ ย ประจำปขี องโรงเรยี น เพื่อให้ทราบกรอบวงเงนิ ทจ่ี ะใชใ้ นการบริหารงบประมาณประจาปกี ารศกึ ษา ประมาณการรายรบั รายจา่ ย ดงั นี้ ๑. ประมาณการรายรบั จานวนเงิน(บาท) ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ๔๐,๘๐๐ รายการ ๑๒๒,๕๐๐ ๑.เงินงบประมาณโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๑.๑ ค่าจัดการเรียนการสอน(รายหัว) ๑.๑.๑ ระดับกอ่ นประถมศึกษา ๘๕๐ บาท / คน / ภาคเรียน ๑.๑.๒ ระดับประถมศกึ ษา ๙๕๐ บาท / คน / ภาคเรียน ๑.๒ อุปกรณ์การเรยี น ๔,๘๐๐ ๑.๒.๑ ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ๑๐๐ บาท / คน / ภาคเรยี น ๒๕,๑๕๕ ๑.๒.๒ ระดับประถมศึกษา ๑๙๕ บาท / คน / ภาคเรียน ๑.๓ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๐,๓๒๐ ๑.๓.๑ ระดับกอ่ นประถมศึกษา ๒๑๕ บาท / คน / ภาคเรียน ๓๐,๙๖๐ ๑.๓.๒ ระดับประถมศึกษา ๒๔๐ บาท / คน / ภาคเรียน ๑.๔ คา่ เคร่ืองแบบ ๑๔,๔๐๐ ๑.๔.๑ ระดบั กอ่ นประถมศึกษา ๓๐๐ บาท / คน / ปี ๔๖,๔๔๐ ๑.๔.๒ ระดับประถมศกึ ษา ๓๖๐ บาท / คน / ปี ๑.๕ ค่าหนังสอื เรยี น ๙,๖๐๐ ๘๘,๒๔๓ ๑.๔.๑ ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ๓๐๐ บาท / คน / ปี ๑.๔.๒ ระดับประถมศกึ ษา ๓๖๐ บาท / คน / ปี รวม ๓๙๓,๒๖๘

๑๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ จานวนเงิน(บาท) รายการ ๔๐,๘๐๐ ๑๒๒,๕๐๐ ๑.เงินงบประมาณโครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษาตง้ั แต่ ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ๑.๑ ค่าจดั การเรียนการสอน(รายหวั ) ๑.๑.๑ ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ๘๕๐ บาท / คน / ภาคเรียน ๑.๑.๒ ระดับประถมศกึ ษา ๙๕๐ บาท / คน / ภาคเรียน ๑.๒ อุปกรณ์การเรียน ๔,๘๐๐ ๒๕,๑๕๕ ๑.๒.๑ ระดบั กอ่ นประถมศึกษา ๑๐๐ บาท / คน / ภาคเรียน ๑.๒.๒ ระดบั ประถมศึกษา ๑๙๕ บาท / คน / ภาคเรยี น ๑.๓ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑๐,๓๒๐ ๑.๓.๑ ระดับกอ่ นประถมศึกษา ๒๑๕ บาท / คน / ภาคเรยี น ๓๐,๙๖๐ ๑.๓.๒ ระดบั ประถมศกึ ษา ๒๔๐ บาท / คน / ภาคเรยี น ๒๓๔,๕๘๕ รวม ๒. ประมาณการรายจ่ายปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ จาแนกได้จากเงินอุดหนุน(รายหัว) และกิจกรรมพฒั นา คณุ ภาพผู้เรียน ดงั นี้ ๒.๑ การพฒั นาการเรยี นการสอน(งานวิชาการ) จดั สรรไว้ ๒๒๐,๐๐๐ บาท จานวน ๖ โครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๑.๗๕ ๒.๒ การบรหิ ารงบประมาณ จัดสรรไว้ ๑๗,๒๖๐ บาท จานวน ๔ โครงการ คดิ เป็นร้อยละ ๔.๘๔ ๒.๓ การบริหารงานบุคคล จัดสรรไว้ ๓๖,๐๐๐ บาท จานวน ๒ โครงการ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐.๐ ๒.๔ การบรหิ ารทัว่ ไป จัดสรรไว้ ๔๓,๐๐๐ บาท จานวน ๑๐ โครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๒.๐๗ ๒.๕ โครงการเร่งด่วนพิเศษ จัดสรรไว้ ๔๐,๐๐๐ บาท จานวน ๑ โครงการ คิดเปน็ ร้อยละ ๑๑.๒๓ ๒.๖ คา่ สาธารณปู โภค จัดสรรไว้ ๕๓,๐๐๐ บาท จานวน ๑ โครงการ

๑๓ ส่วนที่ ๔ รำยละเอียดของโครงกำร / กจิ กรรมและควำมสอดคลอ้ ง การแสดงรายละเอยี ดของโครงการ / กิจกรรมที่โรงเรียนไดด้ าเนินการมีความสมั พันธ์ สอดคลอ้ งกับ กลยทุ ธ์ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน รวมทั้งสอดคล้องกับ การคานวณต้นทุนผลผลิตของโรงเรียน ดังตาราง สำระสำคญั ของแผนงำนและโครงกำร แผนงำน บรหิ ำรวิชำกำร เป้าประสงค์ / วตั ถปุ ระสงค์ ตวั ชว้ี ดั ผลสาเรจ็ ๑. ผูเ้ รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน ๑. รอ้ ยละของผูเ้ รียนทมี่ คี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคิดคานวณตามเกณฑ์ ๒. ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนา ระดบั ชัน้ ในระดับดีขน้ึ ไป และจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ๒. รอ้ ยละของผ้เู รียนทมี่ คี วามสามารถในการ ๓. ครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้ส่ือ เทคโนโลยี คดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปราย สารสนเทศและนวัตกรรมในการจดั การเรยี นรู้ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หาในระดบั ดี ข้นึ ไป ๓. ร้อยละของผู้เรยี นที่มีความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในระดบั ดี ข้นึ ไป ๔. รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี ีความกา้ วหนา้ ทาง การเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาในระดบั ดขี น้ึ ไป ๕. ร้อยละของผ้เู รยี นท่มี ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น และพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ ระดบั ดีขนึ้ ไป ๑. รอ้ ยละของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทไ่ี ด้รบั การพฒั นา ๒. ร้อยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ท่จี ดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ๓. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมในการจัดการ เรียนการสอน

๑๔ ๑. โครงกำร/กจิ กรรม แผนงำน บรหิ ำรวิชำกำร โครงการ ตัวช้ีวดั ผลสาเรจ็ ผรู้ ับผดิ ชอบ งบประมาณ ๑. โครงการประกนั คณุ ภาพภายใน ๑. ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีมคี ุณภาพ ครแู ละ พิจารณา สถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน บคุ ลากร จัดสรรตาม - การนเิ ทศภายใน ในระดบั ดีขนึ้ ไป ตามคาสงั่ รายละเอยี ด - การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ๒. ร้อยละของการประเมนิ คุณภาพมาตรฐาน มอบหมาย ของการจดั - การผลติ ส่อื นวัตกรรม งานวิจยั การศกึ ษาของสถานศึกษา - การประเมนิ คุณภาพภายใน ในระดับดีขน้ึ ไป กิจกรรม - รายงานการประเมินตนเองของ ท่ีเสนอ สถานศกึ ษา ๑. ร้อยละของผู้เรียนทม่ี คี วามสามารถในการ ครแู ละ พจิ ารณา ๒. โครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพผู้เรียน จัดสรรตาม - นิทรรศการวชิ าการ อา่ น การเขียน การสื่อสารและการคดิ คานวณ บุคลากร รายละเอียด - การเข้ารว่ มแขง่ ขนั วชิ าการ - การอ่านคิดวิเคราะหแ์ ละเขียน ตามเกณฑ์ระดับชัน้ ในระดบั ดขี ึน้ ไป ตามคาส่ัง ของการจดั - กจิ กรรมส่งเสริมการใช้ ICT กจิ กรรม - กิจกรรมวันอาเซยี น ๒. รอ้ ยละของผู้เรียนทม่ี คี วามสามารถในการ มอบหมาย - กิจกรรมทศั นศึกษาเพอ่ื ปัญญา ทเ่ี สนอ - กจิ กรรมยกระดับผลสมั ฤทธิ์ คดิ วิเคราะห์ - กจิ กรรมการวดั ประเมินผล - กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น - กจิ กรรมประชาธิปไตย - กิจกรรมชมุ นมุ และสาธารณะประโยชน์ ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหาในระดับดขี นึ้ ไป - กิจกรรมกีฬาและนนั ทนาการ - กจิ กรรมเวทคี นเกง่ ๓. ร้อยละของผูเ้ รียนที่มคี วามสามารถในการใช้ - กิจกรรมการปฐมนิเทศ - กิจกรรมการปัจฉิมนเิ ทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในระดับดี ๓. โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กพิเศษ ขนึ้ ไป เรยี นร่วม - การประเมนิ /วเิ คราะห์ผู้เรยี น ๔. รอ้ ยละของผเู้ รยี นทมี่ ีความก้าวหน้าทางการ - แผนการศกึ ษาเฉพาะบุคคล - การอ่านหนงั สือให้เด็กฟงั เรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาในระดบั ดขี ึน้ ไป - กจิ กรรมค่ายเด็กพิเศษ ๕. รอ้ ยละของผเู้ รียนทม่ี ผี ลสมั ฤทธิท์ างการ ๔. โครงการพัฒนาการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวยั เรยี นและพฒั นาการจากผลการสอบวัด - บ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย - คา่ ยภาษาอังกฤษปฐมวยั ระดบั ชาติระดับดขี น้ึ ไป - กิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการ - กิจกรรมครูผพู้ ัฒนา ๑. ร้อยละของพฒั นาการเดก็ พิเศษเรียนรว่ ม ครแู ละ พจิ ารณา ต้ังแต่ระดับดขี ้นึ ไป บคุ ลากร จดั สรรตาม ๒. รอ้ ยละของความพึงพอใจต่อการจดั ตามคาสั่ง รายละเอียด การศกึ ษาของผปู้ กครองในระดับดขี ้นึ ไป มอบหมาย ของการจดั กจิ กรรม ๑. ร้อยละของพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ตาม ครูและ มาตรฐานการศึกษาในระดับดีข้ึนไป บคุ ลากร ที่เสนอ ๒. รอ้ ยละของความพึงพอใจของผปู้ กครองต่อ ตามคาสง่ั การจัดการศึกษาในระดบั ดีขน้ึ ไป มอบหมาย พจิ ารณา จดั สรรตาม รายละเอียด ของการจัด กิจกรรม ที่เสนอ

๑๕ โครงการ ตัวชว้ี ดั ผลสาเรจ็ ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ๕. หอ้ งสมุดโรงเรยี น ๑. รอ้ ยละของการมีสว่ นรว่ มในกิจกรรม - กจิ กรรมหอ้ งสมดุ มชี ีวติ ห้องสมุดในระดบั ดขี น้ึ ไป ครูและ พิจารณา - กิจกรรมห้องสมดุ เคลือ่ นที่ ๒. สถติ ิการใช้ห้องสมุดของนกั เรียน บุคลากร จดั สรรตาม - กิจกรรมโสตทัศนศึกษา ตามคาส่งั รายละเอยี ด - กจิ กรรมสบื คน้ ICT ๑. รอ้ ยละของการมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมการ มอบหมาย ของการจัด เรียนการสอนของผู้ปกครองในระดบั ดีข้ึนไป ๖. การจัดการเรียนการสอนใน ๒. ร้อยละของความพึงพอใจของผูป้ กครองตอ่ กิจกรรม สถานการณ์การแพร่เชื้อไวรัสโคโรนา การจดั การศกึ ษาในระดับดขี ้นึ ไป ทเี่ สนอ ๒๐๑๙ ครแู ละ พจิ ารณา บคุ ลากร จัดสรรตาม ตามคาส่ัง รายละเอียด มอบหมาย ของการจดั กิจกรรม ทเ่ี สนอ

๑๖ สำระสำคญั ของแผนงำนและโครงกำร แผนงำน บริหำรท่วั ไป เปา้ ประสงค์ / วัตถุประสงค์ ตวั ช้วี ัดผลสาเรจ็ ๑. ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรมจริยธรรมและคณุ ลักษณะ ๑. ร้อยละของผู้เรียนทพ่ี ฒั นาตนเองใหม้ คี ณุ ธรรม อันพึงประสงค์ ได้รบั การพฒั นาอยา่ งเหมาะสม จรยิ ธรรม ตามเกณฑท์ ่ีโรงเรยี นกาหนดในระดบั ตามศักยภาพ ดีขึน้ ไป ๓. รอ้ ยละของผ้เู รยี นต่อการมีสว่ นรว่ มในกิจกรรม ตา่ งๆของโรงเรียนในระดับดขี ึ้นไป ๔. รอ้ ยละของผเู้ รียนที่มีความภูมิใจในทอ้ งถิ่น และความเป็นไทยในระดับดขี ้นึ ไป ๕. ร้อยละของผเู้ รียนทม่ี ีสขุ อนามัยในระดบั ดขี ้นึ ไป ๒. ผ้เู รยี นนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. รอ้ ยละของผเู้ รยี นในการนาหลักปรชั ญาของ ไปใช้ได้จริงและไดร้ บั การดูแลช่วยเหลอื เศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ ในระดบั ดขี น้ึ ไป ๒. รอ้ ยละของการมีสว่ นรว่ มในโครงการและ กจิ กรรมของผู้เรียนและผู้มีส่วนเก่ยี วข้อง ๓. ร้อยละของผเู้ รียนท่ไี ด้รบั การดแู ลช่วยเหลือ ตามระบบในระดับดขี น้ึ ไป ๔. ร้อยละของผเู้ รยี นทีไ่ ดร้ บั ทนุ การศึกษา พัฒนาชีวติ ๓. การบริหารจัดการศึกษาเป็นไปตามระเบยี บ ๑. ร้อยละของความสาเรจ็ ของโครงการ กจิ กรรม แบบแผน มคี ุณธรรม โปรง่ ใส มีส่วนร่วม รับผดิ ชอบ ตามแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและ และค้มุ ค่า แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีในระดบั ดีข้นึ ไป ๒. ร้อยละของการมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาของ ผู้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง ๓. รอ้ ยละของความพึงพอใจต่อการบริหาร จดั การศึกษาของผมู้ ีสว่ นเก่ียวขอ้ ง ๔. ชมุ ชนและองคก์ รตา่ งๆทกุ ภาคสว่ น มีส่วนรว่ มใน ๑. รอ้ ยละของการมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาของ การจดั การศึกษา ผูม้ ีส่วนเกย่ี วข้อง ๒. ร้อยละของความพงึ พอใจต่อการบริหาร จดั การศกึ ษาของผู้มีส่วนเกีย่ วข้อง

๑๗ ๒. โครงกำร/กจิ กรรม แผนงำน บรหิ ำรทัว่ ไป โครงการ ตัวชีว้ ดั ผลสาเร็จ ผูร้ ับผิดชอบ งบประมาณ ๑. โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ ๑. ร้อยละของผู้เรยี นทพ่ี ัฒนาตนเองใหม้ ี ครูและ พิจารณา - กิจกรรมโรงเรยี นวิถีพุทธ คุณธรรมจรยิ ธรรม ตามเกณฑท์ ีโ่ รงเรยี น บุคลากร จดั สรรตาม - กจิ กรรมคา่ ยคุณธรรม กาหนดในระดบั ดีข้นึ ไป ตามคาสั่ง รายละเอียด - กจิ กรรมห้องเรยี น/สถานศกึ ษา สีขาว ๓. รอ้ ยละของผู้เรยี นตอ่ การมีส่วนร่วมใน มอบหมาย ของการจัด - กิจกรรมวันสาคัญ กจิ กรรมตา่ งๆของโรงเรียนในระดบั ดขี นึ้ ไป - กจิ กรรมการออมวันละบาทสร้างชาติ ๔. รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีมีความภูมใิ จในทอ้ งถ่ิน กิจกรรม สรา้ งอนาคต และความเป็นไทยในระดบั ดีข้ึนไป ทีเ่ สนอ - กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี - กจิ กรรมสหกรณ์รา้ นค้า ๑. ร้อยละของผู้เรียนที่มสี ขุ อนามัย ครแู ละ พิจารณา - กจิ กรรมสอบธรรมศกึ ษา ในระดบั ดีข้นึ ไป บุคลากร จัดสรรตาม ๒. โครงการสขุ ภาพดีมสี ุข รายละเอยี ด - กจิ กรรมประกนั อบุ ตั ิเหตุ ตามคาสั่ง ของการจดั - กจิ กรรมสขุ อนามยั มอบหมาย กจิ กรรม - กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ ทีเ่ สนอ - กจิ กรรมอาหารเสริม(นม) ๑. รอ้ ยละของการไดร้ ับประทานอาหาร ครูและ พิจารณา จัดสรรตาม ๓. โครงการอาหารกลางวันสะอาดดมี ี กลางวนั ครบทกุ คน บุคลากร รายละเอียด คณุ ภาพ ของการจดั - การจดั การอาหารกลางวนั ๒. ร้อยละของผ้เู รียน มีสุขภาพสมบูรณ์แขง็ แรง ตามคาสั่ง กจิ กรรม - การปรบั ปรุงสถานทร่ี บั ประทานอาหาร ทเี่ สนอ และมีภูมิตา้ นทานโรค ในระดบั ดขี ึ้นไป มอบหมาย พจิ ารณา ๔. โครงการการเรียนรหู้ ลักปรัชญาของ จัดสรรตาม เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓. ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เกย่ี วขอ้ ง รายละเอยี ด - ศาสตร์พระราชา ของการจดั - โรงเรยี นปลอดขยะ/ธนาคารขยะ ในระดบั ดขี ้ึนไป กิจกรรม ที่เสนอ ๕. โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ ๑. ร้อยละของการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ ครแู ละ นักเรยี น พิจารณา - กิจกรรมการเยีย่ มบ้านนกั เรยี น หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บคุ ลากร จัดสรรตาม - กจิ กรรมระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น รายละเอียด ๒. รอ้ ยละของนกั เรียนทใี่ ช้หลักปรชั ญาของ ตามคาส่งั ของการจัด กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ มอบหมาย ท่เี สนอ ชีวติ ๓. รอ้ ยละของความพึงพอใจของผ้เู ก่ยี วข้อง ทม่ี ตี ่อการจดั การศกึ ษา ๑. รอ้ ยละของผเู้ รียนทไ่ี ดร้ ับการดูแลชว่ ยเหลือ ครแู ละ ๒. รอ้ ยละของความพงึ พอใจของผ้มู สี ่วน บุคลากร เกย่ี วข้องที่มีต่อการจดั การศกึ ษา ตามคาส่งั มอบหมาย

๑๘ โครงการ ตัวชี้วัดผลสาเร็จ ผ้รู ับผิดชอบ งบประมาณ ๖. โครงการจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพ ๑. ร้อยละของการมีสว่ นร่วมในการจดั ทา ครแู ละ พจิ ารณา การศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา บุคลากร จดั สรรตาม - การจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๒. รอ้ ยละของการนาแผนปฏบิ ตั กิ ารไป ตามคาสั่ง รายละเอยี ด - การจัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี ดาเนินงานในระดบั ดีข้นึ ไป มอบหมาย ของการจัด กิจกรรม ทเ่ี สนอ ๗. โครงการพฒั นาอาคารสถานที่ ๑. ร้อยละของการปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอาคาร ครแู ละ พิจารณา - ปรับปรงุ /ซ่อมแซมระบบไฟฟา้ และ เรียน อาคารประกอบ และภูมทิ ศั น์ให้เรยี บรอ้ ย บคุ ลากร จัดสรรตาม ประปา สวยงามมีความปลอดภยั ตามคาส่ัง รายละเอยี ด - ปรบั ปรุง/ซอ่ มแซมอาคารเรยี น/อาคาร มอบหมาย ของการจดั ประกอบ/ ปรับปรุงภมู ิทัศน์ กิจกรรม - ห้องเรียนน่าอยู่/เขตรับผิดชอบสะอาด ท่เี สนอ ๘. โครงการบริหารจดั การศกึ ษาแบบ ๑. ร้อยละของความพึงพอใจของผู้มีส่วน ครูและ พิจารณา มีส่วนรว่ ม เกี่ยวขอ้ งที่มีตอ่ การจัดการศึกษา บคุ ลากร จัดสรรตาม - การจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ตามคาสั่ง รายละเอยี ด - การจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี มอบหมาย ของการจดั - การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา กจิ กรรม - การประชุมคณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย ที่เสนอ - การประชุมผู้ปกครองนกั เรียน ๙. โครงการระดมทรพั ยากรเพ่อื พฒั นา ๑. รอ้ ยละของความพึงพอใจของผมู้ ีสว่ น ครูและ พิจารณา การศกึ ษา เกย่ี วขอ้ งทีม่ ีต่อการจัดการศึกษา บุคลากร จดั สรรตาม - การจดั หา ระดมทรัพยากร ตามคาสั่ง รายละเอียด มอบหมาย ของการจดั กิจกรรม ทเ่ี สนอ ๑๐. โครงการสานสัมพันธช์ ุมชน ๑. ร้อยละของความพึงพอใจของผมู้ ีสว่ น ครูและ พจิ ารณา - การสานความสมั พันธ์กับชุมชนุ เกีย่ วขอ้ งทม่ี ตี อ่ การจัดการศกึ ษา บุคลากร จดั สรรตาม - วารสาร/เวบ็ ไซต์ เพื่อการประชาสัมพนั ธ์ ตามคาส่งั รายละเอียด มอบหมาย ของการจัด กิจกรรม ท่เี สนอ

๑๙ สำระสำคัญของแผนงำนและโครงกำร แผนงำน บรหิ ำรงำนบุคคล เป้าประสงค์ / วัตถปุ ระสงค์ ตวั ชว้ี ัดผลสาเรจ็ ๑. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนา และจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ๑. รอ้ ยละของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทีไ่ ดร้ ับการพัฒนา ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้สื่อ เทคโนโลยี ๒. รอ้ ยละของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา สารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ที่จัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ๑. รอ้ ยละของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาที่ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจดั การ เรยี นการสอน ๓. โครงกำร/กจิ กรรม แผนงำน บรหิ ำรงำนบุคคล โครงการ ตัวชวี้ ัดผลสาเร็จ ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ๑. โครงการพฒั นาบคุ ลากร - ประชมุ อบรม สมั มนา ๑. ร้อยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ที่ ครูและ พจิ ารณา - ศกึ ษาดูงานแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ - ทะเบยี นประวัติ ได้รับการพฒั นา บคุ ลากร จดั สรรตาม - ความดีความชอบ - เครอื่ งราชย์อสิ รยิ าภรณ์ ๒. ร้อยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ ตามคาส่งั รายละเอียด ๒. โครงการจดั หาบุคลากรเพื่อสง่ เสรมิ จัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั มอบหมาย ของการจดั การจดั การศึกษา - วิทยากรภูมิปัญญาท้องถ่นิ ๓. ร้อยละของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ี กิจกรรม - จัดหาครูและบุคลากรในสาขาท่ี ขาดแคลน ( ปฐมวัย/คณติ ศาสตร/์ ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมใน ทเ่ี สนอ วทิ ยาศาสตร์ ) การจัดการเรยี นการสอน ๑. รอ้ ยละของการจดั หาครแู ละบุคลากรใน ครูและ พจิ ารณา สาขาทข่ี าดแคลน บุคลากร จดั สรรตาม ๒. รอ้ ยละของความพึงพอใจในการจดั การเรียน ตามคาส่ัง รายละเอียด การสอนของครูในสาขาที่ขาดแคลนต้งั แต่ มอบหมาย ของการจัด ระดบั ดีข้ึนไป กจิ กรรม ท่เี สนอ

๒๐ สำระสำคญั ของแผนงำนและโครงกำร แผนงำน บริหำรงบประมำณ เป้าประสงค์ / วัตถุประสงค์ ตวั ช้ีวดั ผลสาเรจ็ ๑. จดั สรร ควบคุมตรวจสอบ การใชจ้ า่ ยงบประมาณ ๑. รอ้ ยละของการจดั สรรงบประมาณตามแผนงาน ได้ถกู ต้อง ตรงตามวัตถุประสงคแ์ ละลาดับ โครงการ ความสาคัญ ๒. ร้อยละของการตรวจสอบการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ ๓. รายงานการใชง้ บประมาณ ๒. บริหารทรพั ยากร พสั ดุ ครภุ ัณฑไ์ ด้ถูกตอ้ ง ๑. รอ้ ยละของการลงทะเบยี น บนั ทกึ รายงานพสั ดุ ตามระเบยี บและงบประมาณทีก่ าหนด ครภุ ัณฑป์ ระจาปีถกู ต้องเปน็ ปัจจุบัน ตรวจสอบได้ ๔. โครงกำร/กจิ กรรม แผนงำน บริหำรงบประมำณ โครงการ ตวั ชวี้ ดั ผลสาเร็จ ผรู้ บั ผิดชอบ งบประมาณ ๑. โครงการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ย ประจาปี ๑. รอ้ ยละของการจดั สรร ควบคมุ ตรวจสอบ ครแู ละ พจิ ารณา - การจัดสรรงบประมาณประจาปี จดั สรรตาม - การตรวจสอบการใช้งบประมาณ การใชจ้ า่ ยงบประมาณไดถ้ ูกต้อง ตรงตาม บคุ ลากร รายละเอยี ด - การรายงานการใชง้ บประมาณ ของการจดั แผนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา วัตถุประสงค์ ตามคาสั่ง กจิ กรรม ๒. โครงการจัดหา-จัดซอื้ ครุภัณฑ์ ทเ่ี สนอ การศกึ ษา และลาดบั ความสาคญั มอบหมาย - กิจกรรมการจัดหา ตรวจสอบ พจิ ารณา ลงทะเบียน บารุงรกั ษา จาหนา่ ย ๑. รอ้ ยละของการบริหารทรัพยากร พสั ดุ ครแู ละ จัดสรรตาม รายละเอยี ด ๓. โครงการการดแู ลรักษาระบบ ครุภัณฑไ์ ดถ้ กู ต้องตามระเบยี บและงบประมาณ บุคลากร ของการจัด สาธารณปู โภค กิจกรรม - ค่าใช้จ่ายสาธารณปู โภค/ ไฟฟ้า ประปา ทกี่ าหนด ตามคาสั่ง ทเ่ี สนอ โทรศัพท์ เชื้อเพลงิ ๒. รอ้ ยละของการลงทะเบยี น บันทกึ รายงาน มอบหมาย พจิ ารณา ๔. โครงการทนุ การศกึ ษาพัฒนาชวี ิต จัดสรรตาม - กจิ กรรมการจดั หาและ พัสดุ ครุภณั ฑ์ประจาปี รายละเอียด มอบทุนการศกึ ษา ของการจัด ถูกตอ้ งเป็นปัจจุบนั ตรวจสอบได กิจกรรม ที่เสนอ ๑.รอ้ ยละของการดาเนินการจา่ ย ครูและ พิจารณา ค่าสาธารณปู โภค บุคลากร จัดสรรตาม รายละเอยี ด ตามคาสง่ั ของการจัด กจิ กรรม มอบหมาย ทเ่ี สนอ ๑.ร้อยละของผเู้ รยี นทไี่ ดร้ บั ทนุ การศกึ ษา ครแู ละ บคุ ลากร ตามคาสงั่ มอบหมาย

๒๑ โครงการ ตัวชีว้ ัดผลสาเรจ็ ผรู้ บั ผิดชอบ งบประมาณ ๕. โครงการเรียนดเี รยี นฟรีอย่างมคี ุณภาพ ๑. ร้อยละของการจดั สรร ควบคมุ ตรวจสอบ ครแู ละ พจิ ารณา ๑๕ ปี การใช้จ่ายงบประมาณได้ถูกต้อง ตรงตาม บคุ ลากร จดั สรรตาม - กิจกรรมเบกิ จา่ ยคา่ เครือ่ งแบบนักเรยี น แผนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา วัตถุประสงค์ ตามคาสง่ั รายละเอียด - กิจกรรมเบิกจ่ายคา่ อุปกรณก์ ารเรียน และลาดบั ความสาคญั มอบหมาย ของการจดั - กจิ กรรมเบกิ จ่ายคา่ หนงั สือเรยี น กิจกรรม ทเ่ี สนอ ๖. โครงการตามนโยบายเร่งด่วนพเิ ศษ ๑. ร้อยละของการดาเนินโครงกร มโี ครงการ ครูและ พจิ ารณา กิจกรรมพิเศษเพือ่ ตอบสนองนโยบายเรง่ ดว่ น บุคลากร จดั สรรตาม ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ทม่ี เี ปา้ หมาย ตามคาสง่ั รายละเอียด ของแตล่ ะกิจกรรม มอบหมาย ของการจัด กจิ กรรม ท่เี สนอ

๒๒ กรอบกำรดำเนินงำนตำมแผนพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำและแผนปฏบิ ัตกิ ำร ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ผ้รู ับผิดชอบ จัดสรร แหล่งงบประมาณ งบประมาณ แผนงานวชิ าการ ๑. โครงการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ครอู รอนงค์ ๕,๔๔๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - การนิเทศภายใน ครอู รอนงค์ ๑,๐๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน - การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา ๑,๐๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - การผลิตสอ่ื นวัตกรรม งานวิจยั ครสู มุ ารยี ์ ๑,๔๔๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน - การประเมนิ คณุ ภาพภายใน ครสู มพิศ ๑,๐๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน - รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ครูสาเภา ๑,๐๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน ๒. โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพผ้เู รียน ครูอรอนงค์ ๑๐๒,๐๐๐ - กิจกรรมนทิ รรศการวชิ าการ ๓,๐๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กิจกรรมการเขา้ ร่วมแขง่ ขนั วชิ าการ ๕,๐๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน - กจิ กรรมสง่ เสรมิ การใช้ ICT ๑,๐๐๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น - กิจกรรมวนั อาเซียน ๒๐,๐๐๐ คา่ จดั การเรียนการสอน - กิจกรรมทศั นศึกษาเพ่ือปญั ญา ๓๐,๐๐๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน - กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ ๑๐,๐๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมการวดั ประเมินผล ๑,๕๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กิจกรรมกฬี าและนันทนาการ ๒๐,๐๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมประชาธิปไตย/สภานักเรยี น - กจิ กรรมชุมนมุ และสาธารณะประโยชน์ ๕๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - กจิ กรรมเวทคี นเก่ง ๒,๐๐๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น - กิจกรรมการปฐมนิเทศ/ประชมุ ผ้ปู กครอง ๒,๐๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - กจิ กรรมการปจั ฉิมนเิ ทศ ๒,๐๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน ๓. โครงการพฒั นาศกั ยภาพเด็กพิเศษเรียนรว่ ม ๕,๐๐๐ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น - กจิ กรรมการคดั กรองผ้เู รยี น ๒,๐๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน - กจิ กรรมจดั ทาแผนการศกึ ษาเฉพาะบุคคล(IEP) - กจิ กรรมค่ายเด็กพเิ ศษ ๕๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน ๔. โครงการพฒั นาการจัดประสบการณร์ ะดับปฐมวัย ๕๐๐ คา่ จดั การเรยี นการสอน - กจิ กรรมบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย ๑,๐๐๐ คา่ จดั การเรยี นการสอน - กิจกรรมคา่ ยภาษาอังกฤษปฐมวัย ๓๖,๐๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กิจกรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการ ๒,๐๐๐ ค่าจัดการเรียนการสอน - กิจกรรมครูผพู้ ฒั นา ๒,๐๐๐ คา่ จดั การเรียนการสอน ๕. ห้องสมดุ โรงเรียน ๓๐,๐๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมหอ้ งสมดุ มชี ีวติ ๒,๐๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - กิจกรรมห้องสมดุ เคล่ือนท่ี ๓๐,๐๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน ๕. การจดั การเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพรเ่ ชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐,๐๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน ๒๐๑๙ (COVID-19) ๑๐,๐๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน ๔๙,๕๖๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น

๒๓ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ผรู้ ับผิดชอบ จัดสรร แหล่งงบประมาณ งบประมาณ แผนงานบริหารทั่วไป ๑. โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ครูเทวญั ๒๒,๐๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน ประสงค์ - กิจกรรมโรงเรยี นวิถีพุทธ/ค่ายคุณธรรม/โรงเรยี นคณุ ธรรม ครสู าเภา ๕๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมโรงเรียนสจุ ริต ๕๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กิจกรรมโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล ครสู มพศิ ๕๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กิจกรรมวนั สาคัญ ครูสเุ มธ ๒๐,๐๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมการออมวันละบาท สรา้ งชาติ สร้างอนาคต - กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า -- - กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี -- - กิจกรรมสอบธรรมศึกษา ๕๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน ๒. โครงการสขุ ภาพดมี ีสขุ -- - กิจกรรมสง่ เสรมิ ความปลอดภัยและประกนั อุบตั ิเหตุ ๕๐๐ คา่ จดั การเรียนการสอน - กจิ กรรมสุขอนามัยโรงเรยี น -- - กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ๕๐๐ คา่ จดั การเรยี นการสอน - กจิ กรรมการด่มื นม -- ๓. โครงการอาหารกลางวันสะอาดดีมคี ณุ ภาพ -- - กจิ กรรมการจดั การอาหารกลางวนั ๔,๔๔๖ ค่าจดั การเรียนการสอน - กจิ กรรมการปรับปรงุ สถานท่รี ับประทานอาหาร ๕๐๐ ค่าจัดการเรียนการสอน ๔. โครงการการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓,๙๔๖ คา่ จัดการเรียนการสอน - กจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วยศาสตรพ์ ระราชา ๑,๐๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - กิจกรรมโรงเรยี นปลอดขยะ/ธนาคารขยะ(Zero waste ๕๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน school) ๕๐๐ คา่ จดั การเรยี นการสอน ๕. โครงการพัฒนาระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น - กิจกรรมระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ครเู ทวญั ๑,๐๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน - กิจกรรมห้องเรียน/สถานศกึ ษาสีขาว ครูมนตรี ๕๐๐ คา่ จดั การเรยี นการสอน ๖. โครงการจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ครเู ทวัญ ๕๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - กิจกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ครูมนตรี - กิจกรรมการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ครปู ญั ญาพล ๑,๐๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน ๗. โครงการพฒั นาอาคารสถานท่ี ๕๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กิจกรรมปรับปรุง/ซ่อมแซมระบบประปา/ไฟฟ้า ๕๐๐ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กิจกรรมปรับภมู ิทัศน/์ ซอ่ มแซมอาคารเรยี น/อาคารประกอบ - กิจกรรมห้องเรียนน่าอยู่/เขตรับผดิ ชอบสะอาด ๑๐,๕๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน ๘. โครงการบรหิ ารจดั การศึกษาแบบมีสว่ นรว่ ม ๒,๐๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน - กจิ กรรมการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ๘,๐๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - กจิ กรรมการประชมุ คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย - กิจกรรมการประชมุ ผปู้ กครองนกั เรียน ๕๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน ๙. โครงการระดมทรพั ยากรเพ่อื พฒั นาการศึกษา ๑,๐๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน - กิจกรรมระดมทรัพยากรเพ่ือพัฒนาการศกึ ษา - - ๑,๐๐๐ คา่ จดั การเรียนการสอน - -

๒๔ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ผรู้ ับผิดชอบ จดั สรร แหลง่ งบประมาณ งบประมาณ ๑๐. โครงการสานสัมพันธ์ชมุ ชน ครสู ุมารีย์ ๑,๕๕๔ คา่ จัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมการสานความสัมพันธ์กบั ชุมชนุ ๕๐๐ คา่ จดั การเรยี นการสอน - กจิ กรรมการจดั ทาวารสาร/เว็บไซต์ เพือ่ การประชาสัมพันธ์ ๑,๐๕๔ คา่ จดั การเรยี นการสอน แผนงานบรหิ ารงานบุคคล ๑. โครงการพัฒนาบคุ ลากร ครมู นตรี ๓๕,๐๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน - กิจกรรมประชมุ อบรม สัมมนา พฒั นาศักยภาพ ๕,๐๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมศกึ ษาดูงาน ๓๐,๐๐๐ ค่าจัดการเรียนการสอน - กิจกรรมจดั ทาทะเบยี นประวัติขา้ ราชการ -- - กิจกรรมประเมนิ ประสทิ ธภิ าพประสิทธผิ ลข้าราชการ -- ๒. โครงการจัดหาบุคลากรเพ่อื สง่ เสริมการจัดการศึกษา ครมู นตรี ๑,๐๐๐ คา่ จัดการเรียนการสอน - กจิ กรรมสรรหาและจัดการเรยี นร้วู ทิ ยากร/ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ๕๐๐ ค่าจดั การเรยี นการสอน - กจิ กรรมสรรหาบคุ ลากร / สาขาทขี่ าดแคลน (ปฐมวยั / ๕๐๐ ค่าจัดการเรียนการสอน คณติ ศาสตร/์ วิทยาศาสตร์ ) แผนงานบรหิ ารงบประมาณ ๑. โครงการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปี ครูปญั ญาพล ๔,๐๐๐ ค่าจัดการเรียนการสอน - กจิ กรรมการจดั สรรงบประมาณประจาปี ๑,๐๐๐ คา่ จดั การเรยี นการสอน - กิจกรรมการตรวจสอบการใชง้ บประมาณ ๒,๐๐๐ ค่าจดั การเรียนการสอน - กจิ กรรมการรายงานการใช้งบประมาณ ๒,๐๐๐ ค่าจัดการเรียนการสอน ๒. โครงการบริหารพัสดุครภุ ัณฑ์การศึกษา ครูปญั ญาพล ๑๓,๒๖๐ คา่ จดั การเรียนการสอน -กิจกรรมการจดั หา ตรวจสอบ ลงทะเบยี น บารงุ รักษา ๑๓,๒๖๐ ค่าจัดการเรียนการสอน จาหน่าย ๓. โครงการดูแลรกั ษาระบบสาธารณูปโภค ครปู ัญญาพล ๕๓,๐๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน - กจิ กรรมชาระคา่ ใช้จา่ ยสาธารณปู โภค/ ไฟฟา้ ประปา ๕๓,๐๐๐ คา่ จดั การเรียนการสอน โทรศัพท์ นา้ มันเชื้อเพลิง ๔. โครงการทุนการศกึ ษาพฒั นาชีวติ ครปู ัญญาพล - - กิจกรรมการจัดหาและมอบทุนการศึกษา - ๕. โครงการเรยี นดีเรียนฟรอี ย่างมคี ณุ ภาพ ๑๕ ปี ครูปญั ญาพล ๒๑๘,๕๙๓ * - กจิ กรรมเบกิ จา่ ยคา่ เครื่องแบบนกั เรยี น ๖๐,๘๔๐ คา่ เครื่องแบบนักเรียน - กจิ กรรมเบกิ จ่ายค่าอุปกรณก์ ารเรยี น ๕๙,๙๑๐ คา่ อุปกรณก์ ารเรียน - กิจกรรมเบกิ จา่ ยคา่ หนังสือเรียน ๙๗,๘๔๓ ค่าหนงั สอื เรยี น ๖. โครงการเรง่ ด่วนพิเศษ ผ้อู านวยการ ๔๐,๐๐๐ ค่าจัดการเรยี นการสอน รวมงบประมำณตำมโครงกำร ๖๒๗,๘๕๓

ภาคผนวก

โครงการ / กิจกรรม กล่มุ บริหารวิชาการ

ช่ือโครงการ ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา แผนงาน บริหารวิชาการ ผูร้ บั ผดิ ชอบ นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบา้ นโข้ง ระยะเวลาดาเนินการ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ขอ้ ที่ ๒ ............................................................................................................................................................................ ๑.หลกั การและเหตุผล เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวดท่ี ๖ มาตรฐาน และ การประกันคุณภาพทางการศึกษา และกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ เพื่อให้การบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียน ครูและนักเรียน มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนด ซ่ึงเป็นภาระหน้าที่หลักที่โรงเรียนต้องดาเนินการจัดให้มีการนิเทศ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การผลิตสื่อ นวตั กรรม งานวิจยั ตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมิน ตามหลักประกนั คณุ ภาพ ของเกณฑ์มาตรฐานการจดั การศึกษา และจดั ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อีกทง้ั เพอื่ เตรียมการสาหรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โรงเรียนวัดมาบมะขาม จึงจัดทาโครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดความมั่นใจ แกท่ กุ ฝา่ ยว่าการจัดการศกึ ษามคี ุณภาพและคงไวซ้ งึ่ มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อใหโ้ รงเรียน ครู นักเรยี นได้รบั การพฒั นาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ๒.๒ เพอ่ื ให้โรงเรียนมีคุณภาพได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและมาตรฐานการศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน ๒.๓ เพือ่ สรปุ และรายงานผลการบริหารจดั การศึกษาในรอบปกี ารศึกษาทงั้ เชิงประมาณและคณุ ภาพ ๒.๔ เพื่อใหค้ รูพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ใหต้ อบสนองต่อหลักสตู รสถานศกึ ษา และพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ ๒.๕ เพอ่ื พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้เหมาะสมกบั สภาพของผูเ้ รยี นและท้องถ่ิน ๒.๖ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ครมู ีความรู้ ความสามารถผลิตสอ่ื นวตั กรรมมาใช้พัฒนานกั เรยี นได้ ๒.๗ เพอ่ื สง่ เสรมิ คณะครูให้มีการวจิ ยั ทางการศึกษาเพอ่ื พัฒนานักเรยี นได้ ๒.๘ เพ่อื ใหม้ ีแบบบันทึก แบบประเมนิ พัฒนาการคณุ ภาพผู้เรยี นอย่างครอบคลมุ ๒.๙ เพอ่ื จดั หาแบบพิมพท์ ่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนดใหใ้ ช้สาหรับบนั ทึกพฒั นาการผู้เรยี น ๓. เปา้ หมาย ๓.๑ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ ๓.๑.๑ โรงเรยี นพฒั นามาตรฐานการศกึ ษาทุกมาตรฐานให้อยใู่ นระดับคุณภาพดขี นึ้ ไปทกุ มาตรฐาน ๓.๑.๒ ครู นักเรยี น ชมุ ชนมคี วามพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการในระดับมาก ไม่ตา่ กว่า ร้อยละ ๗๕ ๓.๑.๓ โรงเรยี นจัดทาสรุปและรายงานผลการบริหารจดั การศึกษาในรอบปีการศึกษา ทนั ตาม กาหนดเวลา ๓.๑.๔ ครูทุกคนได้รับการนเิ ทศอย่างต่อเนือ่ ง อย่างน้อย ๑ ครง้ั ตอ่ เดือน ๓.๑.๕ ครไู ด้รบั การนิเทศ นาข้อเสนอแนะไปปรับปรงุ และมผี ลการพัฒนาไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๓.๑.๖ มีการสรุปการใช้หลกั สูตรสถานศึกษาและข้อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรงุ ปกี ารศึกษาละ ๑ ครัง้ ๓.๑.๗ ครทู ุกคนมีวิจยั ทางการศึกษา อย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ เร่ือง ๓.๑.๘ ครผู ลิตสอื่ นวัตกรรม จานวน ๑ ชิน้ ต่อปี ๓.๑.๙ โรงเรียนมแี บบประเมนิ พฒั นาการคุณภาพผเู้ รียนอยา่ งครอบคลมุ ถึงผู้เรียนทกุ คน

๓.๑.๑๐ มีแบบพมิ พ์ที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด สาหรับนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ครบ ทุกคน ๓.๒ เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ ๓.๒.๑ โรงเรยี นพฒั นามาตรฐานการศึกษาทุกมาตรฐานให้อยใู่ นระดับคณุ ภาพดีขึน้ ไปทุกมาตรฐาน ๓.๒.๒ ครู นักเรียน ชุมชนมีความพงึ พอใจในการดาเนินงานตามโครงการในระดับมาก ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๗๕ ๓.๒.๓ โรงเรียนจดั ทาสรุปและรายงานผลการบริหารจัดการศึกษาในรอบปีการศึกษา ทันตาม กาหนดเวลา ๓.๒.๔ ครทู กุ คนได้รบั การนเิ ทศอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ๑ ครัง้ ต่อเดือน ๓.๒.๕ ครไู ด้รับการนเิ ทศ นาข้อเสนอแนะไปปรับปรุงและมีผลการพัฒนาไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ ๘๐ ๓.๒.๖ มีการสรุปการใช้หลักสตู รสถานศึกษาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรงุ ปีการศึกษาละ ๑ คร้งั ๓.๒.๗ ครูทุกคนมวี จิ ัยทางการศกึ ษา อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ เรอื่ ง ๓.๒.๘ ครผู ลิตส่อื นวัตกรรม จานวน ๑ ชิน้ ต่อปี ๓.๒.๙ โรงเรียนมแี บบประเมนิ พฒั นาการคุณภาพผเู้ รยี นอยา่ งครอบคลมุ ถึงผู้เรยี นทกุ คน ๓.๒.๑๐ มีแบบพิมพ์ทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด สาหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ครบ ทุกคน ๔. กจิ กรรม/ขั้นตอนการดาเนนิ งาน / รายละเอียดการใช้งบประมาณ ๕,๔๔๐ บาท กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ครอู รอนรงค์ ๑. เสนอโครงการ เม.ย.๒๕๖๓ ๒. ประชมุ คณะครู ชี้แจงโครงการ พ.ค.๒๕๖๓ ๓. แตง่ ต้งั ผู้รบั ผิดชอบโครงการ พ.ค.๒๕๖๓ ๔. ดาเนินการตามแผนงานโครงการ/กจิ กรรม ๑ พ.ค. ๖๒–๓๑ ม.ี ค. ๖๔ - ๔.๑ จัดให้มีการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ๑๖ พ.ค. ๖๓-๓๑ ม.ี ค. ๖๔ ๑,๐๐๐ ๑-๒๘ ก.พ. ๖๔ ๑,๐๐๐ ๔.๒ จดั กจิ กรรมนเิ ทศภายใน ๔.๓ พัฒนาหลักสตู รโดยครูผสู้ อนรายงานการใช้ ๑-๓๐ ก.พ ๖๔ ๑,๔๔๐ หลกั สูตร เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงและ ๑-๓๐ ก.พ. ๖๔ พัฒนาหลกั สูตรทง้ั ๘ สาระการเรยี นรู้ ๑๕-๓๑ พ.ค. ๖๓ ๔.๔ จัดกิจกรรมพฒั นานวัตกรรมเพือ่ ผลติ สอื่ / ๑๕-๓๑ พ.ค. ๖๓ นวตั กรรม คนละ ๑ ช้นิ /ปีการศึกษา ๑- ๓๐ ธ.ค. ๖๓ ๔.๕ จัดทาวิจยั ทางการศึกษา ๑ เร่อื ง / ภาคเรยี น ๑- ๓๐ ธ.ค. ๖๓ ๔.๖ จัดทา/จดั หา เอกสารทางการศึกษา ๑) แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ปพ. ๕ รายวชิ า, ประจาชน้ั , กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๒) แบบรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น รายบคุ คล (ปพ.๖) ๓) แบบพมิ พ์ระเบยี นแสดงผลการเรยี น หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (ปพ.๑) ๔) แบบพมิ พ์ประกาศนยี บตั รหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (ปพ.๒ ป.)

๕) แบบพิมพ์รายงานผสู้ าเร็จการศกึ ษาตาม ๑- ๓๐ ธ.ค. ๖๓ ๑,๐๐๐ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (ปพ.๓ ป.) ๑-๓๑ มี.ค. ๖๔ ๑,๐๐๐ ๑-๓๑ มี.ค. ๖๔ ๖) แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค/์ แบบประเมินการอา่ นฯ/สมรรถนะสาคัญ ๕. สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ ๕.๑ สรุปและรายงานผลการดาเนนิ กิจกรรม ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๕.๒ สรุปและรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมจัดทา รายงานประจาปีฯ หมายเหตุ คา่ ใชจ้ ่ายทกุ รายการสามารถถวั จ่ายได้ภายในวงเงนิ งบประมาณที่ได้รบั อนุมัติ ๕. การประเมินผล(ตวั ช้วี ัด) สิ่งทีป่ ระเมนิ วิธกี าร เครอ่ื งมือ ๑. ผู้บริหาร คณะครู และนักเรยี นมีคุณภาพ - ประเมนิ คุณภาพการศึกษา - แบบประเมินคุณภาพการศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประจาปี ประจาปี ๒. โรงเรียนมรคณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน การศึกษาในระดับดีขนึ้ ไป - ประเมนิ ความพงึ พอใจ - แบบประเมินความพงึ พอใจ ๓. ผมู้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งมคี วามพึงพอใจในการ - ตรวจสอบ - เอกสารประกอบการนเิ ทศ ดาเนนิ โครงการ ๔. ดาเนินการนเิ ทศภายใน - ตรวจสอบจานวนหลักสตู รสาระ - บันทึกการส่งเอกสาร - จดั ทาเครือ่ งมอื , เอกสารประกอบกรนิเทศ - ดาเนนิ การนเิ ทศตามปฏิทิน การเรียนรู้ ๕. โรงเรยี นมหี ลักสูตรที่มีการปรบั ปรุง เสนอแนะครบทงั้ ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ - ตรวจสอบสอ่ื /วจิ ัยทาง - บันทกึ การสง่ สื่อ/วิจัยทาง ๖. ร้อยละของครูท่ีผลติ สอ่ื /นวตั กรรมและวจิ ัย ทางการศึกษา การศกึ ษา การศกึ ษา ๗. โรงเรยี นมีเอกสารทางการศกึ ษาครบถว้ น ๘. ร้อยละของผเู้ กย่ี วขอ้ งที่มคี วามพึงพอใจใน - ตรวจสอบจานวนเอกสารฯ - บัญชีลงทะเบยี น การดาเนินงานตามโครงการฯ - สอบถามความพงึ พอใจ - แบบประเมินความพึงพอใจ ๖. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ ๖.๑. โรงเรยี นมีคณุ ภาพได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และมาตรฐานการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๖.๒. โรงเรยี นมคี วามพรอ้ มในการรองรับการตรวจสอบและประเมินจากองคก์ รตา่ ง ๆ ๖.๓. โรงเรียนรบั ทราบผลบริหารจดั การศึกษาท่ีตรงประเดน็ ๖.๔. โรงเรยี นสามารถนาผลจากการรายงานมาวเิ คราะหป์ ัญหาและหาแนวทางการปรับปรงุ และพัฒนาการ บริหารจดั การศกึ ษาอย่างเป็นรปู ธรรม ๖.๕. โรงเรยี นมีหลกั สูตรสถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ ปจั จบุ ันและพร้อมใชง้ าน ๖.๖. ครูผ้สู อนสามารถใช้หลักสตู รไดต้ ามความเหมาะสมกบั นักเรียนและบรบิ ทของสถานศกึ ษา

๖.๗. นักเรยี นมีสือ่ นวัตกรรมสาหรบั ใช้ประกอบการเรยี น ๖.๘. นกั เรยี นได้รบั ประโยชน์จากวจิ ยั ทางการศึกษา ๖.๙. โรงเรียนมีแบบบนั ทกึ พฒั นาการของผู้เรยี นครบถ้วน ๖.๑๐ โรงเรียนมีการจัดระบบการบนั ทึก การรายงานและส่งต่อข้อมลู ของผู้เรยี นที่เปน็ ปจั จุบัน ลงชอ่ื ผเู้ สนอโครงการ (นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบา้ นโขง้ ) หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ ลงชื่อ ผอู้ นุมตั ิโครงการ (นายฉัตรชยั เกตุนวม) ผูอ้ านวยการโรงเรียนวัดมาบมะขาม ลงชื่อ ผ้เู หน็ ชอบโครงการ (นายทวี โยธา) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน โรงเรยี นวดั มาบมะขาม

ชื่อโครงการ โครงการห้องสมดุ โรงเรียน แผนงาน บริหารวิชาการ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ขอ้ ท่ี ๒ ............................................................................................................................................................................ ๑. หลกั การและเหตผุ ล ห้องสมุดโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญยิ่งในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ โดยผ่านสื่อสารสนเทศ ที่หลากหลาย เพ่ือการพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม ท่ีสาคัญยังสร้างพ้ืนฐานในการส่งเสริม สนับสนุน และปลกู ฝังให้ผู้เรยี นมีนสิ ยั รักการอ่าน รักการค้นคว้า การเขยี น การคิดวิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ ตลอดจนการบรู ณาการ โดยผ่านกจิ กรรมการเรยี นการสอนและกิจกรรมพเิ ศษต่างๆ ในทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและแผนการศึกษาแห่งชาติ และ โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ใหม้ กี ารพัฒนาห้องสมุดให้เปน็ ห้องสมุด ๓ ดี คือ หนงั สือดี บรรยากาศดี บรรณารกั ษ์ดี โรงเรียนวัดมาบมะขาม เห็นความสาคัญของห้องสมุดและตระหนักถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัย รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทาโครงการห้องสมุดโรงเรียนข้ึน เพ่ือสร้างนิสัย รกั การอ่านให้แกน่ กั เรยี น ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อสง่ เสริมให้นักเรยี นมนี ิสยั รกั การอ่าน ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์และใช้ห้องสมุด เปน็ แหล่งเรยี นรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๒ เพอ่ื ปลกู ฝังทักษะการฟงั พูด และเสริมสร้างนิสยั รักการอา่ นให้กบั นักเรยี น ๒.๓ เพื่อสง่ เสรมิ สติปัญญา และการคดิ วิเคราะห์ ๒.๔ เพอื่ ใหน้ ักเรยี นทราบเหตกุ ารณ์ในสังคมทเี่ ป็นปัจจุบนั ๓. เป้าหมาย ๓.๑ นักเรียน รอ้ ยละ ๘๐ ใชห้ ้องสมุดเปน็ แหล่งเรียนรู้ ๓.๒ นกั เรียน รอ้ ยละ ๘๐ มีความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ กับกจิ กรรมท่เี ข้าร่วมมากข้นึ ๓.๓ นกั เรยี น ร้อยละ ๘๐ มคี วามพึงพอใจในการใช้บรกิ ารจากห้องสมุด

๔. รายละเอยี ดของกจิ กรรม/ขั้นตอนการดาเนินงาน/รายละเอียดการใช้งบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท กิจกรรม / ข้ันตอน ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ ๑. จัดทาโครงการเพื่อขออนุมตั ิจากผู้บรหิ ารโรงเรียน เม.ย.๖๓ ครูสาเภา ๒. ประชมุ คณะกรรมการเพ่ือวางแผนการดาเนนิ งาน พ.ค.๖๓ และจัดกจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาห้องสมดุ เป็นแหล่งเรยี นรู้ ดงั นี้ ๒.๑ กจิ กรรมห้องสมุดมีชวี ติ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๒๐,๐๐๐ - จัดกิจกรรมรกั การอา่ น(วางทุกงานอา่ นทุกคน) - กจิ กรรมปรศิ นาพาเพลนิ - กจิ กรรมโสตทศั นศึกษา - กจิ กรรมสืบค้น ICT ๒.๒ กิจกรรมห้องสมดุ เคลอ่ื นที่ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๑๐,๐๐๐ - กจิ กรรมระเบียงความรู้ ๓. ประเมนิ ผลโครงการ ก.ย. ๖๓ - มี.ค. ๖๔ ๔. สรปุ ผลและรายงานโครงการ มี.ค.๖๔ หมายเหตุ คา่ ใชจ้ ่ายทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รับอนุมตั ิ ๕. การประเมนิ ผล ส่งิ ท่ีประเมนิ วธิ กี าร เครือ่ งมือ ๑. รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนใช้ห้องสมดุ เป็น - บันทึกสถิตกิ ารใช้ห้องสมุด - แบบบันทึกการใช้หอ้ งสมดุ - ตารางการใช้หอ้ งสมุด แหลง่ เรยี นรู้ - สอบถามความพึงพอใจใน - แบบสอบถามความพึงพอใจ ในการใช้ห้องสมดุ ๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของนักเรียนท่มี คี วามพงึ พอใจ การใช้หอ้ งสมุด - แบบสอบถามความพึงพอใจใน การร่วมเล่นกิจกรรมทายปัญหา ในการใช้ห้องสมดุ ท่ีมีความพึงพอใจ - สอบถามความพงึ พอใจใน ๓. รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนมีความเพลดิ เพลนิ การร่วมเล่นกิจกรรมทาย สนกุ สนานกบั การร่วมกจิ กรรมมากขนึ้ ปัญหา ๖. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ๖.๑ นกั เรียนโรงเรียนวัดมาบมะขาม เห็นความสาคญั และใช้ห้องสมุดเปน็ แหล่งเรยี นรอู้ ยา่ งคมุ้ ค่า ๖.๒ นักเรียน บคุ ลากรและชมุ ชนใช้หอ้ งสมดุ เป็นแหล่งเรยี นรู้ นักเรยี นมีนสิ ัยรักการอ่านและ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนสงู ขน้ึ ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ลงชอื่ ผู้เสนอโครงการ (นางสาเภา ขนุ ทว)ี ครู ลงชอ่ื ผู้เห็นชอบโครงการ (นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบ้านโข้ง) ครูผู้ชว่ ย ลงชอ่ื ผอู้ นุมัติโครงการ (นายฉัตรชัย เกตุนวม) ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดมาบมะขาม ลงช่ือ ผูเ้ ห็นชอบโครงการ (นายทวี โยธา) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวดั มาบมะขาม

ชือ่ โครงการ พฒั นาการจัดประสบการณ์ระดบั ปฐมวัย แผนงาน บริหารวิชาการ ผู้รับผิดชอบ นางสมพศิ พลู ทอง ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ข้อท่ี ๒ ............................................................................................................................................................................ ๑. หลกั การและเหตผุ ล การจัดการเรียนการสอนในระดับการศึกษาปฐมวัย เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยยึด หลักการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล พัฒนา เด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นและกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับวัย เสริมสร้างเด็กให้เติบโตและมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุล คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ –จิตใจ สังคมและสติปัญญา เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข สามารถดารง ชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพ โดยมีการประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษา ในการพัฒนาเดก็ ดังนั้นเพอ่ื ให้บรรลุจุดหมายของหลักสตู รสถานศึกษาทก่ี าหนดไว้ จึงได้จัดทาโครงการนข้ี ้นึ ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อพฒั นาเดก็ ให้มีพัฒนาการเต็มตามศกั ยภาพ ๒.๒ เพ่อื ใหค้ รูผู้สอนสามารถจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒.๓ เพือ่ ใหผ้ ู้บรหิ ารปฏิบตั ิงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒.๔ เพ่ือประสานความร่วมมือระหว่างครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รทเี่ กีย่ วข้องและสถานศึกษาในการ พฒั นาเด็ก ๒.๕ เพื่อพฒั นาเด็กให้มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี นรู่วิทยาศาสตร์คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๒.๖ เพอ่ื พัฒนาทักษะพน้ื ฐานและความสามารถทางวทิ ยาศาสตรค์ ณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๗ เพื่อใหน้ ักเรยี นและผ้ปู กครองไดเ้ รียนรู้ภาษาอังกฤษในการสอื่ สาร เตรยี มความพร้อมสู่ ประชาคมโลก ๒.๘ เพือ่ ใหน้ ักเรียนและผู้ปกครองมที ักษะในการคิดและแก้ปญั หาได้ ๒.๙ เพ่ือใหน้ ักเรยี นและผู้ปกครองมเี จตคตทิ ดี่ ีต่อการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ ๓. เป้าหมาย ๓.๑ เดก็ ปฐมวยั รอ้ ยละ ๘๐ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ –จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา เหมาะสมกบั วยั ๓.๒ ครูผู้สอนระดับปฐมวยั สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประสทิ ธิผลตาม มาตรฐาน การจดั การศกึ ษา รอ้ ยละ ๘๐ ๓.๓ ผบู้ รหิ ารสามารถปฏบิ ัติงานตามบทบาทหน้าทอ่ี ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และเกิดประสทิ ธผิ ลตาม มาตรฐาน การจัดการศึกษา รอ้ ยละ ๘๐ ๓.๔ โรงเรยี น ครอบครัว ชมุ ชน และองค์กรทีเ่ ก่ยี วข้อง มีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ ในการ พฒั นาเด็กตามมาตรฐานการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ร้อยละ ๘๐

๓.๕ เดก็ ปฐมวัย รอ้ ยละ ๘๐ มเี จตคตทิ ่ีดีต่อการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรค์ ณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี ๓.๖ เดก็ ปฐมวยั ร้อยละ ๘๐ มที กั ษะพนื้ ฐานและความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี ๓.๗ นกั เรยี นระดบั ปฐมวยั เข้าร่วมกิจกรรมค่ายภาษาองั กฤษทกุ คน ๓.๘ ผู้ปกครองนักเรยี นระดับปฐมวยั เข้าร่วมกจิ กรรมคา่ ยภาษาองั กฤษ ร้อยละ ๘๐ ๓.๙ นกั เรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ ๘๐ มคี วามพึงพอใจในการร่วมกจิ กรรม ระดบั มาก ถึงมากทสี่ ุด ๔. กจิ กรรม / ขั้นตอนการดาเนนิ งาน / รายละเอียดการใช้งบประมาณ ๓๖,๐๐๐ บาท กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ เม.ย. ๖๓ ครูสมพิศ ๑. จัดทาโครงการเพอื่ ขออนุมัติผู้บริหารโรงเรียน เม.ย. ๖๓ ๒. จดั ประชุมครปู ฐมวัยเพอื่ วางแผน เม.ย.๖๓ –มี.ค.๖๔ ๒,๐๐๐ การดาเนินงาน ๒,๐๐๐ ๓. ดาเนินการจดั กจิ กรรม ก.ย.๖๓ / มี.ค.๖๔ ๓๐,๐๐๐ - บ้านวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย ๒,๐๐๐ - ค่ายภาษาองั กฤษปฐมวยั - กจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาการ - กิจกรรมครผู ู้พฒั นา ๔. สรปุ และรายงานผลโครงการ ๕. การประเมนิ ผล(ตัวชว้ี ัด) สิ่งท่ปี ระเมนิ วิธกี าร เครือ่ งมือ ๑. การร่วมกจิ กรรมการทดลองและโครงงาน สงั เกต แบบประเมินและเกณฑ์ วิทยาศาสตรร์ ปู แบบวัฏจักรการวิจัย ๒ รอบ สมั ภาษณ์ การประเมิน ๒. การร่วมกจิ กรรมของนกั เรยี น-ผ้ปู กครอง ตรวจผลงาน แตล่ ะฐาน ๓. พฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปญั ญา ๔. ผลการปฏิบตั งิ านของครู ๖. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั ๖.๑ เดก็ ปฐมวัยทุกคน มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ –จติ ใจ สังคมและสตปิ ัญญาเหมาะสมกับวยั และมคี ณุ ภาพด้านผู้เรยี นตามมาตรฐาน ๖.๒ ครผู ู้สอนระดับปฐมวัย มีความรู้ ความสามารถในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ตามมาตรฐาน การจดั การศึกษา ๖.๓ ผูบ้ ริหาร สามารถบรหิ ารจดั การการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยได้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานด้านการ จัดการศึกษา

๖.๔ โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากครอบครัว ชมุ ชนและองคก์ รทเ่ี กี่ยวข้อง ในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพ่อื พฒั นาการเรียนรู้ของเด็ก ๖.๕ เด็กปฐมวยั มเี จตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ ตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรค์ ณิตศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี มีความสามารถพน้ื ฐานด้านการเรียนรู้ ด้านภาษา ด้านสังคม ดา้ นการเคลือ่ นไหว และทกั ษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัส ๖.๖ นกั เรยี นและผู้ปกครองมคี วามสขุ และสนกุ สนานในการเรยี นรรู้ ่วมกบั ผู้อื่น สามารถนาความรู้ ความเขา้ ใจทไ่ี ด้รบั ในการสอ่ื สารกับชาวต่างประเทศ มาใช้ในการพฒั นาตนเอง และมเี จตคติที่ดใี นการเรียน ภาษาอังกฤษมากขึ้น ลงชือ่ ผู้เสนอโครงการ (นางสมพศิ พลู ทอง) ครู ลงช่ือ ผู้เหน็ ชอบโครงการ (นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบ้านโขง้ ) ครผู ู้ชว่ ย ลงชื่อ ผอู้ นมุ ตั ิโครงการ (นายฉัตรชยั เกตุนวม) ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดมาบมะขาม ลงชอื่ ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (นายทวี โยธา) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน โรงเรียนวดั มาบมะขาม

โครงการ พฒั นาศักยภาพเด็กพิเศษเรียนร่วม แผนงาน บริหารวชิ าการ ผู้รับผดิ ชอบ ครสู มุ ารีย์ จนั ทรา ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ข้อที่ ๒ ............................................................................................................................................................................ ๑. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ กล่าวถึงสิทธิทางการศึกษาของคน พิการ ในการได้รับโอกาสและบริการทางการศึกษา ในทุกระบบและในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างมีคุณภาพ และดารงชีวติ อยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสุข ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล โรงเรียนวดั มาบมะขาม ได้ตระหนัก ถึงความสาคัญของการให้บริการการศึกษากับเดก็ พิเศษทุกคนให้ได้รับการศึกษาในรูปแบบของการเรยี นร่วม/ เรยี นรวม จึงได้จัดทาโครงการนี้ขนึ้ ๒. วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ฝึกทักษะใหเ้ ดก็ พเิ ศษมีพัฒนาการในด้านต่างๆ เตม็ ตามศักยภาพของตน ๓. เปา้ หมาย เด็กพิเศษ ร้อยละ ๗๐ มพี ัฒนาการในด้านต่างๆ เต็มตามศกั ยภาพของตนและสามารถเรียนร่วม/เรียน รวมกบั เพ่ือนในชน้ั เรียนได้ตามปกติ ๔. รายละเอยี ดกจิ กรรม/ข้นั ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม/งบประมาณท่ีใช้ ๒,๐๐๐ บาท กิจกรรม / ขนั้ ตอน ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ ครสู ุมารยี ์ ๑. จดั ทาโครงการเพ่อื ขออนุมตั ิผู้บรหิ ารโรงเรียน เม.ย. ๖๓ ๒. ประชุมคณะครู ชแ้ี จงโครงการ พ.ค. ๖๓ ๕๐๐ พ.ค. ๖๓ ๓. แตง่ ตั้งผู้รบั ผิดชอบโครงการ พ.ค. ๖๓ - ก.ย. ๖๓ ๔. ดาเนนิ การตามแผนงานโครงการ/กจิ กรรม มิ.ย. ๖๓ ๕. ประชมุ ผู้ปกครองเดก็ /นกั เรียนท่มี ปี ญั หา ม.ิ ย. ๖๓ ๖. คดั กรองเดก็ /นักเรยี น มิ.ย.๖๓ ๕๐๐ -จัดทาแบบคัดกรอง ๗. จัดทาแผนการศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP)และ มิ.ย. ๖๓ - ก.พ. ๖๔ สือ่ การสอน ม.ิ ย. ๖๓ - ก.พ. ๖๔ ๘. ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ม.ค.๖๔ ๙. อ่านหนงั สือให้เด็กฟงั ๑๐.กิจกรรมค่ายเด็กพิเศษ ก.พ.๖๔ ๑๑.ประเมินพฒั นาการเด็ก/นักเรยี นปีละ ๑ ครงั้ ก.พ.๖๔ ๑๒.สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งาน

๕. การประเมินผล(ตัวชวี้ ัด) สงิ่ ที่ประเมนิ วิธกี าร เครอื่ งมือ ๑. รอ้ ยละของเด็กพิเศษ มพี ฒั นาการ - ประเมนิ ศักยภาพและและ แบบประเมินศักยภาพและ พัฒนาการ ในด้านต่างๆ เตม็ ตามศักยภาพของตน พัฒนาการเดก็ พเิ ศษ แบบสอบถามความพงึ พอใจ และสามารถเรียนร่วมกับเพื่อนใน - สอบถามความพงึ พอใจ ช้ันเรยี นได้ตามปกติ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง ๒. รอ้ ยละของผ้เู กี่ยวขอ้ งทม่ี ีความพงึ พอใจในการดาเนนิ งานตามโครงการฯ ๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๖.๑ เดก็ พเิ ศษ เกิดทักษะและมพี ฒั นาการในด้านตา่ งๆ เต็มตามศักยภาพของตนเอง ลงชือ่ ผเู้ สนอโครงการ (นางสุมารีย์ จันทรา) ครู ลงชื่อ ผู้เหน็ ชอบโครงการ (นางสาวอรอนงค์ ฆ้องบ้านโขง้ ) ครผู ู้ช่วย ลงช่อื ผอู้ นมุ ตั ิโครงการ (นายฉัตรชัย เกตนุ วม) ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดมาบมะขาม ลงชือ่ ผู้เห็นชอบโครงการ (นายทวี โยธา) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดมาบมะขาม

ชื่อโครงการ ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน แผนงาน บรหิ ารวิชาการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ครอู รอนงค์ ฆอ้ งบ้านโขง้ ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ -๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ข้อที่ ๒ ............................................................................................................................................................................ ๑. หลักการและเหตผุ ล การพัฒนาศักยภาพมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาในยุคปัจจุบัน ซ่ึงเป็นยุคที่ข้อมูลข่าวสาร มมี ากมาย รวดเรว็ หางา่ ย นกั เรยี นจึงต้องมกี ารพฒั นาศักยภาพของตนเองอยู่เสมอ ควรสรา้ งโอกาสใหน้ กั เรียน ได้แสดงความสามารถให้มากทสี่ ุด ซึ่งศักยภาพในตนเองเปน็ ความสามารถทถ่ี กู ซ่อนเรน้ ไว้ หากได้รับการพฒั นา คอื การนาเอาความสามารถนัน้ ออกมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ตลอดจนคน้ พบความถนัดของตนเอง อันจะนาไปสู่ การเป็นบุคคลที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะในการทางาน มีความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยี สง่ิ ทตี่ ามมาก็คอื การปฏิบัตงิ านทกุ อย่างก็จะประสบความสาเรจ็ อย่างงดงาม ดว้ ยเหตผุ ลดงั กล่าว กลุ่มบรหิ ารวิชาการ จึงได้จดั ทาโครงการน้ขี ้นึ เพ่อื มุ่งพัฒนาศกั ยภาพของนกั เรียน ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและมีศกั ยภาพเป็นพลเมอื งที่ดีของสงั คมโลกต่อไป ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นระดบั การศกึ ษาปฐมวัยและประถมศกึ ษา ได้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๒.๒ เพื่อใหน้ ักเรยี นที่ร่วมงานทุกคนได้ฝกึ ทักษะกระบวนการทางาน การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง จาก นทิ รรศการและกิจกรรมตา่ งๆ ๒.๓ เพ่ือสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นได้แสดงความสามารถของตนเองเต็มตามศักยภาพ มีประสบการณจ์ าก การแข่งขันทกั ษะทางวชิ าการ ๒.๔ เพื่อสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีความรู้ความเขาใจเกี่ยวกับศลิ ปวฒั นธรรมประจาชาติในอาเซียน ๒.๕ เพื่อสง่ นักเรียนเข้าร่วมแขง่ ขนั ในระดับท่ีสงู ข้ึนตามความสามารถของนกั เรียน ๒.๖ เพื่อใหน้ กั เรยี นเหน็ คุณค่าในตัวเอง มีความม่ันใจ กลา้ แสดงออกไดอ้ ย่างเหมาะสม ๒.๗ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนได้เรียนร้จู ากกจิ กรรมการลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ ๒.๘ เพื่อสง่ เสริมนักเรยี นให้ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ๒.๙ เพื่อใหน้ กั เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การคิดวเิ คราะห์และการเขียน ตามมาตรฐานหลกั สูตร การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๒.๑๐ เพื่อใหน้ ักเรยี นมีความคิดสร้างสรรค์และเกิดประโยชนต์ ่อตนเองและส่วนรวม ๓. เป้าหมาย ๓.๑ นักเรยี น ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประถมศกึ ษาได้เขา้ ร่วมกจิ กรรมวิชาการ นิทรรศการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ๓.๒ นักเรยี น ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ประถมศกึ ษา ได้รบั ความรู้ ประสบการณ์ นอกห้องเรียนเพิ่มขึน้ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๓.๓ นกั เรียนระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ประถมศกึ ษา ได้รับการสนบั สนุน การสง่ เสรมิ ทกั ษะ ทางวิชาการ ครบตามพัฒนาการ ครบทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

๓.๔ นักเรยี นมีความรู้ความเขาใจเกี่ยวกบั ศลิ ปวัฒนธรรมประจาชาติในอาเซยี น ๓.๕ นักเรยี นร้อยละ ๗๐ ทีส่ ่งเข้าร่วมแขง่ ขนั จะต้องได้รบั รางวลั ไมน่ ้อยกวา่ รางวลั ชมเชย ๓.๖ นักเรยี นท่เี ข้าร่วมกิจกรรมเวทีคนเก่ง ร้อยละ ๘๐ ได้รบั การพฒั นาความสามารถและความถนัด เตม็ ตามศกั ยภาพ ๓.๗ นกั เรียนระดับประถมศึกษา ได้เขา้ ร่วมกิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ ๓.๘ นกั เรียนร้อยละ ๘๐ ได้รบั ความพึงพอใจในระดับมากขึน้ ไป ๔. กจิ กรรม/ข้ันตอนการดาเนินงาน / รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ ๑๐๔,๐๐๐ บาท กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ เม.ย.๖๓ ครูอรอนงค์ ๑. จัดทาโครงการเพ่อื ขออนมุ ัติจากผู้บรหิ าร พ.ค.๖๓ ๒. ประชุมคณะกรรมการเพอื่ วางแผนการ พ.ค.๖๓ –มี.ค.๖๔ ๓,๐๐๐ ดาเนินงาน ส.ค.๖๓ –ก.พ.๖๔ ๓. การดาเนินงาน โครงการ ส.ค.๖๓ ๓.๑ กจิ กรรม นทิ รรศการวิชาการ ๓.๑.๑ ประชมุ ครู เพอ่ื กาหนดกรอบและ ส.ค.๖๓ –ต.ค.๖๓ แนวทางการจดั งาน ส.ค.๖๓ –ม.ค.๖๔ ๓.๑.๒ ตดิ ตอ่ ประสานงานกับหน่วยงาน ก.พ.๖๔ ๕,๐๐๐ องคก์ ร ภายนอก ๓.๑.๓ จัดนทิ รรศการตามวนั เวลา ท่ี พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ พ.ค.๖๓ กาหนด ๓.๑.๔ รายงานผลการดาเนนิ งาน พ.ค.๖๓ -ก.พ.๖๔ ๓.๒ กิจกรรมเข้าร่วมแขง่ ขนั ทางวชิ าการ พ.ค.๖๓ -ก.พ.๖๔ ๑,๐๐๐ ๓.๒.๑ ประชุมคณะครเู พ่อื แจ้งวัตถุประสงค์ มี.ค.๖๔ ๒๐,๐๐๐ กจิ กรรม พ.ค.๖๓ -ก.พ.๖๔ ๓.๒.๒ ครแู ต่ละคนฝึกนกั เรียนเพือ่ ส่งเข้า พ.ค. ๖๓ งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ แขง่ ขนั ตามโอกาส ม.ิ ย.๖๓ – ม.ี ค.๖๔ ๓๐,๐๐๐ ๓.๒.๓ สง่ นกั เรยี นเข้าร่วม แขง่ ขันตามโอกาส มี.ค.๖๔ ๓.๒.๓ รายงานผลการดาเนนิ งาน พ.ค.๖๓ -ก.พ.๖๔ ๓.๓ กิจกรรมส่งเสริมการใช้ ICT พ.ค. ๖๓ ๓.๓.๑ ประชุมคณะทางานเพอื่ เตรียมการ ส.ค.๖๓ ๓.๓.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ ICT มี.ค.๖๔ ๓.๓.๓ สรปุ และรายงานผล ระยะเวลา ๓.๔ กิจกรรมวนั อาเซยี น ๓.๔.๑ ประชมุ คณะทางาน ชแี้ จงข้นั ตอน พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๔.๒ ดาเนินกจิ กรรม ๓.๔.๓ สรปุ และรายงานผล กจิ กรรม ๓.๕ กจิ กรรมทศั นศกึ ษาเพอ่ื ประเทืองปัญญา

๓.๕.๑ ประชุมคณะทางาน ชแ้ี จงข้ันตอน พ.ค.๖๓ ๑๐,๐๐๐ ๓.๕.๒ ประสานแหล่งเรียนรู้และพาหนะ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๑,๕๐๐ ๓.๕.๓ ดาเนนิ กจิ กรรม พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๒๐,๐๐๐ ๓.๕.๔ สรปุ และรายงานผล มี.ค.๖๔ ๕๐๐ ๓.๖ กิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๒,๐๐๐ ๓.๖.๑ ประชุมคณะทางาน ช้ีแจงขั้นตอน ๒,๐๐๐ ๓.๖.๒ ดาเนนิ กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิ พ.ค. ๖๓ ๒,๐๐๐ ๓.๖.๓ สรปุ และรายงานผล พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๗ กิจกรรมการวัดผลประเมนิ ผล มี.ค. ๖๔ ๓.๗.๑ ประชุมคณะทางาน ชี้แจงขนั้ ตอน พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๗.๒ ดาเนินกจิ กรรมการวัดผลประเมนิ ผล ๓.๗.๓ สรปุ และรายงานผล พ.ค.๖๓ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๘ กิจกรรมกีฬาและนนั ทนาการ ๓.๘.๑ ประชมุ คณะทางานเพือ่ เตรยี มการ ม.ี ค. ๖๔ ๓.๘.๒ กจิ กรรมกีฬาและนันทนาการ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๘.๓ สรปุ และรายงานผล พ.ค.๖๓ ๓.๙ กจิ กรรมประชาธิปไตย/สภานกั เรยี น พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๙.๑ ประชุมคณะทางาน ชี้แจงข้ันตอน ๓.๙.๒ ดาเนินกจิ กรรมประชาธปิ ไตย/สภา ม.ี ค. ๖๔ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ นักเรยี น ๓.๙.๓ รายงานกิจกรรม พ.ค.๖๓ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๑๐ กจิ กรรมชมุ นุมและสาธารณประโยชน์ ๓.๑๐.๑ ประชมุ คณะทางาน ชี้แจงขน้ั ตอน มี.ค. ๖๔ ๓.๑๐.๒ ดาเนินกิจกรรมชุมนุมและสาธารณะ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ประโยชน์ พ.ค.๖๓ ๓.๑๐.๓ รายงานกจิ กรรม พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๑๑ กิจกรรมเวทคี นเก่ง ม.ี ค. ๖๔ ๓.๑๑.๑ ประชมุ คณะทางาน ชแี้ จงขั้นตอน พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๑๑.๒ กิจกรรมเวทีคนเก่ง ๓.๑๑.๓ รายงานกจิ กรรม พ.ค.๖๓ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๑๒ การปฐมนเิ ทศ/ประชุมผู้ปกครอง ๓.๑๒.๑ ประชมุ คณะทางาน ชีแ้ จงขัน้ ตอน มี.ค. ๖๔ ๓.๑๒.๒ การปฐมนเิ ทศ/ประชมุ ผู้ปกครอง พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๑๒.๓ รายงานกิจกรรม พ.ค.๖๓ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ มี.ค. ๖๔

กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ ๓.๑๒ การปจั ฉมิ นิเทศ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๕,๐๐๐ ๓.๑๒.๑ ประชมุ คณะทางาน ช้ีแจงข้ันตอน พ.ค.๖๓ ๓.๑๒.๒ การปฐมนิเทศ/ประชมุ ผู้ปกครอง พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๓.๑๒.๓ รายงานกจิ กรรม ม.ี ค. ๖๔ ๔. สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการและ ก.พ.๖๔ -มี.ค.๖๔ รายงานผล รวมงบประมาณ ๑๐๒,๐๐๐ หมายเหตุ คา่ ใชจ้ ่ายทุกรายการสามารถถัวจา่ ยได้ภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รบั อนุมตั ิ ๕. การประเมนิ ผล(ตวั ชีว้ ัด) ส่ิงทป่ี ระเมนิ วธิ กี าร เคร่อื งมอื บันทึกการลงช่อื เข้าร่วมงาน ๑. รอ้ ยละของนกั เรียนเข้าร่วมกจิ กรรม ตรวจสอบจานวนผู้เข้าร่วมงาน แบบตรวจสอบรายการแข่งขัน นทิ รรศการวิชาการ แบบสอบถาม ๒. จานวนนกั เรียนท่สี ่งเข้าร่วมแขง่ ขนั ทาง ตรวจสอบรายการแข่งขัน แบบสอบถาม แบบสอบถาม วชิ าการ ครบทกุ สาระการเรยี นรู้ แบบสอบถาม แบบ (ปพ.๕) ๓. รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีใช้ ICT สอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม ๔. รอ้ ยละของนกั เรยี นทท่ี ศั นศึกษา สอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม ๕. รอ้ ยละจานวนนักเรยี นทีย่ กระดับผลสัมฤทธิ์ สอบถามความพงึ พอใจ แบบสอบถาม ๖. รอ้ ยละของกจิ กรรมการวดั ผลประเมินผล สอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม ๗. รอ้ ยละของนกั เรียนทีร่ ่วมกจิ กรรมลดเวลา บันทกึ พฒั นาการ (ปพ.๕) แบบสอบถาม เรยี นเพ่มิ เวลารู้ แบบสอบถาม ๘. รอ้ ยละจานวนนักเรียนร่วมกิจกรรมกฬี าและ สอบถามความพงึ พอใจ นันทนาการ ๙. รอ้ ยละจานวนนักเรยี นทก่ี ิจกรรม สอบถามความพงึ พอใจ ประชาธิปไตย/สภานักเรยี น ๑๐. ร้อยละจานวนนกั เรียนร่วมกิจกรรม สอบถามความพงึ พอใจ ชุมนุม/สาธารณะประโยชน์ ๑๑. ร้อยละจานวนนกั เรยี นร่วมเวทคี นเก่ง สอบถามความพึงพอใจ ๑๒. ร้อยละจานวนผู้ปกครองทร่ี ่วมกจิ กรรม ตรวจสอบจานวนผู้เข้าร่วม ปฐมนเิ ทศ ๑๓. รอ้ ยละจานวนนักเรียน ผู้ปกครองทรี่ ่วม ตรวจสอบจานวนผู้เข้าร่วม กิจกรรมปจั ฉิมนเิ ทศ

๖. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ ๖.๑ นักเรียนได้รบั ประสบการณ์ตรง จากการเข้าชมนิทรรศการวิชาการ แหล่งเรียนรู้ เวทีคนเกง่ ชมุ นุม และกีฬา/นนั ทนาการ ตามของหลักของประชาธปิ ไตย ๖.๒ นักเรียนมคี วามสามารถในการใช้ ICT เพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทสี่ งู ขนึ้ ๖.๓ ผู้ปกครองทกุ คนทกุ คน เข้าร่วมกจิ กรรมปฐมนเิ ทศและปัจฉมิ นเิ ทศ ลงชอ่ื ผู้เสนอโครงการ (นางสาวอรอนงค์ ฆ้องบา้ นโข้ง) หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารวิชาการ ลงชอ่ื ผู้อนมุ ัติโครงการ (นายฉัตรชยั เกตนุ วม) ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั มาบมะขาม ลงช่ือ ผู้เหน็ ชอบโครงการ (นายทวี โยธา) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน โรงเรียนวัดมาบมะขาม

ชื่อโครงการ โครงการห้องสมดุ โรงเรียน แผนงาน บริหารวิชาการ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ขอ้ ท่ี ๒ ............................................................................................................................................................................ ๑. หลกั การและเหตผุ ล ห้องสมุดโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญยิ่งในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ โดยผ่านสื่อสารสนเทศ ที่หลากหลาย เพ่ือการพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม ท่ีสาคัญยังสร้างพ้ืนฐานในการส่งเสริม สนับสนุน และปลกู ฝังให้ผู้เรยี นมีนสิ ยั รักการอ่าน รักการค้นคว้า การเขยี น การคิดวิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ ตลอดจนการบรู ณาการ โดยผ่านกจิ กรรมการเรยี นการสอนและกิจกรรมพเิ ศษต่างๆ ในทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและแผนการศึกษาแห่งชาติ และ โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ใหม้ กี ารพัฒนาห้องสมุดให้เปน็ ห้องสมุด ๓ ดี คือ หนงั สือดี บรรยากาศดี บรรณารกั ษ์ดี โรงเรียนวัดมาบมะขาม เห็นความสาคัญของห้องสมุดและตระหนักถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัย รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทาโครงการห้องสมุดโรงเรียนข้ึน เพ่ือสร้างนิสัย รกั การอ่านให้แกน่ กั เรยี น ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อสง่ เสริมให้นักเรยี นมนี ิสยั รกั การอ่าน ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์และใช้ห้องสมุด เปน็ แหล่งเรยี นรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๒ เพอ่ื ปลกู ฝังทักษะการฟงั พูด และเสริมสร้างนิสยั รักการอา่ นให้กบั นักเรยี น ๒.๓ เพื่อสง่ เสรมิ สติปัญญา และการคดิ วิเคราะห์ ๒.๔ เพอื่ ใหน้ ักเรยี นทราบเหตกุ ารณ์ในสังคมทเี่ ป็นปัจจุบนั ๓. เป้าหมาย ๓.๑ นักเรียน รอ้ ยละ ๘๐ ใชห้ ้องสมุดเปน็ แหล่งเรียนรู้ ๓.๒ นกั เรียน รอ้ ยละ ๘๐ มีความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ กับกจิ กรรมท่เี ข้าร่วมมากข้นึ ๓.๓ นกั เรยี น ร้อยละ ๘๐ มคี วามพึงพอใจในการใช้บรกิ ารจากห้องสมุด

๔. รายละเอยี ดของกจิ กรรม/ขั้นตอนการดาเนินงาน/รายละเอียดการใช้งบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท กิจกรรม / ข้ันตอน ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ ๑. จัดทาโครงการเพื่อขออนุมตั ิจากผู้บรหิ ารโรงเรียน เม.ย.๖๓ ครูสาเภา ๒. ประชมุ คณะกรรมการเพ่ือวางแผนการดาเนนิ งาน พ.ค.๖๓ และจัดกจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาห้องสมดุ เป็นแหล่งเรยี นรู้ ดงั นี้ ๒.๑ กจิ กรรมห้องสมุดมีชวี ติ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๒๐,๐๐๐ - จัดกิจกรรมรกั การอา่ น(วางทุกงานอา่ นทุกคน) - กจิ กรรมปรศิ นาพาเพลนิ - กจิ กรรมโสตทศั นศึกษา - กจิ กรรมสืบค้น ICT ๒.๒ กิจกรรมห้องสมดุ เคลอ่ื นที่ พ.ค.๖๓ -มี.ค.๖๔ ๑๐,๐๐๐ - กจิ กรรมระเบียงความรู้ ๓. ประเมนิ ผลโครงการ ก.ย. ๖๓ - มี.ค. ๖๔ ๔. สรปุ ผลและรายงานโครงการ มี.ค.๖๔ หมายเหตุ คา่ ใชจ้ ่ายทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รับอนุมตั ิ ๕. การประเมนิ ผล ส่งิ ท่ีประเมนิ วธิ กี าร เครือ่ งมือ ๑. รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนใช้ห้องสมดุ เป็น - บันทึกสถิตกิ ารใช้ห้องสมุด - แบบบันทึกการใช้หอ้ งสมดุ - ตารางการใช้หอ้ งสมุด แหลง่ เรยี นรู้ - สอบถามความพึงพอใจใน - แบบสอบถามความพึงพอใจ ในการใช้ห้องสมดุ ๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของนักเรียนท่มี คี วามพงึ พอใจ การใช้หอ้ งสมุด - แบบสอบถามความพึงพอใจใน การร่วมเล่นกิจกรรมทายปัญหา ในการใช้ห้องสมดุ ท่ีมีความพึงพอใจ - สอบถามความพงึ พอใจใน ๓. รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนมีความเพลดิ เพลนิ การร่วมเล่นกิจกรรมทาย สนกุ สนานกบั การร่วมกจิ กรรมมากขนึ้ ปัญหา ๖. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ๖.๑ นกั เรียนโรงเรียนวัดมาบมะขาม เห็นความสาคญั และใช้ห้องสมุดเปน็ แหล่งเรยี นรอู้ ยา่ งคมุ้ ค่า ๖.๒ นักเรียน บคุ ลากรและชมุ ชนใช้หอ้ งสมดุ เป็นแหล่งเรยี นรู้ นักเรยี นมีนสิ ัยรักการอ่านและ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนสงู ขน้ึ ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ลงชอื่ ผู้เสนอโครงการ (นางสาเภา ขนุ ทว)ี ครู ลงชอ่ื ผู้เห็นชอบโครงการ (นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบ้านโข้ง) ครูผู้ชว่ ย ลงชอ่ื ผอู้ นุมัติโครงการ (นายฉัตรชัย เกตุนวม) ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดมาบมะขาม ลงช่ือ ผูเ้ ห็นชอบโครงการ (นายทวี โยธา) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวดั มาบมะขาม

ชอื่ โครงการ โครงการการจดั การเรียนร้ใู นสถานการณ์การแพรเ่ ชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) แผนงาน บริหารวชิ าการ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ระยะเวลาดาเนินการ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ขอ้ ที่ ๒ ............................................................................................................................................................................ ๑. หลักการและเหตุผล เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโ คโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้สถานศึกษาในสังกัด และในกากับปิดเรียนด้วยเหตพุ เิ ศษนี้ พรอ้ มทัง้ ใหส้ ่วนราชการ ต้นสังกัด กาหนดแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน ที่ไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน จงึ ได้จดั รปู แบบการเรยี นการสอนทางไกล ในกรณีทไี่ ม่สามารถเปิดเรียนได้ ตามปกติข้ึน เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง กระทรวงศึกษาธิการ จงึ กาหนดเปดิ เรียนปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ในวนั ท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เปน็ ต้นไป และกาหนดการจัดการเรยี นรู้ ๓ รูปแบบ ดังนี้ ๑. การเรียนที่โรงเรียน (ON-SITE) ๒. การเรยี นผ่านทีวี (ON-AIR) ใน ๔ ระบบ ๓. การเรยี นผ่านอินเทอรเ์ นต็ และแอปพลเิ คชัน (ONLINE) ใน ๔ ช่องทาง ในระยะก่อนเปิดเรียน โรงเรียนวัดมาบมะขาม มีแนวทางหลักในการจัดการเรียนการสอน คือ การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) โดยสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติจัดสรรช่องสัญญาณออกอากาศทางโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ๑๕ ช่องรายการ มูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์สนับสนุนเนื้อหา สาระการเรียนรู้ของระดับปฐมวัยถึง ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทาเนื้อหา สาระการเรียนรู้ ของระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๖ ท้ังนี้ ได้เริ่มออกอากาศทั้ง ๑๕ ช่องรายการ ต้ังแต่วันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นไป โดยในระหว่างน้ีถึง ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ เป็นช่วงตรวจสอบความพร้อมการจัดการเรียน การสอน ปรับพ้ืนฐานนักเรียนให้ได้เรียนล่วงหน้า และให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมเตรียมพร้อมในการ จัดการเรียนรู้โดยไมน่ บั เป็นส่วนหนง่ึ ของ การวัดและประเมินผลแต่อย่างใด หากโรงเรียนสามารถเปดิ เรียนได้ ตามปกติในวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ซ่ึงต้องได้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จงั หวัด (ศบค.จงั หวัด) สาหรบั โรงเรียนที่มีจานวนนักเรียนน้อย และมีพ้ืนที่เพียงพอในการจัดการเรียนการสอนได้แบบปกติให้โรงเรียนปฏิบัติตามมาตรการและแนวทางการ ดาเนนิ งานเพื่อเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคุมโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรน่า โรงเรียนวัดมาบมะขาม จงึ นามาตรการดังกลา่ วสูป่ ฏิบตั ิให้เป็นรูปธรรมเพ่อื เปน็ การเตรียมความพรอ้ ม ในการจดั การเรียนการสอนในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพอ่ื ป้องกนั การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ภายในสถานศกึ ษาและชุมชนได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ๒.๒ เพือ่ สร้างความเขา้ ใจและความคุน้ เคยกับรปู แบบการเรียนการสอนทางไกล ในกรณีท่ีไมส่ ามารถ เปิดเรยี นไดต้ ามปกติข้นึ ๒.๓ เพอ่ื ความปลอดภัยของนกั เรยี น ผ้ปู กครอง และบคุ ลากรทีเ่ กยี่ วขอ้ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook