2. การบรหิ ารความเสย่ี งดา้ นเครดิต (Credit Risk) ธนาคารได้ดำ�เนนิ การบรหิ ารจัดการความเส่ียงด้านเครดิตผ่านเคร่อื งมอื ที่สำ�คญั ดงั น้ี 1) การทบทวนนโยบายสนิ เชื่อ (Credit Policy) นโยบาย 5) การติดตามโครงสร้างและการขยายตัวพอร์ตสินเชื่อ การจดั ช้นั การกนั สำ�รอง และการปรบั โครงสรา้ งหนี้ ของธนาคาร รวมถึงการกระจุกตัวของพอร์ตสินเช่ือ 2) การเตรียมความพร้อมเพื่อให้ธนาคารสามารถ และการวิเคราะห์คุณภาพสินเช่ือในระดับพอร์ต ดำ�เนินการตามข้อกำ�หนดทางการที่มีผลต่อ (Portfolio Analysis) การดำ�เนนิ งานของธนาคาร เชน่ มาตรฐานบญั ชีใหม่ 6) การดำ�เนินงานตามประกาศของธนาคารแห่ง IFRS 9 เปน็ ต้น ประเทศไทย เช่น การคำ�นวณสินทรัพย์เส่ียง 3) การนำ�ระบบ Credit Scoring Model (A-Score) มาใช้ ด้านเครดิต โดยวิธี Standardized Approach (SA) เป็นแนวทางในการพิจารณาสินเช่ือของธนาคารให้ ตามเกณฑ์ Basel II และการทดสอบภาวะวิกฤติ มีมาตรฐานการอนุมัติที่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติท่ีดี เพ่ือประมาณการความเพียงพอของเงินกองทุน และตรงตามวัตถุประสงค์ของการให้สินเชื่อ รวมถึง เพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีเงินกองทุนเพียงพอรองรับ การพัฒนา Credit Scoring Model (B-Score) เพอ่ื ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ จากสนิ ทรพั ยเ์ สยี่ งดา้ นเครดติ นำ�มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การพอรต์ สนิ เชอื่ ของธนาคาร ในอนาคตได้ จากการดำ�เนินการท่ีกล่าวมาข้างต้น 4) การพัฒนาเคร่ืองมือเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการ สง่ ผลทำ�ใหก้ ารลด NPL ธนาคารเปน็ ไปตามเปา้ หมาย คณุ ภาพสนิ ทรพั ยข์ องธนาคารในภาพรวม (NPL NPA ทก่ี ำ�หนดและอยู่ในระดับความเส่ยี งทยี่ อมรบั ได้ และหนส้ี ว่ นขาด) เชน่ Dashboard Aging รายวนั และ การคาดการณก์ ารเกดิ NPL ลว่ งหนา้ โดยวธิ ที างสถติ ิ เพ่ือกำ�หนดแนวทางหรือมาตรการในการบริหาร จดั การ NPL นอกจากน้ี ธนาคารไดพ้ ฒั นาระบบเรง่ รดั ติดตามหน้ี I-Collection ช่องทางการประนอมหนี้ ผา่ น GHBank Smart NPL Mobile Application 3. การบริหารความเสยี่ งดา้ นตลาด (Market Risk Management) ธนาคารได้ดำ�เนินการบริหารจัดการความเส่ียงด้านตลาด โดยคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์ หน้ีสินและการเงิน (ALCO) และมหี น่วยงานที่ทำ�หนา้ ทีค่ วบคมุ ดแู ล ประเมนิ โอกาสทจ่ี ะเกิดความเสียหายจากแนวโนม้ ปจั จยั เสีย่ ง ตดิ ตาม และรายงานความเสยี่ งสำ�คญั ทอี่ าจจะสง่ ผลกระทบตอ่ การดำ�เนนิ งานของธนาคาร รวมทงั้ ทบทวนนโยบายและกำ�หนดดชั นี ชว้ี ดั ความเสยี่ งด้านตลาด (Market Risk Limit) เชน่ Static Re-pricing Gap, Duration-Based Gap (EVE Approach) และการประเมินความเส่ียงภายใต้ภาวะวิกฤติ (Stress Testing) รวมถึงมีแผนการจัดหาแหล่งเงินทุนและการปรับสมดุล โครงสรา้ งเงนิ ทนุ ระยะยาว เพอื่ ใหโ้ ครงสรา้ งสนิ ทรพั ยแ์ ละหนสี้ นิ ของธนาคารในอนาคตมคี วามเหมาะสม นอกจากนี้ ธนาคาร มกี ารจดั หาระบบบรหิ ารสนิ ทรพั ยแ์ ละหนส้ี นิ (ALM) ซง่ึ ระบบดงั กลา่ วจะชว่ ยใหธ้ นาคารสามารบรหิ ารความเสย่ี งดา้ นตลาด ไดอ้ ยา่ งทันการณ์และถูกตอ้ งแม่นยำ�มากขึ้น GRI 102-30 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 51
4. การบริหารความเสี่ยงดา้ นตลาดและสภาพคล่อง (Market Risk & Liquidity Risk) ธนาคารได้ดำ�เนินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง โดยคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์ หนี้สิน และ การเงิน (ALCO) และมีหน่วยงานท่ีทำ�หน้าที่ควบคุม ดูแล ประเมินโอกาสท่ีจะเกิดความเสียหายจากแนวโน้มปัจจัยเส่ียง รวมทั้งทบทวนนโยบายและกำ�หนดดชั นีชวี้ ดั ความเส่ียงดา้ นสภาพคล่อง (Liquidity Risk Limit) ไดแ้ ก่ การดำ�รงสนิ ทรัพย์ สภาพคลอ่ ง และการกระจกุ ตวั ของแหลง่ เงนิ (Funding Concentration) อกี ทง้ั มกี ารตดิ ตามและรายงานความเสย่ี งสำ�คญั ทอี่ าจจะส่งผลกระทบตอ่ การดำ�เนินงานของธนาคาร เชน่ 1) ฐานะสภาพคลอ่ งสทุ ธิ (Liquidity Gap Report) 2) อัตราสว่ น การดำ�รงสินทรัพย์สภาพคล่องเพื่อรองรับกระแสเงินสดที่ไหลออกในภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio : LR) 3) อัตราส่วนท่ีมาและใช้ไปของแหล่งเงินท่ีมีความม่ันคง (Net Stable Funding Ratio : NSFR) นอกจากนี้ ธนาคารมี การจัดทำ�รายงานประมาณการสภาพคล่องล่วงหน้า 30 วัน และการทดสอบภาวะวิกฤติความเส่ียงด้านสภาพคล่อง แบง่ ออกได้ 3 กรณี ไดแ้ ก่ ภาวะวกิ ฤตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ กบั ธนาคาร (Institution-Specific Crisis) ภาวะวกิ ฤตทิ เี่ กดิ ขน้ึ กบั ระบบสถาบนั การเงนิ และสง่ ผลกระทบตอ่ สภาพคลอ่ งของธนาคาร (Market-Wide Crisis) และภาวะวกิ ฤตทิ เ่ี กดิ จากผลรวมของทงั้ สองปจั จยั (Combination of Both) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบในการติดตามฐานะสภาพคล่อง และนำ�ผลการทดสอบไปประกอบ การทดสอบแผนฉุกเฉินดา้ นการเงนิ ของธนาคาร 5. การบริหารความเสยี่ งด้านการปฏบิ ตั กิ ารและระบบ (Operational Risk) ธนาคารได้ดำ�เนินการบริหารจัดการความเส่ียงด้านปฏิบัตกิ ารและระบบผา่ นเครือ่ งมือสำ�คญั ไดแ้ ก่ 1) การบริหาร จัดการปัจจัยเสี่ยงด้านปฏิบัติการและระบบระดับองค์กร ให้อยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) 2) การประเมินความเสี่ยงและการควบคุมด้วยตนเอง (Risk and Control Self-Assessment: RCSA) 3) ดัชนีช้ีวัด ความเสย่ี งทส่ี ำ�คญั (Key Risk Indicator : KRI) และ 4) การรายงานเหตกุ ารณค์ วามเสยี หาย (Loss Event) และมกี ารตดิ ตาม เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีสำ�คัญและอาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน และแจ้งเตือนให้ผู้ปฏิบัติงานเฝ้าระวังเหตุท่ีเกิดขึ้น รวมทั้งธนาคารได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ให้คำ�นวณมูลค่าเทียบเท่าสินทรัพย์เส่ียงด้านปฏิบัติการ ด้วยวิธี Standardized Approach (SA-OR) ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์การคำ�นวณ มูลค่าเทียบเท่าสินทรัพย์เส่ียงด้านปฏิบัติการของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ เพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีเงินทุนเพียงพอ รองรับผลกระทบท่ีอาจเกิดขน้ึ ในอนาคตได้ ธนาคารมกี ารพัฒนาเคร่ืองมือตา่ ง ๆ อยา่ งต่อเนอื่ ง และใหค้ วามสำ�คญั ตอ่ การดำ�เนินงานให้เปน็ ไปตามกฎเกณฑ์ ทางการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และความเสยี่ งดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology Risk) รวมถงึ ความเสยี่ งทเ่ี กดิ จาก ภยั คุกคามทางไซเบอร์ (Cyber threat) นอกจากนี้ ธนาคารไดพ้ ัฒนาระบบการบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งทางธรุ กิจ (Business Continuity Managements: BCMs) ตามแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยและมาตรฐานสากล เพ่ือให้ธนาคารมี ความพรอ้ มรองรบั ตอ่ การใหบ้ รกิ ารอยา่ งตอ่ เนอื่ งกรณเี กดิ ภยั พบิ ตั หิ รอื ภาวะฉกุ เฉนิ ทง้ั การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเกดิ เหตุ ระหวา่ งเกิดเหตุ และการดำ�เนินการภายหลังจากเกดิ เหตุ ซง่ึ แผนฉุกเฉนิ ของธนาคาร ประกอบดว้ ย 1) แผนฉกุ เฉินดา้ น การเงนิ 2) แผนฉกุ เฉนิ ทางธุรกจิ เพอื่ รองรบั ภยั พบิ ตั ิตา่ ง ๆ 3) แผนฉกุ เฉินด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 4) แผนรองรบั การดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเน่ือง โดยมีการเตรียมความพร้อมด้านสถานท่ีทำ�งานสำ�รองทั้งในส่วนของหน่วยงานสำ�นักงาน ใหญ่ (Alternate Site) และสาขา (Buddy Branch) มีการทดสอบแผนฉุกเฉินครอบคลุมทกุ แผนเปน็ ประจำ�ทกุ ปี ตลอดจน มีการทดสอบแผนฉุกเฉนิ ร่วมกบั การใชบ้ รกิ ารจากผใู้ หบ้ รกิ ารภายนอก (Outsource) ทีส่ ำ�คัญ ในปี 2562 มีการปรบั ปรงุ แผนฉุกเฉินและแผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองให้ครอบคลุมการให้บริการผ่าน Mobile Banking (GHB ALL) นอกจากนี้ ธนาคารไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน ISO 27001:2013 ของระบบ ICAS และ BAHTNET ทำ�ให้มั่นใจวา่ ธนาคาร สามารถจดั การความต่อเนื่องของธุรกรรมงานสำ�คญั และการกลับสภู่ าวะปกติโดยเรว็ 52 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-30
นวัตกรรม และการให้บรกิ ารทางการเงนิ แบบดจิ ทิ ัล ปจั จบุ นั อตุ สาหกรรมธนาคารมกี ารแขง่ ขนั กนั สงู ทา่ มกลางการเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยที ร่ี วดเรว็ (Disruptive Technology) ทส่ี ง่ ผลกระทบรุนแรงกับธนาคาร จำ�เปน็ อยา่ งยิ่งทีธ่ นาคารต้องปรับตวั เพ่อื รองรบั กับพฤติกรรมของผบู้ ริโภค ธนาคารจึงม่งุ สู่ การบรกิ ารในรปู แบบ “Digital Service” เพอื่ ใหธ้ นาคารสามารถแขง่ ขนั ได้ และสามารถบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ “ธนาคารทด่ี ที ส่ี ดุ สำ�หรบั การมีบา้ น” (The Best Housing Solution Bank) และเตรียมความพร้อมสำ�หรบั รูปแบบการให้บริการ ท่ีมงุ่ สู่การเป็น Smart Digital Service ดว้ ยการใหบ้ รกิ ารดา้ นเทคโนโลยี และใชป้ ระโยชนจ์ ากนวตั กรรมและการใหบ้ รกิ ารทางดา้ นการเงนิ แบบดจิ ทิ ลั แนวทางการบรหิ ารจัดการ ธนาคารไดก้ ำ�หนดกลยทุ ธด์ า้ นการเงนิ แบบดจิ ทิ ลั เพอื่ มงุ่ เนน้ สกู่ ารบรกิ าร Smart Digital Service อยา่ งเตม็ รปู แบบ ดงั นี้ IT Structure การพัฒนาระบบ New Core Banking หรอื ระบบ GHB System เพื่อพัฒนาการให้บริการ ด้านสินเช่ือและเงินฝากของธนาคารทั้งหมดให้ มีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน ซ่ึงรูปแบบใหม่จะเน้น การทำ�งานที่เป็นอัตโนมัติ เพ่ือรองรับเทคโนโลยี สารสนเทศท่ีจะนำ�ไปสู่ Digital Service ทำ�ให้ ธนาคารเกิดความคล่องตัวในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ด้านสินเช่ือและเงินฝากท่ีมีเง่ือนไข และอตั ราดอกเบ้ยี ทำ�ให้ธนาคารมคี วามสามารถ ในการแขง่ ขนั เพิ่มข้นึ ในปี 2562 ได้มีการนำ�ระบบ Digital มาใช้เพื่อทำ�ให้การบริหารจัดการธนาคารมี ประสิทธิภาพ เช่น การพัฒนาระบบ ERP-HR มาใช้กับงาน Back Office เพื่อบริหารจัดการ ระบบบญั ชี งบประมาณ งานจดั ซอ้ื จดั จา้ ง รวมถงึ ระบบบริหารงานบุคคล พัฒนาระบบ IFRS9 เพ่ือรองรับมาตรฐานระบบบัญชีใหม่ Upgrade ระบบ KYC/CDD เพือ่ ระบุและพสิ จู น์ตัวตนลูกคา้ ปอ้ งกนั ความเสย่ี งทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ รวมถงึ การใชง้ าน ระบบ Tele Presence ในการถ่ายทอดนโยบาย ติดตาม และสื่อสารกันระหว่างสำ�นักงานใหญ่ กับสาขาตามภูมิภาคต่าง ๆ ของธนาคาร หรือ ระหว่างสาขากับสาขาได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีประสทิ ธภิ าพ GRI 103-1, GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 53
IT Service เป็นช่องทางการให้บริการในรปู แบบ Digital ใหม่ของธนาคาร เชน่ Mobile Deposit Machine ซึ่งเป็น เคร่ืองรับฝากเงินอัตโนมัตินอกสถานท่ีแบบ Online เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับลูกค้าของธนาคาร และ ยังเป็นการสร้างวินัยทางการเงินให้กับประชาชน นอกจากน้ี ธนาคารนำ�เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิด บริการใหม่ ได้แก่ โครงการ Payment Gateway เพ่ือแกป้ ญั หาด้านบริการลูกคา้ ของธนาคารท่ตี อ้ งเสยี เวลา ในการเขา้ ควิ ชำ�ระหนเี้ งนิ กทู้ กุ สน้ิ เดอื น รวมถงึ ยกระดบั ความพงึ พอใจในการใหบ้ รกิ าร ทง้ั น้ีโครงการ Payment Gateway แบ่งออกเป็น 3 Phase ดังนี้ Loan Repayment QR Non Cash Machine Payment 1. เครอ่ื งรบั ชำ�ระหนเี้ งนิ กู้ (Loan 2. เครื่องชำ�ระหน้ีเงินกู้ไร้เงินสด 3. Mobile Application “GHB All” Repayment Machine) เป็น Dynamic QR Noncash คือ Mobile Application ท่ี เครอื่ งรบั ชำ�ระหนเ้ี งนิ กู้ Online Payment ลกู คา้ สามารถชำ�ระ รวมบริการทุกประเภทของ แบบใช้เงินสด สามารถรับ สนิ เชอ่ื ของธนาคาร โดยเลือก ธนาคาร เช่น การชำ�ระหนี้ ชำ�ระหนี้พร้อมกันได้หลาย บัญชีเงินกู้และจำ�นวนเงินที่ เงนิ กู้ การโอนเงิน การจองคิว บัญชี ต้องการของแต่ละบัญชี เพื่อ เพ่ือใช้บริการสาขา ใบเสร็จ สรา้ ง Dynamic QR Code ขนึ้ รับเงินอิเล็กทรอนิกส์ การทำ� หลังจากน้ันลูกค้าสินเชื่อของ Pre-Approve การขอสินเชื่อ ธนาคารสามารถใช้ Mobile การนัด การติดตามสถานะ Application ของธนาคารใด เป็นต้น และจะมีการเช่ือมต่อ ก็ได้ท่ีลูกค้ามี นำ�มาอ่าน Application ของการใหบ้ รกิ าร Dynamic QR Code ดงั กล่าว NPL, NPA และ E-Loyalty สามารถโอนเงินมาชำ�ระหนี้ เข้าด้วยกัน เงินกู้ของธนาคารอาคาร สงเคราะห์ไดท้ นั ทแี บบ Online โดยไม่ต้องใช้เงินสด ซึ่งเป็น การเพม่ิ ชอ่ งทางการชำ�ระเงนิ กู้ อำ�นวยความสะดวกใหก้ บั ลกู คา้ นอกจากนี้ ธนาคารยงั ไดก้ ำ�หนดแผนแมบ่ ทดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT Roadmap) เพอ่ื ใหส้ ามารถ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถแขง่ ขนั เกดิ ความคมุ้ คา่ และมคี วามยดื หยนุ่ เพยี งพอ ที่จะรบั การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีในอนาคต 54 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
จ�ำ นวนยอดผลู้ งทะเบยี น GHB ALL ปี 62 เทา่ กบั 241,781 คน เพม่ิ ขน้ึ จากปกี ่อน ซง่ึ มีจำ�นวนเพียง 27,663 คน และเนื่องจากธนาคารเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ให้มีความรู้ความสามารถเพื่อรองรับ กับการ Transformation to Digital Service ของธนาคารท่ีมากย่ิงขึ้นในอนาคต ทางธนาคารจึงพัฒนาหลักสูตรสำ�หรับ ผบู้ ริหารและผปู้ ฏิบัตงิ านให้รองรบั กับการเปลย่ี นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ หลกั สูตรส�ำ หรบั ผูบ้ รหิ ารและพนักงานเพอ่ื ตอบสนองการให้บรกิ ารทางการเงินแบบ Digital หลักสูตร IT Non IT การประเมินผล Business Support ระ ัดบ ูสง Big Data & Cyber Security • • • Application Build GHB Innovation Organization • • • Application LEADER Digital Marketing Concept for Executive • • • Application ระ ัดบกลาง Innovation Management • • • Application IT Security Awareness • • • Knowledge/Application ระ ัดบ ้ตน Big Data & Cyber Security • • • Application IT Security Awareness • • • Knowledge/Application การปอ้ งกนั การทจุ รติ ในยคุ ดจิ ทิ ลั • • • Application การปรบั ปรงุ กระบวนงานผา่ นเครอ่ื งมอื QC Story • • • Application การตลาดและการแขง่ ขนั ในยคุ ดจิ ทิ ลั • • GHB ALL / GHB system • • Knowledge/Application Consumer Behavior in Digital Era • • Application Knowledge/Application ระดับป ิฏ ับ ิตการ Mobile Deposit Machine •• • Application LRM •• • Application ลูก ้จาง การปรบั ปรงุ กระบวนงาน ธนาคาร IT Security Awareness • Application GHB ALL / GHB system •• • Knowledge/Application Data Science •• • Application Digital Literacy •• • Knowledge/Application IT Security Awareness •• • Knowledge/Application Microsoft Excel 2010 •• • Knowledge/Application GHB ALL •• • Knowledge/Application •• • Application GRI 103-3 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 55
การเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการเงนิ และสง่ เสรมิ ความรทู้ างการเงนิ ธนาคารมคี วามมงุ่ มน่ั ในการดำ�เนนิ งาน โดยยดึ ตามแนวนโยบายภาพรวมสาขาสถาบนั การเงนิ (Umbrella Statement) คือ การเป็นสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนา ในการสร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนอย่างทั่วถึง ควบคู่กับการให้ ความร้ทู างการเงนิ เพ่ือสนับสนุนความเข้มแขง็ เศรษฐกิจฐานราก พัฒนาขดี ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ และ ลดความเหลื่อมล้ําในสังคมภายใต้การบริหารจัดการองค์กรท่ีม่ันคง โปร่งใส และย่ังยืน โดยการนำ�เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและให้บริการทางการเงิน และมุ่งดำ�เนินการตามพันธกิจของธนาคาร คือ “ทำ�ให้คนไทย มีบ้าน” แนวทางการบริหารจดั การ ในการประกอบธรุ กจิ ดา้ นสนิ เชอื่ และธรุ กจิ ดา้ นเงนิ ฝาก ธนาคารไดก้ ำ�หนดกลยทุ ธ์โดยใหค้ วามสำ�คญั กบั การดแู ลลกู คา้ เปน็ รายกลมุ่ เพอื่ เพม่ิ โอกาสการมบี า้ นใหก้ บั คนไทยไดท้ วั่ ถงึ มากยง่ิ ขนึ้ นอกจากน้ี ธอส. ไดด้ ำ�เนนิ โครงการสำ�คญั ตามนโยบาย ของรฐั บาล ซงึ่ มกี ารขบั เคลอ่ื นรว่ มกบั ภาครฐั และภาคเอกชน อาทิ โครงการสนิ เชอ่ื ทอี่ ยอู่ าศยั เพอ่ื สวสั ดกิ ารแหง่ รฐั เพอื่ ดแู ล ประชาชนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเองและสามารถมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนได้ ซ่ึงในรอบปีที่ผ่านมาธนาคารได้ สร้างการเข้าถึงบริการทางการเงินและส่งเสริมความรทู้ างการเงนิ ทส่ี ำ�คญั ดงั นี้ ผลิตภณั ฑ์สนิ เช่ือ สินเชือ่ บ้าน ALL HOME บ้านโครงการจัดสรร (Developer) สินเช่ือบ้าน ALL HOME เป็นผลิตภัณฑ์สินเชื่อท่ี เป็นผลิตภัณฑ์สินเช่ือท่ีจัดทำ�ข้ึนสำ�หรับลูกค้าที่ซ้ือ จดั ทำ�ขึ้นสำ�หรบั ลูกคา้ ทุกกลมุ่ มวี ตั ถปุ ระสงค์ท่หี ลากหลาย ทอี่ ยอู่ าศยั ในโครงการจดั สรรพนั ธมติ รของธนาคาร เปน็ การ อกี ทงั้ ยงั ใหว้ งเงนิ กสู้ งู เงนิ งวดตาํ่ เพอ่ื ทำ�ใหค้ นไทยสามารถ สรา้ งความสัมพนั ธ์กับพนั ธมติ รทางธรุ กิจ เพ่อื ประโยชน์แก่ เข้าถึงบริการทางด้านสินเช่ือบ้านได้ง่ายมากย่ิงขึ้น โดย ทง้ั ลกู คา้ ของธนาคารและพนั ธมติ รทง้ั ในปจั จบุ นั และอนาคต “สินเช่ือบ้าน ALL HOME” ได้มีการทบทวนปรับปรุง ซง่ึ “สินเชอ่ื บ้านโครงการจัดสรร (Developer)” เปน็ สนิ เชือ่ เง่ือนไข เพ่ือรองรับและอำ�นวยความสะดวกแก่ลูกค้า และ ทม่ี อี ตั ราดอกเบยี้ ตา่ํ เงนิ งวดตาํ่ ใหว้ งเงนิ กสู้ งู โดยไตรมาส 3 เพ่ือให้สอดรับกับสถานการณ์อัตราดอกเบี้ยในขณะนั้น และไตรมาส 4 ปี 2562 น้ี “สินเชื่อบ้านโครงการจัดสรร ในทุก ๆ ไตรมาส ซงึ่ ในไตรมาส3 และไตรมาส4 ปี2562 นน้ั (Developer)” มีอัตราดอกเบ้ยี เงินกู้ ปที ี่ 1-3 = 3.25% ต่อปี “สินเชื่อบ้าน ALL HOME” มีอัตราดอกเบ้ียเงินกู้ปีที่ 1-3 ปที ่ี 4 จนถงึ ตลอดอายสุ ญั ญา กรณสี วสั ดกิ าร = MRR-1.00% = 3.30% ตอ่ ปี ปที ่ี 4 จนถงึ ตลอดอายสุ ญั ญา กรณสี วสั ดกิ าร ต่อปี กรณีรายย่อย = MRR-0.50% ต่อปี ซึ่งในปี 2562 = MRR-1.00% ต่อปี กรณีรายย่อย = MRR-0.50% ต่อปี มียอดสนิ เชอื่ รวมทั้งสิ้นจำ�นวน 13,361.36 ลา้ นบาท กรณีซื้ออุปกรณ์ = MRR ต่อปี และได้รับการตอบรับจาก ลูกค้าเป็นอย่างดี โดยในปี 2562 มียอดสินเชื่อรวมท้ังส้ิน 51,310.14 ล้านบาท 56 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-1, GRI 103-2
ผลติ ภัณฑ์สินเชอื่ กลมุ่ Social Solution สนิ เชอ่ื เพอื่ ทอ่ี ยอู่ าศยั เพอื่ พนกั งานราชการและพนกั งาน ผลติ ภณั ฑส์ นิ เชอื่ กลมุ่ SocialSolution เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ของรฐั สำ�หรบั พนักงานราชการ พนกั งานมหาวิทยาลัย สินเชื่อที่อยู่อาศัยเพ่ือช่วยเหลือกลุ่มผู้มีรายได้น้อยท่ีมี พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ พนกั งาน/เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทเ่ี รยี กชอื่ รายได้ไม่เกิน 25,000 บาทต่อเดือน กลุ่มข้าราชการ อย่างอ่ืน ท่ีไม่มีคุณสมบัติขอกู้เงินตามคำ�นิยามใน กลุ่มพนกั งานรฐั วสิ าหกจิ และโครงการสนิ เช่อื ตามนโยบาย ข้อตกลงโครงการสวัสดิการเงินกู้เพื่อท่ีอยู่อาศัยประเภท รัฐบาลให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง ซึ่งปี 2562 มียอด ไม่มเี งนิ ฝาก ทห่ี น่วยงานไดล้ งนามร่วมกบั ธนาคาร นิติกรรมจ่ายจริง จำ�นวน 153,000.41 ล้านบาท โดยมี สินเชื่อบ้าน ธอส.-กบข. เพ่ือท่ีอยู่อาศัยข้าราชการ ผลติ ภัณฑ์ เชน่ ครั้งที่ 14 สำ�หรับข้าราชการท่ีเป็นสมาชิกกองทุน สินเชื่อเพื่อท่ีอยู่อาศัยแห่งรัฐ (โครงการบ้านล้านหลัง) บำ�เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ (กบข.) สำ�หรบั ประชาชนทวั่ ไปทมี่ คี วามตอ้ งการมที อี่ ยอู่ าศยั เปน็ สินเช่ือบ้าน ธอส. เพื่อคุณ สำ�หรับประชาชนท่ัวไป ของตนเองในราคาซ้ือขายไม่เกิน 1 ล้านบาท/หน่วย ท่ีมีรายได้รวม ไม่เกิน 35,000 บาทต่อเดือน และไม่มี โดยมงุ่ เนน้ กลมุ่ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยท่ีไมส่ ามารถเขา้ ถงึ สนิ เชอื่ ประวัติการผ่อนชำ�ระสินเชื่อที่อยู่อาศัยกับ ธอส. และ ของธนาคารพาณิชย์ กลุ่มคนวัยทำ�งานหรือประชาชน สถาบนั การเงินอ่ืน ท่ีกำ�ลังเรม่ิ ตน้ สรา้ งครอบครวั รวมถงึ กลมุ่ ผ้สู งู อายุ สินเชื่อบ้าน ธอส. เปีย่ มสขุ สำ�หรบั ประชาชนท่ัวไปทมี่ ี ความตอ้ งการมที อี่ ยอู่ าศยั เปน็ ของตนเองในราคาซอ้ื ขาย มาตรการสินเชื่อเพ่ือท่ีอยู่อาศัยของธนาคาร ไมเ่ กิน 2 ล้านบาทต่อหน่วย อาคารสงเคราะห์ สำ�หรับประชาชนทั่วไปที่มี สินเชื่อวิมานเมฆ สำ�หรับประชาชนทั่วไปที่มีรายได้ ความต้องการท่ีอยู่อาศัยเป็นของตนเองในราคาซ้ือขาย รวมไมเ่ กนิ 25,000 บาทตอ่ เดอื น ราคาซอ้ื ขายทอี่ ยอู่ าศยั ไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อหน่วย โดยซ้ือท่ีดินพร้อมอาคาร ไม่เกนิ 2 ลา้ นบาทตอ่ หน่วย หรือห้องชดุ จากผู้ประกอบการอสังหาริมทรพั ย์ นอกจากนี้ ธนาคารขอแกไ้ ขพระราชบญั ญตั ธิ นาคาร สนิ เชอ่ื บา้ น ธอส. เพอ่ื สานรกั ปี 2562 สำ�หรบั ประชาชน อาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 โดยแก้ไขวัตถุประสงค์ให้ ทัว่ ไปท่มี รี ายได้รวมไมเ่ กนิ 25,000 บาทต่อเดอื น ผู้สูงอายุสามารถนำ�ท่ีดินหรืออาคารมาใช้ประโยชน์ในการ สนิ เชอื่ ทอ่ี ยอู่ าศยั เพอื่ บคุ ลากรภาครฐั สำ�หรบั ขา้ ราชการ ขอสินเชื่อจากธนาคาร เพ่ือนำ�ไปใช้ในการดำ�รงชีพ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงาน (Reverse Mortgage: RM) ซ่ึงพระราชบัญญัติธนาคาร รฐั วสิ าหกจิ /พนกั งาน/เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทเ่ี รยี กชอ่ื อยา่ งอน่ื อาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา และลูกจ้างประจำ� ที่เป็นผู้มีสิทธิขอกู้เงินตามคำ�นิยาม เมื่อวันท่ี 16 เมษายน 2562 และธนาคารเปิดให้บริการ ในข้อตกลงโครงการสวัสดิการเงินกู้เพ่ือที่อยู่อาศัย สนิ เชอ่ื ทอี่ ยอู่ าศยั สำ�หรบั ผสู้ งู อายุ (Reverse Mortgage: RM) ประเภทไม่มีเงินฝาก ท่ีหน่วยงานได้ลงนามร่วมกับ เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 ธนาคาร GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 57
ผลติ ภณั ฑเ์ งินฝาก ตามทธี่ นาคารเปดิ ใหบ้ รกิ ารรบั ฝากเงนิ ประเภทเงนิ ฝากออมทรพั ย์ ออมทรพั ยพ์ เิ ศษ ซปุ เปอรอ์ อมทรพั ยพ์ เิ ศษ เงนิ ฝาก ประจำ� และ เงนิ ฝากกระแสรายวัน ท้ังลกู คา้ บคุ คลธรรมดา นติ บิ ุคคล หนว่ ยงานราชการ รฐั วสิ าหกจิ และสถาบันการเงนิ แล้ว ธนาคารยังจัดทำ�ผลิตภัณฑ์เงินฝากอัตราดอกเบ้ียพิเศษสำ�หรับรองรับกลุ่มลูกค้าเงินฝากของธนาคาร ที่มีความต้องการ ทแี่ ตกตา่ งกนั ประกอบกบั ในปี 2562 ธนาคารไดร้ บั การยกเวน้ ภาษดี อกเบย้ี เงนิ ฝากประเภทออมทรพั ย์ สำ�หรบั บคุ คลธรรมดา ตงั้ แต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2562 เป็นตน้ ไป ธนาคารจึงไดจ้ ัดทำ�เงินฝากออมทรัพย์ New Flexi เพ่ือรองรับกลุม่ ลกู ค้าเงนิ ฝาก ไม่เกนิ 10 ล้านบาท (S) และกลมุ่ ลกู คา้ Gen Y & Millennial พร้อมทง้ั เงินฝากประจำ� 14 เดือน ท่ีลกู คา้ จะไดร้ บั ดอกเบ้ยี เงินฝากทันที ณ วันท่ีเปิดบัญชีเพื่อรองรับกลุ่มลูกค้า สำ�หรับเงินฝากตั้งแต่ 10 ล้านบาท แต่ไม่ถึง 1,000 ล้านบาท (M) และเงินฝากพื้นฐานของธนาคารที่สามารถบวกเพิ่มอัตราดอกเบ้ียพิเศษได้ตามความเหมาะสมสำ�หรับลูกค้าเงินฝากตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป (L) การให้ความรูท้ างการเงนิ ธนาคารมงุ่ เนน้ การสรา้ งองคก์ รใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มดว้ ยการใหค้ วามรทู้ างการเงนิ (Financial Literacy) กับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าได้เล็งเห็นว่าการวางแผนและการบริหารจัดการทางการเงินท่ีดีจะเป็นรากฐานท่ีสำ�คัญของ การเสริมสร้างชุมชนและสังคมให้มีความเข้มแข็ง การให้ความสำ�คัญกับการให้ความรู้ทางการเงินจึงสะท้อนการมีส่วนร่วม ของธนาคารต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในฐานะตัวกลาง ทางการเงินที่มีความสำ�คัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ท้ังน้ี ธนาคารจึงได้จัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือสนับสนุน การประกอบอาชพี ส่งเสรมิ ความรู้ใหก้ ับเยาวชน ลกู ค้า และ ประชาชนทว่ั ไป เพอื่ ปลูกฝังวินยั การออม การวางแผน และ การบรหิ ารจดั การทางการเงนิ สว่ นบคุ คลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดังนี้ โครงการหนง่ึ อาชพี หนง่ึ ชุมชนเพื่อความย่ังยนื เปน็ โครงการยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชนผดู้ อ้ ยโอกาสดา้ นทอ่ี ยอู่ าศยั เพอื่ สนบั สนนุ ใหผ้ มู้ รี ายไดน้ อ้ ย ไดม้ โี อกาสเขา้ ถงึ สินเช่ือที่อยู่อาศัยของธนาคารด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ธนาคารให้การสนับสนุนศูนย์การเรียนรู้และ ส่งเสริมอาชีพดา้ นการเกษตรในโครงการ 1 อาชีพ 1 ชุมชนเพ่ือความยงั่ ยนื ณ ชมุ ชนวังกพ์ ง จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ และ ชุมชนบา้ นสามเรอื น อำ�เภอบางปะอิน จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา เพอ่ื พัฒนาความรู้ การมสี ่วนร่วมเพอ่ื เสรมิ ความเข้มแขง็ และความย่งั ยนื ของชุมชนในมุมมองดา้ นสังคมเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อม 58 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
โครงการ ธอส. โรงเรียนการเงนิ ธนาคารไดจ้ ัดทำ�โครงการ ธอส. โรงเรยี นการเงิน (Financial Literacy) ต้ังแต่ปี 2559 โดยมีวตั ถุประสงค์เพอ่ื ใหค้ วามรู้ การออม การทำ�บัญชรี บั จ่าย สรา้ งความพรอ้ มสกู่ ารมบี ้าน เพอื่ ใหผ้ ู้ที่ยังไมม่ ีความพรอ้ มในการยน่ื ขอสนิ เชือ่ ตามเกณฑ์ปกติ ของธนาคาร หรอื กลมุ่ นกั ศกึ ษาใกลจ้ บ สามารถลงทะเบยี นขอคำ�แนะนำ�จากธนาคาร และ/หรอื ฝากเงนิ กบั ธนาคารตามจำ�นวน เงินและระยะเวลาท่ีธนาคารกำ�หนดก่อนการขออนุมัติสินเชื่อจากธนาคาร สร้างโอกาสให้คนกลุ่มนี้สามารถมีบ้านเป็นของ ตนเองได้ในอนาคต โดยในปี 2562 มียอดผูท้ ล่ี งทะเบียนโครงการ ธอส. โรงเรียนการเงินมายน่ื ขอสนิ เช่อื กับธนาคารเพม่ิ ขน้ึ จ�ำ นวนผ้เู ข้าร่วมโครงการและจำ�นวนเงินบัญชเี งนิ ฝาก เพือ่ ขอสนิ เชื่อ โครงการ ธอส. โรงเรยี นการเงนิ 80,000 73,596 19,911 20,000 70,000 60,000 15,000 50,000 40,000 37,538 37,290 10,000 30,000 15,793 20,783 20,000 5,000 20,000 10,000 11,000 702 - 10,000 - 820 0 2559 2560 2561 2562 จำ�นวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ (คน) (แกนซ้าย) บญั ชเี งินฝาก (ครวั เรือน) (แกนขวา) เป้าหมายจำ�นวนผู้เขา้ รว่ ม (คน) (แกนซ้าย) โครงการใหค้ วามรู้ดา้ นการออมและการทำ�บัญชีครัวเรือน ธนาคารไดจ้ ดั ทำ�โครงการใหค้ วามรดู้ า้ นการออม การทำ�บญั ชคี รวั เรอื นใหก้ บั ลกู หนโี้ ครงการบา้ นเออื้ อาทร ซงึ่ ประสทิ ธผิ ล จากการให้ความรู้ด้านการออมที่ส่งผลต่ออัตราการซื้อคืนของการเคหะแห่งชาติ มีแนวโน้มลดลง โดยปี 2562 มีจำ�นวน ครัวเรือนทเี่ ขา้ รว่ มรับการอบรมใหค้ วามรกู้ ารทำ�บญั ชคี รวั เรือน จำ�นวน 19,911 ครัวเรือน GRI 103-2, GRI 103-3, Former FS 13, Former FS 14, Former FS 16 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 59
60 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
มิติด้านสงั คม Social การมสี ่วนร่วมในการพัฒนาสังคม การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ความพงึ พอใจและความภักดขี องลูกค้า การรกั ษาความปลอดภัยของขอ้ มูลและความเปน็ ส่วนตัวของผู้ใชบ้ รกิ าร การบริหารและพฒั นาบุคลากรด้วยความเป็นธรรม การสร้างความผูกพนั และการมสี ว่ นร่วมของผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย การส่งเสรมิ และพฒั นาความเขม้ แขง็ ของชุมชนและสงั คม การให้บริการทางการเงินอย่างเท่าเทยี ม สุขภาพ ความปลอดภัย และความเป็นอยทู่ ีด่ ีของพนกั งาน วฒั นธรรมและค่านยิ มองค์กร รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 61
การกำ�กับดแู ลกิจการที่ดี ธนาคารได้นำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการตามมาตรฐานสากล หลักการและแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการท่ีดี ในรฐั วสิ าหกิจ พ.ศ. 2562 และแนวปฏิบตั ิของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง มาเปน็ กรอบในการกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานให้เกิดความโปร่งใส ตรวจสอบได้ เพ่ือให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ว่าการดำ�เนินงานท่ัวทั้งองค์กรของธนาคาร เป็นไปโดยยึดประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นหลัก บนพ้ืนฐานท่ีมุ่งเน้นการปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ต่อต้านการทุจริต มีจิตสำ�นึกในความรับผิดชอบต่อภารกิจ และหน้าทตี่ ่อผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสยี โดยเสมอภาคและเทา่ เทียมกนั แนวทางการบรหิ ารจัดการ ธนาคารให้ความสำ�คัญกบั การกำ�กับดูแลกจิ การ (Corporate Governance: CG) โดยกำ�หนดเป็นยทุ ธศาสตร์ธนาคาร SMART Goals (ตัว T : Trusted by Stakeholders) โดยมีวตั ถุประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตรเ์ พ่อื ยกระดับ CG&CSR ขององค์กร ให้ มรี ะดบั ผลประเมินด้าน CG โดยธนาคารแหง่ ประเทศไทยอยู่ในระดับแนวหน้า และกำ�หนดเปา้ ประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ “รักษาคะแนน ITA อยู่ในอนั ดบั 1” สะทอ้ นถงึ ความไวว้ างใจของผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย รวมถงึ กำ�หนดเปน็ ค่านิยมของธนาคาร (G : Good Governance) เป็นไป ตามแนวทางการกำ�กบั ดูแลกจิ การทดี่ ีของ สคร. แนวทาง พ.ร.บ., กฎเกณ ฑ, กฎหมาย การกํากับดูแลกิจการที่ดี ผลลัพธ (OUTCOME) หนวยงาน ํกากับ ูดแล เ ชน กระทรวงการค ัลง, ธปท., สคร., สตง. เปนตน GOOD CORPORATE GOVERNANCE คะแนนประเมนิ การจดั ลาํ ดบั ดา นธรรมาภบิ าล (ธปท.) คอ นขา งดี (Governing Laws and Regulations) คะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง ใส (ITA) สํานักงาน ปปช. อยใู นระดบั AA S 1.โครงสรางการกํากับดูแลกิจการ (Structure of Corporate Governance) คณะกรรมการธนาคาร (Board of Directors) Level 1 คณะกรรมการตรวจสอบ / คณะกรรมการบร�หาร / คณะกรรมการกาํ หนดกลยุทธแ ละนโยบายดา น IT / คณะกรรมการกํากบั ดแู ลกจิ การที่ดแี ละความรับผดิ ชอบตอ สงั คมและสิ�งแวดลอ ม (CG&CSR) / คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน / คณะกรรมการบร�หารความเส่ยี ง Level 2 คณะกรรมการจดั การ T CG M 5. การปฏบิ ัติงานแบบบูรณาการ 6. การกํากบั ดแู ลกจิ การและ 2. กาํ หนดนโยบายหลักสําคัญ ทีโ่ ปรง ใสตรวจสอบไดและระบบ จร�ยธรรม จรรยาบรรณ และการกาํ หนดเปาหมาย การรายงาน (CG and Code of conduct) (Major policy and Set goals) (Transparency in Operations MVV & Reporting System) SMART Goals A CG 7 ประการ R จรย� ธรรม & จรรยาบรรณ 3. การปฏบิ ัตงิ านใหบรรลเุ ปาหมาย (Achievement our goals) 4. รับผดิ ชอบตอผมู ีสว นไดเสีย ทกุ กลุม (Responsibility to Stakeholders) RCadGar การบังคบั ใชกฎหมาย กฎเกณฑ ระเบยี บขอ บังคับ และคาํ ส่ัง (Enforcement) RCadGar 62 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-1, GRI 103-2
คณะกรรมการธนาคารไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ�คญั ในการกำ�กบั ดแู ลกจิ การจงึ ไดก้ ำ�หนดนโยบายการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี และจดั ทำ�คมู่ อื การกำ�กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณของธนาคาร เพอื่ ใหค้ ณะกรรมการ ผบู้ รหิ ารและผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ธนาคารยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานตามภารกิจของตนควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานตามกฎหมาย กฎระเบียบ คู่มือปฏิบัติงาน และคำ�ส่ังที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้ธนาคารมีการกำ�กับดูแลกิจการท่ีดีทั้งในเรื่องประสิทธิภาพประสิทธิผล ของกระบวนการทำ�งาน (Work Process) กำ�หนดความรับผิดชอบที่ชัดเจน (Accountability) และระบบการตรวจสอบและ ถ่วงดุล (Check and Balance) รวมทั้งความสอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่เป็นสากล โดยคณะกรรมการมีบทบาทและหน้าที่ สำ�คญั ในการกำ�หนดวิสัยทศั นข์ องธนาคาร ใหค้ วามเห็นชอบกบั กลยุทธ์ นโยบายท่สี ำ�คัญ และแผนงาน รวมถงึ วตั ถุประสงค์ เปา้ หมาย (Key Performance Indicator : KPI) ทางการเงินและแผนงานตา่ ง ๆ ของธนาคาร และตดิ ตามผลการดำ�เนินงาน ของฝา่ ยจดั การ ใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามแผนงานทกี่ ำ�หนดไวอ้ ยา่ งสมา่ํ เสมอ รวมทงั้ ใหค้ ำ�แนะนำ�เรอื่ งกลยทุ ธ์ เพอ่ื สรา้ งความเชอ่ื มน่ั ไดว้ ่ากิจกรรมต่าง ๆ ของธนาคารดำ�เนินไปในลกั ษณะทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมายและมจี รยิ ธรรม ยทุ ธศาสตรก์ ารกำ�กับดแู ลกจิ การท่ีดี ปี 2562 ธนาคารได้นำ�วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และยุทธศาสตร์ของธนาคาร รวมถึงหลักการและแนวทาง การกำ�กับดูแลกิจการท่ดี ีในรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 ของ สคร. ค่มู ือการกำ�กับดูแลกิจการท่ดี ี จริยธรรม และจรรยาบรรณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ หลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (SEPA) ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลักเกณฑ์การประเมินคุณธรรมความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) หลักเกณฑ์ และแนวทาง การดำ�เนินงานด้านธรรมาภิบาลของ สคร. สาขาสถาบันการเงิน มาเป็นข้อมูลประกอบการจัดทำ�แผนแม่บท ด้านการกำ�กบั ดูแลกจิ การทด่ี ี โดยแผนการดำ�เนนิ งานด้าน CG ในปี 2562 จำ�นวน 3 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ 01 ยุทธศาสตรท่ี 1 การยกระดับคุณธรรมความโปรงใสในการดําเนินงาน สูเปาหมายเชิงกลยุทธที่ย่ังยืน 02 ยุทธศาสตรท่ี 2 เสรม� สรา งระบบงาน/กระบวนการจัดการทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ โปรง ใส ตรวจสอบได ปอ งกนั การทจุ รต� 03 ยุทธศาสตรท่ี 3 การสง เสรม� พฒั นาองคค วามรแู ละสรา งการมสี ว นรว มดา น CG จากผมู สี ว นไดส ว นเสยี ทกุ ภาคสว นเพ่�อสรา งวฒั นธรรมองคกร GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 63
ซง่ึ ผลการดำ�เนนิ งานในแต่ละยทุ ธศาสตรม์ รี ายละเอยี ดดังนี้ ผลการดำ�เนินงาน ปี 2562 เป้าหมายระยะยาวด้านความยั่งยนื ผลคะแนนเปน็ อันดับ 1 ของประเทศ (99.06) ปี 2562-2566 สามารถเปิดเผยข้อมูลได้ครบถ้วนและปรับปรุงข้อมูล ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ให้มีความทันกาล โครงการยกระดบั คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส ในการดำ�เนินงาน (2560 - 2564) กำ�หนด ฝา่ ยตรวจสอบเขา้ ตรวจสอบดว้ ยวธิ ี Mystery Shopper เป้าหมายผลการประเมนิ ระดบั AA (95 - 100) จำ�นวน 10 สาขา เป็นไปตามแผนการตรวจสอบท่ีได้ แผนการเปิดเผยขอ้ มลู ขา่ วสารตอ่ สาธารณะ รับการอนมุ ตั ิ ตามเกณฑม์ าตรฐานความโปรง่ ใส และตวั ช้ีวัด พฒั นาระบบ Fraud Module เพอ่ื ตรวจสอบธรุ กิจตอ้ ง ความโปรง่ ใส สงสยั ผา่ นช่องทาง Digital Service และเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ระบบงาน Change Committee แผนงาน 3 Lines of Defense : Market Conduct มีนโยบายกำ�หนดข้อห้ามในการให้สินเช่ือและจัดซ้ือ ด้านประกนั ภยั จัดจา้ งส�ำ หรบั กรรมการและผู้บริหาร สามารถดำ�เนินการได้ตามแผนงานที่กำ�หนด ขณะนี้ โครงการ Fraud management (2560-2564) อยรู่ ะหว่างสง่ มอบงานงวดท่ี 4 (โครงการตอ่ เนอื่ ง) ข อ อ นุ มั ติ ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร ป รั บ ป รุ ง รู ป แ บ บ และแบบค�ำ ขอสินเชอื่ แผนงานการปฏบิ ตั งิ านตามรายงานการตรวจสอบ ก�ำ หนดแผนปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายในจากการประเมนิ ของ ธปท.ด้านธรรมาภิบาล RCSA แลว้ เสร็จ โครงการ Smart Complaint Management สามารถด�ำ เนนิ การไดค้ รบถว้ น เชน่ จดั อบรมใหค้ วามรู้ แผนตดิ ตาม/สอบทานการปฏบิ ัติตามกฎหมาย ดา้ น CG ผ่านระบบ E-learning ศึกษาดงู านทธ่ี นาคาร 21 ฉบบั ออมสนิ เป็นตน้ แผนการติดตามการด�ำ เนนิ งานตามแผนปรับปรุง ส�ำ รวจความคาดหวงั และความพงึ พอใจของผู้มสี ว่ นได้ การควบคุมภายในของฝ่าย/สำ�นกั /ศูนย์ ส่วนเสียแลว้ เสร็จ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 สามารถด�ำ เนินการได้ครบถ้วน เชน่ การทบทวนคูม่ อื โครงการส่งเสรมิ ความรดู้ ้านการกำ�กบั ดูแลกิจการทด่ี ี การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมและจรรยาบรรณ ของธนาคาร กำ�หนดหัวข้อจริยธรรมในการเลื่อนข้ัน โครงการส�ำ รวจความคาดหวงั ความพงึ พอใจและ และการรับพนักงานใหม่ กำ�หนดเรื่องจริยธรรมเป็น ความคิดเห็นดา้ น CG จากผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย และ IPA ของผู้นำ�ทุกระดับ กิจกรรม CG&CSR Spirit ประเมินพฤตกิ รรมพนกั งานทีส่ อดคล้องตามหลกั CG Day เปน็ ตน้ โครงการส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มด้านการกำ�กบั ดูแลกิจการท่ีดี 64 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-3
ปี 2562 ธนาคารได้นำ�หลักการสำ�คัญในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ธนา ร า ะ ห เผยแพร่ใหพ้ นกั งานรบั ทราบและถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จงั และยงั ไดน้ ำ�หลกั เกณฑ์ คารอาคารสงเค มาทบทวนอย่างสมํ่าเสมอเป็นประจำ�ทุกปีเพื่อพัฒนาการดำ�เนินงาน ในด้านการกำ�กับดูแลกิจการให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น นอกจากน้ี ธนาคาร ธนาคารไดร้ ับผลคะแนน ยังจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมด้านกำ�กับดูแลกิจการท่ีดีแก่พนักงานเป็น การประเมินคุณธรรมและ ประจำ�ทุกปี ผ่านกิจกรรมโครงการบุคคลต้นแบบด้านการกำ�กับดูแลกิจการท่ีดี ความโปร่งใสในการด�ำ เนินงาน เพ่ือยกย่องเชิดชูพนักงาน ผู้ปฏิบัติหลักธรรมาภิบาล มีคุณธรรม จริยธรรม ของหนว่ ยงานภาครัฐ สร้างพนักงานต้นแบบที่เป็นแบบอย่างท่ีดี มีความซ่ือสัตย์ มีจริยธรรม นำ�ไป (Integrity and Transparency สู่วัฒนธรรมและค่านิยมของธนาคาร ปลูกจิตสำ�นึก สร้างค่านิยม ซึ่งจะเป็น Assessment : ITA) การช่วยขับเคลื่อนและสร้างระบบกลไก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรม จรรยาบรรณของธนาคารใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล 99.06ประจำ�ปี 2562 ท่รี ะดบั คะแนน อนง่ึ ธนาคารยงั มกี ารดำ�เนนิ กจิ กรรมสำ�คญั เชน่ การสำ�รวจความคาดหวงั และความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) อีกทั้งให้ความสำ�คัญ สงู สดุ เป็นอนั ดับ 1 กับคู่ค้า/คู่ความร่วมมือ (Outsource) ของธนาคาร มีการมอบนโยบายสำ�คัญ ของธนาคารแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ครอบคลุมครบทุกกลุ่ม และประเมิน จากหนว่ ยงานภาครัฐ พฤติกรรมพนักงานให้สอดคล้องตามหลัก CG รวมท้ังสามารถยกระดับ ทเี่ ข้ารบั การประเมินทง้ั สนิ้ แนวทางและระบบการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทข่ี องธนาคารเทยี บเทา่ มาตรฐานสากล 8,299 หน่วยงาน จากการดำ�เนนิ การดังกลา่ วขา้ งตน้ สง่ ผลใหป้ ี 2562 ธนาคารได้รบั ผลคะแนน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำ�ปี 2562 ท่ีระดับ คะแนน 99.06 (ระดบั คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหนว่ ยงาน ภาครัฐ สูงมาก) สูงสุดอันดับ 1 จากหน่วยงานภาครัฐท่ีเข้ารับการประเมิน ท้ังส้ิน 8,299 หน่วยงาน นับเป็นปีที่สาม ที่ธนาคารคงอันดับ 1 ของ หน่วยงานท่ีมีการดำ�เนินงานท่ีมีคุณธรรมและความโปร่งใสสูงสุด และเป็น ความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของพนักงานท้ังองค์กร และเป็นภาพลักษณ์ท่ีดี ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ทจ่ี ะต้องยึดถอื และรกั ษาไว้ให้คงอยู่ตลอดไป หลักจริยธรรมทางธุรกิจ คณะกรรมการธนาคารให้ความสำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณ เนื่องจากจริยธรรมและ จรรยาบรรณเป็นเครื่องมือในการสร้างความเชื่อมั่นและการยอมรับจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายของธนาคารในการเป็น สถาบันการเงินชั้นนำ�ที่มีความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ สะท้อนให้เห็นจากแนวทางที่ธนาคารปฏิบัติกำ�หนดขึ้นเพื่อ ปฏบิ ตั ติ อ่ ลกู คา้ พนกั งาน และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อน่ื โดยพนกั งานทกุ คนของธนาคารจะตอ้ งยดึ ถอื และปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณของ ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งกำ�หนดให้ใช้เป็นแนวปฏิบัติโดยทั่วกัน ครอบคลุมถึงการปฏิบัติต่อกลุ่มคู่ค้าของธนาคาร โดยคณะกรรมการ ธนาคารได้อนุมัติจริยธรรมและจรรยาบรรณของธนาคาร เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดถือปฏิบัติ ซึ่งครอบคลุมการดำ�เนินการของธนาคารที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ผู้ปฏิบัติงาน ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ และสังคมส่วนรวม โดยถือเป็นหน้าที่ร่วมกันของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ในการปฏิบัติตามขอบเขต ความรับผิดชอบต่อธนาคารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยความซื่อสัตย์สุจริตภายใต้กรอบกฎหมาย รวมถึงกฎระเบียบและ ขอ้ บงั คบั ของธนาคาร นอกจากนี้ คณะกรรมการธนาคารมอบหมายใหค้ ณะกรรมการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทีด่ แี ละความรบั ผดิ ชอบ ตอ่ สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม (CG&CSR) ทำ�หนา้ ทีก่ ำ�กบั ดแู ลระบบงานดา้ นการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทีด่ ขี องธนาคาร เพือ่ ใหธ้ นาคาร ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ จริยธรรมได้อย่างครบถ้วน และจัดให้มีการทบทวนกระบวนการดำ�เนินการเป็นประจำ�ทุกปี GRI 103-2, GRI 103-3 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 65
มาตรฐานทางจริยธรรมขององคก์ ร ผบู้ รหิ าร และผปู้ ฏบิ ตั งิ านของธนาคารทกุ คน ตอ้ งรกั ษาจรยิ ธรรม ไมต่ าํ่ กวา่ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมเพอ่ื รกั ษาประโยชน์ สว่ นรวม รวมทง้ั อำ�นวยความสะดวก และใหบ้ รกิ ารประชาชน ตามหลกั ธรรมาภบิ าล โดยจะตอ้ งยดึ มนั่ มาตรฐานจรรยาบรรณ ดังนี้ 1. ยดึ มนั่ ในสถาบนั หลกั ของประเทศอนั ไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา 5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ พระมหากษตั รยิ ์ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย คุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และ อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข ตรวจสอบได้ 2. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำ�นึกท่ีดี 6. ปฏบิ ัติหน้าทีอ่ ย่างเปน็ ธรรมไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ รับผิดชอบต่อหน้าท่ีและไม่แสวงหาผลประโยชน์ 7. ดำ�รงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของ โดยมิชอบเพ่ือตนเองหรือผู้อ่ืน หรือมีพฤติการณ์ ธนาคาร รู้เห็นหรือยินยอมให้ใช้ตำ�แหน่งหน้าท่ีของตนแสวงหา 8. ให้บริการแก่ลูกค้าและประชาชนด้วยความรวดเร็ว ผลประโยชน์โดยมิชอบ เสมอภาค มอี ัธยาศยั ทีด่ ี และปราศจากอคติ 3. กล้าตัดสินใจและกระทำ�ในสิ่งท่ีถูกต้องชอบธรรม 9. การใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารแกป่ ระชาชนอยา่ งครบถว้ น ถกู ตอ้ ง เปน็ ธรรม และถูกกฎหมาย และไม่บดิ เบือนข้อเท็จจรงิ 4. ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว 10. ยึ ด ม่ั น แ ล ะ ปฏิ บั ติ ตาม จ ร ร ยาบร ร ณธ นาค า ร มจี ิตสาธารณะ และไมม่ ผี ลประโยชน์ทบั ซ้อน อาคารสงเคราะห์ จรรยาบรรณธนาคารอาคารสงเคราะห์ 4. ธนาคารจะสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม ตลอดจนสรา้ งความเจริญให้สังคม 1. ธนาคารจะปฏิบัติต่อลูกค้าและประชาชนด้วย 5. ธนาคารจะไม่ฝักใฝ่การเมือง และจะวางตัวเป็นกลาง ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ และรกั ษาประโยชน์ อย่างเคร่งครัด เพ่ือสร้างสรรค์ประโยชน์ให้สังคม ของลกู ค้าทกุ คนดว้ ยความเสมอภาค และประเทศชาติ 2. ธนาคารจะดำ�เนินธุรกิจตามกฎหมาย และปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างเครง่ ครดั 3. ธนาคารจะทำ�ธุรกิจอยู่บนพ้ืนฐานของการแข่งขัน ทีเ่ ป็นธรรม จรรยาบรรณของกรรมการ ผบู้ ริหาร และผปู้ ฏิบตั ิงาน ธนาคารไดก้ ำ�หนดจรรยาบรรณธนาคารอาคารสงเคราะห์ เพอื่ ใหผ้ บู้ รหิ ารและผปู้ ฏบิ ตั งิ านธนาคารทกุ คนปฏบิ ตั ติ าม แบง่ ออกเป็น ดังนี้ 1. การปฏบิ ัตติ อ่ ธนาคาร/เจ้าของ/หนว่ ยงานก�ำ กับดแู ล ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งเตม็ ความสามารถดว้ ยจติ สำ�นกึ ทด่ี ี มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ โปรง่ ใส มคี วามรบั ผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ เพื่อประโยชน์สูงสุดของธนาคารและสังคมโดยรวม เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กร หลีกเลี่ยงไม่ดำ�เนินการใด ๆ ท่ีผิดกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ และในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ต่อธนาคาร รวมถึงเปิดเผยข้อมูลข่าวสารทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลท่ัวไปของธนาคาร แก่ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียอย่างถกู ต้อง ครบถว้ น ท่วั ถึง เหมาะสม และทนั ต่อเวลาตามกำ�หนด 66 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
2. การปฏบิ ัตติ ่อตนเอง อุทิศเวลาในการปฏิบัติตามหน้าที่ให้กับธนาคารอย่างเต็มความสามารถ และให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเอง ให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมายของธนาคาร ปฏบิ ตั ติ ามจรยิ ธรรม จรรยาบรรณและบทบาทหนา้ ทขี่ องตนเองทพ่ี งึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั รวมถงึ หลีกเล่ียงไมด่ ำ�เนินการใด ๆ ที่ผดิ กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ และในลกั ษณะทอี่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นบคุ คลและประโยชนส์ ่วนรวม 3. การปฏิบัติต่อกนั ระหวา่ งกรรมการ ผู้บริหาร และผูป้ ฏิบตั ิงาน ปฏิบัติต่อกันด้วยความสุภาพ เป็นธรรม ให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกบุคคล และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ รับฟังข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียนโดยปราศจากอคติ แสดงออกถึงความเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน ไม่กล่าวร้าย ผอู้ น่ื โดยปราศจากขอ้ มลู ความจรงิ เคารพและปฏบิ ตั ติ ามคำ�สงั่ ทช่ี อบดว้ ยกฎหมายจากผบู้ งั คบั บญั ชาอยา่ งสดุ ความสามารถ สนับสนุนให้มีสวัสดิภาพ สวัสดิการ ผลตอบแทนที่เป็นธรรม รวมถึงโอกาสความเจริญก้าวหน้าทางอาชีพตามความรู้ ความสามารถอยา่ งทั่วถงึ และเปน็ ธรรม 4. การปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้า อำ�นวยความสะดวก และปฏิบัติต่อลูกค้าทุกคนด้วยความจริงใจ ไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการให้บริการของธนาคารอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และแสวงหาช่องทาง เพื่อพัฒนาหรือสร้างนวัตกรรมการบริการใหม่ ท่ีจะตอบสนองให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด รวมถึงไม่นำ�ข้อมูล ความลบั ของลกู คา้ ไปเปิดเผยหรอื แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ 5. การปฏบิ ัตติ อ่ คู่ค้า/ผูส้ ง่ มอบ/พนั ธมติ รทางธรุ กจิ ดำ�เนินการจัดซื้อจัดจ้าง อย่างโปรง่ ใส เสมอภาค และเปน็ ธรรม โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสดุ ของธนาคาร และ ประโยชนท์ เี่ ปน็ ธรรมตอ่ ทงั้ สองฝา่ ย สง่ เสรมิ ใหพ้ นั ธมติ รทางธรุ กจิ พฒั นาและยกระดบั ความสามารถในการผลติ การใหบ้ รกิ าร และใหค้ วามสำ�คญั กบั การเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชนและคำ�นงึ ถงึ สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม รวมถงึ ไมส่ นบั สนนุ สนิ คา้ หรอื การกระทำ� ท่ีเป็นการละเมดิ ทรัพยส์ ินทางปญั ญา 6. การปฏิบัตติ ่อสงั คมและสว่ นรวม สร้างเสริมและปลูกจิตสำ�นึกให้ทุกคนมีความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม พึงอุทิศตนเพ่ือประโยชน์ของ สาธารณะชนหรือสังคมโดยรวมอย่างเหมาะสม ดำ�เนินธุรกิจด้วยความเป็นกลางทางการเมือง ไม่นำ�เงินของธนาคาร ไปสนับสนุนทางการเมืองในทุกกรณี รวมถึงเสนอข้อมูลท่ีถูกต้อง ชัดเจน ทันกาล โปร่งใส ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง ต่อสงั คมตลอดเวลา ธนาคารให้ความสำ�คัญในการสื่อสารและส่งเสริมให้พนักงานทุกคนปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณท่ี กำ�หนด จงึ ได้ทบทวนและจดั ทำ� “ค่มู อื การกำ�กบั ดูแลกจิ การทด่ี ี จริยธรรมและจรรยาบรรณของธนาคารอาคารสงเคราะห”์ ส่งให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานทุกระดับเพ่ือใช้เป็นกรอบในการถือปฏิบัติทั่วท้ังองค์กร ซ่ึงผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ทกุ ระดบั ไดศ้ กึ ษาและทำ�ความเขา้ ใจ พรอ้ มลงนามรบั ทราบผา่ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของธนาคาร พรอ้ มกนั นธ้ี นาคาร ยังได้จัดอบรม เร่ือง จริยธรรมของธนาคาร ผ่านระบบ E-learning และกำ�หนดหัวข้อเร่ืองจริยธรรมเป็น KPI ในแบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านประจำ�ปี 2562 ของผบู้ รหิ ารระดบั สงู และผปู้ ฏบิ ตั งิ าน รวมทงั้ กำ�หนดหวั ขอ้ เรอ่ื ง “จรยิ ธรรม” ในขอ้ สอบการปรับเลือ่ นตำ�แหน่ง และการรบั พนักงานใหมด่ ว้ ย GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 67
ผู้บรหิ ารและพนักงานที่ได้รับอบรมเก่ยี วกบั จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ ประจ�ำ ปี 2562 โครงการ เปา้ หมายจำ�นวนคน แผนจดั ฝกึ อบรม และใหค้ วามรดู้ า้ น CG แกผ่ บู้ รหิ ารและ ผเู้ ขา้ อบรมมคี ะแนนมากกวา่ 80 คะแนน พนกั งานผา่ นระบบ E-learning จำ�นวน 11 รนุ่ จากคะแนนเตม็ 100 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 99.94 ผบู รห� ารและพนกั งานเขาอบรม ดา น CG ผา นระบบ E-learning จำนวน 11 รุน มคี ะแนนมากกวา 80 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คิดเปน 99.94% 68 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-3, GRI 205-2
การก�ำ กับดแู ลของธนาคาร ธนาคารได้กำ�หนดให้มีฝ่ายกํากับการปฏิบัติงานทำ�หน้าที่เป็นศูนย์กลางในการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎหมายหรือ กฎเกณฑ์ของทางการ โดยจัดให้มีนโยบายด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance Policy) ซึ่งอนุมัติโดยคณะกรรมการ ธนาคาร ซงึ่ ไดก้ ำ�หนดหนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบ และแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารและพนักงาน เพื่อกำ�กับให้การปฏิบัติงานของธนาคารเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และคณะกรรมการไดม้ อบหมายใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารเสีย่ งทำ�หนา้ ที่ในการพจิ ารณาในเรือ่ งการบรหิ าร ความเสี่ยงโดยรวม ซึ่งต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ และทบทวนความเพียงพอของนโยบายและกระบวนการ บริหารความเสี่ยง ซึ่งรวมถึงความมีประสิทธิผลของกระบวนการและการปฏิบัติตามนโยบายที่กำ�หนด ฝา่ ยกาํ กบั การปฏบิ ตั งิ านมหี นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบสนบั สนนุ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ใหส้ ามารถบรหิ ารความเสยี่ งดา้ นการปฏบิ ตั ิ ตามกฎเกณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเป็นศูนย์กลางในการศึกษา วิเคราะห์ จัดทำ� ให้ธนาคารปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การดำ�เนนิ งานของธนาคาร ไดแ้ ก่ ใหค้ ำ�ชแี้ นะ พจิ ารณา ตคี วาม จดั ทำ�คำ�อธบิ ายใหแ้ กห่ นว่ ยงานภายในธนาคาร ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ธนาคารสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ไม่ขัดต่อกฎเกณฑ์จากหน่วยงานภายนอกที่กำ�กับดูแลธนาคารอยู่ ดำ�เนินการทบทวน วิเคราะห์และตรวจสอบความถูกต้องของระเบียบของฝ่ายงานต่าง ๆ ว่าระเบียบหรือวิธีปฏิบัติของ ธนาคาร ไม่ขัดต่อกฎเกณฑ์ที่ธนาคารถูกกำ�กับและควบคุมอยู่ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันพัฒนาระบบ การบริหารความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ประเมินความเหมาะสมของกระบวนการ และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ การสุ่มสอบทานการปฏิบัติงานในเบื้องต้นให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ Control and Monitor ติดตาม ผลการปฏิบัติงานของฝ่ายเป็นประจำ�เพื่อให้มั่นใจว่าประเด็นต่าง ๆ มีการปรับปรุงแก้ไข ติดตามอย่างใกล้ชิด และรายงาน ใหค้ ณะกรรมการธนาคารทราบถึงประเดน็ ที่สำ�คญั และการเปลี่ยนแปลงของกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินงาน GRI 103-1, GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 69
การต่อตา้ นการทุจริตคอรร์ ปั ชนั ธนาคารมกี ารสรา้ งจติ สำ�นกึ รณรงคเ์ สรมิ สรา้ งวฒั นธรรมสจุ รติ เผยแพรค่ วามรเู้ กย่ี วกบั หลกั ธรรมาภบิ าล พฒั นาเครอื ขา่ ย และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ โดยได้ดำ�เนินการดังนี้ 1. ธนาคารได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 5. ธนาคารมีกระบวนการนำ�องค์กรท่ีดี บริหารงานอย่างมี ระหว่างสำ�นักงาน ป.ป.ช. สำ�นักงานคณะกรรมการ ธรรมาภบิ าลในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ โดยใหค้ วามสำ�คญั นโยบายรัฐวิสาหกิจ และหนว่ ยงานรัฐวิสาหกจิ เพอ่ื รว่ ม ในการใช้หลัก 3 line of Defense ร่วมกันรับผิดชอบ ขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรว์ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปราม ตอ่ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ดังนี้ การทุจริตระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ให้เป็นไป ด้วยความต่อเนื่องจากการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ว่าด้วย สำ�นักกรรมการผู้จัดการ ธนาคารมีนโยบายใน การป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 2 การส่งเสริมและให้ความรู้แก่กรรมการในหลักการ (พ.ศ. 2556-2560) กำ�กับดูแลกิจการท่ีดีโดยยึดม่ันในความโปร่งใส 2. ธนาคารมคี วามมงุ่ มน่ั ในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั และความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายและ ได้จัดทำ�นโยบายด้านการป้องกันและปราบปราม ตอ่ สงั คม เพอ่ื เป็นแนวทางการดำ�เนินธรุ กิจ อีกทัง้ การทุจริตคอร์รัปชัน อนุมัติโดยคณะกรรมการธนาคาร เพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และประกาศเวียนแจ้งเพื่อให้คณะกรรมการธนาคาร โดยได้จัดหาหลักสูตรการอบรมของสมาคม ผู้บริหาร และพนักงานถือเป็นปฏิบัติโดยเคร่งครัด ส่งเสริมสถาบนั กรรมการบริษัทไทย (Thai Institute มีการแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต of Directors Association : IOD) และสถาบันอืน่ ๆ เพอ่ื สนบั สนนุ การสรา้ งจติ สำ�นกึ รณรงคส์ รา้ งวฒั นธรรม ได้แก่ หลกั สตู รหลักการกำ�กับดแู ลกิจการท่ีดี และ สุจรติ ท่ัวท้งั องคก์ ร ความรบั ผดิ ชอบตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ รวมทงั้ 3. ธนาคารส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคล่ือน แนวทางในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องกรรมการ หลกั สตู ร ยุทธศาสตร์ชาติ ตามข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) หลักการวางนโยบาย และแนวทาง/วิธีการป้องกัน 3 ฝ่าย โดยจัดทำ�แผนปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ทจุ รติ ในองคก์ ร รวมทงั้ การปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณ และรายงานผลการดำ�เนนิ งานตอ่ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารตอ่ ตา้ น ของคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ และ การทจุ รติ (ศปท.) คณะผู้บรหิ าร และพนักงานธนาคาร มกี ารสือ่ สารอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ท่ัวประเทศได้มีการรวมพลังประกาศเจตนารมณ์ ฝา่ ยกำ�กบั การปฏบิ ตั งิ าน เปน็ ศนู ยก์ ลางในการกำ�กบั ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันทุกรูปแบบ (Zero การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายหรอื กฎเกณฑข์ องทางการ Tolerance) พร้อมกับประกาศนโยบาย No Gift Policy : โดยจัดให้มีนโยบายด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ งดรับของขวัญในทุกเทศกาล เพียงนึกถึงก็ดีใจแล้ว (Compliance Policy) อนุมัติโดยคณะกรรมการ เป็นส่วนหน่ึงของการแสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วม ธนาคาร ซง่ึ ไดก้ ำ�หนดหนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบ และ ในการผนกึ พลังตอ่ ต้านทจุ รติ ทกุ รูปแบบ แนวทางในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ 4. ธนาคารให้ความสำ�คัญในการสื่อสารนโยบาย ธนาคาร คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันใน ผจู้ ัดการ ผบู้ ริหารและพนกั งาน ปี 2562 ธนาคารไดท้ บทวนและจัดทำ� “คมู่ อื การกำ�กับ ศนู ยป์ อ้ งกนั การทจุ รติ (Fraud Prevention Center) ดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมและจรรยาบรรณของธนาคาร ทำ�หน้าท่ีในการเฝ้าระวังเพื่อการป้องกัน ตรวจจับ อาคารสงเคราะห์” ส่งให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน และสืบสวนรายการธุรกรรมต้องสงสัยและมี ทุกระดับเพ่ือใช้เป็นกรอบในการถือปฏิบัติท่ัวทั้งองค์กร ความเส่ียงท่ีจะเกิดการทุจริตผ่านช่องทางการให้ ซึ่งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานทุกระดับได้อ่านและ บริการอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Banking) และ ทำ�ความเข้าใจพร้อมลงนามรับทราบผ่านระบบ การทุจริตจากพนักงานภายในองค์กร สนับสนุน เทคโนโลยีสารสนเทศของธนาคาร หน่วยงานภายในธนาคารที่เก่ียวกับการป้องกัน การทจุ รติ ประสานงานกบั หนว่ ยงานภายนอก 70 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
6. คณะผู้บริหารและพนักงานใน สำ�นกั งานใหญร่ วมทง้ั พนกั งานสาขา ท่ัวประเทศ เข้าร่วมปฏิญาณตน ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันโดย ปฏิญาณตนร่วมกันว่าจะปฏิบัติตน ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และ แสดงเจตนารมณ์ร่วมต่อต้าน การทุจริตทุกรูปแบบ ในฐานะ ท่ีธนาคารเป็นหน่วยงานของรัฐ ไดต้ ระหนกั และเลง็ เหน็ ความสำ�คญั ของปัญหาการทุจริตซ่ึงเป็นปัญหาสำ�คัญของชาติที่มีผลกระทบต่อการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และเพ่ือร่วมกัน แสดงพลงั ในการรณรงคส์ ง่ เสรมิ วฒั นธรรมสจุ รติ ธรรมาภบิ าล และความโปรง่ ใสในกลมุ่ รฐั วสิ าหกจิ อนั นำ�ไปสกู่ ารรวมพลงั เป็นเครือข่ายป้องกันและปราบปรามการทุจริต ภายใต้ความร่วมมือในการดำ�เนินการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ วา่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) และเพอ่ื ให้สอดคลอ้ งตามแนวทาง การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ITA ประจำ�ปี 2562 นโยบายและมาตรการปอ้ งกันความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) ธนาคารได้กำ�หนดให้ถือเป็นหน้าท่ีของกรรมการและบุคลากรทุกระดับ ในการหลีกเลี่ยงการเข้าไปมีส่วนได้ส่วนเสีย หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานและกิจการใด ๆ ในลักษณะที่เป็นการขัดแย้งทางผลประโยชน์อันจะส่งผลให้ธนาคาร เสียผลประโยชน์ หรือทำ�ให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพลดลง ด้วยเหตุน้ี เพ่ือให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรมต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกรายโดยเท่าเทียมกัน ธนาคารจึงกำ�หนดนโยบายการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ สว่ นรวมของธนาคาร (Conflict of Interest) ดังนี้ 1. กรรมการ ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน ต้องมีจิตสำ�นึก 3. กรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ปฏิบัติงาน คนหนึ่ง 71 ในการปฏิบัติหน้าท่ี อันเป็นการรักษาผลประโยชน์ คนใดมีส่วนได้ส่วนเสียหรืออาจมีส่วนได้ส่วนเสียกับ สว่ นรวมมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตนอยเู่ สมอ ผลประโยชน์ในเร่ืองท่ีกำ�ลังพิจารณาหรืออนุมัติ บุคคล 2. กำ�หนดใหก้ รรมการ ผูบ้ รหิ าร และผู้ปฏิบัติงาน เปิดเผย ดงั กลา่ วตอ้ งไมเ่ ขา้ รว่ มพจิ ารณาหรอื งดออกเสยี งในวาระ ข้อมูลรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ท่ีมีความเก่ียวขอ้ งหรือมีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี หรือรายการท่ีเกี่ยวโยงกัน เม่ือได้รับการแต่งตั้งให้ 4. หลีกเล่ียงการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองหรือ ทำ�หนา้ ที่ใด ๆ พรอ้ มทงั้ ตอ้ งดำ�เนนิ การตรวจสอบตนเอง ผู้ท่ีเก่ียวข้องท่ีอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง (Declare) ตามแบบรายงานที่กำ�หนดและเพื่อเป็น ผลประโยชน์และไม่กระทำ�การในลักษณะใด ๆ อันเป็น การสร้างความเช่ือมั่นให้แก่สาธารณชนว่ามีการกำ�กับ การขัดต่อผลประโยชน์ของธนาคารหรือแสวงหา ดูแลท่ีดี และตรวจสอบเรื่องดังกล่าวอย่างสม่ําเสมอ ผลประโยชนส์ ่วนตนหรือผทู้ ี่เกย่ี วขอ้ ง จึงได้กำ�หนดให้ทุกฝ่าย/ภาค/สำ�นัก ท่ีเกี่ยวข้องมีหน้าที่ 5. ผู้บริหาร หรือผู้ปฏิบัติงาน จะอนุมัติการเข้าทำ� สำ�รวจรายการที่มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นประจำ�ทุกปี รายการใด ๆ ต้องพจิ ารณาด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานประสิทธิภาพ เหมาะสม และรอบคอบ โดยคำ�นงึ ถึงผลประโยชน์สูงสุด และประสิทธิผลของกระบวนการควบคุมภายใน ของธนาคาร เสมือนการทำ�รายการกับบุคคลภายนอก กระบวนการกำ�กับดูแลท่ีดี และกระบวนการบริหาร รวมทั้งต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และ ความเสี่ยงตลอดจนพิจารณารายการท่ีเก่ียวโยงกันหรือ ขอ้ กำ�หนดของธนาคารไดอ้ ยา่ งครบถว้ นถูกตอ้ ง รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และ 6. การกระทำ�ซ่ึงเป็นเหตุให้กรรมการ ผู้บริหาร และ รายงานคณะกรรมการธนาคารทราบ ผู้ปฏิบัติงาน ได้รับผลประโยชน์ทางการเงินอ่ืน นอกเหนอื จากทพ่ี งึ ไดต้ ามปกติ หรอื เปน็ เหตใุ หธ้ นาคาร GRI 103-2 ได้รับความเสียหาย ให้สันนิษฐานว่าเป็นการกระทำ� ท่ีขัดแย้งต่อผลประโยชน์ของธนาคารอย่างมีนัยสำ�คัญ ดงั น้ี รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562
6.1 รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดหรือของขวัญจาก 6.2 ใช้ข้อมูลภายในหรือข้อมูลท่ีได้จากการทำ�งานเพ่ือ บุคคล นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์อันควร ประโยชนข์ องตนเองหรอื ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งซงึ่ เปน็ การกระทำ� ได้ตามกฎหมาย หรือกฎข้อบังคับที่ออกโดยอาศัย ที่ทำ�ให้ผู้น้ันได้รับประโยชน์อันอาจคำ�นวณเป็นเงินได้ อำ�นาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่เป็น หรอื ไมต่ อ้ งออกคา่ ใชจ้ า่ ยนำ�ทรพั ยส์ นิ ของธนาคารไปใช้ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยา เป็นประโยชนส์ ่วนตวั เว้นแตม่ รี ะเบยี บปฏบิ ัติงานของ ตามหลกั เกณฑว์ ธิ กี าร และจำ�นวนตามทค่ี ณะกรรมการ ธนาคารกำ�หนดให้ใช้ได้ หากไม่มีระเบียบปฏิบัติงาน ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กำ�หนดไว้ สามารถใช้ได้ในกรณีมีความจำ�เป็น กำ�หนด ตามสมควร ข้อรอ้ งเรียนพนักงานที่มพี ฤติกรรมส่อไปในทางทจุ ริต ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 จำ�นวนขอ้ รอ้ งเรยี นพนกั งานทม่ี พี ฤตกิ รรมสอ่ ไปในทางทจุ รติ (เรอ่ื ง) 5 8 2 ผลส�ำ เรจ็ ด้านการกำ�กับดูแลกจิ การทด่ี ี การนำ�หลักบรรษทั ภิบาลสู่การปฏบิ ัตงิ าน (CG in Process) โดยมีการดำ�เนินงานด้านบรรษัทภิบาลให้มีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน การดำ�เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) พรอ้ มทง้ั อบรมใหก้ บั ผู้บรหิ ารและ พนักงานในหลกั สตู รเครือข่าย การปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ นการทุจรติ การต่อตา้ นการรบั สนิ บนและผลประโยชน์ทบั ซ้อน การจัดกจิ กรรม Meeting with MD ประจ�ำ ปี 2562 กรรมการผจู้ ดั การเปดิ โอกาสใหพ้ นกั งานซกั ถามอยา่ งเปน็ กนั เอง เพอ่ื รายงานความเคลอ่ื นไหวทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในองคก์ ร ผ่าน Telepresence และ Facebook กลุม่ ปิด : GHB Info Supermarket และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้บริหารและพนกั งานทกุ สาขา ทวั่ ประเทศ ถาม - ตอบ แลกเปลยี่ นขอ้ คดิ เหน็ เสนอแนะ เพอื่ พฒั นาองคก์ รรว่ มกนั และเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ ดา้ นการกำ�กับดแู ลกจิ การที่ดี การศึกษาดูงาน ณ พพิ ธิ ภณั ฑ์และหอจดหมายเหตุ การป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (พิพิธภัณฑ์ ตา้ นโกง) ธนาคารจัดอบรมให้ความรู้ด้านการต่อต้านการทุจริตและเรื่องท่ีเก่ียวข้องแก่ผู้บริหารและพนักงานและจัดให้ มีการศึกษาดูงาน ณ พิพธิ ภณั ฑแ์ ละหอจดหมายเหตุ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (พพิ ธิ ภณั ฑต์ ้านโกง) 72 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2, GRI 103-3, GRI 205-2
กิจกรรม CG&CSR Day ประจำ�ปี 2562 ธนาคารอาคารสงเคราะหจ์ ดั งาน CG&CSR Day ประจำ�ปี 2562 โดยมี คณุ ธานนิ ทร์ ผะเอม กรรมการธนาคารในฐานะ คณะกรรมการดูแลกิจการท่ีดีและความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม (CG&CSR) ให้เกียรติเป็นประธานในพิธี พร้อมท้ังปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ \"ส่งเสริมความโปร่งใสด้วยธรรมาภิบาล\" นอกจากนี้ยังได้รับเกียรติจากกรรมการผู้จัดการ ให้เกียรติบรรยายพิเศษในเร่ือง \"ธรรมาภิบาลในยุคดิจิทัล\" และยังได้รับฟังการบรรยายพิเศษ จากวิทยากรจิตอาสา พระราชทาน 904 วปร. ในหัวขอ้ “ศาสตรพ์ ระราชา สู่จติ อาสา เราทำ�ความดีด้วยใจ เพือ่ ให้ผบู้ ริหาร และพนักงาน ซาบซง้ึ และสำ�นึกในพระมหากรณุ าธิคุณต่อสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจในการเป็นจติ อาสา\" โดยงานดงั กลา่ ว จดั ขึน้ เพือ่ มุ่งหวังสง่ เสริมการใหค้ วามสำ�คญั ต่อเรื่อง CG&CSR ตลอดจนพฒั นาความรู้ ความเข้าใจ ด้านการกำ�กับดูแลท่ดี ี และด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นอกจากน้ียังมีผลิตภัณฑ์จากเห็ดตับเต่าของชาวบ้านชุมชน สามเรือน อำ�เภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ชุมชนที่ธนาคารส่งเสริมด้านอาชีพ) มาให้พนักงานได้อุดหนุน หวงั ต่อยอดอาชีพและสร้างมลู ค่าเพม่ิ ใหก้ บั ชาวบา้ นในชุมชนอีกดว้ ย ธอส. ร่วมปฏิญาณตนและแสดงเจตนารมณ์รว่ มต่อตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ทุกรปู แบบ กรรมการผู้จัดการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหารและพนักงานในสำ�นักงานใหญ่ จำ�นวนกว่า 300 คน พร้อมทั้งพนักงาน สาขาท่ัวประเทศ เข้าร่วมปฏิญาณตนต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน โดยปฏิญาณตนร่วมกันว่าจะปฏิบัติตนด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต และแสดงเจตนารมณร์ ว่ มต่อตา้ นการทจุ ริตทกุ รปู แบบ การเผยแพรบ่ ทความ ข่าวสาร ด้านบรรษัทภิบาล ผ่านทาง Website ของธนาคาร, E-mail ภายในธนาคาร, Facebook กลุ่มปิด : GHB Info Supermarket อีกทั้ง ยงั มกี ารเผยแพรก่ จิ กรรมดา้ นบรรษัทภบิ าลใหค้ วามสำ�คญั ในเรอ่ื งการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต การแบ่งปันและจัดเก็บองค์ความรู้ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมและจรรยาบรรณของธนาคาร ในรูปแบบที่ทันสมัย ได้มีการรวบรวมองค์ความรู้ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของธนาคารไว้ในระบบ KMS (Knowledge Mangement System) ของธนาคาร GRI 103-3 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 73
โครงสรา้ งการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การ คณะกรรมการศนู ย์ขอ้ มลู อสงั หาริมทรัพย์ คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการดำ�เนินการศูนยข์ อ้ มูลอสังหาริมทรัพย์ ศนู ยข์ อ้ มลู อสงั หาริมทรัพย์ กรรมการผู้จัดการ (นายวชิ ยั วริ ัตกพันธ์) รษก. (นายฉตั รชยั ศิริไล) คณะกรรมการตรวจสอบ ผ้ตู รวจการธนาคาร ระดับ 16 สายงานตรวจสอบ (นางสาวอรฑา เจริญศิลป)์ ผู้ชว่ ยกรรมการผจู้ ัดการ (นายวิชยั วิรตั กพันธ)์ (นายวรณฐั สุโฆษสมิต) ผตู้ รวจการธนาคาร ระดับ 15 ฝา่ ยตรวจสอบ ฝา่ ยตรวจสอบสาขา ฝา่ ยตรวจสอบส�ำ นกั งานใหญ่ (นายลือชยั จิรวนิ จิ นนั ท)์ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (นางอังคณา จนั ทรศิริ) (นางสาวระแวว เอกสุวรรณ) ผตู้ รวจการธนาคาร ระดับ 14 (นายเจษดา มสี ุวรรณ) รษก. (นายนิกร อาชานกลุ (นายสรุ จติ สวุ รรณมณ)ี (นางสาวประทานพร สำ�เภาเงิน) สำ�นกั กรรมการผู้จัดการ (นางขวญั ใจ ศักดามินทร์) กลมุ่ งานสาขา กลุ่มงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลมุ่ งานการตลาด รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผ้จู ดั การ รองกรรมการผ้จู ัดการ (นางฉตั รร์ วี จิรกุลเมธาพฒั น์) (นางสมจติ ต์ รถทอง) (นายวทิ ยา แสนภกั ดี) สายงานสาขานครหลวง ฝา่ ยสนับสนุนสาขานครหลวง สายงานปฏิบตั กิ าร สายงานพฒั นา สายงานการตลาดและ สายงานการตลาดและ ผชู้ ว่ ยกรรมการผ้จู ดั การ (นายชนะ จิระรัตนร์ งั ษ)ี เทคโนโลยี ระบบดิจิทัล พัฒนาธรุ กจิ 1 พฒั นาธรุ กจิ 2 (นางพอตา ยิ้มไตรพร) ฝ่ายสาขา กทม. และปริมณฑล 1 (นายวันชยั พงศ์บุญชู) ผู้ช่วยกรรมการผ้จู ัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผ้ชู ว่ ยกรรมการผู้จัดการ ผู้ชว่ ยกรรมการผูจ้ ัดการ สายงานสาขาภมู ภิ าค 1 ฝ่ายสาขา กทม. และปริมณฑล 2 (นายอภริ ตั น์ อรณุ วิไลรตั น)์ (นางสมจติ ต์ รถทอง) รษก. (นายทวนทอง ตรีนภุ าพ) (นายภพกร เจรญิ ลาภ) ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ัดการ (นางปัญญพชั ญ์ ตงั้ ศริ ิวลั ลภ) (นายดนยั แสงศรจี ันทร์) รษก. ฝ่ายปฏบิ ตั ิการ ฝ่ายพฒั นา ฝา่ ยพัฒนาธรุ กิจ ฝา่ ยพัฒนาธรุ กิจเงนิ ฝาก ภาคเหนอื ตอนบน เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ สินเชือ่ (นางสาวกญั จนิกา ศรรี ตั นตรยั ) สายงานสาขาภมู ภิ าค 2 (นางเสาวคนธ์ ชศู ร)ี (นายศรพงศ์ ดุรงคเวโรจน)์ (นางสาวลกั ขณา ศุภศริ สิ ันต)์ (นายศิรพงศ์ สุวรรณศร)ี ผชู้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ภาคเหนือตอนล่าง ฝ่ายเงินฝากและพันธมติ ร (นายดนัย แสงศรีจนั ทร)์ (นายพงศกร ตลุ านนท์) ฝา่ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ฝ่ายพฒั นาระบบ ฝา่ ยลกู คา้ สมั พนั ธ์ (นางจินตนา ส่งศิร)ิ (นายสมพงษ์ นาคซ่อื ตรง) บริการดิจทิ ลั (นายอ�ำ นาจ ผลศิริ) สายงานสาขาภูมิภาค 3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (นายอภิรตั น์ วงศม์ ณีโรจน์) ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จัดการ (นายสญั ญา ศรีรตั น)์ ฝา่ ยปฏิบตั ิการบรกิ าร (นางฉัตรร์ วี จริ กุลเมธาพัฒน์) ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง ศูนยว์ างแผนและบริหาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (นายอสิ ระ เนาวศริ ิ) โครงการสารสนเทศ (นายนธิ ิชยั สูงตรง) รษก. ภาคตะวันออก (นางดารนิ แกว้ งาม) (นายมานพ จนั ทร์ชอมุ่ ) ภาคกลางและภาคใต้ตอนบน (นางสาวสภุ รณภ์ ัทร์ แสงอร่าม) ภาคตะวันตกและภาคใตต้ อนล่าง (นางฐานิฏฐา สังข์ถาวร) 74 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-18, GRI 102-19, GRI 102-22, GRI 102-32
คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดคา่ ตอบแทน คณะกรรมการกจิ การสมั พนั ธ์ คณะกรรมการบรหิ ารความเสย่ี ง คณะกรรมการก�ำ กับดแู ลกจิ การทดี่ แี ละความรับผิดชอบ ตอ่ สงั คมและสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการก�ำ หนดกลยุทธ์และนโยบายทางดา้ น IT คณะกรรมการการกลนั่ กรองกฎหมาย สายงานกลยุทธ์ สายงานบริหารทรพั ยากรบุคคล สายงานสอ่ื สาร สายงานบริหารความเสย่ี ง และภาพลักษณ์องคก์ ร ผชู้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ัดการ ผู้ชว่ ยกรรมการผจู้ ดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผชู้ ่วยกรรมการผจู้ ัดการ (นายณรงคพ์ ล ประภานิรินธน)์ (นายสมบตั ิ ทวีผลจรญู ) (นางสุดจติ ตรา คำ�ดี) (วา่ ง) ฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนกลยุทธ์ ฝา่ ยทรัพยากรบคุ คล ฝ่ายส่ือสารองค์กร ฝา่ ยบริหารความเสยี่ ง (นางสาวหทยั ทพิ ย์ เหลอื งธนพลกลุ ) (นายนิสิต อนุ่ วิจิตร) (นางสุดจิตตรา คำ�ด)ี รษก. (นายคณนิ รัส ทพั พะรังส)ี ฝา่ ยพฒั นาและบริหารการเรยี นรู้ ฝ่ายกจิ กรรมเพื่อสงั คม ฝา่ ยประเมนิ ผลองค์กร (นางสาวสายพิน สันตพิ ันธ)์ุ (นางสาวสภุ ารัตน์ สอดส่อง) ฝ่ายสอบทานสินเชื่อ (นางสุวฒั นา ทมิ มาศย)์ (นายชติ พล ศรธี รี ะวิโรจน)์ ศนู ยค์ วามมัน่ คงปลอดภยั ฝ่ายวิชาการ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (นายโชคชยั จลุ สินธนาภรณ)์ (นางศรีสดุ า ชัยจรนี นท)์ รษก. ศนู ย์ปอ้ งกันการทุจริต (นายอคั รเดช ภาพน้ำ�) กลุ่มงานสินเช่ือ กลุ่มงานปรบั โครงสรา้ งหนี้ กลมุ่ งานปฏิบตั ิการ กลุ่มงานการเงินและบัญชี รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผจู้ ดั การ รองกรรมการผจู้ ัดการ รองกรรมการผ้จู ดั การ (นางศรินทิพย์ ชนะภัย) (นายคนึง ครธุ าโรจน์) (นายพิษณุพร ขาวประเสริฐ) (นายกมลภพ วรี ะพละ) สายงานวเิ คราะหส์ ินเชื่อ สายงานกจิ การนโยบาย สายงานบรหิ ารหนี้ สายงานบังคับคดี สายงานกฎหมาย สายงานสนบั สนุน สายงานการเงิน สายงานปฏบิ ัตกิ าร ผ้ชู ว่ ยกรรมการผ้จู ดั การ สนิ เชอ่ื และภาครฐั ผูช้ ว่ ยกรรมการผจู้ ัดการ ผู้ชว่ ยกรรมการผูจ้ ัดการ และบญั ชี ลกู ค้ารายยอ่ ย (นายพงษ์ศักดิ์ คำ�นวนศริ )ิ (นายศักดสิ์ ทิ ธ์ิ จติ ตนูนท์) ผ้ชู ่วยกรรมการผู้จัดการ ผ้ชู ่วยกรรมการผจู้ ัดการ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ (นายชยั พร จฬุ ามณ)ี (นางกรุณา เหมือนเตย) (นางสาวอรนชุ พงษป์ ระยรู ) ผู้ช่วยกรรมการผจู้ ัดการ ผ้ชู ว่ ยกรรมการผู้จดั การ (นางภานณิ ี มโนสนั ต)์ิ (นางสาวธิดาพร มกี ิง่ ทอง) (นายทรงเดช ดารามาศ) ฝา่ ยวิเคราะหส์ ินเช่อื ฝ่ายนโยบายสนิ เชอ่ื ฝา่ ยบรหิ ารหน้กี ทม. ฝา่ ยบริหารคดี ฝา่ ยกำ�กับ ฝ่ายบรหิ ารสำ�นักงาน ฝ่ายการบญั ชี ฝา่ ยประเมนิ ราคา รายยอ่ ย ธรุ กิจและภาครัฐ และปรมิ ณฑล (นายธวชั บณุ ยะผลกึ ) การปฏบิ ตั ิการ และกิจการสาขา (นางราณี เพชรสงค)์ หลักทรพั ย์ (นายเสน่ห์ ขำ�สง่า) (นางวราภรณ์ ภษู ณรัตน์) (นายเกรยี งไกร บัวยอม) (นายกฤษดา ปทั มะผลิน) (นายชยั ณรงค์ สวัสดีวงษา) (นายมนต์ชยั ธรี ะวรกุล) ฝ่ายบรหิ าร NPA ฝ่ายธรุ กรรมการเงนิ ฝ่ายวเิ คราะหส์ นิ เชือ่ ฝ่ายสนบั สนุนสินเช่ือ ฝ่ายบรหิ ารหนภี้ มู ภิ าค (นายพิศัลย์ กองทรพั ย)์ ฝ่ายกฎหมาย ฝา่ ยจัดหาและการพัสดุ (นางสาวปยิ วรรณ อนงคจ์ รรยา) ฝา่ ยพธิ กี ารสินเช่ือ โครงการ (นางสาวอจั ฉรา หม่ันอสุ า่ ห)์ (นางลาวัณย์ วงศ์วิวฒั น)์ (นายนันทวุฒิ สุขสว่าง) (นายชาญชัย บญุ ญาวรกุล) (นายธติ ิ ธนาสารพูนผล) (นางสาวอษุ ณี บษุ ยโกมทุ ) ฝา่ ยบงั คบั คดี ฝา่ ยบริหารการเงิน และหนีส้ ว่ นขาด (นางสาวแพรวรตั น์ รตั นมงคลเกษม) (นายอัครพล หร่งิ รอด) ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 ม.ิ ย. 63 GRI 102-18, GRI 102-19, GRI 102-22, GRI 102-32 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 75
อำ�นาจหน้าที่และการสรรหากรรมการ ตามพระราชบญั ญตั ธิ นาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ธิ นาคารอาคารสงเคราะห์ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2563 มาตรา 13 กำ�หนดใหม้ คี ณะกรรมการธนาคารคณะหนง่ึ ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ ผแู้ ทนกระทรวง การคลัง ผ้แู ทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ และกรรมการอ่นื อีกจำ�นวนไม่น้อยกว่าส่คี นแต่ไม่เกิน เจด็ คน เปน็ กรรมการ และใหผ้ จู้ ดั การเปน็ กรรมการโดยตำ�แหนง่ และมาตรา 15 กำ�หนดใหป้ ระธานกรรมการและกรรมการอน่ื ท่คี ณะรัฐมนตรีแต่งต้งั มีวาระอยู่ในตำ�แหน่งคราวละสามปี ประธานกรรมการและกรรมการอ่นื ซ่งึ พ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งต้ังอีกได้ และในกรณีท่ีประธานกรรมการหรือกรรมการอ่ืนพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ หากยังมิได้แต่งต้ัง ประธานกรรมการหรือกรรมการข้นึ ใหม่ ให้ประธานกรรมการหรือกรรมการ ซ่งึ พ้นจากตำ�แหน่งตามวาระน้นั อยู่ในตำ�แหน่ง เพ่อื ปฏิบัตหิ น้าท่ตี ่อไปจนกวา่ ประธานกรรมการ หรอื กรรมการซ่ึงไดร้ ับแต่งตัง้ ใหมเ่ ข้ารับหน้าที่ แตต่ ้องไม่เกนิ เก้าสบิ วัน โดยคณะกรรมการธนาคารมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติคุณสมบัติ มาตรฐานสำ�หรบั กรรมการและพนกั งานรัฐวสิ าหกจิ พ.ศ. 2518 และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม และตามมาตรา 14 แหง่ พระราชบัญญตั ิ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 ซึง่ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ธิ นาคารอาคารสงเคราะห์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 มีอำ�นาจหนา้ ท่ีกำ�กับ ควบคุม และอำ�นวยกิจการของธนาคาร ตามมาตรา 17 มาตรา 18 และมาตรา 27 และบทบัญญัติอ่ืน แห่งพระราชบัญญัติธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 317 ลงวันท่ี 13 ธันวาคม 2515 และพระราชบัญญัติธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2549 และพระราชบัญญัติธนาคาร อาคารสงเคราะห์ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 เช่น ทำ�หน้าท่ีส่งเสริมและช่วยเหลือสนับสนุนให้ประชาชนมีที่ดินและหรืออาคาร เพ่ือเปน็ ท่ีอย่อู าศยั ตามวตั ถปุ ระสงค์ในการจัดต้งั และดำ�เนนิ การตามนโยบายซ่งึ รฐั มนตรกี ำ�หนด กรรมการอสิ ระ กรรมการอสิ ระตง้ั ขน้ึ เพอ่ื ถว่ งดลุ โดยรวมของคณะกรรมการ เพอ่ื สง่ เสรมิ การทำ�งานของคณะกรรมการ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการกำ�กบั ดูแลกิจการที่ด ี ทั้งน้ี การกำ�หนดให้มกี รรมการอสิ ระสามารถสร้างความเชื่อมัน่ ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่าการบริหารจัดการของธนาคารมีความโปร่งใสและสามารถดูแลรักษาผลประโยชน์ ของทกุ ฝา่ ยไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรม โดยไมม่ บี คุ คลใดหรอื กลมุ่ บคุ คลใดสามารถครอบงำ�การตดั สนิ ใจของกรรมการ อสิ ระได้ ดงั นน้ั ธนาคารจงึ กำ�หนดใหม้ กี รรมการอสิ ระจากภายนอกอยา่ งนอ้ ยหนง่ึ ในสามของกรรมการทงั้ คณะ โดยกรรมการที่เป็นอิสระจากภายนอกอย่างน้อยหน่ึงคน ควรแต่งตั้งจากบัญชีรายชื่อกรรมการรัฐวิสาหกิจท่ี กระทรวงการคลงั จดั ทำ�ขน้ึ และไดก้ ำ�หนดนยิ ามกรรมการอสิ ระของธนาคารอาคารสงเคราะห์ โดยใหห้ มายถงึ “กรรมการจากภายนอกซงึ่ มิใชผ่ วู้ า่ การการเคหะแหง่ ชาติ ผแู้ ทนกระทรวงการคลงั ขา้ ราชการสงั กดั กระทรวง การคลัง และกรรมการผู้จัดการ” โดยกรรมการอิสระจะต้องลงนามรับรองความเป็นอิสระในหนังสือรับรอง ความเป็นอสิ ระของกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ เมือ่ ได้รบั การแต่งตง้ั และเป็นประจำ�ทุกปี โดยหนงั สือ รบั รองความเป็นอิสระ คณะกรรมการก�ำ กับดแู ลกจิ การที่ดีและความรับผดิ ชอบต่อสงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม (CG&CSR) คณะกรรมการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทดี่ แี ละความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม(CG&CSR) มหี นา้ ท่ี เสนอแนวนโยบายต่อคณะกรรมการธนาคาร เพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมของธนาคาร กำ�กับดูแลและติดตามการดำ�เนินงาน ดา้ นการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทด่ี แี ละความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม (CG&CSR) เพอื่ ใหก้ ารดำ�เนนิ งาน เป็นไปตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะในการกำ�กับดูแล การปฏิบัติและการดำ�เนินการของธนาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบาย และกระบวนการปฏิบัติ 76 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-22, GRI 102-23, GRI 102-24, GRI 102-26
ท่ีได้กำ�หนดไว้ เพื่อให้บรรลุผลสำ�เร็จตามเป้าหมายตามแผนการดำ�เนินงานด้าน CG&CSR ประจำ�ปี โดยได้ กำ�หนดใหก้ ารประชมุ อยา่ งนอ้ ยไตรมาสละ 1 ครง้ั หรอื ตามความเหมาะสม สำ�หรบั ปบี ญั ชี 2562 คณะกรรมการ มีการประชุมทั้งส้ิน 4 ครั้ง โดยมีองค์ประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจำ�นวนกรรมการ และได้รายงานผล การประชุมในแตล่ ะครง้ั ต่อคณะกรรมการธนาคารเปน็ รายไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเส่ียง คณะกรรมการบริหารความเส่ียงมีหนา้ ทก่ี ำ�หนดนโยบายเพือ่ เสนอตอ่ คณะกรรมการธนาคารพจิ ารณา ในเรอ่ื งการบรหิ ารความเสยี่ งโดยรวม ซง่ึ ตอ้ งครอบคลมุ ถงึ ความเสย่ี งประเภทตา่ ง ๆ ทส่ี ำ�คญั และสอดคลอ้ งกบั กลยทุ ธ์ โดยมกี ารประเมนิ ตดิ ตาม และดแู ล ปรมิ าณความเสย่ี งของสถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ ใหอ้ ยู่ในระดบั ที่ เหมาะสมทบทวนความเพยี งพอของนโยบายและกระบวนการบรหิ ารความเสยี่ ง ซงึ่ รวมถงึ ความมปี ระสทิ ธผิ ล ของกระบวนการ และการปฏิบัติตามนโยบายท่ีกำ�หนด และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบอย่าง สม่ําเสมอในสิ่งท่ีต้องดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย และกลยุทธ์ที่กำ�หนด ท้ังน้ี คณะกรรมการบริหารความเส่ียงได้กำ�หนดให้การประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง สำ�หรับปีบัญชี 2562 มกี ารประชมุ ทงั้ สนิ้ 10 ครงั้ และไดร้ ายงานคณะกรรมการธนาคารถงึ การเปลย่ี นแปลงความเสยี่ ง และผลกระทบ ในภาพรวม (Portfolio Exposure) รวมตลอดถึงสถานะความเสยี่ งและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่มีตอ่ ระดับ การยอมรบั ความเส่ียง (Risk Appetite) พร้อมข้อเสนอแนะการปรบั ปรุงแกไ้ ข เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับนโยบาย และกลยทุ ธท์ ี่คณะกรรมการธนาคารกำ�หนด คณะกรรมการสรรหาและก�ำ หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีหน้าท่ีกำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหา ทชี่ ัดเจนโปรง่ ใส เพอ่ื ประกอบการบรรจแุ ต่งตัง้ และเลือ่ นตำ�แหน่ง การจ่ายค่าตอบแทน และผลประโยชนอ์ ่ืน ของผบู้ รหิ ารตง้ั แตต่ ำ�แหนง่ ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ย/สำ�นกั หรอื เทยี บเทา่ ขน้ึ ไปถงึ รองกรรมการผจู้ ดั การหรอื เทยี บเทา่ คัดเลือก และเสนอช่ือบุคคลท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมเพ่ือดำ�รงตำ�แหน่งต่าง ๆ ดังกล่าว รวมถึงพิจารณา คา่ ตอบแทนและผลประโยชน์อืน่ ที่ให้แก่กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยตา่ ง ๆ เพ่ือเสนอให้คณะกรรมการ ธนาคารพิจารณาอนุมัติ รวมถึงกำ�หนดแนวทางและหลักเกณฑ์การประเมินผลงานของกรรมการใน คณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ และผู้บริหารตั้งแต่ตำ�แหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ หรือเทียบเท่าขึ้นไป ถึงกรรมการผู้จัดการ เพ่ือพิจารณาปรับผลตอบแทนประจำ�ปีโดยคำ�นึงถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง และกำ�หนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นของกรรมการผู้จัดการ เพ่ือนำ�เสนอ ตอ่ คณะกรรมการธนาคารใหค้ วามเหน็ ชอบ โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้กำ�หนดให้ มกี ารประชมุ อยา่ งน้อยไตรมาสละ 1 คร้งั ตามความจำ�เปน็ และเหมาะสม สำ�หรับปีบญั ชี 2562 มกี ารประชมุ ทงั้ สน้ิ 8 ครงั้ แบง่ เปน็ การประชมุ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดคา่ ตอบแทน 7 ครงั้ และการประชมุ กรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 1 ครั้ง และได้รายงานผลการประชุมในแต่ละคร้ังต่อคณะกรรมการธนาคาร เป็นรายไตรมาส โดยมีองค์ประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของจำ�นวนคณะกรรมการท้ังหมดเท่าท่ีมีอยู่ แต่ต้อง ไมน่ อ้ ยกว่า 2 คน และไดร้ ายงานผลการประชุมในแตล่ ะครัง้ ตอ่ คณะกรรมการธนาคารเปน็ รายไตรมาส GRI 102-22 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 77
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าท่ีสอบทานประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของกระบวนการควบคุม ภายใน กระบวนการกำ�กบั ดแู ลทด่ี แี ละกระบวนการบรหิ ารความเสยี่ ง ระบบการตรวจสอบภายใน และสอบทาน ให้ธนาคารมีการรายงานทางการเงินที่มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ และสอบทานการดำ�เนินงานของธนาคารให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรีประกาศ หรือคำ�สั่งที่เก่ียวข้องกับการดำ�เนินงานของธนาคาร รวมทั้งพิจารณารายการ ท่ีเกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดการทุจริตที่อาจมีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงานของธนาคาร และการเปิดเผยข้อมูลของธนาคาร โดยเฉพาะในกรณีท่ีเกิดรายการที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงธุรกรรมนโยบายรัฐ (Public Service Account) ให้มีความถูกต้อง และครบถ้วน โดยคณะกรรมการตรวจสอบ ได้กำ�หนดให้มีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง สำ�หรับ ปีบัญชี 2562 มีการประชุม ทั้งสิ้น 15 คร้ัง แบ่งเป็นการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 11 คร้ัง และการประชมุ กรรมการตรวจสอบ 4 ครงั้ โดยมอี งคป์ ระชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการตรวจสอบ ทง้ั หมด และได้รายงานผลการปฏิบัติตอ่ คณะกรรมการธนาคารเป็นรายไตรมาส คณะกรรมการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านกรรมการผู้จดั การ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานกรรมการผู้จัดการมีหน้าท่ีพิจารณากลั่นกรองหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน และกลั่นกรองแผนงานบริหารธนาคาร รวมถึงผลการปฏิบัติงานของ กรรมการผู้จัดการ โดยคณะกรรมการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานกรรมการผ้จู ดั การ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ กำ�หนดใหม้ กี ารประชุม ตามความเหมาะสม สำ�หรับปบี ัญชี 2562 มกี ารประชุมทัง้ สิ้น 4 ครัง้ คณะกรรมการก�ำ หนดกลยทุ ธแ์ ละนโยบายทางดา้ น IT (IT Strategy and Policy Committee) คณะกรรมการกำ�หนดกลยทุ ธแ์ ละนโยบายทางดา้ น IT (IT Strategy and Policy Committee) มหี นา้ ท่ี กำ�หนดวิสัยทัศน์ นโยบาย แผนกลยุทธ์และเป้าหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของธนาคารให้สอดคล้อง เชอ่ื มโยงกบั วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และยทุ ธศาสตรข์ องธนาคาร การจดั สรรทรพั ยากรเพอ่ื การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่ือให้การปฏิบัติงานประสบผลสำ�เร็จ รวมท้ังควบคุม กำ�กับ ดูแล ทบทวน และประเมินผล การดำ�เนินงานตามแผนเทคโนโลยสี ารสนเทศของธนาคาร ทัง้ น้ี คณะกรรมการกำ�หนดกลยุทธ์และนโยบาย ทางด้าน IT ได้กำ�หนดให้มีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง หรือตามความเหมาะสม สำ�หรับปีบัญชี 2562 มกี ารประชุมทั้งสิ้น 10 ครง้ั แบ่งเปน็ การประชุมคณะกรรมการกำ�หนดกลยทุ ธแ์ ละนโยบายทางดา้ น IT 5 คร้ัง และการประชุมกรรมการกำ�หนดกลยทุ ธแ์ ละนโยบายทางดา้ น IT 5 ครัง้ และไดร้ ายงานผลการประชุม ในแตล่ ะคร้งั ต่อคณะกรรมการธนาคารเปน็ รายไตรมาส คณะกรรมการบรหิ าร คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่กล่ันกรอง/ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะในเรื่องต่าง ๆ ก่อนนำ�เสนอ คณะกรรมการธนาคาร รวมทั้งมีการรายงานผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการบริหารต่อคณะกรรมการ ธนาคาร เปน็ ประจำ�ทกุ ไตรมาส ทง้ั นี้ คณะกรรมการกจิ การสมั พนั ธ์ ไดก้ ำ�หนดใหก้ ารประชมุ อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 คร้ัง สำ�หรับปีบัญชี 2562 มีการประชุมท้ังสิ้น 15 คร้ัง และได้รายงานผลการปฏิบัติต่อคณะกรรมการ ธนาคารเปน็ รายไตรมาส คณะกรรมการกจิ การสัมพันธ์ คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 มาตรา 19 โดยมีหน้าท่ีพิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานของ รัฐวิสาหกิจตลอดจนส่งเสริมและพัฒนาการแรงงานสัมพันธ์ และพิจารณาปรับปรุงระเบียบข้อบังคับในการ ทำ�งานอนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ นายจ้าง ลกู จ้าง และธนาคาร ทั้งน้ี คณะกรรมการกจิ การสมั พันธ์ ได้กำ�หนด ใหก้ ารประชุมอย่างนอ้ ยเดอื นละ 1 คร้งั สำ�หรับปบี ญั ชี 2562 มีการประชุมทัง้ สิ้น 11 ครั้ง และไดร้ ายงานผล การประชมุ ในแตล่ ะครง้ั ตอ่ คณะกรรมการธนาคารเป็นรายไตรมาส 78 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-22
จำ�นวนกรรมการ กรรมการธนาคาร ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 ชาย 8 คน 8 คน 8 คน หญงิ 3 คน 3 คน 3 คน รวม 11 คน 11 คน 11 คน หมายเหตุ เป็นขอ้ มูล ณ สิ้นปีบญั ชี ความพงึ พอใจและความภกั ดขี องลูกคา้ การดำ�เนนิ ธรุ กจิ ของธนาคารใหค้ วามสำ�คญั กบั ลกู คา้ เนอื่ งจากเปน็ กลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทส่ี ำ�คญั คณุ ภาพและการให้ บริการจะเป็นปัจจัยสำ�คัญท่ีทำ�ให้ลูกค้าเลือกใช้บริการ โดยเฉพาะในปัจจุบันท่ีการแข่งขันกันระหว่างธนาคารมีความเข้มข้น ธนาคารจงึ จำ�เปน็ ต้องปรบั ตัวและพัฒนาบริการเพอ่ื สนองต่อความตอ้ งการของลูกค้าไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยการศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการของลกู คา้ เพ่อื นำ�ไปสูก่ ารพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ รวมถงึ การกำ�หนดช่องทางการรบั เรอื่ งรอ้ งเรียน เพอ่ื นำ�ขอ้ มูลและ สารสนเทศมาใช้เปน็ แนวทางการในการปรับปรงุ การใหบ้ รกิ าร แนวทางการบรหิ ารจัดการ ธนาคารมุ่งมั่นและทุ่มเทในการให้บริการทางการเงินแก่ลูกค้า โดยกำ�หนดให้ลูกค้าเป็นศูนย์กลางในการทำ�การตลาด ทุกรูปแบบ รวมถึงการบริหารจัดการคุณภาพสินทรัพย์ การให้ความสำ�คัญกับการจัดทำ�มาตรการช่วยเหลือลูกค้าในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อให้เป็น “ธนาคารที่ดีท่ีสุดสำ�หรับการมีบ้าน” ของประชาชน ธนาคารเชื่อว่าการบริหารความสัมพันธ์เพ่ือสร้าง ความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า จะส่งผลให้เกิดความภักดีของลูกค้า ในการกลับมาใช้บริการซ้ํา และบอกต่อถึงบริการที่ดี ให้แก่คนใกล้ชิด ซึ่งจะนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จและความยั่งยืนให้กับองค์กรในระยะยาว ธนาคารจึงได้กำ�หนดแนวทางการจัดการ ความสมั พนั ธ์กับลูกคา้ ผา่ นกระบวนการ GHBank Customer Excellence Model (GHBank-CExM) GRI 102-22, GRI 103-1, GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 79
8 1 2 การประเมินผล นำยทุ ธศาสตร การแบง กลุมลกู คา - การประเมนิ ผล และทิศทางของ ธอส. - การทบทวน และการสำรวจลกู คา มาวเ� คราะห การแบงกลุม ลกู คา 7 GHBank 3 Customer การตดิ ตาม Excellence การรับฟง� เสยี ง ผลการดำเนินงาน - การรวบรวมขอ มูล เกยี่ วกบั ลูกคา (คแู ขง) - ระบบวดั ผล VOC 6 5 4 การปฏบิ ัตติ ามแผน การกำหนดกลยทุ ธ การวเ� คราะหขอ มลู - Deploy แผน แผนตลาดบรู ณาการ การวเ� คราะห - การจัดการ (ขาย/Digital/Social สารสนเทศจาก ขอ รองเรย� น ลูกคาและตลาด Media/ส่อื สาร) Product Plan / Support Plan CRM Plan / NPL / NPA ธนาคารไดก้ ำ�หนดแนวทางการบริหารจดั การลูกค้าผ่านกระบวนการ GHBank Customer Excellence ทปี่ ระกอบด้วย 8 ขัน้ ตอน ได้แก่ 1. การนำ�ยทุ ธศาสตรแ์ ละทิศทางของธนาคารมาวเิ คราะห์ 2. การจำ�แนกกลุม่ ลูกคา้ รวมถึงการทบทวนการแบง่ กลมุ่ ลูกค้า 3. การรบั ฟังเสยี ง และการรวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกับลกู ค้า ทั้งลกู ค้าปัจจบุ ัน ลกู คา้ อนาคต และลกู คา้ คู่แขง่ (Voice of Customer) 4. การวเิ คราะห์สารสนเทศท่ีไดจ้ ากลูกค้า 5. การกำ�หนดยุทธศาสตร์ด้านการตลาดเพ่ือจัดทำ�แผนบูรณาการท่ีเก่ียวข้องกับลูกค้า เช่น แผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Plan) แผนสนับสนนุ (Support Plan) แผนสร้างความสัมพันธ์กบั ลกู คา้ (CRM Plan) รวมถึงเปา้ หมาย ดา้ นการเงนิ เชน่ NPL (Non Performance Loan) / NPA (Non Performance Asset) 6. การดำ�เนนิ การตามแผนงานทเี่ ก่ยี วข้องกบั ลูกคา้ รวมถึงการจัดการขอ้ รอ้ งเรยี น 7. การตดิ ตามผลการดำ�เนนิ งาน และวัดผลสำ�เรจ็ 8. การประเมินผล และการสำ�รวจความพึงพอใจของลูกคา้ 80 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
ประเภทลกู ค้า ธนาคารจำ�แนกประเภทกลุ่มลูกค้าให้สอดคล้องกับธุรกิจหลัก โดยจำ�แนกลูกค้าตามผลิตภัณฑ์หลักออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลมุ่ ลูกคา้ สินเชอื่ และกลมุ่ ลกู ค้าเงนิ ฝาก ซึ่งสามารถจำ�แนกกลมุ่ ลูกค้าในแตล่ ะผลิตภณั ฑ์ ได้ดงั นี้ กล่มุ ลูกคา้ สินเชือ่ (Loan Customers) กลุ่มลูกคา้ เงนิ ฝาก (Deposit Customers) 1. กลมุ่ ลกู คา้ Social Solution รายไดไ้ มเ่ กนิ 25,000 บาท จำ�แนกลกู คา้ เงนิ ฝาก โดยแบง่ ตามวงเงนิ ฝากเปน็ - กลมุ่ ลกู คา้ สวสั ดกิ ารเอกชน 3 ขนาด ดงั น้ี - กลมุ่ ลกู คา้ รายยอ่ ยอาชพี ประจำ� - S : ลกู คา้ ทม่ี เี งนิ ฝากตา่ํ กวา่ หรอื เทา่ กบั 10 ลา้ นบาท - กลมุ่ ลกู คา้ สวสั ดกิ ารขา้ ราชการ/พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ - M : ลกู คา้ ทม่ี เี งนิ ฝากตง้ั แต่ 10 ถงึ 10,000 ลา้ นบาท - กลมุ่ รายยอ่ ยอาชพี อสิ ระ - L : ลกู คา้ ทม่ี เี งนิ ฝากตง้ั แต่ 10,000 ลา้ นบาท ขน้ึ ไป 2. กลมุ่ ลกู คา้ Business Solution รายไดเ้ กนิ 25,000 บาทขน้ึ ไป - กลมุ่ ลกู คา้ สวสั ดกิ ารเอกชน - กลมุ่ ลกู คา้ รายยอ่ ยอาชพี ประจำ� - กลมุ่ ลกู คา้ สวสั ดกิ ารขา้ ราชการ/พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ - กลมุ่ รายยอ่ ยอาชพี อสิ ระ จากการที่ธนาคารให้ความสำ�คัญกับลูกค้า โดยพยายาม ธนาคารใหค้ วามสำ�คัญกบั ลกู ค้า สรา้ งความพงึ พอใจและความภกั ดใี หก้ บั ลกู คา้ พฒั นาการใหบ้ รกิ าร โดยพฒั นาการให้บริการผ่าน ผ่านช่องดิจิทัล เพ่ือเพิ่มความสะดวกและความรวดเร็วให้กับ ช่องทางดิจทิ ลั เพ่อื เพิ่มความ ลูกค้า จนส่งผลทำ�ให้ในปี 2562 ธนาคารมีเงินสินเชื่อคงค้าง สะดวกและความรวดเรว็ ใหก้ บั รวมให้สินเช่ือรวม 1,209,264 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน ลกู คา้ ท�ำ ใหย้ อดรวมสินเชื่อ ร้อยละ 8.37 โดยเป็นสินเชื่อปล่อยใหม่ 215,301 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 213,161 ล้านบาท ด้านลูกค้า รเพ้อมิ่ ขยนึ้ จลากปะีก8่อน.3 เงินฝาก มีจำ�นวนเงินรับฝากรวม 993,769 ล้านบาท เพ่ิมขึ้น จากปีก่อนรอ้ ยละ 5.3 และลูกค้าเงินฝาก เพิ่มข้ึน จรา้อกปยีก่อลน ะ 5.3 GRI 103-3 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 81
ผลติ ภัณฑ์และการบริการดิจิทัล ธนาคารเห็นความสำ�คัญและได้มีการพัฒนาการให้บริการลูกค้าผ่านช่องทางดิจิทัลอย่างต่อเน่ือง ตามแผน Transformation To Digital Service เพื่อเป็นการเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน และเพิ่มความสะดวก รวดเร็ว ในการใชบ้ รกิ ารของลกู คา้ โดยไดพ้ ฒั นาแอปพลเิ คชนั “GHB ALL” เพอื่ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการใหบ้ รกิ ารดา้ นดจิ ทิ ลั ของธนาคาร ด้วยจุดเด่นท่ีให้บริการสินเชื่อบ้านแบบครบวงจร ภายใต้แนวคิด “ครบจบในแอปเดียว” มีการนำ�เสียงของลูกค้า (VOC) และการเทยี บเคยี งกบั คแู่ ขง่ มาเปน็ ขอ้ มลู ในการปรบั และพฒั นาระบบการใชง้ าน โดยในปี 2562 ไดม้ กี ารพฒั นาระบบเพม่ิ เตมิ ได้แก่ 1. Smart Queue ลกู คา้ สามารถจองควิ สำ�หรบั ทำ�ธุรกรรมลว่ งหนา้ 2. บรกิ ารแจง้ เตือนให้ชำ�ระหน้ี 3. การเชื่อมต่อระบบ Smart Welfare & Corporate เพื่อแจ้งความจำ�นงในการย่ืนกู้ และเป็นเคร่ืองมือประมวลผล ผลติ ภณั ฑ์สินเชอ่ื (Pre-Approve) สำ�หรับกลุ่มลูกคา้ สวสั ดิการ 4. การเชอื่ มต่อระบบ GHB Reward สามารถเชค็ คะแนนสะสม Reward Point และแลกของรางวลั ไดท้ ันท ี 5. QR Non Cash Payment 6. การเชือ่ มตอ่ ระบบ Smart NPA สามารถคน้ หาทรพั ย์ NPA หรือบา้ นมือสองเพิ่มโอกาสและทางเลอื กให้ประชาชน ที่ต้องการมีบา้ นเป็นของตนเอง 7. สามารถดาวน์โหลดใบเสร็จรับเงินไดด้ ว้ ยตนเอง 8. การเช่ือมตอ่ ระบบ GHBank Smart Booth 9. แจ้งผลสลากรวมถึงขา่ วสารต่าง ๆ ของธนาคาร จากยอดผู้ลงทะเบียนใช้แอปพลิเคชัน “GHB ALL” พบว่าปี 2561 มีจำ�นวน 27,663 คน และปี 2562 จำ�นวน 241,781 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อนมากถึง 8 เท่า สะท้อนให้เห็นว่าธนาคารได้ปรับปรุงและพัฒนาระบบการใช้งาน ตรงต่อความตอ้ งการของลกู คา้ แอปพลเิ คชัน “GHB ALL” GRI 103-3 พบวา่ ปี 2561 มจี ำ�นวน 27,663 คน และ ปี 2562 จำ�นวน 241,781 คน ซึง่ เพ่ิมขึ้น จากปกี อ่ นมากถงึ 8 เทา่ สะท้อนใหเ้ ห็นว่า ธนาคารไดป้ รับปรุงและพฒั นา ระบบการใชง้ านตรงต่อความตอ้ งการ ของลูกค้า 82 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
Soul of Service แม้ว่าพฤติกรรมการใช้บริการของลูกค้าในปัจจุบันจะเปล่ียนไปใช้ช่องทางดิจิทัลมากขึ้น แต่ความต้องการในการรับ บริการดว้ ยบุคลากรของธนาคาร ยังคงเป็นท่ตี อ้ งการของลกู ค้าธนาคาร ดงั นั้น ธนาคารยงั คงมุง่ เนน้ และปรบั ปรงุ การบริการ ด้วยบุคลากรของธนาคารอย่างต่อเน่ือง ผ่านการจัดทำ�โครงการยกระดับมาตรฐานการให้บริการ “ธนาคาร บริการด้วยใจ” และจัดทำ�คู่มือมาตรฐานการให้บริการที่ดีท่ัวท้ังองค์กร จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินผลการสอนงาน (OJT) รวมถึง ในปี 2562 ธนาคารไดจ้ ดั ใหม้ โี ครงการ Soul of Service (8 สาขานำ�รอ่ ง) ชวี ติ ของการใหบ้ รกิ าร เสนห่ ข์ องธนาคาร เพอ่ื ยกระดบั การให้บรกิ ารในรูปแบบเดยี วกัน ซงึ่ สามารถสรา้ งประสบการณ์ทดี่ ีในการให้บริการแก่ลูกค้าผ่าน 2 Touch Point ทีส่ ำ�คญั คอื “ธนาคาร บรก� ารดวยใจ” ATM 1. จุดใหบ้ ริการผา่ นพนักงานและตวั แทนธนาคาร (Human 2. จดุ ใหบ้ รกิ ารผา่ นชอ่ งทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Non-Human Touch Point) การปรับปรุง Operation ในการทำ�งาน Touch Point) ความเป็นระเบยี บเรียบร้อยของสถานที่ ทต่ี อบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ เรม่ิ ตง้ั แตเ่ จา้ หนา้ ท่ี รวมถงึ เครอื่ ง LRM/ATM โตะ๊ /เคานเ์ ตอร์ใหบ้ รกิ ารลกู คา้ รักษาความปลอดภัย ท่ีสามารถแนะนำ�ลูกค้าใน มีความสะอาดพร้อมให้บริการ โดยโครงการดังกล่าว เบื้องต้นได้ และพนักงานต้องให้บริการลูกค้าด้วย มีแนวคิดจากการเรียนรู้ มาจากการบริการของร้าน ความเตม็ ใจ ใหข้ อ้ มลู แกล่ กู คา้ ทถ่ี กู ตอ้ งครบถว้ น เพอื่ ให้ Starbucks ที่พนักงานมีการทักทาย ใส่ใจ ดูแลและ ลูกค้าเกิดความไว้วางใจและเช่ือม่ันในการให้บริการ จดจำ�ลูกค้าได้ และให้บริการ ด้วยการยิ้มแย้มแจ่มใส ของธนาคาร รวมไปถึงมีความใส่ใจในรายละเอียดของ เปน็ ธรรมชาติ ธนาคารจงึ นำ�แนวคดิ ดงั กลา่ วมาประยกุ ต์ ลูกค้า ร่วมกับมาตรฐานการให้บริการของธนาคาร โดยการ บริการที่สร้างความมีชีวิตจิตใจในการให้บริการ มีอัตลักษณ์เฉพาะตัวท่ีเป็นมาตรฐาน และสร้างความ ประทบั ใจทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะของธนาคาร เพราะความมุ่งม่ันและพัฒนาเพ่ือยกระดับการให้บริการอย่างสมํ่าเสมอ ทำ�ให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจในการให้ บริการของธนาคารเพิม่ ข้นึ ทกุ ปี โดยในปี 2562 ธนาคารยังได้รบั รางวัล “ธนาคารท่มี ีบริการยอดเยีย่ มดา้ นสินเช่ือบ้าน 2562” 2 ปซี ้อน ในงาน Money & Banking Awards 2019 ในปี 2562 ธนาคารได้รบั รางวัล “ธนาคารที่มีบริการยอดเย่ียมดา้ นสนิ เช่ือบ้าน 2562” 2 ปซี ้อน ในงาน Money & Banking Awards 2019 GRI 103-3 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 83
เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื รวม (ลา้ นบาท) รายงานดา้ นสินเช่อื ปี 2561 ปี 2560 % growth จำ�นวนสนิ เชอ่ื ทป่ี ลอ่ ยใหม่ (ลา้ นบาท) ปี 2562 1,115,893 1,023,446 9.0% 9.2% 1,209,264 8.4% 213,161 196,817 215,301 รายงานลกู ค้าเงินฝาก ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 - เงนิ ฝากออมทรพั ย์ (ลา้ นบาท) 246,636 227,592 202,859 - เงนิ ฝากประจำ� (ลา้ นบาท) 707,027 708,790 648,215 - เงนิ รบั ฝาก Received of Deposit (ลา้ นบาท) - สลากออมทรพั ย์ ธอส. (ลา้ นบาท) 7,000 7,000 7,000 เงนิ รบั ฝากรวม (ลา้ นบาท) 33,106 - - % growth 993,769 5.3% 943,382 858,074 9.9% 9.9% สำ�หรบั ขอ้ รอ้ งเรยี นของลกู คา้ จากการใหบ้ รกิ ารพบวา่ ในปี 2562 มเี รอ่ื งรอ้ งเรยี นทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การปฏเิ สธหรอื ไมอ่ นมุ ตั ิ โดยไมช่ แ้ี จงเหตผุ ลจำ�นวน 19 เรอ่ื ง เพมิ่ ขน้ึ จากปกี อ่ น 3 เรอื่ ง ขอ้ รอ้ งเรยี นเกย่ี วกบั การไมไ่ ดร้ บั อนมุ ตั ติ ามระยะเวลาทก่ี ำ�หนด จำ�นวน 659 เรือ่ ง เพิ่มข้ึนจากปกี ่อน 72 เร่ือง และขอ้ รอ้ งเรยี นจากการใหบ้ รกิ ารจำ�นวน 642 เรือ่ ง ลดลงจากปกี อ่ น 51 เร่ือง ข้อรอ้ งเรยี นจากการให้บรกิ าร ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 ปฏเิ สธหรอื ไมอ่ นมุ ตั โิ ดยไมช่ แ้ี จง (เรอ่ื ง) 19 16 4 ไมไ่ ดร้ บั อนมุ ตั ติ ามเวลาทก่ี ำ�หนด (เรอ่ื ง) 659 587 286 การใหบ้ รกิ าร (เรอ่ื ง) 642 693 242 และจากการสำ�รวจความพงึ พอใจของลกู คา้ ทมี่ ตี อ่ ผลติ ภณั ฑข์ องธนาคารผา่ นการใหบ้ รกิ ารในชอ่ งทางตา่ ง ๆ ผลสำ�รวจ ในปี 2562 ความพงึ พอใจของลกู คา้ ธนาคารทม่ี ตี อ่ สนิ เชอ่ื เงนิ ฝาก และภาพรวม พบวา่ มรี ะดบั ความพงึ พอใจเทา่ กบั 97.7, 96.6 และ 97.2 ตามลำ�ดับ สำ�หรับความพึงพอใจของลูกค้าท่ีมีต่อบริการทางดิจิทัลของธนาคารท้ังลูกค้าสินเชื่อ ลูกค้าเงินฝาก และลกู ค้าภาพรวมของ ธอส. พบวา่ มรี ะดบั ความพงึ พอใจเทา่ กับ 93.2, 88.8 และ 91.4 ตามลำ�ดบั ความพงึ พอใจของลูกคา้ ท่มี ีตอ่ ธนาคาร (ภาพรวม) 100 96.0 96.9 97.7 96.6 96.8 96.6 96.3 96.9 97.2 95 90 85 สนิ เชื่อ เงินฝาก ภาพรวม 2560 2561 2562 เป้าหมาย 84 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-3
ความพงึ พอใจของลกู ค้าท่มี ีต่อบริการทางดิจทิ ัลของธนาคาร 100 76.3 80.8 93.2 89.0 88.8 75.6 83.0 91.4 75 74.6 ลูกคา้ ธอส. 50 ลกู คา้ เงนิ ฝาก เป้าหมาย 25 2562 ลกู ค้าสนิ เชอื่ 2560 2561 การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและความเป็นส่วนตัว ของผู้ใชบ้ ริการ ปัจจุบันเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทมากข้ึน ทั้งในด้านวิถีชีวิตประจำ�วันและด้านการดำ�เนินธุรกิจ สร้างความสะดวกสบายและดำ�เนินชีวิตและธุรกิจไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ในทางกลับกันก็ทำ�ให้ภัยคุกคาม ความมั่นคงปลอดภัยด้านไซเบอร์มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนเช่นกัน ภัยคุกคามเหล่านี้ส่งผลกระทบหลากหลายรูปแบบทั้งทางตรง และทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นภัยคุกคามจากไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยคุกคามจากซอฟต์แวร์เรียกค่าไถ่ ภัยคุกคามการหลอกลวง ทางอินเทอรเ์ นต็ ไปจนถงึ ภัยคกุ คามจากการเจาะระบบเพื่อขโมยข้อมลู สำ�คญั เปน็ ต้น GRI 103-1, GRI 103-3 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 85
แนวทางการบริหารจัดการ ธนาคารตระหนักถึงภัยคุกคามและความเสี่ยงดังกล่าวจึงได้มีการพัฒนาเคร่ืองมือต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และให้ ความสำ�คัญต่อการดำ�เนินงานให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ทางการท่ีเก่ียวข้อง และความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Risk) รวมถงึ ความเสย่ี งทเี่ กดิ จากภยั คกุ คามทางไซเบอร์ (Cyber Threat) โดยมกี ารดำ�เนนิ การตา่ ง ๆ ท่ีสำ�คัญ ดังนี้ 1. การจัดอบรมให้ความรู้ด้านการบริหารความเส่ียง 5. นำ�ประกาศและแนวทางปฏิบัติที่ดีของธนาคาร การสอ่ื สารความรู้ และการมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ ง ๆ แห่งประเทศไทยที่เกี่ยวข้องมาจัดทำ�แบบประเมิน ผา่ นชอ่ งทาง Line Official Account (line@) เพอื่ แบง่ ปนั (Checklist) เพื่อให้หน่วยงานเจ้าของความเส่ียง ความรู้และให้คำ�ปรึกษาในการรายงานเหตุการณ์ (Risk Owner) ใช้ประเมนิ ความเสี่ยงและการควบคมุ ที่ ความเสียหายแก่พนักงาน การมอบรางวัลให้แก่ มีอยู่ (RCSA) และจัดทำ�แผนการจัดการความเสี่ยง หนว่ ยงาน/บคุ คลทมี่ คี วามตระหนกั ในการรายงานขอ้ มลู ในการออกผลิตภัณฑ์ด้าน Digital Services รวมถึง เหตกุ ารณ์ความเสยี หาย (Loss Event) การบริหารโครงการดา้ น IT ทีส่ ำ�คญั 2. การสรา้ งและสง่ เสรมิ วฒั นธรรมองค์กรดา้ นการบริหาร 6. ทำ�การวิเคราะห์กฎหมาย กฎเกณฑ์ท่ีสำ�คัญ ท่ีส่ง ความเส่ียง (Risk Culture) โดยสร้างความตระหนัก ผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจของธนาคาร เพ่ือนำ�ไป ให้ทุกหน่วยงานของธนาคารมีส่วนร่วมในการเสนอ สกู่ ารปรบั เปลยี่ นวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านและระบบงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ผลงานดา้ นการบรหิ ารความเสย่ี งทสี่ ามารถลด/ปอ้ งกนั เช่น ร่างประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เร่ือง ความเสี่ยงที่สำ�คัญของหน่วยงานตนเองและของ การบริหารจัดการด้านการให้บริการแก่ลูกค้า ธนาคารผ่านโครงการ Risk Management Awards อย่างเป็นธรรม (Market Conduct) ร่างหลักเกณฑ์ ปี 2019 ส่งผลให้การบริหารความเส่ียงของธนาคาร การกำ�กับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ระยะที่ 2 มีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เก่ียวข้อง 3. จัดทำ�/ทบทวนนโยบายการบริหารความเส่ียงด้าน กับเครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9) หลักเกณฑ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นกรอบ/แนวทาง การกำ�กับดูแลสินเช่ือเพ่ือที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออ่ืน ในการบรหิ ารความเสย่ี งดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ และ ที่เกี่ยวเนื่องกับสินเช่ือเพ่ือท่ีอยู่อาศัยของสถาบัน ความเส่ียงด้าน Cyber Security ให้เป็นไปในทิศทาง การเงินเฉพาะกิจ (Macro Prudential) และพระราช เดียวกันทั่วทั้งองค์กร และทันต่อการเปลี่ยนแปลง บัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (Data ทางเทคโนโลยอี ย่างรวดเร็ว (Disruptive Technology) Privacy) เป็นต้น ในสภาวะปจั จบุ นั 4. ทบทวนคู่มือการบริหารความเส่ียงให้ครอบคลุม ความเสีย่ งดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและความเป็นส่วนตัวของลูกค้าถือเป็นหน่ึงในเรื่องความรับผิดชอบท่ีธนาคาร ให้ความสำ�คัญอย่างมาก เนื่องจากจำ�นวนธุรกรรมและปริมาณลูกค้าท่ีหลากหลายทำ�ให้ธนาคารมีจำ�นวนข้อมูลท่ีสำ�คัญ ของลกู คา้ ทหี่ ลากหลายและตอ้ งรกั ษาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ไม่ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย ธนาคารไดก้ ำ�หนดใหพ้ นกั งานสามารถเปดิ เผยขอ้ มลู ความลับของลูกค้าให้กับเจ้าของข้อมูล หรือผู้รับมอบอำ�นาจจากเจ้าของสิทธิ์เท่าน้ัน โดยพนักงานทุกคนต้องปฏิบัติตาม พระราชบญั ญัตธิ นาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 มาตรา 43 และพระราชบญั ญตั ขิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 อย่างรดั กมุ และเพอื่ ให้การรักษาขอ้ มลู ความลบั ของลกู คา้ นน้ั มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึน้ ธนาคารจึงได้จดั ทำ�นโยบายค้มุ ครอง ข้อมูลสว่ นบุคคลฉบับนขี้ ้นึ เพ่อื ค้มุ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คลของผูใ้ ช้บรกิ ารทุกท่าน (Personal Information) ดังต่อไปน้ี 86 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
การเข้าเยยี่ มชมเว็บไซตข์ องธนาคาร (Visiting the Bank’s Website) ลกู คา้ และประชาชนทว่ั ไปสามารถเขา้ ธนาคารสามารถดำ�เนินการปรับปรุง ธนาคารอาจทำ�การตรวจสอบถึง มาเย่ียมชมเวบ็ ไซตข์ องธนาคาร เพือ่ เว็บไซต์ของธนาคารได้อย่างต่อเนื่อง พฤติกรรมการสืบค้นข้อมูล และใช้ การคน้ หาผลติ ภณั ฑ์ และบรกิ ารตา่ ง ๆ ธนาคารอาจใช้อุปกรณ์ซอฟต์แวร์ บริการระบบเชื่อมโยงข้อมูล โดย ของธนาคาร และสามารถสืบค้น เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลในด้าน ส่วนหนึ่งของกระบวนการรักษา ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ธนาคารได้ โดยท่ี พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ข อ ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ธ น า ค า ร นั้ น ไม่ต้องแจ้งข้อมูลส่วนบุคคลให้แก่ ผู้ที่เข้ามาเย่ียมชมเว็บไซต์อันได้แก่ ธนาคารอาจใช้ระบบ “คกุ กี้” (cookie) ธนาคาร หากทางลูกค้าไม่ต้องการ วั น แ ล ะ เ ว ล า ใ น ก า ร เ ข้ า เ ยี่ ย ม ช ม ในการตรวจสอบความถูกต้องแท้จริง ลงทะเบียนไว้กับธนาคาร ไม่ต้องการ เว็บไซต์ การดูหน้าเว็บเพจต่าง ๆ ของคำ�ขอของผใู้ ช้บรกิ าร ได้รับข้อมูลข่าวสารใหม่เพิ่มเติมจาก เวลาที่ใช้ในการเย่ียมชม ประเภท ธนาคาร ข อ ง ก า ร สื บ ค้ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร อินเทอร์เน็ต และการเข้าเย่ียมชม เว็บไซต์ต่าง ๆ ท้ังก่อนและหลัง การเข้าชมเว็บไซต์ของธนาคาร ทั้งน้ี เ พื่ อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง เว็บไซต์ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 87
การรวบรวมและการรกั ษาข้อมูลสว่ นบคุ คล (Collecting and Retaining Personal Information) ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลจะถกู นำ�ไปใชเ้ พอ่ื วตั ถปุ ระสงค์ในการดำ�เนนิ งานของธนาคารอยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย การใหบ้ รกิ ารทด่ี ี ท่ีสุด และการออกแบบผลิตภัณฑข์ อ้ เสนอพเิ ศษทด่ี ขี ้นึ กวา่ เดิม สำ�หรับการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ส่วนบคุ คล โดยจะขอขอ้ มูล จากลกู คา้ โดยตรงดว้ ยกระบวนการสมคั ร หรอื ทางบรกิ ารเสรมิ ซง่ึ ตอ้ งใชบ้ คุ คลตดิ ตอ่ กบั ลกู คา้ หากลกู คา้ เลอื กทจ่ี ะใหข้ อ้ มลู ส่วนบคุ คล เชน่ ท่อี ยู่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หมายเลขโทรศัพทห์ รือหมายเลขโทรสาร ลักษณะทางภมู ิภาค ทอี่ ยู่อาศยั และเลขประจำ�ตัว ตลอดจนกิจกรรมทางธุรกิจหรือการดำ�เนินธุรกรรมใด ๆ ของลูกค้าแก่ธนาคาร แล้วธนาคารจะรักษา ขอ้ มลู เหลา่ นัน้ ไว้เปน็ ความลบั ตามเกณฑม์ าตรฐานสำ�หรบั การรกั ษาขอ้ มูลเปน็ ความลับของธนาคาร ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าจะถูกเก็บรวบรวม และรักษาไว้ในระหว่างระยะเวลาที่ธนาคาร และลูกค้ายังคงมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจต่อกัน และตามท่ีกฎหมายกำ�หนด นอกจากนี้เม่ือลูกค้าได้ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์มายังธนาคาร ธนาคาร จะเกบ็ เนอ้ื หาในจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทอ่ี ยขู่ องจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และการโตต้ อบจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ งั กลา่ วไว้ เพ่ือตอบข้อสงสัยให้แก่ลูกค้าหรือเพ่ือความจำ�เป็นในการติดตามผล และเพื่อตรวจสอบถึงการโต้ตอบระหว่างลูกค้า กบั ธนาคาร การเปิดเผยขอ้ มูลสว่ นบคุ คลกระบวนการรกั ษาความปลอดภัยเพอ่ื การปกปอ้ งขอ้ มูล (Personal Information Disclosure) ธนาคารจะไมเ่ ปิดเผยข้อมลู สว่ นบุคคลของลกู คา้ แกบ่ คุ คลภายนอก เพ่อื วัตถปุ ระสงค์ในการนำ�ไปใช้โดยอิสระเว้นแต่ - ธนาคารได้ความยนิ ยอมจากลูกค้า - เพ่อื ช่วยใหก้ ารทำ�ธุรกรรมของลกู ค้าสำ�เร็จลลุ ่วง - เปิดเผยแก่ บรษิ ทั ขอ้ มลู เครดติ หรอื ผูแ้ ทนในการรายงานข้อมูลซ่ึงมีลักษณะอยา่ งเดยี วกัน - เป็นไปตามท่กี ฎหมายให้อำ�นาจหรอื กำ�หนดไว้ เชน่ ธนาคารอาจต้องเปิดเผยขอ้ มลู เกย่ี วกับลกู ค้าตามคำ�สงั่ ศาล หรอื กฎหมายเกีย่ วกับขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ หรือองคก์ รทม่ี อี ำ�นาจตามกฎหมาย ธนาคารอาจทำ�ความตกลงกับบุคคลภายนอกท่ีเป็นตัวแทน หรือเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้ขาย หรือผู้รับจ้างของธนาคาร เพ่ือเป็นการเพิ่มช่องทางในการให้บริการหรือจัดหาระบบ หรือเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการดำ�เนนิ งานหรอื ดำ�เนนิ ธรุ กจิ ภายใตก้ รอบวตั ถปุ ระสงคข์ องธนาคารใหม้ ากยง่ิ ขน้ึ ซง่ึ บคุ คลภายนอกทเ่ี ขา้ มาดำ�เนนิ งาน ให้กับธนาคารดังกล่าวจะได้รับทราบข้อมูลส่วนบุคคลของท่านเท่าที่จำ�เป็นอย่างจำ�กัด อีกท้ังจะต้องสงวนรักษาข้อมูล ส่วนบคุ คลของท่านไว้เป็นความลบั ตามมาตรฐานการรกั ษาขอ้ มูลสว่ นบคุ คลของธนาคาร รวมถึงยงั ตอ้ งผกู พนั รบั ผิดชอบ ตามกฎหมายท่มี ผี ลบงั คับใช้ด้วยเชน่ กนั ธนาคารอาจทำ�ความตกลงไวก้ ับบุคคลภายนอกในการพัฒนา บำ�รงุ รกั ษาระบบการธุรกรรมของธนาคาร และการเปิดเผย ปจั จยั สำ�คญั หรอื บรกิ ารในนามของธนาคารซงึ่ บคุ คลภายนอกทเ่ี ขา้ มาดำ�เนนิ งานใหก้ บั ธนาคาร หรอื เขา้ มาดำ�เนนิ การในนาม ของธนาคารนนั้ จะตอ้ งตกลงทจี่ ะรกั ษาขอ้ มลู ลกู คา้ ของธนาคารไวเ้ ปน็ ความลบั ดว้ ยเชน่ กนั อกี ทงั้ ยงั ตอ้ งผกู พนั ตอ่ กฎหมาย ที่มีผลใช้บังคับด้วย เมื่อใดก็ตามที่ธนาคารได้ว่าจ้างองค์กรอื่นใดเข้ามาให้การสนับสนุนการบริการของธนาคาร องค์กรเหล่านน้ั จะตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรกั ษาขอ้ มูลเป็นความลับของธนาคารด้วยเชน่ กนั 88 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
กระบวนการรกั ษาความปลอดภัยเพอ่ื การปกปอ้ งข้อมลู (Personal Information Disclosure Information Security Protection) ธนาคารจะรักษามาตรฐานในการรักษาความปลอดภัยโดยเคร่งครัด ทั้งน้ี เพื่อวัตถุประสงค์ในการปกป้องความเสียหาย หรอื การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของทา่ นโดยไมม่ อี ำ�นาจ อยา่ งไรกด็ ี เปน็ ทท่ี ราบโดยทวั่ ไปวา่ ปจั จบุ นั นยี้ งั ไมม่ รี ะบบรกั ษา ความปลอดภัยใด ๆ ที่สามารถปกป้องข้อมูลของท่านจากการถูกทำ�ลายหรือถูกเข้าถึงโดยบุคคลท่ีปราศจากอำ�นาจ ได้อย่างเดด็ ขาด ขอ้ ร้องเรียนเกย่ี วกบั การจัดการความเป็นส่วนตัวของลูกค้าและการสูญหายขอ้ มูลลูกค้า ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 ขอ้ รอ้ งเรยี นเกย่ี วกบั การจดั การความเปน็ สว่ นตวั ของลกู คา้ (เรอ่ื ง) 5 4 4 การบรหิ ารและพัฒนาบคุ ลากรด้วยความเป็นธรรม ธนาคารตระหนักถึงความสำ�คัญของบุคลากร เพราะบุคลากรคือรากฐานอันสำ�คัญยิ่งขององค์กร ดังน้ันธนาคาร จงึ ถอื วา่ พนกั งานเปน็ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และเปน็ ทรพั ยากรทส่ี ำ�คญั ทสี่ ดุ ขององคก์ รทจี่ ะสามารถนำ�พาองคก์ รสกู่ ารมศี กั ยภาพ และความเป็นเลิศ ด้วยวิสัยทัศน์การเป็นองค์กรท่ีตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ดังน้ัน ในการคัดเลือกบุคลากรเข้าเป็นพนักงานของธนาคาร ธนาคารจึงเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันโดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถเป็นสำ�คัญ เปิดโอกาสในเรื่องความแตกต่างหลากหลายของบุคลากรในภูมิภาคต่าง ๆ อย่างเท่าเทียมกัน ปราศจากอคติส่วนบุคคลท้ังด้านเชื้อชาติ ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา วัฒนธรรม ภูมิลำ�เนา หรือผู้ท่ีมีความบกพร่อง ทางรา่ งกาย โดยจะพจิ ารณาและใหโ้ อกาสบคุ ลากรทเี่ หมาะสมกบั ลกั ษณะงาน โดยนบั เปน็ โอกาสทบี่ คุ ลากรจะเรยี นรแู้ ละพฒั นา ทกั ษะในการทำ�งาน นอกจากนี้ ธนาคารยังเลง็ เห็นถงึ ความสำ�คญั ของการพฒั นาบคุ ลากร เพอื่ เพิม่ พูนความรู้ความสามารถ รองรับกบั การแข่งขนั และการขยายตัวของธนาคาร โดยกำ�หนดหลักสูตรเพอ่ื ตอบสนองความก้าวหน้าในสายอาชพี แนวทางการบรหิ ารจัดการ ในสภาวะท่ีการดำ�เนินธุรกิจต้องเผชิญกับการเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วและการแข่งขันท่ีรุนแรงในปัจจุบันนั้น ธนาคาร จำ�เป็นต้องมีบุคลากรท่ีมีคุณภาพในปริมาณท่ีเหมาะสมกับงาน ดังน้ันการบริหารด้านทรัพยากรบุคคลของธนาคาร จึงดำ�เนินการให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร ปราศจากอคติส่วนบุคคลทั้งด้านเช้ือชาติ ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา วฒั นธรรม ภมู ลิ ำ�เนา หรอื ผทู้ มี่ คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย โดยตระหนกั ดวี า่ การมบี คุ ลากรทด่ี ี มคี วามสามารถ มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ จะนำ�ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรกิ ารและการเตบิ โตของผลตอบแทนอยา่ งยง่ั ยนื นอกจากน้ี การธำ�รงรกั ษาและ พฒั นาทรพั ยากรบุคคลของธนาคารใหม้ ีคณุ ภาพชีวิตในการทำ�งาน ยังถือเป็นสงิ่ สำ�คัญทีต่ ้องกระทำ�อยา่ งตอ่ เน่ืองและถือเป็น หนา้ ทขี่ องผบู้ รหิ ารดา้ นทรพั ยากรบคุ คล และผบู้ รหิ ารทกุ ระดบั ขององคก์ รทจ่ี ะตอ้ งรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ การจดั การทรพั ยากรบคุ คล GRI 103-1, GRI 103-2, GRI 103-3, GRI 418-1 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 89
นโยบายการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ธนาคารอาคารสงเคราะห์ไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ�คญั ของบคุ ลากรซง่ึ เปน็ ปจั จยั สำ�คญั ทจี่ ะนำ�พาองคก์ รไปสคู่ วามสำ�เรจ็ อย่างย่งั ยืน ธนาคารจงึ มีนโยบายทรพั ยากรบุคคล (HR Policy) ดังนี้ 1. บริหารจดั การทรัพยากรบคุ คลเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งและสนบั สนุนยุทธศาสตร์ของธนาคารโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล 2. สง่ เสริมและสนับสนุนให้มีการนำ�ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจดั การทรพั ยากรบุคคล 3. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหพ้ นกั งานยดึ มนั่ จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ คา่ นยิ มและวฒั นธรรมองคก์ ร (GIVE+4) ของธนาคาร 4. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้พนักงานมคี ณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี มคี วามผกู พันและภกั ดตี ่อองคก์ ร 5. สง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพของพนกั งานใหม้ คี วามเชย่ี วชาญในธรุ กจิ ของธนาคาร โดยมงุ่ สกู่ ารสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม และผลงานท่ีเปน็ เลิศ 6. ผบู้ งั คบั บญั ชาทกุ คนมหี นา้ ที่ในการบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คลในหนว่ ยงานตามแนวทางการบรหิ ารทรพั ยากร บุคคลของธนาคาร โดยคำ�นงึ ถึงหลกั ธรรมาภิบาล 7. พนกั งานทกุ คนตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่ ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเตม็ ความสามารถ เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี โดยยึดม่นั ในจรยิ ธรรม จรรยาบรรณ คา่ นิยมและวัฒนธรรมองค์กร หลักเกณฑก์ ารบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบุคคล 1. การสรรหาและคดั เลือกพนักงาน ธนาคารอาคารสงเคราะห์มีหลักเกณฑ์ในการดำ�เนินการสรรหาและคัดเลือกบุคคลมาปฏิบัติงาน โดยวิธีการ สอบแขง่ ขัน ซ่ึงผูม้ ีสิทธเิ ข้ารับการคัดเลอื กกับธนาคารจะต้องมีคณุ สมบัตทิ ่ัวไป และคุณสมบตั ิเฉพาะตำ�แหนง่ ทร่ี บั สมัคร 2. การบรรจแุ ละแต่งต้งั บุคลากร ธนาคารอาคารสงเคราะหม์ หี ลักเกณฑ์การบรรจุและแต่งต้ังบคุ ลากร ดังน้ี 2.1 ผ้ทู ่จี ะเข้าทำ�งานเป็นผปู้ ฏิบัตงิ านต้องมคี ณุ สมบตั ดิ ังต่อไปน้ี 1) มสี ัญชาตไิ ทย 2) มีอายุไม่ต่ํากว่าสบิ แปดปี 3) เป็นผู้เลอื่ มใสในการปกครองระบบประชาธิปไตยตามรฐั ธรรมนญู ด้วยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ 4) ไม่เป็นผู้มีกายทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ หรือ ไม่เป็นโรคเรื้อน วัณโรคในระยะอันตราย โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏ อาการเป็นท่ีรังเกียจแก่สังคม โรคยาเสพติด ใหโ้ ทษ หรอื โรคพิษสรุ าเรอ้ื รงั 5) ไมเ่ ป็นผ้บู กพรอ่ งในศีลธรรมอนั ดี 6) ไม่เปน็ ผมู้ หี นส้ี ินล้นพน้ ตัว 7) ไม่เปน็ ผู้เคยถูกลงโทษถงึ ตอ้ งออกจากราชการหรือรฐั วสิ าหกิจ 8) ไม่เคยได้รับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดให้จำ�คุก เว้นแต่เป็นโทษสำ�หรับความผิดท่ีได้กระทำ�โดยประมาท หรอื ความผิดลหโุ ทษ หรือพน้ โทษแล้วเกนิ ห้าปี 2.2 ผทู้ จ่ี ะเขา้ ทำ�งานเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งยนื่ ใบสมคั รตามแบบทก่ี รรมการผจู้ ดั การกำ�หนดพรอ้ มดว้ ยหนงั สอื รบั รองของแพทย์ แผนปัจจุบันชนั้ หน่งึ สาขาเวชกรรม ตามความในข้อ 1 (4) และรบั รองด้วยว่าผทู้ ่ีจะเขา้ ทำ�งานเป็นผ้มู ีพลานามัยสมบูรณ์ สมควรทีจ่ ะเข้าทำ�งานเป็นผู้ปฏิบตั ิงานได้ 2.3 การบรรจุบคุ คลตามลำ�ดับทีข่ องผสู้ อบได้ 2.4 หลังจากธนาคารดำ�เนินการออกคำ�ส่ังบรรจบุ ุคคลเพอื่ ให้ทดลองปฏิบัตงิ านแลว้ หากผ่านการทดลองปฏบิ ตั ิงาน 90 วนั และมคี ุณสมบัติครบถ้วน ธนาคารจะแต่งตัง้ เปน็ พนักงานภายใน 120 วนั 90 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
3. การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านและการให้รางวัล คณะกรรมการทรพั ยากรบคุ คล (HR Committee) ไดท้ บทวนแนวทางการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเปน็ ประจำ�ทกุ ปี เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางยุทธศาสตร์ของธนาคาร ต้ังแต่กระบวนการคณะกรรมการทบทวนและจัดทำ�แผน จะทำ� การประชมุ หารอื เพอ่ื กำ�หนดตวั ชวี้ ดั ระดบั องคก์ ร ทสี่ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายขององคก์ ร จากนนั้ จะถา่ ยทอดตวั ชวี้ ดั ในระดบั องคก์ รลงไปตามลำ�ดบั ชั้นจนถึงตวั วดั ระดับบคุ คลตามลำ�ดบั ประกอบดว้ ยทง้ั หมด 5 ขนั้ ตอน 1) คณะกรรมการวัดผลการดำ�เนินงานฯ กำ�หนดเป้าหมายในการดำ�เนินงานและตัวช้ีวัดระดับฝ่าย/สำ�นัก (IPA) และ ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ย/สำ�นกั ถา่ ยทอดแผนงานพร้อมตวั วดั ท่สี ำ�คัญลงไประดบั ส่วน 2) หวั หน้าสว่ น/งาน จะประชุมเพอ่ื สอ่ื สาร วางแผน พร้อมกำ�หนดเป้าหมายและตัวชวี้ ดั รายบคุ คล ร่วมกันกับผู้ใต้บงั คับ บญั ชาเปน็ รายบคุ คล (One on One) และบันทึกลงในระบบ ERP-HR ซงึ่ จะกำ�หนดเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ตัวชว้ี ดั ผล การปฏบิ ตั งิ าน/ผลสำ�เรจ็ ของงาน หรอื KPIs (ซง่ึ จะประกอบดว้ ย ตวั วดั ตามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงฯ ตวั วดั จากงานตามนโยบาย ตัววัดท่ีเป็นงานประจำ�) และสมรรถนะหลัก (Core Competency) เป็นต้น ซ่ึงจะมีสัดส่วนท่ีแตกต่างกันออกไป ตามลักษณะงาน และระดบั ตำ�แหน่ง 3) ผู้บังคับบัญชาจะติดตามผลการดำ�เนินงานใน 2 ด้าน คือ การพัฒนาตาม IDP การประเมินพฤติกรรมตาม Core Competency และการบรรลผุ ลการปฏบิ ตั งิ านตาม KPIs ทกุ ไตรมาสผา่ น Smart Radar หากไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย หวั หน้างานจะทำ� Coaching/Mentoring และให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาปรับแผนการดำ�เนินงาน 4) เพ่อื สนบั สนุนให้เกิดผลการดำ�เนินงานที่ดี และสรา้ งความผกู พนั ของบคุ ลากร จะเชื่อมโยงการประเมินผลปฏิบตั งิ าน กับระบบบริหารทรัพยากรบุคคล และการจ่ายผลตอบแทน เช่น ผู้ได้รับการประเมินผล A+ และ A เป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาการเลื่อนตำ�แหนง่ หรือไดร้ บั การคดั เลือกในการพฒั นาผู้มีศกั ยภาพ (Talent) และการไดร้ บั คดั เลือก เพอื่ ศึกษาดงู านภายในและตา่ งประเทศ เป็นต้น ในการพจิ ารณา การใหค้ า่ ตอบแทน การให้รางวัล การยกยอ่ งชมเชย และการให้แรงจงู ใจจะเชอ่ื มโยงผลประเมนิ การปฏบิ ัตงิ าน (A+, A, S, N, D) กบั อัตราการข้ึนเงินเดอื นประจำ�ปี ทงั้ นี้ ระดบั การประเมนิ ผล แบง่ เป็น 5 ระดับ ดงั นี้ A+ A S N D สูงกวา่ มาตรฐานมาก สูงกว่ามาตรฐาน มาตรฐาน ควรปรับปรงุ ไมน่ า่ พอใจ >70-85 คะแนน >50-70 คะแนน <=50 คะแนน >95-100 คะแนน >85-95 คะแนน การจดั ท�ำ แผนแมบ่ ทการบริหารทรัพยากรบุคคล ธนาคารไดม้ กี ระบวนการจดั ทำ�แผนแมบ่ ทการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลระยะเวลา 5 ปี ใหส้ อดคลอ้ งกบั ธรุ กจิ ของธนาคาร ท่ีกำ�หนดไว้ในแผนวิสาหกิจของธนาคาร เพ่ือใช้เป็นกรอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล ทั้งในด้านการพัฒนา (Human Resource Development) และการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management) และแนวทางของ ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal) ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะ แวดล้อมท้ังภายในและภายนอก จัดให้มีกระบวนการติดตามผลการดำ�เนินงานเปรียบเทียบเป้าหมายเป็นระยะและรายงาน ตอ่ ผู้บรหิ าร เพือ่ ผลกั ดนั กลยทุ ธ์ด้านพฒั นาบุคลากรให้บรรลุเป้าหมาย จดั ทำ�โครงสร้างอัตรากำ�ลงั การวิเคราะหอ์ ัตรากำ�ลงั ให้สอดคลอ้ งกบั ภาระงาน (Job Description) การดำ�เนนิ โครงการสืบทอดตำ�แหน่ง (Career Path), Career Development, Competency-based และการประเมนิ สมรรถนะ Succession Plan เพอื่ สรา้ งและพฒั นาบคุ ลากรกลมุ่ เปา้ หมายขน้ึ สตู่ ำ�แหนง่ ในอนาคต การสร้างวัฒนธรรมด้านการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมกับองค์กร และการจัดกิจกรรมเพ่ือเพิ่ม/รักษา ระดับความผูกพัน ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อองค์กร (Engagement) ซ่ึงเป็นแรงผลักดันให้ธนาคารบรรลุเป้าหมาย และเป็นองค์กรที่มคี วามม่ันคงและย่ังยืน GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 91
การด�ำ เนนิ การดา้ นการสรรหาบคุ ลากรและการรักษาบุคลากร ธนาคารไดม้ กี ารกำ�หนดแนวทางและหลกั เกณฑ์ในการสรรหาและคดั เลอื กบคุ ลากรดว้ ยความโปรง่ ใส โดยดจู ากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ วิธีการคัดเลือกบุคลากรมีการดำ�เนินการหลากหลายวิธี เช่น การสอบข้อเขียนด้านความถนัด (Aptitude Test) การสอบขอ้ เขยี นเฉพาะดา้ น (Function Test) และการสมั ภาษณ์ (Interview) เปน็ ตน้ ธนาคารมกี ารรบั พนกั งาน เข้ามาปฏิบัติหน้าท่ีจำ�นวนมากเพ่ือรองรับการขยายงาน โดยได้นำ�หลักการสัมภาษณ์แบบ Competency-based Interview มาปรับใช้เพื่อให้ได้บุคลากรที่มีศักยภาพและคุณลักษณะตรงกับความต้องการของธนาคาร รวมทั้งมีการเตรียมความพร้อม ดา้ นอตั รากำ�ลงั และการสรรหาบคุ ลากรเพอ่ื รองรบั การขยายการใหบ้ รกิ ารเพม่ิ สำ�หรบั การรกั ษาบคุ ลากร ธนาคารไดด้ ำ�เนนิ การ ผา่ นโครงการพฒั นาระบบการดแู ลผมู้ ศี กั ยภาพสงู (High Potential Management) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ เปดิ โอกาสใหแ้ กพ่ นกั งาน ท่มี ีความสามารถได้แสดงศกั ยภาพเพื่อความพรอ้ มในการขน้ึ สู่ตำ�แหนง่ ระดบั บริหารโดยไม่ตอ้ งใช้ระยะเวลานาน เปน็ ตน้ นอกจากให้ความสำ�คัญต่อพนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ ธนาคารยังมีการกำ�หนดการจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของ พนักงานหรือลูกจ้างท่ีต้องพ้นจากตำ�แหน่งเพราะเหตุเกษียณอายุ ตามข้อบังคับข้อกำ�หนดระเบียบ หรือคำ�ส่ังของธนาคาร ผู้นั้นได้ปฏิบัติงานในช่วงก่อนเกษียณอายุติดต่อกันตามระยะเวลาดังต่อไปน้ี ให้มีสิทธิได้รับเงินเพ่ือตอบแทนความชอบ ในการทำ�งานตามอัตราทก่ี ำ�หนด 1. พนักงานหรือลูกจ้างผูไ้ ดป้ ฏิบัตงิ านในชว่ งกอ่ นเกษยี ณ 2. พนักงานหรือลูกจ้างผู้ได้ปฏิบัติงานในช่วงก่อน อายตุ ดิ ตอ่ กนั ครบหา้ ปขี นึ้ ไป ใหไ้ ดร้ บั เงนิ เพอื่ ตอบแทน เกษียณอายุติดต่อกันครบสิบห้าปีข้ึนไปให้ได้รับเงิน ความชอบในการทำ�งานเปน็ จำ�นวนเทา่ กบั เงนิ เดอื นหรอื เพอื่ ตอบแทนความชอบในการทำ�งานเปน็ จำ�นวนเทา่ กบั คา่ จา้ งอัตราสดุ ทา้ ย หนึ่งร้อยแปดสิบวัน (180 วัน) เงนิ เดอื นหรอื คา่ จา้ งอตั ราสดุ ทา้ ย สามรอ้ ยวนั (300 วนั ) การด�ำ เนนิ การด้านการพัฒนาบคุ ลากร เพ่มิ ทกั ษะให้พนักงาน มคี วามรู้ ความเช่ียวชาญใน ธนาคารตระหนักเสมอว่าพนักงานเป็นทรัพยากรที่สำ�คัญและมีคุณค่า การปฏิบตั งิ าน ผา่ นแผนอบรม ดังนั้น การพัฒนาเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ และทักษะให้พนักงาน เป็นประจ�ำ ทกุ ปี รวมทง้ั สง่ เสรมิ มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานจึงเป็นภารกิจสำ�คัญ โดยธนาคารได้มี ใหพ้ นักงานศึกษาหาความรู้ การกำ�หนดแผนการอบรมที่มุ่งเน้นความรู้เก่ียวกับงานท่ีปฏิบัติเป็นประจำ�ทุกปี ด้วยตนเองจากการศึกษา มกี ารจดั อบรมพนกั งานใหม่ใหพ้ รอ้ มตอ่ การรองรบั การขยายงานและการแขง่ ขนั ในระบบ E-Learning พร้อมท้ังเสริมสร้างสมรรถนะแก่พนักงานให้ตรงกับความต้องการของธนาคาร โดยพนกั งานสามารถลงทะเบียน โดยใช้การพัฒนาแนวหลักความสามารถของบุคลากร Competency-based เลือกอบรมหลายหลักสูตร ขณะทพี่ นกั งานหรอื ผบู้ รหิ ารทจ่ี ะเกษยี ณอายงุ าน ธนาคารจะจดั ใหม้ กี ารถา่ ยโอน ตามท่พี นักงานต้องการ ความรู้สู่พนักงานรุ่นถัดไป (Knowledge Transfer) รวมถึงการส่งพนักงาน เข้าอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้จากหลักสูตรอบรมต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ท่ีสำ�คัญธนาคารได้จัดทำ�โครงการเพื่อเพ่ิม คุณภาพชีวิตให้แก่พนักงาน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้พนักงานศึกษาหาความรู้ ดว้ ยตนเองจากการศกึ ษาในระบบ E-Learning โดยพนกั งานสามารถลงทะเบยี น เลอื กอบรมหลายหลักสูตรตามทพี่ นักงานตอ้ งการ 92 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-2
TARGET Group ตัวอย่างหลักสตู รการพฒั นาบุคลากร ปจั จัยที่ตอบสนอง Competency หลักสูตร Core การประเมนิ ผล Managerial Functional CC/SC/Action Plan ITemIcpnrhnooCvvehaatimneognnet // Ethic Customer Focus Transfer Knowledge Knowledge/Skill ระ ัดบ ูสง การวางแผนและกำ�หนดยทุ ธศาสตรข์ องธนาคาร • • Reaction/Result ผนู้ ำ�การเปลย่ี นแปลงในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 • • •• Reaction/Result การกำ�กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี • Reaction/Result Executive Coaching • • Result/Behavior / •• • Project Assignment ผบู้ รหิ ารการเปลย่ี นแปลงในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 •• • • • • • • Knowledge/Behavior ธรรมาภบิ าลสำ�หรบั ผบู้ รหิ ารระดบั กลาง •• • Reaction/Result กลยทุ ธก์ ารตลาดและการวเิ คราะห์ ตลาดสนิ เชอ่ื • Reaction/Knowledge ตลาดเงนิ ฝาก •• LEADER ทศิ ทางองคก์ ร เปา้ หมายความเปน็ เลศิ ใน • Reaction/Result ระ ัดบกลาง การพฒั นาองคก์ ร • โครงการ High Potential Management (HIP) * • • • • • Knowledge/Behavior Executive Coaching สำ�หรบั ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ย * •• • •• Reaction/Behavior Leader Profile of +4 Core Values ** •• • •• • Knowledge/Result/ GHB Smart Professional ดา้ นสนิ เชอ่ื /การเงนิ Behavior ระดบั ผบู้ รหิ ารสาขา * ••• การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพดา้ นสนิ เชอ่ื ** • • • Knowledge/Behavior Leadership ปลกุ ความเปน็ ผนู้ ำ�ในตวั คณุ ** •• ระ ัดบ ้ตน HR for Non-HR บรหิ ารทมี อยา่ งเขา้ ใจคน ** • • Reaction/Result/ GHB System * •• • Behavior GHB ALL * •• • ทกั ษะการตดั สนิ ใจและการแกไ้ ขปญั หา •• • • Knowledge/Behavior Service Excellent • • • Knowledge/Behavior GHB Smart Professional • • Knowledge/Result ดา้ นสนิ เชอ่ื /การเงนิ ระดบั Operation * • • Knowledge/Result ผนู้ ำ�การตลาดสนิ เชอ่ื แฟลต (Star Flat) ** •• KYC / CDD Behavior/Result GHB System * •• GHB ALL * •• • • Reaction/Knowledge •• • • • Behavior/Result •• ระ ัดบปฏิบั ิตการ Reaction/Result/ Behavior • Knowledge / Result • • Knowledge / Result • • Knowledge / Result หมายเหตุ * หมายถงึ หลกั สตู รทเ่ี ปน็ โครงการตอ่ เนอ่ื งจากปี 2561 และ ** หมายถงึ หลกั สตู รทพ่ี ฒั นาขน้ึ ใหม่ในปี 2562 GRI 404-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 93
TARGET Group ตัวอย่างหลักสูตรการพัฒนาบุคลากร ปจั จยั ทตี่ อบสนอง Competency หลกั สตู ร Core การประเมนิ ผล Managerial Functional CC/SC/Action Plan ITemIcpnrhnooCvvehaatimneognnet // Ethic Customer Focus Transfer Knowledge Knowledge/Skill ูลก ้จาง ระ ัดบ การพฒั นาการคดิ / นวตั กรรม • •• Knowledge/ Behavior ธนาคาร ปฏิ ับติการ GHB The Next ** Data Science : วทิ ยาศาสตรข์ อ้ มลู ** • • • • • • Knowledge / Result •• • • • Knowledge / Result / Project Assignment เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพกลมุ่ งาน / สายงาน • • Reaction CG & Ethics • • Knowledge หมายเหตุ * หมายถงึ หลกั สตู รทเ่ี ปน็ โครงการตอ่ เนอ่ื งจากปี 2561 และ ** หมายถงึ หลกั สตู รทพ่ี ฒั นาขน้ึ ใหม่ในปี 2562 สบื เนอื่ งจากการเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยแี ละการแขง่ ขนั ในปจั จบุ นั สง่ ผลใหธ้ นาคารมกี ารปรบั ตวั ในดา้ นการพฒั นา ทรพั ยากรบคุ คล เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มดา้ นบคุ ลากรรองรบั การเปลยี่ นแปลงทเี่ ชอื่ มโยงกบั แผนยทุ ธศาสตรท์ เี่ กยี่ วขอ้ ง โดยมี นโยบายการพฒั นาเพอ่ื รองรบั การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คญั ดังนี้ 1. ทบทวนขีดความสามารถ และกำ�หนด Competency 4. พัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างความเชี่ยวชาญ ใหม่ทั้งในด้าน Core Competency / Managerial (Professional) ทงั้ ในดา้ นเทคโนโลยดี า้ นการตรวจสอบ Competency / Functional Competency และ และดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล Common Digital ท่ีเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ธนาคาร 5. ปรบั รปู แบบการพฒั นาตามวธิ ี Project Base Learning เพ่ือเตรียมความพร้อมในการพัฒนาบุคลากรรองรับ 70 : 20 : 10 (70 : Experiential Learning 20 : Coaching Digital Service & Mentoring 10 : Formal Learning) โดยเนน้ การเรยี นรู้ 2. นำ�ระบบ ERP-HR เข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ ด้วยตนเองและเรียนรู้จากประสบการณ์และเร่ิมนำ� ดา้ นการพฒั นาบคุ ลากรเพอื่ ความคลอ่ งตวั รวดเรว็ และ Digital Learning เข้ามาใช้ในการพัฒนามากย่ิงขึ้น อำ�นวยความสะดวกให้แก่บคุ ลากร เพ่ือสร้างความคุ้นชินในการใช้ Digital ให้แก่บุคลากร 3. พัฒนาบุคลากรท่ีปฏิบัติงานด้านการเงินเพื่อ Re-Skill จนเกิดเปน็ Digital Culture ความรู้และทักษะให้สามารถปฏิบัติงานด้านสินเชื่อ ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ด้านการปรับโครงสร้างและอตั รากำ�ลงั การพัฒนาผู้มีศักยภาพสูง ธนาคารมีแผนการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพ่ือรองรับตำ�แหน่งท่ีสำ�คัญ ได้แก่ โครงการ Leadership Development สำ�หรบั ผบู้ ริหารระดับผู้อำ�นวยการฝ่าย โครงการ High Potential Management สำ�หรบั ผบู้ รหิ ารระดับผู้ช่วยผูอ้ ำ�นวยการฝา่ ย/หัวหนา้ ส่วน/งาน และโครงการ Smart Leader ท่ีเน้นการพัฒนารปู แบบ Job Shadow เพื่อติดตามและเรียนรู้การทำ�งานของผู้บริหารระดับสูงที่เป็นต้นแบบ นอกจากนั้น บุคลากรผู้มีศักยภาพสูงยังมีส่วนร่วม ในการจัดทำ�แผนพัฒนาพนักงานรายบุคคล (Individual Development Plan) 94 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 404-2
สำ�หรับในปี 2562 ธนาคารได้ดำ�เนินการพัฒนาผู้บริหารและพนักงานหลักสูตรภายในธนาคาร (In-house Training) จำ�นวน 148 หลกั สตู ร หลักสตู รที่สถาบันภายนอกจัด (Public Training) จำ�นวน 211 หลักสตู ร ทั้งการอบรมภายในประเทศ และต่างประเทศ รวมจำ�นวน 359 หลักสูตร ซ่ึงทั้งหลักสูตรภายในและหลักสูตรภายนอกที่จัดขึ้นนั้นสูงกว่าปีท่ีผ่านมา ซ่ึงสะท้อนว่าธนาคารเห็นถึงความสำ�คัญของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในฐานะที่เป็นปัจจัยที่สำ�คัญในการนำ�ความสำ�เร็จ มาส่อู งค์กร ประเภทหลักสูตรในการพฒั นาผ้บู ริหารและพนักงาน ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 หลกั สตู รภายใน (หลกั สตู ร) 148 153 216 หลกั สตู รภายนอก (หลกั สตู ร) 211 201 120 รวม 359 354 336 ท้ังนี้ ธนาคารได้ส่งเสริมพนักงานทุกระดับได้รับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพและประสิทธิภาพ ในการทำ�งานให้ดีย่ิงข้ึนไป โดยมีอัตราการฝึกอบรมของพนักงานอยู่ที่ร้อยละ 100 เพ่ิมข้ึนจากปี 2561 ซ่ึงถือว่าธนาคาร ได้ให้ความสำ�คัญต่อพนักงานที่เป็นทรัพยากรหลักของธนาคาร โดยมุ่งหวังให้พนักงานทุกระดับทักษะที่จำ�เป็นและต่อยอด องคค์ วามรู้ในการทำ�งาน เพื่อประโยชนต์ ่อตวั พนักงานและธนาคารต่อไปในอนาคต อตั ราการฝึกอบรมของพนกั งาน ระดับพนกั งาน จำ�นวนพนกั งานที่ได้รับ รอ้ ยละ จำ�นวนพนกั งานที่ไดร้ ับ ร้อยละ การฝึกอบรม ปี 2562 การฝึกอบรม ปี 2561 พนกั งานระดบั ปฏบิ ตั กิ าร (4-8) 100 ผบู้ รหิ ารระดบั ตน้ (9-11) 2,429 100 2,733 100 ผบู้ รหิ ารระดบั กลาง (12-14) 1,493 100 1,488 100 ผบู้ รหิ ารระดบั สงู (15-16) 174 100 170 100 29 100 29 สำ�หรับจำ�นวนระยะเวลาการอบรมเฉล่ียต่อคนต่อปีของบุคลากรของธนาคารในปี 2562 ทั้งกลุ่มผู้บริหาร พนักงาน ปฏบิ ตั ิการ ลูกจา้ ง มรี ะยะเวลาการอบรมเฉล่ียเทา่ กบั 91.24, 65.19 และ 26.17 ชัว่ โมง/คน สง่ ผลให้ค่าเฉลยี่ ระยะเวลาอบรม ของบุคลากรในปี 2562 เท่ากบั 69.76 ชว่ั โมง/คน ซ่ึงสูงกวา่ ปี 2561 ซงึ่ อย่ทู ่ี 63.29 ชัว่ โมง/คน และเมอื่ พิจารณาค่าใช้จ่าย ในการฝึกอบรมในปี 2562 สำ�หรับผู้บริหาร พนักงานปฏิบัติการ และลูกจ้าง คิดเป็น 34.82, 16.01 และ 2.65 ล้านบาท คิดเป็นค่าใชจ้ า่ ยรวมเทา่ กบั 53.48 ลา้ นบาท ผบู้ รหิ าร (ชว่ั โมง/คน) ระยะเวลาอบรมเฉล่ยี ตอ่ คนต่อปี ปี 2561 ปี 2560 พนกั งานปฏบิ ตั กิ าร (ชว่ั โมง/คน) ลกู จา้ ง (ชว่ั โมง/คน) ปี 2562 72.00 85.07 เฉลย่ี อบรม (ชว่ั โมง/คน) 66.00 61.45 91.24 30.00 50.15 65.19 63.36 65.56 26.17 69.76 GRI 103-3, GRI 404-1 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 95
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ปี 2561 ปี 2560 ผบู้ รหิ าร (ลา้ นบาท) ปี 2562 43.51 42.44 พนกั งานปฏบิ ตั กิ าร (ลา้ นบาท) 38.09 20.24 ลกู จา้ ง (ลา้ นบาท) 34.82 9.57 2.61 คา่ ใชจ้ า่ ยรวม (ลา้ นบาท) 16.01 91.17 65.29 2.65 53.48 ผลสำ�รวจความผูกพนั ของพนักงานที่มตี ่อธนาคารอาคารสงเคราะห์ 100 89 86 90 92 93 97 98 98 89 86 90 92 93 97 98 91 89 92 94 95 97 99 90 87 84 88 90 91 95 66 67 80 62 70 60 65 50 40 30 20 10 0 Engagement Index ดัชนีความผกู พนั Net eQ Involvement Index Advocacy Index ของพนกั งาน ดชั นีความพึงพอใจ ดชั นกี ารมีส่วนร่วม แรงสนบั สนุนองคก์ ร พนักงานสุทธิ กบั องค์กร จากพนักงาน 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ด้วยนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของธนาคาร พร้อมท้ังแนวทางการดำ�เนินงานการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล เพื่อสรรหา รักษา และพัฒนาบุคลากรท่ีธนาคารกำ�หนดอย่างเป็นระบบ ภายใต้การเปิดโอกาส เร่ืองความหลากหลาย การปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันของบุคลากร เพื่อนำ�มาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่งผลให้ผลสำ�รวจความผูกพันของพนักงานที่มีต่อธนาคารเพ่ิมสูงข้ึนทุกปี ทั้งดัชนีความผูกพัน (Engagement Index) ดัชนีความพึงพอใจพนักงานสุทธิ (Net eQ) ดัชนีการมีส่วนร่วมกับองค์กร (Involvement Index) และแรงสนับสนุนองค์กร จากพนักงาน (Advocacy Index) เพิ่มสูงข้ึนจากปีที่ผ่านมาทุกดัชนี ซึ่งผลดังกล่าวจะเป็นเคร่ืองช้ีวัดท่ีสำ�คัญที่สะท้อน ความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเตม็ ความสามารถ เพ่อื ให้เกิดผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ี 96 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-3
การสร้างความผูกพนั และการมสี ่วนร่วม ของผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการสร้างความผูกพันและมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นส่วนหน่ึงของ การบริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) โดยมุ่งเน้นให้ความสำ�คัญด้วยหลักธรรมาภิบาลและจริยธรรม ในการดำ�เนนิ ธรุ กจิ ซงึ่ คำ�นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ทงั้ น้ี เพอ่ื ปอ้ งกนั ความเสยี่ งทอี่ าจสง่ ผลกระทบ ตอ่ การดำ�เนนิ งานของธนาคารทั้งทางตรงและทางออ้ ม ขณะเดียวกันยงั เป็นการเพม่ิ โอกาสในการดำ�เนินธุรกิจใหม่ แนวทางการบรหิ ารจดั การ เพื่อให้การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีมีประสิทธิภาพ ธนาคารจึงได้แบ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่ง ในการบริหารหว่ งโซอ่ ุปทาน คือ ผสู้ ่งมอบ คคู่ า้ และคคู่ วามรว่ มมือทส่ี ำ�คัญ แบง่ ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) Strategic Partner 2) Service Provider และ 3) IT Provider โดยทั้ง 3 กล่มุ ธนาคารไดก้ ำ�หนดแนวทางการบรหิ ารจดั การดงั ต่อไปน้ี Strategic 01 02 Service Partner Provider 3 กลุม 03 IT Provider กลุ่ม ผสู้ ง่ มอบ คู่คา้ คูค่ วามร่วมมอื ทีส่ �ำ คัญ บทบาทในระบบงาน 1) Strategic Partner ตวั แทนรบั ชำ�ระหนเ้ี งนิ กู้ ใหบ้ รกิ ารรบั ชำ�ระหนเ้ี งนิ กู้ 2) Service Provider บรษิ ทั พฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ย์ ใหค้ ำ�แนะนำ�และใหข้ อ้ มลู การกเู้ งนิ เบอ้ื งตน้ กบั ลกู คา้ ทป่ี ระสงค์ (Developers) ขอสนิ เชอ่ื 3) IT Provider บรษิ ทั ประเมนิ มลู คา่ ทรพั ยส์ นิ สง่ ผลประเมนิ ราคาหลกั ประกนั ผา่ นทางระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บรษิ ทั นติ กิ รรม นดั หมายและจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรม บรษิ ทั นายหนา้ ขายทรพั ยส์ นิ NPA ประชาสมั พนั ธก์ ารขายทรพั ยส์ นิ รอการขายของธนาคาร (NPA) บรษิ ทั ตดิ ตามหน้ี เรง่ รดั และตดิ ตามหน้ใี นทกุ ลกั ษณะหน้ี ATM / CDM / LRM ใหบ้ รกิ าร ATM / CDM / LRM อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง GRI 102-9, GRI 103-1, GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 97
ทั้งน้ีความสำ�เร็จในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานท่ีมีประสิทธิภาพส่งผลให้ธนาคารเป็นผู้นำ�ในการบริหารจัดการ ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงานต่ําท่ีสุดในอุตสาหกรรมธนาคาร ส่งผลให้เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันด้านอัตราดอกเบ้ียเงินกู้ ท่ีมีระดับตํ่ากว่าคู่แข่งในตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัย ทั้งนี้ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานท่ีดี มีกลไก การส่ือสารสร้างความสัมพันธ์กับคู่ค้า คู่ความร่วมมือผ่านช่องทางต่าง ๆ อย่างทั่วถึง เช่น โทรศัพท์, Email, Line Application, สมั มนา/Workshop และคู่มอื Code of Conduct ทำ�ให้ธนาคารเพมิ่ ความสามารถในการส่งมอบคุณค่า ให้แก่ลูกค้า นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับสูงยังสื่อสารผ่านการประชุมเป็นประจำ�ทุกปีในงาน Developer Meeting เพ่ือส่ือสาร และรบั ฟงั เสียงจากผ้ปู ระกอบการ และ Outsource Meeting เพ่ือส่อื สารและรบั ฟงั เสยี งของลกู ค้าและคู่ความร่วมมอื ขอ้ รอ้ งเรียนเกีย่ วกบั การจดั ซ้ือจดั จา้ ง ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 จำ�นวนขอ้ รอ้ งเรยี นเกย่ี วกบั การจดั ซอ้ื จดั จา้ ง (เรอ่ื ง) 1 2 1 การส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแขง็ ของชุมชนและสงั คม ธนาคารตระหนกั ถงึ ความสำ�คญั วา่ นอกเหนอื จากการเปน็ สถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ ของรฐั แลว้ อกี บทบาทหนง่ึ ทส่ี ำ�คญั คอื บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ชมุ ชนและสงั คม ซง่ึ ในการรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสนองตอ่ ความคาดหวงั ของผมู้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียถือเป็นพันธกิจสำ�คัญของธนาคารท่ีได้ดำ�เนินการมาอย่างต่อเน่ือง ทั้งน้ี เพราะธนาคารมีความเชื่อว่าการพัฒนา ชุมชนและสังคมไม่สามารถเกิดข้ึนได้จากหน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึง แต่จำ�เป็นต้องอาศัยความรู้ความเช่ียวชาญและ ความรว่ มมือของชมุ ชนในการขบั เคลอ่ื นหลกั แนวทางการบริหารจดั การ ธนาคารมีการกำ�หนดนโยบาย ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ท่ี มุ่ ง เ น้ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ แ ล ะ พัฒนาแนวทางการดำ�เนินการด้านการแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ISO 26000 และ รายงานผลการดำ�เนินการตามมาตรฐาน GRI โดยธนาคารมุ่งมั่นดำ�เนินการรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อมจนได้รับความเชื่อถือ จากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีสำ�คัญทุกกลุ่ม (Trusted by Stakeholder) สร้างธนาคาร ใหเ้ ปน็ องคก์ รคุณธรรม โปรง่ ใส และตรวจสอบ การดำ�เนนิ การได้ 98 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-1, GRI 103-2, GRI 103-3
SMART GOALS G I V E SO 8 ยกระดับ CG & CSR องคกร Good Innovative Value Excellent Governance Thoughts Teamwork Services CSR Model : I AM GHB 7 1 2 I รายงานผล/จัดเกบ็ กำหนดนโยบาย จดั ทำแผนแมบท CSR in Process องคความรู CSR CSR A 6 ความย่ังยืน 3 CSR after Process ติดตาม สังคม จัดทำแผน M /ประเมินผล เศรษฐกจิ ยุทธศาสตร CSR CSR in Mind สงิ� แวดลอ ม 5 4 ปฏิบัติงาน จดั ทำแผนปฏิบตั งิ าน ตามแผน /งบประมาณ ท้ังน้ี ได้กำ�หนดกลยุทธ์ท่ีสำ�คัญรองรับแนวทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมในเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ และ การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานประจำ�วัน ท่ีคำ�นึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม และแนวทางความย่ังยืน ในการดำ�เนินกิจการ การช่วยเหลอื สงั คมในด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สรา้ งศักยภาพของชมุ ชน ตลอดจนการใช้ ความสามารถพเิ ศษขององคก์ รความเชย่ี วชาญในดา้ นตา่ ง ๆ ของบุคลากร สนบั สนนุ การพฒั นาความร้ทู างการเงนิ การสรา้ ง วนิ ยั การออม และการเขา้ ถึงบริการทางการเงินของประชาชน ในส่วนแนวทางการดำ�เนินการดา้ นการแสดงความรบั ผิดชอบ ตอ่ สงั คมและสิง่ แวดล้อม ธนาคารดำ�เนนิ การตาม CSR Model : I AM GHB ประกอบด้วยการดำ�เนนิ การ CSR ใน 3 เรื่อง ได้แก่ CSR in Process ท่ีเน้นให้กระบวนการปฏิบัติงานประจำ�วัน ถูกออกแบบและพัฒนาโดยคำ�นึงถึงผลกระทบที่มีต่อ สังคม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดลอ้ ม CSR after Process ที่เนน้ การสนบั สนุนทรพั ยากรของธนาคาร เพื่อยกระดับคณุ ภาพชวี ิต ของคนในชุมชนท่ีสำ�คัญ และ CSR in Mind ท่ีเน้นการสร้างบุคลากรจิตอาสาในการให้การสนับสนุนการดำ�เนินการ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของชุมชนอยา่ งจรงิ จังมีประสิทธิผลท่ชี ัดเจน และเปน็ รปู ธรรม GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 99
I CSR in Process ธนาคารพฒั นาความรทู้ างการเงนิ ใหแ้ กป่ ระชาชน โดยเรม่ิ จากการสอนให้จัดทำ�บัญชีครวั เรือน เพ่อื ให้สามารถบริหาร รายรบั -รายจา่ ยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ วเิ คราะหถ์ งึ รายจา่ ยที่ไมจ่ ำ�เปน็ รวมถงึ สรา้ งทศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ การออมเงนิ เชน่ การออม เพื่อการมีบ้าน หรือวางแผนเก็บออมเพื่อการเกษียณ เพ่ือสร้างวินัยในการออมเงิน ธนาคารได้แบ่งประเภทการออมเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. การออมเพ่ือบ้าน โดยจะต้องฝากเงินต่อเน่ืองเท่ากับ 2. ธนาคารได้ส่งเสริมให้ออมเงินเพ่ือการเกษียณ โดยให้ จำ�นวนเงนิ งวดในระยะเวลาไมต่ า่ํ กวา่ 6 - 9 เดอื น ซง่ึ เปน็ ฝากเงนิ ตอ่ เน่ืองขนั้ ต่าํ 100 บาท เป็นการปลกู ฝงั และ การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ศกั ยภาพในการผอ่ นชำ�ระของตนเอง เสริมสร้างวินัยการออมเพ่ือเตรียมความพร้อมทาง รวมถึงเป็นการสร้างหลักฐานทางการเงินอีกด้วย การเงินเพื่อรองรับการเข้าสู่วัยเกษียณ นอกจากน้ี และสำ�หรับผู้ที่ไม่มีความต้องการในการขอสินเชื่อเพ่ือ เพอื่ เปน็ การอำ�นวยความสะดวกใหแ้ กล่ กู คา้ ธนาคารได้ ทอี่ ยู่อาศัย พัฒนาเคร่ืองรับเงินฝากประชารัฐ (Mobile Deposit Machine : MDM) เป็นเคร่ืองรับฝากเงินแบบพกพา ให้พนักงานสามารถออกไปบริการรับฝากเงินแก่ลูกค้า นอกสถานท่ี สำ�หรับผู้ท่ีมีความประสงค์จะขอสินเช่ือ เพ่ือท่ีอยู่อาศัย ธนาคารจะแนะนำ�การเตรียมตัวเพื่อ การยนื่ กู้ ไมว่ า่ จะเปน็ หลกั ฐานเอกสารตา่ ง ๆ หลกั เกณฑ์ ในการยืน่ กู้ ขั้นตอนในการย่นื กู้ รวมถงึ ความสามารถ ในการขอกู้ ซง่ึ หากผเู้ ขา้ รว่ มโครงการดงั กลา่ ว สามารถ บริหารจัดการรายรับ-รายจ่าย ได้อย่างเหมาะสม รกั ษาวนิ ยั ทางการเงนิ สามารถออมเงนิ ไดค้ รบ6-9 เดอื น และเตรียมเอกสารประกอบการยื่นกู้ได้ครบถ้วน ก็เช่ือว่าจะสามารถเพ่ิมโอกาสในการได้รับการอนุมัติ สินเชื่อมากขนึ้ ปี 2562 มีผู้เข้าร่วมโครงการเพ่ือพัฒนาความรู้ทางการเงินทั้งสิ้น 74,935 ราย จากเป้าหมายท่ีตั้งไว้ 20,000 ราย จากการคัดกรองพบว่า มีผู้ที่ต้องการมีบ้าน 45,539 ราย และผู้ท่ีสนใจออมเงิน 29,396 ราย โดยมีคะแนนสอบ Pre-Test เฉล่ยี อยู่ท่ี 64% และคะแนนสอบ Post-Test เฉล่ยี อยทู่ ี่ มากกวา่ 80% ในจำ�นวนนี้ มีผเู้ ปิดบัญชเี งนิ ฝากประชารัฐ เพ่ือสรา้ ง วินยั การออมจำ�นวน 33,640 ราย จากเป้าหมาย 18,000 ราย แบ่งออกเปน็ การออมเพ่ือขอสินเชือ่ จำ�นวน 7,903 ราย และ ออมเพ่ืออนาคต 25,737 ราย มีผทู้ ฝี่ ากเงนิ ครบ 3 เดือน จำ�นวน 20,493 ราย แบง่ ออกเป็นการออมเพือ่ อนาคต 15,521 ราย และออมเพื่อขอสินเชื่อจำ�นวน 4,971 ราย ซึ่งได้รับคำ�ปรึกษาเพื่อเตรียมตัวสำ�หรับการยื่นขอสินเชื่อและมีผู้ยื่นขอสินเช่ือ เพือ่ ท่อี ยอู่ าศยั จำ�นวน 6,939 ราย แบง่ ออกเป็นผูท้ ผ่ี ่านการออมเงินครบ 3 เดือน จำ�นวน 4,971 ราย และเป็นผู้ทม่ี ีศักยภาพ ทางการเงนิ แต่ขาดความรู้ ความเข้าใจในการขอสินเชอื่ จำ�นวน 1,968 ราย 100 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-3, GRI 203-2, Former FS 13, Former FS 14
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148