ธนาคารอาคารสงเคร า ะ ห
สารบัญ 09 12 สารจากประธานกรรมการธนาคาร 14 สารจากกรรมการผ้จู ดั การ 18 เกย่ี วกบั ธนาคาร 22 ยุทธศาสตร์ธนาคาร 23 ธนาคารอาคารสงเคราะหก์ บั การพฒั นาท่ียง่ั ยืน 24 การพฒั นาทยี่ ่งั ยืนของธนาคารอาคารสงเคราะห์ 24 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานดา้ นการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื 30 การกำ�หนดประเดน็ ส�ำ คญั ดา้ นความยั่งยนื การมีส่วนรว่ มของผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี 39 มิตดิ า้ นเศรษฐกจิ 40 46 ความมั่นคงทางการเงิน 53 การบริหารความเสี่ยงท่วั ท้ังองค์กร 56 นวัตกรรม และการใหบ้ ริการทางการเงนิ แบบดิจทิ ลั การเขา้ ถึงบริการทางการเงินและสง่ เสริมความรทู้ างการเงนิ
มติ ดิ ้านสงั คม 61 การกำ�กบั ดแู ลกิจการที่ดี 62 ความพึงพอใจและความภกั ดขี องลกู คา้ 79 การรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู และความเป็นสว่ นตวั ของผู้ใชบ้ ริการ 85 การบริหารและพฒั นาบุคลากรด้วยความเป็นธรรม 89 การสรา้ งความผกู พนั และการมีส่วนร่วมของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี 97 การสง่ เสริมและพฒั นาความเข้มแข็งของชุมชนและสงั คม 98 การให้บริการทางการเงินอย่างเท่าเทียม 105 สขุ ภาพ ความปลอดภยั และความเปน็ อยทู่ ีด่ ขี องพนกั งาน 108 วฒั นธรรมและคา่ นยิ มองคก์ ร 115 มิตดิ ้านส่งิ แวดล้อม 121 การพฒั นาผลิตภณั ฑท์ างการเงนิ ที่รับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม 122 และสงิ่ แวดลอ้ ม 124 การใช้ทรัพยากรอย่างคมุ้ คา่ และรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม 130 ผลการด�ำ เนนิ งานด้านเศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดล้อม 137 เกย่ี วกับรายงานฉบับนี้ 138 ดัชนีข้อมูลตามกรอบการรายงาน GRI Standard 142 แนวทางการด�ำ เนินธุรกจิ อย่างย่งั ยนื ตามมาตรฐานสากล 144 รางวลั ดา้ นความย่งั ยืน
6 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
วิสยั ทัศน์ Vision ธนาคารท่ีดที ่สี ุด สำ�หรบั การมี “บ้าน” The Best Housing Solution Bank พันธกจิ Mission รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 7
คา่ นยิ ม Core Value Speed Good Governance I Innovative Thoughts ยดึ มั่นธรรมาภบิ าล สร้างสรรค์สิ่งใหม่ Sเสร็จก่อน/ตรงเวลา G V Value Teamwork Professional P ร่วมใจทำ�งาน เชย่ี วชาญในงาน A GIVE Achievement E Excellent +4 Services Oriented บริการเปน็ เลศิ มุ่งมนั่ ความสำ�เรจ็ C (En) Courage to Change กล้าเปลี่ยนแปลง 8 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-16
สารจากประธานกรรมการธนาคาร นายปรญิ ญา พฒั นภกั ดี ประธานกรรมการธนาคาร 9
ปี 2562 การดําเนินธุรกิจของธนาคารมีความ ธอส. เช่ือมั่นว่าความยั่งยืนของธุรกิจจะต้องควบคู่ ทา้ ทายภายใต้สภาพแวดล้อมของอุตสาหกรรม ธนาคารที่ กับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและสร้างวัฒนธรรมให้เกิด นับวันจะมีการเปลี่ยนแปลงท่ีรุนแรงและรวดเร็ว รวมถึง ขนึ้ ธนาคารจงึ ไดก้ าํ หนดใหผ้ บู้ รหิ ารตอ้ งยดึ มนั่ และประพฤติ พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคทเ่ี นน้ ใหค้ วามสาํ คญั กบั ความสะดวก ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี(RoleModel) พรอ้ มทงั้ ถา่ ยทอด รวดเรว็ ผลติ ภณั ฑท์ างการเงนิ ตอ้ งตอบสนองความตอ้ งการ และปลูกฝังคา่ นยิ ม GIVE (G : Good Governance ยึดมน่ั ในรูปแบบใหม่ ส่งผลให้การดําเนินงานของธนาคาร ธรรมาภิบาล, I : Innovative Thoughts สรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม,่ จะไม่เหมือนเดิมอกี ต่อไป ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) V:ValueTeamWork รว่ มใจทาํ งาน,E:ExcellentServices จงึ มคี วามจาํ เปน็ อยา่ งยง่ิ ทต่ี อ้ งปรบั ตวั เพอ่ื ใหส้ ามารถเตบิ โต บริการเป็นเลิศ) ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาทุกคน รวมทั้ง ได้อย่างยั่งยืน และบรรลุวิสัยทัศน์ของธนาคารในการมุ่งสู่ กําหนดให้พนักงานทุกระดับมีพฤติกรรมที่แสดงออกอย่าง การเป็น “ธนาคารที่ดีท่ีสุดสําหรับการมีบ้าน” (The Best สม่ําเสมอ ด้วยการปฏิบัติตนตามพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ Housing Solution Bank) พร้อมกับพัฒนาระบบการบริหารและพัฒนาทรัพยากร ตลอดระยะเวลากวา่ 66 ปที ี่ ธอส. ดาํ เนนิ ธรุ กจิ ภายใต้ บุคคล โดยยึดหลักตามค่านิยม GIVE ตั้งแต่กระบวนการ นโยบายและเจตนารมณ์ : “เพื่อช่วยเหลือทางการเงินให้ สรรหา การประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ระบบความกา้ วหน้า ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยตามควรแก่อัตภาพ” เป็นกลไก ทางสายอาชีพ (Career Path) รวมทั้งการประเมิน ที่สําคัญของระบบการเงินของประเทศ ก้าวข้ามวิกฤติ ขีดความสามารถ นอกจากนี้ การตระหนักถึงความสําคัญ ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ โดยธนาคารตระหนกั อยเู่ สมอวา่ การเตบิ โต ดังกล่าว ธนาคารยังได้ต่อยอดค่านิยมเป็น GIVE+4 อยา่ งยงั่ ยนื นนั้ มิใชก่ ารมงุ่ เนน้ ทผี่ ลกาํ ไรแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว โดยเพม่ิ คา่ นยิ มใหม่ ไดแ้ ก่(1) กลา้ เปลยี่ นแปลง((En)Courage แต่ตอ้ งสามารถปรบั ตวั ให้อยไู่ ด้ภายใตบ้ รบิ ทท่เี ปลยี่ นแปลง to Change), (2) มุ่งมั่นความสําเร็จ (Achievement และคํานึงถึงความสมดุลในการสร้างผลด้านคุณค่าและ Oriented), (3) เช่ียวชาญในงาน (Professional) และ ประโยชน์อย่างยั่งยืนที่เป็นธรรมให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4) เสร็จกอ่ นตรงเวลา (Speed) ตลอดจนการสร้างใหเ้ กดิ ธอส. จึงยกระดับการดําเนินการด้านความยั่งยืนโดย ความรัก ความผูกพันต่อชาติบ้านเมืองในฐานะ “คนไทย” การผสมผสานแนวคิดการเติบโตท่ีต้องให้เกิดความสมดุล “พลเมืองดี” ต่อ “บ้าน ธอส.” ด้วยนโยบาย “คน ธอส. ระหว่างมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เข้าไป หัวใจเดียวกนั ” “ธอส. หน่ึงเดยี ว” เพ่ือหย่งั ลกึ เป็นรากฐาน เป็นส่วนหน่ึงของการดําเนินธุรกิจ โดยกําหนดเป้าหมาย สาํ คญั ใหธ้ นาคารเกดิ ความมนั่ คง มงั่ คง่ั ทง้ั ดา้ นการเงนิ และ การดําเนนิ งาน เพือ่ ให้เกดิ ผลลัพธ์ท่เี ปน็ รปู ธรรม ดา้ นคุณค่าอยา่ งยงั่ ยืนในระยะยาว ดา้ นเศรษฐกจิ : ธนาคารใหค้ วามสาํ คญั กบั การลงทุน ด้านสังคม : ธนาคารให้ความสําคัญกับการกํากับ ในอนาคต เพื่อเตรยี มความพรอ้ มรองรับ การเปลย่ี นแปลง ดูแลกิจการท่ีดี สร้างความเช่ือมั่นให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เทคโนโลยีท่ีรวดเร็ว โดยมุ่งเน้นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ว่าการดําเนินธุรกิจของธนาคารยึดมั่นในการปฏิบัติตาม ดิจทิ ัลมาสรา้ งผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร เพื่อสร้างประสบการณ์ คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณทางธุรกิจ การปฏิบัติ และคุณค่าให้กับลูกค้า รวมถึงการนําเสนอผลิตภัณฑ์ ตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของหนว่ ยงานกาํ กบั ดแู ล อาทิ ธนาคาร และบริการ เพ่ือเป็นแนวทางในการสร้างรายได้ใหม่และ แห่งประเทศไทย และกระทรวงการคลัง เป็นต้น รวมถึง ลดต้นทุนในการดําเนินธุรกิจ เช่น GHB ALL : Mobile สร้างความเชื่อม่ันให้ลูกค้าในการรักษาความปลอดภัยของ Application ท่ีใหบ้ รกิ ารกบั ลกู คา้ ไดอ้ ยา่ งครบวงจรในรปู แบบ ข้อมูลและความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้บริการ นอกจากนี้ Anywhere Anytime, GHBank Smart NPL Mobile ธนาคารยังมีโครงการเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็ง Application เป็นบริการให้คําปรึกษาปัญหาการผ่อนชําระ ใหก้ บั ชมุ ชน และใหค้ วามรทู้ างการเงนิ (FinancialLiteracy) และย่ืนขอประนอมหนี้ผ่าน Application เป็นต้น และ ได้แก่ โครงการ ธอส. โรงเรียนการเงิน ซ่ึงเป็นโครงการ ยงั จะมกี ารพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรกิ ารอื่น ๆ อย่างตอ่ เน่ือง ท่ีมุ่งให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างวินัยการเงิน และเตรียม เพม่ิ เติม เพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ความพร้อมในการเข้าถึงสินเช่ือเพ่ือที่อยู่อาศัยในระบบ ให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ เช่น ผู้ที่มีรายได้แต่เอกสาร ไม่เพียงพอกับการขอสินเช่ือ ผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระหรือ 10 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-11, GRI 102-14, GRI 102-15
รับจ้างทัว่ ไป ผู้ที่เคยมปี ระวตั ิคา้ งชําระหนี้ นักศึกษาจบใหม่ สุดท้ายนี้ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ “ธนาคารบ้าน ทอ่ี ยากมบี า้ น เปน็ ตน้ ดว้ ยหลกั การทวี่ า่ “ไมว่ า่ ใครกส็ ามารถ ของคนไทย” ขอขอบคณุ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทกุ กลมุ่ ทกุ ทา่ น มบี ้านเป็นของตวั เองได้” ท่ีใหก้ ารสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งาน รวมถงึ การใหข้ อ้ เสนอแนะ ด้านส่งิ แวดล้อม : ธนาคารใส่ใจกับสภาวะโลกร้อน ที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานด้านความย่ังยืนของ ทเ่ี กดิ ข้นึ (Global Warming) ซ่ึงส่งผลกระทบต่อชีวิตและ ธนาคาร และธนาคารขอยืนยันว่าจะมุ่งม่ันดําเนินธุรกิจ ความเป็นอยู่ของคนไทยและประชาชนท่ัวโลก มลพิษและ เพ่ือให้เป็นอีกหนึ่งกลไก หลักสําคัญในการขับเคลื่อน มลภาวะที่เคยเป็นเร่ืองห่างไกล กลายเป็นเรื่องที่กระทบ เศรษฐกจิ ของประเทศ ควบคไู่ ปกบั การดาํ เนนิ งานดา้ นสงั คม ต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทยอย่างท่ีไม่สามารถ และส่ิงแวดล้อม เพื่อลดความเหล่ือมล้ําด้านคุณภาพชีวิต หลีกเล่ียงได้ ธนาคารขอเป็นส่วนหน่ึงในการลดผลกระทบ ของคนไทย และสง่ มอบคุณคา่ แก่คนไทยอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ที่เกิดขึ้น จึงมุ่งเน้นให้ความสําคัญกับการสร้างจิตสํานึก การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด อาทิ นายปริญญา พฒั นภกั ดี การใช้ไฟฟ้า การใช้นํ้าประปา และการใช้กระดาษ ประธานกรรมการธนาคาร ในการประกอบธรุ กจิ เพอ่ื มงุ่ หวงั การลดปญั หาภาวะโลกรอ้ น และสภาวะกา๊ ซเรอื นกระจก รวมถงึ การลดปญั หามลพษิ จาก ฝนุ่ ควนั PM2.5 ซง่ึ กลายเปน็ ปญั หาทท่ี กุ คนไดร้ บั ผลกระทบ โดยสรุป แนวทางการขับเคลื่อนด้านความยั่งยืน ในปี 2562 ธนาคารอาคารสงเคราะห์มุ่งเน้นให้เกิด ค ว า ม ส ม ดุ ล ใ น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ย่ั ง ยื น ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ท้ั ง ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ ให้ความสําคัญกับการขับเคล่ือนธุรกิจของธนาคาร ให้ตอบสนองกับความต้องการและความคาดหวังของ กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีเงินนําส่งรัฐเพื่อนําไปพัฒนา ประเทศ ด้านสังคม ให้ความสําคัญกับการพัฒนาสังคม เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ใ ห้ กั บ ชุ ม ช น การให้บริการทางการเงินอย่างเท่าเทียมกัน และ ให้ความสําคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในฐานะ ที่เป็นกลไกสําคัญในการขับเคล่ือนความสําเร็จของธนาคาร และด้านสิ่งแวดล้อม คํานึงถึงความเป็น Corporate Citizenship เนน้ การสรา้ งผลกระทบทด่ี ี(MaximizePositive Impact) และลดผลกระทบทางลบ (Minimize Negative Impact) ต่อสังคมโดยรวมใหไ้ ด้มากท่สี ุด GRI 102-11, GRI 102-14, GRI 102-15, GRI 102-20 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 11
สารจากกรรมการผ้จู ดั การ นายฉตั รชยั ศิริไล กรรมการผู้จัดการ 12 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ในปี2562 เปน็ ปที ธ่ี นาคารดำ�เนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ ในด้านสังคม ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการพัฒนา SMART Goals ซึ่งประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์สำ�คัญ เทคโนโลยี มายกระดับการให้บริการกับลูกค้า เพื่อสร้าง ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การสรา้ งความเขม้ แข็งทางการเงิน ความพึงพอใจและความภักดีให้เกิดข้ึน รวมถึงส่งเสริม เพอ่ื ความยงั่ ยืนขององคก์ ร ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การขยายฐาน โครงการ ธอส. โรงเรียนการเงินเพื่อสร้างความรู้ ลูกค้าสนิ เชอื่ เงินฝาก และลูกคา้ กลมุ่ Digital ยทุ ธศาสตร์ ความเขา้ ใจและวนิ ยั ทางการเงนิ เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มใหแ้ ก่ ท่ี 3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรของธนาคารให้ทันต่อการ ลกู คา้ ในอนาคต นอกจากนี้ ธนาคารยงั คำ�นงึ ถึงผูม้ ีส่วนได้ เปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนานวัตกรรม และยก ส่วนเสยี จงึ ได้กำ�หนดยทุ ธศาสตร์ดา้ นกำ�กับดแู ลกจิ การท่ีดี ระดับการบรกิ ารเพื่อให้องค์กรเป็นทน่ี ่าเชอ่ื ถือ ยทุ ธศาสตร์ เพอ่ื สรา้ งกลไกดา้ นธรรมาภบิ าลใหเ้ กดิ ขน้ึ และการดำ�เนนิ งาน ท่ี 5 สร้างองค์กรให้มีธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อ ด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม สังคมและส่ิงแวดล้อม และภายใต้การดำ�เนินการดังกล่าว (CSR) โดยยึดหลัก ISO 26000 เป็นกรอบมาตรฐาน ธนาคารต้องเผชิญกับการแข่งขันในอุตสาหกรรมท่ีรุนแรง ในการปฏิบัติงานผ่านการร่วมแรงร่วมใจของผู้บริหารและ เชน่ การเปล่ียนแปลงทางดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัล มาตรการ พนักงาน อย่างไรก็ตาม จากท่ีกล่าวมาท้ังหมด ธนาคาร กำ�กบั ดูแลสนิ เช่ือทีอ่ ยู่อาศยั (Loan to Value: LTV) รวมถงึ จะขับเคล่ือนไปยังทิศทางท่ีต้องการได้ จำ�เป็นอย่างยิ่ง พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง โดยให้ความสำ�คัญ ที่ต้องพัฒนาและบริหารทรัพยากรบุคลากรให้พร้อมรับ กับความรวดเร็วและความสะดวกสบายในการได้รับบริการ กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง การพัฒนาทักษะของ ดา้ นการเงนิ เปน็ ตน้ ซงึ่ ปจั จยั เหลา่ นลี้ ว้ นสง่ ผลกระทบโดยตรง บุคลากรให้มี Digital Literacy เพ่ิมประสิทธิภาพและ ต่อความย่ังยืนและความสำ�เร็จของธนาคารตามพันธกิจ ขีดความสามารถของพนักงาน โดยนำ�เทคโนโลยีมาช่วย “ทำ�ให้คนไทยมีบ้าน” อย่างไรก็ตาม ผลการดำ�เนินงาน การปรบั ปรงุ กระบวนการปฏบิ ตั งิ านใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพเพมิ่ ขน้ึ ที่เกิดข้ึน สามารถสะท้อนว่าธนาคารยังคงให้ความสำ�คัญ ในดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ธนาคารตระหนกั ถงึ การเปลย่ี นแปลง กับการสร้างความสมดุลของการเติบโตทั้งในด้านเศรษฐกิจ สภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซ่ึงเป็นปัญหาท่ี สังคม และสิ่งแวดล้อม ทุกประเทศทั่วโลกให้ความสำ�คัญและส่งผลกระทบต่อชีวิต ในด้านเศรษฐกิจ ธนาคารเน้นการขยายสินเชื่อ และความเปน็ อยขู่ องประชาชน จงึ ไดย้ กระดบั มาตรฐานของ อย่างมีคุณภาพแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำ�นักงานโดยเข้าร่วมโครงการอาคารประหยัดพลังงานและ กลมุ่ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย(SocialSolution) ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ลกู คา้ ตาม โครงการธนาคารสีเขียวท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม (Green พันธกิจของธนาคาร ให้สามารถเข้าถึงแหล่งสินเชื่อได้ Office) และเตรียมความพร้อมสู่มาตรฐานส่ิงแวดล้อม การขยายฐานสินเชื่อไปยังกลุ่มลูกค้าผู้มีรายได้ปานกลาง ในระดบั สากล เพอื่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการขบั เคลอ่ื นสงั คมเขา้ สู่ และรายได้สูง (Business Solution) เพื่อสรา้ งรายได้ใหก้ บั การลดใชพ้ ลงั งาน ควบคกู่ บั การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ และ ธนาคารผา่ นบริการทางการเงินแบบดจิ ิทลั ท่พี ัฒนาขนึ้ และ รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือให้เกิดความสมดุล ธนาคารจึงได้วางกลยุทธ์ควบคุม ธนาคารหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ผลการดำ�เนินงาน คุณภาพสินเชื่อควบคู่ไปด้วย โดยการกำ�หนดเป็นตัวชี้วัด ด้านความย่ังยืนที่ปรากฏอยู่ในรายงานฉบับนี้ จะทำ�ให้ ของยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางการเงิน เช่น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับทราบถึงความมุ่งม่ันของธนาคาร NPL, NPA และการบริหาร Port สินเช่ือ ให้สามารถสรา้ ง ในการใหค้ วามสำ�คญั ตอ่ การสรา้ งคณุ คา่ ทงั้ มติ ทิ างเศรษฐกจิ รายได้อย่างต่อเน่ืองภายใต้กลไกการบริหารความเสี่ยง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา ท่ัวทั้งองค์กร เป็นต้น ธนาคารได้ยกระดับการพัฒนา อย่างยั่งยืน และธนาคารขอให้สัญญาว่าจะดำ�เนินธุรกิจ นวัตกรรมเพอื่ ใหบ้ รกิ ารผา่ นโครงการสำ�คัญ เชน่ โครงการ ภายใต้ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน บา้ นบม่ เพาะนวัตกรรม โครงการ GHB All โครงการ GHB เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงในการสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนให้กับ System และโครงการ GH Bank Ecosystem เป็นต้น ประเทศไทยต่อไป เพ่ือให้การพัฒนาในมิติด้านเศรษฐกิจเป็นไปอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการนำ�เทคโนโลยีมาพัฒนากระบวนการทำ�งานให้มี นายฉตั รชยั ศริ ิไล ความสะดวกรวดเร็ว และรองรบั สภาพแวดลอ้ มการทำ�งาน กรรมการผ้จู ดั การ ทเี่ ปล่ียนแปลง GRI 102-11, GRI 102-14, GRI 102-15, GRI 102-20 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 13
เกีย่ วกับธนาคาร ชือ่ ธนาคาร : ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สังกัดกระทรวงการคลงั ประเภทธรุ กิจ : 0994000164858 เลขท่ี 63 ถนนพระราม 9 เขตหว้ ยขวาง กรุงเทพฯ 10310 เลขประจำ�ตัวผูเ้ สียภาษอี ากร : 0-2645-9000 0-2645-9001 ทตี่ งั้ ส�ำ นกั งานใหญ่ : www.ghbank.co.th โทรศัพท์ : โทรสาร : เวบ็ ไซต์ : ลกั ษณะการประกอบธุรกจิ มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ และเป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจในสังกัดกระทรวงการคลังจัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัติธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 ดำ�เนินธุรกิจตามพระราชบัญญัติธนาคาร อาคารสงเคราะห์ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และประกาศที่เกี่ยวข้อง ซึ่งออกโดยกระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประวัตคิ วามเปน็ มา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ “ตราพระราชบัญญัติธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496” และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เม่อื วนั ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2496 ให้จัดต้งั ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เป็นสถาบันการเงนิ เฉพาะกิจ มฐี านะเป็นรฐั วสิ าหกจิ ในสังกดั กระทรวงการคลงั โดยมเี จตนารมณ์ สำ�คัญในการจัดต้ัง “เพ่ือช่วยเหลือทางการเงินให้ประชาชนได้มีท่ีอยู่อาศัยตามควรแก่อัตภาพ” ในการ บรหิ ารงานธนาคารไดร้ บั ทนุ ประเดมิ จากกระทรวงการคลงั เปน็ เงนิ 20 ลา้ นบาท โดยเมอื่ วนั ท่ี 24 กนั ยายน พ.ศ. 2496 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้เปน็ ประธานประกอบพิธเี ปิดธนาคาร จงึ ได้ถือ ฤกษว์ ันนเี้ ปน็ วันเรม่ิ ดำ�เนินการ 14 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-1, GRI 102-2, GRI 102-3, GRI 102-4, GRI 102-5, GRI 102-6, GRI 102-7
รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 15
จ�ำ นวนบุคลากรของธนาคาร (31 ธันวาคม 2562) หนว่ ย : คน ลำ�ดบั ฝ่าย/ส�ำ นัก/ภาค/ศนู ย์ กรรมการ ผบู้ รหิ าร พนักงาน พนกั งาน ลกู จ้าง ผลรวม ผจู้ ัดการ สญั ญาจา้ ง สญั ญาจา้ ง ธนาคาร ทง้ั หมด 1 ธนาคาร 1 2 171 13 18 205 2 ฝ่ายกฎหมาย 22 3 25 3 ฝ่ายการบัญชี 35 3 1 39 4 ฝา่ ยกำ�กบั การปฏิบัตงิ าน 28 1 6 35 5 ฝ่ายกิจกรรมเพ่ือสังคม 15 6 21 6 ฝ่ายเงินฝากและพนั ธมิตร 26 2 1 29 7 ฝ่ายจดั หาและการพสั ดุ 40 1 12 53 8 ฝา่ ยตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 21 1 3 25 9 ฝา่ ยตรวจสอบสาขา 35 1 1 37 10 ฝา่ ยตรวจสอบสำ�นักงานใหญ่ 19 1 20 11 ฝา่ ยทรพั ยากรบุคคล 54 4 33 91 12 ฝา่ ยเทคโนโลยีดิจิทลั 8 8 13 ฝา่ ยธุรกรรมการเงิน 44 14 ฝา่ ยนโยบายสนิ เชื่อธรุ กจิ และภาครฐั 36 2 6 30 15 ฝ่ายบริหาร NPA 22 1 7 55 16 ฝ่ายบริหารการเงิน 51 4 18 17 ฝ่ายบริหารคดี 14 4 35 18 ฝา่ ยบริหารความเสีย่ ง 26 1 8 28 19 ฝ่ายบรหิ ารส�ำ นักงานและกิจการสาขา 27 1 163 20 ฝ่ายบรหิ ารหนี้ กทม.และปริมณฑล 57 3 103 119 21 ฝ่ายบริหารหนภ้ี มู ภิ าค 67 2 50 401 22 ฝ่ายบงั คับคดแี ละหนสี้ ว่ นขาด 258 67 76 65 23 ฝา่ ยปฏิบตั ิการเทคโนโลยสี ารสนเทศ 57 1 7 82 24 ฝา่ ยปฏิบตั กิ ารบริการอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 69 6 7 25 25 ฝ่ายประเมินผลองค์กร 22 1 2 27 26 ฝา่ ยประเมนิ ราคาหลกั ทรพั ย์ 23 2 2 86 27 ฝา่ ยพฒั นาธรุ กิจเงนิ ฝาก 75 2 9 15 28 ฝ่ายพัฒนาธุรกจิ สนิ เช่ือ 12 1 2 26 29 ฝา่ ยพัฒนาระบบบรกิ ารดจิ ทิ ัล 21 1 4 54 30 ฝา่ ยพฒั นาระบบสารสนเทศ 54 27 27 16 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-8
หนว่ ย : คน ลำ�ดบั ฝ่าย/สำ�นัก/ภาค/ศนู ย์ กรรมการ ผบู้ รหิ าร พนกั งาน พนกั งาน ลูกจา้ ง ผลรวม ผจู้ ดั การ สญั ญาจา้ ง สญั ญาจา้ ง ธนาคาร ทง้ั หมด 31 ฝ่ายพัฒนาและบริหารการเรียนรู้ 27 1 2 30 115 10 40 165 32 ฝา่ ยพธิ กี ารสินเช่อื 21 1 67 89 16 1 1 18 33 ฝา่ ยลูกค้าสัมพนั ธ์ 27 1 4 32 64 2 66 34 ฝา่ ยวเิ คราะห์และวางแผนกลยุทธ์ 24 3 1 28 165 28 27 220 35 ฝา่ ยวเิ คราะห์สินเชื่อโครงการ 48 1 9 58 28 2 1 31 36 ฝา่ ยวเิ คราะห์สินเชือ่ รายย่อย 271 40 41 352 286 47 39 372 37 ฝา่ ยวิชาการ 22 12 10 44 177 27 22 226 38 ฝา่ ยสนับสนนุ สาขานครหลวง 184 26 27 237 222 37 24 283 39 ฝา่ ยสนับสนุนสินเชอื่ 146 26 14 186 130 18 13 161 40 ฝ่ายสอบทานสินเชื่อ 155 23 16 194 97 17 14 128 41 ฝ่ายสาขา กทม. และปริมณฑล 1 61 7 81 9 42 ฝา่ ยสาขา กทม. และปรมิ ณฑล 2 17 4 21 21 1 1 23 43 ฝา่ ยส่อื สารองค์กร 2 33 35 44 ภาคกลางและภาคใตต้ อนบน 2 3,671 446 783 4,903 45 ภาคตะวันตกและภาคใต้ตอนล่าง 46 ภาคตะวันออก 47 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน 48 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง 49 ภาคเหนือตอนบน 50 ภาคเหนือตอนลา่ ง 51 ศูนยค์ วามมน่ั คงปลอดภยั ด้านเทคโนโลยฯี 52 ศูนยป์ อ้ งกันการทจุ ริต 53 ศูนยว์ างแผนและบริหารโครงการสารสนเทศ 54 สำ�นกั กรรมการผู้จดั การ 55 ศูนยข์ อ้ มูลอสังหารมิ ทรพั ย์ ผลรวมทั้งหมด 1 GRI 102-8 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 17
ยุทธศาสตร์ธนาคาร วิสัยทัศน “ธนาคารท่ีดีท่ีสุด สําหรับการมีบาน” S ยุทธศาสตรท่ี 1 การสรางความเขมแข็งทางการเง�น เพ�่อความย่ังยืนขององคกร (Strong Financial Results for Sustainability) SO 1 เพ�มประสทิ ธิภาพในการบรห� ารจดั การสินทรพั ยและหน้สี ิน M ยุทธศาสตรท่ี 2 การขยายฐานลูกคาสินเชื่อ เง�นฝาก และลูกคากลุม Digital (Market Leader) SO 2 ขยายฐานสนิ เชอ่ื กลมุ ลูกคา SO 3 ขยายฐานสนิ เชอื่ กลุม ลูกคา SO 4 ขยายฐานลกู คาเง�นฝาก Social Solution Digital Business Solution Digital รายยอย A ยุทธศาสตรท่ี 3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรของธนาคารใหทันตอการเปลี่ยนแปลง (A+ Leaders and Staff) SO 5 เพม� ประสิทธิภาพการบร�หารทรพั ยากรบุคคล เพ�อ่ รองรับ Digital Service R ยุทธศาสตรท่ี 4 พัฒนานวัตกรรมและยกระดับการบรก� ารเพ�อ่ ใหองคกรเปนท่ีนาเช่ือถือ (Reliable, Innovative and Delight Operation and Service) SO 6 ยกระดับกระบวนงาน การบรก� ารและชองทางการใหบรก� าร Digital Service SO 7 ยกระดับ IT Infrastructure เพ�อ่ รองรบั Digital Service T ยุทธศาสตรท่ี 5 สรางองคกรใหมีธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคมและส�ิงแวดลอม (Good Governance and CSR) SO 8 ยกระดับ CG & CSR องคกร 18 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-1, GRI 103-2
SMART GOALS SGMoAaRlsT คุณภาพ เปน ผนู าํ สนิ เช่ือ เปนองคก ร มีนวตั กรรม เปนองคก รทมี่ ี สินทรพั ย ดา นทอ่ี ยูอาศยั ทคี่ นอยาก อยใู นระดับทด่ี ี โดยมงุ เนนกลมุ เขา ทาํ งาน และการบร�การ CG & CSR อยู ผูมีรายไดน อ ย และปานกลาง ทีเ่ ปนเลศิ ในระดับแนวหนา STRATEGY การสรางความเขม แข็ง การขยายฐานลูกคา พฒั นาศักยภาพบุคลากร พฒั นานวตั กรรมและ สรางองคก รใหมี ทางการเง�น เพ�อ่ ความ ยกระดับการบร�การ ธรรมาภิบาลและ สนิ เชอ่ื เง�นฝาก และ ของธนาคารใหท นั ตอ เพ่อ� ใหอ งคกรเปน ความรบั ผดิ ชอบตอ ทน่ี าเชอื่ ถือ สังคมและสงิ� แวดลอ ม ยง่ั ยนื ขององคก ร ลูกคา กลุม Digital การเปลี่ยนแปลง R T S MA Set Vision Make Wise Align & Execute : Review Improve Team & Goals : Strategies : & Learn : Engagement : วางแผนปฏบิ ตั ิการ และ ก�ำ หนดวสิ ัยทศั นแ์ ละ ท�ำ แผนยทุ ธศาสตร์ ด�ำ เนินการเพอื่ บรรลุ การตดิ ตาม ปรบั ปรุง เสรมิ สรา้ งความผูกพัน เป้าหมายขององคก์ ร เปา้ หมายองค์กร และจดั การความรู้ หมายถึง การกำ�หนด หมายถึง การจัดแผน หมายถงึ เมอ่ื ธนาคารได้ หมายถึง การติดตาม หมายถึง การสร้างให้ วิสัยทัศน์และเป้าหมาย ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ร ะ ย ะ วางแผนยทุ ธศาสตรแ์ ลว้ แผนงานต่าง ๆ ที่ตง้ั พนกั งานเกดิ ความภาค ขององค์กรต้องชัดเจน ย า ว 5 ปี ร ว ม ถึ ง กล่มุ งาน/สายงาน/ฝ่าย เปา้ หมายไว้ และปรบั ปรงุ ภูมิใจในการเป็นส่วน และทา้ ทายโดยผบู้ รหิ าร แผนสนับสนุนต่าง ๆ /ส่วนงาน/สาขา จนถึง แผนงานอยา่ งสมา่ํ เสมอ หน่ึงของทีม และเกิด ร ะ ดั บ สู ง ไ ด้ กำ� ห น ด ของธนาคาร ต้อง ระดับบุคคล จำ�เป็น โดยใชก้ ารจดั การความรู้ ค ว า ม ผู ก พั น ภ า ย ใ น SMARTGoals ทม่ี งุ่ เนน้ วางแผนอย่างยืดหยุ่น ต้องวางแผนปฏิบัติการ ท้ังระดับองค์กรและ องค์กร อันนำ�ไปสู่การ การสร้างคุณค่าและ สามารถปรับเปล่ียนได้ ระยะสน้ั ทส่ี อดคลอ้ งกบั ระดับบุคคล เพ่ือให้ มุ่งม่ันทุ่มเทและจริงจัง มอบคุณค่าอย่างสมดุล เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ และ ผ ล กา ร ดำ� เ นิ น ง า น ในการปฏิบัติงานของ ต่อลูกค้าและผ้มู ีส่วนได้ ทก่ี ำ�หนดไว้ ตามกรอบ เปา้ หมายขององคก์ ร ท่ี ว า ง ไ ว้ เ ป็ น ไ ป ต า ม พนกั งาน ซง่ึ จะสง่ ผลให้ สว่ นเสยี ทส่ี ำ�คญั ทกุ กลมุ่ เวลาของแผน เป้าหมาย จนนำ�ไปสู่ ธนาคารบรรลเุ ปา้ หมาย การสรา้ งนวตั กรรม ทว่ี างไว้ GRI 103-1, GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 19
ยุทธศาสตร์ธนาคาร 2560 - 2564 S1 การสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางการเงิน เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การสนิ ทรพั ยแ์ ละหนส้ี นิ ใหม้ อี ตั ราผลตอบแทน เพ่ือความยัง่ ยืนขององค์กร อย่ใู นระดบั ทเ่ี หมาะสม บรหิ ารตน้ ทนุ การดำ�เนนิ งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถงึ (Strong Financial Results for ขยายสินเช่อื ท่มี ีคุณภาพ ควบค่ไู ปกับการบริหารจัดการหน้ีไม่ก่อให้เกิดรายได้ Sustainability) (NPLs) ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ โดยกำ�หนดแนวทางปอ้ งกนั ไม่ใหส้ นิ เชอ่ื เปน็ NPLs และกำ�หนดมาตรการในการบรหิ ารสนิ เชอ่ื ดอ้ ยคณุ ภาพทเ่ี ครง่ ครดั S2 การขยายฐานลกู คา้ สินเช่ือ มงุ่ เนน้ ขยายสนิ เชอ่ื ทอ่ี ยอู่ าศยั สำ�หรบั ลกู คา้ กลมุ่ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย (Social Solution) เงนิ ฝาก และลูกคา้ กล่มุ Digital ซง่ึ เปน็ ลกู คา้ ตามพนั ธกจิ หลกั ของธนาคาร ใหเ้ ขา้ ถงึ สนิ เชอ่ื ของธนาคารทม่ี ตี น้ ทนุ (Market Leader) ดอกเบย้ี ตา่ํ และกลมุ่ ลกู คา้ ผมู้ รี ายไดป้ านกลางถงึ สงู (Business Solution) เพอ่ื สร้างรายได้ให้กับธนาคาร ผ่านผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ รวมถึงม่งุ เน้นการระดมทุน ทเ่ี หมาะสม โดยไดพ้ ฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ งนิ ฝากออมทรพั ย์ในรปู แบบตา่ ง ๆ ใหเ้ ขา้ ถงึ กลมุ่ ลกู คา้ ใหม่ ๆ S3 พฒั นาศักยภาพบคุ ลากรของ พฒั นาทกั ษะและความสามารถของบคุ ลากร ใหม้ ี Digital Literacy สง่ เสรมิ ให้ ธนาคารใหท้ ันต่อการเปลีย่ นแปลง พนักงานมีวัฒนธรรมการทำ�งานในรูปแบบ Digital รวมถึงเพ่มิ ประสิทธิภาพ (A+ Leaders and Staff) ในการบริหารทรัพยากรบุคคลของธนาคารเพ่ือเพ่ิมผลิตภาพและขีดความ สามารถของพนักงาน ให้สามารถปรับตัวพร้อมทำ�งานร่วมกับเทคโนโลยี และ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ในปจั จบุ นั S4 พัฒนานวัตกรรม และยกระดบั นำ�เทคโนโลยมี าชว่ ยในการปรบั ปรงุ กระบวนการทำ�งานใหม้ คี วามรวดเรว็ ลดความ การบรกิ าร เพ่ือให้องคก์ รเปน็ ท่ี ยงุ่ ยาก และลดตน้ ทนุ พฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารในรปู แบบใหม่ ๆ ทค่ี รอบคลมุ น่าเช่ือถือ (Reliable, Innovative บริการหลักของธนาคารแบบครบวงจร เพ่อื ให้ลูกค้าของธนาคารได้รับบริการ and Delight, Operation and ท่ีสะดวก รวดเร็วข้ึน รวมถึงพัฒนาระบบงานสำ�คัญของธนาคารให้รองรับ Service) การเปล่ียนแปลง และการขยายตัวของธุรกิจและบริการรูปแบบใหม่ รวมถึง ส่งเสริมสภาพแวดล้อมให้เกิดนวัตกรรมในองค์กร สนับสนุนให้บุคลากร ในองค์กรมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์นวัตกรรม พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ ใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั รวมถงึ หา Partner ใหม่ ๆ เพอ่ื รว่ มพฒั นานวตั กรรม สรา้ งโอกาส การเตบิ โตทางธรุ กจิ ใหแ้ กธ่ นาคาร S5 สรา้ งองค์กรให้มธี รรมาภบิ าล สร้างองค์กรให้มีธรรมาภิบาล โดยสร้างจิตสำ�นึก และค่านิยม ให้คนในองค์กร และความรบั ผิดชอบต่อสงั คมและ ปฏิบัติงานและบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือสร้างความม่ันใจและ สง่ิ แวดลอ้ ม (Good Governance ความไว้วางใจจากผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงสร้างองค์กรให้มีความรับผิดชอบ and CSR) ต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม ด้วยการให้ความรู้ทางการเงิน และจัดกิจกรรม ตอบแทนสงั คมในรปู แบบตา่ ง ๆ 20 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 103-1, GRI 103-2
แผนงาน / โครงการทีส่ �ำ คญั 2562 Strategy แผนงาน/โครงการท่ีส�ำ คญั • แผนบรหิ ารจดั การ NPL S1 การสรา้ งความเข้มแข็งทางการเงนิ • แผนบรหิ ารจดั การ NPA เพอ่ื ความยง่ั ยืนขององค์กร (Strong Financial Results for Sustainability) S2 การขยายฐานลูกคา้ สนิ เชอ่ื • แผนการขยายสนิ เชอ่ื กลมุ่ Social • แผนงานขยายฐาน เงนิ ฝาก และลูกค้ากลุ่ม Digital • แผนการขยายสนิ เชอ่ื กลมุ่ Business ลกู คา้ เงนิ ฝากรายยอ่ ย (Market Leader) S3 พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรของ • โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาบคุ ลากร เพอ่ื รองรบั Digital Service ธนาคารใหท้ นั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง • โครงการสรรหาบคุ ลากรเชงิ รกุ (A+ Leaders and Staff) S4 พัฒนานวัตกรรม และยกระดบั • โครงการ GHB All การบรกิ าร เพื่อให้องคก์ รเป็นท่ี • โครงการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ ลกึ เพอ่ื ขยายฐานลกู คา้ น่าเช่อื ถือ (Reliable, Innovative • โครงการ GHB System and Delight, Operation and • โครงการ IFRS9 Service) • โครงการ Fraud Management • โครงการ \"I AM\" GHBank S5 สรา้ งองคก์ รให้มีธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสงั คมและ สิ่งแวดลอ้ ม (Good Governance and CSR) GRI 103-1, GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 21
ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับการพัฒนาท่ียง่ั ยนื ECONOMIC มติ ดิ า้ นเศรษฐกิจ เชน่ จำ�นวนผใู้ ชบ้ รกิ ารDigital Service ของธนาคาร, จำ�นวนผใู้ ช้ GHB ALL, การไดร้ บั รางวลั ดา้ นการบรกิ ารดจิ ทิ ลั , ผลการดำ�เนนิ งานทส่ี ำ�คญั ของธนาคาร การพฒั นาทีย่ ่งั ยนื ENVIRONMENTAL SOCIAL มติ ดิ ้านส่งิ แวดล้อม มติ ิดา้ นสงั คม เช่น ผลิตภัณฑ์ท่ีคำ�นึงถึงสังคมและ เชน่ จำ�นวนชว่ั โมงจติ อาสา, กจิ กรรม ส่ิงแวดล้อม การลดปริมาณการใช้ CSR ทธ่ี นาคารมสี ว่ นรว่ ม ทรพั ยากร เชน่ นา้ํ ไฟ กระดาษ 22 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-12
การพัฒนาที่ยง่ั ยนื ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอาคารสงเคราะหด์ ำ�เนนิ ธรุ กจิ โดยตระหนกั ถงึ ความสำ�คญั ของการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Development) โดยนำ�มาใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ�เนนิ ธรุ กจิ ของธนาคาร ซง่ึ ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม เพอ่ื สรา้ งคณุ คา่ ในระยะยาวสำ�หรบั ธนาคารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทกุ ภาคสว่ น ภายใตห้ ลกั การกำ�กบั ดแู ลกจิ การทด่ี แี ละความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม จากหลกั การดงั กลา่ ว ธนาคารจงึ ไดย้ ดึ มน่ั ในแนวคดิ “ธนาคารเพอ่ื ความยง่ั ยนื ” (Sustainable Bank) ของ International Finance Corporation (IFC) ซง่ึ เปน็ หนว่ ยงานภายใต้ World Bank และไดใ้ หค้ วามหมายธนาคารเพอ่ื ความยง่ั ยนื วา่ ประกอบ ดว้ ย 4 มติ ิ ไดแ้ ก่ (1) ความมน่ั คงทางการเงนิ ของสถาบนั การเงนิ และลกู คา้ (2) การสรา้ งความยง่ั ยนื ทางเศรษฐกจิ (3) การสรา้ ง ความยง่ั ยนื ทางสง่ิ แวดลอ้ ม และ (4) การสรา้ งความยง่ั ยนื ของสงั คม เพอ่ื ผลกั ดนั ใหธ้ นาคารมผี ลการดำ�เนนิ งานทด่ี อี ยา่ งยง่ั ยนื สรา้ งระบบนเิ วศทางเศรษฐกจิ ทเ่ี กอ้ื กลู กนั สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ลกู คา้ สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชมุ ชน อนรุ กั ษแ์ ละรกั ษา สง่ิ แวดลอ้ ม และสรา้ งความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มกนั ทางสงั คม เพอ่ื การเตบิ โตของธนาคารอยา่ งยง่ั ยนื ในระยะยาว นอกจากน้ี ธนาคารยงั ยดึ มน่ั ตามหลกั มาตรฐานสากลดา้ นความยง่ั ยนื เชน่ หลกั ความรบั ผดิ ชอบพน้ื ฐานตามขอ้ ตกลงแหง่ สหประชาชาติ (UN Global Compact) รวมทง้ั เปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื แหง่ องคก์ ารสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDGs) ทง้ั นเ้ี พอ่ื เปน็ ปจั จยั ขบั เคลอ่ื นในการสรา้ งวฒั นธรรมของธนาคารทม่ี งุ่ เนน้ การเตบิ โตระยะยาว โดยใหด้ ำ�เนนิ การ อย่างมีสำ�นึกรับผิดชอบต่อส่งิ แวดล้อม (Environment) สังคม (Social) ภายใต้การกำ�กับดูแลท่ดี ี (Governance) จำ�นวน 14 เปา้ หมายหลกั ขณะเดยี วกนั กย็ งั สนบั สนนุ อกี 3 เปา้ หมาย เพอ่ื สรา้ งคณุ คา่ อยา่ งยง่ั ยนื แกผ่ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี GRI 102-12 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 23
โครงสร้างการบริหารงานด้านการพัฒนาท่ียง่ั ยืน ธนาคารกำ�หนดโครงสรา้ งการบรหิ ารงานดา้ นการพฒั นาความยง่ั ยนื โดยประธานกรรมการธนาคาร ทำ�หนา้ ทข่ี บั เคลอ่ื น องคก์ รสกู่ ารพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื โดยคณะกรรมการธนาคารไดม้ อบหมายใหค้ ณะกรรมการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทด่ี แี ละความรบั ผดิ ชอบ ต่อสังคมและส่งิ แวดล้อม (CG&CSR) ทำ�หน้าท่ดี ูแลการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน รวมถึงพิจารณาทบทวนประเด็น สำ�คญั ดา้ นความยง่ั ยนื (Materiality) สง่ ผลตอ่ ความยง่ั ยนื ของธนาคาร ใหค้ วามเหน็ ชอบ/ทบทวน นโยบายและคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ าน ดา้ นความยง่ั ยนื ตดิ ตามการดำ�เนนิ งาน และรายงานตอ่ คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการก�ำ กบั ดแู ลกิจการท่ีดีและความรบั ผิดชอบ คณะอนุกรรมการกำ�กบั ดแู ลกิจการทดี่ ี ตอ่ สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม (CG&CSR) และความรับผดิ ชอบต่อสงั คมและสิง่ แวดล้อม กรรมการผจู้ ดั การ สายงานสอ่ื สารและภาพลกั ษณ์องคก์ ร (คณะอนุกรรมการ CG&CSR) ฝ่ายกจิ กรรมเพ่ือสงั คม ส่วนนโยบายและแผน ส่วนธุรกจิ เพอ่ื สงั คม สว่ นกิจกรรมเพ่อื สังคม เพื่อความยง่ั ยนื และสงิ่ แวดลอ้ ม การกำ�หนดประเดน็ ส�ำ คญั ดา้ นความยงั่ ยืน ธนาคารไดม้ กี ารกำ�หนดประเดน็ สำ�คญั ดา้ นความยง่ั ยนื และจดั ลำ�ดบั ความสำ�คญั ของประเดน็ สำ�คญั ทม่ี ตี อ่ การดำ�เนนิ งาน ของธนาคาร รวมถงึ ประเดน็ ทผ่ี มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใหค้ วามสำ�คญั โดยการเทยี บเคยี งกบั ธนาคารพาณชิ ย์ไทย สถาบนั การเงนิ ภาค รฐั เฉพาะกจิ ของรฐั และเทยี บกบั เกณฑ์ GRI ในกลมุ่ Financial Sector ซง่ึ ธนาคารทกุ แหง่ ทจ่ี ดั ทำ�รายงาน GRI จะตอ้ งใชเ้ กณฑ์ เดยี วกนั ทง้ั หมด ทง้ั นป้ี ระเดน็ ทธ่ี นาคารใหค้ วามสำ�คญั ในปี 2562 ครอบคลมุ ทกุ ประเดน็ โดยผา่ นกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของผมู้ ี สว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทส่ี ำ�คญั ของธนาคาร ไดแ้ ก่ คณะกรรมการธนาคาร กรรมการผจู้ ดั การ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู พนกั งาน ลกู คา้ คคู่ วาม รว่ มมอื ชมุ ชน สอ่ื มวลชน หนว่ ยกำ�กบั ผถู้ อื หนุ้ ในการจดั ลำ�ดบั ความสำ�คญั ผา่ นการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ เพอ่ื นำ�มมุ มองและขอ้ คดิ เหน็ มาวเิ คราะหแ์ ละจดั ลำ�ดบั ความสำ�คญั ตลอดจนวางแนวทางในการดำ�เนนิ งานเพอ่ื สนองตอบตอ่ ความตอ้ งการของผมู้ สี ว่ นได้ สว่ นเสยี ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม 24 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-18, GRI 102-19, GRI 102-31, GRI 102-32, GRI 102-46
01 02 การจัดลําดับ 03 การสรุป 04 การทบทวน การระบุ ประเด็นสําคัญ ประเด็นสําคัญ ประเด็นสําคัญ ประเด็นสําคัญ ดานความยั่งยืน ดานความยั่งยืน ดานความย่ังยืน ดานความยั่งยืน ขน้ั ตอนการประเมนิ ประเดน็ สำ�คัญดา้ นความยงั่ ยนื 1. การระบปุ ระเด็นส�ำ คัญดา้ นความยง่ั ยืน • ศกึ ษาและเทยี บเคยี งประเดน็ สำ�คญั ดา้ นความยง่ั ยนื ระดบั โลก เชน่ เกณฑด์ ชั นคี วามยง่ั ยนื (Dow Jones Sustainability Indices : DJSI) และประเด็นความยง่ั ยนื ของธนาคารตา่ ง ๆ ในประเทศ และประเดน็ ความยง่ั ยนื ของธนาคารทว่ั โลกตามท่ี Sustainability Accounting Standard Board (SASB) กำ�หนดไว้ นำ�มากำ�หนดเปน็ ประเดน็ ดา้ นความยง่ั ยนื ของธนาคาร • สำ�รวจความคิดเห็น สนทนากล่มุ ย่อย (Focus Group) และสัมภาษณ์เชิงลึกของคณะกรรมการ ผ้นู ำ� ระดบั สงู พนกั งานของธนาคาร รวมถงึ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอกทส่ี ำ�คญั (Stakeholder Inclusiveness) เกีย่ วกับประเดน็ ดา้ นความย่ังยนื ของธนาคาร (Sustainability Context) และนำ�ข้อมูลความคิดเห็นท่ีได้ มาจัดลำ�ดับความสำ�คัญ และสรุปเป็นกรอบแนวทางและสาระสำ�คัญ (Materiality) เพ่ือนำ�มาเปิดเผย ในรายงานความยัง่ ยนื ของธนาคาร 2. จัดล�ำ ดบั ความส�ำ คัญด้านความย่งั ยนื • วเิ คราะหแ์ ละพจิ ารณาขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการสอบถามผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทง้ั ภายในและภายนอก • จดั ลำ�ดบั ความสำ�คญั วา่ ประเดน็ ความยง่ั ยนื ใดมคี วามสำ�คญั ตอ่ การดำ�เนนิ ธรุ กจิ ของธนาคาร และเปน็ ประเดน็ ทผ่ี มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทง้ั ภายในและภายนอกใหค้ วามสำ�คญั โดยแบง่ เปน็ 5 ระดบั คอื ระดบั ความสำ�คญั นอ้ ยทส่ี ดุ ระดบั ความสำ�คญั นอ้ ย ระดบั ความสำ�คญั ปานกลาง ระดบั ความสำ�คญั มาก และระดบั ความสำ�คญั มากทส่ี ดุ และใหค้ า่ พจิ ารณาตามลำ�ดบั ความสำ�คญั ใน 2 สว่ น เพอ่ื กำ�หนดประเดน็ ลง Materiality Matrix คอื แกนนอน: ประเดน็ ทม่ี คี วามสำ�คญั ตอ่ ธนาคาร แกนตง้ั : ประเดน็ ทม่ี คี วามสำ�คญั ตอ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี 3. การสรุปประเดน็ ส�ำ คัญดา้ นความยัง่ ยืน สรปุ การจดั ลำ�ดบั ความสำ�คญั ดา้ นความยง่ั ยนื ใหก้ บั ผรู้ บั ผดิ ชอบ เพอ่ื รบั ทราบขอ้ คดิ เหน็ ของผมู้ สี ว่ นได้ สว่ นเสยี และนำ�ไปกำ�หนดแนวทางในการดำ�เนนิ งานของธนาคาร เพอ่ื พฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และเปดิ เผยในรายงานการพฒั นาความยง่ั ยนื และเวบ็ ไซตข์ องธนาคาร 4. การทบทวนประเด็นสำ�คญั ด้านความย่ังยืน ธนาคารจะดำ�เนินการทบทวนกระบวนการและข้อมูลท่ีเป็นสาระสำ�คัญด้านความย่ังยืน หลังจาก การเผยแพร่รายงานฉบับน้ีไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังภายในและภายนอก เพ่ือรับฟังความคิดเห็น พรอ้ มทง้ั ขอ้ เสนอแนะสำ�หรบั การปรบั ปรงุ เนอ้ื หาสาระสำ�หรบั รายงานในฉบบั ตอ่ ไป GRI 102-31, GRI 102-46 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 25
การจัดล�ำ ดับความสำ�คัญประเด็นความยั่งยืน 5.00 การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประเ ็ดนที่มีความสำ� ัคญ ่ตอผู้มีส่วนไ ้ดเสีย การบรหิ ารและพฒั นาบคุ ลากร นวัตกรรมและให้บริการ การรักษาความปลอดภัย ด้วยความเปน็ ธรรม การเงนิ แบบดจิ ทิ ัล ของข้อมลู และความเป็น สว่ นตัวของผู้ใชบ้ ริการ ความม่นั คง ทางการเงิน 4.30 การใชท้ รัพยากรอย่างคุ้มค่าและรักษาสิง่ แวดลอ้ ม การบริหารความเสยี่ งทว่ั ทัง้ องค์กร วัฒนธรรมและค่านิยมองคก์ ร 3.60 สุขภาพ ความปลอดภัยและ 4.20 ความเป็นอยทู่ ด่ี ขี องพนกั งาน ความพงึ พอใจและความภักดี การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ทางการเงนิ ของลกู คา้ ที่รบั ผิดชอบต่อเศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม การเข้าถึงบริการทางการเงนิ และส่งเสริมความรูท้ างการเงิน การสร้างความผูกพนั และการมสี ่วนร่วม การใหบ้ ริการทางการเงนิ อย่าง ของผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี เท่าเทยี มและไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ การสง่ เสริมและพัฒนาความเข้มแข็ง เชน่ ผสู้ ง่ มอบ คู่คา้ และชมุ ชน ของชุมชนและสงั คม 4.60 ประเด็นทม่ี ีความสำ�คญั ต่อธนาคาร 5.00 ประเดน็ ความยัง่ ยนื ท่ีส�ำ คญั ประเด็นด้านความ ขอบขา่ ย ขอบขา่ ย หวั ขอ้ ท่นี ำ�เสนอ การพัฒนา ยงั่ ยนื ตามแนวทาง ภายใน ภายนอก ในรายงาน ท่ียัง่ ยืน ประเด็นความยัง่ ยืนที่สำ�คัญ ธนาคาร ธนาคาร GRI Aspect การกำ�กบั ดแู ล 1. การก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ กจิ การทด่ี ี ธนาคารกำ�กบั ดแู ลองคก์ รดว้ ย Governance เจา้ ของ/ หลกั ธรรมาภบิ าลทด่ี ี เพอ่ื สรา้ ง (GRI-102-18, ผอู้ อก ความมน่ั ใจใหก้ บั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี GRI-102-19, นโยบาย วา่ ธนาคารจะดำ�เนนิ ธรุ กจิ โดยคำ�นงึ GRI 205-2) ถงึ ผลตอบแทนในระยะยาว 2. ความมน่ั คงทางการเงนิ Economic ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ ความมน่ั คง ธนาคารจะยดึ มน่ั ในการดำ�เนนิ งาน Performance เจา้ ของ/ ทางการเงนิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื สรา้ งผล (GRI 201-1) ผอู้ อก ตอบแทนอยา่ งสมดลุ และไมส่ รา้ ง นโยบาย ภาระทางการเงนิ ใหก้ บั ภาครฐั 26 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-46, GRI 102-47
ประเดน็ ความย่ังยนื ทสี่ �ำ คัญ ประเดน็ ด้านความ ขอบข่าย ขอบข่าย หวั ข้อทีน่ ำ�เสนอ การพัฒนา ยงั่ ยนื ตามแนวทาง ภายใน ภายนอก ในรายงาน ทย่ี ัง่ ยืน 3. การบรหิ ารความเสย่ี งทว่ั ทง้ั องคก์ ร ธนาคาร ธนาคาร ธนาคารบรหิ ารความเสย่ี งโดยตระหนกั GRI Aspect การบรหิ าร ถงึ ความสำ�คญั ของการบรหิ ารความ ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ ความเสย่ี ง เสย่ี งองคก์ รโดยรวม (Enterprise Risk Governance คคู่ า้ ทว่ั ทง้ั องคก์ ร Management: ERM) โดยนำ�แนวทาง (GRI 102-30) เจา้ ของ/ การปฏบิ ตั ทิ ด่ี มี าใชเ้ ปน็ กรอบแนวทาง ผอู้ อก ความพงึ พอใจ ในการบรหิ ารและจดั การความเสย่ี ง นโยบาย และความภกั ดี 4. ความพงึ พอใจและความภกั ดี ของลกู คา้ ของลกู คา้ Product and ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ ธนาคารพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร Services เจา้ ของ/ เพอ่ื ยกระดบั ความพงึ พอใจ ตอบสนอง (GRI 103) ผอู้ อก ความตอ้ งการ และความคาดหวงั ของ นโยบาย ลกู คา้ 5. นวตั กรรม และใหบ้ รกิ ารทาง Product and ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ นวตั กรรม และ การเงนิ แบบดจิ ทิ ลั Services ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ ใหบ้ รกิ ารทาง ธนาคารใหค้ วามสำ�คญั กบั การใช้ (GRI 103) ทกุ ธรุ กจิ คคู่ า้ การเงนิ แบบดจิ ทิ ลั นวตั กรรม เพอ่ื สนบั สนนุ การใหบ้ รกิ าร Customer การรกั ษา ทางการเงนิ แบบดจิ ทิ ลั Privacy ความปลอดภยั 6. การรกั ษาความปลอดภยั ของ (GRI 103, ของขอ้ มลู และ ขอ้ มลู และความเปน็ สว่ นตวั ของผใู้ ช้ GRI 418-1) ความเปน็ สว่ นตวั บรกิ าร Training and ของผใู้ ชบ้ รกิ าร ธนาคารใหค้ วามสำ�คญั กบั การรกั ษา Education การบรหิ ารและ ความปลอดภยั และความเปน็ สว่ นตวั (GRI 103, พฒั นาบคุ ลากร ของขอ้ มลู ลกู คา้ เปน็ หลกั การสำ�คญั GRI 404-1, ดว้ ยความเปน็ ในการใหบ้ รกิ าร GRI 404-2) ธรรม 7. การบรหิ ารและพฒั นาบคุ ลากร ดว้ ยความเปน็ ธรรม ธนาคารพฒั นาความรคู้ วามสามารถ ของบคุ ลากร เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพ ของพนกั งานในการใหบ้ รกิ าร โดยไมจ่ ำ�กดั เพศ อายุ และศาสนา GRI 102-46, GRI 102-47 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 27
ประเด็นความยง่ั ยืนที่ส�ำ คญั ประเดน็ ดา้ นความ ขอบข่าย ขอบขา่ ย หวั ขอ้ ทน่ี ำ�เสนอ การพฒั นา ยั่งยืนตามแนวทาง ภายใน ภายนอก ในรายงาน ทย่ี ั่งยืน 8. การสรา้ งความผกู พนั และ ธนาคาร ธนาคาร การมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี GRI Aspect การสรา้ ง เชน่ ผสู้ ง่ มอบ คคู่ า้ และชมุ ชน คคู่ า้ ความผกู พนั ธนาคารสรา้ งความผกู พนั และการ Supply Chain ทกุ ธรุ กจิ และการมี มสี ว่ นรว่ มกบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี (GRI 102-9) สว่ นรว่ มของ เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ ในการดำ�เนนิ ธรุ กจิ ผมู้ สี ว่ นได้ จะดำ�เนนิ การไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล สว่ นเสยี เชน่ และผลประโยชนร์ ว่ มกนั ผสู้ ง่ มอบ คคู่ า้ และชมุ ชน 9. การพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ างการเงนิ Product and ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ การพฒั นา ทร่ี บั ผดิ ชอบตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม และ Services ผลติ ภณั ฑ์ สง่ิ แวดลอ้ ม (GRI 103) ทางการเงนิ ท่ี ธนาคารพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ าง รบั ผดิ ชอบตอ่ การเงนิ โดยคำ�นงึ ถงึ การรบั ผดิ ชอบตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม เศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม และสง่ิ แวดลอ้ ม 10. การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ และ Energy, ทกุ ธรุ กจิ ชมุ ชน การใชท้ รพั ยากร รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม Water, และสงั คม อยา่ งคมุ้ คา่ ธนาคารบรหิ ารจดั การ Emissions, ดา้ นการใชพ้ ลงั งาน การจดั การนา้ํ Effluent and และรกั ษา และการใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ Waste สง่ิ แวดลอ้ ม 11. การสง่ เสรมิ และพฒั นา (GRI 302-1, ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนและสงั คม GRI 302-4, ทกุ ธรุ กจิ ชมุ ชน การสง่ เสรมิ ธนาคารดำ�เนนิ การเพอ่ื ชมุ ชน กจิ กรรม GRI 303-1, และสงั คม และพฒั นา จติ อาสา รวมถงึ กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ GRI 305-2, กระตนุ้ และสนบั สนนุ ความเขม้ แขง็ ให้ GRI 305-4, ความเขม้ แขง็ กบั ชมุ ชนสำ�คญั ของธนาคาร GRI 305-5) ของชมุ ชน Indirect และสงั คม Economic Impact (GRI 103, GRI 203-2) 28 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-46, GRI 102-47
ประเดน็ ความยัง่ ยืนทส่ี ำ�คญั ประเด็นดา้ นความ ขอบขา่ ย ขอบข่าย หัวขอ้ ทนี่ ำ�เสนอ การพัฒนา ยง่ั ยืนตามแนวทาง ภายใน ภายนอก ในรายงาน ทีย่ ่ังยนื 12. การใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ อยา่ ง ธนาคาร ธนาคาร เทา่ เทยี มและไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ GRI Aspect ธนาคารใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั และไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ Non-discrimination ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ การใหบ้ รกิ าร สำ�หรบั ลกู คา้ (GRI 406-1) ชมุ ชน ทางการเงนิ และสงั คม อยา่ งเทา่ เทยี ม และไมเ่ ลอื ก ปฏบิ ตั ิ 13. การเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการเงนิ และ Financial Literacy ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ การเขา้ ถงึ สง่ เสรมิ ความรทู้ างการเงนิ (GRI 103, Former ชมุ ชน บรกิ ารทาง ธนาคารสง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ บรกิ าร FS 16) และสงั คม การเงนิ และ ทางการเงนิ และสง่ เสรมิ ความรทู้ าง การเงนิ ใหก้ บั ประชาชน สง่ เสรมิ ความรู้ ทางการเงนิ 14. สขุ ภาพ ความปลอดภยั และ Occupational ทกุ ธรุ กจิ คคู่ า้ สขุ ภาพ ความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี องพนกั งาน Health and Safety ความปลอดภยั ธนาคารดแู ลสขุ ภาพ ความปลอดภยั (GRI 103, และความเปน็ อยู่ อาชวี อนามยั และความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี อง GRI 403-1, ทด่ี ขี องพนกั งาน พนกั งาน รวมถงึ จดั สถานทท่ี ำ�งานใหม้ ี GRI 403-2) ความเหมาะสม 15. วฒั นธรรมและคา่ นยิ มองคก์ ร Ethics ทกุ ธรุ กจิ ลกู คา้ วฒั นธรรมและ ธนาคารกระตนุ้ ใหพ้ นกั งานในองคก์ ร and Integrity เจา้ ของ/ คา่ นยิ มองคก์ ร ปฏบิ ตั ติ นตามคา่ นยิ ม เพอ่ื สรา้ งให้ (GRI 102-16) ผอู้ อก เกดิ เปน็ วฒั นธรรมองคก์ ร นโยบาย GRI 102-46, GRI 102-47 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 29
การมสี ว่ นร่วมของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นส่ิงท่ีธนาคารให้ความสำ�คัญ ซ่ึงธนาคารจะต้องพยายามทำ�ความเข้าใจ ความต้องการและความคาดหวังเพ่อื ป้องกันความเส่ยี งท่อี าจเกิดข้นึ ธนาคารแบ่งผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียออกเป็น 9 กล่มุ ได้แก่ 1) คณะกรรมการ 2) พนกั งาน 3) ลกู คา้ 4) ผพู้ ฒั นาโครงการ/คคู่ วามรว่ มมอื 5) ผสู้ ง่ มอบ/คคู่ า้ 6) สงั คม/ชมุ ชน 7) สอ่ื มวลชน 8) หนว่ ยงานกำ�กบั ดแู ล/ตรวจสอบ และ 9) เจา้ ของ/ผอู้ อกนโยบาย คณะกรรมการ พนกั งาน ลกู คา ผพู ฒั นาโครงการ/คคู วามรว มมอื ผสู ง มอบ/คคู า สงั คม/ชมุ ชน สอ่ื มวลชน หนว ยงานกำกบั ดแู ล/ตรวจสอบ เจา ของ/ผอู อกนโยบาย โดยสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มผา่ นหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และจดั ทำ�กระบวนการเพอ่ื ทราบถงึ ความคาดหวงั และความตอ้ งการ ประเดน็ สำ�คญั ทผ่ี มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใหค้ วามสำ�คญั ไดแ้ ก่ การประชมุ สมั มนา การสำ�รวจความคดิ เหน็ การสมั ภาษณ์ เพอ่ื นำ�ขอ้ มลู เหลา่ นม้ี ากำ�หนดแนวทางปฏบิ ตั เิ พอ่ื ลดผลกระทบเชงิ ลบ และสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหก้ บั ธนาคาร 30 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-40, GRI 102-42, GRI 102-43, GRI 102-44
สนบั สนนุ ใหค นไทยไดม บี า น อำนวยความสะดวกในการเขา ถงึ บรก� ารทางการเงน� การพฒั นาวน� ยั การออม ใสใ จเรอ่� งการประหยดั พลงั งาน และเตรย� มความพรอ มเพอ่� การมบี า น ดแู ลพนกั งานอยา งเทา เทยี ม GHBank GHBank การใหค วามรทู างการเงน� แกช มุ ชน เพม� ชอ งทางประชาสมั พนั ธใหม ากขน้� ชว ยพฒั นาชมุ ชนทห่ี า งไกล สนบั สนนุ โครงการอนรุ กั ษธ รรมชาติ รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 31
ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย การสือ่ สารและช่องทาง 1. คณะกรรมการ • จดั ประชมุ คณะกรรมการธนาคารตามปฏิทินการประชุมทก่ี �ำ หนดไว้ล่วงหน้า 2. พนักงาน • รายงานผลการดำ�เนินงานสำ�คญั ของธนาคารเพอื่ ให้คณะกรรมการธนาคารติดตาม อย่างสมํ่าเสมอ • การพฒั นาความรู้ความสามารถของคณะกรรมการตาม Skill Matrix เชน่ การจัดอบรม สมั มนา การเยยี่ มชมดกู จิ การ • การสอ่ื สารนโยบายและข่าวสารต่าง ๆ ใหก้ ับพนกั งาน • การประชมุ เพอื่ รับฟงั ความคดิ เห็นจากพนกั งาน • การสำ�รวจความพงึ พอใจและผกู พันของพนกั งาน • การประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างท่ดี ีให้กับพนักงาน • การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ความผูกพนั ของพนักงานกบั องคก์ ร 3. ลูกค้า • การสรา้ งความสัมพันธแ์ ละความผกู พันกับลกู คา้ • การประชาสัมพันธ์ข้อมลู ข่าวสารผ่านช่องทางตา่ ง ๆ เก่ียวกับผลิตภณั ฑ์ บรกิ าร ที่ถกู ตอ้ ง ชัดเจน • การส�ำ รวจความพึงพอใจของลูกคา้ • การก�ำ หนดช่องทางรบั เรื่องรอ้ งเรยี น การแสดงความคดิ เห็น และขอ้ เสนอแนะของลูกคา้ • การจัดกจิ กรรมเพ่ือเสรมิ สร้างความผูกพนั กับลูกคา้ 4. ผู้พัฒนาโครงการ • การจัดประชุมให้กบั ผพู้ ฒั นาโครงการ/คูค่ วามรว่ มมอื เพอ่ื แลกเปล่ยี นความคิดเห็น /คู่ความร่วมมือ และช้แี จงข้อมลู ขา่ วสารเป็นประจ�ำ ทุกปี • การรบั ฟังข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะเพ่อื น�ำ มาปรับปรุง 5. ผู้ส่งมอบ/คู่ค้า • การจดั กจิ กรรมเพือ่ เสริมสร้างความสัมพนั ธอ์ ย่างสมาํ่ เสมอ • การจัดประชุมให้กบั ผ้สู ่งมอบเพ่ือแลกเปล่ยี นความคิดเห็นและช้ีแจงขอ้ มูลข่าวสาร เปน็ ประจ�ำ ทุกปี • การรับฟงั ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะเพื่อนำ�มาปรบั ปรงุ • การจัดกจิ กรรมเพือ่ เสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธอ์ ยา่ งสม่ําเสมอ 32 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-40, GRI 102-42, GRI 102-43, GRI 102-44
ความต้องการและความคาดหวัง การตอบสนอง • ด�ำ เนนิ งานตามหลกั ธรรมาภบิ าลและแนวทาง • การรายงานขอ้ มูลท่เี ปน็ ข้อเทจ็ จรงิ อย่างครบถ้วนและทนั เวลา การกำ�กับดูแลกิจการท่ีดี • ปฏบิ ัติตามนโยบายตา่ ง ๆ และผลักดันใหธ้ นาคารบรรลุ • ผลส�ำ เรจ็ ตามเป้าหมายด้านการเงนิ และด้าน เป้าหมายที่กำ�หนดไว้ ท่มี ิใช่การเงนิ เป็นไปตามเปา้ หมาย • การจดั คา่ ตอบแทน สวัสดกิ ารอยา่ งเหมาะสม • กำ�หนดนโยบายและแนวทางการบริหารทรพั ยากรบคุ คล และเปน็ ธรรม ทเ่ี ป็นธรรม • การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านตามผลงาน • กำ�หนดแนวทางการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานทเี่ ช่อื มโยงกับ • การพัฒนาทกั ษะ ความรู้ และความสามารถของ ค่าตอบแทนอยา่ งชัดเจนและแจง้ ให้พนักงานได้รบั ทราบ พนักงานให้สอดคลอ้ งกับความต้องการและ • การกำ�หนดนโยบายและแนวทางการพฒั นาทรพั ยากรบคุ คลที่ ความกา้ วหน้าตามสายอาชพี สอดคลอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ในหน้าที่การงาน • จดั สิ่งอ�ำ นวยความสะดวกในการทำ�งาน • การปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมและสิ่งอำ�นวยความสะดวกใน • การสร้างความปลอดภยั และดูแลอาชีวอนามัย การปฏบิ ตั งิ านให้เปน็ ไปตามหลกั อาชวี อนามัยและความปลอดภัย ในการท�ำ งาน • ส่อื สารประชาสัมพันธข์ ้อมลู ข่าวสารผ่านช่องทางตา่ ง ๆ ใหก้ บั • ผลติ ภณั ฑ์และบรกิ ารท่มี ีความหลากหลาย พนกั งานไดร้ บั ทราบ ตรงตามความตอ้ งการของลูกคา้ • การฝึกอบรมและให้ความรกู้ ับพนกั งานเพ่อื เตรียมความพรอ้ ม • เทคโนโลยีและสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวก และยกระดบั การใหบ้ รกิ ารกับลูกคา้ ในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการเงนิ • การพฒั นานวัตกรรมเพอื่ ส่งมอบผลิตภณั ฑ์และบรกิ ารใหต้ รงกับ • การรักษาความลับและความเป็นส่วนตัวของลูกค้า ความต้องการของลูกคา้ • การบรกิ ารทรี่ วดเร็วทต่ี อบสนองความต้องการ • จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือปอ้ งกันและรกั ษาความปลอดภัย ของลกู ค้า ขอ้ มูลของลกู ค้าที่เปน็ มาตรฐานและดำ�เนินการอย่างเคร่งครดั • การให้ความรูแ้ ละค�ำ แนะนำ�ทางการเงินทีถ่ กู ตอ้ ง • การน�ำ ผลส�ำ รวจความพึงพอใจ ขอ้ มลู ข่าวสารของลูกค้า ชดั เจน จากช่องทางต่าง ๆ เชน่ เรอื่ งร้องเรยี น การแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของลกู คา้ มาเป็นสว่ นหนึง่ ในการปรับปรุง • ดำ�เนนิ การโดยคำ�นงึ ถงึ ผลประโยชนร์ ว่ มกนั การใหบ้ ริการ ของทุกฝา่ ย • การใหข้ ้อมลู ข่าวสารทีช่ ัดเจนและถูกต้องเกยี่ วกับผลติ ภณั ฑ์ • ด�ำ เนินการธุรกรรมรว่ มกันอยา่ งเปน็ ธรรม และ ทางการเงนิ ไม่เอารัดเอาเปรยี บกนั ภายใต้หลักธรรมาภิบาล • ด�ำ เนินการตามหลกั จริยธรรมและจรรยาบรรณ • รว่ มกนั แก้ไขปญั หาท่เี กิดขี้นอยา่ งทนั ทว่ งที โดยคำ�นงึ ถึง ผลประโยชน์ของลกู ค้าของธนาคารเปน็ ส�ำ คญั • ดำ�เนินการโดยค�ำ นงึ ถึงผลประโยชนร์ ว่ มกนั • ดำ�เนินการตามข้ันตอนการจดั ซอื้ จดั จา้ งทีเ่ ปน็ ธรรมและ ของทุกฝ่าย ไมเ่ ลือกปฏิบตั กิ บั ผสู้ ่งมอบหรอื คคู่ ้าเปน็ การเฉพาะเจาะจง • ดำ�เนินธรุ กรรมร่วมกันอยา่ งเป็นธรรม และ • ด�ำ เนนิ การตามหลกั จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ ไมเ่ อารดั เอาเปรียบกนั ภายใตห้ ลกั ธรรมาภบิ าล • ปฏบิ ัติตามข้อตกลงหรอื สัญญาอยา่ งถูกตอ้ งและครบถ้วน GRI 102-40, GRI 102-42, GRI 102-43, GRI 102-44 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 33
ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย การสื่อสารและชอ่ งทาง 6. สังคม/ชุมชน • การเยยี่ มเยยี นและส�ำ รวจความตอ้ งการและความคาดหวังของชมุ ชนทีธ่ นาคารเข้าไป ร่วมท�ำ กจิ กรรม • การจัดกจิ กรรมชมุ ชนสัมพนั ธ์ โดยพนักงานของธนาคารเขา้ มามีส่วนรว่ ม 7. สื่อมวลชน • การจัดประชมุ ใหก้ ับสื่อมวลชนเพอื่ แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและช้ีแจงข้อมูลข่าวสาร เปน็ ประจำ�ทกุ ปี • การรบั ฟังขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเพื่อน�ำ มาปรับปรุง • การจดั กจิ กรรมเพื่อเสรมิ สรา้ งความสัมพันธ์อยา่ งสม่ําเสมอ 8. หน่วยงานกำ�กับดูแล • ประชุมรับฟงั ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพอื่ น�ำ มาเป็นนโยบายและแนวทาง /ตรวจสอบ ในการปฏิบตั ิงาน • รับการตรวจสอบจากหน่วยงานก�ำ กบั ดูแล 9. เจ้าของ/ผู้ออกนโยบาย • ประชุมรับฟงั ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพือ่ นำ�มาเปน็ นโยบายและแนวทาง ในการปฏิบตั ิงาน • รบั การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านจากหนว่ ยงานเจา้ ของ/ผู้ออกนโยบาย 34 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-40, GRI 102-42, GRI 102-43, GRI 102-44
ความตอ้ งการและความคาดหวงั การตอบสนอง • สนับสนุนกิจกรรมเพ่ือสงั คม • การชว่ ยเหลอื ชุมชนท่ปี ระสบปญั หาผา่ นโครงการดา้ น CSR • การให้ความรทู้ างการเงนิ และบริการทางการเงนิ เชน่ โครงการสร้าง/ซ่อมที่อย่อู าศยั เพื่อผ้ดู อ้ ยโอกาสผยู้ ากไร้ เพอ่ื สร้างโอกาสการเขา้ ถึงใหเ้ พมิ่ มากขึ้น /ผูส้ ูงอายุและผพู้ กิ าร เปน็ ต้น • การสง่ เสรมิ และสนบั สนุนชมุ ชนส�ำ คัญ • การให้บรกิ ารทางการเงนิ อยา่ งท่ัวถงึ ผ่านการเยี่ยมเยียนชุมชน ท่สี อดคล้องกบั ความสามารถพเิ ศษ • การแนะนำ�ช่องทางการใหบ้ ริการทางอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ พอ่ื สร้าง (Core Competency) ของธนาคาร โอกาสการเข้าถึงของชุมชนท่อี ยหู่ า่ งไกลจากสาขาของธนาคาร • การเพ่มิ ช่องทางประชาสมั พนั ธ์ใหเ้ พ่มิ มากข้ึน • การให้ข้อมูลที่ถูกตอ้ ง น่าเชอ่ื ถอื และทนั กาล โดยเฉพาะช่องทาง Online • เพิม่ ชอ่ งทางการประชาสมั พนั ธ์ โดยเฉพาะชอ่ งทาง Online • อ�ำ นวยความสะดวกในการเข้าถงึ ขอ้ มูลขา่ วสาร เช่น Application Line เป็นตน้ ทถ่ี กู ตอ้ ง รวดเรว็ • ดำ�เนนิ การโดยคำ�นึงถงึ ผลประโยชน์ร่วมกนั ของ ทกุ ฝ่าย • ปรับปรงุ และพฒั นาการดำ�เนินงานตามขอ้ คิดเหน็ • ปฏบิ ตั ติ ามข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอย่างเคร่งครดั และขอ้ เสนอแนะอย่างครบถ้วนและรวดเรว็ และน�ำ มาปรับปรงุ กระบวนการท�ำ งานให้ดีย่ิงข้นึ • สื่อสารให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งได้รับทราบเพอื่ ให้ปฏิบตั ิ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั • ปรบั ปรงุ และพัฒนาการด�ำ เนินงานตามข้อคิดเหน็ • ปฏบิ ัติตามขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะอยา่ งเคร่งครดั และขอ้ เสนอแนะอย่างครบถว้ นและรวดเรว็ และน�ำ มาปรับปรุงกระบวนการทำ�งานให้ดยี ิง่ ขึ้น • สือ่ สารใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งไดร้ ับทราบเพ่ือใหป้ ฏบิ ตั ิ ไปในทศิ ทางเดียวกนั GRI 102-40, GRI 102-42, GRI 102-43, GRI 102-44 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 35
การเปน็ สมาชิกขององค์กร ธนาคารได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์กรท่จี ัดต้งั ข้นึ เพ่อื ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และส่งิ แวดล้อม โดยร่วมรับ แนวนโยบายมาปฏบิ ตั ิใชภ้ ายในองคก์ ร ทง้ั นก้ี ารเขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ และรว่ มเปน็ ภาคเี ครอื ขา่ ยระหวา่ งภายนอก เปน็ สง่ิ ทส่ี ำ�คญั เพอ่ื ชว่ ยผลกั ดนั และสง่ เสรมิ ใหก้ ารดำ�เนนิ ธรุ กจิ ของธนาคารมคี วามเขม้ แขง็ และยง่ั ยนื สมาคมธนาคารไทย หน่วยงาน สมาคมสง่ เสรมิ สถาบนั กรรมการบรษิ ทั ไทย (IOD) องคก์ รตอ่ ตา้ นคอรปั ชน่ั (ประเทศไทย) ชมรมกำ�กบั การปฏบิ ตั งิ านสถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สมาคมสถาบนั การเงนิ ของรฐั สมาคมผตู้ รวจสอบภายใน ชมรมผตู้ รวจสอบภายในธนาคารและสถาบนั การเงนิ การเปลย่ี นแปลงท่ีสำ�คัญของธนาคาร ในปี 2562 1. ด้านสินเช่ือ: ธนาคารแก้ไข พระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีการกำ�หนดอัตราดอกเบ้ียพิเศษ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 และประกาศใน เพ่ือสนับสนุนประชาชนที่มีศักยภาพและมีความต้องการ ราชกจิ จานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2562 ใหผ้ ู้สงู อายุ ปลูกสร้างที่อยู่อาศัยบนท่ีดินของตนเองหรือต่อเติม หรือ ส า ม า ร ถ นำ� ที่ ดิ น ห รื อ อ า ค า ร ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ข อ ขยาย หรือซ่อมแซมอาคารประกอบกับเป็นสินเช่ือที่มี สินเชื่อจากธนาคารผ่าน สินเชื่อท่ีอยู่อาศัยสำ�หรับผู้สูงอายุ ความเสี่ยงต่ํา %NPL น้อยกว่าการกู้เพ่ือซื้อที่อยู่อาศัย (Reverse Mortgage: RM) เมอ่ื วันท่ี 15 พฤษภาคม 2562 เน่ืองจากเป็นความต้องการที่อยู่อาศัยที่แท้จริงและช่วย มีการนำ�เทคโนโลยีมาช่วยในการปรับปรุงกระบวนการ ตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ ไดด้ ยี งิ่ ขนึ้ ตลอดจนบรรลุ ทำ�งานให้มีความรวดเร็ว ลดความยุ่งยาก และลดต้นทุน พันธกิจในการทำ�ใหค้ นไทยมี \"บา้ น\" มีการพัฒนาระบบ GHB System (Core Banking System) และระบบ Back Office เพ่ือรองรับการ เปล่ียนแปลงการขยายตัวของธุรกิจ รวมทั้งเพ่ิมศักยภาพ ในการแข่งขัน นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดทำ� “โครงการ วิเคราะห์ฐานขอ้ มูลสนิ เชอ่ื เชิงลกึ เพอ่ื ขยายฐานลกู ค้า” เพอ่ื 1) วิเคราะห์ความตอ้ งการบา้ นในแต่ละลกั ษณะพ้นื ทีต่ ่าง ๆ ในประเทศ (Housing Demand Analysis) และ 2) การทำ�นาย เวลาของการ Refinance ของลูกคา้ (Time-to-Refinance Prediction) ท้ังน้ี ในส่วนของการวิเคราะห์ตอบโจทย์ ความตอ้ งการของบา้ นแตล่ ะลกั ษณะพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ ในประเทศ Housing Demand Analysis พบว่ายังมีความต้องการ ปลกู สรา้ งทอี่ ยอู่ าศยั เปน็ ของตนเองอยจู่ ำ�นวนมาก โดยเฉพาะ พ้ืนท่ีต่างจังหวัดที่ยังมีการกระจุกตัวของสินเช่ือบ้าน ไมม่ ากนกั ธนาคารจงึ ไดจ้ ดั ทำ�ผลติ ภณั ฑส์ นิ เชอื่ กลมุ่ สนิ เชอื่ Social Solution “โครงการบ้าน ธอส.” เพ่ือปลูกสร้าง 36 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-10, GRI 102-13
2. ด้านเงินฝาก: เงินฝากออมทรัพย์ New Flexi 4) บริการค้นหาและจองทรัพย์ NPA เป็นบริการ เป็นเงนิ ฝากออมทรัพย์ที่ได้รบั อตั ราดอกเบ้ยี สงู ไม่เสยี ภาษี ท่ีช่วยอำ�นวยความสะดวกให้ลูกค้าสามารถ ดอกเบย้ี เงนิ ฝาก ฝากถอนไมจ่ ำ�กดั จำ�นวนครง้ั หากเดอื นใด คน้ หาทรัพย์ จองทรพั ย์ และแสดงรายละเอยี ด ไม่มีการถอนบวกเพ่ิมพิเศษอีก 0.25% และสามารถทำ� บา้ นมอื สอง หรอื ทรพั ยส์ นิ ทอี่ ยู่ในโปรโมชน่ั ของ ธุรกรรมผ่าน GHB ALL ได้ เงินฝากประจ�ำ 14 เดอื น ไดร้ บั ธนาคาร ได้สะดวกรวดเร็ว โดยสามารถค้นหา อัตราดอกเบี้ยสูง และได้รับดอกเบี้ยเงินฝากทันที ณ วันที่ จากรหสั ทรพั ยส์ นิ แลว้ แสดงรายละเอยี ดขอ้ มลู เปิดบัญชี พร้อมทั้งมีสิทธิเข้าร่วมโครงการ GHB Wealth ทรพั ยน์ น้ั ๆ เชน่ รปู ภาพทรพั ยส์ นิ ราคา เนอ้ื ที่ เพื่อรบั สิทธพิ เิ ศษ และสลากออมทรัพย์ ธอส. รนุ่ ท่ี 1 ชุด ใช้สอย ข้อมูลติดต่อ และยังสามารถค้นหา วิมานเมฆ หน่วยละ 1 ล้านบาท (ระดับพรีเมี่ยม) และ เส้นทางในเมนู “นำ�ทาง” เพ่ือไปดูทรัพย์สิน รุ่นท่ี 2 ชุดพราวพิมาน หน่วยละ 10 ล้านบาท (ซุปเปอร์ ท่ีลูกค้าสนใจได้อย่างง่ายดายเพียงปลายนิ้ว พรเี มย่ี ม) ท่ีไดร้ บั ผลตอบแทนและโอกาสในการถกู รางวลั สงู ดว้ ย Smart NPA 5) บริการคำ�นวณวงเงินสินเชื่อและแสดงความ 3. ดา้ นบริการอ่นื ๆ: จำ�นงย่ืนกู้ เป็นบริการท่ีอำ�นวยความสะดวก GHB ALL เป็น Application ท่ีให้บริการ ให้แก่ลูกค้าผู้สนใจขอสินเช่ือกับทางธนาคาร ด้านสินเชื่อและบริการทางการเงินผ่าน Smart โดยลูกค้าสามารถคำ�นวณวงเงินสินเชื่อและ Phone อำ�นวยความสะดวกใหแ้ กล่ กู คา้ ทำ�ธรุ กรรม แสดงความจำ�นงยน่ื กผู้ า่ นทาง Mobile Banking ทางการเงิน และบริการด้านสินเชื่อบ้านแบบ Application (GHB ALL) ถือเป็นการยกระดับ “ครบจบใน App เดียว” ธนาคารได้พัฒนาและ การให้บริการกับกลุ่มลูกค้าสินเชื่อ ซ่ึงเป็น เพิ่มฟังกช์ ่ันการให้บริการทีส่ ำ�คัญดังนี้ ลกู ค้าหลักของธนาคาร 1) บรกิ ารใบเสรจ็ เงนิ กอู้ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ บรกิ ารที่ 6) บรกิ าร GHB Reward เป็นบรกิ ารสะสมคะแนน อำ�นวยความสะดวกแก่ลูกค้าสินเชื่อผู้ชำ�ระ จากการชำ�ระหนเ้ี งนิ กู้ ธอส. ผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ หนี้เงินกู้ผ่านระบบ GHB ALL ให้สามารถ สามารถตรวจสอบและนำ�คะแนนสะสมไปแลก ดาวน์โหลดใบเสร็จอิเล็กทรอนิกส์ด้วยตนเอง ของรางวัลได้ทันที ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ และสามารถเรียกดู เคร่ืองชำ�ระเงินกู้ LRM (Loan Repayment Statement เงินฝากได้ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งบริการ Machine) เปน็ ชอ่ งทางบรกิ ารชำ�ระเงนิ กดู้ ว้ ยตนเอง เสริมท่ีช่วยเพิ่มความสะดวกรวดเร็ว ลดการใช้ ผา่ นอปุ กรณ์ Self Service ทลี่ กู คา้ สามารถใชบ้ รกิ าร กระดาษ และช่วยรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม นอกเวลาทำ�การไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ ปลอดภัย 2) จองคิวผ่าน Smart Queue สำ�หรับจอง และสามารถชำ�ระเงินกู้พร้อมกันได้หลายบัญชีได้ ทำ�ธุรกรรมทีส่ าขา คราวเดียวกัน ซ่ึงเป็นบริการที่ได้รับการตอบรับ 3) บริการเตือนเพื่อจ่าย เป็นบริการแจ้งเตือน จากลูกคา้ เปน็ อยา่ งดี การชำ�ระคา่ งวดและคา่ สาธารณปู โภค เปน็ บรกิ าร ท่ีเปรียบเสมือนสมุดบันทึกลูกหนี้รายย่อย ระหวา่ งบคุ คล ทด่ี ำ�เนนิ การเรยี กเกบ็ และชำ�ระหน้ี ผา่ นชอ่ งทาง Mobile Banking Application โดย ลูกค้าผู้ใช้งาน Mobile Banking Application (GHB ALL) และมีบัญชีพร้อมเพย์กับธนาคาร สามารถเปิดใช้งานบริการดังกล่าวด้วยตนเอง และสามารถดำ�เนินการเรียกเก็บเงินไปยัง หมายเลขพร้อมเพย์ปลายทาง พร้อมท้ัง ตรวจสอบสถานะของการชำ�ระผ่านช่องทาง GHB ALL GRI 102-10 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 37
38 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
มิติดา้ นเศรษฐกจิ ECONOMY การสร้างผลประกอบการที่ยง่ั ยนื ความมัน่ คงทางการเงิน การบรหิ ารความเส่ยี งท่ัวทง้ั องค์กร นวตั กรรม และให้บริการทางการเงินแบบดจิ ิทัล การเขา้ ถึงบริการทางการเงนิ และส่งเสริมความรู้ทางการเงนิ รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 39
ความมน่ั คงทางการเงนิ ธนาคารอาคารสงเคราะหเ์ ปน็ สถาบนั การเงนิ ของรฐั ทม่ี กี ระทรวงการคลงั เปน็ ผถู้ อื หนุ้ ใหญ่ ธนาคารจงึ มบี ทบาทสำ�คญั ตอ่ การ สนบั สนนุ นโยบายและโครงการภาครฐั และพฒั นาระบบเศรษฐกจิ ไทย สรา้ งงานในประเทศ เชน่ นโยบายบา้ นลา้ นหลงั โครงการ บา้ นธนารกั ษป์ ระชารฐั มาตรการสนิ เชอ่ื เพอ่ื ทอ่ี ยอู่ าศยั ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ เปน็ ตน้ ขณะเดยี วกนั ธนาคารตอ้ งดำ�เนนิ ธรุ กจิ เพอ่ื ผลประกอบการทด่ี ี เพอ่ื ผลประโยชนส์ งู สดุ ใหก้ บั กระทรวงการคลงั ในฐานะทเ่ี ปน็ ผถู้ อื หนุ้ และคำ�นงึ ถงึ ความตอ้ งการ และความคาดหวงั ของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตามวสิ ยั ทศั น์ “ธนาคารทด่ี ที ส่ี ดุ สำ�หรบั การมบี า้ น” ครอบคลมุ มติ ิ เศรษฐกจิ สงั คม และ สง่ิ แวดลอ้ ม ข้อมลู ทางการเงนิ ทีส่ �ำ คญั รายการ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2558 ฐานะการเงนิ (ลา้ นบาท) 1,244,640 1,163,882 1,062,458 977,971 900,223 สนิ ทรพั ยร์ วม 62,719 67,424 31,490 40,421 39,381 รายการระหวา่ งธนาคารและตลาดการเงนิ สทุ ธิ 27,184 31,143 50,461 41,930 28,348 เงนิ ลงทนุ สทุ ธิ 936,900 862,832 เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื 1,209,264 1,115,893 1,023,446 60,014 48,373 คา่ เผอ่ื หนส้ี งสยั จะสญู 86,759 79,355 68,445 910,381 838,226 หนส้ี นิ รวม 987,852 780,787 726,481 เงนิ รบั ฝาก 1,154,817 1,082,006 858,074 67,590 61,997 สว่ นของเจา้ ของ 993,769 943,382 74,606 43,183 89,823 81,876 21,718 ผลประกอบการ (ลา้ นบาท) 21,465 รายไดด้ อกเบย้ี 52,828 52,341 49,364 46,679 1,833 คา่ ใชจ้ า่ ยดอกเบย้ี 23,080 21,344 19,656 19,605 5,685 รายไดด้ อกเบย้ี สทุ ธิ 29,748 30,997 29,708 27,074 8,913 รายไดท้ ไ่ี ม่ใชด่ อกเบย้ี 2,163 1,798 2,423 2,193 23,298 คา่ ใชจ้ า่ ยจากการดำ�เนนิ งานอน่ื 9,466 8,282 7,638 6,953 14,598 หนส้ี ญู และหนส้ี งสยั จะสญู 9,093 11,902 12,681 12,496 8,700 รวมรายไดส้ ทุ ธิ 31,911 32,795 32,131 29,267 12,324 รวมคา่ ใชจ้ า่ ย 18,559 20,184 20,319 19,449 (211) กำ�ไรสทุ ธิ 13,352 12,611 11,812 9,818 (3,968) กระแสเงนิ สด (ลา้ นบาท) (9,416) 31,919 (14,167) (17,944) กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมดำ�เนนิ งาน (5,447) (891) (935) 3,889 กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมลงทนุ 10,999 5,145 7,233 14,946 กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมจดั หาเงนิ 40 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-45, GRI 103-3, GRI 201-1
รายการ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2558 อตั ราสว่ นทส่ี �ำ คญั ทางการเงนิ (รอ้ ยละ) 121.68 118.29 119.27 119.99 118.77 เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตอ่ เงนิ รบั ฝาก (Loan to Deposit) 27.84 24.42 23.77 21.81 24.09 คา่ ใชจ้ า่ ยจากการดำ�เนนิ งานอน่ื ตอ่ รายได้ 2.47 2.78 2.91 2.88 2.49 จากการดำ�เนนิ งานสทุ ธิ (Cost to Income Ratio)* 1.11 1.13 1.16 1.05 1.01 อตั ราสว่ นรายไดด้ อกเบย้ี สทุ ธติ อ่ สนิ ทรพั ยเ์ ฉลย่ี 15.55 16.12 16.61 15.15 14.49 (NIM) 4.09 4.17 4.21 5.06 5.45 ผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรพั ยเ์ ฉลย่ี (ROA) 175.22 170.67 158.79 126.70 102.81 ผลตอบแทนตอ่ สว่ นของเจา้ ของเฉลย่ี (ROE) 14.91 15.27 14.58 14.74 14.11 อตั ราหนค้ี า้ งชำ�ระตอ่ เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื (NPL/Loan) อัตราส่วนค่าเผื่อหน้ีสงสยั จะสูญต่อสินเชือ่ ดอ้ ยคณุ ภาพ (Provision to NPL) อตั ราเงนิ กองทนุ ตอ่ สนิ ทรพั ยเ์ สย่ี ง (BIS Ratio) หมายเหต:ุ * ไมน่ บั รวมรายการขาดทนุ จากการดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ย์ ผลการดำ�เนินงาน ในปี 2562 ธนาคารมกี ำ�ไรสทุ ธิ 13,352 ลา้ นบาท เพม่ิ ขน้ึ จากปกี อ่ น 741 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.88 โดยรายได้ ท่ไี ม่ใชด่ อกเบย้ี เพม่ิ ขน้ึ 365 ลา้ นบาท หรอื เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 20.30 สว่ นใหญเ่ กดิ จากกำ�ไรจากการขายทรพั ยส์ นิ รอการขายเพม่ิ ขน้ึ 168 ลา้ นบาท หรอื เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 52.60 นอกจากน้ี ธนาคารยงั มรี ายไดค้ า่ ธรรมเนยี มและบรกิ ารสทุ ธเิ พม่ิ ขน้ึ 144 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 12.59 ซง่ึ เปน็ ไปตามสนิ เชอ่ื ปลอ่ ยใหมท่ ธ่ี นาคารปลอ่ ยไดม้ ากขน้ึ เมอ่ื เทยี บกบั ปกี อ่ น ในขณะทร่ี ายไดด้ อกเบย้ี สทุ ธลิ ดลง สำ�หรบั คา่ ใชจ้ า่ ยจากการดำ�เนนิ งานอน่ื เพม่ิ ขน้ึ 1,184 ลา้ นบาท หรอื เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 14.30 จากคา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั พนกั งานทเ่ี พม่ิ ขน้ึ จากการต้งั สำ�รองผลประโยชน์พนักงานตามกฎหมายแรงงานใหม่ และการปรับเพ่มิ เงินเดือนประจำ�ปี และมีรายการขาดทุน จากการดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ยเ์ พม่ิ ขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม ธนาคารมกี ารตง้ั สำ�รองหนส้ี ญู และหนส้ี งสยั จะสญู ลดลง ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั คณุ ภาพสนิ ทรพั ยข์ องธนาคาร หน่วย: ลา้ นบาท รายการ ปี 2562 ปี 2561 การเปลีย่ นแปลง เพ่มิ /(ลด) (%YOY) รายไดด้ อกเบย้ี สทุ ธิ 29,748 30,997 (1,249) (4.03%) รายไดท้ ไ่ี ม่ใชด่ อกเบย้ี 2,163 1,798 365 20.30% รวมรายไดจ้ ากการดำ�เนนิ งานสทุ ธิ 31,911 32,795 (884) (2.70%) คา่ ใชจ้ า่ ยจากการดำ�เนนิ งานอน่ื 9,466 8,282 1,184 14.30% ก�ำ ไรจากการด�ำ เนนิ งาน 22,445 24,513 (8.44%) หนส้ี ญู และหนส้ี งสยั จะสญู 9,093 11,902 (2,068) (23.60%) ก�ำ ไรสทุ ธิ 13,352 12,611 (2,809) 5.88% ผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรพั ยเ์ ฉลย่ี (ROA) 1.11% 1.13% ผลตอบแทนตอ่ สว่ นของเจา้ ของเฉลย่ี (ROE) 15.55% 16.12% 741 (0.02%) (0.57%) GRI 102-45, GRI 103-3, GRI 201-1 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 41
รายไดด้ อกเบี้ยสุทธิ ธนาคารมีรายได้ดอกเบ้ยี สุทธิในปี 2562 จำ�นวน 29,748 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 1,249 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 4.03 จากการท่ธี นาคารมีรายได้ดอกเบ้ยี เพ่มิ ข้นึ 487 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากรายได้ดอกเบ้ยี รับจากเงินให้สินเช่อื ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ตามการเตบิ โตของปรมิ าณเงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื และรายไดด้ อกเบย้ี จากรายการระหวา่ งธนาคารและตลาดเงนิ ขณะทค่ี า่ ใชจ้ า่ ย ดอกเบย้ี เพม่ิ ขน้ึ 1,736 ลา้ นบาท หรอื เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 8.13 ตามการขยายตวั ของเงนิ รบั ฝากและเงนิ กยู้ มื สำ�หรบั อตั ราสว่ นรายได้ ดอกเบย้ี สทุ ธติ อ่ สนิ ทรพั ยเ์ ฉลย่ี (NIM) อยทู่ ่ี รอ้ ยละ 2.47 ลดลงจากปกี อ่ นทเ่ี ทา่ กบั รอ้ ยละ 2.78 หน่วย: ลา้ นบาท รายการ ปี 2562 ปี 2561 การเปลี่ยนแปลง เพม่ิ /(ลด) (%YOY) รายไดด้ อกเบย้ี 938 761 177 23.26% รายการระหวา่ งธนาคารและตลาดเงนิ 704 720 (16) (2.22%) เงนิ ลงทนุ 51,186 50,860 326 0.64% เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื 52,828 52,341 487 0.93% รวมรายไดด้ อกเบย้ี 23,080 21,344 1,736 8.13% คา่ ใชจ้ า่ ยดอกเบย้ี 29,748 30,997 (1,249) (4.03%) รายไดด้ อกเบย้ี สทุ ธิ 4.21% 4.51% (0.30%) อตั ราผลตอบแทนจากสนิ ทรพั ยท์ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ รายได้ 2.09% 2.09% 0.00% (Yield) 2.47% 2.78% (0.31%) ตน้ ทนุ ทางการเงนิ (Cost of Funds) อตั ราสว่ นรายไดด้ อกเบย้ี สทุ ธติ อ่ สนิ ทรพั ยเ์ ฉลย่ี (NIM) รายได้ที่ไม่ใชด่ อกเบยี้ ธนาคารมีรายได้ท่ีไม่ใช่ดอกเบ้ยี ในปี 2562 จำ�นวน 2,163 ล้านบาท เพ่มิ ข้นึ จากปีก่อน 365 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 20.30 ส่วนใหญ่เกิดจากกำ�ไรจากการขายทรัพย์สินรอการขายท่ีเพ่ิมข้ึนจากการท่ีธนาคารมีการส่งเสริมการตลาด อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และรายไดค้ า่ ธรรมเนยี มและบรกิ ารสทุ ธทิ เ่ี พม่ิ ขน้ึ ตามการเตบิ โตของสนิ เชอ่ื หนว่ ย: ล้านบาท รายการ ปี 2562 ปี 2561 การเปลยี่ นแปลง เพ่ิม/(ลด) (%YOY) รายไดท้ ่ไี ม่ใชด่ อกเบย้ี 1,319 1,164 155 13.32% รายไดค้ า่ ธรรมเนยี มและบรกิ าร 35 25 10 40.00% คา่ ใชจ้ า่ ยคา่ ธรรมเนยี มและบรกิ าร 145 12.73% รายไดค้ า่ ธรรมเนยี มและบรกิ ารสทุ ธิ 1,284 1,139 168 52.50% กำ�ไรจากการขายทรพั ยส์ นิ รอการขาย 488 320 52 15.34% รายไดจ้ ากการดำ�เนนิ งานอน่ื ๆ 391 339 365 20.30% รวมรายไดท้ ไ่ี มใ่ ชด่ อกเบย้ี 2,163 1,798 42 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-45, GRI 103-3, GRI 201-1
คา่ ใชจ้ ่ายจากการดำ�เนนิ งานอื่น ธนาคารมคี า่ ใชจ้ า่ ยจากการดำ�เนนิ งานอน่ื ในปี 2562 จำ�นวน 9,466 ลา้ นบาท เพม่ิ ขน้ึ จากปกี อ่ น 1,184 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.30 สว่ นใหญม่ าจากคา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั พนกั งานทเ่ี พม่ิ ขน้ึ จากการตง้ั สำ�รองผลประโยชนพ์ นกั งานตามกฎหมาย แรงงานใหม่ และการปรบั เพม่ิ เงนิ เดอื นประจำ�ปี และมรี ายการขาดทนุ จากการดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ยเ์ พม่ิ ขน้ึ สง่ ผลใหอ้ ตั ราสว่ น คา่ ใชจ้ า่ ยจากการดำ�เนนิ งานอน่ื ตอ่ รายไดจ้ ากการดำ�เนนิ งานสทุ ธิ (Cost to Income)* ปี 2562 เทา่ กบั รอ้ ยละ 27.84 เพม่ิ ขน้ึ จากปกี อ่ น รอ้ ยละ 3.42 หนว่ ย: ล้านบาท รายการ ปี 2562 ปี 2561 การเปลยี่ นแปลง เพ่มิ /(ลด) (%YOY) คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั พนกั งาน 5,202 4,472 730 16.32% คา่ ตอบแทนกรรมการ 8 7 1 14.29% คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั อาคาร สถานท่ี และอปุ กรณ์ 1,793 1,697 96 5.66% ขาดทนุ จากการดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ย์ 582 273 309 113.19% คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื 1,881 1,833 48 2.62% รวมคา่ ใชจ้ า่ ยจากการดำ�เนนิ งานอน่ื 9,466 8,282 1,184 14.30% คกาา่ รใชดจ้ำ�า่เนยนิจางกานกาสรทุ ดธำิ�(เนCนิosงtานtoอIน่ืnตcoอ่ mราeย)ไ*ดจ้ าก 27.84% 24.42% 3.42% หมายเหต:ุ * ไมน่ บั รวมรายการขาดทนุ จากการดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ย์ เงินให้สนิ เชอื่ แก่ลกู หน้ี เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื รวม ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2562 จำ�นวน 1,209,264 ลา้ นบาท เพม่ิ ขน้ึ 93,371 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.37 เมอ่ื เทยี บกบั ปกี อ่ น โดยเงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื แกล่ กู หน้ี ประกอบดว้ ย เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตามธรุ กรรมปกติ เชน่ เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื เพ่อื ซ้อื ท่ดี ินและอาคาร เงินให้สินเช่อื เพ่อื ซ้อื ห้องชุด เงินให้สินเช่อื สำ�หรับลูกค้าไถ่ถอนจากสถาบันการเงินอ่นื เงินให้สินเช่อื เพอ่ื ปลกู สรา้ งและซอ่ มแซมอาคาร เปน็ ตน้ จำ�นวน 1,111,728 ลา้ นบาท เพม่ิ ขน้ึ 76,180 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.36 เมอ่ื เทยี บกบั ปกี อ่ น และเงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื แกล่ กู หนต้ี ามธรุ กรรมนโยบายรฐั สว่ นทไ่ี มม่ กี ารชดเชยความเสยี หายจากรฐั บาล เชน่ สนิ เชอ่ื เพอ่ื ทอ่ี ยอู่ าศยั เพอ่ื สวสั ดกิ ารแหง่ รฐั มาตรการสนิ เชอ่ื เพอ่ื ทอ่ี ยอู่ าศยั ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ โครงการบา้ นลา้ นหลงั เปน็ ตน้ จำ�นวน 97,536 ลา้ นบาท เพม่ิ ขน้ึ 17,191 ลา้ นบาทหรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.40 เมอ่ื เทยี บกบั ปกี อ่ น GRI 102-45, GRI 103-3, GRI 201-1 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 43
รายการ ปี 2562 ปี 2561 หนว่ ย: ล้านบาท 1. เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตามธรุ กรรมปกติ 1,111,728 1,035,548 การเปลย่ี นแปลง เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื แกล่ กู หน้ี 3,833 4,020 เพ่ิม/(ลด) (%YOY) ดอกเบย้ี คา้ งรบั 84,036 77,505 หกั คา่ เผอ่ื หนส้ี งสยั จะสญู 76,180 7.36% เงินให้สินเช่อื ตามธรุ กรรมปกตแิ ละดอกเบ้ียค้างรับสุทธิ 1,031,525 962,063 (187) (4.65%) 2. เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตามธรุ กรรมนโยบายรฐั 6,531 8.43% เงินใหส้ ินเช่อื แก่ลกู หนต้ี ามธุรกรรมนโยบายรฐั 97,536 80,345 69,462 7.22% สว่ นท่ีไมม่ กี ารชดเชยความเสียหายจากรฐั บาล ดอกเบยี้ ค้างรบั ตามธรุ กรรมนโยบายรฐั 252 251 17,191 21.40% ส่วนที่ไมม่ ีการชดเชยความเสียหายจากรัฐบาล หกั ค่าเผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญตามธุรกรรมนโยบายรฐั 2,723 1,850 1 0.40% เงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตามธรุ กรรมนโยบายรฐั และดอกเบย้ี คา้ งรบั สทุ ธิ 95,065 78,746 รวมเงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตามธรุ กรรมปกตแิ ละธรุ กรรมนโยบายรฐั 873 47.19% เงนิ ให้สนิ เชื่อแก่ลกู หนี้ 1,209,264 1,115,893 16,319 20.72% ดอกเบย้ี คา้ งรับ 4,085 4,271 หกั คา่ เผอ่ื หนส้ี งสยั จะสญู 86,759 79,355 93,371 8.37% รวมเงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื แกล่ กู หนแ้ี ละดอกเบย้ี คา้ งรบั สทุ ธิ (186) (4.35%) 1,126,590 1,040,809 7,404 9.33% 85,781 8.24% เงินรบั ฝาก ธนาคารมเี งนิ รบั ฝาก ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2562 จำ�นวน 993,769 ลา้ นบาท เพมิ่ ขน้ึ จากปกี อ่ น 50,387 ลา้ นบาท หรอื คิดเป็นร้อยละ 5.34 โดยเงินรับฝากที่เพ่ิมข้ึน ส่วนใหญ่มาจากสลากออมทรัพย์ ธอส.ท่ีธนาคารมีการออกสลากออมทรัพย์ ธอส. เปน็ ปแี รก และมเี งนิ ฝากออมทรพั ยท์ เ่ี พมิ่ ขน้ึ ทงั้ นอี้ ตั ราสว่ นเงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตอ่ เงนิ รบั ฝาก (Loan to Deposit Ratio) เทา่ กบั รอ้ ยละ 121.68 เพม่ิ ขน้ึ เมอ่ื เทยี บกบั ปที ผี่ า่ นมาทีม่ อี ตั ราสว่ นเงินให้สนิ เชือ่ ตอ่ เงินรบั ฝาก เท่ากบั ร้อยละ 118.29 หนว่ ย: ล้านบาท รายการ ยอดเงนิ รบั ฝาก การเปลีย่ นแปลง ปี 2562 ปี 2561 เพมิ่ /(ลด) (%YOY) เงนิ รบั ฝากรวม 993,769 943,382 50,387 5.34% ออมทรพั ย์ 246,636 227,592 19,044 8.37% ประจำ� 707,027 708,790 (1,763) (0.25%) เงนิ รบั ฝาก Receipt of Deposit สลากออมทรพั ย์ ธอส. 7,000 7,000 - - อตั ราสว่ นเงนิ ใหส้ นิ เชอ่ื ตอ่ เงนิ รบั ฝาก 33,106 - 33,106 - (Loan to Deposit Ratio) 121.68% 118.29% 3.39% 44 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-45, GRI 103-3, GRI 201-1
เงินรับฝาก จำ�แนกตามประเภทผลิตภัณฑ ์ จากจำ�นวนเงนิ รบั ฝาก ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562 จำ�นวน 993,769 ล้านบาท ส่วนใหญ่จะเปน็ เงนิ ฝากประจำ� คิดเปน็ รอ้ ยละ 71.15 ของเงินรบั ฝากทัง้ หมด ซ่งึ ลดลงเมอื่ เทยี บกบั ปกี อ่ นทม่ี ีเงนิ ฝากประจำ� คิดเป็นรอ้ ยละ 75.13 ของเงนิ รบั ฝาก เนือ่ งจากในปี 2562 ธนาคารไดม้ ีการออกสลากออมทรัพย์ ธอส. จำ�นวน 33,106 ล้านบาท หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.33 ของเงนิ รับฝากรวม เงนิ รับฝาก จำ�แนกตามประเภทผลิตภณั ฑ์ (%) 0.70% 0.74% เงินรบั ฝาก 3.33% 75.13% Receipt of Deposit 71.15% 24.13% สลากออมทรพั ย์ ธอส. ประจ�ำ 24.82% ออมทรัพย์ 2562 2561 เงนิ งบประมาณท่ีไดร้ บั และการจ่ายเงินน�ำ ส่งรัฐหรือเงินปันผล หน่วย: ล้านบาท รายการ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2558 เงนิ งบประมาณท่ไี ดร้ บั - - - -- การจา่ ยเงนิ นำ�สง่ รฐั หรอื เงนิ ปนั ผลจา่ ยจากกำ�ไรปี 5,922 5,646 5,237 4,350 4,040 อนั ดับความนา่ เชือ่ ถือของธนาคาร ในปี 2562 ธนาคารไดร้ บั การจดั อนั ดบั ความนา่ เชอื่ ถอื โดย บรษิ ทั ฟทิ ช์ เรทตงิ้ ส์ (ประเทศไทย) จำ�กดั โดยใหค้ งอนั ดบั ความน่าเช่ือถือภายในประเทศในระดับสูงที่สุด คือ อันดับความน่าเชื่อถือภายในประเทศระยะยาว (National Long-Term Rating) ท่รี ะดบั AAA(tha) แนวโนม้ อันดบั ความน่าเชื่อถอื มีเสถียรภาพ และอนั ดบั ความนา่ เชือ่ ถอื ภายในประเทศระยะสั้น (National Short-Term Rating) ทรี่ ะดบั F1+(tha) อันดับความนา่ เชื่อถอื ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 อนั ดบั ความนา่ เชอ่ื ถอื ระยะยาวภายในประเทศ AAA(tha) AAA(tha) AAA(tha) อนั ดบั ความนา่ เชอ่ื ถอื ระยะสน้ั ภายในประเทศ F1+(tha) F1+(tha) F1+(tha) แนวโนม้ อนั ดบั ความนา่ เชอ่ื ถอื มีเสถยี รภาพ มเี สถยี รภาพ มีเสถียรภาพ หมายเหตุ : อนั ดบั ความน่าเชื่อถือซึง่ ถือเป็นระดับทนี่ า่ ลงทนุ (Investment Grade) ของสถาบันจดั อันดบั ความนา่ เชอ่ื ถอื Fitch Ratings (Thailand) ได้แก่ อันดบั ความนา่ เช่ือถอื ระยะยาวท่ี ระดับ BBB- และอันดับความนา่ เชื่อถือ ระยะส้ันท่ี ระดับ F3 GRI 102-45, GRI 103-3, GRI 201-1, GRI 203-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 45
การบรหิ ารความเสย่ี งทั่วทงั้ องค์กร ธนาคารซ่งึ เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ (SFIs) ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารความเส่ยี งองค์กร โดยรวม (Enterprise Risk Management: ERM) โดยนำ�แนวทางการปฏิบัติท่ดี ีมาใช้เป็นกรอบแนวทางในการบริหารและ จดั การความเสย่ี ง เพอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านของธนาคารเปน็ ไปตามมาตรฐานสากล รวมถงึ เพอ่ื ใหธ้ นาคารมคี วามมน่ั คงปลอดภยั มกี ารพฒั นาระบบบรหิ ารความเสย่ี งทด่ี แี ละเหมาะสมกบั ลกั ษณะของธรุ กจิ มกี ารดำ�รงเงนิ กองทนุ รองรบั ความเสย่ี งอยา่ งเพยี งพอ โดยบคุ ลากรทกุ ระดบั ไดแ้ ก่ คณะกรรมการ ผบู้ รหิ าร และผปู้ ฏบิ ตั งิ าน มสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบในการจดั การ หรอื ควบคมุ ความเสย่ี ง ใหอ้ ยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะสมหรอื ยอมรบั ได้ และสามารถบรรลตุ ามวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายตามทธ่ี นาคาร กำ�หนดไวอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ โครงสร้างการบรหิ ารความเสย่ี ง คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการก�ำ หนดกลยุทธ์ คณะกรรมการบรหิ ารความเสี่ยง คณะกรรมการ CG&CSR คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการกำ�กับการจัดทำ� และนโยบายทางด้าน IT ระบบการควบคมุ ภายใน คณะกรรมการจัดการ ฝา่ ยบรหิ ารความเส่ียง คณะกรรมการ ALCO คณะกรรมการ HR คณะกรรมการสนิ เช่ือ คณะอนกุ รรมการ CG&CSR คณะกรรมการ NPL คณะกรรมการบริหารคณุ ภาพ คณะกรรมการการตลาด สนิ ทรพั ย์ Credit Risk Market & Liquidity Risk Operational Risk Strategic Risk เจา้ หน้าทดี่ ูแลความเส่ยี งด้านปฏบิ ตั ิการและระบบในฝ่าย / ส�ำ นกั / ภาค / ศูนย์ Business Unit ORO ORO ORO ORO ORO Reporting Line Communication Line ORO Operation Risk Officer 46 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-18, GRI 102-19
ธนาคารมีการบริหารความเส่ยี งเป็นไปในทิศทางเดียวกันท่วั ท้งั องค์กร โดยยึดหลักแนวการปฏิบัติท่ดี ีสอดคล้องตาม มาตรฐานสากลตามแนวของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission: COSO-ERM) และแนวทางปฏบิ ตั ขิ องธนาคารแหง่ ประเทศไทย ซง่ึ ประกอบดว้ ย ความเสย่ี งดา้ นกลยทุ ธ์ ความเสย่ี งดา้ นเครดติ ความเสย่ี ง ด้านการตลาด ความเส่ยี งด้านสภาพคล่อง และความเส่ยี งด้านปฏิบัติการและระบบ และหลักเกณฑ์การบริหารความเส่ยี ง ของกระทรวงการคลัง แบ่งเป็น ความเสย่ี งดา้ นกลยทุ ธ์ (Strategic Risk) ความเสย่ี งดา้ นการปฏบิ ัติงาน (Operation Risk) ความเส่ยี งดา้ นการเงนิ (Financial Risk) และความเส่ยี งด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk) โดยสนับสนนุ ใหท้ กุ หนว่ ยงานของธนาคารมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารความเสย่ี งของธนาคาร แนวทางการบรหิ ารจดั การ ธนาคารมกี ารกำ�หนดแนวทางการบรหิ ารจดั การตามกระบวนการบรหิ ารความเสย่ี งทม่ี ขี น้ั ตอนการระบวุ เิ คราะห์ ประเมนิ และจดั การความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสมมาปรบั ใชก้ บั การบรหิ ารความเสย่ี งของธนาคาร โดยกำ�หนดแนวทางการควบคมุ เพอ่ื ปอ้ งกนั / ลดความเสย่ี งใหอ้ ย่ใู นระดบั ทย่ี อมรบั ได้ ซง่ึ มกี ระบวนการบรหิ ารความเสย่ี งดงั น้ี 1. สภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร (Internal Environment) 4. กระบวนการ 2. บริหารความเสย่ี ง การประเมิน การกำ�หนดวตั ถุประสงค์ ความเส่ียง 3. การบริหารความเสี่ยง (Risk Assessment) (Objective Setting) การระบคุ วามเสี่ยง (Event Identification) 1. สภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร (Internal Environment) สภาพแวดล้อมภายในองค์กรจะเป็นตัวกำ�หนดแนวทางการดำ�เนินงานและมุมมองท่ีองค์กรมีต่อ ความเสี่ยง ดังน้ันธนาคารจึงกำ�หนดสภาพแวดล้อมภายในองค์กรให้สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง ทว่ั ทงั้ องคก์ ร ทง้ั ในดา้ นนโยบายการบรหิ ารความเสยี่ ง โครงสรา้ งองคก์ ร บทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการ ระดับความเส่ยี งท่ียอมรับได้ (Risk Appetite) และจะต้องมีวิธีการปฏิบตั ิที่มคี วามชัดเจน การกำ�หนดเปน็ มาตรฐาน และมกี ารสอ่ื สารใหท้ กุ คนในองคก์ รเกดิ ความเขา้ ใจตรงกนั ขนั้ ตอนในการพจิ ารณาเพอื่ ใหอ้ งคก์ ร มกี ารสรา้ งสภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ รทเ่ี หมาะสมกบั การบรหิ ารความเสย่ี ง ธนาคารจะตอ้ งกำ�หนดระดบั ความเสยี่ งทย่ี อมรบั ได้ (Risk Appetite) และชว่ งเบยี่ งเบนของระดบั ความเสย่ี งทยี่ อมรบั ได้ (Risk Tolerance) โดยคำ�นึงถงึ วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจของธนาคาร กระบวนการบริหารความเสยี่ ง และ วัฒนธรรมองค์กร GRI 102-30, GRI 103-2 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 47
2. การกำ�หนดวตั ถปุ ระสงค์การบรหิ ารความเส่ยี ง (Objective Setting) ธนาคารกำ�หนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ ก่อนที่จะทำ�การระบุเหตุการณ์ ความเส่ียงท่ีอาจส่งผลกระทบต่อความสำ�เร็จของวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายนั้น โดยวัตถุประสงค์ต้อง สอดรับกับระดับความเสี่ยงท่ียอมรับได้ (Risk Appetite) และนโยบายการบริหารความเส่ียงโดยรวมของ ธนาคาร เพอ่ื ใหธ้ นาคารดำ�เนนิ งานดา้ นการบรหิ ารความเสยี่ งอยา่ งสมบรู ณ์ มปี ระสทิ ธภิ าพ สอดคลอ้ งกบั แนวทางปฏบิ ตั ขิ องผกู้ ำ�กบั ดแู ลและหลกั ธรรมาภบิ าล (Good Governance) และเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของ การตัดสินใจ โดยคำ�นึงถึงปัจจัยเส่ียงและความเส่ียงในด้านต่าง ๆ ท่ีน่าจะมีผลกระทบกับการดำ�เนินงาน วตั ถปุ ระสงค์ และนโยบายแลว้ พจิ ารณาหาแนวทางในการปอ้ งกนั หรอื จดั การกบั ความเสย่ี งเหลา่ นนั้ กอ่ นทจี่ ะ เร่ิมปฏิบัติงาน หรือดำ�เนินการตามแผนทก่ี ำ�หนดไว้ ทำ�ใหธ้ นาคารสามารถลดมลู เหตุของโอกาสทีจ่ ะเกดิ ความเสยี หายและลดขนาดของความเสยี หายที่จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตใหอ้ ยู่ในระดบั ความเส่ียงท่ียอมรับได้ 3. การระบคุ วามเส่ยี ง (Event Identification) ระบเุ หตกุ ารณค์ วามเสย่ี ง หรอื ความไมแ่ นน่ อนทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ซง่ึ เปน็ ความเสย่ี งทมี่ อี ยตู่ ามธรรมชาติ (Inherent Risk) โดยพิจารณาจากปัจจยั ทัง้ ภายในและภายนอกองคก์ รทม่ี ผี ลกระทบตอ่ วตั ถุประสงค์ และ เป้าหมายขององค์กร หรือผลการปฏิบัติงานในระดับองค์กรและกิจกรรม ปัจจัยภายนอก เช่น สภาวะ เศรษฐกิจ การเมือง การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ ปัจจัยภายใน เช่น บคุ ลากร กระบวนการ เทคโนโลยี 4. การประเมินความเส่ยี ง (Risk Assessment) 4.1 กำ�หนดเกณฑ์การประเมินมาตรฐานเป็นการกำ�หนดเกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมินความเสี่ยง ได้แก่ ระดบั โอกาสทจ่ี ะเกดิ ความเสี่ยง (Likelihood) ระดบั ความรุนแรงของผลกระทบ (Impact) และระดับ ของความเส่ียง (Degree of Risk) โดยแต่ละหน่วยงานจะตอ้ งกำ�หนดเกณฑข์ น้ึ ซงึ่ สามารถกำ�หนด เกณฑ์ได้ท้ังเกณฑ์ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับข้อมูลสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน และดลุ ยพินจิ การตัดสนิ ใจของผู้บรหิ ารของหน่วยงาน 4.2 ประเมนิ โอกาสและผลกระทบของความเสยี่ ง เปน็ การประเมนิ โอกาส (Likelihood) ทจ่ี ะเกดิ เหตกุ ารณ์ ความเสยี่ งต่าง ๆ และประเมนิ ระดับความรุนแรงหรอื มูลค่าความเสยี หาย (Impact) จากความเสี่ยง ได้อย่างเหมาะสม ซ่ึงจะช่วยให้หน่วยงานสามารถวางแผนและจัดสรรทรัพยากรได้อย่างถูกต้อง ภายใต้งบประมาณ กำ�ลังคน หรือเวลาทมี่ จี ำ�กดั 4.3 การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ ง เมอื่ พจิ ารณาโอกาส/ความถท่ี จ่ี ะเกดิ เหตกุ ารณ์ (Likelihood) และความรนุ แรง ของผลกระทบ (Impact) ของแต่ละปัจจัยเส่ียงแล้ว ให้นำ�ผลที่ได้มาพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง โอกาสทจี่ ะเกดิ ความเสยี่ ง และผลกระทบของความเสยี่ งตอ่ ธนาคารวา่ กอ่ ใหเ้ กดิ ระดบั ของความเสย่ี ง ในระดบั ใด 4.4 การจดั ลำ�ดบั ความเสยี่ ง เมอื่ ไดค้ า่ ระดบั ความเสยี่ งแลว้ จะนำ�มาจดั ลำ�ดบั ความรนุ แรงของความเสย่ี ง ท่ีมีผลต่อธนาคาร ตามตารางการประเมินความเสี่ยงโดยจัดเรียงตามลำ�ดับจากระดับสูงมาก สูง ปานกลาง ตาํ่ และเลอื กความเสยี่ งทมี่ รี ะดบั สงู มากและสงู มาจดั ทำ�แผนการบรหิ าร/จดั การความเสย่ี ง ในขัน้ ตอนต่อไป 48 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-30
การก�ำ หนดตารางประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment Matrix) พิจารณาจัดระดับความสำ�คัญของความเสี่ยงจากโอกาสท่ีจะเกิดความเส่ียง (Likelihood) และผลกระทบท่ีเกิดข้ึน (Impact) และขอบเขตของระดับความเส่ียงที่สามารถยอมรับได้ (Risk Appetite Boundary) ระดับความเสี่ยง = โอกาส ในการเกิดเหตุการณ์ x ความรุนแรงของเหตุการณ์ (Likelihood x Impact) ซึ่งจัดแบ่งเป็น 4 ระดับ สามารถแสดงเป็น Risk Matrix แบ่งพนื้ ทเี่ ปน็ 4 สว่ น (4 Quadrant) ใช้เกณฑ์ในการจัดแบง่ ดังนี้ สูงมาก แทนด้วยแถบสีแดง : ต้องจัดทำ�แผนการดำ�เนินงานเพ่ิมเติมสำ�หรับการบริหารจัดการ สูง ความเสยี่ ง แทนดว้ ยแถบสีส้ม : ควรพิจารณาจดั ทำ�แผนการดำ�เนนิ งานเพม่ิ เตมิ ปานกลาง ต่าํ แทนด้วยแถบสีเหลือง : ควรมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบในส่วนงานดำ�เนินการติดตาม ประสิทธิภาพ การควบคุมภายในกระบวนการเปน็ ประจำ� แทนดว้ ยแถบสเี ขยี ว : ควรมอบหมายใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบในสว่ นงานดำ�เนนิ การตดิ ตามผลกระทบ ทเ่ี ก่ยี วเน่อื งกนั ของความเส่ียงเป็นประจำ� ตารางการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment Matrix) Risk Assessment Matrix ยากที่จะเกดิ ไมน่ ่าจะเกิด ความน่าจะเป็น น่าจะเกิด ค่อนขา้ งแน่นอน 1 2 เป็นไปไดท้ จ่ี ะเกดิ 4 5 3 สูงมาก สงู มาก วกิ ฤต 5 ปานกลาง สงู สูง สงู มาก สงู ผลกระทบ มนี ัยสำ�คัญ 4 ปานกลาง ปานกลาง สูง สงู มาก สงู ปานกลาง ปานกลาง 3 ตํ่า ปานกลาง สูง สงู นอ้ ย 2 ตา่ํ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง น้อยมาก 1 ต่าํ ตํา่ ต่ํา ปานกลาง GRI 102-30 รายงานการพัฒนาความยั่งยืน ประจำ�ปี 2562 49
ผลส�ำ เร็จด้านการบรหิ ารความเสย่ี ง ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินงานตามแผนบริหารความเส่ียงของธนาคารประจำ�ปี 2562 ที่ครอบคลุม ปัจจยั เสย่ี งที่สำ�คัญด้านตา่ ง ๆ ของธนาคาร เพอื่ ให้การดำ�เนนิ ธรุ กิจของธนาคารประสบผลสำ�เร็จตามเป้าหมาย ไดแ้ ก่ 1. การบริหารความเสย่ี งดา้ นกลยุทธ์ (Strategic Risk) ธนาคารได้ดำ�เนินการบรหิ ารจัดการความเสี่ยงด้านกลยุทธผ์ ่านกระบวนการจดั ทำ�แผนยทุ ธศาสตร์ โดยนำ�แนวทาง ปฏิบัติที่ดีตาม COSO-ERM และธนาคารแห่งประเทศไทย มาใช้วิเคราะห์ความเส่ียงจากปัจจัยภายในและภายนอก ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ธนาคารทงั้ ในปจั จบุ นั และอนาคต โดยมงุ่ เนน้ การใชข้ อ้ มลู จรงิ และการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บกบั เปา้ หมาย ธนาคารและคู่เทียบเพ่ือกำ�หนดยุทธศาสตร์ตามมุมมอง SMART Goals ซึ่งกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1) การบริหารความเส่ียงท่ีเกิดข้ึนจากการกำ�หนด 2.1) ทบทวนนโยบายการบริหารความเส่ียง (Risk ยทุ ธศาสตร์ โดยธนาคารได้นำ�ขอ้ มูลความเสี่ยง และ Management Policy) และคู่มือการบริหาร ผลการวเิ คราะห์ที่ได้จากแบบจำ�ลอง Portfolio View ความเสย่ี ง เพอื่ ให้หน่วยงานเจ้าของความเสย่ี ง of Risk ครอบคลุมท้ังเป้าหมายทางการเงินและ ใชเ้ ปน็ กรอบและแนวทางในการบรหิ ารความเสย่ี ง เป้าหมายที่มิใช่ทางการเงิน มาใช้ในการกำ�หนด ใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั กรอบเป้าหมายทางการเงิน ปัจจัยเสี่ยง และระดับ 2.2) การสนับสนุนการนำ�หลักการบริหารความเส่ียง ความเสี่ยงท่ียอมรับได้ (Risk Appetite/ Risk มาใช้ในกระบวนการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ Tolerance) ของเปา้ หมายองคก์ ร และความเพยี งพอ ปี 2563 ของเงินกองทุน (BIS Ratio) รวมถึงการวิเคราะห์ 2.3) ศึกษาและทดลองจัดทำ� Stress testing โดย Risk Drivers ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ เป้าหมายองค์กร พจิ ารณาปจั จยั มหภาครว่ มดว้ ย (Macro Factors) 2) การบริหารความเส่ียงท่ีเกิดขึ้นจากการนำ� 2.4) จดั ใหม้ ี Risk Clinic ใหค้ ำ�ปรกึ ษากบั Risk Owner แผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ รวมถึงวิเคราะห์ปัญหา ในการประเมินความเสี่ยงแผนงานโครงการ อปุ สรรคทที่ ำ�ใหไ้ มส่ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายได้ รายงาน พร้อมทั้งกำ�หนดระดับความเส่ียงที่ยอมรับได้ ตอ่ ผบู้ รหิ ารอยา่ งสมาํ่ เสมอผา่ นระบบ SMART Radar (Risk Appetite) และกำ�หนดระดับความเสี่ยง และผ่านการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องเป็น เบ่ียงเบนที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) ของ ประจำ�ทุกเดือน/ทุกไตรมาส เพ่ือให้การผลักดัน แต่ละปัจจัยเส่ียงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ต่าง ๆ มีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล อีกท้งั เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เป้าหมาย และนำ�มา ธนาคารได้ปฏิบัติตามกระบวนการมาตรฐานในการ จัดทำ�แผนบริหารความเส่ียง ตามกระบวนการ บริหารความเส่ียง และการดูแลความเพียงพอของ ที่บรู ณาการกบั แผนยุทธศาสตร์ เป็นตน้ เงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่ง ประเทศไทยและหลักปฏิบัติสากลมาโดยตลอด นอกจากนี้ ธนาคารยังได้นำ�หลักการบริหาร ความเสี่ยงมาใช้ในการบริหารจัดการองค์กร ได้แก่ 50 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ GRI 102-30
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148