Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติโรคติดต่อ

พระราชบัญญัติโรคติดต่อ

Published by nutthaganboon.p, 2021-09-06 02:14:43

Description: พระราชบัญญัติโรคติดต่อ
ผู้แต่ง -
สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Search

Read the Text Version

พระราชบญั ญัตโิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ทปี่ รึกษา : อธิบดีกรมควบคมุ โรค นายแพทยอ์ ำ� นวย กาจีนะ รองอธิบดกี รมควบคมุ โรค นายแพทยโ์ อภาส การยก์ วนิ พงศ์ รองอธบิ ดกี รมควบคุมโรค นายแพทย์ภาณมุ าศ ญาณเวทย์สกุล รองอธบิ ดกี รมควบคมุ โรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจณิ คณะดำ� เนินการ : ผู้อำ� นวยการศูนยก์ ฎหมาย นางสาวอังคณา บรสิ ุทธิ์ นติ ิกรปฏิบตั กิ าร นางสาวสุทธินีย์ มโนสมุทร นิตกิ ร นายกฤษฎาบัณ ปานโท ้ นิติกร นายอัฐพล สามแสน นิตกิ ร นางสาวเกศราภรณ์ เวระนะ นิติกร นายโกสินทร์ แสงแกว้ นติ กิ ร นางสาวณฐั นร ี สถิตไพบลู ย ์ นติ กิ ร นางสาวกษมน รตั นพันธ ์ นติ ิกร นายชานนท ์ แก้วเชื้อ นติ ิกร นางสาววัชราภรณ์ วิฤทธ์ชิ ัย นติ กิ ร นางสาวจินตนา บตุ รชน เจา้ พนักงานธุรการ นายพิเชษฐ์ โทระพนั ธ์ ISBN : 978-616-11-2777-0 พิมพค์ รั้งท่ี ๒ : พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ� นวน ๑๕,๐๐๐ เลม่ พมิ พท์ ่ี : โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย [๕๙๐๒-๐๓๖] ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วัน กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐ โทร. ๐-๒๒๑๘-๓๕๔๙-๕๐ โทรสาร ๐-๒๒๑๕-๓๖๑๒ http://www.cuprint.chula.ac.th e-mail : [email protected]



ค�ำนำ� โดยทพี่ ระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก เม่อื วนั ท่ี ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ ซ่ึงจะมีผลใช้บังคบั ต้งั แต่ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ เปน็ ตน้ ไป ศนู ยก์ ฎหมาย กรมควบคมุ โรค ในฐานะหนว่ ยงานทมี่ ภี ารกจิ ในการดำ� เนนิ การ เกี่ยวกับกฎหมายท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของกรมควบคุมโรค จึงได้จัดพิมพ์ พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ขนึ้ เพอื่ เปน็ การเผยแพรข่ อ้ กฎหมายใหแ้ ก่ ประชาชนท่ัวไป และใช้ประกอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายต่อไป ศนู ย์กฎหมาย กรมควบคมุ โรค ตลุ าคม ๒๕๕๘



สารบญั หน้า ๑ ๕ พระราชบัญญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๗ หมวด ๑ บทท่ัวไป ๑๒ หมวด ๒ คณะกรรมการโรคติดตอ่ แหง่ ชาติ ๑๕ หมวด ๓ คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั  ๑๘ หมวด ๔ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรุงเทพมหานคร ๑๙ หมวด ๕ การเฝ้าระวงั โรคติดต่อ ๒๖ หมวด ๖ การป้องกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่  ๒๗ หมวด ๗ เจ้าพนักงานควบคมุ โรคตดิ ตอ่  ๒๗ หมวด ๘ คา่ ทดแทน ๒๙ หมวด ๙ บทกำ� หนดโทษ บทเฉพาะกาล ๓๑ ๓๓ ตารางแสดงบทก�ำหนดโทษ ๓๗ โครงสรา้ งและกลไกการดำ� เนนิ งาน ๔๗ องค์ประกอบและอ�ำนาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการ/คณะท�ำงาน ๕๒ ตามกฎหมาย ตารางเปรยี บเทยี บสาระสำ� คญั ของพระราชบญั ญัตโิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๒๓ และพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ กวา่ จะมาเป็นพระราชบัญญัติโรคติดตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘



เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ พระราชบญั ญตั ิ โรคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีท่ี ๗๐ ในรัชกาลปจั จบุ ัน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการ โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยท่เี ป็นการสมควรปรับปรงุ กฎหมายว่าดว้ ยโรคติดตอ่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบญั ญัติขึ้นไวโ้ ดยค�ำแนะนำ� และยินยอมของสภานิตบิ ัญญตั ิแห่งชาติ ดงั ต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ใี้ หใ้ ชบ้ งั คบั เมอ่ื พน้ กำ� หนดหนงึ่ รอ้ ยแปดสบิ วนั นับแตว่ นั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป วันทมี่ ผี ลใชบ้ งั คับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญัติโรคตดิ ต่อ 1 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ มาตรา ๓ ใหย้ กเลิกพระราชบญั ญตั ิโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตินี้ “โรคติดต่อ” หมายความว่า โรคที่เกิดจากเช้ือโรคหรือพิษของเชื้อโรค ซ่ึงสามารถแพรโ่ ดยทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คน “โรคติดต่ออันตราย” หมายความว่า โรคติดต่อท่ีมีความรุนแรงสูงและ สามารถแพร่ไปสู่ผอู้ ืน่ ได้อยา่ งรวดเรว็ “โรคตดิ ต่อท่ตี ้องเฝา้ ระวงั ” หมายความว่า โรคตดิ ตอ่ ทตี่ ้องมกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบ หรือจดั เกบ็ ข้อมลู อยา่ งต่อเนือ่ ง “โรคระบาด” หมายความวา่ โรคตดิ ตอ่ หรือโรคทย่ี งั ไมท่ ราบสาเหตขุ อง การเกิดโรคแน่ชดั ซึง่ อาจแพร่ไปสูผ่ ู้อ่นื ได้อย่างรวดเรว็ และกว้างขวาง หรือมีภาวะ ของการเกดิ โรคมากผิดปกติกว่าท่ีเคยเป็นมา “พาหะ” หมายความวา่ คนหรอื สตั ว์ซง่ึ ไมม่ ีอาการของโรคติดตอ่ ปรากฏ แต่รา่ งกายมีเช้อื โรคนั้น ซึง่ อาจติดตอ่ ถงึ ผูอ้ นื่ ได้ “ผู้สัมผัสโรค” หมายความว่า คนซ่ึงได้เข้าใกล้ชิดคน สัตว์ หรือสิ่งของ ติดโรค จนเช้ือโรคนน้ั อาจตดิ ตอ่ ถงึ ผ้นู ้ันได้ “ระยะติดต่อของโรค” หมายความว่า ระยะเวลาท่ีเช้ือโรคสามารถแพร่ จากคนหรือสัตว์ที่มีเช้อื โรคไปยังผ้อู ื่นได้โดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม “แยกกกั ” หมายความวา่ การแยกผสู้ ัมผสั โรคหรอื พาหะไว้ต่างหากจาก ผู้อื่นในที่เอกเทศ เพื่อป้องกันมิให้เช้ือโรคแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยัง ผ้ซู ึ่งอาจไดร้ บั เช้อื โรคนัน้ ๆ ได้ จนกว่าจะพน้ ระยะตดิ ต่อของโรค “กักกัน” หมายความว่า การควบคุมผู้สัมผัสโรคหรือพาหะให้อยู่ใน ทเ่ี อกเทศ เพอื่ ปอ้ งกนั มใิ หเ้ ชอ้ื โรคแพรโ่ ดยทางตรงหรอื ทางออ้ มไปยงั ผซู้ งึ่ อาจไดร้ บั 2 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ วนั ที่มผี ลใชบ้ งั คับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ เชอื้ โรคนนั้ ๆ ได้ จนกวา่ จะพน้ ระยะฟกั ตวั ของโรคหรอื จนกวา่ จะพน้ ความเปน็ พาหะ “คุมไว้สังเกต” หมายความว่า การควบคุมดูแลผู้สัมผัสโรคหรือพาหะ โดยไมก่ กั กนั และอาจจะอนญุ าตใหผ้ า่ นไปในทใี่ ด ๆ กไ็ ด้ โดยมเี งอ่ื นไขวา่ เมอ่ื ไปถงึ ท้องที่ใดท่ีก�ำหนดไว้ ผู้น้ันต้องแสดงตัวต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ�ำ ท้องที่น้ันเพ่ือรับการตรวจในทางแพทย์ เพ่ือป้องกันมิให้เชื้อโรคแพร่โดยทางตรง หรอื ทางอ้อมไปยงั ผู้ซ่งึ อาจได้รบั เช้ือโรคนัน้ ๆ ได้ “ระยะฟกั ตวั ของโรค” หมายความวา่ ระยะเวลาตงั้ แตเ่ ชอื้ โรคเขา้ สรู่ า่ งกาย จนถงึ เวลาท่ผี ู้ติดโรคแสดงอาการป่วยของโรคนั้น “เขตตดิ โรค” หมายความวา่ ทอ้ งทห่ี รอื เมอื งทา่ ใดนอกราชอาณาจกั รทมี่ ี โรคติดต่ออันตราย หรือโรคระบาดเกิดข้ึน “การสอบสวนโรค” หมายความวา่ กระบวนการเพอ่ื หาสาเหตุ แหลง่ ทเ่ี กดิ และแหล่งแพรข่ องโรคเพอ่ื ประโยชนใ์ นการควบคุมโรค “การเฝา้ ระวงั ” หมายความวา่ การสงั เกต การเกบ็ รวบรวม และการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู ตลอดจนการรายงาน และการตดิ ตามผลของการแพรข่ องโรคอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดว้ ยกระบวนการท่เี ป็นระบบ เพือ่ ประโยชนใ์ นการควบคมุ โรค “พาหนะ” หมายความว่า ยานพาหนะ สตั ว์ หรือวตั ถุ ซึง่ ใชใ้ นการขนสง่ คน สตั ว์ หรอื สิง่ ของ โดยทางบก ทางนำ�้ หรือทางอากาศ “เจา้ ของพาหนะ” หมายความรวมถงึ ตวั แทนเจา้ ของ ผเู้ ชา่ ตวั แทนผเู้ ชา่ หรอื ผ้คู รอบครองพาหนะนั้น “ผคู้ วบคมุ พาหนะ” หมายความวา่ ผู้รับผิดชอบในการควบคมุ พาหนะ “ผู้เดินทาง” หมายความว่า คนซึ่งเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และ ใหห้ มายความรวมถงึ ผ้คู วบคุมพาหนะและคนประจ�ำพาหนะ วนั ทม่ี ีผลใชบ้ งั คบั  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบัญญัตโิ รคตดิ ตอ่ 3 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ “การสร้างเสรมิ ภมู ิค้มุ กนั โรค” หมายความวา่ การกระทำ� ทางการแพทย์ ต่อคน หรือสัตว์ โดยวธิ ีการใด ๆ เพื่อใหค้ นหรือสตั ว์เกดิ ความต้านทานโรค “ที่เอกเทศ” หมายความว่า ที่ใด ๆ ซ่ึงเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ กำ� หนดใหเ้ ปน็ ทส่ี ำ� หรบั แยกกกั หรอื กกั กนั คนหรอื สตั วท์ เี่ ปน็ หรอื มเี หตสุ งสยั วา่ เปน็ โรคตดิ ต่อใด ๆ เพอ่ื ป้องกันมใิ ห้โรคนน้ั แพรโ่ ดยทางตรงหรอื ทางอ้อมไปยงั ผซู้ งึ่ อาจ ได้รับเชือ้ โรคน้ัน ๆ ได้ “สุขาภิบาล” หมายความว่า การควบคุม ป้องกัน หรือรักษาสภาพ ส่งิ แวดลอ้ มและปจั จัยที่มผี ลตอ่ การเกดิ หรือการแพรข่ องโรคติดต่อ “ชอ่ งทางเขา้ ออก” หมายความวา่ ชอ่ งทางหรอื สถานทใ่ี ด ๆ ทใี่ ชส้ ำ� หรบั ผ่านเข้าออกระหว่างประเทศของผู้เดินทาง พาหนะ และสิ่งของต่าง ๆ ทั้งนี้ ใหห้ มายความรวมถงึ พ้ืนทห่ี รอื บรเิ วณที่จดั ไว้เพอ่ื ใหบ้ ริการดงั กลา่ ว “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ “คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั ” หมายความวา่ คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคุมโรคตดิ ต่อประจ�ำจังหวัด “คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานคร” หมายความวา่ คณะกรรมการ ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ต่อประจ�ำกรงุ เทพมหานคร “หนว่ ยงานของรฐั ” หมายความวา่ ราชการสว่ นกลาง ราชการสว่ นภมู ภิ าค ราชการสว่ นท้องถ่นิ รัฐวิสาหกิจ องคก์ ารมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ “เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ” หมายความว่า ผู้ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังให้ ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ี “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดกี รมควบคมุ โรค “รัฐมนตร”ี หมายความว่า รฐั มนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี 4 พระราชบัญญตั โิ รคติดตอ่ วนั ท่มี ผี ลใช้บังคบั  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ�ำนาจแต่งต้ังเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ออกกฎกระทรวงกำ� หนดกิจการอ่ืน ตลอดจนออกระเบียบหรือประกาศเพ่อื ปฏิบตั ิ การตามพระราชบัญญตั นิ ้ี กฎกระทรวง ระเบยี บ และประกาศนน้ั เมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา แล้วใหใ้ ชบ้ งั คับได้ หมวด ๑ บททัว่ ไป มาตรา ๖ เพอื่ ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ใหร้ ฐั มนตรี โดยคำ� แนะนำ� ของคณะกรรมการมีอ�ำนาจประกาศก�ำหนด ดังต่อไปน้ี (๑) ชื่อและอาการส�ำคัญของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อท่ีต้อง เฝา้ ระวัง (๒) ชอ่ งทางเขา้ ออกแหง่ ใดในราชอาณาจกั รใหเ้ ปน็ ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศ และยกเลิกดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ (๓) การสร้างเสริมภูมคิ ้มุ กนั โรค มาตรา ๗ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ใหร้ ฐั มนตรี โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการมีอ�ำนาจประกาศก�ำหนด ดังต่อไปน้ี (๑) หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อ ทตี่ ้องเฝา้ ระวัง หรือโรคระบาดเกดิ ขน้ึ (๒) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการด�ำเนินการหรือออกค�ำสั่ง และการสอบสวนโรค วันท่มี ผี ลใชบ้ ังคับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญัติโรคติดต่อ 5 พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ (๓) หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขเกยี่ วกบั การกำ� หนดคา่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั เจ้าของพาหนะ หรือผ้คู วบคมุ พาหนะ (๔) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีผู้เดินทางต้องเป็นผู้รับผิดชอบ ค่าใช้จา่ ย มาตรา ๘ เพ่ือประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตราย หรอื โรคระบาดทอี่ าจจะเขา้ มาภายในราชอาณาจกั ร ใหร้ ฐั มนตรโี ดยคำ� แนะนำ� ของ คณะกรรมการดา้ นวชิ าการมอี ำ� นาจประกาศใหท้ อ้ งทหี่ รอื เมอื งทา่ ใดนอกราชอาณาจกั ร เป็นเขตติดโรค และยกเลิกประกาศเม่ือสภาวการณ์ของโรคน้ันสงบลงหรือกรณี มีเหตุอนั สมควร มาตรา ๙ เพ่ือประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคระบาด ใหอ้ ธิบดี โดยค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอ�ำนาจประกาศช่ือ อาการส�ำคัญ และสถานทท่ี ม่ี โี รคระบาด และแจง้ ใหเ้ จา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามมาตรา ๓๔ ทราบ รวมทั้งประกาศยกเลิกเมื่อสภาวการณ์ของโรคนั้นสงบลงหรือกรณีมีเหตุ อันสมควร มาตรา ๑๐ ในกรณีท่ีข้อมูลจากการเฝ้าระวัง การสอบสวนโรค หรือ การแจง้ หรอื รายงานตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ ซง่ึ มกี ารพาดพงิ ถงึ ตวั บคุ คลทงั้ ทรี่ ะบตุ วั ได้ หรอื ไมส่ ามารถระบตุ วั ได้ จะตอ้ งเกบ็ เปน็ ความลบั และประมวลผลโดยไมเ่ ปดิ เผยชอื่ ท้ังนี้ การประมวลผลดังกล่าวจะต้องเหมาะสมและตรงกับวัตถุประสงค์ใน การป้องกนั และควบคมุ โรค เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ อาจเปดิ เผยขอ้ มลู ตามวรรคหนง่ึ บางสว่ นที่ เกย่ี วกบั การรกั ษา การปอ้ งกนั การควบคมุ โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย หรอื การเกดิ โรคระบาด ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน โดยได้รับค�ำยินยอมจากเจ้าของข้อมูล หรือตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขทคี่ ณะกรรมการประกาศก�ำหนด 6 พระราชบัญญัติโรคตดิ ต่อ วนั ทีม่ ผี ลใช้บังคบั  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ หมวด ๒ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ มาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการคณะหน่ึง เรียกว่า “คณะกรรมการ โรคตดิ ต่อแห่งชาต”ิ ประกอบดว้ ย (๑) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานกรรมการ (๒) ปลดั กระทรวงกลาโหม ปลดั กระทรวงการตา่ งประเทศ ปลดั กระทรวง คมนาคม ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงแรงงาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้บัญชาการต�ำรวจ แห่งชาติ อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ อธบิ ดกี รมอนามยั อธบิ ดกี รมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์พุ ชื และปลดั กรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการ (๓) กรรมการซง่ึ มาจากผแู้ ทนแพทยสภา ผแู้ ทนสภาการพยาบาล ผแู้ ทน สภาเทคนคิ การแพทย์ และผแู้ ทนสมาคมโรงพยาบาลเอกชน จำ� นวนแหง่ ละหนง่ึ คน (๔) กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ซงึ่ รฐั มนตรแี ตง่ ตงั้ จากผมู้ คี วามรู้ ความเชย่ี วชาญ และมีประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านการสาธารณสุข การควบคุมโรค และ ดา้ นอน่ื ทเี่ ปน็ ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ จำ� นวนสคี่ น โดยในจำ� นวนนี้ ตอ้ งแตง่ ตงั้ จากองคก์ รพฒั นาเอกชนซง่ึ มวี ตั ถปุ ระสงคท์ มี่ ใิ ชเ่ ปน็ การแสวงหาผลกำ� ไร และด�ำเนนิ กจิ กรรมดา้ นการสาธารณสุข อย่างน้อยหน่งึ คน ใหอ้ ธบิ ดกี รมควบคมุ โรคเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และใหผ้ อู้ ำ� นวยการ สำ� นกั โรคตดิ ตอ่ ทว่ั ไปเปน็ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารคนทห่ี นงึ่ และผอู้ ำ� นวยการ สำ� นกั ระบาดวิทยาเป็นกรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ ารคนทสี่ อง วนั ท่ีมผี ลใชบ้ งั คับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบัญญตั ิโรคตดิ ตอ่ 7 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารไดม้ าซงึ่ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ หเ้ ปน็ ไป ตามระเบียบท่รี ฐั มนตรีประกาศก�ำหนด มาตรา ๑๒ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ มิ วี าระการดำ� รงตำ� แหนง่ คราวละสามปี ในกรณที ก่ี รรมการผทู้ รงคณุ วฒุ พิ น้ จากตำ� แหนง่ กอ่ นครบวาระ ใหร้ ฐั มนตรี แตง่ ตงั้ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นเดยี วกนั แทนภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ทพี่ น้ จาก ต�ำแหน่ง และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งแทนอยู่ในต�ำแหน่งเท่ากับวาระท่ี เหลอื อยขู่ องกรรมการซง่ึ ตนแทน เวน้ แตว่ าระของกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ะเหลอื อยู่ ไม่ถึงเก้าสิบวัน รัฐมนตรีจะไม่ด�ำเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้ และในการนใี้ หค้ ณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเทา่ ทีเ่ หลืออยู่ มาตรา ๑๓ นอกจากการพน้ จากตำ� แหนง่ ตามวาระ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ พน้ จากตำ� แหน่งเมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรใี ห้ออก เพราะมีพฤตกิ รรมเสื่อมเสยี บกพร่องหรอื ไม่สจุ รติ ต่อหนา้ ที่ หรอื หย่อนความสามารถ (๔) เป็นบคุ คลลม้ ละลาย (๕) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ (๖) ได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่เป็นโทษ สำ� หรบั ความผิดทไ่ี ด้กระท�ำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๑๔ ใหค้ ณะกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ก�ำหนดนโยบาย วางระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานของรฐั คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั 8 พระราชบญั ญัติโรคติดตอ่ วันทม่ี ผี ลใช้บังคับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ และคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครด�ำเนินการให้เป็นไปตาม พระราชบญั ญัตนิ ้ี (๒) พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคติดตอ่ หรอื โรคระบาด และเสนอคณะรฐั มนตรีให้ความเหน็ ชอบ (๓) เสนอความเหน็ ตอ่ รฐั มนตรใี นการออกกฎกระทรวง ระเบยี บ ประกาศ และแนวทางปฏิบตั ิ เพื่อปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญตั นิ ้ี (๔) ใหค้ ำ� ปรกึ ษา แนะนำ� และประสานงานแกห่ นว่ ยงานของรฐั และเอกชน เกีย่ วกับการเฝ้าระวงั ป้องกนั และควบคมุ โรคติดต่อ (๕) ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และตรวจสอบการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานของรฐั คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด และคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร เพ่ือให้ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อหรือ โรคระบาดทีค่ ณะรฐั มนตรใี หค้ วามเห็นชอบตาม (๒) (๖) พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขเก่ียวกับ การเบิกจ่ายค่าชดเชย ค่าทดแทน ค่าตอบแทน หรือค่าใช้จ่ายอ่ืนท่ีจ�ำเป็นใน การด�ำเนินการเฝ้าระวงั การสอบสวนโรค การปอ้ งกัน หรือการควบคุมโรคติดต่อ (๗) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดา้ นวชิ าการหรอื คณะอนกุ รรมการ เพอื่ ปฏบิ ตั กิ าร ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ (๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติ ใหเ้ ป็นอำ� นาจหนา้ ท่ีของคณะกรรมการ หรือตามทคี่ ณะรฐั มนตรมี อบหมาย มาตรา ๑๕ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุม ไม่นอ้ ยกว่ากงึ่ หนง่ึ ของจำ� นวนกรรมการทัง้ หมดเทา่ ท่ีมีอยู่ จึงเป็นองคป์ ระชมุ วนั ทม่ี ีผลใช้บงั คับ  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญตั โิ รคติดตอ่ 9 พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในทีป่ ระชุม ถา้ ประธานกรรมการไม่มา ประชมุ หรอื ไม่อาจปฏบิ ัติหนา้ ท่ไี ด้ ใหก้ รรมการทมี่ าประชมุ เลือกกรรมการคนหนง่ึ เป็นประธานในที่ประชมุ การวินิจฉยั ช้ขี าดของที่ประชมุ ใหถ้ ือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ใหป้ ระธานในที่ประชุมออกเสยี งเพม่ิ ขึ้นอกี เสยี งหน่ึงเปน็ เสยี งชขี้ าด มาตรา ๑๖ ให้มีคณะกรรมการด้านวิชาการคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ประธานกรรมการซง่ึ แตง่ ตง้ั จากกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๑๑ (๔) และใหม้ ี กรรมการซงึ่ แตง่ ตงั้ จากผมู้ คี วามรคู้ วามเชยี่ วชาญ และประสบการณด์ า้ นโรคตดิ ตอ่ อกี จ�ำนวนไม่เกนิ เจ็ดคน คณะกรรมการดา้ นวชิ าการมีอำ� นาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ใหค้ ำ� แนะนําแก่รัฐมนตรีในการประกาศเขตตดิ โรค (๒) ใหค้ ำ� แนะนาํ แก่อธิบดีในการประกาศโรคระบาด (๓) ให้ค�ำแนะนําแก่รัฐมนตรีหรืออธิบดีในการประกาศยกเลิกเม่ือ สภาวการณข์ องโรคตาม (๑) หรอื (๒) แลว้ แตก่ รณี สงบลงหรอื กรณมี เี หตอุ นั สมควร (๔) ปฏิบัติการตามท่คี ณะกรรมการมอบหมาย ให้น�ำความในมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๓ มาใช้บังคับแก่กรณีวาระ การดำ� รงตำ� แหนง่ และการพน้ จากตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการดา้ นวชิ าการโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๗ ให้น�ำความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของ คณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม 10 พระราชบญั ญตั โิ รคติดต่อ วันท่มี ีผลใช้บงั คับ  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ มาตรา ๑๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้คณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ และคณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจออกค�ำส่ังเป็นหนังสือ เรียกให้บุคคลใดๆ มาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือให้จัดส่งข้อมูล หรอื เอกสารใด ๆ ที่จำ� เป็นหรอื ขอ้ คิดเหน็ มาเพ่ือใชป้ ระกอบการพิจารณาได้ มาตรา ๑๙ ใหก้ รมควบคมุ โรคเปน็ สำ� นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ คณะกรรมการดา้ นวิชาการ และคณะอนุกรรมการ รบั ผดิ ชอบงานธุรการ โดยใหม้ ี อ�ำนาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นหน่วยงานกลางในการด�ำเนินการเก่ียวกับการพิจารณาเสนอ นโยบาย และวางระบบในการเฝา้ ระวงั ป้องกนั และควบคมุ โรคติดต่อ (๒) จดั ทำ� ระบบในการเฝา้ ระวงั โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย โรคตดิ ตอ่ ทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั และโรคระบาดเพอื่ เสนอตอ่ คณะกรรมการ (๓) จัดท�ำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อหรือ โรคระบาดเพอ่ื เสนอต่อคณะกรรมการ (๔) เป็นศูนย์ข้อมูลกลางในการประชาสัมพันธ์หรือเผยแพร่ข้อมูลและ ขา่ วสารเกยี่ วกบั การเฝา้ ระวงั การปอ้ งกนั และการควบคมุ สภาวการณข์ องโรคตดิ ตอ่ และโรคระบาด (๕) เปน็ หนว่ ยงานประสานงานในการตดิ ตาม ประเมนิ ผล และตรวจสอบ การด�ำเนินการของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด และคณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการด�ำเนินการตามแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ หรอื โรคระบาดทค่ี ณะกรรมการใหค้ วามเหน็ ชอบเพอื่ เสนอตอ่ คณะกรรมการ (๖) ปฏิบัติการ ประสานการปฏิบัติ ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ หนว่ ยงานของรฐั และเอกชนใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั กิ ารตามนโยบายและแผนการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ต่อ วันทม่ี ผี ลใช้บงั คบั  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญตั ิโรคตดิ ตอ่ 11 พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ (๗) ส่งเสรมิ สนบั สนุน และประสานงานทางด้านวิชาการ เวชภณั ฑ์และ วัสดุอปุ กรณ์ในการเฝ้าระวงั ปอ้ งกนั ควบคุม หรอื วินจิ ฉัย เกีย่ วกับโรคติดต่อ (๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีคณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ หรอื คณะอนุกรรมการมอบหมาย หมวด ๓ คณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัด มาตรา ๒๐ ใหม้ ีคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัด ประกอบด้วย (๑) ผ้วู ่าราชการจงั หวัด เปน็ ประธานกรรมการ (๒) ปลดั จงั หวดั ประชาสมั พนั ธจ์ งั หวดั ปศสุ ตั วจ์ งั หวดั หวั หนา้ สำ� นกั งาน ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ผ้อู ำ� นวยการส�ำนักงานปอ้ งกันควบคมุ โรค ทีร่ ับผดิ ชอบในเขตจังหวัด และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นกรรมการ (๓) นายกเทศมนตรี จำ� นวนหนงึ่ คน และนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล จำ� นวนหน่ึงคนซ่ึงผ้วู า่ ราชการจังหวดั แตง่ ตั้ง เปน็ กรรมการ (๔) ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลศูนย์หรือผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลทั่วไป จ�ำนวนหน่ึงคน ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน จ�ำนวนสองคน และสาธารณสุข อำ� เภอ จำ� นวนสองคน ซง่ึ ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั แต่งตั้ง เปน็ กรรมการ (๕) ผู้ด�ำเนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล จำ� นวนหนึง่ คน ซงึ่ ผวู้ ่าราชการจังหวัดแตง่ ต้งั เปน็ กรรมการ ในกรณที จ่ี งั หวดั ใดมโี รงพยาบาลในสงั กดั หนว่ ยงานของรฐั อน่ื นอกจาก (๔) ใหผ้ วู้ า่ ราชการจงั หวดั แตง่ ตงั้ ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลในสงั กดั หนว่ ยงานของรฐั นน้ั จำ� นวนไมเ่ กินสามคน เปน็ กรรมการดว้ ย 12 พระราชบัญญตั ิโรคตดิ ต่อ วันท่มี ผี ลใชบ้ งั คับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ ในกรณที จ่ี งั หวดั ใดมดี า่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ ใหผ้ วู้ า่ ราชการ จงั หวดั แตง่ ตง้ั เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ซง่ึ ประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ ง ประเทศ จำ� นวนแหง่ ละหนง่ึ คน และแตง่ ตง้ั ผรู้ บั ผดิ ชอบชอ่ งทางเขา้ ออกประจำ� ดา่ น จ�ำนวนแหง่ ละหนง่ึ คน เปน็ กรรมการด้วย ให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งต้ังข้าราชการในสังกัดส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ท่ดี �ำเนนิ งานด้านการป้องกันควบคุมโรค จ�ำนวนไมเ่ กนิ สองคน เปน็ กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๒๑ การแตง่ ตง้ั วาระการดำ� รงตำ� แหนง่ และการพน้ จากตำ� แหนง่ ของกรรมการตามมาตรา ๒๐ (๓) (๔) และ (๕) และกรรมการตามมาตรา ๒๐ วรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขทีค่ ณะกรรมการประกาศ กำ� หนด มาตรา ๒๒ ใหค้ ณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั มอี ำ� นาจหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ด�ำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคุมโรคติดตอ่ ท่ีคณะกรรมการก�ำหนด (๒) จดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย โรคติดต่อท่ตี อ้ งเฝา้ ระวงั หรอื โรคระบาดในเขตพนื้ ท่จี ังหวดั (๓) รายงานสถานการณโ์ รคติดตอ่ หรอื โรคท่ยี งั ไม่ทราบสาเหตุทอ่ี าจเป็น โรคระบาดซง่ึ เกดิ ขนึ้ ในเขตพ้ืนที่จงั หวัดต่ออธบิ ดี (๔) สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงาน ทเ่ี กี่ยวข้องภายในจังหวดั แล้วรายงานตอ่ คณะกรรมการ วันท่ีมีผลใชบ้ ังคับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบัญญัตโิ รคติดต่อ 13 พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ (๕) แตง่ ตง้ั คณะทำ� งานประจำ� ชอ่ งทางเขา้ ออกตามมาตรา ๒๓ ในกรณที ่ี จงั หวดั นัน้ มีดา่ นควบคุมโรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศ (๖) เรยี กใหบ้ ุคคลใด ๆ มาให้ขอ้ เทจ็ จรงิ หรือแสดงความคดิ เหน็ หรอื ให้ จดั สง่ ขอ้ มลู หรอื เอกสารใด ๆ ทจี่ ำ� เปน็ หรอื ขอ้ คดิ เหน็ มาเพอ่ื ใชป้ ระกอบการพจิ ารณา (๗) ดำ� เนนิ การอน่ื ใดทเ่ี กยี่ วกบั การควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามทค่ี ณะกรรมการ หรอื ผ้วู า่ ราชการจงั หวัดมอบหมาย หรอื ตามทบ่ี ญั ญัตไิ ว้ในพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา ๒๓ คณะท�ำงานประจำ� ช่องทางเขา้ ออก ประกอบด้วย (๑) เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานของรฐั ซงึ่ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบชอ่ งทางเขา้ ออกนนั้ เปน็ ประธานคณะทำ� งาน (๒) ผู้แทนกรมปศุสัตว์ ผู้แทนกรมวิชาการเกษตร ผู้แทนกรมศุลกากร ผแู้ ทนสำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา และผแู้ ทนสำ� นกั งานตรวจคนเขา้ เมอื ง ผซู้ ง่ึ ปฏบิ ัติหนา้ ทีใ่ นชอ่ งทางเขา้ ออกนน้ั เป็นคณะท�ำงาน (๓) ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐที่ดูแลรับผิดชอบ ชอ่ งทางเข้าออกนั้น เป็นคณะท�ำงาน (๔) เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ซง่ึ ประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ ง ประเทศ จำ� นวนหน่ึงคนเป็นคณะทำ� งานและเลขานุการ ในกรณีที่ช่องทางเข้าออกใดมีผู้แทนจากหน่วยงานของรัฐปฏิบัติหน้าที่ ในชอ่ งทางเขา้ ออกนอ้ ยกวา่ หนว่ ยงานตามทก่ี ำ� หนดไวใ้ น (๒) ในการนี้ ใหค้ ณะทำ� งาน ประกอบดว้ ยผู้แทนจากหน่วยงานเทา่ ท่มี ีอยู่ ในกรณีท่ีช่องทางเข้าออกใดมีผู้แทนจากหน่วยงานของรัฐปฏิบัติหน้าที่ ในช่องทางเข้าออกมากกว่าหน่วยงานตามที่ก�ำหนดไว้ใน (๒) ให้คณะกรรมการ มีอ�ำนาจประกาศก�ำหนดเพม่ิ เตมิ จากจำ� นวนทมี่ ีอยูเ่ ดมิ 14 พระราชบญั ญัติโรคติดต่อ วันที่มีผลใชบ้ ังคับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ มาตรา ๒๔ ให้คณะท�ำงานประจ�ำช่องทางเข้าออกมีอ�ำนาจหน้าท่ีใน เขตพื้นทีร่ ับผดิ ชอบดังตอ่ ไปนี้ (๑) จัดท�ำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศและแผนเตรียมพรอ้ มรบั สถานการณ์ฉกุ เฉินดา้ นสาธารณสขุ (๒) ประสาน สนบั สนุน และตดิ ตามประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานตามแผน ใน (๑) (๓) จดั ทำ� แผนการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคุมโรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศ (๔) ดำ� เนนิ การอนื่ ใดทเี่ กย่ี วกบั การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามท่คี ณะกรรมการหรือคณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวัดมอบหมาย มาตรา ๒๕ ให้น�ำความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั และคณะทำ� งานประจำ� ชอ่ งทางเขา้ ออกโดยอนโุ ลม หมวด ๔ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรุงเทพมหานคร มาตรา ๒๖ ใหม้ คี ณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานคร ประกอบดว้ ย (๑) ผูว้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ (๒) ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้แทนส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกรมควบคุมโรค ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์ ผู้แทนกรมปศุสัตว์ ผู้แทน กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั การแพทยก์ รงุ เทพมหานคร ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรงุ เทพมหานคร และผอู้ ำ� นวยการ โรงพยาบาลสังกดั สภากาชาดไทยในเขตกรุงเทพมหานคร เปน็ กรรมการ วันทมี่ ีผลใชบ้ ังคับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญตั ิโรคตดิ ต่อ 15 พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ (๓) ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร จ�ำนวนหนึ่งคน ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จ�ำนวน หนง่ึ คน และผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาในกรงุ เทพมหานคร จำ� นวน หนงึ่ คน ซ่ึงผู้ว่าราชการกรงุ เทพมหานครแต่งตัง้ เปน็ กรรมการ (๔) ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐนอกจาก (๓) ซึ่งผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานครแตง่ ตงั้ จำ� นวนไม่เกนิ ห้าคน เปน็ กรรมการ (๕) ผดู้ ำ� เนนิ การสถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาลในเขต กรุงเทพมหานคร ซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตั้ง จ�ำนวนหน่ึงคน เปน็ กรรมการ (๖) เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ซง่ึ ประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ ง ประเทศในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำนวนแห่งละหน่ึงคน และแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ชอ่ งทางเขา้ ออกประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศนนั้ ๆ จำ� นวนแหง่ ละ หนึ่งคน เปน็ กรรมการ ใหผ้ อู้ ำ� นวยการสำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานครเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตั้งข้าราชการในสังกัดส�ำนักอนามัย กรงุ เทพมหานครทด่ี ำ� รงตำ� แหนง่ ในระดบั ไมต่ ำ�่ กวา่ ผอู้ ำ� นวยการกอง จำ� นวนไมเ่ กนิ สองคน เป็นกรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ มาตรา ๒๗ การแตง่ ตง้ั วาระการดำ� รงตำ� แหนง่ และการพน้ จากตำ� แหนง่ ของกรรมการตามมาตรา ๒๖ (๓) (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขทคี่ ณะกรรมการประกาศกำ� หนด มาตรา ๒๘ ใหค้ ณะกรรมการโรคติดตอ่ กรุงเทพมหานครมอี �ำนาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปน้ี 16 พระราชบัญญตั โิ รคติดตอ่ วันที่มีผลใช้บังคับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ (๑) ด�ำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ปอ้ งกัน และควบคุมโรคติดต่อ ทีค่ ณะกรรมการก�ำหนด (๒) จดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝา้ ระวัง หรือโรคระบาดในเขตพนื้ ที่กรุงเทพมหานคร (๓) รายงานสถานการณโ์ รคตดิ ต่อหรือโรคที่ยงั ไมท่ ราบสาเหตุท่อี าจเป็น โรคระบาดซึง่ เกิดขนึ้ ในเขตพ้นื ท่กี รุงเทพมหานครตอ่ อธบิ ดี (๔) สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงาน ท่เี กย่ี วข้องภายในกรุงเทพมหานคร แล้วรายงานตอ่ คณะกรรมการ (๕) แตง่ ต้ังคณะท�ำงานประจ�ำช่องทางเข้าออกตามมาตรา ๒๓ (๖) เรียกให้บุคคลใด ๆ มาใหข้ อ้ เท็จจรงิ หรือแสดงความคิดเห็น หรือให้ จดั สง่ ขอ้ มลู หรอื เอกสารใด ๆ ทจี่ ำ� เปน็ หรอื ขอ้ คดิ เหน็ มาเพอ่ื ใชป้ ระกอบการพจิ ารณา (๗) ดำ� เนนิ การอนื่ ใดทเ่ี กยี่ วกบั การควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามทคี่ ณะกรรมการ หรอื ผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานครมอบหมาย หรอื ตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั นิ ี้ มาตรา ๒๙ ให้น�ำความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครและคณะท�ำงานประจ�ำช่องทางเข้าออก โดยอนุโลม มาตรา ๓๐ ให้น�ำความในมาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ มาใช้บังคับแก่ องคป์ ระกอบและอำ� นาจหนา้ ทขี่ องคณะทำ� งานประจำ� ชอ่ งทางเขา้ ออกทคี่ ณะกรรมการ โรคตดิ ตอ่ กรุงเทพมหานครแต่งตง้ั โดยอนโุ ลม วันทีม่ ีผลใชบ้ งั คับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญตั โิ รคติดตอ่ 17 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ หมวด ๕ การเฝา้ ระวังโรคติดต่อ มาตรา ๓๑ ในกรณที ม่ี โี รคตดิ ตอ่ อนั ตราย โรคตดิ ตอ่ ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั หรอื โรคระบาดเกิดขนึ้ ใหบ้ คุ คลดงั ต่อไปน้แี จง้ ต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ (๑) เจ้าบ้านหรือผู้ควบคุมดูแลบ้าน หรือแพทย์ผู้ท�ำการรักษาพยาบาล ในกรณที พ่ี บผทู้ เ่ี ปน็ หรอื มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ เปน็ โรคตดิ ตอ่ ดงั กลา่ วเกดิ ขน้ึ ในบา้ น (๒) ผรู้ บั ผดิ ชอบในสถานพยาบาล ในกรณที พี่ บผทู้ เ่ี ปน็ หรอื มเี หตอุ นั ควร สงสัยว่าเป็นโรคติดตอ่ ดงั กล่าวเกดิ ขนึ้ ในสถานพยาบาล (๓) ผทู้ ำ� การชนั สตู รหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบในสถานทท่ี ไี่ ดม้ กี ารชนั สตู ร ในกรณี ทไ่ี ดม้ กี ารชนั สตู รทางการแพทยห์ รอื ทางการสตั วแพทยต์ รวจพบวา่ อาจมเี ชอื้ อนั เปน็ เหตขุ องโรคติดต่อดังกลา่ ว (๔) เจา้ ของ หรอื ผู้ควบคมุ สถานประกอบการหรอื สถานท่อี ื่นใด ในกรณี ท่ีพบผทู้ ่ีเปน็ หรือมีเหตอุ นั ควรสงสัยว่าเป็นโรคติดตอ่ ดงั กล่าวเกิดขนึ้ ในสถานท่นี ั้น หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารแจง้ ตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ปน็ ไปตามทร่ี ฐั มนตรปี ระกาศ ก�ำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มาตรา ๓๒ เมอื่ เจ้าพนกั งานควบคมุ โรคติดตอ่ ไดร้ บั แจ้งตามมาตรา ๓๑ วา่ มเี หตสุ งสยั มขี อ้ มลู หรอื หลกั ฐานวา่ มโี รคตดิ ตอ่ อนั ตราย โรคตดิ ตอ่ ทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั หรือโรคระบาด ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อแจ้งคณะกรรมการโรคติดต่อ จังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี และรายงาน ข้อมูลนนั้ ใหก้ รมควบคุมโรคทราบโดยเร็ว 18 พระราชบัญญตั โิ รคติดตอ่ วนั ที่มผี ลใช้บังคบั  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ มาตรา ๓๓ ในกรณที มี่ เี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ มโี รคตดิ ตอ่ อนั ตราย โรคตดิ ตอ่ ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั หรอื โรคระบาดเกดิ ขน้ึ ในตา่ งประเทศ ใหก้ รมควบคมุ โรคประสานงาน ไปยังองค์การอนามยั โลกเพอื่ ขอข้อมลู เกยี่ วกบั โรคดงั กล่าว หมวด ๖ การป้องกนั และควบคมุ โรคติดต่อ มาตรา ๓๔ เพื่อประโยชน์ในการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ต่อ เม่อื เกิด โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดหรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตราย หรอื โรคระบาดในเขตพน้ื ทใ่ี ด ใหเ้ จา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ในพนื้ ทน่ี น้ั มอี ำ� นาจ ที่จะดำ� เนินการเองหรือออกคำ� ส่งั เป็นหนงั สอื ให้ผใู้ ดด�ำเนินการ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ให้ผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือ โรคระบาด หรอื ผทู้ เี่ ปน็ ผสู้ มั ผสั โรคหรอื เปน็ พาหะ มารบั การตรวจหรอื รกั ษา หรอื รบั การชันสูตรทางการแพทย์ และเพื่อความปลอดภัยอาจด�ำเนินการโดยการแยกกัก กกั กนั หรอื คมุ ไวส้ งั เกต ณ สถานทซ่ี ง่ึ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ กำ� หนดจนกวา่ จะไดร้ บั การตรวจและการชนั สตู รทางการแพทยว์ า่ พน้ ระยะตดิ ตอ่ ของโรคหรอื สน้ิ สดุ เหตอุ นั ควรสงสยั ทง้ั น้ี หากเปน็ สัตวใ์ ห้เจ้าของหรอื ผู้ครอบครองสตั วเ์ ป็นผ้นู ำ� สตั ว์ มารบั การตรวจหรอื รกั ษา หรอื รับการชนั สตู รทางการแพทย์ (๒) ให้ผู้ท่ีมีความเสี่ยงที่จะติดโรคได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามวนั เวลา และสถานทซี่ ง่ึ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ กำ� หนด เพอ่ื มใิ หโ้ รคตดิ ตอ่ อนั ตรายหรอื โรคระบาดแพรอ่ อกไป ทง้ั น้ี หากเปน็ สตั วใ์ หเ้ จา้ ของหรอื ผคู้ รอบครอง สตั ว์เป็นผู้นำ� สตั ว์มารบั การป้องกนั โรค (๓) ให้น�ำศพหรือซากสัตว์ซ่ึงตายหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าตายด้วย โรคติดต่ออนั ตรายหรือโรคระบาดไปรับการตรวจ หรอื จัดการทางการแพทย์ หรอื จัดการดว้ ยประการอ่นื ใด เพ่อื ป้องกันการแพร่ของโรค วันทมี่ ีผลใชบ้ งั คบั  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พระราชบัญญตั โิ รคตดิ ตอ่ 19 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ (๔) ให้เจ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้พักอาศัยในบ้าน โรงเรือน สถานที่ หรือพาหนะท่ีมีโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดเกิดขึ้น ก�ำจัดความติดโรค หรือท�ำลายส่ิงใด ๆ ท่ีมีเช้ือโรคติดต่อหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีเชื้อโรคติดต่อ หรือแก้ไขปรับปรุงการสุขาภิบาลให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อการควบคุมและป้องกัน การแพร่ของโรค ท้ังนี้ ผู้ที่ได้รับค�ำส่ังต้องด�ำเนินการตามค�ำส่ังดังกล่าวจนกว่า เจ้าพนกั งานควบคมุ โรคติดต่อจะมคี �ำสั่งยกเลกิ (๕) ให้เจ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้พักอาศัยในบ้าน โรงเรือน สถานที่ หรอื พาหนะทม่ี โี รคตดิ ตอ่ อนั ตรายหรอื โรคระบาดเกดิ ขนึ้ ดำ� เนนิ การเพอื่ การปอ้ งกนั การแพร่ของโรคดว้ ยการกำ� จัดสัตว์ แมลง หรอื ตวั ออ่ นของแมลงท่เี ปน็ สาเหตขุ อง การเกิดโรคตดิ ต่ออนั ตรายหรือโรคระบาด (๖) ห้ามผู้ใดกระท�ำการหรือด�ำเนินการใด ๆ ซ่ึงอาจก่อให้เกิดสภาวะที่ ไมถ่ ูกสุขลกั ษณะ ซ่ึงอาจเป็นเหตใุ หโ้ รคติดต่ออนั ตรายหรือโรคระบาดแพรอ่ อกไป (๗) ห้ามผู้ใดเข้าไปหรือออกจากท่ีเอกเทศ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก เจ้าพนกั งานควบคมุ โรคตดิ ต่อ (๘) เขา้ ไปในบา้ น โรงเรอื น สถานที่ หรอื พาหนะทม่ี หี รอื สงสยั วา่ มโี รคตดิ ตอ่ อันตราย หรือโรคระบาดเกิดขึ้นเพ่ือเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมมิให้มีการแพร่ ของโรค ในการดำ� เนนิ การตามวรรคหนง่ึ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตอ้ งทำ� การ สอบสวนโรค และหากพบวา่ มโี รคตดิ ตอ่ อนั ตรายหรอื โรคระบาดเกดิ ขน้ึ ในเขตพนื้ ทใี่ ด ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อแจ้งต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี และรายงานข้อมูลนั้น ใหก้ รมควบคุมโรคทราบโดยเรว็ 20 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ วันทม่ี ผี ลใชบ้ งั คบั  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการด�ำเนินการหรือออกค�ำส่ังตาม วรรคหนึ่ง และการสอบสวนโรคตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรีประกาศ ก�ำหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ มาตรา ๓๕ ในกรณที ม่ี เี หตจุ ำ� เปน็ เรง่ ดว่ นเพอื่ เปน็ การปอ้ งกนั การแพรข่ อง โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั หรอื ผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานครโดยความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร มีอ�ำนาจในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบ ของตน ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ส่ังปดิ ตลาด สถานทป่ี ระกอบหรือจ�ำหน่ายอาหาร สถานทผี่ ลิตหรอื จำ� หนา่ ยเครอ่ื งดมื่ โรงงาน สถานทชี่ มุ นมุ ชน โรงมหรสพ สถานศกึ ษา หรอื สถานท่ี อ่ืนใดไว้เปน็ การช่วั คราว (๒) ส่ังให้ผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือ โรคระบาดหยดุ การประกอบอาชีพเปน็ การชัว่ คราว (๓) ส่ังห้ามผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือ โรคระบาดเข้าไปในสถานท่ีชุมนุมชน โรงมหรสพ สถานศึกษา หรือสถานท่ีอ่ืนใด เว้นแต่ไดร้ บั อนุญาตจากเจ้าพนกั งานควบคมุ โรคติดต่อ มาตรา ๓๖ ใหผ้ วู้ ่าราชการจังหวดั โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ โรคติดต่อจังหวัด หรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อขึ้นในทุกอ�ำเภอหรือทุกเขตอย่างน้อยหน่ึงหน่วย เพื่อท�ำหน้าท่ี ในการเฝา้ ระวงั สอบสวนโรค ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ อนั ตรายหรอื โรคระบาด ทั้งนี้ หลักเกณฑ์การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการประกาศก�ำหนด วันท่มี ผี ลใชบ้ ังคับ  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญัติโรคตดิ ตอ่ 21 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามวรรคหนงึ่ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบดว้ ย เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ หนงึ่ คน เจา้ หนา้ ทท่ี างการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ สองคน และอาจแต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือหน่วยงาน ภาคเอกชน ตามจ�ำนวนที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เหน็ สมควรเปน็ หน่วยปฏบิ ตั ิการควบคมุ โรคตดิ ต่อรว่ มดว้ ยกไ็ ด้ มาตรา ๓๗ ให้ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบช่องทางเข้าออกปฏิบัติตามวิธีการ เพอ่ื การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ ในบรเิ วณชอ่ งทาง เขา้ ออก ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) จดั การสขุ าภบิ าลสง่ิ แวดลอ้ มใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ รวมทง้ั กำ� จดั สง่ิ อนั อาจ เปน็ อันตรายตอ่ สขุ ภาพ (๒) จดั การสุขาภบิ าลเกี่ยวกับอาหารและน�ำ้ ใหถ้ กู สุขลักษณะ (๓) ก�ำจัดยุง และพาหะน�ำโรค (๔) ปฏิบตั กิ ารตามวธิ ีการอื่นใดตามที่คณะกรรมการประกาศกำ� หนด มาตรา ๓๘ เมอื่ มเี หตอุ นั สมควร ใหเ้ จา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ประจำ� ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอ�ำนาจตรวจตรา ควบคุม ก�ำกับดูแล ในพ้ืนที่นอกช่องทางเข้าออก และแจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถ่ินด�ำเนินการก�ำจัดยุง และพาหะนำ� โรคในบรเิ วณรศั มสี รี่ อ้ ยเมตรรอบชอ่ งทางเขา้ ออก ในการนี้ ใหเ้ จา้ ของ หรือผอู้ ยใู่ นบา้ น โรงเรอื น หรอื สถานทใี่ นบรเิ วณดังกล่าว อ�ำนวยความสะดวกแก่ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ�ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศและ เจา้ พนกั งานท้องถิ่นตามสมควร มาตรา ๓๙ ในการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ เมอ่ื มเี หตุ อนั สมควรหรอื มเี หตสุ งสยั วา่ พาหนะนน้ั มาจากทอ้ งทหี่ รอื เมอื งทา่ ใดนอกราชอาณาจกั ร ท่ีมีโรคระบาด ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ�ำด่านควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศมีอำ� นาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ 22 พระราชบัญญตั ิโรคตดิ ต่อ วนั ท่มี ผี ลใชบ้ งั คบั  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ (๑) ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะแจ้งก�ำหนดวัน เวลา และ สถานท่ีท่ีพาหนะนั้น ๆ จะเข้ามาถึงด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศต่อ เจ้าพนกั งานควบคุมโรคติดต่อประจำ� ด่านควบคมุ โรคติดต่อระหว่างประเทศ (๒) ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะท่ีเข้ามาในราชอาณาจักร ย่ืนเอกสารต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ�ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศ (๓) หา้ มผใู้ ดเขา้ ไปในหรอื ออกจากพาหนะทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มาในราชอาณาจกั ร ซึ่งยังไม่ได้รับการตรวจ จากเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ�ำด่านควบคุม โรคติดต่อระหว่างประเทศ และห้ามผู้ใดน�ำพาหนะอ่ืนใดเข้าเทียบพาหนะนั้น เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศ (๔) เขา้ ไปในพาหนะและตรวจผเู้ ดนิ ทาง สง่ิ ของ หรอื สตั วท์ ม่ี ากบั พาหนะ ตรวจตราและควบคุม ให้เจ้าของพาหนะหรือผ้คู วบคมุ พาหนะแก้ไขการสุขาภิบาล ของพาหนะให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งก�ำจัดสิ่งอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในพาหนะ ในการน้ี ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะอ�ำนวยความสะดวก แกเ่ จ้าพนักงานควบคมุ โรคติดตอ่ ประจ�ำด่านควบคมุ โรคตดิ ต่อระหว่างประเทศ (๕) ห้ามเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะน�ำผู้เดินทางซึ่งไม่ได้รับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามที่รัฐมนตรีประกาศก�ำหนดโดยค�ำแนะน�ำของ คณะกรรมการเข้ามาในราชอาณาจกั ร การแจง้ และการยน่ื เอกสารของเจา้ ของพาหนะหรอื ผคู้ วบคมุ พาหนะตาม (๑) และ (๒) และการห้ามเจา้ ของพาหนะหรอื ผูค้ วบคุมพาหนะตาม (๕) ใหเ้ ปน็ ไป ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขที่กำ� หนดในกฎกระทรวง วันที่มีผลใชบ้ งั คับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญตั ิโรคติดตอ่ 23 พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ มาตรา ๔๐ เมอื่ รฐั มนตรปี ระกาศใหท้ อ้ งทห่ี รอื เมอื งทา่ ใดนอกราชอาณาจกั ร เปน็ เขตตดิ โรค ตามมาตรา ๘ ใหเ้ จา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคติดต่อระหว่างประเทศ มีอ�ำนาจด�ำเนินการเอง หรือออกค�ำสั่งเป็นหนังสือ ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ามาในราชอาณาจักรจากท้องท่ีหรือ เมอื งทา่ นน้ั ด�ำเนนิ การดังตอ่ ไปนี้ (๑) กำ� จดั ความติดโรค เพอ่ื ปอ้ งกนั และควบคุมการแพร่ของโรค (๒) จัดให้พาหนะจอดอยู่ ณ สถานท่ีที่ก�ำหนดให้จนกว่าเจ้าพนักงาน ควบคุมโรคติดตอ่ ประจำ� ดา่ นควบคุมโรคติดตอ่ ระหว่างประเทศจะอนญุ าตใหไ้ ปได้ (๓) ให้ผู้เดินทางซึ่งมากับพาหนะน้ันรับการตรวจในทางแพทย์ และอาจ ให้แยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต หรือรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ณ สถานที่ และระยะเวลาทีก่ ำ� หนด (๔) หา้ มผใู้ ดเขา้ ไปในหรอื ออกจากพาหนะนน้ั หรอื ทเ่ี อกเทศ เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนุญาตจากเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ�ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศ (๕) ห้ามผู้ใดน�ำวัตถุ สิ่งของ หรือเครื่องใช้ท่ีเป็นหรือมีเหตุสงสัยว่าเป็น ส่ิงติดโรคเข้าไปในหรือออกจากพาหนะน้ัน เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน ควบคมุ โรคติดตอ่ ประจำ� ด่านควบคุมโรคติดต่อระหวา่ งประเทศ มาตรา ๔๑ ใหเ้ จา้ ของพาหนะหรอื ผู้ควบคมุ พาหนะเปน็ ผ้อู อกค่าใชจ้ า่ ย ในการขนส่งผู้เดินทางซึ่งมากับพาหนะนั้น เพ่ือแยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต หรือ รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตลอดทั้งออกค่าใช้จ่ายในการเล้ียงดู การรักษา พยาบาล การป้องกนั และควบคมุ โรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศตามมาตรา ๔๐ และ คา่ ใช้จา่ ยอื่น ๆ ที่เก่ยี วข้อง 24 พระราชบัญญัติโรคติดตอ่ วนั ท่มี ผี ลใชบ้ ังคบั  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ การก�ำหนดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการด�ำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรีประกาศก�ำหนดโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการ มาตรา ๔๒ ในกรณีที่พบว่าผู้เดินทางเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็น โรคตดิ ต่ออนั ตราย โรคระบาด หรือพาหะน�ำโรค ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ประจ�ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มีอ�ำนาจสั่งให้บุคคลดังกล่าว ถูกแยกกกั กักกนั คมุ ไว้สงั เกต หรอื ได้รับการสรา้ งเสริมภูมคิ มุ้ กนั โรค ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดจากการด�ำเนินการตามวรรคหน่ึง ให้ผู้เดินทางผู้น้ันเป็น ผู้รบั ผดิ ชอบ ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศก�ำหนด โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ มาตรา ๔๓ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรคติดต่อระหว่างประเทศ หรือโรคระบาด ให้อธิบดีหรือผู้ที่อธิบดีมอบหมายมีอ�ำนาจออกหนังสือรับรอง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคหรือการได้รับยาป้องกันโรคติดต่อระหว่างประเทศ หรอื หนงั สือรบั รองอ่ืน ๆ ใหแ้ ก่ผูร้ ้องขอ โดยผรู้ ้องขอเปน็ ผ้รู บั ผิดชอบค่าใชจ้ ่าย การมอบหมาย การเรยี กเกบ็ หรอื การยกเวน้ การเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขท่คี ณะกรรมการประกาศกำ� หนด มาตรา ๔๔ ในกรณีท่ีเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้ออกค�ำสั่งให้ผู้ใด ดำ� เนินการตามมาตรา ๓๔ (๓) (๔) หรอื (๕) มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ (๔) หรือ มาตรา ๔๐ (๑) (๒) หรือ (๓) แล้ว ผ้นู ้ันละเลยไม่ด�ำเนินการตามคำ� สง่ั ภายในเวลา ท่ีก�ำหนด เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอ�ำนาจด�ำเนินการแทนได้ โดยให้ผู้นั้น ชดใช้ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการนั้นตามจ�ำนวนที่จ่ายจริง ทั้งน้ี ตามระเบียบท่ี กระทรวงสาธารณสขุ ก�ำหนด วันทมี่ ผี ลใชบ้ งั คบั  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญัตโิ รคติดตอ่ 25 พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ หมวด ๗ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ต่อ มาตรา ๔๕ เพอื่ ปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหเ้ จา้ พนกั งาน ควบคุมโรคตดิ ต่อมอี ำ� นาจดังต่อไปน้ี (๑) มีหนังสือเรียกบุคคลใด ๆ มาให้ถ้อยหรือแจ้งข้อเท็จจริงหรือ ทำ� ค�ำชแ้ี จงเปน็ หนังสอื หรือให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานใดเพอื่ ตรวจสอบหรือเพ่ือใช้ ประกอบการพิจารณา (๒) เขา้ ไปในพาหนะ อาคาร หรอื สถานทใี่ ดๆ ในเวลาระหวา่ งพระอาทติ ยข์ น้ึ และพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาท�ำการของอาคารหรือสถานท่ีนั้น เพ่ือตรวจสอบ หรือควบคุมให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติน้ี และหากยังด�ำเนินการไม่แล้วเสร็จ ในเวลาดังกลา่ วให้สามารถด�ำเนนิ การต่อไปไดจ้ นกว่าจะแลว้ เสร็จ การดำ� เนินการตาม (๒) ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ี อธบิ ดีก�ำหนด ในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ขี องเจา้ พนักงานควบคมุ โรคติดตอ่ ตาม (๒) ให้บคุ คล ท่เี กี่ยวข้องอำ� นวยความสะดวกตามสมควร มาตรา ๔๖ ให้มีเคร่ืองแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจ�ำตัวส�ำหรับ เจา้ พนักงานควบคุมโรคติดต่อเพอ่ื แสดงตวั ขณะปฏิบัตหิ น้าทต่ี อ่ บคุ คลทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เครอื่ งแบบ เครอื่ งหมาย และบตั รประจำ� ตวั ตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ปน็ ไปตาม แบบท่ีกระทรวงสาธารณสุขประกาศก�ำหนด มาตรา ๔๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เจ้าพนักงาน ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ เปน็ เจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา 26 พระราชบัญญัติโรคตดิ ตอ่ วันท่ีมผี ลใช้บงั คบั  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ หมวด ๘ คา่ ทดแทน มาตรา ๔๘ ในการด�ำเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตาม พระราชบัญญัติน้ี หากเกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลใดจาก การเฝา้ ระวงั การปอ้ งกนั หรอื การควบคมุ โรค ใหท้ างราชการชดเชยความเสยี หาย ท่เี กดิ ขึ้นใหแ้ กผ่ นู้ น้ั ตามความจำ� เป็น การชดเชยความเสยี หายตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง หมวด ๙ บทก�ำหนดโทษ มาตรา ๔๙ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค�ำส่ังของคณะกรรมการ คณะกรรมการ ดา้ นวชิ าการ หรอื คณะอนกุ รรมการตามมาตรา ๑๘ หรอื ค�ำส่งั ของคณะกรรมการ โรคติดต่อจังหวัดตามมาตรา ๒๒ (๖) หรือค�ำสั่งของคณะกรรมการโรคติดต่อ กรงุ เทพมหานครตามมาตรา ๒๘ (๖) หรือคำ� ส่งั ของเจา้ พนักงานควบคุมโรคติดตอ่ ตามมาตรา ๔๕ (๑) ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกิน หนงึ่ หมืน่ บาท หรือทัง้ จ�ำท้งั ปรับ มาตรา ๕๐ ผู้ใดไมป่ ฏบิ ัตติ ามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการแจง้ ตามมาตรา ๓๑ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสองหม่ืนบาท มาตรา ๕๑ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค�ำสั่งของเจ้าพนักงานควบคุม โรคตดิ ต่อตามมาตรา ๓๔ (๑) (๒) (๕) หรอื (๖) มาตรา ๓๙ (๑) (๒) (๓) หรือ (๕) วนั ที่มีผลใช้บงั คบั  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พระราชบัญญัตโิ รคตดิ ต่อ 27 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ มาตรา ๔๐ (๕) หรือไม่อ�ำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ตามมาตรา ๓๙ (๔) ต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ สองหมน่ื บาท มาตรา ๕๒ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค�ำส่ังของเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อตามมาตรา ๓๔ (๓) (๔) (๗) หรอื (๘) หรอื มาตรา ๔๐ (๓) หรอื (๔) หรือผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครตามมาตรา ๓๕ ต้องระวางโทษจ�ำคกุ ไม่เกินหน่งึ ปี หรือปรบั ไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท หรอื ทัง้ จ�ำท้งั ปรับ มาตรา ๕๓ ผู้ใดไมอ่ ำ� นวยความสะดวกแก่เจ้าพนกั งานควบคุมโรคติดตอ่ หรือเจา้ พนกั งานท้องถ่นิ ตามมาตรา ๓๘ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินสองหม่นื บาท มาตรา ๕๔ เจา้ ของพาหนะหรือผู้ควบคมุ พาหนะผู้ใดไม่ปฏบิ ัตติ ามคำ� สง่ั ของเจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามมาตรา ๔๐ (๒) ตอ้ งระวางโทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ สองปี หรือปรบั ไม่เกนิ ห้าแสนบาท หรอื ท้งั จำ� ท้งั ปรบั มาตรา ๕๕ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ�ำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามมาตรา ๔๕ วรรคสาม ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ สองหมน่ื บาท มาตรา ๕๖ ผใู้ ดไมม่ สี ทิ ธทิ จี่ ะสวมเครอ่ื งแบบหรอื ประดบั เครอ่ื งหมายของ เจา้ พนักงานควบคมุ โรคติดตอ่ ตามมาตรา ๔๖ กระทำ� การเช่นนน้ั เพอ่ื ใหบ้ ุคคลอ่นื เช่ือว่าตนมีสทิ ธิ ตอ้ งระวางโทษจ�ำคุกไมเ่ กนิ หกเดอื น หรอื ปรับไมเ่ กนิ หา้ หม่นื บาท หรอื ทั้งจ�ำท้งั ปรบั มาตรา ๕๗ บรรดาความผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ที้ ม่ี โี ทษปรบั สถานเดยี ว หรือมีโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งปี ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอ�ำนาจ เปรียบเทยี บได้ ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑ์การเปรยี บเทียบท่คี ณะกรรมการก�ำหนด เมอ่ื ผตู้ อ้ งหาไดช้ ำ� ระเงนิ คา่ ปรบั ตามจำ� นวนทเ่ี ปรยี บเทยี บภายในสามสบิ วนั นับแต่วันที่มีการเปรียบเทียบแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมาย วธิ พี ิจารณาความอาญา 28 พระราชบญั ญัตโิ รคติดต่อ วนั ทม่ี ผี ลใชบ้ งั คับ  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๘ กนั ยายน ๒๕๕๘ บทเฉพาะกาล มาตรา ๕๘ ให้เจ้าพนักงานสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามพระราชบัญญัติน้ีจนกว่าจะมี การแต่งตง้ั เจา้ พนกั งานควบคุมโรคติดตอ่ ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี มาตรา ๕๙ ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการ ตามมาตรา ๑๑ ยกเว้นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๑ (๔) ปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการตามพระราชบญั ญตั นิ ไ้ี ปพลางกอ่ น จนกวา่ จะมกี ารแตง่ ตงั้ กรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ติ ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ ทงั้ น้ี ตอ้ งไมเ่ กนิ หนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วนั นบั แตว่ นั ที่ พระราชบัญญตั ิน้ีใช้บังคับ มาตรา ๖๐ บรรดากฎกระทรวง ระเบยี บ ประกาศ หรอื คำ� สงั่ ใดทอี่ อกตาม พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๒๓ ทใี่ ชบ้ งั คบั อยใู่ นวนั กอ่ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ี้ ใชบ้ งั คบั ใหใ้ ชบ้ งั คบั ไดต้ อ่ ไปเทา่ ทไี่ มข่ ดั หรอื แยง้ กบั บทบญั ญตั แิ หง่ พระราชบญั ญตั นิ ้ี จนกวา่ จะมีกฎกระทรวง ระเบียบ หรอื ประกาศตามพระราชบญั ญัติน้ใี ชบ้ ังคบั การด�ำเนินการออกกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศตามวรรคหน่ึง ให้ด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงปี นับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่สามารถด�ำเนินการได้ ให้รัฐมนตรีรายงานเหตุผลท่ีไม่อาจด�ำเนินการได้ ต่อคณะรฐั มนตรีเพอื่ ทราบ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี วันทม่ี ีผลใชบ้ งั คับ  ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ต่อ 29 พ.ศ. ๒๕๕๘

เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๘ กันยายน ๒๕๕๘ หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทพ่ี ระราชบญั ญตั ิ โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว บทบัญญัติบางประการ ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงมีการแพร่กระจายของโรคติดต่อท่ีรุนแรง และกอ่ ใหเ้ กดิ โรคระบาดมากผดิ ปกตกิ วา่ ทเ่ี คยเปน็ มา ทง้ั โรคตดิ ตอ่ ทอ่ี บุ ตั ใิ หมแ่ ละ โรคติดต่อท่ีอุบัติซ�้ำ ประกอบกับประเทศไทยได้ให้การรับรองและด�ำเนินการตาม ขอ้ กำ� หนดของกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในการนี้ จงึ ตอ้ งพฒั นาและ ปรบั ปรงุ มาตรการทางกฎหมายทเี่ กยี่ วกบั การเฝา้ ระวงั การปอ้ งกนั และการควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ นั และขอ้ กำ� หนดของกฎอนามยั ระหวา่ ง ประเทศ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญัตินี้ 30 พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ต่อ วนั ท่ีมีผลใชบ้ งั คับ  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

ตารางแสดงบทกำ� หนดโทษ มาตรา บทบัญญัติ ระวางโทษ ๔๙ ผ้ใู ดไมป่ ฏิบตั ิตามคำ� ส่งั ของคณะกรรมการ คณะกรรมการดา้ นวชิ าการ จำ� คกุ ไม่เกนิ ๑ เดอื น หรือ หรอื คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๘ หรือคำ� สั่งของคณะกรรมการ ปรบั ไมเ่ กิน ๑๐,๐๐๐ บาท โรคติดตอ่ จังหวดั ตามมาตรา ๒๒ (๖) หรือค�ำสั่งของคณะกรรมการ หรอื ท้ังจ�ำท้งั ปรบั โรคตดิ ตอ่ กรุงเทพมหานครตามมาตรา ๒๘ (๖) หรอื คำ� สงั่ ของ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคติดตอ่ ตามมาตรา ๔๕ (๑) ๕๐ ผใู้ ดไม่ปฏบิ ัติตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารแจง้ ตามมาตรา ๓๑ ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๕๑ ผ้ใู ดฝา่ ฝืนหรอื ไมป่ ฏิบัตติ ามคำ� สั่งของเจ้าพนกั งานควบคุมโรคติดต่อ ปรับไม่เกนิ ๒๐,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๓๔ (๑) (๒) (๕) หรอื (๖) มาตรา ๓๙ (๑) (๒) (๓) หรือ (๕) มาตรา ๔๐ (๕) หรือไมอ่ �ำนวยความสะดวกแก่เจา้ พนกั งาน ควบคมุ โรคตดิ ต่อตามมาตรา ๓๙ (๔) ๕๒ ผู้ใดฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏบิ ัติตามคำ� สั่งของเจา้ พนกั งานควบคุมโรคตดิ ตอ่ จำ� คกุ ไม่เกิน ๑ ปี หรือ ตามมาตรา ๓๔ (๓) (๔) (๗) หรือ (๘) หรือมาตรา ๔๐ (๓) หรือ (๔) ปรบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ผ้วู ่าราชการจังหวัดหรอื ผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร หรอื ทง้ั จำ� ท้ังปรบั ตามมาตรา ๓๕ ๕๓ ผูใ้ ดไมอ่ ำ� นวยความสะดวกแก่เจา้ พนกั งานควบคุมโรคตดิ ตอ่ ปรับไม่เกนิ ๒๐,๐๐๐ บาท หรือเจา้ พนักงานท้องถนิ่ ตามมาตรา ๓๘ ๕๔ เจ้าของพาหนะหรือผคู้ วบคุมพาหนะผู้ใดไมป่ ฏิบัติตามค�ำส่งั ของ จำ� คกุ ไม่เกิน ๒ ปี หรือ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคติดตอ่ ตามมาตรา ๔๐ (๒) ปรบั ไมเ่ กนิ ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทง้ั จ�ำทง้ั ปรับ ๕๕ ผใู้ ดขดั ขวางหรอื ไมอ่ ำ� นวยความสะดวกแกเ่ จา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ปรับไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๔๕ วรรคสาม ๕๖ ผ้ใู ดไมม่ ีสิทธทิ ่ีจะสวมเครอื่ งแบบหรอื ประดบั เครอ่ื งหมายของ จำ� คุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือ เจ้าพนกั งานควบคมุ โรคติดต่อตามมาตรา ๔๖ กระท�ำการเชน่ นนั้ ปรบั ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท เพื่อให้บคุ คลอืน่ เช่อื วา่ ตนมีสทิ ธิ หรือทั้งจ�ำทง้ั ปรับ วนั ทีม่ ีผลใช้บังคับ  ๖ มนี าคม ๒๕๕๙ พระราชบัญญัตโิ รคตดิ ต่อ 31 พ.ศ. ๒๕๕๘



โครงสร้างและกลไกการดำ� เนนิ งาน



พระราชบญั ญัติโรคติดตอ่ 35 พ.ศ. ๒๕๕๘

36 พระราชบญั ญตั โิ รคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘

องค์ประกอบและอำ� นาจหนา้ ท่ี ของคณะกรรมการ/คณะทำ� งาน ตามพระราชบญั ญัตโิ รคติดตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. คณะกรรมการโรคตดิ ต่อแหง่ ชาติ (๓๐ คน) มาตรา ๑๑ องคป์ ระกอบ ประธาน รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ กรรมการโดยตำ� แหนง่ ๑. ปลดั กระทรวงกลาโหม กรรมการ ๒. ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ผูท้ รงคณุ วุฒิ ๓. ปลัดกระทรวงคมนาคม ๔. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ๕. ปลดั กระทรวงแรงงาน ๖. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๗. ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ๘. เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎีกา ๙. ผู้บัญชาการต�ำรวจแหง่ ชาติ ๑๐. อธบิ ดกี รมการแพทย์ ๑๑. อธิบดีกรมประชาสมั พันธ์ ๑๒. อธบิ ดีกรมปศุสตั ว์ ๑๓. อธิดกี รมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ๑๔. อธบิ ดีกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ๑๕. อธบิ ดกี รมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ิน ๑๖. อธบิ ดีกรมอนามยั ๑๗. อธบิ ดกี รมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธุ์พืช ๑๘. ปลดั กรงุ เทพมหานคร รฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั จากผมู้ คี วามรู้ ความเชยี่ วชาญ และมปี ระสบการณเ์ ปน็ ที่ประจักษ์ในด้านการสาธารณสุข การควบคุมโรค และด้านอื่นท่ีเป็น ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ จำ� นวน ๔ คน โดยในจำ� นวนนี้ ต้องแต่งต้ังจากองค์กรพัฒนาเอกชน ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ ที่มิใช่เป็นการ แสวงหาผลก�ำไร และด�ำเนินกิจกรรมด้านการสาธารณสุข อย่างน้อย ๑ คน กรรมการจาก ๑. ผแู้ ทนแพทยสภา สภาวชิ าชพี ท่เี กย่ี วขอ้ ง ๒. ผู้แทนสภาการพยาบาล ๓. ผแู้ ทนสภาเทคนคิ การแพทย์ ๔. ผูแ้ ทนสมาคมโรงพยาบาลเอกชน กรรมการและเลขานกุ าร อธิบดีกรมควบคมุ โรค กรรมการ ๑. ผู้อำ� นวยการสำ� นกั โรคตดิ ต่อทัว่ ไป และผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๒. ผ้อู ำ� นวยการส�ำนกั ระบาดวทิ ยา 38 พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘

มาตรา ๑๔ อ�ำนาจหนา้ ที่ • กำ� หนดนโยบาย วางระบบ และแนวทางปฏิบตั ใิ นการเฝา้ ระวัง ป้องกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ เพอ่ื ใหห้ น่วยงานของรัฐ คณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวดั /กรงุ เทพมหานคร ๑ ดำ� เนินการใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญตั ินี้ • พิจารณาให้ความเหน็ ชอบแผนปฏบิ ตั กิ ารเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคุมโรคติดตอ่ ๒ หรอื โรคระบาด และเสนอคณะรัฐมนตรีใหค้ วามเห็นชอบ • เสนอความเห็นต่อรฐั มนตรใี นการออกกฎกระทรวง ระเบยี บ ประกาศ และแนวทางปฏบิ ัติ ๓ เพอื่ ปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญัตนิ ี้ • ให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ และประสานงานแก่หนว่ ยงานของรฐั และเอกชนเก่ยี วกบั การเฝ้าระวัง ๔ ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ • ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และตรวจสอบการดำ� เนินงานของหนว่ ยงานของรฐั คณะกรรมการ ๕ โรคตดิ ต่อจงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร เพ่ือให้ปฏบิ ตั ติ ามแผนปฏิบัติการตามข้อ ๒ • พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไขเกย่ี วกับการเบกิ จ่ายค่าชดเชย คา่ ทดแทน ค่าตอบแทน หรอื ค่าใช้จา่ ยอ่ืนทจ่ี ำ� เป็นในการด�ำเนินการเฝ้าระวงั ๖ การสอบสวนโรค การป้องกนั หรอื การควบคุมโรคติดตอ่ • แต่งตง้ั คณะกรรมการดา้ นวชิ าการหรือคณะอนกุ รรมการ เพือ่ ปฏิบัตกิ ารตาม ๗ พระราชบัญญัตนิ ้ี • ปฏบิ ตั ิการอ่ืนใดตามท่ีพระราชบญั ญัติน้หี รอื กฎหมายอน่ื บญั ญัติใหเ้ ป็นอำ� นาจหนา้ ที่ ๘ ของคณะกรรมการโรคติดตอ่ แห่งชาติ หรอื ตามท่คี ณะรัฐมนตรมี อบหมาย พระราชบญั ญัตโิ รคตดิ ต่อ 39 พ.ศ. ๒๕๕๘

๒. คณะกรรมการดา้ นวิชาการ (ไม่เกิน ๘ คน) มาตรา ๑๖ องค์ประกอบ ประธาน ใหแ้ ต่งตั้งจากกรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิตามมาตรา ๑๑ (๔) กรรมการโดยต�ำแหนง่ ผูม้ ีความรู้ ความเช่ยี วชาญ และประสบการณด์ า้ นโรคตดิ ตอ่ จำ� นวนไม่เกิน ๗ คน มาตรา ๑๖ อำ� นาจหนา้ ที่ • ใหค้ �ำแนะน�ำแกร่ ัฐมนตรใี นการประกาศเขตติดโรค ๑ ๒ • ใหค้ ำ� แนะน�ำแกอ่ ธิบดใี นการประกาศโรคระบาด • ให้คำ� แนะนำ� แกร่ ัฐมนตรีหรืออธิบดีในการประกาศยกเลกิ เม่อื สภาวการณข์ องโรคตาม (๑) ๓ หรอื (๒) แล้วแตก่ รณี สงบลงหรือกรณมี ีเหตุอันสมควร ๔ • ปฏิบตั กิ ารตามที่คณะกรรมการโรคตดิ ต่อแห่งชาติมอบหมาย มาตรา ๑๖ วรรคทา้ ย ให้นำ� ความในมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๓ มาใช้บังคบั แก่กรณีวาระการดำ� รง ต�ำแหน่งและการพ้นจากตำ� แหน่งของคณะกรรมการดา้ นวชิ าการโดยอนุโลม 40 พระราชบัญญตั ิโรคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓. คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัด (ไม่น้อยกวา่ ๑๘ คน) มาตรา ๒๐ องคป์ ระกอบ ประธาน ผู้ว่าราชการจงั หวดั กรรมการโดยตำ� แหน่ง ๑. ปลัดจงั หวดั ๒. ประชาสมั พันธจ์ งั หวดั กรรมการจากหน่วยงานด้าน ๓. ปศุสตั ว์จังหวัด สง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถนิ่ * ๔. หวั หนา้ ส�ำนักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ๕. ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคท่ีรับผดิ ชอบ กรรมการจากหนว่ ยงาน ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข* ในเขตจงั หวดั ๖. นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั กรรมการจากสถานพยาบาล* กรรมการและเลขานกุ าร ๑. นายกเทศมนตรี จำ� นวน ๑ คน กรรมการและผู้ช่วย ๒. นายกองคก์ ารบริหารส่วนตำ� บล จำ� นวน ๑ คน เลขานุการ ๑. ผ้อู ำ� นวยการโรงพยาบาลศูนย์หรอื ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล อื่นๆ* ท่วั ไป จ�ำนวน ๑ คน ๒. ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลชมุ ชน จำ� นวน ๒ คน ๓. สาธารณสุขอ�ำเภอ จ�ำนวน ๒ คน ผูด้ ำ� เนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล จำ� นวน ๑ คน นายแพทยส์ าธารณสุขจังหวดั ขา้ ราชการในสังกดั สำ� นักงานสาธารณสุขจังหวดั ทดี่ �ำเนินงาน ด้านการป้องกนั ควบคุมโรค จ�ำนวนไม่เกนิ ๒ คน ๑. จงั หวัดใดมีโรงพยาบาลในสงั กดั หนว่ ยงานของรฐั อืน่ นอกจาก มาตรา ๒๐ (๔) ใหแ้ ตง่ ตงั้ ผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลในสังกดั หนว่ ยงานของรัฐนั้น จ�ำนวนไมเ่ กิน ๓ คน ๒. จงั หวัดใดมีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ใหแ้ ต่งตง้ั ๒.๑ เจา้ พนกั งานควบคุมโรคตดิ ต่อซงึ่ ประจ�ำดา่ นฯ จำ� นวน แหง่ ละ ๑ คน ๒.๒ ผู้รับผิดชอบชอ่ งทางเข้าออกประจ�ำด่านฯ จ�ำนวน แหง่ ละ ๑ คน * กรรมการซงึ่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั แตง่ ตง้ั พระราชบัญญัตโิ รคติดตอ่ 41 พ.ศ. ๒๕๕๘

มาตรา ๒๒ อำ� นาจหน้าท่ี • ดําเนนิ การตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏบิ ัติในการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั และควบคุม ๑ โรคติดตอ่ ทค่ี ณะกรรมการกําหนด • จัดทําแผนปฏิบัติการเฝา้ ระวงั ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคตดิ ต่อที่ตอ้ ง ๒ เฝา้ ระวัง หรอื โรคระบาดในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัด • รายงานสถานการณโ์ รคตดิ ต่อหรือโรคทีย่ ังไม่ทราบสาเหตทุ อี่ าจเป็นโรคระบาดซงึ่ เกดิ ข้ึน ๓ ในเขตพน้ื ที่จังหวัดตอ่ อธบิ ดกี รมควบคมุ โรค • สนบั สนุน ส่งเสริม ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ๔ ภายในจงั หวัดแล้วรายงานต่อคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ • แตง่ ตั้งคณะทาํ งานประจําชอ่ งทางเข้าออกตามมาตรา ๒๓ ในกรณีท่จี ังหวัดน้นั มดี า่ นควบคมุ ๕ โรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศ • เรียกใหบ้ คุ คลใดๆ มาให้ขอ้ เทจ็ จริงหรือแสดงความคดิ เหน็ หรอื ใหจ้ ดั สง่ ขอ้ มลู หรอื เอกสาร ๖ ใดๆ ท่ีจําเปน็ หรือขอ้ คดิ เห็นมาเพื่อใชป้ ระกอบการพิจารณา • ดาํ เนินการอน่ื ใดที่เกย่ี วกบั การควบคมุ โรคติดต่อตามทค่ี ณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แห่งชาติ ๗ หรอื ผ้วู ่าราชการจงั หวัดมอบหมาย หรือตามท่ีบญั ญตั ไิ ว้ในพระราชบญั ญตั นิ ี้ 42 พระราชบญั ญตั โิ รคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook