แรงงานตางดาวในเรือประมงอยางเปน ธรรมไมใชแรงงานทาส ถึงแมวาประเทศไทยจะนำเขาวัตถุดบิ การใชวตั ถุดิบนัน้ จะตองมีใบรับรองจากประเทศที่ทำการประมงวาไดใชแรงงานอยางเปนธรรมดว ย และประเทศญ่ีปุน มีขอกำหนดเร่ืองสารปนเปอน และความปลอดภัยดานอาหาร (Rahmah, 2016) ซงึ่ ปจจบุ นั สมาคมอตุ สาหกรรมทนู า ไทย (2563) ไดม ปี ระสานรวมกนั ในหมูผูประกอบการยนื ยนั ปฏิบัติ ขอตกลง ในสวนตนน้ำของการผลิต ปฏิบัติตามนโยบายดานจริยธรรมในการปฏิบัติตอแรงงาน (Ethical Code of Conduct) ใชแรงงานที่ถูกกฎหมาย เรือประมงที่จับปลาทูนาจะตองมีระบบ ติดตามเรือ (Vessel Monitoring System :VMS) และ แนวทางปฏิบัติที่ดีตอผูใชแรงงาน (Good Labour Practices :GLP) หากเปนเรือประมงนอกนานน้ำจะตองปฏิบัติตามกฎขององคกรจัดการ ประมงระดับภูมิภาค (Regional fisheries management organisations : RFMOs) การตรวจ รับรอง Dolphin Safe Program จาก Earth Island Institute (EII) สวนกลางน้ำในการแปรรูป ผลิตภณั ฑปลาทูนาจะมีการตรวจสอบในดานใชแรงงานที่ถูกตองในโรงงานเชนกัน รวมทั้งมีนโยบาย ความปลอดภัย ผานมาตรฐาน GMO และ HACCP นอกจากนน้ั มาตรฐานที่สง ผลตอความตระหนักของผูบริโภคไดม ีเพ่มิ ข้นึ เพื่อผลกั ดันใหผผู ลติ ตระหนักถึงความยั่งยืนของการนำสินคาสัตวน้ำมาผลิตอยางยั่งยืน ซึ่งจะครอบคลุมทั้งดานการทำ ประมงอยา งย่ังยืน (Marine Stewardship Council; MSC) เปน มาตรฐานทแี่ สดงถึงการนำทรัพยากรสัตวน้ำ มาใชอยางยั่งยืน (วรางคณา และคณะ, 2564) การกำหนดมาตรฐานดังกลาวจะทำใหผูบริโภคสามารถที่ จะผลกั ดันใหผ แู ปรรูปซ้ือวัตถุดิบสัตวน ำ้ จากตนทางโดยการตรวจสอบใหชดั เจนวามีการทำประมงถูกตอง อยางยั่งยืนหรือไม และจะสะทอนไปยังชาวประมงและผูเพาะเลี้ยงใหจัดการกับการจับสัตวน้ำอยาง ถูกตองและยั่งยืนเชน กัน สำหรับผลติ ภัณฑป ลาทนู า กรนี พีซไดกำหนดเกณฑสำหรับบริษัทที่ผลิตปลาทนู ากระปองไว 7 ดาน ไดแก การตรวจสอบ ยอนกลับ (Traceability) คดิ เปนน้ำหนัก รอยละ 15 วตั ถุดิบทูนาที่มาจากการทำประมงอยางยั่งยืน คิด เปนสัดสวนรอยละ 20 เปนฝูงปลาทูนาที่อยูในระดับที่เหมาะสม ไมใชอยูในชวงของการจับเกินขนาด เปนการจับที่ใชวิธีการทีถ่ ูกตองไมมีการจับสัตวนำ้ อื่นที่ไมใชสัตวน้ำเปาหมาย เชน ฉลาม เตา หรือสัตว น้ำขนาดเลก็ การทำประมงถูกกฎหมายและมีการจัดการดานแรงงานที่ถูกตอง คิดเปนสัดสวน รอยละ 20 ซึ่งหมายถึงการทำประมงถูกกฎหมาย มีการรายงาน เปนไปตามกฎระเบียบ รวมถึงการปฏิบัติตอ ลูกเรืออยางถูกตอง ไมใชแรงานทาส ความรับผิดชอบตอสังคม คิดเปนสัดสวนรอยละ 5 บริษัทผลิต ผลิตภัณฑแปรรปู มกี ารจางแรงงานในพ้ืนทีแ่ ละชมุ ชนโดยมีการใหคาตอบแทนอยางเปน ธรรม การดำเนิน หนา |92
นโยบายของการไดมาของวัตถุดิบปลาทูนาของบริษัท รอ ยละ 20 ความโปรงใสและการใหขอ มูลแกลูกคา เปนการใหรายละเอียดลูกคาเกี่ยวกับนโยบายของการซื้อวัตถดุ ิบ ชนิดของปลาทูนา ที่ใช เครือ่ งมอื ที่จับ วิธกี ารจับ และเรอื ประมง รอยละ 10 และการพัฒนาปรับปรุงในดา นตางๆ เชน การลงทนุ ทจ่ี ะทำใหการ ทำประมงมีความยั่งยืนเพิม่ ขึ้น การลดจำนวนแรงงานทาส เปนตน รอยละ 10 (Greenpeace, 2020) ซ่ึง จากการจัดอันดับ บริษัททีผ่ ลติ ปลาทนู ากระปองในประเทศ มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 5. 2 การจัดอันดับบริษัทที่ผลติ ปลาทูนา กระปองในประเทศไทยของกรีนพีซ บริษทั คะแนน การจัดการทโี่ ดดเดน ตราสินคา Unicord Public Co. 72.48 การตรวจสอบ Super C Chef Ltd., ซ่งึ เปนบรษิ ทั ใน เครอื Sea Value ยอนกลับการใช PLC วัตถดุ ิบปลาทูนาทีจ่ ับ มาโดยเคร่อื งมือที่ รบั ผดิ ชอบตอฝงู ปลาทู นา Pataya Food 66.12 ปลาทูนา ท่เี ปนวัตถดุ บิ ARO brand of Siam Industries มกี ารจับ ในแบบ Makro FAD-free ปลาทนู าทงั้ หมดเปน ปลาทูนาทอ งแถบ (skipjack) จาก มหาสมุทรแปซิฟก กลางตะวนั ตก ท่ีจับ โดยใชเ ครอ่ื งมืออวน ลอมที่เปน FAD free และถูกตอ งตามหลัก วธิ ีการจบั อยา งยงั่ ยืน หนา |93
บรษิ ัท คะแนน การจัดการทีโ่ ดดเดน ตราสินคา มนี โยบายในดา นการ บรหิ ารจดั การแรงงาน และสิทธิมนยุ ชน Pataya Food 60.84 บริษทั ไมใ ชปลาทูนา NAUTILUS Industries จากเรือถายสนิ คา ที่ ทะเล (เปน เรือขนถาย ทน่ี ำสตั วนำ้ ข้ึนทา และเปน สาเหตทุ ่ีทำให ไมทราบแหลง ท่ีมา ชดั เจน) Thai Union 58.72 ปลาทนู าทเี่ ปนวัตถุดิบ TOPS SUPERMARKET มีการจับ ในแบบ FAD-free Thai Union 54.27 ย ังขาดการบริ หาร SEALECT จัดการดานแรงงานไม ดเี ทา ท่คี วร หมายเหตุ คะแนน 0-39 อยใู นระดบั ตำ่ 40-69 อยูใ นระดบั ปานกลาง และ 70-100 อยูใ นระดับดี ทม่ี า: Greenpeace (2020) จาก ตารางท่ี 5. 2 จะเห็นไดวามีเพียงบริษัทเดียวของไทยที่สามารถผานเกณฑในทุกตัวชี้วัด ของกรนี พีซ ซ่งึ สงผลกระทบในภาพลักษณของประเทศไทยเชนกัน หากมบี รษิ ัทอีกหลายแหงไมสามารถ ผานเกณฑอยูในระดับดีได ดังนัน้ บริษัทตางๆ ในประเทศไทยควรเรงพัฒนาและบริหารจัดการใหอยูใน ระดับดีตอไป เพราะแนวโนมผูบริโภคในปจจุบันมีความตระหนักถึงการจัดการอยางยั่งยืนเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะในประเทศทางตะวันตก ที่เปน ลกู คาสำคญั ของผลผลิตภัณฑปลาทูนาในประเทศไทย หนา |94
5.3 การวิเคราะหมลู คา ในโซอุปทานสัตวน ำ้ ของไทย :กรณศี ึกษา ปลากะพง โซอุปทานในอุตสาหกรรมปลากะพงขาวของไทย กรณีศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเปนพื้นท่ี หลักในการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว และเปนแหลงเพาะพนั ธุลูกปลากะพงขาวที่ใหญที่สุดในประเทศ ไทย ตนน้ำของอุตสาหกรรมปลากะพงขาวจะประกอบดว ยปจ จัยการผลิตหลักๆ 2 อยาง คอื ลกู พันธุ และอาหารปลากะพง ในกลุมของลูกพันธุ ประกอบดวย หลายธุรกิจ ไดแก ธุรกิจเพาะฟก ธุรกิจ อนบุ าลลกู พนั ธุ นอกจากปจ จยั การผลติ แลว ตนนำ้ ยังประกอบดวยผเู ลี้ยงปลากะพงขาวดวยซ่ึงจะมี 2 รูปแบบ คอื การเลี้ยงดวยกระชงั และการเลี้ยงดวยบอดิน เพราะถอื เปน วัตถุดิบสำคัญในโซอุปทานท่ี จะนำไปสูผ ลติ ภณั ฑปลายทาง สำหรบั กลางน้ำ ประกอบดวย ผูรวบรวม แพปลา/พอคาสง พอคาปลกี และปลายน้ำประกอบดวยธุรกจิ หองเยน็ แปรรูปผลิตภัณฑ/สง ออก รานอาหาร บรษิ ทั ผลิตอาหาร ดัง ภาพท่ี 5. 3 การเพาะฟก พนั ธุปลากะพงขาว เปนธรุ กจิ ขนาดไมใ หญม าก ทร่ี วบรวมพอแมพันธจ ากบอ เล้ยี งปลากะพงขาวท่มี ีการเติบโตนานกวา ปลากะพงท่ตี องการขายในราคาตลาด หลังจากน้นั จะทำ การฉดี ฮอรโมนเพอ่ื ใหป ลากะพงวางไข และเล้ยี ง ธรุ กิจเพาะฟกมจี ำนวนไมม ากนักเม่อื เทียบกบั ธุรกจิ อนบุ าล หรอื ธุรกจิ ผเู ล้ียงปลากะพง เนือ่ งจากจะตองใชค วามเชยี่ วชาญในการเพาะพันธทุ ่จี ะพยายาม ทำใหล กู พันธุแข็งแรงและมีอัตรารอดท่สี ูง กิจการเพาะฟกจะมีพื้นที่ฟารมในการดำเนินการทั้งหมดโดยเฉลีย่ 1.04 ไร แบงเปนขนาด 2 เมตรตอไร จำนวนบอ โดยเฉล่ยี 15.8 บอ มเี งินลงทุนในการทำฟารมเพาะฟกโดยเฉลย่ี ของผเู พาะพันธ ทั้งหมด 1,585,714 บาท สวนใหญสถานประกอบการจะตั้งอยูบริเวณ ตำบลสองคลอง พอแมพ ันธ ของเจาของฟารมจะเลือกพันธุที่มีความแข็งแรงและสมบูรณ โดยดูจากลักษณะของพอแมพันธ อายุ และตองมาจากน้ำเค็ม หรือบางครั้งอาจจะดูจากสขี องไขวาสมบูรณไม แหลงการจัดหาพอแมพันธมา จากหลายพ้นื ท่ี ไดแ กอ ำเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จังหวัดจนั ทบรุ ี และอำเภอแมก ลอง จังหวัด สมุทรสงคราม บางรายซื้อปลามาจากกระชังในพืน้ ท่ี โดยสั่งพอแมพันธน้ำหนกั 5-6 กิโลกรัมและจาก ฟารมเพาะฟกดวยกัน ซ่ึงสวนใหญจะเลือกจากการเลี้ยงพอแมพันธุในกระชัง การคดั เลอื กไขและลูก พนั ธุจากการเพาะฟกเพื่อนำมาอนุบาล ผูเพาะฟก จะสังเกตจากลกั ษณะสีของไขปลา ไขปลาทีม่ ีความ สมบูรณจะมีลักษณะเปนไขปลาสีขาวขนุ หากไขปลาเปน สดี ำ จะพบวาไขป ลาไมสมบรู ณ หนา |95
ภาพที่ 5. 3 โซอ ปุ ทานอตุ สาหกรรมปลากะพงขาว ที่มา: กุลภา กุลดิลก (2558) สวนลูกพันธุสำหรับขายผูเพาะฟกจะคัดเลือกพันธเองโดยดูจากไซด ลักษณะของปลา เพศ และอายุ และตองเปน ปลาน้ำเคม็ การใหอ าหารแกลูกพันธปุ ลากะพงขาว พบวา สว นใหญจะใหอาหาร สด ไดแก ไรแดง ไรน้ำจืด และใหอาหารสำเร็จรูปหรืออาหารเม็ดเปนสัดสวนที่นอยกวา เงินทุน หมุนเวียนโดยเฉลี่ยผเู พาะฟก ทัง้ หมด 887,504 บาทตอเดือน ระดับความสมั พันธของผูเพาะฟกกับลูกคา พบวา มีความสัมพันธที่ดีกับผูสง ออกมากที่สุด เนื่องจากการซื้อของลูกคา สง ออกจะไดราคาทีด่ ีกวา และปรมิ าณมากกวา รองลงมกมีความสำคัญกบั เกษตรกร ลูกคาสามารถตอรองราคาไดบาง การจัดการคุณภาพลูกปลากะพงขาวของผูเ พาะฟกใหได หนา |96
คุณภาพที่ดีตามลูกคาตองการ เลอื กฟารมท่ีพอพนั ธแมพันธมคี ุณภาพ อาหารคุณภาพ น้ำที่เหมาะกับ การเลี้ยง สภาพอากาศที่ดี อณุ หภมู ิคงท่ี มีการหมุนเวียนแมป ลาบอย พอแมพันธไมเปน โรคติดเช้ือ มี การตรวจเช็คจากกรมประมงทุกๆ 5-6 เดือน นำน้ำทะเลในบอพักน้ำมาใช โรงเพาะพันธทำความ สะอาดโรงเรือนสมำ่ เสมอถา ยน้ำ การดูแลเอาใจใส การลงทนุ ในธรุ กิจฟารมเพาะฟก จะประกอบดวย ตนทุนเฉลี่ย 4,659.09 บ/ลบม./รอบ รายไดเฉลี่ยเทากับ 5,646.50 บ/ลบม./รอบ และกำไรสุทธิ เฉลี่ย 987.41 บ/ลบม./รอบ ปญหาของการเพาะฟก สวนใหญจะเปนดานสภาพอากาศที่ เปลีย่ นแปลง ทำใหฟกลูกปลาไดไมมาก ลกู พนั ธุมรี าคาผันผวน ไขไมแ ขง็ แรงทำใหไดลูกพนั ธุนอย การอนบุ าลลูกปลากะพงขาว ธุรกิจฟารมอนุบาลลูกปลากะพงขาว เปนธุรกจิ ตอเนื่องจาก ธุรกิจเพาะฟก ซึ่งจะซ้ือลูกปลาจากธุรกจิ เพาะฟกมาเลี้ยงตอและขายใหกับผูเลี้ยงปลากะพงขาว การ เลี้ยงจะเลี้ยงในบอซีเมนต พื้นที่สำหรบั ลูกพันธุปลากะพงขาว มีพื้นที่อยูใ นชวง 1-100 ตารางวาการ ลงทุนเร่ิมแรกของผูเพาะพันธโ ดยเฉลี่ย 817,647.06 บาท ลูกพันธุที่ซื้อมาจากผูเพาะฟกจะเปนปลา ตมุ (ขนาดเซนตเิ มตร) ท้งั หมด ตนทนุ ทงั้ หมดสำหรับฟารม อนุบาลบอซีเมนต 6,803.18 บ/ลบม./รอบ สำหรับการขายจะมีทั้งลูกปลาขนาดเปนเซนติเมตรและขนาดเปนนว้ิ ซึ่งทยอยขายไปเรื่อย ๆ ทำให เกิดรายรับเฉลีย่ 11,322.03 บ/ลบม./รอบ และมีกำไรสุทธิ 4,518.85 บ/ลบม./รอบ ลูกคาสวนใหญ จะเปนเกษตรกรรายยอย การจายเงินของลูกคาจะเปนทั้งเงินสดและเครดิต ผูขายลูกพันธุมีการให คำแนะนำและบอกเทคนิคการเลี้ยง การปรับบอ และตากบอใหกับผูเลี้ยง ใหความชวยเหลือดาน สินเชื่อ ระดับความสัมพันธกับเกษตรกรรายยอยจะดีท่ีสุด การตอรองราคาลูกพันธุของลูกคา ตอผู เพาะพันธ สามารถตอรองราคาได เกษตรกรรายยอยตอรองราคา 0.01-0.5 บาทตอกิโลกรัม และ เกษตรกรรายใหญสามารถตอไดราคาได 0.1-0.2 บาทตอกิโลกรัม การจัดการคุณภาพตองพิจารณา จากลูกปลากะพงขาวของผูเพาะพันธที่มีคุณภาพท่ีดี มกี ารดูแลโรงเพาะพนั ธสม่ำเสมอถายนำ้ บอยๆ การรอ นคดั ไซดลกู ปลาใหเสมอกันท้งั บอ เพ่อื ทจี่ ะไดลกู พันธุทแ่ี ข็งแรงและอัตรารอดสูง แหลงการรับขอมูลขาวสารการตลาดโดยเฉพาะดานราคาของผูเพาะพันธที่ใชในการ ประกอบการตัดสินใจในการตั้งราคาขายลูกพันธุ ราคาลูกพันธุปลากะพงมาจากชองทางการรับ ขาวสารจากเพื่อนบานและผูประกอบการดวยกันในวงการปลาและจากลูกคา ท่ีมาซ้ือลกู พันธุ ปริมาณ และคุณภาพผลผลิตที่ตลาดตองการ ทราบรูจากประสบการณของตนเอง ลูกคาที่มาซื้อลูกพันธุและ การพดู คุยกนั ในชมุ ชน ปญหาทีพ่ บ สวนใหญจะเปน ปญหาจากคูแขง เน่ืองจากมีธรุ กจิ อนบุ าลลกู ปลากะพงขาว จำนวนมากที่อยใู นบริเวณเดยี วกัน และมกี ารขายตัดราคากันเอง หนา |97
การเลี้ยงปลากะพงขาว ในอดตี การเล้ียงปลากะพงขาวนิยมเลี้ยงในกระชัง แตตอ มามีปญหา ในเรือ่ งของพื้นท่ีสาธารณะบริเวณริมแมน้ำบางประกง และปญหาของความเสื่อมโทรมของสภาพน้ำ ในเขตพืน้ ที่อตุ สาหกรรม ผูเลยี้ งปลากะพงขาวในกระชังจึงหยุดเล้ียง หรือเปลีย่ นไปเลีย้ งในบอดินแทน ปจจุบันการเลี้ยงในบอดินจึงมคี วามนิยมมากกวา กรณีศึกษาครั้งนี้ขออธิบายในสวนของบอดินเปน หลกั การเลี้ยงปลากะพงขาวในบอดิน มีการใชเงินทุนที่ในการเลี้ยง โดยเฉลี่ยประมาณ 2,578,959.60 บาทตอรอบการเลี้ยงโดยเฉลี่ยทุกๆ 7.27 เดือน จำนวนบอที่เล้ียงมากที่สุดจะเปน ขนาดรายยอยมีจำนวนบอ 1-10 บอ บอเฉลี่ยประมาณ 5 ไร ผูเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวในบอดินมี อัตราการปลอ ยพันธุปลาแยกตามไซด โดยปกติจะมีลูกปลา 3 ขนาด ไดแก ปลาตุม (1-2 นิ้ว) อัตรา การปลอยพันธุปลาเฉลี่ย 22,636.50 ตอไร หากเปนปลาใบมะขาม (2.5-3 นิ้ว) ปลอยพันธุปลาเฉลี่ย 6,450 ตัวตอบอ 3,033.33 ตอไร หรือหากเลือกเปนปลานิ้ว (3.5-4 นิ้ว) ปลอยพันธุปลาเฉลี่ย 11,015.83 ตวั ตอ บอ 7,215.80 ตอ ไร อาหารท่ใี ชเ ลีย้ งปลากะพงขาว มี 2 ประเภท คือ ปลาเหยื่อ ซ่งึ เปนปลาสดหลายๆ ชนิดปนๆ กันมา สับใหเปนชิ้นโดยการใชเครือ่ งบดอาหาร การใหอาหารจะใหวัน ละ 2 ครั้ง ในชวงเชาและชว งเย็น จะใหจ นกวา ปลาจะอิ่ม โดยสังเกตจากการท่ีปลาไมขึน้ มาฮุบเหยื่อ อีก ปริมาณเฉลี่ย 661.24 กิโลกรัมตอไรตอรุน และอีกประเภท คือ เปนอาหารสำเร็จรูปหรือ อาหารเม็ด ใหอาหารในปริมาณเฉล่ีย 548.45 กโิ ลกรัมตอไรต อ รุน การซอ้ื ลกู พันธุและอาหารสามารถ ตอรองราคาได โดยปกตจิ ายเปนเงินสด แตสามารถจายเปนเครดติ ได สำหรับคาลกู พันธุประมาณ 47 วัน และสำหรับอาหารสำเร็จรูปประมาณ 61.97 วัน สว นใหญไมไดซื้อจากขาประจำ แรงงานที่ใชใน การเพาะเลี้ยงจะใชแรงงานกรณีท่ีใหอาหารสดซ่ึงอาจจะเปนแรงงานจางหรือแรงงานครัวเรือน และมี การจางแรงงานชั่วคราวเม่อื จะขายผลผลติ โดยจา งเปน รายวนั ประมาณ 5-10 คน ใชเ วลาทำงาน 6-10 ชั่วโมง ทั้งนี้จะมีตนทุนทั้งหมด 239,566.57 บ/ไร/ รอบ รายไดจากการขาย 312,542.96 บ/ไร/รอบ กำไรสุทธิ 72,976.39 บ/ไร/รอบ มีความสัมพันธกับผูขายลูกพันธุและผูขายอาหารสำเร็จรูปอยูใน ระดับดี สำหรับการเลี้ยงปลากะพงขาว เกษตรกรใหความสำคัญกับการคัดเลือกลูกพันธุมากที่สุด รองลงมาคือ การจบั ปลาเพอ่ื ขาย การรวบรวม การรวบรวมปลากะพงขาวในกรณีศึกษา สำหรับการรวบรวมปลากะพงขาวมี ชีวติ จะรวบรวมจากจังหวดั ฉะเชิงเทรา สมทุ รปราการ สมุทรสงคราม ชลบรุ ี และจันทบุรี และหากเปน การรับซื้อปลากะพงขาวแชน้ำแข็งจะรับจากจังหวัดฉะเชิงเทรา การตั้งราคาจะพิจารณาจากราคา หนา |98
ตลาด อายุปลา ประเภทของอาหารทีใ่ ห ขนาดปลา ลักษณะความสวยของตวั ปลา พจิ ารณาเกล็ดปลา ความยาวของปลา ความตรงของตัวปลา ซึ่งในกรณีศึกษานี้พบเพียง 1 ฟารมที่ผานมาตรฐาน GAP (กุลภา 2558) แตป จจุบันมีเพิม่ มากขึ้น เนื่องจากมกี ารสง ออกปลากะพงเพิม่ ข้นึ นอกจากนั้นยงั มีการ จัดโครงการนาแปลงใหญเพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานฟารม เล้ียงใหได GAP การจัดเกรดเพื่อกำหนด ราคาจะมี ขนาด 0.5-0.8 กิโลกรมั ตอตัว ขนาด 1 กิโลกรัมตอตัว และขนาด 1 กิโลกรัมขึ้นไปตอตัว โดยขนาด 0.8-1 กโิ ลกรัมตอตัวจะไดราคาดที ี่สุด เน่ืองจากเปนขนาดตามความตองการของผูบริโภค และรานอาหาร เมื่อรวบรวมแลวผูรวบรวมจะสงปลากะพงขาวที่ตลาดตางๆ เชน ตลาดทะเลไทย (มหาชัย) ตลาดบางบอน และตลาดในฉะเชิงเทรา แพปลาที่บางพลี และสงใหรานอาหาร (หรือ รานอาหารสงรถมารับ) สำหรบั รานอาหารจะเปนที่กรุงเทพ สมุทรปราการ นครปฐม ราชบุรี ระยอง ชลบุรี และอยุธยา ซึ่งสัดสวนของการสงไปรานอาหารจะมีประมาณรอ ยละ 57 ราคารับซื้อชวงเดือน พฤษภาคมถงึ เดือนมถิ นุ ายน จะราคาสงู และชว งเดือนพฤศจกิ ายนถงึ ธันวาคม ราคาปลาจะลดลง การ จา ยเงินจะจายหลังจากที่จบั ปลากะพงขาวไปแลว 9-15 วัน ผูร วบรวม จะมีตนทุนในการซื้อปลาและ ตนทุนการตลาดประมาณ 85.98 บาทตอกิโลกรัม ราคาขายเทา กบั 130 บาทตอกิโลกรมั มีกำไรสุทธิ 44.02 บาทตอกิโลกรมั การขายสง และขายปลกี การขายสง การคาสงพิจารณาที่ตลาดทะเลไทย แพปลาที่รับซื้อ ปลาจากผูรวบรวมประมาณ 5 ราย จากบางปะกง จำนวน 3 ราย และจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ และสมุทรสงคราม ขายรวมกับสัตวน้ำอื่นๆ กลุมลูกคาสวนใหญจะเปนพอคาปลีกที่จะนำไปขายที่ ตลาดสด จากกรุงเทพ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ และจันทบุรี นายหนาที่นำสงรา นอาหาร และโตะ จีน และหองเย็น ซึ่งสวนของหองเย็นนั้นเปนสัดสวนนอย ทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานประมาณ 300,000 บาทตอวัน การจา ยเงินของลูกคากรณีเปน ขาประจำ จะจา ยภายใน 4-5 วนั หลงั วันซอ้ื หาก เปนโรงงานหรือหองเย็นจะใหเครดิต 20 วนั การตอรองราคาลูกคา สามารถตอรองราคาได 5-10 บาท ตอกิโลกรัม ตนทุนวัตถุดิบปลากะพงขาว 700 กิโลกรัมตอวัน และตนทุนการดำเนินงานเฉลี่ยรวม 71,075 บาทตอ วัน รายไดป ระมาณ 95,900 บาทตอวัน กำไรสุทธิ 21,825 บาทตอ วนั หรอื คดิ เปนตอ กโิ ลกรัม จะมตี นทนุ เฉล่ยี 101.54 บาทตอ กโิ ลกรมั รายได 137 บาทตอกิโลกรมั และกำไรสุทธิเทากับ 31.78 บาทตอกิโลกรมั การขายปลีก ระดับราคาขายปลีกตลาดสด และหางคาปลีกจะมีราคาเฉลี่ย 177 บาทตอ กโิ ลกรัม ท้งั น้คี ดิ เปน ตน ทุนท้ังหมด 157 บาทตอกโิ ลกรมั กำไรสุทธิ 20 บาทตอ กโิ ลกรมั หนา |99
ตารางท่ี 5. 3 การคำนวณตนทุนสว นเพมิ่ กำไร และสวนเหล่อื มการตลาดของโซอ ุปทานปลากะพง ขาวปลายทางคา ปลกี และรานอาหาร ตน ทนุ สว น %ตน ทุน ราคา กำไร สวน % เพม่ิ ขาย เหล่ือม Margin สว นเพ่มิ %กำไร การตลาด ตน ทนุ (Margin) 44% 75.74% 28% ท้ังหมด (Added 18.76% [1] 1% Cost) 5.50% 100 ผูเ ล้ยี งปลากะพง 100 79.69 10.78 12.11% 79.69 ขาว 68.91 68.91 ผรู วบรวม/คาสง 130 44.02 49.45% 50.31 ผูค า ปลกี 85.98 17.07 180 45 รวม (คาปลีก) 135 5 50.55% 0.98 90.98 89.02 100 180 ตน ทนุ สว น สว น เพ่มิ เหล่อื ม % ตนทุน (Added %ตนทุน ราคา กำไร %กำไร การตลาด Margin ท้ังหมด ขาย (Margin) สว นเพิ่ม Cost) [1] ผูเลยี้ งปลา 68.91 68.91 50.68% 79.69 10.78 3.99% 79.69 19.92% กะพงขาว ผูรวบรวม/คา 85.98 17.07 12.55% 130 44.02 16.30% 50.31 12.58% สง รานอาหาร 180 50 36.77% 400 220 81.48% 270 67.50% รวม 135.98 100 270 100 400 100 ทม่ี า : กลุ ภา (2558) รา นอาหาร สำหรบั รานอาหารทใ่ี ชปลากะพงขาวเปน วัตถดุ ิบ สำหรับขนาดของปลากะพงน้ัน จะส่ังขนาดต้ังแต 0.8-1.0 กิโลกรมั ตอ ตวั ราคาอยทู ่ี 120-130 บาทตอกก. ปรมิ าณ 150 กก.ตอ วัน ซง่ึ จะมสี ัดสวนการสูญเสียแตละวนั อยูเพียง 1-2 ตัวเทานั้น ปลาทง้ั หมดจะเปนปลาออกซิเจนเทา นน้ั ไมมี ปลานอ็ คน้ำแขง็ ตน ทนุ ปลากะพง 120-130 บาทตอกก. ตนทุนดำเนินงาน 50 บาทตอ กก. ขาย 375- 400 บาทตอกก. กำไรสทุ ธิ 205-220 บาทตอ กก. หนา |100
เม่ือผา นโซอปุ ทานตั้งแตตนน้ำถงึ ปลายนำ้ กรณีที่พิจารณาปลายน้ำสิน้ สุดทผ่ี คู า ปลีก จะเหน็ วา ตน ทนุ สวนเพ่มิ ของเกษตรกรผูเ ล้ียงจะมีมากทส่ี ดุ รอยละ 75.74 รองลงมาคอื ผรู วบรวม รอ ยละ 18.76 สวนสว นกำไร ผูคาสง และคา ปลีกจะไดคอ นขางมาก ประมาณรอยละ 50 ซึ่งจะสอดคลองกบั สวนเหลื่อมทางการตลาดที่ผเู ล้ียงมชี องวางของราคาหนาฟารมและราคาขายปลีกคอนขางมาก รอ ย ละ 44 รองลงมาคอื ผูร วบรวมเทา กับ รอ ยละ 28 ตารางท่ี 5. 3 ในขณะที่หากปลายทางโซอุปทานเปนรานอาหารจะพบวา กำไรมากที่สุดจะอยูท่ีรา นอาหาร คิดเปน รอยละ 81.48 รองลงมาคือผรู วบรวม รอ ยละ 16.30 และสว นเหลื่อมทางการตลาดพบวา รานอาหารมีสว นเหล่ือมมากทีส่ ดุ รอ ยละ 67.50 แสดงใหเห็นวา หากมกี ารแปรรูปจะทำใหเกดิ มูลคา เพิ่มสงู ขนึ้ สถานการณของอุตสาหกรรมปลากะพงขาว ปจจุบันปริมาณการผลิตปลากะพงขาวอาจมีการเปลี่ยนแปลงไมมากนัก การทำมาตรฐาน GAP ไดรับการรบั รองในระดับฟารมมากขึ้น จากโครงการนาแปลงใหญ รวมถึงความตองการอาหาร ปลอดภัยของผูบริโภค และเปนโอกาสทจี่ ะทำใหผลผลิตปลากะพงขาวสามารถสงออกไปตางประเทศ ได การบริโภคปลากะพงขาวสวนใหญจ ะเปน ผบู รโิ ภคในประเทศ การแปรรูปเปนฟลเลย แชเ ยน็ หรือ แชแ ข็ง และสง ออก จะมไี มมากนัก เนือ่ งจากปลากะพงขาวมีราคาคอ นขางสูง และตนทุนสูง หากหอง เย็นรับซื้อในราคาต่ำ ซึ่งเกษตรกรจะขายราคาต่ำไดเมื่อเปนชวงเวลาที่ปลากะพงลนตลาด สำหรับ ผลิตภัณฑปลากะพงที่มกี ารแปรรูปแลว จะมีในรูปแชแข็ง พรอมปรุง พรอมทาน และเปนของวาง ดัง ภาพที่ 5.4 หากแปรรูปเปนลักษณะพรอมทาน จะพบในอาหารสำเร็จรูป (Ready to eat) เชน ขาวตม ปลา ผัดเผด็ ปลา ปลาทอดกรอบ เปนตน อยางไรก็ตามเมื่อมีการเปดเสรีทางการคากับประเทศในอาเซียน ประเทศมาเลเซยี ที่สามารถ เลี้ยงปลากะพงขาวได ไดมีการสงออกปลากะพงขาวมาประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น สงผลตอราคาใน ประเทศทีต่ กตำ่ ลง ทำใหเกษตรกรผูเลยี้ งมีรายไดล ดลงจากการขายในราคาท่ตี ำ่ ลง ซึ่งในเครอื ขายปลา กะพงขาวพยายามผลักดนั ประสานกับบรษิ ทั แปรรูปสินคาสตั วน้ำ รวมทั้งออกหาตลาดตางประเทศ เชงิ รุก เชน ประเทศจีน เพ่อื หากลมุ เปาหมายท่ีจะสงสินคา ปลากะพงขาว นอกจากนั้นในสถานการณ โรคระบาด COVID-19 สงผลกระทบตอการขายปลากะพงขาว เนื่องจากธุรกิจรานอาหาร โรงแรม หนา |101
สถานท่ที องเท่ยี ว การจัดโตะ จีน ไดรบั ผลกระทบอยางหนัก จึงทำใหป ลากะพงขาวไมสามารถกระจาย และขายได ทำใหปลากะพงขาวที่เกษตรกรเลี้ยงมีขนาดใหญขึ้น และตองแบกรับภาระตนทุน คาอาหารท่เี พ่ิมมากขนึ้ จากหวงโซอ ปุ ทานตลอดสายของอตุ สาหกรรมปลากะพงขาว จะพบกวา ผูท ี่ไดประโยชนหรอื กำไรนอ ยทส่ี ดุ จะเปนผปู ระกอบการระดบั ตนน้ำ โดยเฉพาะเกษตรกรผูเลย้ี งปลากะพงขาว ดวยตนทุน คาอาหารที่สูง ระยะเวลายาวนาน ความไมแนนอนของราคาของตลาดตางๆ หากเปรียบเทียบกับ กิจการเพาะฟกและการอนุบาลลูกปลาเพื่อขาย ท่ีวงจรการผลิตอาจจะสั้นกวา ตนทุนนอยกวา และ ความเสี่ยงนอยกวา เกษตรกรจะไมสามารถอยูรอดไดหากไมม ีการบริหารธุรกิจที่ดีพอ ดังนั้นหาก ตองการทีจ่ ะพฒั นา กลุมเกษตรกรผเู ลยี้ งถือเปนจุดทตี่ องพิจารณามากทส่ี ดุ จะเนน ใหม ีการพัฒนาการ เลี้ยงโดยตนทุนต่ำ การแปรรูปเบื้องตน การรวมกลุม การกระจายปริมาณปลากะพงขาวใหใกล ผูบริโภคมากที่สุดจะชวยใหเกษตรกรมรี ายไดเพิ่มขึ้น ทผ่ี า นมาการรวมกลุมของผูเลี้ยงปลากะพงขาว จะเปนลักษณะกลุมแบบธรรมชาติ กลุมนาแปลงใหญ ซึ่งยังไมเปนลักษณะสหกรณ จากการวิจัย พบวา กลุม ปลากะพงขาวไมต อ งการตง้ั เปนสหกรณ เนื่องจากมคี วามยุง ยาก ซับซอน จึงพอใจที่จะให กลมุ มลี กั ษณะเปน เครอื ขาย คอยชว ยเหลือกันเม่อื มีความจำเปน ถายทอดขอ มลู ขาวสารดา นการเลี้ยง การตลาด การแกไขปญหารวมกัน ผานผูที่คลายเปนผูนำเครือขาย แทนการจัดตั้งเปนสหกรณ ตัวอยางของกลุมเกษตรกรธรรมชาติที่ประสบความสำเร็จนั้น ปจจัยสำคัญคือ ผูนำกลุม กลุม เกษตรกรเครอื ขายผูเล้ยี งปลากะพง จังหวัดฉะเชิงเทราน้ัน ไดม ีผูนำขายมีกจิ การขายอาหารสำเรจ็ รปู ผูเ ลี้ยงปลากะพง และแพปลา ท่สี นบั สนุนการการเลี้ยงและการขายของสมาชกิ เปน เกษตรกรตน แบบ ที่เปนผูเลี้ยงปลากะพง และถายทอดวิธีการเลี้ยง ชวยแกไขปญหาและถายทอดเทคนิคการเลี้ยง รวมทั้งเปน ผปู ระสานในการหาตลาด (กลุ ภา กุลดิลก, 2559) หนา |102
ภาพที่ 5.4 ผลิตภัณฑจากปลากะพงขาว ทม่ี า: K-Fresh (2564) ศูนยเครือขายขอมลู อาหารครบวงจร (ม.ป.ป.) Forfan (2564) 5.4 การวิเคราะหป ญหาในโซอ ุปทานสัตวนำ้ ของไทย: กรณีศึกษาปลาชอ น การศกึ ษาโซอุปทานของปลาชอ นในประเทศไทย ตามทีท่ ราบกนั แลววาปลาชอ นเปนการ เลย้ี งในนำ้ จืด โดยปกตปิ ลาชอ นในประเทศไทยจะมาจาก 2 แหลง คือ ปลาชอนนา และปลาชอนเลยี้ ง ในกรณศี ึกษานจ้ี ะอธิบายถึงตนนำ้ จนถึงปลายนำ้ ของท้ังสองรปู แบบ ซ่ึงมีความแตกตางกันในดา นของ การเลยี้ ง ปรมิ าณการผลติ ชอ งทางการจดั จำหนาย และมูลคา เพ่ิมของปลาชอ นท้ังสองรปู แบบ ปลาชอ นนา ในอดีตประเทศไทยจะมเี ฉพาะปลาชอนนา ซึง่ ปลาชอ นนาจะมาจากการเลี้ยงปลาชอนขางนา โดยการสรางบอ น้ำขางนาเพื่อที่จะใชในการทำนา น้ำในบอจะนำไปใชในพื้นที่นา ลูกปลาชอนจาก ธรรมชาติจะมาอยใู นบอ กินอาหารตามธรรมชาติ บางครงั้ เลี้ยงรวมกับปลาเบญจพรรณ ปจ จบุ ันมีการ หนา |103
ซื้อลูกพันธุมาใสเ พิ่มในบอแตเปนจำนวนนอ ย มีการใสอาหารกบ อาหารปลาดุก การเจริญเติบโตของ ปลาชอนนาจะคอนขางมีปริมาณนอย เนื่องจากลูกปลาชอนมาจากธรรมชาติ หรือหากซ้ือลูกพันธุมา ปลอ ยจะเปนจำนวนไมมาก อีกทัง้ มปี ลาชนิดอื่นมาอยูรวมกนั ทำใหอ ัตราการรอดคอนขางต่ำ ทำให ราคาขายคอ นขางสูง รวมทั้งเปน ที่ตองการของผูบรโิ ภคเปนอยางมาก เนื่องจากมีรสชาติดีกวา เน้ือ แนน และปลอดภัยกวา (กุลภา และคณะ 2563) ในโซอ ุปทานของปลาชอนนา พบวา ตนนำ้ ของโซอปุ ทานเปนการเลี้ยงแบบธรรมชาติ โดยได ลูกพนั ธุมาจากธรรมชาติเปน สวนใหญ หรือหากซ้ือลูกพันธุมาปลอยจะซื้อจำนวนไมมาก นอกจากน้ัน อาหารที่ใหปลาชอนนามี ใหปลาชอนนากินอาหารตามธรรมชาติ หรือหากตองซื้ออาหารจะใหเปน อาหารกบ หรืออาหารปลาดุก ถงึ แมว าตนทุนทั้งหมดตอ กโิ ลกรัมจะออกมาสงู 60.52 บาทตอกิโลกรัม แตเ ม่ือคำนวณตนทุนเงนิ สดทจ่ี า ยจริงนน้ั คดิ เปน รอยละ 41 ของตนทนุ ท้งั หมด ท้งั นต้ี น ทนุ ท่ีไมเปนเงิน สดนั้นจะเปนการคำนวณคาใชประโยชนจากการใชที่ดิน เสื่อมราคาอุปกรณ และคาแรงงานใน ครัวเรือนในการเตรียมและใหอาหาร คาจับ นอกจากนั้นแลวปริมาณปลาชอนนาที่ไดนั้นมีปริมาณ นอยทำใหราคาท่ีขายคอนขางไดราคาดี สามารถขายไดในราคา 93.85 บาทตอ กโิ ลกรัม ทำใหไดกำไร สุทธเิ ทากับ 33.32 บาทตอกิโลกรัม แตหากคำนวณเฉพาะตนทุนเงนิ สดจะมีกำไรมากถึง 69.11 บาท ตอกิโลกรมั ซึ่งรายไดทงั้ หมดน้ันรวมแลว จะไมมาก เพราะปริมาณการขายมีนอย แตมสี ตั วน้ำชนิดอ่ืน ท่ีสามารถขายไดจากบอนาธรรมชาติ จึงทำใหมรี ายไดเพิ่มจากสัตวน ้ำชนิดอื่นดวย การขายปลาชอน นาสวนใหญจะขายในพ้นื ท่ีหรอื บริเวณรอบๆ หมบู าน และตลาดทอ งถน่ิ หากขายใหกับพอคาคนกลาง กำไรสุทธิที่พอคาคนกลางไดจะประมาณ 23.25 บาทตอ กิโลกรัม เมื่อมีการการแปรรปู ปลาชอนนา ที่นิยมมากที่สุดชื่อปลาชอนแดดเดียว ปลาแจวบอง และ ปลารา โดยท่ีปลาชอนแจวบองจะมีกำไรสุทธิสูงทีส่ ดุ เนื่องจากเปนการทำผสมกับวัตถุดิบอื่นๆ และ ขายไดในราคาเพิ่มสูงข้ึน การเลี้ยงปลาชอนนาถึงเปนการเพิ่มรายไดท างหน่ึงและมีความตองการของ ตลาดคอ นขา งสงู เนอ่ื งจากผบู รโิ ภคนิยม ซง่ึ อาจทำเปนอาชพี รองทางการเกษตรได ปลาชอนเลย้ี ง สำหรับปลาชอ นเลีย้ ง ท่เี ร่ิมมีความนยิ มมากขึ้นตั้งแตเ กษตรกรสามารถซ้ือลูกพันธุปลาชอ น มาเพ่ือเล้ยี ง ลูกพันธุสามารถเพาะลกู พนั ธปุ ลาชอนไดต ัง้ แตป 2558 รวมท้งั ภาครัฐมีการสง เสริมการ เลย้ี งเพม่ิ ข้นึ ทัง้ นม้ี องวาปลาชอ นมีราคาสูง สามารถทำรายไดใหกบั เกษตรกรได พ้นื ทเ่ี ล้ียงมหี ลาย หนา |104
ภาพท่ี 5. 5 โซอ ปุ ทานและมลู คาเพ่ิมของปลาชอนนา ท่ีมา: กลุ ภา และคณะ (2563) ภาพที่ 5. 6 โซอ ุปทานและมลู คาเพิ่มของปลาชอ นเลย้ี ง ท่ีมา: กลุ ภา กุลดลิ ก และคณะ (2563) หนา |105
พืน้ ท่ใี นประเทศไทย พืน้ ทที่ ่เี ล้ียงจำนวนมาก ไดแก จังหวัดอา งทอง สิงหบุรี สพุ รรณบรุ ี ใน กรณีนี้จะกลาวถึงตนนำ้ ถึงปลายนำ้ สำหรบั พ้ืนที่อา งทองและพืน้ ทีใ่ กลเ คยี งทม่ี กี ารกระจายปลาชอน เลยี้ งมากที่สุดในประเทศไทย ซ่ึงพบวา ระดบั ตน นำ้ ผูเพาะฟกลูกพันธุปลาชอน สว นใหญจะมาจาก แหลงทจ่ี ังหวัดนครสวรรค นครปฐม และกำแพงเพชร ทั้งนี้พบวา ตนทุนเฉลี่ยทั้งหมด 206.87 บาทตอตารางเมตร ขายไดราคา 416.67 บาทตอ ตารางเมตร และไดก ำไรสทุ ธิ 209.79 บาทตอตารางเมตร ภาพรวมยังสามารถทำกำไรไดในแตล ะรอบ การเลี้ยง และมีผูประกอบการรายใหมสนใจธุรกิจนี้เพิ่มขึ้น เพราะยังขาดแคลนพันธทแ่ี ข็งแรงและไม พอขาย สำหรับเกษตรกร โดยปกตจิ ะเลยี้ งกันมากในจังหวัดอา งทอง และจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี อยางไรก็ ตามในปจจุบนั เกษตรกรรายยอยไดเลิกเลี้ยงปลาชอนเกือบทัง้ หมด เหลือเพียงรายใหญที่เปนผูรวบ รวบและพอ คาคนกลางที่ยังดำเนนิ ธุรกิจอยู เกษตรกรรายยอยจังหวัดอางทองยังเหลือท่ีเล้ียงบางแตก็ ลดนอยลง การเลย้ี งปลาชอนในพน้ื ทน่ี ี้จะมตี นทนุ เฉลี่ย 60.11 บาทตอกิโลกรมั ราคาขาย 62.29 บาท ตอกโิ ลกรัม กำไรสุทธิคอนขางนอยไดเพียง 2.17 บาทตอกิโลกรัม ปลาชอนเลี้ยงในพื้นทภ่ี าคกลางจะ กระจายไปสูจังหวัดตางๆ ทั่วประเทศ สาเหตุที่เกษตรกรผูเลี้ยงปลาชอนในพื้นที่สุพรรณบุรี และ อางทองเลกิ เลยี้ งและเลี้ยงนอยลง เนอ่ื งจากมีอปุ ทานปลาชอนจากตางประเทศเขามาในประเทศ ปลา ชอนเหลานี้ผานเขามาเปนจำนวนมาก ซึ่งเปนปลาชอนเลี้ยงจากประเทศเวียดนามและผานประเทศ กัมพูชา เขามาสูประเทศไทย ซึ่งพบวาในประเทศเวียดนามสามารถเลี้ยงปลาชอนโดยมีผลผลิต มหาศาล สามารถปลอยลูกพันธุไดอยางหนาแนนมาก จึงทำใหผลผลิตมีจำนวนมาก การเลี้ยงของ ประเทศเวยี ดนามคอ นขางไดเปรียบในเชิงภูมิศาสตรเนื่องจากติดกบั แมน ้ำโขง มีการเลี้ยงแบบใหน้ำ จากแมน้ำโขงไหลเวียนผานเขา มาในฟารมอยางตอเนื่อง จากตารางที่ 5. 4 พบ วา อัตราการปลอยลูก พันธุของประเทศเวียดนาม (ประมาณ 160,000 ตัวตอไร) กับประเทศไทย (14,422.42 ตัวตอ ไร) มี ความตา งกันมากกวา 10 เทา และหากพิจารณาขนาดลูกพนั ธุ ลกู พันธุปลาชอนของประเทศเวียดนาม มีขนาดใหญก วาลกู พันธุของประเทศไทย และราคาต่ำกวา สงผลใหประเทศเวยี ดนามสามารถผลิตได ในตน ทนุ ตอ หนว ยทตี่ ่ำกวา ราคาหนา ฟารม ของประเทศเวียดนามรวมคาขนสงผา นประเทศกัมพูชามา จนถึงตลาดรัตนธรรม จังหวัดสระแกว และเมื่อขนสงไปยังตลาดอางทองและตลาดไทจะมีราคา ประมาณ 85-100 บาทตอกิโลกรัม จึงทำใหราคาปลาชอนเลี้ยงในจังหวัดอางทองและสุพรรณบุรี ใกลเคียงกบั ปลาชอ นนำเขา เพราะปลาชอนนำเขามีปรมิ าณมากจึงเปนการกำหนดราคาปลาชอนใน ประเทศ จากการนำเขา นี้จงึ เปนสาเหตุทำใหเกษตรกรผเู ลี้ยงปลาชอนในประเทศไทยสูร าคาตลาดของ หนา |106
ปลาชอนทัง้ หมดไมได จึงตองเลิกเลี้ยงไปเปนจำนวนมาก ผูเลี้ยงที่เหลือสวนใหญจะปรับตวั และเล้ยี ง สัตวน ำ้ ชนิดอ่ืนๆ รวมดวยหรือเปนผูร วบรวมและเล้ียง (กุลภา และคณะ, 2563) ตารางที่ 5. 4 การเปรียบเทยี บการเล้ียงปลาชอนของไทยและเวียดนาม รายการ ประเทศไทย ประเทศเวยี ดนาม ขนาดลกู ปลาชอน อายเุ ฉล่ยี 47.78 วนั ธรรมชาติ + ผลิตเอง การปลอยลกู พันธุ 2,380 ตวั /กก 700-1,200 ตัว/กก. (0.16 บาทตอ ตวั ) (0.75-1.5 บาทตอ ตวั ) 160,000 ตัวตอ ไร 14,422.42 ตัวตอ ไร ตนทุนคา อาหารและแรงงาน 51.95 บาทตอ กโิ ลกรมั 44.95 บาทตอกิโลกรมั (บาทตอ ไร) ราคาอาหารปลา 30.01 บาทตอกก. 27.40 บาทตอ กก. ราคาหนาฟารม (บาทตอ 38.09-82.07 บาทตอ 35.62-61.65 บาทตอกโิ ลกรัม กโิ ลกรมั ) กิโลกรมั (เฉลี่ย 64.33) ผลผลติ ตอไร (ตนั /ไร) 4.7 80 40-50 บาท ราคานำเขา ทด่ี า นสระแกว 85-105 บาทตอ กิโลกรัม ราคาตลาดคา สง ในประเทศไทย (บาทตอ กิโลกรมั ) ทมี่ า: กุลภา และคณะ (2563) สำหรับผูรวบรวมจะมีนำไปขายที่ตลาดอางทอง หรือผูรวบรวมเปนผูคาสงท่ีตลาดไท จะ พบวามีตนทุนเฉลี่ยในการดำเนินงานเทากับ 75.56 บาทตอกิโลกรัม ราคาขาย 85 บาทตอกโิ ลกรัม กำไรสุทธิ 9.44 บาทตอกิโลกรัม ผานไปยังพอคาสงตลาดอางทอง ตนทุน 85 บาทตอกิโลกรมั ขาย 105.44 บาทตอกิโลกรัม กำไรสุทธิ 9.44 บาทตอกิโลกรัม หากเปนตลาดคาสงบางเลน จะมีตนทุน 105.44 บาทตอกิโลกรัม ขายราคา 109.59 บาทตอกิโลกรัม กำไรสุทธิ 4.15 บาทตอกิโลกรมั หากมี การเพ่ิมมูลคาโดยการแปรรปู รูปแบบที่นิยมมากที่สดุ คือ ปลาชอนแดดเดียว หากเทียบกับปลาชอน สด 1 กโิ ลกรัม จะมตี น ทนุ 96.02 บาทตอกิโลกรัม ขายราคา 114 บาทตอกิโลกรมั และไดก ำไร 17.98 หนา |107
บาท หากขายผา นกลุม รา นอาหารจะพบวา ตนทนุ เฉล่ีย 205.15 บาท ขายได 400 บาทตอกิโลกรัม มี กำไรเฉลีย่ 194.85 บาทตอ กโิ ลกรัม ถือวาเปน การเพิ่มมลู คา ที่สูงทสี่ ุดเม่ือเปรียบเทยี บกับการขายแบบ สด หรือแปรรปู แดดเดียว (กลุ ภา และคณะ, 2563) จากผลกระทบของการนำเขาจากประเทศเพ่ือนบาน สง ผลตอ ปริมาณอุปทานจำนวนมากใน ประเทศ ราคาที่ขายจะถูกกำหนดจากอปุ ทานนำเขาและราคานำเขา ดังนั้นหากอุปทานมีจำนวนมาก การท่ีจะเพิ่มรายไดจากการขายปลาชอน อาจจะตองมีการแปรรูปในรูปแบบอื่นๆ เพื่อเพิ่มมูลคา ซ่ึง ควรจะพจิ ารณาจากอะไรบาง กอนที่ผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อ จากกรณีศึกษาของ กุลภา และคณะ 2563 พบวา จากการวิเคราะหผูบริโภคปลาชอนพบวาผูบริโภคไดใ หความสำคญั กับเรื่องสุขภาพมาก โดยปจจัยทีส่ งผลตอ การตดั สินใจบริโภคปลาชอนของผูบริโภคมากที่สุด คือ ความกังวล ดานอาหาร ปลอดภัยมากที่สดุ รองลงมา คือ ดานโภชนาการ ผูบริโภคปลาชอน ไดแก 1) กลุมที่ตองการบรโิ ภค ปลาชอนแปรรปู พรอมปรุงและพรอมรับประทาน 2) กลุมคนทำกบั ขาวซึ่งตอ งการบรโิ ภคปลาชอนสด และปลาชอนแปรรูปพรอมรับประทานและมีความออนไหวตอราคามาก และ 3) กลุมท่ีชื่นชอบปลา ชอน ซึ่งตองการผลิตภัณฑปลาชอนทุกรูปแบบ อยางไรก็ตามผูบริโภคสวนใหญยังมีความกังวล เกี่ยวกบั ความปลอดภยั ของปลาชอ น ในเรื่องสารเคมตี กคาง การใชยาปฏิชีวนะ การรับประทานปลา ชอนที่เปนโรค ฟารมเลี้ยงปลาหรือโรงงานแปรรปู ไมไดมาตรฐาน ปลาสดไมสะอาด ผลติ ภณั ฑแปรรูป ไมส ะอาดและปลอดภยั และแหลง ที่มาของปลาทไ่ี มชัดเจน จากกรณศี ึกษาโซอุปทานปลาชอนของประเทศไทย พบวา มแี นวทางในการพฒั นาโดย ดาน การผลิต ควรดำเนินการโดยการ 1) การวางแผนการผลิตตลอดโซอ ปุ ทานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นใน กลุม ผูเ ล้ียงปลาชอ นเดิม ไมต องเพิ่มหรือสนับสนุนการเล้ียงมากขึน้ ทดลองเลี้ยงระบบน้ำวน 2) การ พัฒนาสายพันธปุ ลาชอ นใหมีอัตรารอดสูง ตรงความตองการของตลาด เพ่อื ลดตนทนุ การเลีย้ ง พัฒนา ระบบแบบ smart-farm สำหรับดา นการตลาดในการสรางความแตกตา งใหแกปลาชอนไทย โดยการ 1) สรางตราสินคาปลาชอนไทย 2) การเขาสูชองทางการตลาดสมัยใหม 3) สรางเมนูปลาชอน เพื่อ เพ่ิมความหลากหลายในสนิ คา 4) สรางระบบการตรวจสอบยอนกลับเพื่อใหผูบริโภคมั่นใจในคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัย 5) พัฒนาทักษะเกษตรกรที่รวมกลุมกันใหมีการแปรรูปขั้นตนเพ่ือ จำหนายในชองทางออนไลน สำหรับการนำเขาปลาชอ น ควรปรับเปลี่ยนเปนการนำเขาจากรูปแบบ ปลาชอนมีชีวิตเปน ปลาชอนแบบแปรรูปข้ันตน เชน แชเยน็ แชแ ข็ง ที่ตองมีมาตรฐานเทียบเทาของ ประเทศไทย เพอ่ื เพิ่มขอ จำกดั ในการนำเขา หนา |108
สรุปทายบท จากกรณีศึกษาทัง้ 3 ชนิดสัตวน ้ำ ปลาทูนา ปลากะพงขาว และปลาชอน เปน ตัวอยา งของสัตวน้ำที่สามารถแบงได 3 กลุม คือ ปลาทูนาท่ีมีการทำการประมงจากทะเลธรรมชาติ กระบวนการจัดการจะมีความซับซอนคอนขางมากเนื่องจากในตนน้ำเปนการนำเขาปลาทูนาจาก ตางประเทศ ดงั น้ันตองคอยตดิ ตามวามีมาตรฐานระดบั สากลทจี่ ะสามารถนำมาใชใ นกระบวนการแปร รูปอยางถูกตองหรอื ไม และเปนผลิตภัณฑสัตวน้ำที่เนนการสงออกเปนสำคัญ อุปสรรคจึงเนนในเร่อื ง ของมาตรฐานในระดับตางๆ ของประเทศคูคา ที่ตองมีการพัฒนาและปฏิบัตติ ามใหทันความตองการ ของลูกคา ในสวนของปลากะพงขาวเปนการเพาะเลยี้ งสตั วน ำ้ ชายฝง และปลาชอนท่เี ลีย้ งในนำ้ จดื ซึ่ง กระบวนการจัดการต้ังแตต น นำ้ ถึงปลายน้ำนั้นอยูภายในประเทศ ปญหาและอุปสรรคจึงเนนท่ีการทำ มาตรฐานการเลี้ยงระดับประเทศ และการสรางมาตรฐานสำหรับการนำเขาที่ยังไมสามารถควบคุม ปริมาณไดและยังสง ผลกระทบตอภาพรวมของอุตสาหกรรม ซึ่งการศึกษาโซอุปทานของอุตสาหกรรม สัตวน้ำเปนสวนที่มีความสำคัญที่จะทำใหทราบถึงการจัดการตั้งแตตนน้ำทางจนถึงปลายน้ำ ทราบ ตนทุนและมูลคาสวนเพิม่ รวมทั้งทราบถึงปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นตลอดหวงโซอุปทาน ทำใหสามารถ นำไปวางแผนในการแกไ ขปญ หา และพัฒนาไดอ ยางครบถว นท้ังอุตสาหกรรมตอ ไป หนา |109
บทท่ี 6 แนวทางการจัดการการประมงและการเพาะเลย้ี งสตั ว์น้ำ บทน้ีอธิบายถึงปัญหาของการทำประมง ปัญหาการทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ซึ่งเมื่อทราบ ถึงปัญหาแล้ว จะได้ศึกษาถึงการแก้ไขปัญหาต่างๆ เป็นการวางแผนในด้านการจัดการจัดการการ ประมงและการเพาะเล้ียงสัตว์นำ้ 6.1 ปัญหาการทำประมง การประมงทะเลไทยที่ผ่านมาพบวา่ ปัญหาส่วนใหญ่ท่ีเกิดขึ้น (TDRI, 2560) ได้แก่ 1) การทำประมงมากเกินควร การที่ผู้บริโภคมีความต้องการบริโภคสัตว์น้ำเกินกว่าระดับ สมดุล ข้อมูลจากนักวิทยาศาสตร์ต่างระบุถึงการทำประมงเกินขนาดนั้นสามารถส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่ขนาดของฝูงสัตว์น้ำ จากการประเมินสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากนักวิชาการ สถาบันวิจัยและพัฒนาประมงทะเลใช้แบบจำลองชีวประมงประเมินสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำ หาระดับ ศักย์การผลิตสูงสุด (MSY) และระดับมูลค่าจากการทำประมงผลได้เชิงเศรษฐศาสตร์สูงสุด (MEY) ใน แบบจำลองของ Thomsom and Bell สำหรับประเทศไทยมีผู้ศึกษาการทำประมงมากเกินควรไว้ พบว่า ปี 2550-2552 สำหรับปลาผิวนำ้ (ปลาทูแขกครีบยาว ปลาลัง ปลากะตัก ปลาแข้งไก่ ปลาข้างเหลือง และ ปลาหลังเขยี ว) และปลาหน้าดนิ (ปลาแพะเหลือง ปลาตาหวานจุด ปลาแป้นกระดาน ปลาปากคม ปลา สีกุนโต กุ้งตะกาด กุ้งแชบ๊วย กุ้งทราย ปูม้า หมึกกล้วย) การทำประมงสว่ นใหญ่มีการลงแรงประมงเกิน กว่าระดับที่เหมาะสมไปแล้ว ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน โดยมีทั้งอวนล้อม อวนครอบ อวนล้อมปลา กะตัก (เรืองไร โตกฤษณะ 2557 และ จนิ ดา เพชรกาํ เนดิ และคณะ 2557) 2) ด้านการจับสัตว์น้ำผลพลอยได้ (Bycatch) ในที่นี้หมายถึง สัตว์น้ำผลพลอยได้เกิดจาก การทำประมงในสัตว์น้ำที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งจะเกิดความสูญเสียมูลค่าทางเศรษฐกิจ ทั้งน้ีรวมลูก ปลาขนาดเล็กที่ยังไม่ได้ขนาดหรือปลาขนาดใหญ่ เช่น ปลาฉลาม จากงานวิจัยที่ผ่านมามีการศึกษาที่ พบว่า การจบั สตั วน์ ้ำโดยอวนบางชนดิ เชน่ อวนรุน และอวนปลากะตกั ชนิดต่างๆ มสี ตั ว์น้ำเศรษฐกิจวัย อ่อนที่ไม่ได้ตามขนาดความตอ้ งการของตลาดก่อให้เกิดการสญู เสียมูลค่าทางเศรษฐกจิ ดังตารางท่ี 6. 1 จากการศึกษาการสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ ของสัตว์น้ำท่ีจับไม่ได้ขนาดของการทำประมงอวนรนุ ในพื้นที่ฝั่ง ตะวันออก (จันทบุรีและตราด) พบว่า สัตว์น้ำเศรษฐกิจขนาดเล็กที่จับได้จากเครื่องมืออวนรุนมีมูลค่า เฉลี่ยเท่ากับ 7,297.13 บาท/วัน ซึ่งหากสัตว์น้ำขนาดเล็กดังกล่าวเติบโตจนถึงขนาดแรกสืบพันธุ์จะมี มูลคา่ ถึง 14,075.59 บาท/วัน ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียเป็นมลู ค่าเท่ากับ 6,778.46 บาท/วัน (นันทพล สุขสําราญ และกฤษฎา ธงศิลา 2558) ปัจจุบันการทำประมงอวนรุนไดถ้ ูกยกเลิกและผิดกฎหมาย (ราช กิจจานุเบกษา, 2558) หน้า |111
ในขณะที่การทำประมงอวนล้อมจับปลากะตักประกอบแสงไฟตอนกลางคืน มีการจับสัตว์น้ำ เศรษฐกิจขนาดเล็กที่ติดมากับการจับปลากะตักมากที่สุด อาทิเช่น โดยการจับปลาทู-ลัง คิดเป็นมูลค่า ขนาดเล็ก เท่ากับ 2,048.88 บาท/วัน แต่หากรอให้ปลาทู-ลัง โตตามขนาดตลาดจะมีมูลค่าเท่ากับ 25,634.40 บาท/วัน หรือคิดเป็นความสูญเสียเท่ากับ 23,585.52 บาท/วัน สำหรับปลาข้างเหลือง มูลค่าปลาขนาดเล็กเท่ากับ 810.62 บาท/วนั หากรอให้ปลาโตถงึ ขนาดทต่ี ลาดตอ้ งการจะมีมลู ค่าเท่ากับ 4,054.11 บาท/วัน ทั้งนี้จะมีมูลค่าการสูญเสียทางเศรษฐกิจเท่ากับ 3,243.49 บาท/วัน (จินดา เพชร กําเนิด และคณะ 2557) ซึ่งปัจจุบันการทำประมงด้วยอวนล้อมจับปลากะตักจะอนุญาตให้ทำเฉพาะ กลางวัน หรือกลางคืนแตต่ อ้ งไม่มีการปน่ั ไฟ เรอื ตอ้ งไมม่ เี ครอ่ื งกำเนดิ ไฟและราวไฟ 3) ปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย IUU วันที่ 21 เมษายน 2558 คณะกรรมาธิการยุโรป (The European Commission) สหภาพ ยุโรป (Europe Union) ได้มีคำประกาศแจ้งเตือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เพื่อให้รับทราบถึง ความเป็นไปได้ที่ประเทศไทยจะถูกระบุว่าเป็นประเทศที่สามที่ไม่ให้ความร่วมมือในการต่อต้านการทำ ประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing) โดยเรือประมงที่ผิดกฎหมาย จะมีพฤติกรรมดังน้ี การทำประมงโดยที่เรือประมงไม่ได้จดทะเบียนเรือ ไมม่ ีอาชญาบัตร หรือจับสัตว์น้ำ โดยที่ใบอนุญาตหมดอายุ หรือไม่ได้รับอนุญาตจากรัฐที่เข้าทำการประมง ไม่ทำตามข้อกำหนดที่ต้อง บันทึกและรายงานข้อมูลสัตว์น้ำที่จับได้ รวมไปถึงข้อมูลที่ได้จากระบบติดตามเรือ ทำประมงในพื้นที่ หรือฤดูที่ห้ามทำประมงหรือมีส่วนร่วมในการทำประมงต้องห้าม ใช้เครื่องมือต้องห้ามไม่เป็นไปตามที่ กำหนด ปลอมแปลงหรอื ปกปดิ เครอื่ งหมาย หรือทะเบียนใดๆ ทำลายหลักฐานในการสอบสวน ขัดขวาง การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี นำสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่ามาตรฐานขึ้นเรือ หรือขนถ่ายระหว่างเรือ ขนถ่าย สินค้าจากเรือประมงที่ผิดกฎหมาย ทำประมงไม่เป็นไปตามมาตรการอนุรักษ์ เรือประมงไม่มีสัญชาติ ผลกระทบที่เกิดขึ้นทำให้เกิด สหภาพยุโรปไม่อนุญาติให้นำเข้าอาหารทะเลจากประเทศไทย ถึงแม้ว่า ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาทางการส่งสินค้าทะเลไปยัง สหภาพยโุ รปและเพ่ือการจัดทำระบบท่สี ามารถตรวจสอบได้แล้ว แตก่ ารปฏบิ ัติท่ไี ด้จดั การต้องมีแผนใน การปฏิบัติและติดตามอยา่ งต่อเนอื่ งและสม่ำเสมอ (TDRI, 2560) หน้า | 112
ตารางท่ี 6. 1 ความสูญเสียมูลคา่ สัตว์นำ้ เศรษฐกจิ จากเคร่ืองมือต่างๆ พื้นท่ีทำการประมง ชนิดของสัตวน์ ้ำ เคร่อื งมือประมง ตะวันออก หมกึ กระดอง หมกึ กลว้ ย อวนรุน กุ้งตะกาด กุ้งแชบ๊วย ปมู า้ ปลาหลงั เขียว ปลาแข้งไก่ ปลาทู ปลาลงั อันดามนั ปลาทแู ละปลาลัง เรืออวนครอบปลากะตกั ประกอบแสงไฟขนาดเล็ก เรืออวนครอบปลากะตักประกอบแสงไฟ ขนาด 14-18 เม เรอื อวนล้อมจับปลากะตกั กลางวนั เรอื อวนลอ้ มจบั ปลากะตกั ประกอบแสงไฟ ปลาหลงั เขียว เรอื อวนครอบปลากะตกั ประกอบแสงไฟขนาดเลก็ เรอื อวนครอบปลากะตกั ประกอบแสงไฟ ขนาด 14-18 เม เรอื อวนล้อมจับปลากะตกั กลางวนั เรืออวนลอ้ มจับปลากะตกั ประกอบแสงไฟ ปลาข้างเหลือง เรอื อวนครอบปลากะตักประกอบแสงไฟขนาดเลก็ เรืออวนครอบปลากะตักประกอบแสงไฟ ขนาด 14-18 เม เรอื อวนล้อมจับปลากะตกั กลางวนั เรืออวนลอ้ มจบั ปลากะตกั ประกอบแสงไฟ ท่ีมา: * นันทพล สขุ สาํ ราญ และกฤษฎา ธงศิลา (2558) **จินดา เพชรกําเนิด และคณะ (2557) หนา้ |1
มลู ค่าสัตว์น้ำขนาดเลก็ มูลค่าสตั วน์ ำ้ เมือ่ เจริญเติบโตขนาดตลาด ความสญู เสีย (บาท/วนั ) ปีทีศ่ กึ ษา (บาท/วัน) (บาท/วัน) 6,778.46 2553* 7,297.13 14,075.59 320.16 4,296.80 3,976.64 2551** มตร 657.28 8,600.30 7,943.32 4,188.40 3,868.16 320.24 25,634.40 23,585.52 2,048.88 115.27 109.19 6.08 91.01 69.85 มตร 21.16 - - - 472.07 333.04 139.03 77.18 70.63 140.62 109.31 6.55 มตร 31.31 - - 4,054.11 3,243.49 - 810.62 113
4) ปัญหาของภาคการประมงในเร่อื งของแรงงาน สภาพงานประมงเป็นงานเสี่ยงอันตราย ยากลำบาก และต้องใช้ชีวิตอยู่ในทะเลระยะยาว จึง เกิดการขาดแคลนแรงงานอย่างต่อเนื่อง และแก้ปัญหาด้วยการใช้แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งมี อยู่ประมาณรอ้ ยละ 90 ของแรงงานประมงท้ังหมด แตก่ ารขาดแคลนแรงงานประมงยังคงมีอยู่ เนอ่ื งจาก แรงงานตา่ งด้าวพร้อมท่ีจะย้ายงานได้ตลอดเวลา ทัง้ การย้ายเรือและการเปลย่ี นอาชีพในขณะน้ีและจาก การดำเนินงานของศูนย์ปฏิบัตกิ ารต่อต้านการค้ามนษุ ย์ ซึ่งติดตามประเดน็ ปัญหาการคา้ มนุษย์และการ ละเมิดสิทธิแรงงานภาคประมงทะเลได้ประมวลสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริง (มูลนิธิกระจกเงา, 2554) ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 4 เรื่องแรงงานในการทำประมง ซึ่งมีปัญหาในด้านการบังคับใช้แรงงาน เด็ก ปัญหาการค้ามนุษย์ที่รวมถึง การจ่ายค่าตอบแทนในการทำงานอย่างไม่เป็นธรรม สัญญาการจ้าง งานโดยที่ลูกเรือไม่ทราบรายละเอียดและไม่สามารถเรียกร้อง ชั่วโมงการทำงานที่ยาวนาน การ รักษาพยาบาลเบ้ืองต้นที่ไม่เหมาะสม ขณะนี้ได้แก้ไขปัญหาและได้รับการจัดลำดับท่ีดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การจัดการด้านแรงงานยงั คงตอ้ งมีการควบคุม และปฏิบัติอย่างต่อเนอ่ื งในระยะยาว 5) ปัญหาการทำประมงในนา่ นน้ำประเทศอน่ื อย่างผิดกฎหมาย ในส่วนของการทำประมงในน่านน้ำประเทศอื่นอย่างผิดกฎหมายนั้น ก่อนปี 2558 มี เรอื ประมงไทยจำนวนมากท่ีทำประมงในน่านน้ำของประเทศอ่ืนแบบผิดกฎหมาย เชน่ การทำประมงใน น่านน้ำประเทศอ่ืนโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต การทำประมงในน่านน้ำประเทศอื่นแบบไดร้ บั อนญุ าตแต่ทำผดิ กฎหมายของประเทศเจา้ ของนา่ นนำ้ และการทำประมงผิดกฎหมายระหวา่ งประเทศ การทำประมงในน่านน้ำประเทศอื่นอย่างผิดกฎหมายสามารถส่งผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์ และความร่วมมือทางด้านการประมงระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นได้ โดยประเทศ ไทยขณะนี้มีเพียงข้อตกลงแบบหลวม ๆ เท่านั้นกับหลายประเทศในด้านการประมง โดยมีความร่วมมอื MOU กับ 4 ประเทศ ได้แก่ พม่า ฟิจิ ฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น และกำลังทาบทามประเทศอ่ืน เช่น มาเลเซีย กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย ไต้หวัน ปาปัวนิวกินี ส่วนใหญ่จะเป็นความร่วมมือในการ จัดการปัญหาประมงไอยูยู เช่น แลกเปลี่ยนข้อมูล แลกเปลี่ยนผู้เชี่ยวชาญ ขอข้อมูล VMS ข้อมูลการ ตรวจสอบย้อนกลับ อย่างไรก็ดี กรมประมงก็พยายามจะผลักดันเรือ่ งสิทธิการทำประมงกับประเทศที่มี MOU ด้วย (TDRI, 2560) การทำประมงนอกน่านน้ำประเทศที่ถูกกฎหมายนั้น บริษัทเรือประมงจะต้องจดอาชญา บัตรกับกรมประมงไทยเพื่อทำประมงในน่านน้ำประเทศอืน่ โดยอาชญาบัตรจะมีอายุหนึ่งปี และจะต้อง ได้รบั อนญุ าตจากประเทศเจ้าของนา่ นน้ำอย่างถูกต้อง ส่วนใหญจ่ ะทำประมงในทวีปเอเชียและแอฟริกา การขออนญุ าตทำประมงในน่านน้ำประเทศอนื่ ปกตจิ ะมาดว้ ยข้อจำกัดหลายประการที่ทำใหช้ าวประมง ไทยเสยี เปรียบ เชน่ หลายประเทศบังคบั ให้บริษัทเรือประมงไทยต้องร่วมลงทุนกบั บริษัทประมงท้องถ่ิน และทำตามกฎระเบียบของบริษัทท้องถิ่นนั้น และหลายประเทศบังคับว่าสัตว์น้ำที่จับได้ต้องขึ้นท่าเรือ หน้า |114
ของประเทศเขาเพื่อใช้ประโยชน์ หรือมีการแปรรูปเบื้องต้นเพื่อให้เกิดการจ้างงานของคนในประเทศ นั้นๆ ก่อนจะนำมาส่งมาประเทศไทย นอกจากนี้แล้ว ชาวประมงไทยยังไม่นิยมเจรจากันเป็นเอกภาพ ดว้ ย จงึ ยง่ิ ขาดอำนาจการตอ่ รองในการเจรจากับประเทศเจา้ ของน่านน้ำ (TDRI, 2560) 6) ปญั หาดา้ นการประมงนำ้ จืด ปัญหาส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ 1) กำลังผลิตทรัพยากรสัตว์น้ำจืดถดถอย เนื่องจากความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมและ แหลง่ นำ้ จากการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ และเกิดจากปริมาณความต้องการใช้ทรัพยากรสัตว์น้ำเกิน กว่ากำลังผลิตที่ทดแทนได้ของแหล่งน้ำในแต่ละปี มีการทำประมงมากเกินกำลังการผลิตของแหล่งน้ำ ระบบแหล่งน้ำในรูปแบบต่างๆ ขาดการเชื่อมต่อกันเหมือนในอดีต ทำให้ไม่มีศักยภาพในการแพร่ ขยายพันธุ์ ทำการประมงมีการใช้เครื่องมือประมงผิดกฎหมายและวิธี ทำการประมงแบบทำลายล้าง โดยเฉพาะช่วงฤดูวางไข่ แหล่งอาศัย แหล่งวางไข่ และแหล่งเลี้ยงตัวอ่อนสัตว์น้ำจืดถูกรุกรานและ เสอ่ื มสภาพ 2) ขาดความตระหนักและการมสี ่วนร่วมในการจดั การทรัพยากร เน่ืองจากสภาพของสังคม เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนประกอบอาชีพประมงลดลง การบริหารจัดการด้านทรัพยากรน้ำจืดขาด กระบวนการท่ีมปี ระสิทธภิ าพ และขาดการมีส่วนร่วมของชมุ ชนและผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสีย 3) ขาดประสิทธิภาพการควบคุมและกำหนดแนวทางบริหารจัดการที่ดี ในด้านการ ควบคมุ ดูแล ปอ้ งกันและอนรุ ักษแ์ หลง่ อาศยั สัตว์นำ้ ขาดการกำหนดแนวทางจัดการและการจัดระเบียบ การควบคุมการทำประมง ขาดการดำเนินการผลิตลูกพันธุ์และปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ขาดการควบคุมการ ทำประมงให้เป็นไปตามกฎหมายและเท่าเทียม ขาดการศึกษาวิจัยที่เหมาะสมและใช้ประโยชน์ได้จริง ขาดการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนในการอนุรกั ษาทรพั ยากรน้ำจืด (TDRI, 2560) 6.2 ปัญหาการทำการเพาะเลีย้ งสัตวน์ ำ้ ปญั หาของการทำการเพาะเล้ียงสตั วน์ ้ำทส่ี ำคญั คือ ผลกระทบการเพาะเลีย้ งสตั วน์ ำ้ โดยใช้ ความเคม็ ในพ้ืนที่นำ้ จดื โดยเฉพาะกรณี การเลย้ี งกุ้งขาวหรอื กงุ้ กลุ าดำในพ้ืนท่ีนำ้ จืด อาจกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบระยะยาว ดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี 1) ผลกระทบต่อคณุ ภาพดินทำใหเ้ กดิ ปัญหาดินเคม็ ความเคม็ จะแพร่กระจายลงส่นู ำ้ ใต้ดิน 2) ผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ ค่าความเค็มของนำ้ ในพน้ื ท่ีการเพาะเลย้ี ง ต้ังแต่บ่อเลย้ี ง บอ่ พักน้ำ และคูน้ำรอบบ่อเลย้ี ง ส่วนใหญจ่ ะมคี วามเค็มเกนิ มาตรฐานการระบายนำ้ ทิง้ จากบอ่ เพาะเลย้ี ง กรณีของ บ่อเลีย้ งท่ีไม่มีการระบายนำ้ ท้ิง หากการออกแบบพ้นื ท่บี ่อไมเ่ หมาะสมหรอื มนี ้ำจากบ่อเลี้ยงหรือคูน้ำ ไหลล้นลงส่พู ้ืนทข่ี ้างเคยี ง จะทำให้เกดิ ปัญหาความเค็มเกนิ กว่ามาตรฐานคุณภาพนำ้ เพ่ือการเพาะปลกู หนา้ | 115
3) ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช ในพื้นที่บ่อเลี้ยงที่มีการจัดการไม่ดีหรือมีการระบาย น้ำทิ้งสู่พื้นที่ข้างเคียงโดยเฉพาะพื้นที่นาข้าว จะได้รับผลกระทบชัดเจน เช่น ข้าวมีการแตกกอน้อยกว่า ปกติ เมล็ดลีบ การเจริญเตบิ โต ไม่ดหี รือไมส่ มำ่ เสมอ ซง่ึ พบในพนื้ ท่ีปลกู ขา้ วทกุ พ้ืนที่มีการเล้ยี งใกล้เคียง กับบอ่ เล้ยี งกงุ้ สว่ นพ้ืนทเ่ี พาะปลกู อ่นื เชน่ สวนสม้ แมว้ า่ จะยังไม่เห็นผลกระทบชัดเจน แต่กล่าวได้ว่า มี ความเสี่ยงสูงหากมีการเลีย้ งกุ้งอยู่โดยรอบพ้ืนท่ี นอกจากน้ี พชื ทปี่ ลูกบรเิ วณขอบบอ่ เล้ยี งจะเจรญิ เติบโต ไมส่ มบรู ณ์ เช่น มะม่วง ฝร่ัง และพรกิ เปน็ ต้น 4) ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ปัญหาที่พบคือ เกษตรกรที่ประกอบอาชีพเลี้ยงกุ้ง และเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเพาะปลูกพืช มีความขัดแย้งโดยเฉพาะบริเวณท่ีผูป้ ระกอบอาชีพเล้ียงกุ้ง มีการจัดการที่ไม่ถูกต้อง เช่น ระบายน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงลงสู่พื้นที่ข้างเคียง หรือแหล่งน้ำสาธารณะ ปัญหาการแย่งชิงน้ำจืด การลักลอบเปิดประตูน้ำชลประทาน โดยเฉพาะพื้นที่ริมคลองชลประทานท่ี จัดทำขึ้นเพื่อจัดสรรน้ำจืดให้แหล่งเกษตรกรรมเพาะปลูกพืช ตลอดจนปัญหาคุณภาพน้ำที่ใช้ในการ อปุ โภคและบรโิ ภค ทำใหเ้ กดิ การเผชิญหนา้ และการทะเลาะเบาะแว้งของคนในพ้ืนท่ี 5) ผลกระทบทางด้านระบบนิเวศของพื้นที่น้ำจืด การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำด้วยความเค็มในพื้นที่น้ำ จืดเป็นกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศภาคพื้นดิน การขยายพื้นที่การเลี้ยงที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อ สภาพแวดล้อมของระบบนิเวศในหลายลักษณะ ทั้งการแพร่กระจายของความเค็มในดินและน้ำ ความ อ่อนไหวต่อโรคระบาด ความไมส่ มดุลของการพึ่งพาทางนเิ วศ และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (TDRI, 2560) จากผลกระทบของความเค็มที่ส่งผลต่อพื้นที่การเกษตร ปัจจุบันสามารถที่จะปรับเปลี่ยนจาก การเลี้ยงที่ใช้ความเค็มสูง มาเป็นการเลี้ยงร่วมกับสัตว์น้ำจืดที่ใช้ความเค็มต่ำลง เช่น การเลี้ยงกุ้งขาว ร่วมกับกุ้งก้ามกราม และปลานิล ทำให้ไม่เกิดผลกระทบต่อเกษตรกรข้างเคียง (สำนักข่าวกรม ประชาสัมพนั ธ์, 2562) 6.3 การจัดการประมง การจัดการประมงเป็นการสร้างแนวทาง กฎระเบียบ การป้องกัน เพื่อที่จะนำมาใช้กับการ ทำประมง ทั้งนี้จะคำนึงถึงปริมาณการจับสัตว์น้ำที่เหมาะสม การได้กำไรสูงสุดจากการทำประมง การ จับสัตวน์ ้ำโดยท่ีสัตว์น้ำจะอยู่ในระดับฝงู สัตว์น้ำที่จะคงมีอยู่ให้ทำประมงต่อไป ไม่เกิดการสูญพันธ์ หรือ การเกอื บสญู พนั ธ์ เป็นตน้ ทง้ั นี้นโยบายการจดั การประมงประกอบด้วยหลายรูปแบบ ได้แก่ กฎระเบียบ ด้านการควบคุมเครื่องมือในการทำประมง (Input Regulations) เช่น การจดทะเบียนในการทำประมง (โดยมีการเก็บคา่ ธรรมเนยี มใบอนุญาตทำการประมง และการเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับเรือประมงแต่ละ แบบ) การกำหนดโควต้าการลงแรงประมง การกำหนดความยาวและน้ำหนักของเรือประมง การกำหนด กำลังเครือ่ งยนต์ ท้ังนม้ี ีจดุ ม่งุ หมายในการจำกดั ควบคมุ ใหเ้ รือต่างๆ ลงแรงประมงอย่างเหมาะสม หรือ อย่างจำกัด กฎระเบียบในด้านการควบคุมปริมาณการจับ (Output regulations) ได้แก่ โควตาการจบั หน้า | 116
สัตว์น้ำ หรืออาจใช้ทั้งด้านการควบคุมการลงแรงประมง และโควตาการจับสัตว์น้ำ เช่น การกำหนด ขนาดตาอวนของเครื่องมือทำการประมง การกำหนดขนาดสัตว์น้ำที่สามารถจับได้ การกำหนดพื้นที่ทำ การประมง การกำหนดฤดูกาลที่สามารถทำการประมงได้ การควบคุมด้านการตลาด และการควบคุม แบบทางอ้อม เช่น การเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม และการให้งบประมาณอุดหนุน โดยขอสรุปเฉพาะ รปู แบบทมี่ ีความนยิ มในการจดั การดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี การควบคุมจำนวนเรือการทำประมง (Limited Entry) การควบคุมจำนวนเรือที่จะเข้าทำการประมง สามารถกำหนดได้จากการจดทะเบียนในการ ทำประมง การกำหนดค่าอาชญาบัตร การกำหนดค่าธรรมเนียมใบอนุญาตในการทำประมง โดยระบุว่า เรือประมงน้นั มีสิทธิทีจ่ ะทำการประมงได้ ทั้งนี้ในเง่ือนไขของการทำประมงอาจจะกำหนดพืน้ ท่ีในการทำ ประมง ระบุถึงปริมาณการจับสัตว์น้ำในแต่ละปี หรือการลงแรงประมงได้กี่วัน ทั้งนี้จะมีการเก็บ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตในการทำประมงซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของเรือ เครื่องยนต์ และเครื่องมือทำการ ประมง เมื่อหน่วยงานมีข้อมูลการจดทะเบียนเรือ จะสามารถติดตามการทำประมงได้ว่าการประมงทำ ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ โดยมีจุดมุง่ หมายเพ่ือที่จะให้การใช้ทรัพยากรสัตว์นำ้ เป็นไปอย่างเป็นธรรม และคงไวซ้ ึ่งทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง ในทางเศรษฐศาสตร์การท่ชี าวประมงยอมจ่ายคา่ ธรรมเนียมในการ อนญุ าตทำการประมงจะถอื ว่าเป็นความต้องการและยอมรบั ในเง่ือนไขซึ่งหากมีการจ่ายค่าธรรมเนียมจะ ทำให้ต้นทุนในการทำประมงเพิ่มสูงขึ้น ดังภาพที่ 6.1 แสดงต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการจ่ายค่าธรรมเนียม ในการทำประมง หากต้องการให้ชาวประมงทำประมงหรือลงแรงประมงน้อยลง การเพิ่มของต้นทุนจะ ส่งผลทำให้การลงแรงประมงของชาวประมงลดน้อยลง เพราะชาวประมงจะทำประมงจนกระทั่งต้นทนุ รวมเทา่ กับรายได้รวมหรือ ณ จดุ การทำประมงเสรี (Open Access; TC=TR) จาก เส้น TC1 คือ ต้นทนุ การทำประมงท้ังหมดโดยขึ้นกับการลงแรงประมงและต้นทุนต่อหนว่ ยการลงแรงประมง จะมีการลงแรง ประมงที่ E1 เมื่อมีการเก็บค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนหรือค่าธรรมเนยี มใบอนญุ าตทำประมงจะทำ ให้ต้นทุนทั้งหมดเพิ่มสูงขึ้นเป็น TC2 ซึ่งทำให้เส้นต้นทุนทั้งหมดย้ายไปทางซ้ายแสดงถึงต้นทุนที่เพิ่มข้นึ การลงแรงประมงจะลดลงที่ E2 ดังน้ันจะเห็นว่าหากค่าธรรมเนยี มเพิ่มข้ึนจะส่งผลต่อการลงแรงประมงท่ี ลดลงดว้ ย หนา้ | 117
ภาพที่ 6.1 ผลกระทบต่อต้นทุนท่ีเพ่ิมขึ้นจากการจ่ายคา่ ธรรมเนียมใบอนญุ าตทำการประมง ทีม่ า: ดดั แปลงจาก Ola Flaaten (2010) การกำหนดโควตาในการทำประมง (Quota) การกำหนดโควตาในการทำประมงโดยปกติจะกำหนดสัดส่วนของการจับสัตว์น้ำ หรือการ ลงแรงประมงของชาวประมงแต่ละคน โดยปกติโควตาจะกำหนดชนิดของสัตว์น้ำในการจับที่ขึ้นอยู่กับ สถานะขนาดของฝูงสัตว์น้ำในแต่ละช่วงเวลา หลักของการจัดการที่ดีที่สุดนั้น ควรจะกำหนดให้จับสัตว์ น้ำในปริมาณที่สัตว์น้ำนั้นจะเหลืออยู่เพื่อจับในอนาคตอย่างยั่งยืน หรือเป็นจำนวนการลงแรงประมง โดยเรยี กว่า ปรมิ าณการจับสตั ว์นำ้ ท่อี นุญาตท้ังหมด (Total Allowable Catch:TAC) ซงึ่ จะกำหนดเป็น น้ำหนักของสัตว์น้ำ หรือ การลงแรงประมงที่อนุญาตทั้งหมด (Total Allowable Effort:TAE) ซ่ึง กำหนดจากจำนวนเทีย่ ว วัน หรอื ชัว่ โมงของเคร่อื งมือทำการประมง หน้า | 118
ภาพที่ 6. 2 การกำหนดโควตาการทำประมงภายใต้เงื่อนไขราคาสัตวน์ ้ำเปล่ียนแปลง ทีม่ า: ดดั แปลงจาก Lee G. Anderson (1977) จากภาพท่ี 6. 2 เรม่ิ แรกมีการลงแรงประมงทร่ี ะดับ EOA จับสตั ว์น้ำได้ปริมาณ YOA มีรายได้เท่ากับ ต้นทุน ซึ่งเปน็ ระดบั การทำประมงเสรี เมอื่ มีการกำหนดให้จับสตั วน์ ำ้ ท่ีระดบั YMSY หรอื ลงแรงประมงท่ี EMSY จะทำให้การทำประมงลดลง และต้นทุนลดลงมาอยู่ที่ CMSY โดยที่ได้ราคาที่ PMSY เกิดกำไรในส่วน พื้นที่แรเงา ซึ่งจะเห็นได้ว่าปริมาณการจับสัตว์น้ำลดลงตามจำนวนโควตาที่กำหนด และชาวประมงได้ กำไรเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามการกำหนดโควตาจะทำให้เกิดปัญหาได้ หากเป็นการกำหนดโควตาใน ภาพรวมของพื้นที่ที่กำหนด เพราะจะทำให้เรือแต่ละลำพยายามจับสัตว์น้ำให้ได้มากที่สุดเท่าที่ปริมาณ สัตว์น้ำยังไม่ถึงโควตาที่กำหนด หรือการลงแรงประมงยังไม่ครบตามโควตาทั้งหมด ดังนั้นจึงมีรูปแบบ โควตาโดยกำหนดในแตล่ ะบุคคล หรือแต่ละการลงแรงประมงเพิ่มเตมิ ข้นึ มาเพ่ือท่จี ะระบุชัดเจนวา่ แต่ละ ลำเรือควรจะทำการประมงเท่าไหร่ จึงมีรปู แบบการกำหนดโควตาแบบอนื่ ๆ เชน่ การกำหนดโควตาการ ลงแรงประมงแต่ละบุคคล (Individual effort quotas :IEQs) ได้แก่ การกำหนดจากเวลาในการกู้อวน เวลาที่ออกจากท่าเรือ หรือจำนวนวันที่ใช้ทำประมง อย่างไรก็ตามการกำหนดนี้เป็นการกำหนดถึง จำนวนการลงแรงประมง ซึ่งชาวประมงแต่ละคนสามารถที่จะเพิ่มแรงของเคร่ืองยนตไ์ ด้ หรือเพิ่มปัจจัย หนา้ | 119
อื่นๆ ที่ทำให้จับสัตว์น้ำได้มากขึ้น จึงมีอีกรูปแบบในการกำหนดโควตาในการจับสัตว์น้ำของแต่ละ ชาวประมงโดยสามารถโอนกรรมสิทธิได้ (Individual transferable quotas : ITQs) โดยเป็นการ กำหนดปริมาณการจับสัตว์น้ำ และการโอนสิทธิการทำประมงจะโอนตามจำนวนปริมาณน้ำหนักของ สัตว์น้ำ ซึ่งพบว่ามีประสิทธิภาพกว่าและควบคุมได้ดีกว่า แต่อาจจะมีข้อจำกัดในส่วนของสัตว์น้ำบาง ชนดิ ท่มี กี ารเปล่ยี นแปลง ขนาดของฝงู แบบไมค่ งทท่ี ำให้การประมาณโควตาไม่เหมาะสมกบั ขนาดของฝูง สัตว์น้ำ (FAO, 2004) สำหรับประเทศไทย การใช้วธิ ีโควตาอาจจะยังไม่เหมาะสมเนื่องจาก ข้อมูลขนาด ของฝูงสัตว์น้ำอาจจะไม่เพียงพอในการคำนวณปริมาณ หรือการลงแรงประมงที่เหมาะสมสำหรับการ จัดทำโควตา นอกจากนั้นแลว้ ประเทศไทยอยู่ในเขตร้อน ชนิดของสัตว์นำ้ มีความหลากหลาย การจัดทำ โควตาจะมคี วามลำบากในการกำหนด การซอ้ื เรือคืน โครงการการซื้อเรือคืน (FAO, 2004) หรือการให้ลดจำนวนเรือออกจากอุตสาหกรรมการทำ ประมง หลายประเทศมีการใช้รูปแบบการซื้อเรือคืน เช่น ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา นอร์เวย์ ออสเตรเลีย สหภาพยุโรป และไตห้ วัน ซ่ึงเปน็ การจงู ใจใหช้ าวประมงเลิกทำการประมงโดยการนำเรือมา ใหก้ บั ภาครฐั และภาครัฐจะจ่ายเปน็ เงินให้ ซง่ึ อาจจะเป็นการจ่ายคืนจากการนำใบอนุญาตทำประมงมา คืนได้ อย่างไรก็ตามอาจจะใช้ได้ในระยะสั้นเท่านั้น เพราะหากนานไป ทรัพยากรสัตว์น้ำมีความอุดม สมบรู ณ์เพิม่ ขึน้ จะเปน็ การจูงใจใหช้ าวประมงกลบั มาทำประมงอีก ขอ้ ห้ามในการกำหนดของเรือและเคร่ืองมือประมง (Gear and vessel restrictions) ข้อหา้ มในการกำหนดเรือและเครอ่ื งมอื ประมงจะชว่ ยให้มีการควบคมุ การทำประมงได้ เชน่ การ กำหนดขนาดตาอวนที่ต่ำทีส่ ดุ (minimum mesh size of gear) การกำหนดขนาดสัตวน์ ้ำทจ่ี บั ได้ (minimum size of fish) การกำหนดจำนวนเครอ่ื งลอ่ การจำกัดความยาวของเบ็ดราว การหา้ มให้ เคร่อื งมอื ประมงบางชนิด การกำหนดความยาวเรือ เครื่องยนต์เรอื การปิดพน้ื ที่และการปดิ ทำการประมงในบางฤดูกาล (Closed areas and seasons) การปิดพนื้ ท่ีทำการประมงและการปดิ ฤดูการทำประมง เปน็ วิธีการที่จะเพิม่ ปริมาณสตั วน์ ำ้ โดย ที่ขนาดของฝูงสัตว์น้ำ จะเริ่มมีการทดแทนการเกิน และลดการตาย การทำประมงควรจะมีการห้ามทำ ประมงในส่วนของบริเวณที่สัตว์น้ำมีการวางไข่หรือช่วงฤดูกาลที่มีการวางไข่ และช่วงของการที่สัตว์น้ำ ขนาดเล็กกินอาหาร การควบคมุ พ้ืนทกี่ ารวางไข่และพื้นท่ีท่สี ตั วน์ ้ำวัยอ่อนกำลังเติบโตและกินอาหาร จะ ทำให้ฝูงสัตว์น้ำสามารถเติบโตผ่านช่วงอันตรายที่จะตายเพราะความวัยอ่อนและมีความเสี่ยงสูงในการ หนา้ | 120
ถกู ทำลาย การตัดสินใจท่จี ะใช้มาตรการดังกล่าวจะต้องมีความรอบครอบในการคำนวณวันที่แน่นอน ซึ่ง แต่ละชนิดสัตว์น้ำจะมีความแตกต่างกันในช่วงการวางไข่ และการอาศัยในพื้นที่ที่แตกต่างกันด้วย รวมทั้งแต่ละปีอาจมีการเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและนิเวศวิทยาที่ทำให้สภาพ ของนำ้ มีการเปล่ียนแปลง อย่างไรก็ตาม การปิดพื้นที่ และการปิดทำการประมงในบางฤดูการสำหรับอ่างเก็บน้ำน้ัน อาจจะไม่มีความจำเป็น เช่น ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของประเทศอินเดีย เนื่องจากมี ความหลากหลายของชนิดสัตว์น้ำค่อนข้างมาก และเป็นสัตว์น้ำที่มีช่วงชีวิตสั้น สามารถเกิดใหม่ได้ใน เวลาไม่ยาวนาน เช่น ใช้เวลาเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ีในเวลา 1 ปี และสามารถออกไขไ่ ด้ทกุ 3-4 เดอื นเปน็ ต้น การเก็บภาษใี นการทำประมง (Taxes) การเกบ็ ภาษีในการทำประมงเปรียบเสมือนการเพ่มิ ต้นทุนในการทำประมง ซึง่ จะทำใหก้ ารลงแรง ประมงลดลง การเก็บภาษีในการทำประมงสามารถทำได้ 2 ดา้ น คอื เก็บภาษีจากการลงแรงประมง และการเก็บภาษีจากรายได้ท่ีเกิดขน้ึ จากการจับสตั วน์ ้ำ โดยพจิ ารณาดา้ นผลผลิตเป็นการลงแรงประมง และผลผลติ สตั ว์นำ้ โดยมรี ายละเอียดดังนี้ กรณีท่ีพิจารณาด้านผลผลิตเปน็ การลงแรงประมง (Effort) โดยราคาสตั วน์ ำ้ ไม่คงท่ี การเกบ็ ภาษีที่พจิ ารณาดา้ นผลผลติ เปน็ การลงแรงประมงในกรณนี ้จี ะยกตวั อยา่ งของ การเกบ็ ภาษีของพิ กเู วยี น (Pigouvain taxes) ซ่ึงสามารถกำหนดไดส้ องดา้ น คือ ด้านต้นทุน และดา้ นรายได้ โดยพิจารณา จากฟังก์ชั่น 1) H(E) = ฟงั กช์ ่ันการจับสตั ว์นำ้ (Harvest Function) 2) TR(E) = ฟงั ก์ชั่นของรายได้ท้ังหมด (Total Revenue Function) 3) TC(E) = ฟังก์ชัน่ ของต้นทนุ ท้งั หมด (Tatal Cost Function) ภายใต้เง่ือนไข ชาวประมงรู้ข่าวสารอย่างเสรี Effort tax :tE ภาษตี อ่ หนว่ ยการลงแรงประมง Harvest tax : tHภาษีต่อหน่วยการจบั 1) กรณีท่ี 1 การเก็บภาษตี ่อหนว่ ยการลงแรงประมง ณ ราคาสัตวน์ ำ้ คงที่ สมมติให้ เดมิ TC(E) = aE ไม่มีการเกบ็ tax หนา้ | 121
ต้นทนุ ทงั้ หมด = ตน้ ทุนต่อหนว่ ยการลงประมง * จำนวนการลงแรงประมง ใหม่ TCp(E) = (a + tE)E เกบ็ ภาษตี ่อหนว่ ย effort ต้นทุนทงั้ หมดหลังเกบ็ ภาษี = (ต้นทนุ ตอ่ หนว่ ยการลงแรงประมง+ ภาษีต่อหน่วยการลงแรง ประมง)* จำนวนการลงแรงประมง ภาพท่ี 6. 3 การเก็บภาษีต่อหนว่ ยการลงแรงประมงใน ณ ราคาสตั วน์ ้ำคงท่ี ที่มา: ดดั แปลงจาก Ola Flaaten (2010) จาก ภาพที่ 6. 3 จะเห็นได้ว่า การเก็บภาษีต่อหน่วยการลงแรงประมงจะทำให้ต้นทุนรวมเพิ่มขึ้นจาก TC(E) เดมิ เปน็ TCp(E) บนเสน้ TR(E) เดมิ ผลทเี่ กดิ ขนึ้ ทำให้การลงแรงประมงลดลงจาก EOA เปน็ EMEY ซึ่งหมายถึงชาวประมงจะเปลี่ยนจากการทำประมงแบบเสรีมาทำประมง ณ ระดับจุดผลได้ทาง เศรษฐศาสตรส์ งู สุด โดยลงแรงประมงลดลง เม่อื มีการเกบ็ ภาษีต่อหน่วยการลงแรงประมง ชาวประมงจะ ทำการประมงโดยที่มีรายได้ท้ังหมดเท่ากับต้นทุนท้ังหมด ท้ังนีจ้ ะมีส่วนหนง่ึ ที่จะต้องจ่ายภาษี เช่น หาก หน้า | 122
มีต้นทุนต่อหน่วยเทา่ กับ 100 บาทต่อหน่วยการลงแรงประมง ส่วนที่ต้องเสียเสียภาษีเท่ากับ 100 บาท ต่อหน่วยการลงแรงประมง 2) กรณีที่ 2 การเก็บภาษีจากรายได้ทข่ี ้นึ กับปริมาณการจับ ณ ราคาสตั วน์ ้ำคงที่ เดมิ TR(E) = P × H(E) ไมม่ กี ารเก็บ tax รายไดท้ ขี่ ึน้ กับการลงแรงประมงทง้ั หมด = ราคาสตั วน์ ้ำคงท่ีตอ่ หน่วยปรมิ าณาสตั วน์ ้ำ x ปริมาณ การจบั ท่ขี ึ้นกบั การลงแรงประมง ใหม่ TRp(E)= (P - tH)H(E) ; tH = เกบ็ ตอ่ หน่วยปริมาณจับ รายไดท้ ข่ี ึ้นอยู่กบั การประมงทั้งหมดหลงั เกบ็ ภาษี= (ราคาสตั วน์ ้ำคงท่ตี ่อหนว่ ยปริมาณาสตั ว์น้ำ – ภาษตี ่อหน่วยปรมิ าณสัตว์นำ้ ) x ปรมิ าณการจบั ที่ข้ึนกบั การลงแรงประมง จาก H(E) ×P = TR(E) H(E) ×tH = รายได้จากภาษี (tax revenue) ท่รี ัฐจะได้ ภาพท่ี 6. 4 แสดงการเปล่ยี นแปลงของจุดดุลยภาพในการทำประมง หลังการเก็บภาษีต่อรายได้จาก ปริมาณการจบั สัตว์นำ้ จาก TR(E) เดมิ เมื่อมีการเก็บภาษี จะเปลย่ี นแปลงลดลงไปเปน็ TRp (E) จุด ดลุ ยภาพในการทำประมงเดมิ EOA จะลดลงเปน็ EMEY จากการทำประมงแบบเสรมี าทำประมง ณ จุด ยง่ั ยืนทางเศรษฐศาสตร์สงู สดุ สรุปแล้วการเกบ็ ภาษีต่อหน่วยสามารถท่จี ะเก็บได้ใน 2 ด้านคือด้านการลงแรงประมงและด้าน รายไดจ้ ากปริมาณการจบั สตั วน์ ้ำ หน้า | 123
ภาพที่ 6. 4 การเกบ็ ภาษีต่อรายได้ ณ ราคาสัตว์นำ้ คงท่ี ทม่ี า: ดัดแปลงจาก Ola Flaaten (2010) กรณที ี่พจิ ารณาด้านผลผลิตเป็นปริมาณการจบั สตั วน์ ้ำ โดยราคาสัตวน์ ำ้ เปล่ยี นแปลง 1) กรณีการเก็บ Tax : หนว่ ยลงแรงประมง ณ ราคาสัตว์นำ้ เปลยี่ นแปลง หน้า | 124
ภาพที่ 6. 5 การเกบ็ ภาษีต่อหน่วยการลงแรงประมงใน ณ ราคาสัตวน์ ้ำเปล่ยี นแปลง ท่มี า: ดัดแปลงจาก Lee G. Anderson (1987) ลักษณะการเกบ็ ภาษตี ่อหน่วยการลงแรงประมง โดยราคาสัตวน์ ้ำเปลย่ี นแปลงได้ จะมีลักษณะ คลา้ ยกบั การลงแรงประมง โดยราคาสัตว์นำ้ คงท่ี เดิมการลงแรงประมงอยู่ท่ี EOA หากลงแรงประมง ลดลงไปที่ EMEY จึงทำใหต้ ้นทุนรวมเฉลยี่ เพิ่มขน้ึ จาก LRACy เปน็ LRACy+Tax ท้ังน้ีจะทำให้มปี ริมาณ สตั ว์น้ำมากกว่าการลงแรงประมงเดิม (จาก EOA→ EMEY) ทำใหร้ ะดบั การลงแรงที่เหมาะสมคือ LRAC+TAX = AR ดงั นนั้ ชาวประมงจะลงแรงประมง ท่ี EMEY จับสัตวน์ ้ำได้ ที่ YMEY 2) การเก็บภาษีจากรายไดท้ ่ีข้ึนกบั ปริมาณการจบั ณ ราคาสตั ว์นำ้ เปลี่ยนแปลงภาพที่ 6. 6 แสดงเป็น การเกบ็ ภาษจี ากรายได้ของการทำประมง โดยราคาสตั ว์น้ำมกี ารเปล่ียนแปลงได้ ซ่งึ จะเห็นไดว้ า่ เดมิ รายไดเ้ ฉล่ยี เทา่ กบั AR หลังจากมีการเกบ็ ภาษีด้านรายได้ต่อหน่วยทำใหร้ ายได้เฉล่ยี ลดลงเปน็ AR-Tax หนา้ | 125
การทรี่ ายไดจ้ ะต้องลดลง การลงแรงประมงลดลงจาก EOA เป็น EMEY ซ่งึ สง่ ผลใหข้ นาดของฝูงสัตวน์ ำ้ มี ขนาดโตข้นึ จากการท่ลี งแรงประมงทน่ี ้อยลง ภาพท่ี 6. 6 การเก็บภาษตี อ่ รายได้ ณ ราคาสัตวน์ ำ้ เปล่ยี นแปลง ทมี่ า: ดดั แปลงจาก Lee G. Anderson (1987) การจดั การประมงแบบมสี ่วนร่วม (Community-based fisheries management : CBFM) การจดั การประมงแบบมีสว่ นรว่ ม เปน็ แนวทางการจัดการประมงทเ่ี น้นใหช้ ุมชนมีสว่ นร่วม โดย มแี นวคดิ มาจากการพัฒนาและการใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอยา่ งยั่งยืน ลักษณะ ของการดำเนินการจะเป็นการจัดการร่วม เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้วางแผนในการออก กฎหมาย และระเบยี บกฎเกณฑ์ต่างๆ ทค่ี รอบคลุม การมอบสทิ ธิการทำประมง ให้ชมุ ชนมีอำนาจในการ จัดการทรัพยากรประมงในชุมชนของตน การออกกฎหมายกำหนดขอบเขตของเขตประมงชุมชน การ หนา้ | 126
ออกกฎหมายกำหนดรูปแบบและขอบเขตอำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหารและจดั การทรัพยากร ประมงชุมชน (กังวาลย์ จันทรโชติ, 2541) การจัดการประมงแบบมีส่วนร่วมโดยสรุปแล้ว จะเป็นการ รว่ มมอื กันในกระบวนการเพ่ือวางแผนและตัดสินใจเพื่อหามาตาการในการจัดการทรัพยากร ซง่ึ ช่วงแรก จะมีหน่วยงานจากรัฐเข้ามาร่วมกับชาวประมงหรือชุมชน ให้สามารถปรับตัวเข้าหากัน และก่อให้เกิด การจดั การประมงอยา่ งมีประสิทธผิ ล (ทวนทอง จฑุ าเกต,ุ 2556) 6.4 มาตรการการจดั การประมงของต่างประเทศ ในต่างประเทศมีการจัดการด้านการประมงในด้านต่างๆ บางประเทศมีลักษณะคล้ายคลึงกัน บางประเทศแตกตา่ งกัน อยา่ งไรก็ตามมาตรการที่มีน้ันจะมุ่งเนน้ การจดั การทรัพยากรสตั วน์ ำ้ อย่างย่ังยืน โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ ซึ่งในภาพรวมมาตรการต่างนั้นจะเน้นในส่วนของการฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์ น้ำ การควบคุมการลงแรงประมง การกำหนดโควต้า การจำกัดการให้ใบอนุญาตทำการประมง การ กระจายการทำประมง การจัดการกบั สัตว์นำ้ พลอยได้ การฟนื้ ฟทู รัพยากรสตั วน์ ้ำ เช่น ประเทศสหรฐั อเมริกา เน้นการสร้างแหลง่ อาศยั สัตว์ทะเล การ รักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรโดยชุมชนทอ้ งถิ่น การรักษาทรัพยากรสัตว์น้ำในกลุ่มอนุรักษ์ท่ีใกล้สูญพนั ธุ์ หรอื หากเปน็ ประเทศญปี่ ุ่นจะมีการทำฟาร์มเพาะเลี้ยงลูกพันธส์ ัตว์น้ำในชนดิ ที่มีการจับมากเกินควรหรือ ใกล้สูญพันธ์ เมื่อเลี้ยงจนลูกพันธ์แข็งแรง จะทำการปล่อยสู่ทะเลเพื่อการเติบโตต่อไป (NOAA, 2016) เปน็ ตน้ ระบบการใช้โควตา พบว่า สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และแคนาดา มีการกำหนดปริมาณสัตว์น้ำท่ี อนุญาตให้จับ (Total Allowance Catch) จำกัดปริมาณการจับเป็นรายเดือน และปิดพื้นที่ทำการ ประมง สำหรับนิวซีแลนด์ และแคนาดา จะใช้ระบบโควตาของแต่ละบุคคลโดยที่แต่ละบุคคลสามารถ ถา่ ยโอนโควตานนั้ ๆ ได้ (Individaul Transferable Quotas) การกำหนดปรมิ าณชนิดพันธทุ์ ี่อนุญาตให้ จับ ตามปริมาณและฤดูกาลที่กำหนด (The Parliamentary Office of Science and Technology (2010), Irina POPESCU and Toshihiko OGUSHI (2013), Malcolm P. Francis et al (2009)) . ประเทศแคนาดายังมีการกำหนดในส่วนของใบอนุญาต เพ่ือลดปริมาณการทำประมง สว่ นออสเตรเลียมี การให้โควตาในรูปแบบ Competitive Total Allowable Catch เป็นการผสมผสานกันระหว่าง มาตรการ Individual Transferable Quotas และมาตรการ Input Control เพื่อให้สามารถกำหนด ปริมาณในการจบั และการออกใบอนุญาตในการจบั รวม หน้า | 127
ในรูปแบบมาตรการควบคุมด้านปัจจัยการทำประมงนั้น นอกจากประเทศออสเตรเลียที่ใช้ ร่วมกบั โควตาแลว้ สหภาพยุโรปมีการใช้มาตรการหยุดทำการประมงด้วยอวนลากสำหรบั ปลาผิวน้ำ การ กำหนดขนาดสัตว์น้ำที่เลก็ ที่สุดที่สามารถจับและนำขึ้นท่าเรือได้ มาตรการกำหนดขนาดสัตว์น้ำอนุรักษ์ ที่ขนาดเล็กที่สุด การกำหนดตาอวนที่เล็กที่สุดที่ทำการประมงได้ การกำหนดให้เครื่องมือประมงบาง ประเภทลดการจับปลาที่ไม่ต้องการ การปิดการทำประมงในพื้นที่ต่าง ๆ และการปิดการทำประมงใน ฤดกู าล การกำหนดปริมาณสตั วน์ ้ำที่ไม่ต้องการ การกำหนดผลกระทบท่ีน้อยท่ีสุดจากการทำประมงท่ีมี ตอ่ ระบบนเิ วศและสงิ่ แวดล้อม ประเทศญป่ี นุ่ กำหนดระบบการกำหนดจำนวนการลงแรงประมง (Total Allowable Effort: TAE) ประเทศแคนาดา กำหนดความยาวของตาข่าย จำนวนตะขอหรอื เบ็ด จำนวน เที่ยวเรอื ในการทำการประมงต่อวัน จำนวนวันที่สามารถทำการประมงไดใ้ นช่วงฤดูกาลเปดิ และปิดการ ทำประมงในพืน้ ทีท่ ่ีจำกดั เปน็ ตน้ สำหรับการจัดการสัตว์น้ำผลพลอยได้ (Bycatch) ของประเทศต่างๆ ได้แก่ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ จะมีลักษณะคล้ายกัน โดยการติดเครื่องมือ (Turtle Excluder Device; TED) เพื่อป้องกันสัตว์น้ำผลพลอยได้ เช่น เต่า นกทะเล สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (ปลาโลมา) ติดที่เรืออวนลาก พร้อมกับการควบคุมขนาดและความยาวของอวน รวมถึงจำนวนเบด็ ท่ใี ช้ ในการประกอบกิจกรรมประมงทะเล (Natural Marine Fishery Service (2006) และ Government of Canada (2021)) การจดั การทรัพยากรสัตวน์ ้ำโดยใช้การจัดการประมงแบบมีส่วนร่วม จะพบว่า มหี ลายประเทศ ได้นำหลักการนี้ไปใช้ เช่น ประเทศบังคลาเทศ นำไปใช้กับการประมงพื้นบ้าน แนวทางที่ปฏิบัติของ ชุมชน มีการเพ่ิมจำนวนฝงู สตั วน์ ำ้ ต่างๆ โดยการเพาะฟัก การอนุบาลลูกปลาในหลายชนิด มีการกำหนด ห้ามจบั สตั ว์นำ้ ในช่วงฤดผู สมพนั ธ์ กำหนดกฎหมายของชมุ ชนเพ่ือระวงั และป้องกนั การใช้ทรพั ยากรสัตว์ น้ำ หากใครไม่ทำตามจะถูกออกจาการเป็นสมาชิก ซึ่งทำให้ชุมชนมีรายได้จากการจับปลาเพิ่มขึ้น ยกระดับรายได้ครัวเรือน สามารถเข้าถึงแหล่งเงินกู้ และบริหารการใช้ทรัพยากรด้วยความหลากหลาย ได้ (Fatema. et al, 2016). ตวั อย่างเพิ่มเติมท่ีเห็นชัดเจนและมีการนำไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม เช่น ประเทศญี่ปุ่นที่มีการให้ สหกรณ์ประมงเปน็ ผู้กำหนดกฎหมายในการทำประมงของพื้นที่ ประเทศญี่ปุ่นจะเป็นประเทศทีป่ ระสบ ความสำเร็จในการจัดการมากที่สุด Hirotsugu Uchida and M.Makino (2008) ได้ศึกษาการจัดการ แบบมสี ่วนร่วมของชาวประมงในประเทศญปี่ ุ่นในหลายกลุ่ม ซึง่ ผู้ทีม่ บี ทบาทสำคัญในการจัดการประมง หน้า | 128
แบบส่วนร่วม คือ ชาวประมง ผู้ออกกฎเกณฑ์ และนักวิทยาศาสตร์ โดยชาวประมงจะเป็นผู้ดูแล ทรพั ยากรของตนเองจากประสบการณ์การทำประมง นกั วทิ ยาศาสตร์จะนำความรูด้ า้ นการจัดการระบบ นิเวศมาใช้อย่างไร และนักกฎหมายจะเข้ามาคอยมีส่วนช่วยในการประสานและคอยพิจารณากฎต่างๆ ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดการแบบมีส่วนรว่ มของชาวประมงญี่ปุ่นจะค่อนข้างประสบความสำเร็จถึงแมจ้ ะมี ลักษณะการแข่งขันกัน รวมทั้งเกิดประโยชน์ร่วมกันที่ชัดเจนทั้งในด้านของความยั่งยืนชีววิทยาและ เศรษฐศาสตร์ 6.5 มาตรการการจัดการประมงของประเทศไทย ตั้งแต่อดีต ปี พ.ศ.2490-ปัจจุบัน มาตรการการจัดการประมงของประเทศไทย ได้มีการ จัดการเช่น การห้ามทำประมงสัตว์น้ำอนุรักษ์และสัตว์น้ำที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น เต่าทะเล พะยูน ปลาโลมา ฉลาวาฬ รวมถึงการทำประมงในแหล่งปะการงั และปะการงั เทยี ม การหา้ มทำประมงในพ้ืนที่ ต่างๆ การหา้ มทำประมงในบางเคร่อื งมือ เชน่ อวนลาก อวนรุน อวนลากแผ่นตะเฆ่ อวนลากคู่ อวนล้อม จับ (ตามขนาดตาอวนที่กำหนด) อวนปลากะตักประกอบกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรือมีการห้ามใช้ เครื่องมือประมงร่วมกับการจำกดั พื้นที่ทำการประมง การกำหนดขนาดตาอวนไม่ให้เล็กจนเกินไป หรือ หา้ มอวนทมี่ ตี าถเ่ี กินไป การหา้ มไม่ใหใ้ ชเ้ คร่ืองกำเนิดไฟฟ้ารว่ มกับการทำประมง และมาตรการปิดพื้นท่ี อา่ วในการทำประมงช่วงฤดูปลาวางไขแ่ ละเล้ียงตวั อ่อน รวมทัง้ การสง่ เสริมให้มีการฟ้นื ฟูทรัพยากรสัตว์ น้ำโดยการทำปะการังเทยี ม สำหรบั การปล่อยพนั ธส์ ัตว์นำ้ ส่วนใหญจ่ ะเนน้ สัตว์น้ำจดื (เรอื งไร, 2557) ในส่วนของการจัดการแบบมีส่วนรว่ ม พบว่า ภาครัฐได้ส่งเสริมให้มีการทำประมงชุมชนเพื่อให้ ชาวประมงมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร โดยเริ่มต้นจากภาครัฐ องค์กรเอกชนและองค์กร NGOs เข้ามาช่วย มีการอบรม สร้างกลุ่มสมาชิก และเมื่อสมาชิกกลุ่มสามารถดำเนินการได้อย่างเข้มแข็งแล้ว สุดท้ายจะใหก้ ลุ่มสามารถจัดการทรัพยากรประมงของกลุ่มด้วยกลุ่มเองต่อไป อย่างไรก็ตามในภาพรวม กลุ่มที่ประสบความสำเรจ็ และสามารถดำเนินการด้วยกลุ่มเองอย่างเบ็ดเสร็จนัน้ อาจจะมีน้อยมาก และ บางครั้งอาจยงั คงขอการสนับสนนุ จากภาครฐั หรือหน่วยงานอน่ื ๆ เพ่ิมเตมิ ในบางครั้ง เก็ตถวาและคณะ 2555 ได้ศึกษาถึงการมีส่วนร่วมของชาวประมงรอบทะเลสาบสงขลา โดยพัฒนาระบบกรรมสิทธ์ิ ทรัพยากรประมง สิทธิการเข้าถึงทรัพยากร การตั้งระเบียบกฎเกณฑ์ของชุมชน ซึ่งพื้นที่ได้มีการจัด โครงการฟาร์มทะเลโดยชุมชน สามารถดำเนินการไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง จัดการเพิ่มทรัพยากรสัตว์น้ำได้มาก ข้นึ มีการจดั การควบคมุ การทำประมงโดยกำหนดกันเอง เช่น เกี่ยวกบั ตาอวนลอยสามช้ัน ชว่ ยกันดูแล การประมงที่กระทำผิดกฎกติการะเบียบ เพื่อการอนุรักษ์ที่ยั่งยืน ผลของการดูแลทรัพยากร ทำให้ ชาวประมงมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการฟื้นฟูทรัพยากร นอกจากนั้น การมีส่วนร่วมของประมงชุมชนใน หน้า | 129
ประมงน้ำจืดได้ดำเนินการที่จงั หวัดเชียงใหม่ โดยเรียกชื่อว่าประมงหมูบ่ ้าน ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับพื้นที่ อื่นๆ โดยมีการเข้าไปแนะนำของภาครัฐ เพื่อให้ชุมชนประมงได้เขา้ ใจบทบาทและการกำหนดกฎเกณฑ์ การใช้ทรัพยากรประมงของชุมชนรว่ มกัน ทั้งนี้สมาชิกในชุมชนประมงมีความสัมพันธ์ทีด่ ีตอ่ ภาครฐั แต่ ยังคงมีปัญหากับคนในชุมชนท่ัวไปที่อาจจะไม่เข้าใจในประโยชนข์ องการจัดการของประมงชุมชน (ดาร ชาต์ และเกรยี งศกั ด์ิ 2560) 6.6 แนวทางการจดั การประมงและเพาะเล้ียงสัตว์น้ำของประเทศไทย จากปัญหาในด้านต่างๆ ของการทำประมงและการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำของประเทศไทย แนวทาง ในการแกไ้ ขปญั หานน้ั ควรมีการกำหนดแนวทางในดา้ นนโยบายการจัดการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ทั้งนี้ส่ิงที่เน้นน้ันจะคำนึงถึง ด้านเศรษฐกจิ (ด้านการค้า การเพิ่มมูลค่า ด้านการบรโิ ภค) ด้านทรัพยากร (ความยง่ั ยืนของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม) และดา้ นการสงั คม (ด้านแรงงาน ชมุ ชน การรวมกลุ่ม) แนวทางในการสรา้ งนโยบายการพฒั นาการประมงของประเทศ พ.ศ.2560-2569 การพัฒนาการประมงของประเทศ มีแนวทางการพัฒนาการประมงฯ 4 ด้าน ได้แก่ (1) การ พัฒนาประมงในน่านน้ำ แบ่งเป็น 2 ส่วน ด้านการพัฒนาการประมงทะเลและ ด้านการพัฒนาการ ประมงน้ำจืด (2) การส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาการประมงนอกน่านน้ำ (3) การพัฒนาการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศ และ (4) การพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการประมงของประเทศ (TDRI, 2560) ดังตาราง ที่ 6.1 โดยแนวทางด้านการพัฒนาการประมงในน่านน้ำ ส่วนของการประมง ทะเลได้เน้นเรื่องการฟื้นฟทู รัพยากรสตั ว์นำ้ การบริหารจัดการการทำประมงอย่างอย่างยนื การติดตาม ควบคุม และเฝ้าระวังในขจัดการทำประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายเชิงรุงอย่างต่อเนื่อง การลดปัญหา การขาดแคลนแรงงานและการใช้แรงงานที่ถูกกฎหมาย สำหรับการประมงน้ำจืด เน้นการฟื้นฟู ทรพั ยากรสตั ว์นำ้ จืด เกดิ ความสมดลุ ในระบบนิเวศ สรา้ งชมุ ชนประมงทอ้ งถนิ่ เพ่ือดูแลทรัพยากรสัตว์น้ำ เร่งอนุรักษ์สัตว์น้ำจืดที่ใกล้จะสูญพันธ์ และสร้างความตะหนักในการใช้ทรัพยากรน้ำจืดและทำประมง อย่างรับผิดชอบ การประมงนอกน่านน้ำ เน้นการป้องกันการทำประมงผิดกฎหมาย และส่งเสริมและ พัฒนาผู้ประกอบการในการทำประมงนอกน่านน้ำ การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เน้นด้านการเพิ่ม ผลผลิต และการรักษาสภาพแวดล้อมและสิ่งแวดล้อมที่อาจจะกระทบต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ได้แก่ การส่งเสริมด้านการเพิ่มผลผลิตอย่างสมดุลและยั่งยืน การพัฒนาธุรกิจด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและ ด้านการตลาด การพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการประมงของประเทศ เน้นการผลิตสินค้าที่มี คุณภาพ มีความปลอดภัยด้านอาหาร ได้มาตรฐาน และสอดคล้องความต้องการของตลาด รวมทั้งเป็น ผู้นำการค้าและการผลิตสินค้าประมงในตลาดโลก พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการประมงได้อย่าง ยงั่ ยืน (TDRI, 2560) หนา้ | 130
สรุปท้ายบท ปัญหาของอุตสาหกรรมประมงประกอบด้วยปัญหาด้านทรัพยากรสัตว์น้ำ ปัญหา ด้านแรงงานและปัญหาสง่ิ แวดล้อมที่ได้รบั ผลกระทบจากการเพาะเลี้ยงเป็นหลัก แนวทางการแก้ไขหรือ พัฒนาจึงเน้นในด้านของการจัดการทั้งสามส่วน ซึ่งหากสามารถจัดการได้จะส่งผลในทางบวกกับ เศรษฐกิจการค้า นโยบายทางด้านการประมงและด้านเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ถือเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะ ผลักดันให้ทรัพยากรสัตว์น้ำที่ได้จากธรรมชาติ หรือได้จากการเพาะเลี้ยง นั้น สามารถจะถูกนำมาใช้ได้ อย่างยั่งยืนที่คำนึงถึง ทรัพยากรสัตว์น้ำ ผลผลิตที่มีคุณภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ช่วย แก้ปัญหาที่สำคัญต่างๆ เพื่อให้ปริมาณสัตว์น้ำเพียงพอต่อความต้องการในตลาดทั้งในประเทศและ ตา่ งประเทศต่อไปในอนาคต หน้า | 131
บรรณานกุ รม forfan55. 2564. ปลากะพงทุบ ปลากะพงแปรรูป. เวปไซดซ์ :https://shopee.co.th/ปลากะพงทบุ - ปลากะพงแปรรปู -i.116318746.2286429507: https://shopee.co.th/ปลากะพงทุบ-ปลา กะพงแปรรูป-i.116318746.2286429507 NFI. 2558. อุตสาหกรรมกุ้งไทย. เข้าถงึ ได้จาก ศูนย์อจั ฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร: http://fic.nfi.or.th/foodsectordatabank-detail.php?id=7# เก็ตถวา บญุ ปราการ วนั ชยั ธรรมสจั การ และชูชาติ. ผลบัณฑติ . 2550. สทิ ธิการเขา้ ถึงทรัพากรประมง ของชมุ ชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา. ประเทศไทย: มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์. เกรียงศักด์ิ ธรี ะโกวทิ ขจร. 2562. รายงานชีวิตตดิ รา่ งแห ปี 2. รายงานสิทธแิ รงงานในอตุ สาหกรรม ประมงไทย.ภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมเพ่อื อาหารทะเลทเ่ี ปน็ ธรรมและยง่ั ยนื . เรอื งไร โตกฤษณะ. 2557. การจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง:ทรัพยากรประมงทะเล. สำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ. ไทยพีบเี อส. 2563. THE EXIT : เสียงสะทอ้ นอาชีพประมงภายใต้ พ.ร.ก.การประมง. Retrieved from https://news.thaipbs.or.th/content/295859: https://news.thaipbs.or.th/content/295859 กรมประมง. 2563. ผลผลิตของการประมงไทย ปี 2563. กรุงเทพ: กลุม่ วจิ ยั วแิ ละเคราะหส์ ถิตกิ าร ประมง กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง. 2564. สถานการณผ์ ลผลิตของการประมงไทย ปี 2547-2563. กรมประมง. กระทรวง เกษตรและสหกรณ.์ สืบค้นในวันที่ 22 ก.พ.2564. เวปไซด.์ https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20210128092830_new.pdf กรมประมง. มปป. แบบคู่มือประจำโรงเพาะฟักและอนุบาลกงุ้ ทะเลตามมาตรฐาน โคด้ ออฟ คอนดคั (Code of Conduct) หรือ ซี โอ ซี (CoC). กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สบื ค้น https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20171224194530_1_fi le.doc.
กรมประมง.2562. สถติ เิ รือประมงไทยปี2562. กองนโยบายและยทุ ธศาสตร์พัฒนาการประมง. กรม ประมง.กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ เอกสารฉบบั ท่ี 11/2562. https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20200714153821_1_file.pdf กรมประมง.2563. รายงานข้อมลู เกษตรกรผเู้ พาะเล้ียงสัตว์น้ำ (ทบ.1) และข้อมูลผู้ประกอบการดา้ น การประมง(ทบ.2) ประจำเดือนมีนาคม 2563 ข้อมูลจากระบบ Fisheries Map. ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20200407110504_1_file.pdf กรมพัฒนาสงั คมและสวสั ดิการ. 2561. Retrieved from http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8392e/5.บท ท3ี่ .pdf กรรณภัทร ชิตวงศ์. 2559. การบงั คับใชก้ ฎหมายเพือ่ การคุ้มครองสทิ ธขิ องลูกจ้าง ภาคประมงทะเลใน จังหวดั สงขลา. วารสารนสิ ติ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม- มิถนุ ายน พ.ศ.2559. กระทรวงแรงงาน .2549. ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง อตั ราคา่ จา้ งข้นั ตำ่ (ฉบับท่ี 7) ราชกจิ จา นุเบกษา 7 พฤศจิกายน 2549 เลม่ 123 ตอนพเิ ศษ 116 ง หนา้ 10. กรุงไทยคอมแพส. 2563. จบั ตาความท้าทายของธรุ กจิ อาหารทะเลแปรรปู อะไรคือสาเหตทุ ีท่ ำให้ บทบาทของไทยในตลาดสินค้าอาหารทะเลแปรรปู โลกลดลง. เวปไซด์: Research Note: https://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResourcesDown load_594Research_Note_26_08_63.pdf กงั วาล จันทรโชติ. 2541. โครงการสถานการณป์ ระมงขนาดเล็กและรูปแบบการจดั การทรพั ยากร ประมงโดยชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั กลุ ภา กลุ ดลิ ก อัจฉรา ปทุมนากลุ รวิสสาข์ สุชาโต ณัฐพล พจนาประเสริฐ กาญจนรี พงษฉ์ วี และรัฐ ภทั ร ประดิษฐ์สรรพ์. 2563. รายงานฉบับสมบูรณ์การวิเคราะหโ์ ซ่อปุ ทานของปลาช่อนใน ประเทศไทย.รายงานการวิจยั และการพัฒนาการวจิ ยั การเกษตร ฉบบั สมบรู ณ์ (POP6207011050). ทุนสำนักงานพัฒนาการวจิ ัยการเกษตร (องค์การมหาชน). หน้า |134
กุลภา กลุ ดลิ ก. 2558. รายงานการศกึ ษาโซอ่ ปุ ทานปลากะพงขาวในจังหวัดฉะเชิงเทรา. ภาควิชา เศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ กลุ ภา กุลดิลก. 2559. การเสรมิ สร้างสมรรถนะผเู้ ลีย้ งปลากะพง โดย กลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผ้เู ลย้ี ง ปลากะพง จังหวดั ฉะเชิงเทรา. กรุงเทพ: สำนกั งานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั . กุลภา กุลดิลก. 2561. การศึกษาดงู านการเลย้ี งปลากะพงขาวในจงั หวัดฉะเชงิ เทรา. รายวิชา เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรประมง. คณะเศรษฐศาสตร.์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ กลุ ภา สุพงษพ์ ันธ์ุ 2543. การวิเคราะหเ์ ชิงเศรษฐกิจของการทำประมงอวนลอ้ มจับทเ่ี หมาะสมบริเวณ อา่ วไทยตอนไทยตอนใน. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท. สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ คมชดั ลกึ . 2558. ไทยเสียหาย ทาสแกะก้งุ 2 หมนื่ ล้าน. Retrieved from https://www.komchadluek.net/news/politic/218990?fbclid=IwAR0qVrRiSv9k9tU prFqS-kyjLiCMC9tKXUXuA1qOUex6sU7gVhvuvyaTjMQ จารุพล เรืองสวุ รรณ. 2561. รากลึกแห่งปัญหาคา้ มนุษยใ์ นอุตสาหกรรมประมงไทย: ลูกโซ่เส้นยาว ของปัญหา เชงิ โครงสรา้ ง วารสารสถาบนั วชิ าการป้องกันประเทศ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2561. จินดา เพชรกำเนนิ และคณะ. 2557. การประเมนิ สภาวะทรัพยากรปลากะตักในอา่ วไทย. กรุงเทพ: สำนักวจิ ัยและพัฒนาประมงทะเล. จริ าภษั อจั จิมางกรู , ศนั สนีย์ หวงั วรลกั ษณ์, อไุ รรฒั ท์ เนตรหาญ, ทวีป บญุ วานิช, กุลภา กุลดลิ ก และ สชุ าดา บุญภกั ดี. 2562. การวิเคราะห์ศักย์การผลติ ของทรัพยากรประมง ผลกระทบทาง เศรษฐกจิ -สงั คม และบทบาทการจัดการรว่ มภายใต้แผนปฏบิ ัตกิ ารระดับชาติ NPOA-IUU ใน พ้นื ที่อา่ วไทยตอนใน. กรุงเทพ ประเทศไทย: สำนกั งานพัฒนาการวจิ ัยเกษตร (องค์การ มหาชน). ฐานเศรษฐกิจ. 2559. ไทยพน้ Tier 3 ส่งผลบวกตอ่ ภาพลกั ษณส์ ่งออกประมงไทย. Retrieved from ฐานเศรษฐกจิ : https://www.thansettakij.com/content/business/66811 หนา้ | 135
ดารชาต์ เทยี มเมือง และ เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน. 2560. การมสี ว่ นรว่ มในการจัดการประมงหมู่บ้าน หนองมะจับ จงั หวัดเชยี งใหม.่ การประชุมทางวชิ าการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครงั้ ที่ 55 (pp. 737-744). กรงุ เทพ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ทวนทอง จฑุ าเกต.ุ 2556. เอกสารประกอบการสอนวชิ าการจดั การประมง. ประเทศไทย: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทดี ีอาร์ไอ. 2560. การจัดทำนโยบายการพัฒนาการประมงของประเทศ ปี 2560-2569. กรุงเทพ: มลู นธิ สิ ถาบันวิจัยเพอ่ื การพัฒนาประเทศไทย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. 2561. โครงสรา้ งอุตสาหกรรมกุ้งของไทยและความท้าทายในอนาคต. สุ ราษฎร์ธานี: ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ธนิต โตอดิเทพย์. 2556. วิวฒั นาการเศรษฐกิจชมุ ชนชาวประมงปากน้ำประแส. ปรัชญาดุษฎีบัณฑติ . มหาวิทยาลยั บรู พา. ธมลวรรณ ณ ถลาง และกลุ ภา กุลดิลก (2557) การวเิ คราะหเ์ ศรษฐกจิ การผลติ ปลากะพงขาวใน กระชงั และในบ่อดินของอำเภอบางปะกง จงั หวัดฉะเชิงเทรา. DPU-Wuhan International Conference on Oriental Leadership. วันท่ี 24-25 กรกฎาคม 2557. นภาพร แสนพิศ. 2562. สรุปงานสัมมนาทางวิชาการครบรอบ20 ปี ของสถาบนั กฎหมายขนส่งและ พาณชิ ยนาวี เรือ่ ง “ใบเหลอื ง IUU Fishing ตอ่ ประเทศไทยจบแล้วหรือยงั ”. นนั ทพล สขุ สําราญ และกฤษฎา ธงศิลา. 2558. การประมงอวนรนุ บรเิ วณอา่ วไทยฝั่งตะวันออก. กรุงเทพ: สำนักวิจัยและพฒั นาประมงทะเล กรมประมง บีบซี นี ิวส.์ 2019. ประมง:พ.ร.บ.ค้มุ ครองแรงงานประมงมีผลประกาศใชแ้ ล้ว แต่บางสว่ นเหน็ ว่าไมเ่ ป็น ธรรมต่อนายจา้ ง. Retrieved from https://www.bbc.com/thai/48384400 ปฐมพร เคนมาตร์ และวชิราภัณฑ์ วรรณโชติ, 2562. การจ้างงานสตรสี ัญชาติกัมพชู าท่ีทำงานประมง ต่อเนอื่ งในพ้ืนทีท่ ่าเทยี บเรือแหง่ หนง่ึ ในจังหวัดตราด. วารสารมนุษยก์ บั สังคม คณะมนษุ ย์ ศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร.์ ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 1 (ก.ค.62-ธ.ค.62). ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ .2559. ไทยยเู น่ียนนำทีมจดั ระเบียบแรงงาน เลกิ จา้ ง \"ล้ง\" แกะกงุ้ กว่า 100 รายทยอยปิดกิจการ. สืบคน้ 29 เม.ย.64.เวป ไซด:์ https://www.terrabkk.com/news/103789 หน้า |136
พัฒนพนั ธ์ บูระพันธ.์ 2556. สภาพการเอารัดเอาเปรียบแรงงานพม่าในโรงงานแกะกงุ้ ขนาดเล็กใน จังหวดั สมทุ รสาคร. วารสารวจิ ัยและพัฒนา. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรมั ย์. ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม- ธันวาคม 2556. มตชิ น. 2559. ปดิ ฉาก ‘ล้งแกะกุ้งมหาชัย’ แรงงานแหเ่ ปลยี่ นที่ทำงานกว่า 2 พันคน. Retrieved from https://www.matichon.co.th/region/news_5173 มูลนิธิเครือขา่ ยสง่ เสริมคุณภาพชวี ติ แรงงาน. (n.d.). ผลกระทบจากปญั หาการคา้ มนุษย์ในมิตขิ องรฐั ผูป้ ระกอบการ และประชาชน. Retrieved from https://lpnthailand.files.wordpress.com/2018/07/e0b89ce0b8a5e0b881e0b8a3 e0b8b0e0b897e0b89ae0b888e0b8b2e0b881e0b881e0b8b2e0b8a3e0b884e0b 989e0b8b2e0b8a1e0b899e0b8b8e0b8a9e0b8a2e0b98c.pdf: มูลนธิ กิ ระจกเงา. 2554.ปญั หาการค้ามนษุ ย์และการบังคบั ใช้แรงงานไทยเพศชาย ในภาคประมงนอก นา่ นน้ำ.ศูนย์ปฏบิ ตั ิการต่อต้านการค้ามนุษย์ มลู นิธกิ ระจกเงา. ราชกจิ จานเุ บกษา. 2558. การแก้ไขปัญหาการทำการประมงผดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การ ควบคมุ เพ่ิมเตมิ . กรงุ เทพ, ไทย. วรางคณา สุยะนนั ทน์ กลุ ภา กลุ ดลิ ก และวศิ ิษฐ์ ล้มิ สมบุญชัย. (2564). ปัจจยั ท่มี อี ิทธิพลต่อความ ต้ังใจซือ้ ผลิตภัณฑอ์ าหารทะเลทตี่ ดิ ฉลากส่งิ แวดล้อมในกรุงเทพมหานคร. วารสาร เศรษฐศาสตรแ์ ละกลยุทธก์ ารจัดการ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2564. สมาคมอุตสาหกรรมทูนา่ ไทย. 2563. รายงานการดำเนินการของอุตสาหกรรมทูนา่ ไทย ในปี 2563 เพอ่ื ต่อตา้ นการใช้แรงงานเดก็ แรงงานบงั คับ และการค้ามนุษย์. เวปไซด์ : http://www.thaituna.org/home/main/?page_id=846 ศุภลกั ษณ์ มะลทิ อง กลุ ภา กุลดลิ ก และจกั รกฤษณ์ พจนศิลป.์ 2560. การวิเคราะห์เศรษฐกจิ การผลติ และการตลาดปลานลิ ในอำเภอพาน จงั หวดั เชียงราย. การจัดประชมุ วชิ าการระดับชาติ สาขา เศรษฐศาสตร์ ประจำปี 2560 ความผนั ผวนของเศรษฐกิจโลกตอ่ ความยงั่ ยนื ของอาเซียน, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. หนา้ | 137
ศภุ ลักษณ์ มะลทิ อง. 2559. การวเิ คราะห์เศรษฐกจิ การผลิตและการตลาดปลานิลในจงั หวดั เชยี งราย. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาโท. สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร. บันฑิตวิทยาลัย. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน. ศรณั ย์ วรรธนัจฉริยา. 2535. การวิเคราะห์เศรษฐศาสตรก์ ารผลติ ทางการเกษตร. ภาควชิ า เศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร, คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยข้อมูลอาหารครบวงจร. (ม.ป.ป.). ปลากะพงขาว. เขา้ ถึงได้จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2273/asian-seabass-ปลากะพงขาว ศูนย์ข้อมลู และขา่ วสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง.2559. Timeline หลงั ไทยถูกจัดอันดับ Tier3 (ป2ี 557- 2559). วันที่ 1 พ.ค.64 สืบค้น: https://www.tcijthai.com/news/2016/18/watch/6417 สยามรฐั . 2562. อียูใหใ้ บเขยี วประมงไทย พน้ ไอยูยู-ค้ามนุษย์ ส่งออกไปตอ่ . Retrieved from https://siamrath.co.th/n/60740 สรายุทธ ยหะกร. 2558. การคา้ มนษุ ย์ในประเทศไทย. วารสารอิเลก็ ทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชงิ นวตั กรรม (e-JODIL) , 106-118. สราวธุ ไพฑูรย์พงษ.์ 2562. ปัญหาการขาดแคนแรงงานประมงทะเล กรณศ๊ กึ ษาจงั หวดั สงขลา. Retrieved from https://www.matichon.co.th/article/news_1656348 สำนักข่าวกรมประชาสมั พนั ธ.์ (31 ธันวาคม 2562). หนงั ปลากะพงขาวทอดกรอบ ผลิตภณั ฑ์แปรรปู จากปลากะพงขาว สินค้าโอทอปทข่ี ึน้ ช่ือของจงั หวดั สงขลา. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG191231155157752 สำนกั ขา่ วกรมประชาสัมพันธ์. 2562. สนช.ลงพน้ื ท่ีศกึ ษาแนวทางการแก้ไขปัญหาดนิ และน้ำเค็มจาก การเล้ียงกุ้งที่จังหวดั ราชบรุ ี. Retrieved from https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG190307153155913 Ahmed, M., Boonchuwongse, P., Dechboon, W., and Squires, D. 2007. Overfishing in the Gulf of Thailand: Policy challenges and bioeconomic หน้า |138
analysis. Environment and Development Economics, 12(1), 145-172. doi:10.1017/S1355770X06003433 Anderson, L. G. 1987. The Economics of Fisheries Management. Baltimore: Johns Hopkins University Press. Balti Sea Centre. 2019. Understanding MSY. Baltic Sea Centre. Stockholm University. Website: https://balticeye.org/en/fisheries/understanding-msy/ Bassirou Diop, Nicolas Sanz, Yves Jamont Junior Duplan, El Hadji Mama Guene, Fabian Blanchard, Jean-Christophe Pereau, Luc Doyen, Maximum Economic Yield Fishery Management in the Face of Global Warming, Ecological Economics, Volume 154, 2018, Pages 52-61, Benjawan Khongkhon, Ruangrai Tokrisna and Penpron Jankarnkij. 2017. Bioeconomic Analysis of Blue Swimming Crab(Portunus pelagicus)Fishery in the Gulf of Thailand. WMS Journal of Management. Vol.6 No.2 (May-Aug2017): หนา้ 17-28. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/wms/article/view/86310/68497 Chirawut, Y. (2019). Anti-trafficking Through Reporting: The Case of the TIP Report and Thailand. Burapha Journal of Polotical Economy. Vol 5 (1), 90-125 C. M. Dichmont, S. Pascoe, T. Kompas, A. E. Punt, R. Deng. 2010. On implementing maximum economic yield in commercial fisheries. Copes, P. 1970: The backward-bending supply curve of the fishing industry. Scottish Journal of Political Economy, 17, 69-74. David L. Debertin. 2012. Agricultural Production Economics Second EDITION. Pearson Education Corporate. Dirk Reyntjens and Charles Angell. 1986. Aquaculture Management. Fisheries and Aquaculture. Volume.IV. Edward V. Camp, Robert N. M. Ahrens, Angela B. Collins, and Kai Lorenzen. 2020. Fish Population Recruitment: What Recruitment Means and Why It Matters. the UF/IFAS Program. Publication No.FA222. website: https://edis.ifas.ufl.edu/fa222 หน้า | 139
FAO. 2004. Measuring and assessing capacity in fisheries: FAO FISHERIES TECHNICAL PAPER 433/1. Retrieved from http://www.fao.org/3/y5442e/y5442e07.htm: http://www.fao.org/3/y5442e/y5442e07.htm FAO. 2021. Global Statistical Collections. Rome, Italy. FAO. 2021. Conserve and sustainably use the oceans, seas and marine resources. Sustainable Development Goals. Retrieved from https://www.fao.org/sustainable-development-goals/goals/goal-14/en/ Gordon, H.S. 1954: The economic theory of a common property resource: the fishery. Journal of Political Economy 62, 124-142. Government of Canada. 2021. Fishery (General) Regulations. Retrieved from Fisheries and Oceans Canada: https://www.dfo-mpo.gc.ca/aquaculture/management- gestion/regs-eng.htm Government, A. n.d.. What is fishing quota? Retrieved from https://www.afma.gov.au/what-fishing-quota: https://www.afma.gov.au/what- fishing-quota Greenpeace. 2020. Southeast Asia Canned Tuna Ranking : Sustainability and Justice on The High Seas. Retrieved from https://www.greenpeace.org/static/planet4- southeastasia-stateless/2020/09/74988656-cannery-report_2020_finalrev1.pdf H.Uchida and M.Makino. 2008. Japanese coastal fishery co-management: an overview. In R. S. Uchida, Case studies in fisheries self-governance (pp. 221-229). United States of America: FAO Fisheries Tecnical Paper 504. Retrieved from http://www.fao.org/3/a1497e/a1497e01.pdf Irina POPESCU and Toshihiko Ogushi. 2013. Fisheries in JAPAN. Directorate-General for Internal Policies. Brussels, EU. : Policy Department B: Structural and Cohesion Policies. หน้า |140
K. N. Rahmah. 2016. Trade Flows Analysis and the role of standards on canned tuna trade. Indonesia: Bogor Agricultural University. Kulapa S. Kuldilok Phillip Dawson and John Lingard. 2013. The export of competitiveness of the tuna industry in Thailand. British Food Journal, 115. Kulapa Supongpan Kuldilok. 2009. An Economic Analysis of The Thailand Tuna Fish Industry. United Kingdom: Newcastle University. Lee G. Anderson and Juan Carlos Seijo. 2010. Bioeconomics of Fisheries Management. Wiley-Blackwell; 1st edition (May 11, 2010). 320 Pages. M4P. 2008. Making Value Chains Work Better for the Poor: A Toolbook for Practitioners of Value Chain Analysis. London: the UK Department for International Development (DFID). Malcolm P. Francis et al.2009. Fish bycatch in New Zealand. The National Institute of Water and Atmospheric Research., WELLINGTON Mst Fatema, Nahar, Ara Motia, Fatema Jannatul and Haq Muhammad. 2016. Impacts of Community Based Fisheries Management (CBFM) on the Livelihood of Fishers at Sherudanga beel in Rangpur District, Bangladesh. Journal of Agricultural Science and Practice. 1. 10-22. 10.31248/JASP2016.008. Natural Marine Fishery Service. 2006. National Bycatch Reduction Strategy. Washington DC: National Oceanic and Atmospheric Administration. NOAA. 2016. National Oceanic and Atmospheric Administration. Retrieved from National Standard Guidelines: http://www.nmfs.noaa.gov/sfa/laws_policies/national_standards/index.html Ola Flaaten. 2010. Fisheries Economics and Management. Norwegian College of Fishery Science University of Tromsø, Narway. หน้า | 141
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159