Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง รหัสวิชา สค21002 ระดับ ม.ต้น

วิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง รหัสวิชา สค21002 ระดับ ม.ต้น

Published by Kru Mai, 2020-06-30 04:04:38

Description: วิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง รหัสวิชา สค21002 ระดับ ม.ต้น

Search

Read the Text Version

หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าศาสนาและหนา ท่ีพลเมอื ง (สค21002) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ หามจําหนา ย หนังสือเรียนเลมนจ้ี ดั พิมพด ว ยงบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชน ลิขสทิ ธิ์เปนของ สํานกั งาน กศน. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ที่ 42 /2557

หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าศาสนาและหนา ที่พลเมอื ง (สค21002) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ลขิ สิทธ์ิเปนของ สาํ นักงาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 42 /2557

คาํ นาํ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา หนงั สือเรียนชดุ ใหมน้ขี น้ึ เพื่อสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา และศกั ยภาพในการประกอบอาชพี การศกึ ษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยใู นครอบครัว ชุมชน สงั คมได อยา งมีความสขุ โดยผเู รียนสามารถนาํ หนงั สือเรยี นไปใชใ นการศึกษาดว ยวธิ กี ารศึกษาคนควา ดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมท้ังทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูใหกับผูเรียน และไดมีการปรับเพิ่มเติม เน้อื หาเก่ียวกบั การมีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต เพื่อใหสอดคลองกับนโยบาย ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นนั้ ขณะนี้ คณะกรรมการรักษาความสงบแหง ชาติ (คสช.) มนี โยบายในการปลกุ จิตสํานกึ ใหค นไทย มีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม คานิยมในการอยู รว มกนั อยางสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย จึงไดมีการดําเนินการปรับเพ่ิมตัวชี้วัดของหลักสูตร และเน้ือหาหนังสือเรียนใหสอดคลอง ตามนโยบายดังกลาว โดยเพิ่มเนื้อหาเก่ียวหลกั สําคัญของประชาธิปไตยและ คุณธรรม จริยธรรมใน การอยูรวมกันอยางสนั ติ สามัคคปี รองดอง สมานฉนั ท เพ่ือใหส ถานศกึ ษานาํ ไปใชในการจัดการเรียน การสอนใหกับนกั ศกึ ษา กศน. ตอไป ท้งั น้ี สํานกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดรับความรวมมือ ท่ดี จี ากผทู รงคณุ วุฒิและผูเ กี่ยวขอ งหลายทานทคี่ น ควาและเรียบเรยี งเนื้อหาสาระจากส่ือตาง ๆ เพ่ือให ไดส ่อื ทีส่ อดคลอ งกับหลกั สตู ร และเปน ประโยชน ตอ ผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง ขอขอบคุณ คณะทป่ี รึกษา คณะผูเ รียบเรยี ง ตลอดจนคณะผจู ัดทําทกุ ทานทีไ่ ดใหค วามรวมมือดวยดีไว ณ โอกาสน้ี สาํ นักงาน กศน. กันยายน 2557

สารบัญ หนา คาํ นาํ 1 คาํ แนะนําการใชห นังสือเรยี น 3 25 โครงสรา งรายวิชาศาสนาและหนา ทพี่ ลเมือง สค 21002 35 ขอบขา ยเนอื้ หา 55 บทท่ี 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี เรอ่ื งที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย เรอ่ื งท่ี 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเชีย เรอ่ื งที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตา ง ๆ เรอ่ื งท่ี 4 หลักธรรมในแตละศาสนาท่ที าํ ให อยรู ว มกบั ศาสนาอื่นไดอ ยา งมีความสขุ บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคา นยิ มของไทยและเอเชีย 66 เรื่องท่ี 1 วฒั นธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชีย 68 เรอ่ื งที่ 2 การอนรุ กั ษแ ละการสืบสานวฒั นธรรม ประเพณี 81 เรอ่ื งที่ 3 แนวทางการอนรุ กั ษแ ละการสานวัฒนธรรม ประเพณี 84 เรื่องท่ี 4 คา นิยมทีพ่ ึงประสงค 85 บทที่ 3 รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย 88 เร่ืองที่ 1 ความเปน มาหลักการและเจตนารมณ 89 ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย 106 เรื่องท่ี 2 โครงสรางและสาระสําคัญของรฐั ธรรมนญู 108 แหงราชอาณาจักรไทย เรื่องที่ 3 จุดเดน ของรัฐธรรมนูญท่เี กี่ยวกบั สทิ ธิ เสรภี าพ 111 และหนา ทข่ี องประชาชน เร่ืองท่ี 4 หลักการสาํ คญั ของประชาธปิ ไตยและคุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยมในการอยรู วมกันอยางสันติ สามคั คี ปรองดอง

สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 4 พฒั นาการทางการเมืองและการอยรู ว มกันในระบอบประชาธปิ ไตย 125 อันมพี ระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข เรอ่ื งท่ี 1 พัฒนาการทางการปฏริ ูปทางการเมืองเพ่อื การปกครอง 127 ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย ทรงเปน ประมุข เร่ืองท่ี 2 การมสี ว นรว มทางการเมืองและการอยรู ว มกัน 136 อยางสนั ตใิ นระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ บทที่ 5 สทิ ธิมนษุ ยชน 147 เรื่องที่ 1 กาํ เนดิ และหลกั สทิ ธิมนษุ ยชน 149 เรื่องท่ี 2 การคมุ ครองตนเองและผอู ืน่ ตามหลักสทิ ธิมนษุ ยชน 159 บทที่ 6 การมีสวนรว มในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต 162 บรรณานกุ รม 189 คณะผจู ัดทาํ 193

คาํ แนะนําในการใชห นงั สือเรยี น หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนหนงั สอื เรียนท่ีจดั ทําข้ึน สําหรับผเู รียนที่เปนนักศึกษานอกระบบใชประกอบการศึกษา รายวิชา ศาสนาและหนา ทีพ่ ลเมือง (สค21002) จํานวน 2 หนวยกติ 80 ชว่ั โมง ในการศึกษาหนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมือง ผูเรียน ควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาใหเ ขา ใจในหวั ขอ สาระสาํ คญั ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ ขอบขา ยเนือ้ หา 2) ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่อง เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในตอนนั้น ๆ อีกคร้ัง โดยผูเรียนสามารถ นาํ ไปตรวจสอบกับครู เพอื่ น ๆ ท่ีเรียนในรายวชิ าและระดับเดยี วกนั ได 3) หนังสือเลม นม้ี ี 6 บท ดงั นี้ บทท่ี 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี บทท่ี 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคา นยิ มของไทยและเอเชยี บทที่ 3 รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยและหลกั สาํ คญั ของ ประชาธปิ ไตยและมคี ุณธรรม จริยธรรมในการอยูรว มกันอยา งสันติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูร ว มกัน ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ บทที่ 5 สิทธมิ นุษยชน บทท่ี 6 การมสี ว นรวมในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต

โครงสรา งรายวิชาศาสนาและหนา ท่ีพลเมอื ง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน สาระสําคัญ ประเทศไทย เปนประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมุข มีประชากรอาศัยอยหู ลายเชื้อชาติ มีภาษา ศาสนา วฒั นธรรม ความเช่ือท่ีแตกตางกัน การให ความรูเก่ยี วกบั ความสําคัญ หลักธรรมทางศาสนา และวัฒนธรรม คา นิยมของประเทศตาง ๆ ตลอดจน ความเปนมา หลักการ ความสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หลักการอยูรวมกัน หลักการ สําคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม คานิยมในการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง หลักสิทธิมนุษยชน และความตระหนักในการมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมที่จะปองกันและปราบปราม การทจุ ริต จะทาํ ใหคนในสงั คมไทยสามารถ นาํ หลักการ คาํ สอนและกฎระเบียบตาง ๆ ของสงั คมมาปรับ ใชใ นการดาํ เนนิ ชีวติ ของตนไดอ ยางถกู ตอง มคี วามสขุ อันจะสงผลตอความสนั ตสิ ขุ ของสงั คม ผลการเรยี นท่คี าดหวงั 1. อธิบายความเปนมา ความสาํ คัญ หลักคําสอน ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี คา นยิ มของ ประเทศไทยและประเทศในทวปี เอเชียได 2. ยอมรบั และปฏบิ ัตติ นเพ่อื การอยรู ว มกันอยา งสนั ตสิ ุขในสงั คมทมี่ คี วามหลากหลายทาง ศาสนา วฒั นธรรม และประเพณี 3. อนุรกั ษแ ละสืบสานประเพณี วฒั นธรรม ตลอดจนปฏบิ ัตติ ามคา นยิ มทพี่ ึงประสงค ของไทย และอธบิ ายวฒั นธรรม ประเพณี คา นิยมของชาตติ าง ๆ ในเอเชยี 4. อธบิ ายความเปน มา หลักการ เจตนารมณ โครงสรา ง สาระสาํ คญั ของรัฐธรรมนูญได 5. มคี วามรคู วามเขา ใจในหลกั สาํ คญั ของประชาธิปไตยและมคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการ อยรู วมกนั อยา งสันติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉนั ท 6. อธิบายจดุ เดน ของรัฐธรรมนญู เกยี่ วกบั สทิ ธิ เสรภี าพ และหนา ทข่ี องประชาชนได 7. อธบิ ายสิทธิ เสรีภาพและคุณธรรม จรยิ ธรรม การอยูรว มกันตามวิถที าง ประชาธิปไตยได

8. อธบิ ายการปฏริ ูปการเมอื ง การปกครอง และมสี ว นรว มการเมอื งการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุขได 9. อธิบายหลกั สิทธิมนษุ ยชน ตระหนักถึงประโยชนและมีสว นรว มตามหลักสิทธมิ นษุ ยชนได 10. วิเคราะหการแกป ญหาการทุจรติ และมีสว นรว มในการปอ งกนั และปราบปราม การทจุ ริต ขอบขา ยเนอ้ื หา บทท่ี 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี บทที่ 2 วฒั นธรรม ประเพณี และคานยิ มของไทยและเอเชยี บทที่ 3 รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และหลกั สาํ คัญของประชาธปิ ไตยและ มีคณุ ธรรม จริยธรรมในการอยรู ว มกนั อยา งสันติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมอื งและการอยรู วมกนั ในระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข บทที่ 5 สทิ ธิมนษุ ยชน บทที่ 6 การมีสว นรวมในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ส่อื ประกอบการเรยี นรู 1. ซีดีศาสนาสากล 2. ซีดวี ฒั นธรรม ประเพณีไทย และประเทศตาง ๆ ในเอเชยี 3. เอกสารท่ีเกยี่ วขอ งกับศาสนา วฒั นธรรม การเมอื งการปกครอง สทิ ธมิ นษุ ยชน 4. อนิ เทอรเ นต็ 5. แหลง เรียนรู ภูมปิ ญญาในทอ งถน่ิ

1 บทท่ี 1 ศาสนาในประเทศไทยและในทวีปเอเชยี สาระสําคญั เน้อื หาสาระเกีย่ วกบั ความเปนมาของศาสนาตาง ๆ ในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย หลกั ธรรมสําคัญของศาสนาตา ง ๆ การอยรู ว มกบั คนตา งศาสนาไดอยางมีความสุข กรณีตัวอยางของ บุคคลตวั อยางในแตละศาสนา ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั 1. ประวตั คิ วามสาํ คญั หลกั คาํ สอนศาสนาวัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศในทวีปเอเชยี 2. ยอมรบั และปฏิบตั ติ นเพ่อื การอยรู วมกันอยา งสันตสิ ุขในสงั คมท่ีมคี วามหลากหลายทาง ศาสนา ขอบขา ยเนือ้ หา เรอ่ื งที่ 1 ความเปน มาของศาสนาในประเทศไทย เรื่องที่ 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเชีย เรอื่ งท่ี 3 หลักธรรมของศาสนาตา ง ๆ สือ่ การเรียนรู 1. ใบงาน 2. หนงั สือเรียน

2 แผนทปี่ ระเทศในทวปี เอเชยี

3 เร่อื งท่ี 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย ศาสนาในประเทศไทยท่ีรัฐบาลใหการอุปถัมภดูแล มีท้ังสิ้น 5 ศาสนา ไดแก ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ ซึ่งทุกศาสนาลวนมีองคประกอบหลัก ทส่ี ําคัญ ๆ 5 ประการ คือ 1. ศาสดา หมายถึง ผทู ีค่ น พบศาสนาและเผยแผคาํ ส่ังสอนหรอื หลักธรรมของศาสนา 2. ศาสนธรรม หรอื หลักธรรมของศาสนา เปนคําสง่ั สอนของแตละศาสนา 3. ศาสนิกชน หมายถึง บุคคลและปวงชนท่ใี หก ารยอมรับนบั ถอื ในคาํ สง่ั สอนของศาสนา น้นั ๆ 4. ศาสนาสถาน หมายถึง สถานท่ีอยูอาศัยของนักบวชใชเปนที่ประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา รวมถงึ การเปน ทีท่ ีใ่ หศ าสนิกชนไปปฏิบตั ิกจิ กรรมทางศาสนา 5. ศาสนพธิ ี หมายถึง พธิ ที างศาสนาตาง ๆ ทถ่ี ูกกาํ หนดขึน้ จากศาสดาโดยตรงหรือจาก การคิดคนของผูปฏิบัติ มีเน้ือหาเกี่ยวกับความตองการขจัดความไมรู ความกลัว ความอัตคดั สนองความตองการในสิ่งท่ตี นขาดแคลน จึงจําเปน ตองมีวัตถปุ ระสงคของ การศึกษาคนควาปฏบิ ตั ิตามหลักของศาสนา ประเทศไทยมีศาสนาพุทธ เปนศาสนาประจาํ ชาติและมีผูนับถือจํานวนมากที่สุดในประเทศ รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต และศาสนาฮินดู การศึกษาความเปนมาของศาสนา ดังกลาวในประเทศไทยมคี วามสาํ คญั และจําเปน เพราะทําใหเ กิดความเขาใจในศาสนาที่ตนนบั ถือและ เพอ่ื รวมศาสนาอื่น ๆ ในประเทศ อันจะสง ผลใหส ามารถอยรู ว มกันไดอ ยางมคี วามสุข

4 1.1 ศาสนาพทุ ธในประเทศไทย พุทธประวตั ิ ศาสดาผูที่คนพบศาสนาและเผยแผคําส่ังสอนหรือหลักธรรมของศาสนาพุทธ คือ พระพุทธเจา พระพุทธเจา พระนามเดิมวา \"สิทธัตถะ\" เปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะและ พระนางสิริมหามายา แหงกรุงกบิลพัสด แควนสักกะ พระองคทรงถือกําเนิดในศากยวงศ สกุลโคตมะ พระองคประสตู ใิ นวันศุกร ขน้ึ 15 คํา่ เดือน 6 (เดอื นวิสาขะ) ปจอ กอ นพทุ ธศักราช 80 ป ณ สวนลุมพนิ ีวนั ซงึ่ ต้ังอยูร ะหวา งกรงุ กบิลพัสดุ แควนสักกะ กบั กรุงเทวทหะ แควนโกลิยะ (ปจ จุบนั คอื ตาํ บลรมุ มินเด ประเทศเนปาล) ท้ังนี้ เปน เพราะธรรมเนียมที่สตรจี ะตองไปคลอดบตุ รท่ีบานบิดามารดาของตนพระนาง- สริ มิ หามายา จึงตองเดนิ ทางไปกรงุ เทวทหะ หลงั จากประสูตไิ ด 5 วัน พระเจาสทุ โธทนะ โปรดใหประชมุ พระประยูรญาติ และเชิญพราหมณ ผูเรียนไตรเพท จํานวน 108 คน เพ่ือมาทํานายพระลักษณะของพระราชกุมาร พระประยูรญาติได พรอมใจกนั ถวายพระนามวา \"สทิ ธัตถะ\" มีความหมายวา \"ผูมีความสําเร็จสมประสงคทุกสิ่งทุกอยาง ท่ตี นตงั้ ใจจะทาํ \" สวนพราหมณเหลานน้ั คัดเลอื กกนั เองเฉพาะผูท่ีทรงวิทยาคุณประเสริฐกวาพราหมณ ทั้งหมดได 8 คน เพ่ือทํานายพระราชกุมาร พราหมณ 7 คนแรก ตางก็ทํานายไว 2 ประการ คือ \"ถาพระราชกมุ ารเสดจ็ อยคู รองเรอื นก็จกั เปน พระเจาจักรพรรดผิ ทู รงธรรม หรอื ถาเสด็จออกผนวช เปนบรรพชติ จกั เปน พระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา ผูไมม ีกเิ ลสในโลก\" สวนโกณทัญญะพราหมณผูมี อายนุ อยกวา ทุกคนไดท ํานายเพียงอยางเดยี ววา “พระราชกุมารจักเสด็จออกจากพระราชวังผนวช เปนบรรพชิตแลวตรัสรูเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ผูไมกิเลสในโลก\" เมื่อเจาชายสิทธัตถะ ประสตู ิได 7 วัน พระราชมารดาก็เสด็จสวรรคต พระเจาสุทโธทนะทรงมอบหมายใหพระนางมหาปชาบดี- โคตรมี ซึ่งเปนพระขนษิ ฐภคินีของพระนางสิริมหามายา เปนผูถวายอภิบาลเลี้ยงดู เม่ือพระสิทธัตถะ ทรงพระเจริญมีพระชนมายุได 8 พรรษา ไดทรงศึกษาในสํานักอาจารยวิศวามิตร ซ่ึงมีเกียรติคุณแผ ขจรไกลไปยังแควน ตาง ๆ เจา ชายสิทธัตถะ ทรงศกึ ษาศลิ ปวิทยาเหลานี้ไดอยางวองไวและเช่ียวชาญ จนหมดความสามารถของพระอาจารย ดว ยพระราชบดิ ามีพระราชประสงคม ่นั คงท่จี ะใหเจา ชายสทิ ธตั ถะทรงครองเพศฆราวาส เปน พระจักรพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสําราญแวดลอมดวยความบันเทิง นานาประการแกพระราชโอรส เพื่อผกู พระทัยใหม ่งั คงในทางโลก เม่ือเจา ชายสิทธัตถะเจริญพระชนมได 16 พรรษา พระเจาสทุ โธทนะมีพระราชดําริวา พระราชโอรสสมควรจะไดอภิเษกสมรสจึงโปรดให สรางประสาทอันวิจิตรงดงามข้ึน 3 หลัง สําหรับใหพระราชโอรสไดประทับอยางเกษมสําราญตาม ฤดูกาลทง้ั 3 คอื ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดหู นาว จากน้นั ทรงสขู อพระนางพิมพายโสธรา พระราชธิดาของ พระเจาสปุ ปพุทธะ และพระนางอมติ า แหง เทวทหะนคร ในตระกูลโกลิยวงศ ใหอ ภิเษกดวย เจาชายสิทธัตถะ

5 ไดเ สวยสขุ สมบตั ิจนพระชนมายไุ ด 29 พรรษา พระนางพมิ พายโสธรา จึงประสตู พิ ระโอรส พระองคมี พระราชหฤทัยสิเนหาในพระโอรสเปนอยางย่ิง เม่ือพระองคทรงทราบถึงการประสูติของพระโอรส พระองคตรสั วา “ราหลุ ชาโตพนั ธนาชาต” แปลวา “บว งเกดิ แลว เครอ่ื งจองจําเกิดแลว” ถึงแมเจาชายสิทธัตถะจะทรงพรั่งพรอมดวยสุขสมบัติมหาศาลก็มิไดพอพระทัยในชีวิต คฤหัสถ พระองคยังทรงมีพระทัยฝกใฝใครครวญถงึ สัจธรรมที่จะเปนเครื่องนําทางซ่ึงความพนทุกข อยูเสมอ พระองคไดเ คยเสดจ็ ประพาสอุทยาน ไดทอดพระเนตรเทวทตู ทั้ง 4 คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองคจึงสังเวชพระทยั ในชีวติ และพอพระทัยในเพศบรรพชิต มีพระทัยแนวแนที่จะ ทรงออกผนวช เพอื่ แสวงหาโมกขธรรม อันเปน ทางดบั ทุกขถาวรพน จากวัฏสงสาร ไมก ลบั มาเวียนวา ย ตายเกิดอีก พระองคจงึ ตัดสนิ พระทยั เสดจ็ ออกผนวช โดยพระองคทรงมากัณฐกะ พรอมดวยนายฉันนะ มุงสูแมน้ําอโนมานที แควนมัลละ รวมระยะทาง 30 โยชน (ประมาณ 480 กิโลเมตร) เสด็จขามฝงแมน้ํา- อโนมานที แลวทรงอธิษฐานเพศเปนบรรพชิต และทรงมอบหมายใหนายฉันนะ นําเคร่ืองอาภรณและ มา กณั ฐกะกลับนครกบิลพสั ดุ การแสวงหาธรรมระยะแรกหลงั จากทรงผนวชแลว สมณสทิ ธัตถะ ไดทรงศกึ ษาในสํานกั อาฬาร- ดาบสกาลามโคตรและอุทกดาบสรามบุตร ณ กรุงราชคฤห แควนมคธ พระองคไดทรงประพฤติ พรหมจรรยในสาํ นักของอาฬารดาบสกาลามโคตร ทรงไดสมาบัติ คือ ทุติยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญ- จายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอากิญจัญญายตนฌาน สวนการประพฤติพรหมจรรยใน สาํ นกั อทุ กดาบสรามบุตร นั้น ทรงไดสมาบัติ ๘ คือ เนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน สําหรับฌานที่ 1 คือ ปฐมฌาน นนั้ พระองคท รงไดข ณะกาํ ลงั ประทบั ขัดสมาธเิ จรญิ อานาปานสติกัมมัฏฐานอยูใตตนหวา เนือ่ งในพระราชพิธีวัปปมงคล (แรกนาขวัญ) เมื่อครั้งทรงพระเยาว เมื่อสําเร็จการศึกษาจากทั้งสอง สํานกั นแี้ ลว พระองคทรงทราบวา มิใชห นทางพน ทกุ ขบ รรลุพระโพธญิ าณตามทท่ี รงมุงหวงั พระองคจึง ทรงลาอาจารยท้ังสองเสด็จไปใกลบริเวณแมน้ําเนรัญชรา ที่ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม กรุงราชคฤห แควนมคธ เม่ือพระองคทรงหันมาศึกษาคนควาดวยพระปญญาอันย่ิงดวยพระองคเองแทนการศึกษา เลาเรียนในสํานักอาจารย ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกลลุมแมนา้ํ เนรัญชรา น้ัน พระองคไดทรงบําเพ็ญ ทุกรกิริยา คือ การบําเพ็ญอยางย่ิงยวดในลักษณะตาง ๆ เชน การอดพระกระยาหาร การทรมาน พระวรกาย โดยการกล้ันพระอัสสาสะ พระปสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระทนต การกดพระตาลุ (เพดาน) ดว ยพระชิวหา (ลิ้น) เปนตน พระมหาบรุ ุษไดท รงบําเพ็ญทุกรกริ ยิ าเปน เวลาถงึ 6 ป ก็ยังมิได คนพบสัจธรรมอันเปน ทางหลุดพนจากทุกข พระองคจงึ ทรงเลกิ การบําเพ็ญทกุ รกิรยิ าแลวกลับมาเสวย พระกระยาหาร เพื่อบาํ รงุ พระวรกายใหแขง็ แรงในการคิดคนวิธใี หมในขณะท่ีพระมหาบุรุษ ทรงบําเพ็ญ ทกุ รกิริยา น้นั ไดมีปญ จวัคคยี  คือ พราหมณท้ัง 5 คน ไดแก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหามานะ และอัสสชิ เปนผูคอยปฏิบัติรับใชดวยหวังวา พระมหาบุรุษตรัสรูแลวพวกตนจะไดรับการส่ังสอน

6 ถายทอดความรูบ าง และเม่ือพระมหาบรุ ุษเลิกลมการบําเพ็ญทกุ รกิรยิ า ปญจวัคคียก็ไดชวนกันละท้ิง พระองคไ ปอยู ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวนั นครพาราณสี เปนผลใหพ ระองคไ ดป ระทับอยตู ามลาํ พังในที่ อนั สงบเงียบปราศจากสิง่ รบกวนทั้งปวง พระองคไ ดท รงต้ังพระสติดาํ เนนิ ทางสายกลาง คอื การปฏิบัติ ในความพอเหมาะพอควร นน่ั เอง พระพุทธเจา ทรงตรัสรเู วลารงุ อรุณในวนั เพญ็ เดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ปร ะกา กอนพทุ ธศกั ราช 45 ป นางสุชาดาไดนําขา วมธุปายาส เพ่ือไปบวงสรวงเทวดาคร้ันเห็นพระมหาบุรุษประทับที่โคน ตนอชปาลนิโครธ (ตน ไทร) ดวยอาการอนั สงบ นางคิดวาเปน เทวดาจึงถวายขา วมธุปายาส แลวพระองค เสดจ็ ไปสทู า สุปดษิ ฐ ริมฝง แมนํ้าเนรญั ชรา หลังจากเสวยแลวพระองคทรงจับถาดทองคําข้ึนมาอธิษฐานวา “ถา เราจกั สามารถตรัสรไู ดในวนั นกี้ ็ขอใหถาดทองคาํ ใบนี้จงลอยทวนกระแสนํ้าไปไกลถึง 80 ศอก จึง จมลงตรงทกี่ ระแสนาํ้ วน” ในเวลาเย็นพระองคเ สด็จกลบั มายงั ตน โพธ์ทิ ีป่ ระทบั คนหาบหญา ช่อื โสตถิยะ ไดถวายปูลาดท่ปี ระทบั ณ ใตต นโพธ์ิ พระองคป ระทับหันพระพกั ตรไปทางทศิ ตะวันออก และทรงต้ังจิต อธิษฐานวา “แมว า เลอื ดในกายของเราจะเหือดแหง ไปเหลือแตห นัง เอ็น กระดูก ก็ตาม ถายงั ไมบ รรลุ ธรรมวิเศษแลวจะไมย อมหยุดความเพียรเปนอนั ขาด” เมื่อทรงต้ังจิตอธิษฐานเชนน้ันแลว พระองคก็ ทรงสํารวมจติ ใหส งบแนวแน มีพระสตติ ั้งม่ัน มีพระวรกายอนั สงบ มีพระหทัยแนวแน เปนสมาธิบริสุทธิ์ ผุดผอง ปราศจากกิเลส ปราศจากความเศราหมอง มีความตงั้ มัน่ ไมห วั่นไหว ในปฐมยามแหง ราตรี พระองคทรงตรัสรูปพุ เพนวิ าสานุสติญาณ คอื ญาณที่ระลกึ ถงึ ชาติตาง ๆ ในปางกอ น ตอมาในมัชฌิมยาม คอื ยามกลางแหง ราตรี พระองคทรงตรัสรูจุตูปปาตญาณ คือ ญาณ กําหนดรูการเกดิ ของสัตวทงั้ หลาย และในยามสดุ ทา ย คือ ปจ ฉิมยาม พระองคทรงตรสั รู อาสวกั ขยญาณ คือ ญาณหย่ังรูในการสิ้นไปแหงอาสาวกิเลสทั้งหลาย พระองคทรงตรัสรูอริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค วนั ทีพ่ ระองคท รงตรัสรูใ นวันเพญ็ เดอื น 6 ประกา พระชนมายุได 35 พรรษา นับแตว ันท่ี ออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเปนเวลา 6 ป หลังจากตรัสรูแลวพระองคทรงเสวยวิมุตติสุข ณ บริเวณตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนเวลา 7 สปั ดาห ทรงรําพงึ วา ธรรมะของพระองคเปนเร่ืองยากสําหรับคนทั่วไปจะรู พระองคนอมพระทัย ที่จะไมประกาศศาสนา แตเมื่อพิจารณาแลวเห็นสภาวธรรมวา สติปญญาของบุคคลเปรียบเสมือน ดอกบัว 4 เหลา คือ พวกที่ฟง ธรรมแลว รูเขาใจโดยงา ย คือ บัวที่อยูพนนํ้า พวกที่ฟงธรรมท่ีอธิบาย ขยายความแลวจะรูธรรม คือ บัวท่ีอยูปร่ิมนํ้า พวกที่ฟงธรรมแลวตองใชระยะเวลานานไตรตรอง ทบทวนไปมาจึงจะเขาใจเหมือนบัวท่ีอยูใตน้ํา และพวกสุดทาย คือ พวกที่ฟงธรรมแลวทําอยางไรก็ ไมเ ขา ใจเหมอื นบัวทอ่ี ยใู ตต ม เปน อาหารเตา ปู ปลา จากนัน้ ดวยพระเมตตาของพระองค จึงประกาศ เผยแผศาสนา พระองคท รงพจิ ารณาจะสอนพระธรรมใหก บั ใครกอนเปนคนแรก คร้ังแรกคิดจะสอน พระธรรมแกอาฬารดาบส แตอ าจารยท งั้ สองทา นตายแลว พระองคจะเผยแผธรรมแกปญจวัคคียท้ัง 5 ที่ปาอิสปิ ตนมฤคทายวนั พระองคทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ)

7 เรียกวา ธรรมจกั กปั ปวัตตนสูตร ทา นโกณทญั ญะ ฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็นธรรม คือ บรรลุโสดาบัน จงึ ทูลขออปุ สมบท เรียกการบวชครงั้ น้ีวา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” เปนพระสงฆท่ีพระพุทธเจาบวชให วันข้ึน 15 คํ่า เดือน 8 เปนวันที่พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ครบเรียกวา อาสาฬหบชู า เปนครั้งแรก การเผยแผศาสนา เมื่อพระพุทธเจาไดโปรดปญจวัคคียและสาวกอื่น ๆ ซึ่งเลื่อมใสนับถือ ศาสนาพุทธ ตอมาพระพทุ ธเจาทรงอนญุ าตใหพ ุทธสาวก สามารถบวชใหก ับผูทเ่ี ล่ือมใสในศาสนาพุทธได เรียกวธิ ีบวชเชนน้ีวา \"ตสิ รณคมนปู สัมปทา\" คือ การบวชดวยการปฏญิ าณตนเปนผูถึงไตรสรณคมน พระพุทธศาสนาจึงหย่ังรากฝงลึกในดินแดนสุวรรณภูมิ เชน ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน ประเทศเนปาล เปน ตนมา พระพุทธเจา ประกาศเผยแผคําสอนจนเกิดพุทธบริษัท 4 อันมี ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา และพุทธบริษัท 4 น้ีจะทําหนาที่เผยแผคําสอนของพระพุทธเจาและสืบทอดพระพุทธ- ศาสนาใหค งอยตู อ ไป เมื่อพระพทุ ธเจามพี ระชนมายุ 80 พรรษา พระองคเสด็จจําพรรษาสดุ ทาย ณ เมืองเวสาลี ในวาระนั้นพระพุทธองคทรงชราภาพ และประชวรหนัก พระองคไดทรงดําเนินจากเวสาลีสู เมอื งกุสินารา เพ่ือเสด็จดบั ขนั ปรินพิ พาน ณ เมืองน้ัน พระองคเ สวยอาหารม้ือสุดทายที่นายจุนทะ ปรุงดวยเน้ือสุกรถวาย พระองคเสวยและใหนําอาหารน้ันไปฝง ทรงมีอาการประชวร ถายเปน พระโลหิต กอ นที่พระองคจะเสด็จปรินิพพาน ซึ่งหมายถึง การไมมาเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสาร พระองคทรงมีพระดํารัสกับพระอานนท ซ่ึงเปนพุทธอนุชาและเปนพระอุปฏฐากของพระพุทธเจา ความวา “โยโวอานฺทธมฺมจวินฺโยมหาเทสิโตปฺญตโตโสโวมมจฺจเยนสตฺถา” แปลวา “ดูกอนอานนท ธรรมและวินยั อันท่ีเราแสดงแลว บัญญตั แิ ลว แกเ ธอท้ังหลาย ธรรมวินัยนั้นจักเปนศาสดาของเธอ ทั้งหลาย เม่ือเราลวงลับไปแลว” และพระพุทธองคไดแสดงปจฉิมโอวาทแกพระภิกษุสงฆวา “ดูกอนภิกษุท้ังหลายน่ีเปน วาจาคร้ังสุดทายที่เราจะกลาวแกทา นท้ังหลาย สังขารทั้งหลายทั้งปวง มีความสิ้นไปและเสื่อมไป เปนธรรมดา ทานทง้ั หลายจงทําความรอดพน ใหบรบิ ูรณถ งึ ทีส่ ุดดว ยความไมประมาทเถดิ \"

8 พระพุทธเจา ประสตู ิ ตรสั รู ปรนิ ิพพาน ในวนั เดยี วกัน คือ วันเพญ็ เดือน 6 เรยี กวา วัน “วสิ าขบชู า” วนั วิสาขบูชา ประสตู ิ ตรสั รู ปรินพิ พาน การเผยแผพ ุทธศาสนาเขา สปู ระเทศไทย พระพุทธศาสนาเผยแผเขามาในประเทศไทย ประมาณป พ.ศ. 270 หลังจากพระพุทธเจา เสดจ็ ปรินพิ พาน พระเจา อโศกมหาราช สถาปนาศาสนาพุทธเปนปกแผน และสงพระเถระไปเผยแผ พระพุทธศาสนายงั ประเทศตาง ๆ รวมท้ังประเทศไทย พระเถระท่ีเขามามี 2 รูป คือ พระโสณเถระ และพระอตุ ตระเถระ ซงึ่ เปนนกิ ายเถรวาท ขณะน้นั ไทยอยบู นดนิ แดนท่เี รยี กวา สวุ รรณภูมิ มขี อบเขต ประเทศที่รวมกัน คือ ไทย พมา เวียดนาม กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และสันนิษฐานวาใจกลางอยูท่ี จังหวัดนครปฐม มีหลักฐาน คือ พระปฐมเจดีย และรูปธรรมจักรกวางหมอบ สมัยน้ีเรียกวา สมัยทวารวดี ตอ มาสมัยอาณาจักรอายลาว ศาสนาพุทธนิกายมหายาน เผยแผมายังอาณาจักรน้ีเพราะ พระเจามิ่งต่ี กษัตริยจีน ทรงรับพระพุทธศาสนาไปเผยแผในประเทศจีน และสงฑูตมาเจริญ สัมพนั ธไมตรีกบั อาณาจกั รอา ยลาว จึงทําใหไทยนับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน เปนครั้งแรกแทน การนับถือเทวดาแบบดั้งเดิม

9 ในพุทธศตวรรษที่ 13 พ.ศ. 1300 สมัยอาณาจักรศรีวิชัย ในเกาะสุมาตราไดเจริญรุงเรือง และนาํ พระพทุ ธศาสนาแบบมหายานเขามาเผยแผดังมีหลักฐานที่ปรากฏอยู คือ พระบรมธาตุไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ านี และพระมหาธาตุ จงั หวัดนครศรีธรรมราช ในพทุ ธศตวรรษที่ 15 พ.ศ. 1500 อาณาจกั รลพบุรเี จรญิ รงุ เรือง ในขณะเดียวกันอาณาจกั รขอม ก็เจริญรุงเรืองดวย ในสมัยราชวงศสุริยวรมันเรืองอํานาจ พระองครับเอาพุทธศาสนาแบบมหายาน ผสมผสานกับศาสนาพราหมณ และทรงสรางศาสนาสถานเปน พระปรางคแ ละปราสาท อาณาจักรลพบรุ ี ของไทยรับอทิ ธิพลนมี้ าดว ยมีภาษาสันสกฤต เปนภาษาหลักของศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลใน ภาษาไทย วรรณคดีไทย จะเห็นส่งิ กอ สรา ง คอื พระปรางคส ามยอด จงั หวดั ลพบุรี ปราสาทหินพิมาย ท่ีจงั หวดั นครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุง ที่จังหวัดบุรีรัมย สวนพระพุทธรูปไดรับอิทธิพลของขอม เชน ศิลปะแบบขอม พุทธศตวรรษที่ 16 พ.ศ. 1600 อาณาจักรพุกาม ประเทศพมา เจรญิ รุงเรือง กษัตริยผูปกครอง ช่ือพระเจาอนุรุทธิม์ หาราช กษตั รยิ พ ุกามเรอื งอํานาจ ทรงรวบรวมเอาพมา กับมอญเขาเปน อาณาจักร เดียวกนั และแผข ยายอาณาจกั รถงึ ลา นนา ลานชา ง คือ เชียงใหม ลําพนู เชยี งราย จงึ รับพระพุทธศาสนา แบบเถรวาท หลักฐานทปี่ รากฏ คือ การกอ สรา งเจดียแ บบพมา ซ่งึ ปรากฏอยตู ามวัดตา ง ๆ สมัยสุโขทัย เจริญรุงเรืองเปนปกแผนมีอาณาจักรของไทย คือ อาณาจักรลานนาและ อาณาจักรสุโขทยั พอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงสดับกิตติศัพทของพระสงฆลังกา ซึ่งเผยแผศาสนา อยูท่ีนครศรีธรรมราช จึงนิมนตมาที่สุโขทัย นับเปนจุดสําคัญท่ีทําใหพุทธศาสนาดํารงม่ันคงมาใน ประเทศไทยสบื มาจนทุกวันนี้ พระพุทธศาสนาแบบลงั กาวงศไดเขา มาเผยแผใ นประเทศไทยถงึ 2 ครั้ง คอื คร้งั ท่ี 1 ในสมยั พอขุนรามคําแหงมหาราช ในสมัยท่ี 2 คือ สมัยพระยาลิไท กษัตริยทุกพระองค ปกครองบานเมืองดวยความสงบรมเย็น ประชาชนอยูดวยความผาสุก ศิลปะสุโขทัย มีความงดงาม โดยเฉพาะพระพทุ ธรปู ไมมีศลิ ปะสมยั ใดงามเสมอื น สมัยลานนา พ.ศ. 1839 พระยามังราย ทรงสรางราชธานีช่ือ นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม ตง้ั ถ่ินฐานท่ีลุมแมน้ําปง สนับสนุนใหพุทธศาสนารุงเรืองในเมืองเชียงราย ลําพูน ลําปาง แพร นาน พะเยา ในสมัยพระเจา ติโลกราชแหงเชียงใหม ทาํ การสงั คายนาพระไตรปฎกเปนคร้ังแรกในประเทศไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศาสนาสมัยนี้ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณเปนอันมาก พิธกี รรมตาง ๆ จึงปะปนกับพธิ ีพราหมณ ประชาชนทําบญุ กุศลสรางวดั บาํ รงุ ศาสนา พระมหากษัตริยท่ี ทรงผนวช คือ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ และทรงรเิ ร่ิมใหเจานายและขาราชการบวชเรียน ทรงรจนา หนังสอื มหาชาติคําหลวงขึ้นในป พ.ศ. 2025 และในสมัยพระเจาทรงธรรม ไดพบรอยพระพุทธบาท ทีจ่ ังหวัดสระบรุ ี จึงโปรดใหส รา งมณฑป วรรณคดใี นสมยั นี้ ไดแ ก กาพยมหาชาติ ในสมัยพระเจาอยูหัว- บรมโกษฐ พ.ศ. 2275 - 2300 พุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองมาก พระเจาแผนดินของลังกา มีพระราชสาสน มาทลู เชิญพระภกิ ษุสงฆไ ปเผยแผศ าสนาท่ลี งั กา เพราะศาสนาพุทธท่ีเรียกวา ลังกาวงศ นั้น เส่ือมลง

10 ไทยจึงสงพระอุบาลีไปประกาศศาสนาและเผยแผศาสนาจนรุงเรืองอีกคร้ัง และเรียกศาสนาพุทธ ในครงั้ นว้ี า นกิ ายสยามวงศ สมยั กรงุ ธนบุรี ปพ .ศ. 2310 กรงุ ศรอี ยุธยาถูกพมา ยกทพั เขาตีจนบานเมืองแตกยับเยิน วัดวา- อารามถกู ทําลายยอยยับ พระเจาตากสินมหาราช ทรงเปนผูนําในการกอบกูอิสรภาพ ทรงตั้งเมืองหลวงท่ี กรุงธนบรุ ี และทรงบูรณปฏิสงั ขรณวดั วาอารามและสรา งวัดเพิม่ เตมิ อกี มากและไดอ ัญเชิญพระแกวมรกต จากเวยี งจันทนมายังประเทศไทย สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. 2325 - 2352) พระองคยา ยเมืองหลวงมาต้ังท่ีกรุงเทพมหานคร และทรงปฏิสังขรณวัดตาง ๆ คือ การสรางวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม วัดสุทัศนเทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และโปรดใหม กี ารสงั คายนาพระไตรปฎ กครงั้ ที่ 9 และถือเปน คร้ังที่ 2 ในดินแดนประเทศไทยปจจุบนั รชั กาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลานภาลัย (พ.ศ. 2352 - 2367) ทรงบูรณะวัดอรุณ- ราชวราราม วัดสทุ ัศนเทพวราราม และฟน ฟูประเพณีวสิ าขบูชา รชั กาลที่ 3 พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2367 - 2394) ทรงสรา ง 3 วัด คือ วดั เฉลิมพระเกียรติ วดั เทพธิดารามวรวหิ าร และวดั ราชนัดดารามวรวหิ าร และทรงบูรณะ ปฏสิ งั ขรณว ัด มีจํานวนมากถึง 50 วัด พระองคเชิดชูกําเนิดธรรมยุติกนิกาย ในป พ.ศ. 2376 เน่ืองจากพระองค เล่ือมใสในจริยาวัตรของพระมอญ ซ่ึงเปนรูปแบบนิกายธรรมยุต มีวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เปน ศนู ยกลาง ทรงสรางพระไตรปฎกเปน จาํ นวนมากยงิ่ กวารชั กาลใด ๆ ตอมาสมยั รชั กาลที่ 4 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู วั (พ.ศ. 2394 - 2411) ทรงสรา ง พระไตรปฎ ก ปฏสิ งั ขรณว ดั กาํ เนดิ การบาํ เพญ็ กศุ ลพธิ มี าฆบชู า เปน ครัง้ แรกทีว่ ดั พระศรรี ตั นศาสดาราม และสง สมณฑตู ไปลงั กา สมัยรัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2411 - 2453) ทรงสราง พระไตรปฎ กแปลจากอักษรขอมเปนอกั ษรไทย ปฏิสงั ขรณวดั ตาง ๆ ทรงตราพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ และสถาปนาการศกึ ษาสาํ หรับพระสงฆ 2 แหง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ีวัดบวรนิเวศวิหาร และมหา- จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ที่วัดมหาธาตุ สมยั รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.2453 - 2468) ทรงประกาศใช พทุ ธศักราชทางราชการตงั้ แตว นั ที่ 1 เมษายน 2456 เปนตนมา ทรงสรา งโรงเรยี นและบูรณะวดั ตา ง ๆ ทรงพระราชนิพนธหนงั สอื ทางพระพทุ ธศาสนา คือ พระพุทธเจาตรสั รูอะไร และเทศนาเสอื ปา สมัยรัชกาลท่ี 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูหวั (พ.ศ. 2468 - 2477) ทรงพิมพระไตรปฎก เรียกวา \"พระไตรปฎ กสยามรฐั \" มีตราชา งเปนเครอ่ื งหมายเผยแพร ทรงประกวดหนังสอื สอนพระพุทธศาสนา สําหรับเด็ก ทรงเพมิ่ หลักสูตรจริยศกึ ษา (อบรมใหม ีศีลธรรมดงี ามขนึ้ ) แตเ ดมิ มเี พียงหลกั สูตรพุทธิศึกษา (ใหม ีปญ ญาความรู) และพลศึกษา (ฝก หัดใหเ ปนผมู รี า งกายสมบูรณ)

11 สมัยรัชกาลท่ี 8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล (พ.ศ. 2477 - 2489) มีการแปล พระไตรปฎ กเปนภาษาไทย ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484 เลิกการปกครองสงฆแบบ มหาเถรสมาคมทใ่ี ชม าต้ังแตสมัยรชั กาลที่ 5 สมยั รัชกาลท่ี 9 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489 - 2559) มีการ จดั งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษในป พ.ศ. 2500 มีการสรา งพุทธมณฑลไวท ี่ตาํ บล ศาลายา จังหวัดนครปฐม มีการสง พระสงฆไ ปเผยแผศาสนาพุทธในตา งประเทศ เสดจ็ ออกผนวชที่วดั บวรนเิ วศราชวรวิหาร และ มโี รงเรียนพทุ ธศาสนาในวนั อาทติ ย 1.2 ศาสนาอิสลามในประเทศไทย ประวตั ิศาสดา ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ ทานนบีมุฮัมมัด เปนบุตรของอับดุลลอหแหงอารเบีย ทา นไดร ับมอบหมายใหเ ผยแผสาสนข องอัลลอฮพ ระผูเปนเจา ทานศาสดานบีมุฮัมมัด เกิดท่ีมหานครมักกะห (เมกกะ) ตรงกับวันจันทรที่ 17 (บางก็วา 12) เดอื น รอบีอุลเอาวัล ในปช า ง ค.ศ. 570 (พ.ศ. 1113) ในตอนแรกเกิดกายของมฮุ ัมมัด มรี ัศมีสวางไสวและ มีกลิ่นหอมเปนศุภนิมิตบงถึงความพิเศษของทารก ปที่ทานเกิดน้ันเปนปที่อุปราชอับรอฮะห แหง อาณาจักรอักซุม (เอธโิ อเปยปจจุบัน) กรีฑาทัพชางเขาโจมตีมหานครมักกะฮ เพ่ือทําลายกะอบะฮ อนั ศักดิส์ ิทธิ์ แตอ ลั ลอฮไ ดท รงพทิ กั ษมกั กะฮด วยการสง กองทัพนกที่คาบกรวดหินลงมาท้ิงบนกองทัพนี้ จนไพรพลตองลมตายระเนระนาด เน้ือตัวทะลุดุจเหมือนใบไมถูกหนอนกัดกิน อุปราชอับรอฮะห จึงตอ งถอยทัพกลบั ไปและเสยี ชวี ติ ไปในท่ีสดุ

12 ในปเดียวกันนั้นมีแผนดินไหวเกิดขึ้นในเปอรเซีย เปนเหตุใหพระราชวังอะนูชิรวานของ จกั รพรรดิเปอรเ ชียสัน่ สะเทือนถึงรากเหงาและพังทลายลง ยังผลใหไฟศักด์ิสิทธ์ิในวิหารบูชาไฟของ พวกโซโรอสั เตอรท ่ลี ุกอยูเปน พันปนัน้ ตองดับลงไปดวย เมอ่ื มูฮมั มัดมี อายุได 20 ป กิตติศัพทแหงคุณธรรมและความสามารถในการคาขายก็เขาถงึ หู ของเคาะดีญะฮ บินติคุวัยลิค เศรษฐีนีหมายผูมีเกียรติจากตระกูลอะซัดแหงเผากุเรช นางจึงเชิญให ทานเปนผูจ ัดการในการคาของนาง โดยใหท านนําสนิ คาไปขายยังประเทศซีเรีย ในฐานะหัวหนากองคาราวาน ปรากฏผลวา การคา ดาํ เนนิ ไปดวยความเรียบรอย และไดก ําไรเกินความคาดหมาย จงึ ทาํ ใหนางพอใจ ในความสามารถและความซอื่ สตั ยของทานเปนอยางมาก เมอ่ื อายุ 30 ป ทานไดเขา รว มเปนสมาชิกในสหพันธฟ ุดลู อัน เปน องคการพิทักษสาธารณภัย ประชาชน เพ่อื ขจัดทกุ ขบ ํารุงสุขใหป ระชาชน กจิ การประจาํ วันของทาน ก็คือประกอบแตก ุศลกรรม ปลดทกุ ขขจดั ความเดือดรอน ชว ยเหลือผูตกยาก บํารงุ สาธารณกุศล เม่อื อายุ 40 ป ทานไดรบั วิวรณจากอัลลอฮพระผูเปนเจาในถ้ําฮิรออ ซ่ึงอยูบนภูเขาลูกหน่ึง นอกเมืองมักกะฮ โดยทูตสวรรคญิบรีล เปนผูนํามาบอกเปนครั้งแรกเรียกรองใหทานรับหนาที่เปน ผูเผยแผศาสนาของอัลลอฮ ด่ังท่ีศาสดามูซา (โมเสส) อีซา (เยซู) เคยทํามา น่ันคือ ประกาศใหมวล มนุษยนับถือพระเจาเพียงองคเดียว ทานไดรับพระโองการติดตอกันเปนเวลา 23 ป พระโองการ เหลาน้รี วบรวมขนึ้ เปน เลม เรยี กวา คมั ภรี อ ัลกุรอาน ในตอนแรกทา นเผยแผศาสนาแกวงศญ าติและเพอ่ื นใกลช ิดเปนภายในกอ น ทา นคอ็ ดญี ะหเ องได สละทรพั ยส ินเงนิ ทองของทานไปมากมาย และทานอบูฎอลิบก็ไดปกปองหลานชายของตนดวยชีวิต ตอ มาทา นไดรับโองการจากพระเจาใหป ระกาศเผยแผศาสนาโดยเปดเผย ทําใหญาติพี่นองในตระกูล เดยี วกนั ชาวกเุ รชและอาหรบั เผาอ่ืน ๆ ท่ีเคยนับถือทานพากันโกรธแคนต้ังตนเปนศัตรูกับทานอยาง รุนแรงถงึ กับวางแผนสงั หารทานหลายครงั้ แตกไ็ มสําเร็จ ชนมสุ ลิมถกู ควํ่าบาตรไมสามารถทําธุรกจิ กับ

13 ผูใดจนตองอดอยากเพราะขาดรายไดและไมมีเงินที่จะซ้ืออาหาร อบูซุฟยาน แหงตระกูลอุมัยยะห และอบูญะฮลั คือ สองในจาํ นวนหัวหนามุชรกิ ูนที่ไดพ ยายามทาํ ลายลางศาสนาอิสลาม เมื่อชาวมุชรกิ นู เอาชนะรัฐอสิ ลามไมไ ด กไ็ ดมกี ารทาํ สญั ญาสงบศึกกันในเดือน มีนาคม ค.ศ. 628 เรียกสัญญาสงบศึกครัง้ นนั้ วา สญั ญาฮดุ ยั บยี ะห ตอมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 629 ชาวมักกะหไดละเมิดสัญญาสงบศึกในเดือนมกราคม ป ค.ศ. 630 ทานนบจี งึ นาํ ทหาร 10,000 คน เขายึดเมืองมักกะห ทานจึงประกาศนิรโทษกรรมใหชาวมักกะห เกือบท้งั หมด ยกเวนบางคนในจํานวนนัน้ มีอัลฮะกมั แหง ตระกลู อุมัยยะห ที่ทานนบีประกาศใหทกุ คน คว่ําบาตรเขา การนิรโทษกรรมครั้งน้ี มีผลใหชาวมักกะหซาบซึ้งในความเมตตาของทาน จึงพากัน หลง่ั ไหลเขา นับถือศาสนาอิสลามเปนจาํ นวนมาก ทา นนบีมูฮัมมัดไดส ิ้นชวี ิต ท่เี มอื งมดีนะห เมอ่ื วนั จนั ทร ท่ี 12 ป ค.ศ. 632 รวมอายไุ ด 63 ป การเผยแผศาสนาอสิ ลามเขา มาสปู ระเทศไทย จากบนั ทกึ ทางประวัตศิ าสตรข องมุสลิม ชนชาติเปอรเซียและชนชาติอาหรับ ไดเดินทางมา ทางทะเลมาทําการคาขายกับเมืองไทยต้ังแตสมัยสุโขทัยแตไมมีผูใดรับราชการในราชสํานักไทย นอกจากชาวมุสลมิ ในทองถิ่นภาคใต นบั ตง้ั แตนครศรีธรรมราชลงไปจรดปลายแหลมมลายู สิงคโปร และมะละกา น้ัน เจาผูครองนครแทบทุกเมืองเปนชาวมุสลิมมาแตเดิม ไมปรากฏวาทางกรุงสุโขทัย สงคนทางสุโขทัยไปปกครองแมแ ตคนเดยี ว และเมอื งตา ง ๆ ทางภาคใต เปน ประเทศราชของกรุงสุโขทัย ตอ งสง ดอกไมเ งนิ ดอกไมท องเปน เครอ่ื งบรรณาการตามกําหนด หากเมืองใดแข็งเมืองทางเมืองหลวง จะยกกองทัพไปปราบเปนคร้ังคราวและอยูร ว มกนั อยางมคี วามปกตสิ ุขเปน เวลาหลายรอ ยป เจาพระยาบวรราชนายก ตําแหนง วางจางมหาดไทย นับวาทานเปนผูนําศาสนาอิสลาม นิกายชีอะหเขา มาสูประเทศไทย และเปนจุฬาราชมนตรีคนแรก เม่ือทานถึงแกกรรมศพทานฝงไวท่ี สสุ านบริเวณทากายี ปจ จุบันเปน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา ทานเปนตนตระกูลอหะหมัดจุฬา ตระกูลจุฬารัตน ตระกูลบุญนาค ตระกูลศรีเพ็ญ ตระกลู บรุ านนท ตระกูลศภุ มติ ร ในสมยั พระเจา ทรงธรรม มีชาวเปอรเซีย ช่ือวา ทานโมกอล อพยพครอบครัวและบริวารมาจากเมืองสาเลห เกาะชวากลาง เน่ืองจากถูกชาติโปรตุเกสรุกราน ทานสะสมกําลัง สรางปอมคายท่ีบานหัวเขาแดง จังหวัดสงขลา เพราะตองปองกันตัวจากโจรสลัด เจาพระยานครศรีธรรมราช ซึ่งมีหนาที่ดูแลหัวเมืองภาคใตได รายงานเรื่องนใ้ี หก รุงศรีอยธุ ยาทราบเร่อื ง พระเจา ทรงธรรม โปรดเกลาฯ แตงต้ังใหทานโมกอล เปน ขา หลวงผสู าํ เร็จราชการเมืองสงขลา เมอ่ื ทา นโมกอลถงึ แกอ สัญกรรมบตุ รชาย คอื ทานสุลัยมาน เปน ผูสําเร็จราชการตอมา และเม่ือเจาพระยากลาโหมศรสุริยวงศ ปราบดาภิเษกโดยทําการประหาร พระเชษฐาธริ าช คือ พระเจาทรงธรรม และพระโอรสสิ้นชีวิตและสถาปนาตนเปนกษัตริย ทรงพระนามวา พระเจาปราสาททอง ทานสุลัยมานจงรักภักดีตอพระเจาหลวง จึงไมเห็นดวย แลวประกาศแข็งเมือง

14 เมอ่ื พ.ศ. 2173 สถาปนาตนเปนสุลตา น ชื่อ สลุ ตา นสุลัยมานชาห ตลอดสมัยปรับปรุงเมืองสงขลาเปน เมอื งทาสาํ คญั มกี าํ ลังทหารเขม แขง็ ทง้ั ทางนาํ้ และทางบก กรุงศรอี ยธุ ยาเคยยกกองทพั ไปปราบ 2 ครั้ง แตเอาชนะไมได สุลตานสุลัยมานชาห ปกครองสงขลาอยู 46 ป สรางความเจริญกาวหนาทั้งดาน การคา มีโกดังสนิ คามากมาย และการทางคมนาคม ทาํ ใหไมต องออมเรือไปยังสงิ คโปร ทาํ ใหย นระยะทาง ไดมาก ทานถงึ แกก รรม เม่ือ พ.ศ. 2211 ศพทา นฝง ไว ณ สสุ านบรเิ วณเขาแดง ปจ จุบันข้นึ ทะเบยี นเปน โบราณสถานของชาติ คนท่วั ไปนับถอื ทานมาก เรียกทา นวา ดาโตะมะหรุม หมายถึง ดาโตะผูลวงลับ นัน่ เอง ในสมยั สมเด็จพระนารายณม หาราชดาํ ริวา ในพระราชอาณาจักรของพระองคไ มค วรมีกษัตริย องคอ่ืนอีก จงึ ยกทัพไปปราบนครสงขลา ซึง่ สุลตา นมตุ ตาฟา บุตรของสุลตานสุลัยมานชาห ครองอยู และรบชนะ สมเด็จพระนารายณมหาราช จงึ ใหท านสุลตานมตุ ตาฟา และครอบครวั ยา ยไปอยูเมืองไชยา และสลายเมอื งสงขลาเสีย สมเดจ็ พระนารายณมหาราช มิไดถือโทษสุลตา นมตุ ตาฟา เพราะถอื วาเปน ชวงผลัดแผนดนิ ตอ มาพระองคโ ปรดเกลาฯ ใหสุลตานมุตตาฟา เปน พระไชยา ภาษาถิน่ นามวา ยา มี ตําแหนงเปน “พระยาพชิ ติ ภกั ดีศรีพชิ ยั สงคราม”ทีไ่ ชยา เกดิ เปน หมูบ า งสงขลา มกี ารปก หลกั ประตูเมอื ง เรียกวา เสาประโคน อยูกลางเมืองเปนหลักฐานมาจนทุกวันน้ี สวนนองชายของพระชายา คือ ทานหะซนั และทานรเู ซน็ โปรดเกลาฯ ใหรบั ราชการในกรงุ ศรีอยุธยาพรอมกับบุตรชายคนโต คอื เตาฟค ทา นหะซนั ชํานาญการเดินเรือและทหารเรือ จึงโปรดเกลาฯ เปน พระยาราชบังสัน วาที่แมทัพเรือ ของกรุงศรอี ยุธยา และตําแหนงน้ีไดสบื ทอดตอ เนอื่ งในสายสกลุ ของทาน นับวาโชคดขี องประเทศไทย ท่ีตลอดระยะเวลาของกรงุ ศรอี ยธุ ยา กรุงธนบรุ ี และกรงุ รัตนโกสนิ ทร จนถงึ สมยั ของพระบาทสมเด็จ- พระจอมเกลา เจา อยหู วั รัชกาลที่ 4 มีขาราชการตําแหนงสําคัญ ๆ นับถือศาสนาอิสลามไมขาดสาย เชน ตําแหนงลักษมณา เปนภาษามาเลเซีย แปลวา นายพลเรือ ต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงกรุง- รัตนโกสินทร เปนตําแหนง ที่แตง ตง้ั เฉพาะคนมุสลิมเทานนั้ เปน ทนี่ าสงั เกตอกี อยางหนงึ่ วา ศาสนาอสิ ลาม นิกายซุนหนี่และนกิ ายชีอะหในประเทศไทย อยูรวมกนั มาตั้งแตสมัยพระเจาทรงธรรม แหงกรุงศรีอยุธยา นิกายซุนหน่ีน้ันมีมาแตเดิมในแผนดิน สวุ รรณภมู ิ สวนนิกายชอี ะหนน้ั ไดเขามาพรอมกบั ทานเฉกอะหมัด สมยั พระเจา ทรงธรรม ทัง้ สองนิกายน้ี ผูกมิตรกนั โดยมกี ารแตง งานระหวางกัน หัวเมอื งชายแดนภาคใต ตั้งแตส มัยกรุงศรอี ยุธยา ดินแดนของไทยครอบคลุมถึงหลายหัวเมือง ในประเทศมาเลเซยี ปจ จบุ นั คอื ไทรบรุ ี (เคดาห) กลันตนั ตรงั กานู ปะลศิ สวนดินแดนในเขตประเทศไทย ปจ จบุ นั มีปต ตานี เปน เมืองใหญ ครอบคลุมไปถงึ ยะลา นราธวิ าส สตูล ตกอยูในประเทศราชของไทย ตองสง ดอกไมเงนิ ดอกไมท องเปน บรรณาการมายังกรงุ ศรีอยุธยามาโดยตลอด บางคร้ังเมื่อมีการผลัด แผน ดินโดยการปราบดาภเิ ษก เจาเมืองเหลานน้ั มกั ถอื โอกาสแข็งเมอื ง ตั้งตนเปนอิสระบอยคร้ัง ทาง กรงุ ศรอี ยุธยาตองสง กองทพั ไปปราบ เมื่อปราบแลว ไดก วาดตอนคนมากรงุ ศรีอยธุ ยาดวย เชน ท่ีตําบล คลองตะเคียน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีชาวมุสลิมเชื้อสายปตตานีจํานวนมาก สวนชาวมุสลิม

15 แขกเทศหรอื แขกแพ เชื้อสายเปอรเ ซียหรอื อาหรบั มีภูมลิ าํ เนาอยแู ถบหัวแหลม หรอื ทา กายี เปนชาว- มุสลิมชีอะห เช้อื สายเปอรเ ซยี ในปจจุบันชาวมสุ ลมิ ในประเทศไทย สามารถอยรู วมกบั คนไทยพุทธไดโ ดยมีกจิ กรรมที่สําคัญ ๆ รวมกัน คือ การติดตอคาขาย การศึกษารัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับปรากฏขอความสําคัญ คือ พระมหากษัตริยไ ทยทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกทุกศาสนา แตในปจจุบันมีปญหาที่ 3 จังหวัดภาคใต คือ ยะลา ปต ตานี นราธิวาส ซึ่งไมไดเกิดจากปญ หาความแตกตา งทางศาสนา แตเกดิ จากคนบางกลุม ยังไมเขาใจกันดเี พียงพอ จึงเกิดการปะทะกัน และรัฐบาลไทยทุกสมัยพยายามแกไขปญ หานี้โดยตลอด ในป พ.ศ. 1847 - 1921 อบิ นบี าตูเตาะห ชาวโมรอ็ กโกเช้อื สายอาหรับ ทําการเผยแพรศาสนา อิสลาม นิกายซุนหน่ี ขึน้ ทางเกาะสุมาตราตะวนั ตกเฉยี งเหนือ โดยทําใหราชาซอและหยอมรับนับถือ ศาสนาอสิ ลาม เพราะในคัมภรี อ ัลกุรอานนั้น มีบทบญั ญตั ิทั้งทางโลกทางธรรมมหี ลกั วิชาเศรษฐศาสตร นิตศิ าสตร วิทยาศาสตร ปรชั ญา การเมือง การสงั คม การอาชพี การคา ขาย การแพทยก ารเปนหน้ีสนิ การบริโภคอาหาร การสมรส การหยาราง การครองเรือน การแบงมรดก การศึกษาการทูต การสงคราม และกิจวัตรประจําวันของบุคคลแตละคน ดังน้ัน เม่ือมีพระราชาศรัทธาในศาสนาจึง เผยแผศาสนาอิสลามไปในหมูพสกนิกรและจัดระบบการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การสมรส การครองเรือน ตามพระราชบญั ญัติพระคัมภรี อัลกรุ อาน และพระราชาธิบดี เปล่ียนจากราชาซอและห มาเปน สลุ ตา นซอและห ท่ีเขมแข็งและเด็ดขาด และจากน้ันศาสนาอิสลามเผยแผไปยังรัฐใกลเคียง จนกลายเปนรฐั อสิ ลาม และขยายขึน้ มาจากตอนเหนือของมลายูเขามาสตู อนใตของประเทศไทย และ ปรากฏหลักฐานวา เจาผูครองนครทางภาคใตของประเทศไทยจนถึงเมืองนครศรีธรรมราช นับถือ ศาสนาอสิ ลามท้งั สน้ิ ศาสนาอสิ ลามจากอนิ เดียใตเ ขา มาสมู าเลเซีย ภาคใตของประเทศไทย สุมาตรา ชวา บอรเ นียว แบบพิธขี องศาสนาอสิ ลามในสว นนี้ของโลกเปนแบบอนิ โด - เปอรเซียน เชนเดียวกับ ในอินเดยี และเปอรเ ซยี ซึง่ ตางจากศาสนาอสิ ลามในอาระเบีย ประมาณคริสตศตวรรษท่ี 9 อิสลามได มาถงึ ฝง มะละกา เมือ่ มารโคโปโลเดินทางเรอื ผา นชวาเขาเขียนวา ผคู นตามเมืองทา เปน มุสลิมทั้งสนิ้ 1.3 ศาสนาคริสตในประเทศไทย ประวัติศาสดา ศาสดาของศาสนาคริสต คอื พระเยซู เกดิ ในชนชาติฮบี รู หรือ ยิว หรือ อิสราเอล พระเยซูคริสต ถือเปนพระบุตรของพระเจามาบังเกิดในชาตินี้ เมื่อจัดศาสนาของพระเจา คือ พระยะโฮวาคริสต มีรากศพั ทมาจากภาษาโรมัน หรือ ภาษากรีก ท่ีแปลมาจาก คําวา เมสสิอาห ในภาษาฮีบรู แปลวา ผปู ลดเปลือ้ งทกุ ขภ ยั

16 พระเยซู เกิดท่ีหมูบานเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรุงเยรูซาเล็ม ในปาเลสไตน เมื่อ พ.ศ. 543 แตไปเติบโตท่ี เมอื งนาซาเรธ แควน กาลินี หางจากนครยูซาเล็ม ประมาณ 55 ไมล มารดาของพระเยซู ชือ่ มาเรีย หรือ มารีย บดิ าชอ่ื โยเซฟ อาชีพชา งไม ตามประวตั มิ าเรยี มารดาพระเยซูน้ัน ตั้งครรภมากอน ขณะที่โยเซฟ ยังเปนคูหมั้นมิไดอยูกินดวยกัน รอนถึงเทวทูตของพระเจา หรือ พระยะโฮวาห คือ เทวา- คาเบรยี ล ตอ งมาเขาฝนบอกโยเซฟใหร ูว าบตุ รในครรภของมาเรีย เปนบุตรของพระเจา เปนผูมีบุญมาก ใหต ั้งช่อื วา พระเยซู ตอ ไปคนผนู ี้จะชว ยไถบาปใหชาวยิวรอดพนจากความทุกขท้ังปวง โยเซฟ ปฏิบัติ ตามคําของทูตแหงพระเจา รับมาเรียมาอยูดวยกันโดยมิไดสมสูเย่ียงสามีภรรยา พระเยซูไดรับการ เลี้ยงดูอยางดี มีความรูภาษากรีกแตกฉาน ศึกษาพระคัมภีรเกา ไดมอบตัวเปนศิษยของโยฮัน ผแู ตกฉานในคมั ภีรข องยิว เม่อื เยซูเตบิ โตเปนผูใหญ มีนิสยั ใฝสงบ ชอบอยใู นวิเวก ใฝใ จทางศาสนา เมอ่ื อายุได 30 ป ไดรับศีลลางบาปจากจอหน โดยอาบนํา้ ลางบาปท่แี มน ํ้าจอรแดน ตัง้ แตน ัน้ มา ถือวา พระเยซไู ดสําเร็จภมู ิธรรมสงู สดุ ในศาสนาครสิ ต เปน ศาสดาบาํ เพ็ญพรต อดอาหาร เพื่อการคิด พิจารณาธรรมอยูใ นปา สงัด ถึง 40 วัน จากน้นั จงึ ออกประกาศศาสนาเผยแผศาสนาอยู 3 ป พระเยซู สั่งสอนไปทัว่ ประเทศปาเลสไตน หรอื อสิ ราเอล ประมาณ 3 ป มีผูนับถือพระเยซูมากข้ึน แตก็ทําให พวกปุโรหิต พวกธรรมาจารย และพวกฟารซี เกลียดชัง ขณะท่ีพระเยซูพรอมสาวก 12 คนกําลัง รับประทานอาหารคํ่าม้ือสุดทาย ทหารโรมันก็จูโจมเขาจับพระเยซูและสาวกในขอหาเปนกบฏตอ ซซี ารโ รมัน ตัง้ ตนเปนบตุ รพระเจา เปนพระเมสสิอาห ถูกตัดสินใหลงโทษประหารชีวิตโดยการตรึงกับ ไมกางเขนไว 3 วัน ไดส้ินพระชนมและเสด็จไปสูสวรรค พระเยซูไดเลือกอัครสาวก 12 คนเปนหลัก สืบศาสนาตอ ไป โดยมีนักบุญเปโตร (Saint Peter) เปนหัวหนา ผูร บั ตาํ แหนงนักบุญเปโตร ตอ ๆ มาจนถึง ปจจบุ นั เรยี กวา สมเดจ็ พระสันตะปาปา ประเทศไทยมีศาสนาคริสตท่ีสําคัญอยู 2 นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโป รเตสแตนดด ังน้ี 1. นกิ ายโรมันคาทอลิก คริสตศาสนานกิ ายโรมนั คาทอลิก นับถอื พระแมมารี และนักบุญตาง ๆ มีศูนยก ลางอยูทก่ี รงุ วาตกิ ัน กรงุ โรม มพี ระสันตะปาปา เปนประมุขโดยสืบทอดมาต้ังแต สมยั อคั รสาวกกลมุ แรก โดยถอื วา นกั บุญเปโตร หรือ นักบุญปเตอร คือ พระสันตะปาปา พระองคแรก ทรงไปสั่งสอนทกี่ รงุ โรม ขณะน้นั เทยี บไดกับนครหลวงของโลก ทรงเผยแผ คําสอนอยู 25 ป ทําใหกรุงโรมเปนศูนยกลางของศาสนา จึงเกิดคําวา โรมันคาทอลิก พระองคไดร บั การยินยอมจากพระเจาใหปกครองศาสนจักรทั้งมวลและสืบทอดมาถึง พระสันตะปาปาเบนนิดิก ท่ี 16 องคปจจุบันเปนองคท่ี 265 คาทอลิกน้ันจะมีนักบวช ทเ่ี รียกวา บาทหลวง และซสี เตอร (แมช ี) ชาวไทยจะเรยี กผูนับถือนิกายน้ีวา “คริสตรัง”

17 ตามเสียงอา นภาษาโปรตเุ กส ผูเผยแพรยุคแรก ๆ มีผูนับถอื นิกายนี้ประมาณ 1,000 ลานคน นิกายนี้ถือวา พระ (บาทหลวง) เปน สือ่ กลางของพระเจา 2. นกิ ายโปรเตสแตนต แยกตัวมาจากนิกายโรมันคาทอลิก ในชวงคริสตศตวรรษท่ี 16 เปน นกิ ายทถ่ี ือวา ศรัทธาของแตละคนท่ีมีตอ พระเจาสาํ คัญกวาพิธีกรรม ซึ่งยังแตกยอย ออกเปนหลายรอยนิกาย เน่ืองจากมีความเห็นแตกตางเก่ียวกับพระคัมภีรและการ ปฏบิ ตั ใิ นพธิ กี รรม นกิ ายนมี้ ีเพียงไมก างเขน เปน เครอื่ งหมายแหง ศาสนาเทา นนั้ มผี ูนับถือ รวมกนั ทกุ นิกายยอ ยประมาณ 500 ลา นคน การเผยแผน กิ ายโรมนั คาทอลิกในประเทศไทย คริสตศาสนาท่ีเผยแผในไทยเปนคร้ังแรกตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งแตรัชสมัยสมเด็จ พระมหาธรรมราชา ประมาณ พ.ศ. 2127 (ค.ศ. 1584) โดยนิกายแรกที่มาเผยแพร คือ นิกายโรมัน- คาทอลกิ ซง่ึ มีทงั้ คณะโดมินกิ ัน (Dominican) คณะฟรังซสิ กัน (Franciscan) และคณะเยซูอิต (Jesuit) บาทหลวงสว นมากมาจากโปรตเุ กสและสเปน โดยเดนิ ทางมาพรอมกับทหารและพอ คา ระยะแรกที่ยงั ถกู ปดก้นั ทางศาสนา มิชชันนารี จึงเนนการดูแลกลุมคนชาติเดียวกัน กระทั่ง รัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ประเทศไทยไดมีสัมพันธภาพอันดีกับฝรั่งเศส ตรงกับรัชสมัย พระเจาหลุยสท่ี 4 ทําใหมีจํานวนบาทหลวงเขามาเผยแผศาสนามากข้ึน และการแสดงบทบาททาง สงั คมมากขึ้นบางก็อยูจนแกห รอื ตลอดชีวติ ก็มี ดานสงั คมสงเคราะห มกี ารจดั ตัง้ โรงพยาบาล ดานศาสนา มีการตั้งโรงเรียนสาํ หรบั สามเณร ครสิ เตียน เพื่อผลิตนักบวชพื้นเมอื ง และมีการโปรดศีลบวชใหนักบวชไทยรนุ แรก และจัดตั้ง คณะภคิณี คณะรกั ไมกางเขน เม่อื ส้ินรชั สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชแลว คริสตศาสนากลับไมไดรับความสะดวกใน การเผยแผศาสนาเชนเดิม เพราะถูกจํากัดขอบเขต ถูกหามประกาศศาสนา ถูกหามเขียนหนังสือ ศาสนาเปนภาษาไทยและภาษาบาลี ประกอบกับพมาเขามารุกรานประเทศไทย บาทหลวงถูกย่าํ ยี โบสถถูกทําลาย มิชชันนารีทั้งหลายรีบหนีออกนอกประเทศ การเผยแผคริสตศาสนายุติในชวงเสีย เอกราชใหพ มา กระทั่ง พระเจาตากสินมหาราช กอบกเู อกราชสาํ เร็จ แมการเผยแผคริสตศ าสนาเริม่ ตน ขนึ้ ใหม แตเพราะประเทศกําลังอยูในภาวะสรางบานเมืองขึน้ ใหม จงึ ไมก า วหนาเทาทคี่ วร เม่ือเขาสูราชวงศจักรีแลว ชาวคริสตอพยพเขามามากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงเปดเสรีการนับถือศาสนาและทรงประกาศ พระราชกฤษฎกี าใหท ุกคนมสี ิทธิในการนับถอื ศาสนาใดก็ได

18 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว แมวาสัมพันธภาพระหวางไทยกับ ฝรั่งเศสไมดีนัก แตพระองคก ็ทรงรบั รองมิสซงั โรมันคาทอลกิ เปนนติ บิ คุ คล ดานสังคมสงเคราะห ในรัชสมัยนท้ี รงพระราชทานเงินทุนในการกอสรางโรงเรียน เกิดโรงเรียน อัสสัมชัญ ใน พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) ภายหลังเกิดโรงเรียนอีกหลายแหง เชน โรงเรียนอัสสัมชัญ- คอนแวนต โรงเรยี นเซน็ ตฟ รงั ซิสซาเวียร และโรงพยาบาลเซนตห ลยุ ส การเผยแพรค รสิ ตศาสนานกิ ายโปรเตสแตนตในประเทศไทย คณะเผยแพรของนกิ ายโปรเตสแตนต กลุมแรกท่ีเขามาประเทศไทยตามหลักฐานที่ปรากฏ คอื ศษิ ยาภบิ าล 2 ทาน ศาสนาจารยคารล ออกัสตัส เฟรดเดอริค กุตสลาฟ เอ็ม.ดี (Rev. Carl Friedrich Augustus Gutzlaff) ชาวเยอรมันจากสมาคมเนเธอรแลนดมิชชันนารี (Netherlands Missionary Society) และศาสนาจารยจ าคอบ ทอมลนิ (Rev.Jacob Tomlin) ชาวอังกฤษ จากสมาคมลอนดอน มิชชันนารี (London Missionary Society) มาถึงประเทศไทย เม่ือวันท่ี 23 สิงหาคม พ.ศ. 2371 (ค.ศ. 1828) ท้ังสองทา นชวยกนั เผยแพรศาสนาดว ยความเขมแข็ง ตอมาจึงมีศาสนาจารยจากคณะอเมริกันบอรด (The American Board of Commissioners for Foreign Missions หรอื A.B.C.F.M.) เขา มา ในบรรดานกั เผยแพรศาสนาน้ัน ผูท่ีมีชื่อเสียง คือ หมอสอนศาสนา แดน บีช บรัดเลย เอ็ม ดี (Rev. Dan Beach Bradley,M.D.) หรือ หมอบรัดเลย (คนไทยมักเรียกวา หมอบลัดเล) ซึ่งเปนเพรส- ไบทเี รยี น ในคณะอเมรกิ นั บอรด เขามากรงุ เทพฯ (ขณะน้นั เรยี กวา บางกอก) พรอมภรรยา เมื่อวันท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2378 (ค.ศ. 1835) ตลอดเวลาที่ทานอยูในประเทศไทยไดสรางคุณประโยชนมากมาย โดยเฉพาะอยางย่ิงทาง การแพทยและการพิมพ ทั้งรักษาผูปวยไขทรพิษและอหิวาตกโรค นําการผาตัดเขามาครั้งแรก การทดลองปลูกฝดาษในประเทศไทย ริเร่ิมการสรางโรงพิมพ เริ่มจากจัดพิมพใบประกาศหามคาฝน และจดั พิมพหนงั สือ “บางกอกกาลนั เดอร” ซ่งึ เปน จดหมายเหตุรายวัน กลา วไดวา ความเชื่อมั่นของ ชาวไทยตอการเผยแผคริสตศาสนา เกิดจากคณะสมาคมอเมริกันมิชชันนารี นําความเจริญเขามา ควบคูไ ปกบั การเผยแผศ าสนา มิชชันนารีท่ีสําคัญอีก 2 กลุม ไดแก คณะอเมริกันแบ็พติสมิชชัน (The Americam Baptist Mission) เปน ผูกอ ตงั้ ครสิ ตจกั รโปรเตสแตนตแหง แรกในกรงุ เทพฯ เมื่อประมาณกลาง ป พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) และจัดพมิ พหนังสอื ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ รวมทง้ั ออกหนังสือพมิ พ “สยามสมยั ” คณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน บอรด (The American Presbyterian Board) เปนอีกกลุมหนึ่ง ท่ีนําความเจริญสปู ระเทศไทย เชน ดร.เฮาส (Samuel R. House) นําการใชอีเทอรเปนยาสลบคร้ังแรก ในประเทศไทย ขณะที่ศาสนาจารยแมตตูน และภรรยา (Rev. and Mrs. Stephen Mattoon)

19 รเิ ร่ิมเปด โรงเรียนแบบเชาไปเยน็ กลบั ซึ่งตอมาไดรวมกับโรงเรียนประจําของมิชชันและพัฒนาตอมา เปน โรงเรียนกรงุ เทพครสิ เตียนวิทยาลยั ในปจจบุ ัน 1.4 ศาสนาพราหมณ - ฮินดใู นประเทศไทย ประวตั ิศาสนา ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู ไมมศี าสนา แตนับถือเทพเจา หลายองค ศาสนานี้เกิดในประเทศอินเดีย เม่อื ประมาณ 1,400 ปก อ นพทุ ธศกั ราช โดยเกิดในสมัยพวกอารยนั อพยพเขา มาอยูในประเทศอินเดีย เมื่อประมาณ 1,400 ปกอนพทุ ธศกั ราช ถือวาเปนศาสนาท่ีเกาแกท่ีสุดในโลกแตเดิมศาสนาน้ีเรียกวา สนาตนธรรม หมายถงึ ธรรมอนั เปน นติ ย คอื ไมส ิ้นสดุ ไมรจู กั ตาย แปลเอาความหมาย คือ พระวิษณุ หรอื เรยี กอีกอยา งหนงึ่ วา วิษณธุ รรม พระวษิ ณุ และพระนารายณ เปน องคเ ดียวกนั พระวษิ ณไุ ดส อนธรรมะและวธิ ีปฏิบตั ธิ รรมแกพระพรหมธาดา และพระพรหมธาดาผูไดส อน สันตกมุ าร ผูเปน บุตรอีกช้ันหน่งึ ตอ มาทั้งสองทานก็ไดส่งั สอนแกพ ระนารถมุนี ผูเปนเทพฤๅษี เพ่ือให เผยแผตอ ไปยงั นานาโลก สาํ หรบั ในโลกมนษุ ย พระอุปเทศกะ คือ ผแู สดงเร่อื งราวทางศาสนา รองลงมาจากนารถมุนี คอื พระกปล มนุ ี ผเู กดิ มาเปน มนุษยมีตัวตนอยใู นโลกไดแสวงธรรมครั้งแรกท่ีวินทุอาศรม ตอมาไดต้ัง อาศรมข้ึนทป่ี ลายแมน ํ้าคงคา ทเี่ รยี กวา กันคงคาสาคร ดังนั้น ในเดือนธันวาคมและมกราคมของทุกป จะมีประชาชนจาํ นวนมากไปจาริกแสวงบุญ ณ ที่ดงั กลาว พระปรมาตมัน เปน พระเจา สงู สุด มอี ุปาสยเทพ อยูสามองค คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศวิ ะ พระปรมาตมนั ไมม รี ปู และไมมตี วั ตน จงึ กลา วกันวา เปน นิรงั การ หรือ นริ ากาล คอื ไมม ีอาการ หรอื ปราศจากอาการ ตอมาเมือ่ พระปรมาตมัน ประสงคจ ะสรางโลกก็เลยกลายเปน สาการภาพ คอื เกิดภาวะอันมี อาการ และเปน สามรูป ไดแ ก พระพรหมธาดา พระวษิ ณุ และพระศวิ ะ พระพรหม เปนผสู รา งโลกตา ง ๆ พระวษิ ณุ เปน ผคู มุ ครองโลกตา ง ๆ พระศวิ ะ เปนผูสังหารหรือทําลายโลกตา ง ๆ เทพเจาของศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู มีอยูเ ปน จํานวนมาก เปน ศาสนาประเภท พหุเทวนยิ ม นบั ถือพระเจา หลายองค แตละเทวสถาน มีเทพเจาแตละองคดูไมออกวาองคไหนสําคัญกวาหรือสูงกวา แตละกลุมนับถือแตละองคบางทีใน ครอบครวั เดยี วกนั แตละคนในครอบครวั ก็นบั ถือเทพตาง ๆ กนั ไป

20 คัมภรี พ ระเวท เปนคัมภรี ท ีป่ ระมวลความรตู าง ๆ อนั เปน ความรูท างศาสนาและส่งิ ศกั ดสิ์ ิทธ์ิ ซ่ึงไดแก บทสรรเสริญ บทสวดออนวอนพิธีกรรม เพ่ือการบูชายัญ เวทมนตรคาถา และกวีนิพนธ อันไพเราะเกย่ี วกับธรรมชาติ ชาวอารยันเม่ือไดครอบครองอินเดยี อยา งมน่ั คงแลว ไดร วบรวมคัมภีรพ ระเวทตามความเชื่อ ในศาสนาของพวกตน คําวา “เวทะ” หรือ “เวท” แปลวา “ความรู” อันหมายถึง ความรูท่ีไมไดเขียนไว เปน ตํารา แตเ ปน ความรทู เี่ กดิ ขึ้นเอง เปน ทิพยท่อี อกมาจากพระพรหม ความรู หรอื เวทะ เกดิ ขึ้นได 2 ทาง ดังน้ี 1. ศรุติ การไดย นิ ไดฟ ง หมายถงึ การไดยินเสียงที่เปนทิพย ผูท่ีไดยินเสียงทิพย คือ ฤๅษี ผูศักด์ิสิทธิ์ พวกฤๅษี ทั้งไดเห็น และทั้งไดยินพระเวท เม่ือไดยินแลวจดจําไวอยาง แมนยํา ตวั อยางเชน พระเวทท้งั 4 2. สมฤติ เปนคัมภีรท่ีแตงเพิ่มเติมภายหลังเพ่ืออธิบายความ หรือประกอบพระเวท ตลอดจนเร่ืองท่ีอางวาไดจดจํามาจากคําบอกเลาตอกันมา เชน คัมภีรธรรมศาสตร คัมภีรอิติทาส และคัมภีรปุราณะ เปนตน ความรู หรือ เวทะ ที่สําคัญท่ีสุดคอื คัมภีร ไตรเวท คัมภรี พระเวทเดิม ไดแ ก ฤคเวท ซงึ่ นบั ไดว าเปนหนังสือที่เกาแกท่ีสุด ตอมาพวกพราหมณ ผูมีหนา ท่ีทําพธิ ีตาง ๆ ไดค ดิ นาํ บทสวดตาง ๆ ในคัมภรี ฤคเวท มารวมไวเปน หมวด ๆ เพือ่ ใหสะดวกแก การคนจึงไดเ กิด มยี ชุรเวท และสามเวท ขึ้นตามลําดับ คัมภีรพระเวท จึงหมายรวมทั้ง 3 คัมภีรและ เรียกชื่อวา “ไตรเวท” และหลังจากนี้ไปเปนเวลาหลายรอยป พวกพราหมณไดแตงคัมภีรขึ้นมาอีก เลมหนึ่งเรียกวา “อถรรพเวท” รวมกันกับคัมภีรเ กาเปน 4 คัมภีร แตคงเรียกรวมกันวา “ไตรเวท” เหมือนเดมิ คมั ภรี ไ ตรเวท มีอยู 4 คัมภรี  ดงั น้ี 1. คมั ภรี ฤ คเวท (Rig Veda) เปนคมั ภีรท ่ีวา ดวยการสวดสรรเสริญและออนวอนเทพเจา ตาง ๆ 2. คมั ภรี ย ชรุ เวท (Yajur Veda) เปนคูมอื พิธีกรรมของพราหมณเ ปนบทรอยแกว อธิบาย พธิ ีประกอบพิธกี รรมและบวงสรวง 3. คมั ภรี สามเวท (Sama Veda) เปน คมั ภีรรวบรวมบทสวดมนต โดยนํามาจากฤคเวท เปน สว นมาก แตง ข้นึ ใหมม ปี ระมาณ 78 บท ใชส ําหรบั สวดในพธิ ีถวายนา้ํ โสมและขบั กลอม เทพเจา 4. คัมภีรอถรรพเวท (Athava Veda) เปนคัมภีรท่ีแตงขึ้นใหมในปลายสมัยพราหมณ เปนคาถาอาคมมนตขลังศักด์ิสิทธิ์ สําหรับทําพิธีขับไลเสนียดจัญไรและอัปมงคลให กลับมาเปนสวัสดิมงคล นาํ ความชัว่ รายไปบังเกิดแกศตั รู

21 คมั ภีรท้งั 4 นี้ องคป ระกอบเหมือนกนั 4 หมวด ตอ ไปนี้ 1. มนั ตระ เปน หมวดท่ีรวบรวมมนตต าง ๆ สาํ หรับเปนบทบริกรรมและขับกลอมออนวอน สดุดีเทพเจา เนอื่ งในพธิ กี รรมบวงสรวง ทําพลกี รรมบูชา 2. พราหมณะ หมวดน้ีเปนบทรอยแกวหรือเรียงความ อธิบายระเบียบการประกอบ พธิ ีกรรมตา ง ๆ ไวอยางละเอียด 3. อารัญญกะ เปนบทรอยแกว ใชเปนตําราคูมือการปฏิบัติของพราหมณ ผูประสงค ดาํ เนินตนเปน วานปรชั สถช ฎิล หรอื ปริพาชก เพ่ือหาความสขุ สงบ ตัดความกงั วลจาก การอยคู รองเรอื น 4. อุปนษิ ัท เปนคัมภีรที่มีแนวคิดทางปรัชญาอยางลึกซ้ึง เปนตอนสุดทายแหงพระเวท คัมภีรนี้เนนเร่ืองอาตมันเทพเจา โลก และมนุษย ถือวา เปนคัมภีรเลมสุดทายของ การศึกษา เปนบทสนทนาโตตอบไดอธิบายถึงธรรมชาติ และจักรวาลวิญญาณของ มนุษย การเวียนวายตายเกิด กฎแหงกรรม และหลักปฏิบัติปรัชญาสังคม ซึ่งเปน การอธบิ ายสาระสาํ คัญของคมั ภรี พ ระเวททง้ั หมด ดงั นี้ 1) ปรมาตมัน คือ วิญญาณดั้งเดิมหรือความเจริญสูงสุดของโลกและชีวิตหรือ จักรวาลซง่ึ เรยี กวา พรหมนั สรรพส่งิ มาจากพรหมัน และในที่สุดก็จะกลับคืนสู ความเปนเอกภาพกับพรหมันปรมาตกับพรหม จึงเปน สิ่งเดียวกนั 2) อาตมันหรือชีวาตมัน เปนสวนอัตตายอยหรือวิญญาณยอย ซ่ึงปรากฏแยก ออกมาอยูในแตล ะคน ดงั นนั้ การที่อาตมนั หรอื ชวี าตมันยอ ยนไ้ี ปรวมกบั พรหมัน หรอื ปรมาตมนั ได จงึ จะพนจากทุกขไ มม ีการเวียนวายตายเกิดอกี ตอไป 3) เร่ืองกรรม การที่ชีวาตมันจะกลับคืนสูพรหมันเปนเอกภาพอมตะไดน้ัน ผูนน้ั จะตอ งบาํ เพญ็ เพยี รทาํ กรรมดีและประกอบพธิ กี รรมตาง ๆ ที่เรียกวา โยคะ คือ กรรมโยคะ ทํากรรมดี ภักติโยคะ มีความภักดีในเทพเจา และชญานโยคะ การศึกษาจนเขา ใจพระเวทอยางถกู ตอง คมั ภีรข องศาสนาพราหมณ - ฮินดู คือ ไตรเวท หรอื ไตรเพท การเผยแพรของศาสนาพราหมณใ นประเทศไทย ศาสนาฮินดูที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมไทยน้ัน คือ ชวงท่ีเปนศาสนาพราหมณ โดยเขามา ที่ประเทศไทยเมื่อใดน้ันไมปรากฏระยะเวลาท่ีแนนอนนัก ประวัติศาสตรสวนมากสันนิษฐานวา ศาสนาพราหมณนี้นาจะเขามากอนสมัยสุโขทัย โบราณสถานและรูปสลักเทพเจาเปนจํานวนมากได แสดงใหเ หน็ ถึงอิทธิพลของศาสนา เชน รูปสลักพระนารายณ 4 กร ถือสังข จักร คทา ดอกบัวสวม

22 หมวกกระบอก เขาใจวานาจะมีอายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี 9 - 10 หรือเกาไปกวาน้ัน (ปจจุบันอยูท่ี พิพธิ ภัณฑสถานแหง ชาติ กรุงเทพมหานคร) นอกจากน้ีไดพบรูปสลักพระนารายณทําดวยศิลา ที่อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี โบราณ สถานที่สําคัญทีข่ ุดพบ เชน ปราสาทพนมรุง จังหวัดบุรีรัมย ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา พระปรางคสามยอด จังหวัดลพบุรี เทวสถานเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ ตอมาในสมัยสุโขทัย ศาสนาพราหมณ ไดเขามามีบทบาทมากข้ึนควบคูไปกับพุทธศาสนา ในสมัยน้ีมีการคนพบเทวรูป พระนารายณ พระอศิ วร พระพรหม พระแมอ ุมา พระหริหระ สวนมากเปนรูปหลอสําริด นอกจากหลักฐานทางศลิ ปกรรมแลว ในดา นวรรณคดี ไดแสดงใหเห็นถึงความเชื่อของศาสนา- พราหมณ เชน ตาํ รับทา วศรจี ฬุ าลักษณ หรอื นางนพมาศ หรือแมแตป ระเพณีลอยกระทง เพ่อื ขอสมา- ลาโทษพระแมคงคา นา จะไดอ ิทธพิ ลจากศาสนาพราหมณ เชน กนั ในสมัยอยุธยาเปนสมัยที่ศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรม ประเพณี เชนเดียวกับสุโขทัย พระมหากษัตริยหลายพระองคทรงยอมรับพิธีกรรมท่ีมีศาสนาพราหมณเขามา เชน พิธีแชงนํ้า พิธีทํานํ้าอภิเษกกอนข้ึนครองราชสมบัติ พิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีจองเปรียง พระราชพธิ ีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตรียัมปวาย เปนตน โดยเฉพาะสมเด็จพระนารายณ- มหาราช ทรงนับถือทางไสยศาสตรมาก ถึงขนาดทรงสรางเทวรูปหุมดวยทองคํา ทรงเครื่องลงยา ราชาวดีสาํ หรบั ตง้ั ในการพระราชพธิ ีหลายองค ในพธิ ตี รียมั ปวาย พระองคไ ดเสดจ็ ไปสง พระเปน เจาถงึ เทวสถานทุก ๆ ปต อมาในสมัยรตั นโกสินทรต อนตน พิธตี าง ๆ ในสมยั อยธุ ยายงั คงไดร บั การยอมรบั นบั ถอื จากพระมหากษัตริยแ ละปฏบิ ตั ติ อ กันมา คือ 1. พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พระราชพิธีนี้มีความสําคัญ เพราะเปนการเทิดพระเกียรติขององคพระประมุข พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดโปรดเกลาฯ ใหผูรูแบบแผนครั้งกรุงเกาทําการคนควา เพื่อจะไดสรางแบบแผนท่สี มบรู ณตามแนวทางแตเดิมมาในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา และเพ่ิมพิธีสงฆเขาไป ซึ่งมี 5 ข้ันตอน คอื 1.1 ขน้ั เตรียมพิธี มีการทําพิธีเสกน้ํา การทําพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏดวงพระราช สมภพ และแกะพระราชลญั จกรประจาํ รัชกาล 1.2 ขั้นพธิ ีเบ้อื งตน มีการเจรญิ พระพุทธมนต 1.3 ขั้นพิธีบรมราชาภิเษก มีการสรงพระมุรธาภิเษก จากน้ันรับการถวายสิริราช สมบตั ิ และเครือ่ งสริ ริ าชกกุธภัณฑ

23 1.4 ข้นั พิธเี บอ้ื งปลาย เสดจ็ ออกมหาสมาคมและสถาปนาสมเดจ็ พระบรมราชินแี ลว เสด็จพระราชดําเนินไปทําพิธีประกาศพระองคเปนศาสนูปถัมภกในพระพทุ ธศาสนา พรอ มท้ังถวายบังคมพระบรมศพ พระบรมอัฐิพระเจาอยูห ัวองคกอนและเสด็จ เฉลมิ พระราชมณเฑียร เสด็จเลียบพระนคร 2. การทาํ นาํ้ อภิเษก พระมหากษัตริยที่จะเสด็จข้ึนเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษก จะตองสรง พระมรุ ธาภเิ ษก และทรงรับนาํ้ อภเิ ษกกอนไดร บั การถวายสริ ิราชสมบัติ ตามตําราพราหมณน้ําอภิเษกนี้ ใชน าํ้ จากปญจมหานที คอื คงคา ยมนุ า มหิ อจิรวดี และสรภู ซ่ึงทําเปนนํ้าท่ีไหลมาจากเขาไกรลาส อันเปนท่ีสถิตของพระศิวะ สมัยรัตนโกสินทรตั้งแตรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ใชน้ํา 4 สระในเขต สุพรรณบุรี คอื สระเกษ สระแกว สระคงคา และสระยมุนา และไดเ พ่ิมน้ําจากแมนาํ้ สําคญั ในประเทศ 5 สาย คือ น้าํ ในแมน าํ้ บางปะกง ตักทบ่ี งึ พระอาจารย แขวงนครนายก น้าํ ในแมน า้ํ เจาพระยา ตกั ทตี่ ําบลบางแกว เขตอา งทอง น้าํ ในแมนาํ้ ราชบรุ ี ตักท่ีตําบลดาวดงึ ส เขตสมุทรสงคราม นาํ้ ในแมนาํ้ เพชรบรุ ี ตักทต่ี ําบลทา ไชย เขตเมอื งเพชรบุรี 3. พระราชพิธจี องเปรยี ง คอื การยกโคมตามประทีปบูชาเทพเจาตรีมูรติ กระทําในเดือนสิบสองหรือเดือนอา ย โดยพราหมณเปน ผูทําพธิ ใี นพระบรมมหาราชวงั พระราชครฯู ตอ งกินถัว่ กินงา 15 วัน สวนพราหมณอ น่ื กินคนละ 3 วัน ทกุ เชาตองถวายน้าํ มหาสงั ขทกุ วนั จนถงึ ลดโคมลง ตอ มสมัยรัชกาลท่ี 4 ไดทรงโปรด ใหเพิ่มพิธีพุทธศาสนาเขามาดวย โดยโปรดใหมีสวดมนตเย็น แลวฉันเชาอาลักษณอานประกาศ พระราชพธิ ี จากนน้ั แผพระราชกุศลใหเ ทพยดา พระสงฆเจริญพทุ ธมนตต อไป จนไดฤ กษแ ลวทรงหล่ัง น้ําสังขและเจิมเสาโคมชัย จึงยกโคมขึ้น เสาโคมชัยนี้ท่ียอดมีฉัตรผาขาว 9 ช้ัน โคมประเทียบ 7 ชั้น ตลอดเสาทานํ้าปูนขาว มหี งสตดิ ลกู กระพรวน นอกจากนี้มีเสาโคมบรวิ ารประมาณ 100 ตน ยอดฉัตร มีผาสขี าวสามช้ัน 4. พระราชพิธีตรยี มั ปวาย เปนพธิ สี ง ทา ยปเกาตอนรับปใ หมของพราหมณ เช่ือกนั วาเทพเจา เสดจ็ มาเย่ยี มโลกทกุ ป จงึ จัดพธิ ตี อ นรบั ใหใ หญโตเปนพิธหี ลวงที่มีมานานแลว ในสมัยรตั นโกสินทรไดจัดกนั อยางใหญโ ตมากระทํา พระราชพธิ ีน้ที เ่ี สาชงิ ชา หนาวดั สุทศั นเ ทพวราราม ชาวบานเรยี กพิธนี ้ีวา “พิธีโลชงิ ชา ” เดมิ พิธนี กี้ ระทาํ ในเดือนอา ยตอ มาเปลีย่ นเปน เดอื นยี่

24 5. พระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนังคัล แตเ ดมิ มาเปนพิธพี ราหมณ ภายหลังไดเ พ่ิมพิธสี งฆ จงึ ทําใหเ กดิ เปน 2 ตอน คอื พิธีพืชมงคล เปน พธิ ีสงฆเริ่มตง้ั แตการนําพนั ธุพ ชื มารว มพิธพี ระสงฆ สวดมนตเย็นที่ทอ งสนามหลวง จนกระท่ังรุงเชา มีการเลยี้ งพระตอ สว นพิธจี รดพระนงั คลั เปนพธิ ีของพราหมณ กระทาํ ในตอนบาย ปจจบุ นั น้ีพธิ ีกรรม ของพราหมณท่ีเขามามีอิทธิพลตอสังคมไทยเริ่มลดบทบาทลงไปมาก เพราะพุทธศาสนาไดเขามามี อิทธพิ ลแทน ทัง้ ในพระราชพิธีและพธิ กี รรมท่วั ๆ ไปในสังคม อยางไรก็ตาม พิธีพราหมณเทาที่เหลืออยู และยังมผี ปู ฏบิ ตั ิสืบกันมา ไดแ ก พธิ โี กนผมไฟ พิธโี กนผมจุก พิธตี ง้ั เสาเอก พิธตี งั้ ศาลพระภูมิ พิธีเหลาน้ี ยังคงมีผูนิยมกระทํากันท่ัวไป ในสังคมสวนพระราชพิธีที่ปรากฏอยู ไดแก พระราชพิธีพืชมงคลจรด- พระนังคลั แรกนาขวัญ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก และพธิ ีทําน้ําอภิเษก เปนตน สําหรับพิธีกรรมในศาสนาฮินดู ซึ่งเปนพราหมณใหมไมใครมีอิทธิพลมากนักแตก็มีผูนับถือ และสนใจรว มในพธิ กี รรมเปนคร้ังคราว ทั้งน้ี อาจเปนเพราะความเชื่อในพระเปนเจาตรีมูรติทั้ง 3 องค ยังคงอิทธิพลควบคูไปกับการนับถือพุทธศาสนา ประกอบกับในโบสถของพวกฮินดูมักจะตั้ง พระพุทธรูปรวม ๆ ไปกับรูปปนของพระผูเปนเจา ทั้งนี้ สืบเนื่องมาจากความเชื่อในเร่ืองอวตารของ พระวิษณุ ทาํ ใหคนไทยทน่ี บั ถือพทุ ธศาสนาบางกลุมนิยมมาสวดออ นวอนขอพรและบนบาน หลายคน ถึงขนาดเขารว มพธิ กี รรมของฮินดจู งึ เขา ลกั ษณะท่ีวา นบั ถือทง้ั พทุ ธทงั้ ฮนิ ดูปนกันไป

25 กจิ กรรมท่ี 1 ใหผ เู รียนศึกษารายละเอยี ดและนาํ มาอภิปรายรวมกนั ในเร่ืองตอไปน้ี 1. พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชกบั พระพุทธศาสนา 2. บคุ คลทมี่ ชี ื่อเสียงและมผี ลงานในการเผยแพรศ าสนาครสิ ตในประเทศไทย เรื่องที่ 2 ความเปน มาของศาสนาในทวีปเอเชยี ทวปี เอเชียเปนแหลง กําเนิดศาสนาทส่ี าํ คญั ของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู และยดู าห ในเอเชียตะวนั ตกเฉียงใต ประชากรสวนใหญนบั ถือศาสนาฮนิ ดกู วา 500 ลานคน ในอินเดียรองลงมา คือ ศาสนาอสิ ลาม มผี ูนับถอื ประมาณ 450 ลานคน นอกจากน้ียังมีลัทธิเตา ลัทธิขงจื๊อ ทแ่ี พรหลายในจีน ลทั ธชิ นิ โตในญีป่ นุ ประเทศฝง แผน ดนิ ใหญใ นทวปี เอเชียจะนับถอื ศาสนาพุทธเปนสวนมาก ประเทศเหลานัน้ คอื ไทย เวียดนาม ลาว กัมพชู า พมา และสงิ คโปร สวนทางดานคาบสมุทรมลายูและหมูเกาะอินโดนีเซีย จะนับถือศาสนาอิสลาม ไดแก ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน สําหรับประเทศฟลิปปนส นบั ถือศาสนาคริสต ประเทศติมอรต ะวนั ออก นั้นก็นับถือศาสนาคริสตเปนหลัก เหมือนกันดังตาราง จาํ แนกดงั ตอ ไปน้ี

26

27 2.1 พทุ ธศาสนาในเอเชยี พุทธศาสนานิกายใหญ 2 นกิ าย คอื เถรวาทกบั มหายาน เถรวาท แปลวา “วาทะของพระเถระ” หมายถึง พระพทุ ธศาสนาแบบดง้ั เดมิ พยายามรักษา พระธรรมวนิ ยั ตามแบบอยางที่พระเถระอรหนั ตสาวกของพระพทุ ธเจา เชน พระมหากัสสปะ พระอุบาลี และพระอานนท ทําสังคายนา คอื รวบรวมจัดระเบียบพระธรรมไว ตามหลักของนิกายนี้ จะไมพยายาม ปรับเปลี่ยนแกไขนิกายนี้ บางทีเรียกวา ทักษิณนิกาย แปลวา นิกายฝายใต เพราะนิกายน้ีตั้งอยูทาง ภาคใตของประเทศอินเดยี จึงไดรับนามตามทิศทางท่ีตั้งอยู อีกอยางมีช่ือท่ีฝายมหายาน ตั้งใหวา หินยาน แปลวา ยานเลก็ หรือยานเลว เพราะนําสัตวใหเ ขาวัฏสงสารไมไ ดเหมือนมหายาน นามน้ีไดมา ในสมยั แขงขนั กนั ระหวา งนกิ าย จึงมกี ารยกฝา ยหนงึ่ กดฝายหนงึ่ และเม่ือป พ.ศ. 2493 มีการประชุม พุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลกคร้ังที่ 1 ในประเทศลังกา ซ่ึงผูแทนที่นับถือพระพุทธศาสนาทุกฝายได รวมมอื กัน เพอ่ื ใหพุทธศาสนาเขมแข็งขนึ้ ท่ีประชมุ จึงลงมติใหเลิกใชคําวา หินยาน ใหใชคําวา เถรวาท แทนตงั้ แตนนั้ มา

28 ประเทศที่นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาท คือ ไทย พมา ลังกา ลาว และเขมร พระพทุ ธศาสนา แบบเถรวาทนี้ ใชพ ระไตรปฎ กเปน ภาษาบาลี อานขอ ความตรงกันแมจ ะพมิ พตวั อกั ษรตางกนั มหายาน แปลวา ยานใหญ เปนนามตั้งข้ึนเพ่ือแสดงวา พุทธศาสนาแบบน้ีสามารถชวยให สัตวขามพนวัฏสงสารไดมาก มีการแกไขดัดแปลงพระธรรมวินัย นิกายน้ีเกิดข้ึนเม่ือพระพุทธเจา ปรนิ พิ พานแลว 100 ป มีการสงั คายนาครั้งที่ 2 เพอ่ื แกไ ขความประพฤติทางวินัยบางขอ และความแตกแยก ความคดิ เห็น ซ่งึ ในภายหลงั บางสว นกลายเปนมหายานไปนกิ ายมหายาน มีนามเรียกวา“อุตตรนกิ าย” แปลวา นิกายฝายเหนือ เพราะตั้งอยูภาคเหนือของอินเดีย บางเรียกวา อาจาริยวาท แปลวา วาทะของ พระอาจารย เปน คาํ คูกับเถรวาท หมายถึง วาทะของพระเถระรนุ แรกทที่ ันเห็นพระพทุ ธเจา สว นอาจาริย- วาท หมายถงึ วาทะของอาจารยรนุ ตอ ๆ มา ประเทศทนี่ บั ถือพระพุทธศาสนาแบบมหายาน คือ ทิเบต เวยี ดนาม จีน เกาหลี และญ่ีปุน นอกจากนี้ยังมีประเทศสิกขิม ภูฏาน ทิเบต ทั้งนิกายเถรวาท และ มหายาน ตางมหี ลักธรรมสว นใหญทีเ่ ขากันได คือ อรยิ สจั เมอ่ื มกี ารจัดตัง้ พทุ ธศาสนิกสมั พนั ธแหงโลก เปน องคร วมของพระพุทธศาสนาทุกนิกายเขาดวยกัน จะสงผลใหเกิดความรวมมือรวมใจกันทํางาน เพ่ือพระพทุ ธศาสนาดีย่ิงขนึ้ ตามหลักฐานของประเทศลังกาวา หลังจากทําสังคายนาพระไตรปฎกคร้ังที่ 3 พระโมคคัลลีบุตร ตสิ สเถระ ภายใตพ ระราชปู ถัมภข องพระเจาอโศกมหาราช ตสิ สเถระดาบส ไดดํารวิ า พระพุทธศาสนา ควรตัง้ โดยชอบในปจ จนั ตประเทศทงั้ หลาย จึงไดส ง สมณทูตไปสูที่ตา ง ๆ ดังนี้คือ 1. พระมธั ณมั ติกเถระไปกษั มีระคนั ธาระ 2. พระมหาเทวเถระไปมหิสณั ฑละ แควนไมสอร 3. พระรกั ขิตเถระไปวนวาสีปเทส ทางทิศเหนือแควนกันทระ 4. พระโยนกธัมมรกั ขิตเถระไปอรนั ตปเทศ แควนคุชราต

29 5. พระมหาธัมมรักขติ เถระไปมหารัฐ แควน มรถะ 6. พระมหารกั ขิตเถระไปโยนกปเทศ อาณาจักรกรกี 7. พระมัชฌมิ เถระไปหิมวันตปเทศ แขวงหมิ าลัยทิศเหนือ 8. พระมหามหนิ ทเถระไปตามพปณ ณิ เกาะลังกา 9. พระโสณเถระอุตตรเถระไปสุวรรณภูมิ (เอเชียอาคเนย) ดินแดนสวุ รรณภูมนิ ั้นตามหลกั ฐานของจนี หลักฐานของปโตเล มีที่เดินทางมาสูเอเชียอาคเนย ในอดีตกาล คือ ดินแดนสวุ รรณภูมิ ประกอบกับวัฒนธรรมอินเดียโบราณวัตถุ โบราณสถาน เทวรูป ศิลาจารึกโบราณตา ง ๆ เปนศนู ยกลางทพ่ี ระอุตตระเถระ มาเผยแผศาสนาพทุ ธ กลาวไดวา ศาสนาพุทธ รงุ เรืองมาตัง้ แตพ ุทธศตวรรษท่ี 3 และรงุ เรอื งมาตงั้ แตต น ครสิ ตศตวรรษมา ดนิ แดนสวุ รรณภูมมิ ีหลักฐานวัฒนธรรมทางพทุ ธศาสนาแยกเปน 6 มณฑล คอื 1. ภาคตะวันออกประเทศจัมปา ดินแดนของจามในอดีตมีหลักฐานเปนพระพุทธรูปสัมฤทธ์ิ ศลิ ปกรรมแบบอมราวดีทีเ่ มืองดุงเคอื ง จงั หวัดกวางนาม พทุ ธศตวรรษที่ 3 หรอื ท่ี 4 2. ภาคตะวันออกกลาง ประเทศกัมพูชา ปจจุบันมีศิลาจารึกเกาแกที่สุด ในคริสตศตวรรษ ที่ 2 - 3 และพระพทุ ธรปู จาํ นวนมาก 3. ภาคตะวันตกตอนกลาง (ดินแดนมอญกับเขมร) ดินแดนประเทศไทยปจจบุ ันมีวงลอ จารึกวา “เยธมฺมา...” ท่ีโบราณสถานของนครปฐม พบศิลปกรรมแบบอมราวดี คริสตศ ตวรรษที่ 3 หรอื 4 มีพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ท่จี ังหวัดนครราชสีมา 4. ภาคตะวนั ตกประเทศมอญ ประเทศพมา ปจ จุบันมลี านทองหลายแผน จารกึ วา “เยธมมฺ า...” อยทู มี่ าซา และมองกาน ใกลเมืองโปรม 5. แหลมมลายูมีหลักฐานของจีนกลาววามีรัฐเล็ก ๆ ถือตามวัฒนธรรมอินเดียต้ังแต ครสิ ตศ ตวรรษที่ 2 6. หมเู กาะมีศิลาจารึกหลายแหง ท่ีเมอื งกไุ ตและทภ่ี าคตะวนั ตกของหมเู กาะชวา ภูมิภาคท้ัง 6 แหง เปนศูนยกลางท่ีพระโสภณเถร ไดเพาะหวานพืชสัมมาทิฏฐิ คือ พระพุทธศาสนาใหลงรากแกว จนปจจุบันนี้ประชาชนของประเทศเหลานี้นับถือศาสนาพุทธ เปนศาสนาชนะทกุ ขในโลกน้ี การเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาประเทศตา ง ๆ ในทวปี เอเชีย 1. พระพทุ ธศาสนาไปสูป ระเทศลงั กา เมอ่ื พระเจาอโศกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัตินั้น ประมาณ พ.ศ. 218 ตอมาอกี 16 ปห รอื 17 ป คอื ระหวาง พ.ศ. 233 - 235 จึงมีการทํา สังคายนาคร้ังที่ 3 เม่ือทาํ สงั คายนาเสร็จแลวพระเจา อโศกไดท รงสงสมณทตู ไปเผยแผ

30 พระพุทธศาสนาในประเทศตาง ๆ รวมหลายสายดวยกัน โดยเฉพาะไดทรงสงพระมหินท- เถระ ผเู ปนพระราชบตุ รไปประกาศศาสนาในลงั กาทวปี ซึง่ เปน ผลใหพระพุทธศาสนา ประดษิ ฐานมัน่ คงในประเทศลงั กาจวบจนปจ จุบนั นี้ 2. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศพมา พุทธศาสนิกชนชาวพมามีความเชื่อกันวา พระโสณะกับพระอุตตระสมณทูตของพระเจาอโศกมหาราช ซ่ึงเดินทางไปเผยแผ พระพุทธศาสนาทสี่ ุวรรณภมู นิ นั้ กค็ ือ ไปสูเมืองสะเทิม (Thaton) ของพมานั้นเอง เพียงแตวา ในสมัยนนั้ เปนอาณาจกั รมอญหรอื ตะเลง กลาวคือ มอญหรอื ตะเลงครอบครองเมอื งพะโค (หรือเปกหู รือหงสาวดี) และเมืองสะเทิม (หรอื สุธัมมาวดี) แตน ักประวัติศาสตรบางคน ก็กลาววา พระพุทธศาสนาไปสูประเทศพมาภายหลังพุทธ-ปรินิพพานแลว ประมาณ พันปเศษ คือ จับเอาประวัติศาสตรตอนที่พระเจาอโนรธามังชอ หรืออนุรุทธะ นับถือ พระพุทธศาสนาและเผยแผพ ระพทุ ธศาสนา 3. พระพุทธศาสนาไปสปู ระเทศไทย พุทธศาสนิกชนชาวไทยก็เช่ือคลายชาวพมาวา พระพุทธศาสนาไปสูประเทศไทยครั้งแรกเม่ือพระโสณะและพระอุตตระเดินทางไป ประกาศศาสนาท่ีสุวรรณภูมิและเช่ือวาบริเวณพระปฐมเจดียและใกลเคียงจะเปน สวุ รรณภูมิ เพราะไดขุดพบโบราณวัตถุรุนราวคราวเดียวกับสมัยพระเจาอโศกมหาราช หลายอยางตกลงวาถาเชื่อตามนี้พระพุทธศาสนาก็ไปสูประเทศพมาและไทยไมเกิน พ.ศ. 300 แตน กั ประวตั ศิ าสตรบ างคนก็เช่อื วา พระพทุ ธศาสนาไปสปู ระเทศไทยประมาณ ครสิ ตศ ตวรรษท่ี 1 หรือ 2 คือ ประมาณ พ.ศ. 544 ถึง พ.ศ. 743 4. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศกัมพูชาตามรายงานของผูแทนกัมพูชาตอพุทธศาสนิก สมั พนั ธแ หง โลก พระพทุ ธศาสนาไปสูป ระเทศน้ัน ประมาณศตวรรษที่ 3 แหงคริสตศักราช คือ เม่อื พ.ศ. 743 ปล ว งมาแลว ผูใชน ามวา อาร. ซี.มชุมดา (R.C.Majumdar) ไดเขียน เรือ่ งน้ีไววา การคน พบทางโบราณคดีกับประวัติศาสตรฝายจีนยืนยันตรงกันวาปลาย ศตวรรษที่5 แหงคริสตศักราช คือ ประมาณ พ.ศ. 1000 น้ัน พระพุทธศาสนาไดเจริญ อยูแลวในกัมพูชา แมวาจะไมแพรหลายไปท่ัวประเทศ ฉะน้ัน จึงพอสันนิษฐานไดวา พระพุทธศาสนาคงเขาไปสกู ัมพชู าในป พ.ศ. 743 เปนตน มา 5. พระพทุ ธศาสนาไปสปู ระเทศเวยี ดนามหรือจัมปา ภาคใตของฝง ทะเลตะวันออกของ แหลมอนิ โดจนี ซึ่งเรยี กวา อนั นัม นน้ั ปจ จุบันเรยี กวา เวียดนาม สมยั กอ นเรยี กวา จมั ปา มหี ลกั ฐานวา พระพทุ ธศาสนาไดไ ปประดิษฐานอยูใ นเวียดนามกอนคริสตศตวรรษที่ 3 คือกอน พ.ศ. 744 ถงึ พ.ศ. 843 เหตุผลก็คือ การพบพระพุทธรูปสําริดสมัยอมราวดี ในประเทศนั้น และหลักฐานจากประวตั ศิ าสตรฝายจนี

31 6. พระพุทธศาสนาไปสปู ระเทศจนี ตง้ั แตพ ทุ ธศตวรรษท่ี 6 จนถึงพุทธศตวรรษท่ี 13 จีน เปน ศูนยกลางที่สาํ คญั ของศาสนาพุทธ เมื่อ พ.ศ. 604 สมยั ราชวงศฮ่ัน พระเจามิ่งต่ีทรง สงทูตไปสืบพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และไดพระพุทธรูปพรอมคัมภีร พระพทุ ธศาสนา มีการสรางวดั มาขาว ซึ่งยังคงอยถู งึ ปจ จุบันพุทธศาสนาเจริญรุงเรือง มาในสมัยราชวงศถัง เมืองฉางอาน เปนศูนยกลางสําคัญของพุทธศาสนา และเปนแหลง เผยแผศาสนาพุทธไปยังเกาหลีและญ่ีปุน ตอมาในปลายราชวงศถัง พ.ศ. 1388 จักรพรรดิ- หวูซุง ประกาศใหศาสนาจากตางชาติ ไดแก ศาสนาคริสต ศาสนาโซโรอัสเตอร และ ศาสนาพุทธ เปนศาสนาที่ผิดกฎหมาย และหันไปสนับสนุนลัทธิเตาแทน ในสมัยน้ัน มกี ารทําลายวัด บังคับใหพระภกิ ษุสงฆสึก ความรุงโรจนข องพุทธศาสนาจึงสิ้นสุด แต พุทธศาสนานิกายสุขาวดีและนิกายฌาน ยังคงรุงเรืองมากกลายเปนนิกายเซนในญี่ปุน และนกิ ายฌานมีอทิ ธิพลในราชวงศซอ ง 7. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศเกาหลี พระพุทธศาสนาพรอมท้ังขอเขียนตาง ๆ ใน ภาษาจีนเขา สูประเทศเกาหลี ประมาณป ค.ศ. 372 หรือ พ.ศ. 915 เม่ือราชทูตจีนนํา คัมภรี และภาพวาดไปยังอาณาจักรโคกุรยอ ศาสนาพทุ ธรุงเรืองในเกาหลีนิกายเซนใน พุทธศตวรรษที่ 12 จนกระท่ังถึงยุคของการฟนฟูลัทธิขงจื้อในสมัยราชวงศโซซอน ตงั้ แต พ.ศ. 1935 ศาสนาพุทธจงึ เสื่อมลง 8. พระพทุ ธศาสนาไปสูป ระเทศญ่ปี นุ ญ่ปี นุ ไดร บั พทุ ธศาสนาเม่อื ราวพทุ ธศตวรรษที่ 11 โดยพระภิกษชุ าวเกาหลีนําคมั ภีรและศิลปะทางพทุ ธศาสนาเขาสูญ่ีปนุ เม่อื ศาสนาพุทธ เสื่อมลงในอนิ เดยี เอเชียกลาง จนี และญป่ี นุ ยังคงรกั ษาศาสนาพุทธไวไ ด ตงั้ แต พ.ศ. 1253 เปนตน มา มกี ารสรางวดั และรูปเคารพจาํ นวนมากในเมอื งหลวง คือเมืองนารา พุทธศิลป แบบญ่ีปุน รุงเรืองในชวงพุทธศตวรรษท่ี 13 - 18 ในราวพุทธศตวรรษท่ี 17 - 18 พทุ ธศาสนานิกายเซนรุงเรือง รวมท้ังศิลปะที่สืบเนื่องจากนิกายเซนดวยพุทธศาสนา ยังคงรงุ เรืองในญีป่ นุ จนถงึ ปจจบุ ัน 9. พระพทุ ธศาสนาไปสปู ระเทศทิเบตและในประเทศภูฏาน สิกขมิ ประมาณ พ.ศ. 944 ถึง 1043 มีผูนําคัมภีรพระพุทธศาสนาจากอินเดียไปสูทิเบต แตไมไดรับความสนใจ จนกระท่ังถึงกลางศตวรรษท่ี 7 ประมาณ ค.ศ. 1194 เปนตนไป พระพุทธศาสนาจึง เจรญิ ในประเทศทเิ บต สิกขิม และภูฏาน

32 2.2 ศาสนาอิสลามในทวีปเอเชีย ประเทศสาํ คญั ๆ ในเอเชยี ที่นบั ถือศาสนาอิสลาม คือ สาธารณรฐั ประชาชนบังกลาเทศ แตเ ดมิ เปนชมพูทวีปเชน เดยี วกบั อนิ เดยี และปากสี ถาน เปน ดนิ แดนท่รี ุง เรอื งดว ยศาสนาพราหมณแ ละ ศาสนาพุทธ ตอ มามีพอ คา อาหรับนาํ ศาสนาอิสลามมาเผยแผ ปจ จบุ ันประเทศบงั คลาเทศ มปี ระชาชน 140 ลานคน ประชาชน 88.3% นับถือศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู 10.5% นอกนั้นเปนศาสนาอื่น ๆ เชนเดียวกับประเทศปากีสถาน มีประชากร 159.6 ลานคน ประชาชน 97% นับถือศาสนาอิสลาม ประเทศอินเดยี ประชากรมจี าํ นวนพนั ลานคน นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม จํานวน 11.67% ประเทศอนิ โดนเี ซีย มีพื้นที่เปน เกาะ มีประชากร 215 ลา นคน จาํ นวน 181 ลา นคน นับถือศาสนาอสิ ลาม อินโดนเี ซยี เปน ประเทศทน่ี ับถือศาสนาอิสลามมากทสี่ ุดในโลก รองลงมาคือ ปากสี ถาน 141 ลา นค อนิ เดีย 124 ลานคน บงั คลาเทศ 111 ลา นคน ตุรกี อียิปต อิหราน และไนจีเรีย มี 63 - 61 ลานคน และมาเลเซีย มีผูนับถือ 12 ลานคน จากประชากร 22 ลา นคน ดังนั้น กลาวโดยสรุป กลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียและเอเชียกลาง จํานวน 15 ประเทศ ท่นี ับถือศาสนาอิสลาม และไมใ ชแตป ระเทศที่ใชภาษาอาหรับ เปนภาษากลาง ประเทศตาง ๆ เหลา นี้ คอื อัฟกานสิ ถาน อาเซอรไบจนั บังกลาเทศ บรไู น อนิ โดนีเซยี อิหราน คาซัคสถาน คีรกิสถาน มาเลเซีย มีลดีฟส ปากีสถาน สาธารณรฐั ทาจิกสิ ถาน ตรุ กี เตริ ก เมนิสถาน อซุ เบกสิ ถาน ประเทศในทวีปเอเชียที่ประชากรมุสลิม เปนชาวอาหรับใชภาษากลาง คือ บาหเรน สาธารณรัฐอริ กั รฐั คเู วต สาธารณรฐั เลบานอน ราชอาณาจกั รซาอดุ อี าระเบยี สาธารณรฐั อาหรับซเี รีย สหรฐั อาหรับเอมิเรตส สาธารณรัฐเยเมน นอกจากนี้ ยงั มีประเทศสาธารณรฐั คาซัคสถาน มีประชากร 15 ลา นคน นับถือศาสนาอิสลาม รอยละ 47 ที่เหลือรอยละ 44 นับถือศาสนาคริสต นิกายกรีกออรโธด็อกซ สาธารณรัฐเลบานอน ประชาชนรอยละ 59.7 นับถือศาสนาอิสลาม สาธารณรัฐมัลดีฟส ประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม รัฐสุลตานโอมาน ประชาชนรอยละ 85 นับถือศาสนาอิสลาม รัฐกาตารประชาชนรอยละ 90 นับถือ ศาสนาอิสลาม 2.3 การเผยแพรศ าสนาคริสตใ นเอเชีย ศาสนาครสิ ต เผยแผใ นทวปี เอเชียในสมยั โบราณมาพรอมกบั การคา แตเนอื่ งจากอารยธรรม ในเอเชียมีความเขมแข็งมาก การเผยแผศาสนาครั้งน้ันจึงทําไดนอย ตอมาอารยธรรมตะวันตกมี ความเขมแขง็ ทัง้ ความเจรญิ ดานวตั ถุ การทหาร เศรษฐกจิ และประเพณตี าง ๆ ตองการมีอํานาจทาง เศรษฐกิจมากขึ้น จึงเกิดการลาอาณานิคมเขามาทางเอเชียประเทศที่มีความเขมแข็งทางทะเล คือ องั กฤษ ฝร่งั เศส และตอมาเมื่อมีการพัฒนาการคมนาคมทางอากาศ ประเทศท่ีเร่ิมแผอิทธิพลขึ้นมา คอื อเมริกา รัสเซยี ศาสนาคริสต จึงมีอทิ ธิพลในทวปี เอเชยี มากข้ึน ทีส่ ําคัญ คือ ประเทศฟลปิ ปน ส ซึ่ง

33 อยใู นความยดึ ครองของอเมริกาในชวงสงครามโลกครั้งท่ี 2 ประชาชนฟลิปปนสนับถือศาสนาคริสต รอ ยละ 84 และเกาหลใี ต มีผนู ับถอื ศาสนาครสิ ตม ากข้นึ เวียดนาม และติมอรต ะวันออก นับถอื ศาสนาครสิ ต เกือบทั้งหมดของประเทศ นอกจากน้ีในประเทศอื่น ๆ คือ มาเลเซีย ไทย ญ่ีปุน อินเดีย มีผูนับถือ ศาสนาคริสตอยบู า ง 2.4 ศาสนาพราหมณ - ฮินดใู นเอเชีย ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เปนศาสนาทีเ่ กา แกท ่ีสุดในโลก แลวยังเปนตนแบบของอารยธรรม วัฒนธรรมของโลกเมอ่ื ศึกษาประวตั ศิ าสนาพราหมณ - ฮนิ ดู และศาสนาพุทธในอินเดีย จะเห็นความ รงุ โรจนของศาสนาท้ังสองศาสนา แตกตางกนั ตามยคุ สมยั ตามอิทธพิ ลทส่ี าํ คญั คอื กษตั ริย ปกติแลว ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู รุง เรืองในอินเดยี มาโดยตลอด จนมาถงึ สมยั พทุ ธกาล และตอมาศาสนาพุทธ เสอ่ื มลง และมารุงเรอื งอกี ครง้ั ในสมัยพระเจา อโศกมหาราช และตอมาพทุ ธศาสนาเสือ่ มลงอีกศาสนา- พราหมณ – ฮนิ ดู จงึ ยงั คงรุง เรืองอยูในอนิ เดียมาโดยตลอด ในสมัยโบราณประเทศอนิ เดยี เปน ประเทศทเี่ ขมแข็งทางวฒั นธรรม เปนประเทศมหาอํานาจ ประเทศหนง่ึ ในสมัยนั้นไดติดตอ คาขายกับอินโดนเี ซีย ซึ่งศาสนาฮนิ ดู - พราหมณเขามาสูอินโดนีเซีย เนอ่ื งจากอินโดนเี ซยี เปนประเทศท่ีเปนหมูเกาะ คราวใดท่ีประเทศท่ีมาติดตอคาขาย มีอิทธิพลทําให เจาผูครองประเทศศรัทธา เลื่อมใสนับถือ จะทําใหคนในประเทศนับถือไปดวย ตอมาศาสนาพราหมณ - ฮินดูเสอ่ื มลง มีศาสนาพทุ ธมาแทน ศาสนาพุทธเสอื่ มลงแลว และในปจ จบุ นั คนในอินโดนีเซียสวนใหญ จะนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม กิจกรรมท่ี 2 ใหผ ูเ รียนคน ควาขอมูลเพอ่ื เขียนรายงานและความหนาแนนของจํานวนประชากรของ ประเทศตาง ๆ ทนี่ ับถือศาสนาตา ง ๆ ในทวีปเอเชีย

34

35 เรอื่ งท่ี 3 หลักธรรมของศาสนาตาง ๆ 3.1 หลกั ธรรมของศาสนาพุทธ หลักธรรมของศาสนาพทุ ธ หรอื อาจกลา วส้ัน ๆ วา ศาสนธรรม ไดจ ัดไวเปนหมวดหมู 3 หมวด ดวยกัน เรียกหมวดหมูที่จําแนกจัดในกระจาด หรือตะกรา คือ คําวา “ปฎก” แปลไดอีกอยางวา “คัมภีร” ดังนั้น พระไตรปฎก หมายความวา เปนที่รวบรวมคําส่ังสอนของพระพุทธเจาไวเปน หมวดหมูไมใหกระจดั กระจาย คลายกระจาด หรือตะกรา เปน ที่ใสสง่ิ ของ และ ไตร แปลวา 3 ดังนนั้ ใน 3 ปฎก ประกอบดว ย 1. พระวนิ ยั ปฎ ก วา ดวยวินยั หรือศลี ของภกิ ษภุ กิ ษุณี 2. พระสตุ ตนั ตปฎ ก วา ดวยพระธรรมเทศนาทั่ว ๆ ไป 3. พระอภิธรรมปฎ ก วา ดวยธรรมะลว นหรือธรรมะทีส่ ําคญั ในสมยั ของพระพุทธเจา ยังไมม ีพระไตรปฎก แตเรียกธรรมท่ีพระองคประทานไวมากมาย ตางกาลเวลา สถานท่ี พระสาวกทองจํากันไวได และจัดระเบียบหมวดหมูเปนปฎกตาง ๆ เมื่อ พระพทุ ธเจา ปรินพิ พานแลว จงึ ไดม กี ารสังคายนา หรือตรวจชําระ จัดระเบียบ คําสอนของพระองค เปนหมวดหมดู ว ยการทอง การจารึกในตวั หนงั สือ ดวยการพิมพเ ปนเลม หลกั ธรรมสําหรับชาวพทุ ธ ห ลั ก ศ า ส น า พุ ท ธ เ ช่ื อ เ ร่ื อ ง ก า ร เ วี ย น ว า ย ต า ย เ กิ ด ข อ ง สั ต ว โ ล ก ชี วิ ต เ ป น ทุ ก ข เ ป น ไ ป ตามกฎแหงกรรม ทาํ ดไี ดดที ําชว่ั ไดช ว่ั ภพภูมิท่เี วียนวา ยตายเกดิ ภพภมู ขิ องสัตวโลกมี 3 ภูมิ คอื มนุษย โลก เทวโลก และนรกภูมิ จนกวาสัตวโลกนั้น จะขจัดกิเลสหมดส้ิน และเขาสูโลกพระนิพพาน ไมมกี ารเวียนวายตายเกดิ อีก การปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมของศาสนาพุทธนั้นควรเปน ไปตามลาํ ดบั ช้นั คอื 1. การปฏิญาณตนเปนพทุ ธมามกะ 2. การปฏิบตั ติ นตามศีล 5 3. การปฏบิ ตั ติ นเพ่อื ความพน ทุกข

36 1. การปฏบิ ตั ติ นเปน พทุ ธมามกะ หรอื เรียกวา การปฏบิ ัตติ นถงึ ไตรสรณคมณ นน่ั คอื ปฏญิ าณวาจะนบั ถือพระรตั นตรัยโดย พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉามิ แปลวา ขาพเจา ขอถึงพระพทุ ธเจา เปน ที่พึง่ ในการดาํ เนนิ ชีวติ ธมั มัง สะระณัง คจั ฉามิ แปลวา ขา พเจา ขอถึงพระธรรม เปนทพ่ี ึ่งในการดําเนนิ ชวี ติ สังฆัง สะระณัง คจั ฉามิ แปลวา ขาพเจาขอถงึ พระสงฆเ ปนท่ีพึ่งในการดาํ เนินชีวิต ทุตยิ ัมป พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ แปลวา ขา พเจาขอถึงพระพุทธเจา เปน ที่พ่ึงในการดําเนนิ ชวี ติ แมคร้งั ทส่ี อง ทตุ ิยัมป ธมั มงั สะระณัง คัจฉามิ แปลวา ขาพเจาขอถึงพระธรรมเปน ทพี่ ่งึ ในการดําเนนิ ชีวติ แมค ร้งั ทีส่ อง ทุตยิ มั ป สังฆงั สะระณงั คัจฉามิ แปลวา ขา พเจาขอถึงพระสงฆ เปน ที่พงึ่ ในการดาํ เนินชวี ติ แมครงั้ ที่สอง ตะตยิ มั ป พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ แปลวา ขา พเจา ขอถงึ พระพุทธเจา เปน ทพ่ี ง่ึ ในการดําเนนิ ชวี ติ แมครง้ั ทส่ี าม ตะติยัมป ธมั มงั สะระณัง คจั ฉามิ แปลวา ขา พเจาขอถึงพระธรรม เปน ทพี่ ่งึ ในการดําเนนิ ชีวติ แมค รัง้ ทสี่ าม ตะตยิ ัมป สงั ฆงั สะระณัง คจั ฉามิ แปลวา ขาพเจาขอถึงพระสงฆ เปน ที่พ่ึงในการดาํ เนนิ ชีวติ แมครงั้ ท่ีสาม 2. การปฏิบตั ิตนตามศีล 5 ศีล 5 เปน พน้ื ฐานของพุทธศาสนกิ ชนพึงประพฤตปิ ฏบิ ัติ คอื 1. ปาณาติปาตาเวระมะณสี กิ ขาปะทังสะมาทยิ ามิ แปลวา งดเวนการฆา เบยี ดเบยี น ทํารายรางกายคน และสัตว 2. อะทินนาทานาเวระมะณสี กิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ แปลวา งดเวน จากการถือเอาส่ิงของที่เขาไมใ ห 3. กาเมสุมจิ ฉาจาราเวระมะณสี กิ ขาปะทังสะมาทิยามิ แปลวา งดเวนจากการประพฤติผดิ ในกาม 4. มุสาวาทาเวระมะณสี ิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ แปลวา งดเวนจากการพดู ปด พดู สอเสยี ด พดู เพอ เจอ 5. สุราเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานะเวระมะณสี กิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ แปลวา งดเวน จากสรุ า ยาเสพตดิ ท้ังปวง

37 ศลี 5 มปี ระโยชน คอื 1. เพอื่ ความสงบสขุ ของสงั คม คือ การปอ งกนั การลว งละเมดิ สทิ ธขิ องผอู ืน่ อนั จะสง ผลให เกิดการทะเลาะเบาะแวง ความหวาดระแวง และความวุนวายในสงั คม 2. เพอื่ พัฒนาจติ ใจของผปู ระพฤติ ปฏบิ ตั ติ ามศลี เพราะ ศลี 5 บัญญตั ขิ นึ้ มา เพอ่ื ควบคุม ไมใ หมีการแสดงออกทางกาย หรอื วาจา ไปในทางทตี่ อบสนองอํานาจของกิเลส ในการ ใหศ ีล นน้ั ตอนสดุ ทา ยพระ จะกลาววา สีเลนะสุคะตงั ยนั ตสิ ีเลนะโภคะสัมปะทา สีเลนะนิพพตุ งิ ยันตติ สั มาสลี งั วโิ สธะเย คํากลา วนแ้ี สดงถึง อานิสงสข องการรกั ษาศีล คือ ศีลทําใหผูประพฤติปฏิบัติเขาถึงสุคติ คือ ไปในทางทีด่ ี ศลี กอ ใหเ กิดโภคทรพั ย และศลี นํามาใหไ ดถงึ ความดับ หรอื พระนพิ พาน 3. การปฏิบัติตนเพื่อความพนทุกข ชาวพุทธควรศึกษาธรรมท่ีสําคัญ ๆ คือ อริยสัจ 4 อทิ ธบิ าท 4 ทศิ 6 สัปปรุ ิสธรรม 7 อบายมุข 6 พรหมวิหาร 4 สงั คหวัตถุ 4 และชาวพุทธ ควรบริหารจติ ตามหลักพทุ ธศาสนา 3.1 อริยสัจ 4 คือ ธรรมทีพ่ ระพทุ ธเจา ทรงตรสั รอู รยิ สจั 4 คอื ความจริง 4 ประการ คอื 1) ทุกข คอื ความไมสบายกาย ไมสบายใจ อันเน่ืองมาจากสภาพท่ีทนไดยาก คอื สภาวะทีบ่ ีบค้ันจติ ใจ ความขัดแยง ความไมส มปรารถนา การพลัดพราก จากส่ิงทร่ี ักทีช่ อบใจ 2) สมุทัย คือ เหตุที่ทําใหเกิดความทุกขจากตัณหา หรือความอยาก ความ ตอ งการ มีสาเหตุมาจาก กามตัณหา คือ ความอยากไดในส่ิงทีป่ รารถนา เชน อยากไดบ า น ภวตัณหา คอื ความอยากเปน โนน อยากเปน น่ี วิภวตณั หา คือ ความไมอยากเปนนนั่ ความไมอ ยากเปนน่ี 3) นิโรธ หมายถงึ ความดบั ทุกข คือ การดับตณั หา ความอยากใหสิ้นไป ถาเรา ตัดความอยากไดมากเทาใด ทุกขก็มีนอยลงไปดวย และถาเราดับได ความสุขจะเกิดขนึ้ 4) มรรค หมายถึง ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ไดแก การเดินทางสายกลาง หรือ เรียกอยางหน่งึ วา มรรค มีสวนประกอบ 8 ประการ คือ 1. สัมมาทิฎฐิ คอื ความเห็นชอบ 2. สัมมาสงั กัปปะ คอื ความดํารชิ อบ 3. สัมมาวาจา คอื ความเจรจาชอบ 4. สมั มากัมมันตะ คือ การกระทําชอบ

38 5. สมั มาอาชีวะ คือ การเล้ียงชพี ชอบ 6. สัมมาวายามะ คือ การเพียรชอบ 7. สัมมาสติ คอื การระลึกชอบ 8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจชอบ 3.2 อทิ ธบิ าท 4 เปน ธรรมะทป่ี ฏบิ ตั ิตนในสง่ิ ทมี่ ุงหมายใหพบความสําเร็จ เปนธรรมะ ทใี่ ชกับการศึกษาเลา เรียน การทํางานอาชพี ตา ง ๆ อทิ ธบิ าท หมายถึง ธรรมทใี่ ห บรรลุความสําเร็จ มาจากคําวา อิทธิ คือ ความสําเร็จ บาท คือ ทางวิถีนําไปสู ดงั นั้น อิทธบิ าท จงึ แปลวา วถิ ีแหงความสําเร็จ ประกอบดวย 1) ฉนั ทะ คือ ความพอใจรกั ใครส ง่ิ นั้น เชน รกั ใครใ นการงาน ท่ที ําในวิชาที่เรียน 2) วริ ยิ ะ คอื เพียรหมัน่ ประกอบในสิ่งน้นั มีกําลังใจเขมแขง็ อดทน หนกั เอา- เบาสู 3) จติ ตะ คอื เอาใจใสส ง่ิ นนั้ ไมวางธรุ ะ ตง้ั ใจ จติ ใจจดจอ กับงาน 4) วมิ งั สา คอื หม่ันตรติ รอง พิจารณาเหตุผล ในสิง่ นั้น ปรับปรุง พฒั นาแกไข สงิ่ นั้นได 3.3 ทิศ 6 คอื สิง่ ทีท่ กุ คนทีอ่ ยูรวมกันในสังคมพงึ ปฏบิ ตั ติ อกันในทางทดี่ งี ามรายละเอยี ด คือ 1. ทศิ เบอ้ื งหนา ไดแก บิดา มารดา เปนผูอุปการะบุตรธิดามากอน นับต้ังแต ปฏิสนธใิ นครรภมารดา และประคบประหงมเลยี้ งดู บุตรธดิ า ควรบํารุงบดิ า มารดา ดังน้ี 1) ทานไดเ ลี้ยงเรามาแลว ใหเ ล้ยี งทา นตอบ 2) ชว ยทาํ กจิ ของทาน (ใหสาํ เร็จดว ยด)ี 3) ดํารงวงศส กุล (ใหเปน ท่ีนบั ถือ) 4) ประพฤติตนใหเ ปน คนควรรบั ทรัพยม รดก 5) เมือ่ ทา นลวงลับไปแลว ทาํ บุญอทุ ิศให และบิดา มารดา ควรอนุเคราะหบ ตุ รธดิ า 5 ประการ คอื 1) หา มมิใหท ําช่วั 2) ใหต ั้งอยูใ นความดี 3) ใหศ กึ ษาศลิ ปวทิ ยา 4) หาคูครองที่สมควรให 5) มอบทรัพยใ หต ามเวลาอนั ควร

39 2. ทิศเบื้องขวา ไดแก อาจารย เพราะอาจารยเปนผูอบรมส่ังสอนศิษย ใหรู วชิ าการตา ง ๆ และบาปบุญคุณโทษ ศิษย ควรปฏิบตั ิตอ อาจารย ดังน้ี 1) ดว ยการลุกขนึ้ ตอ นรบั ตอ นรับดว ยความเตม็ ใจ 2) ดว ยเขาไปยนื คอยรบั ใช เมอ่ื ทา นมีกิจธรุ ะไหวว าน 3) ดวยการเช่อื ฟง 4) ดว ยการอุปฏฐาก ดูแลรกั ษา ชว ยเหลอื ตามควร อาจารย ควรอนเุ คราะหศ ษิ ย คือ 1) แนะนาํ ดีใหป ระพฤตดิ ี ประพฤติชอบ 2) ใหเ รยี นดีใหเขาใจดี และถูกตอง 3) บอกศิลปะใหสน้ิ เชิง ไมปด บงั อาํ พราง 4) ยกยอ งใหป รากฏในเพ่ือนฝงู 5) ทําความปอ งกันในทศิ ทั้งหลาย (คือ จะไปทางทศิ ไหนกไ็ มอ ดอยาก) 3. ทศิ เบ้อื งหลงั ไดแก สามี ภรรยา เพราะสามีภรรยาเปนผูมาทีหลังจึงยกไว เปนทิศเบื้องหลัง สามี พงึ บาํ รงุ ภรรยา ดังนี้ คือ 1) ยกยอ งนับถอื วา เปนภรรยา 2) ดว ยการไมด ูหมน่ิ 3) ดวยการไมป ระพฤตนิ อกใจ 4) ดวยการมอบความเปนใหญให 5) ดว ยการใหเ ครอื่ งแตง ตัว ภรรยา พึงอนุเคราะหสามีดังตอ ไปนี้ คอื 1) จดั การงานดี คอื ขยนั หมน่ั ทํากิจการในบา น 2) สงเคราะหคนขา งเคยี งของสามีดีตอ นรบั พูดจาปราศรยั 3) ไมป ระพฤตนิ อกใจ 4) รูจักรักษาทรพั ยที่สามีหามาไดรจู กั เกบ็ ออม 5) ขยนั ไมเกยี จครา นในกจิ การท้งั ปวง 4. ทิศเบ้ืองซาย ไดแก มิตรสหาย เพราะเปนผูชวยเหลือในกิจธุระตาง ๆ ท่ี เกิดขนึ้ ใหสําเร็จ เหมอื นกบั มอื ซายชวยประคองมือขวาใหทํางาน การปฏิบตั ิตนตอมิตร คอื 1) ดว ยการใหแ บงทรัพยส นิ ใหม ติ รตามควร 2) ดวยการเจรจาถอยคําไพเราะ พดู จาออนหวาน มีสาระ

40 3) ดว ยการประพฤติประโยชนชว ยเหลอื แนะนาํ สงิ่ ทเ่ี ปน ประโยชน 4) ดวยความเปนผูมีตนเสมอ ทําตัวเสมอกันกับมิตร ไมแสดงกิริยา เยอหย่งิ จองหองกับมติ ร 5) ไมกลาวใหคลาดจากความจริง จิตใจซื่อตรงสุจริต มีความจริงใจ ไมหวาดระแวงตอมิตร มติ รพึงอนุเคราะหเพอื่ นตอบ ดงั ตอ ไปนี้ คอื 1) รกั ษามิตรผปู ระมาท แลว สกัดกัน้ อนั ตรายไมใหเกิดขึน้ 2) รักษามติ รของผปู ระมาท แลวรกั ษาทรัพยไ มใหเ กิดอันตราย 3) เมื่อมภี ัยเอาเปน ทีพ่ ึง่ ได เปน ทพี่ ึ่งพงิ ได 4) ไมละทิ้งในยามวิบัติ เมื่อมิตรเสื่อมลาภ ยศ ทรัพย สมบัติ ใหความ ชวยเหลือไมท อดทิ้ง 5) นับถือตลอดถงึ วงศญาตมิ ิตร ใหค วามรกั ใครนบั ถือญาติพน่ี องของมิตร เหมือนญาติตนเองดวย 5. ทศิ เบ้อื งลาง ไดแก บาวไพร กรรมกร เพราะเปนผูท่ีตํ่ากวา จึงยอมตนเปน คนรบั ใช นายพึงบาํ รงุ ดงั ตอไปน้ี คอื 1) ดว ยการจัดการงานใหทําตามสมควรแกกําลงั ความสามารถ 2) ดว ยการใหอ าหาร และรางวลั 3) ดว ยการพยาบาล เวลาเจบ็ ไข 4) ดวยการปลอยในสมัย ผอนผันใหหยุดงานตามเทศกาล ตามความ สมควร คนรับใช บา วไพร ควรปฏบิ ตั ติ น ดังตอ ไปนี้ 1) ลกุ ขนึ้ ทํางานกอนนาย 2) เลกิ งานทหี ลงั นาย 3) ถือเอาแตข องทนี่ ายให 4) ทาํ งานใหด ขี ึ้น 5) นําคณุ ของนายไปสรรเสริญ 6. ทศิ เบ้ืองบน ไดแ ก สมณะ พราหมณ ผูที่เปนที่เคารพสักการะทั่วไป เปนผู ปฏบิ ตั ธิ รรมเปน อรยิ สาวกพระพทุ ธเจา เราควรปฏิบัตติ อ สมณะ พราหมณ ดังนคี้ อื 1) ดวยกายกรรม ทาํ สง่ิ ทเี่ ปน ประโยชน

41 2) ดวยวจกี รรม พดู มีสมั มาคารวะ 3) ดวยมโนกรรม คดิ สิ่งใดประกอบดวยเมตตา 4) ดวยความเปนผูไมป ด ประตูตอนรบั ถวายอาหารให 5) ดวยอามสิ ทาน ถวายปจ จยั 4 สมณะ พราหมณ ควรอนเุ คราะหต อบ ดังนคี้ ือ 1) หามไมใ หกระทําชั่ว 2) ใหตั้งอยใู นความดี 3) อนุเคราะหด วยนํ้าใจอนั งาม 4) ใหไดฟง ในสง่ิ ทย่ี ังไมเคยฟง 5) ทาํ ส่งิ ท่ีเคยฟงแลว ใหแ จมแจง 6) บอกทางสวรรคให 3.4 สปั ปรุ สิ ธรรม 7 คือ ธรรมของคนดี 7 อยาง คือ 1) ความเปน ผรู จู ักเหตุ (ธมั มญั ุตา) 2) ความเปนผรู จู กั ผล (อตั กญั ตุ า) 3) ความเปนผรู จู ักตน (อัตตญั ุตา) 4) ความเปน ผรู จู ักประมาณ (มัตตญั ตุ า) 5) ความเปนผรู จู ักกาล (กาลญั ตุ า) 6) ความเปนผรู จู กั ชมุ ชน (ปรสิ ัญตุ า) 7) ความเปนผรู จู ักเลือกบคุ คล (ปุคคลปโรปรญั ตุ า) 3.5 อบายมขุ 6 ละเวนจากอบายมขุ 6 คอื 1) การดืม่ นาํ้ เมา 2) เที่ยวกลางคืน 3) เท่ยี วดูการละเลน 4) เลนการพนัน 5) คบคนชัว่ เปนมติ ร 6) เกียจครา นการทาํ งาน 3.6 พรหมวิหาร 4 คือ ธรรมะของผใู หญท ค่ี วรปฏิบัติ คอื 1) เมตตา คือ ความปรารถนาใหผ ูอนื่ มคี วามสขุ 2) กรณุ า คือ ความปรารถนาใหผ ูอน่ื พน จากความทุกข 3) มุทติ า คือ ความยนิ ดเี มอื่ ผูอ น่ื ไดด ี 4) อุเบกขา คอื การวางเฉยไมล าํ เอียงทาํ ใหเปนกลางใครทาํ ดียอ มไดดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook