คำนำ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านเพื่อรบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS)ประจำปี 2563 ประเภทครูผู้สอนยอดเยยี่ ม การจดั การเรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เปน็ เอกสารทจ่ี ัดทำข้นึ สำหรบั การประเมินการคดั เลอื กเพือ่ ขอรบั รางวลั ทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ของ นายธนวชิ ญ์ แสงราม ตำแหน่งครู โรงเรียนทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ รายละเอยี ดประกอบด้วย ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผู้ ขอรับการประเมนิ คณุ สมบตั เิ บ้ืองตน้ องค์ประกอบเฉพาะดา้ น และองค์ประกอบท่ีเปน็ ตวั ชีว้ ัดรว่ ม ซึ่งได้ นำเสนอรายละเอยี ดตามตัวชี้วัด หวังว่าเอกสารเล่มน้ี จะอำนวยความสะดวกต่อการพจิ ารณาของคณะกรรมการประเมนิ ในการ คัดเลอื กใหไ้ ดร้ บั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจำปี 2563 อย่างดียงิ่ คร้ังนี้ จะเปน็ การ สร้างขวญั และกำลังใจให้ครูมีพลงั ทีจ่ ะรว่ มพฒั นาการศึกษาของชาติให้มคี ุณภาพย่งิ ขึ้นตอ่ ไป นายธนวิชญ์ แสงราม ตำแหน่ง ครู โรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวทิ ย์ สพม.สร
คำรบั รอง รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจำปี 2563 ประเภทครผู ู้สอนยอดเย่ียม การจัดการเรียนรทู้ างไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เป็น เอกสารที่จัดทำขึ้นสำหรับการประเมินการคัดเลือกเพื่อขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) นายธนวชิ ญ์ แสงราม ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นทบั โพธพิ์ ัฒนวิทย์ รายละเอียดประกอบด้วย ข้อมูลท่ัวไปของผู้ ขอรับการประเมิน คณุ สมบัติเบ้ืองต้น องคป์ ระกอบเฉพาะด้าน และองคป์ ระกอบที่เป็นตัวชี้วดั ร่วม ซ่ึงได้ นำเสนอรายละเอยี ดตามตวั ชวี้ ดั ดงั ปรากฏในเลม่ ขอรับรองวา่ ข้อมลู ดังกล่าวข้างตน้ ถกู ตอ้ งและเปน็ ความจริง และขอรับรองวา่ นายธนวิชญ์ แสงราม เปน็ ผู้มีคณุ สมบัติตรงตามทกี่ ำหนดทุกประการ และข้อความทเ่ี ขียนไวใ้ นรายงานพร้อมท้ังเอกสารหลักฐาน ถกู ตอ้ งตามความจรงิ หากตรวจสอบภายหลงั พบวา่ มีคุณสมบตั ิไม่เปน็ ไปตามกำหนด หรือยน่ื เอกสารหลกั ฐาน อันเปน็ เท็จ ให้ถอื ว่าหมดสทิ ธิเข้ารว่ มการประกวด และจะไมเ่ รียกรอ้ งสิทธใิ ดๆ ลงชอื่ ...............................................ผูร้ ายงาน ( นายธนวชิ ญ์ แสงราม) ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ การตรวจสอบและการรับรองของสว่ นราชการต้นสงั กดั ได้ตรวจสอบและรับรองว่าขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง และเปน็ ความจรงิ ลงชือ่ ................. ..............................ผรู้ ับรอง ( นายพิทักษ์ ทวีแสง ) ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ ผ้บู งั คบั บัญชา วนั ท่ี 2 กนั ยายน 2564
สารบญั เรือ่ ง หนา้ คำรบั รอง ก คำนำ ข สารบญั ค แบบประวัติครผู ู้สอนยอดเยย่ี มท่เี สนอเพ่ือรบั การคัดเลอื ก 1 รางวลั ที่เสนอขอ 1 การประเมนิ เฉพาะดา้ น 1 การประเมนิ ตัวชีว้ ดั เฉพาะ 2 องค์ประกอบท่ี 1 คณุ ภาพ 2 1. ความพร้อมของอุปกรณ์ 2 2. ลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรู้ 2 3. ความเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ทางไกลผ่าดาวเทยี ม (DLTV) ของนวตั กรรม 6 4. การปฏิบัตอิ ย่างต่อเนือ่ ง 9 5. มีนวตั กรรม 12 6. คุณลกั ษณะของนวัตกรรม 15 7. คณุ ภาพขององค์ประกอบในนวตั กรรม 20 8. การออกแบบนวัตกรรม 36 9. ประสิทธิภาพของนวัตกรรม 63 10. การได้รบั การยอมรับในวงวิชาการ 69 ตัวชี้วดั เฉพาะ : องค์ประกอบท่ี 2 คณุ ประโยชน์ 71 1. ความสามารถในการพฒั นา 71 2. ความเป็นกระบวนการการจดั การเรยี นรทู้ างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ของนวัตกรรม 76 3. ประโยชนต์ อ่ นกั เรยี น 78 4. ประโยชน์ของนวตั กรรมในการแก้ปัญหาหรอื พฒั นาคณุ ภาพของกลุม่ เปา้ หมาย 80 ตวั ชวี้ ดั เฉพาะ : องคป์ ระกอบท่ี 3 ความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ 81 1. ความคิดสรา้ งสรรค์ 81 2. จดุ เด่นของนวัตกรรม 82
สารบัญ(ตอ่ ) หนา้ เรือ่ ง 83 ตัวช้ีวดั เฉพาะ : องค์ประกอบท่ี 3 ความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ 87 3.ผู้นำทางวชิ าการ 88 4. การใชเ้ ทคโนโลยี 88 การประเมินตวั ชี้วัดรว่ ม 88 องค์ประกอบท่ี 1 ผลที่เกิดกบั ผ้เู รยี น 90 91 1. ผลท่ีเกิดกับ ผ้เู รยี น 92 1.1 ดา้ น คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ 93 1.2 ผลงาน / ชน้ิ งาน / ภาระงาน / ผลการปฏบิ ัติงาน 93 1.3 การเผยแพร่ผลงานนกั เรยี น 93 1.4 การไดร้ ับ รางวัล / ยกยอ่ ง เชดิ ชู 93 องคป์ ระกอบที่ 2 ผลการพฒั นาตนเอง 93 1. เป็นแบบอยา่ งและเป็นทีย่ อมรับจากบุคคลอื่น ๆ 1) พัฒนาตนเองในด้านคุณธรรม จริยธรรม 94 2) ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 94 3) นอ้ มนำแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดกิจกรรม 94 การเรียนการสอนจนได้รับการยอมรับหรอื การยกย่องเชิดชจู ากหน่วยงาน/ 95 องค์กรภาครฐั ระดับเขต/จังหวดั 96 4) นอ้ มนำแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในการจัดกจิ กรรม 96 การเรียนการสอนจนไดร้ บั การยอมรบั หรือการยกย่องเชิดชูจาก 96 หน่วยงาน/องค์กรระดบั ชาติ 96 2. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง 96 ส่วนที่ 1 การได้รับการพฒั นา 96 ส่วนที่ 2 การพฒั นาตนเอง 97 97 องคป์ ระกอบท่ี 3 การดำเนินงาน / ผลงานที่เปน็ เลศิ 97 1. การนำองคค์ วามรูจ้ ากการได้รบั การพัฒนา หรอื การพฒั นาตนเองไปใช้ประโยชน์ 97 1) นำไปพฒั นาผูเ้ รียนแบบองคร์ วมได้ ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการและเจตคติ 98 2) นำไปบรู ณาการกับหนว่ ย/เรื่องอืน่ ๆ ได้ 3) นำไปใช้บูรณาการกับรายวชิ าอืน่ ๆ ได้ 4) นำไปใชเ้ ป็นต้นแบบเผยแพรข่ ยายผลได้ 5) เช่ือมโยง/นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 2. การแกป้ ัญหา /การพัฒนาผ้เู รียน 1) การแก้ปญั หา / พัฒนาผู้เรียนโดยใชก้ ระบวนการวิจยั ในช้ันเรียน 2) การแก้ปัญหา / พฒั นาผเู้ รียนโดยใชน้ วัตกรรมทางการเรยี นการสอน 3) การแก้ปญั หา/พฒั นาผเู้ รยี นโดยใชร้ ะบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียน
1 รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน เพือ่ ขอรับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน ……………………………………… ช่อื รางวลั ทเี่ สนอขอ ครูผูส้ อนยอดเย่ยี ม การจดั การเรยี นรทู้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ชือ่ นายธนวชิ ญ์ แสงราม ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ สังกัด สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร์ ประเภท บุคคลยอดเยย่ี ม สังกดั ระดับปฐวัย ระดับมธั ยมศกึ ษา ระดับขยายโอกาสทางการศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา ดา้ น ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนการสอนยอดเยยี่ ม รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นการสอน ของข้าพเจา้ นายธนวชิ ญ์ แสงราม ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ โรงเรียนทับโพธพิ์ ัฒนวทิ ย์ สงั กัดสำนักงานเขต พน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เพ่ือขอรบั รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ดา้ นนวตั กรรมและ เทคโนโลยีเพอื่ การเรียนการสอนยอดเยย่ี ม ประเภท ครผู ู้สอนยอดเยีย่ ม การจัดการเรยี นร้ทู างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ซึ่งขา้ พเจ้าไดร้ ายงานผลการปฏิบัติงานท่ีสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินในแต่ละองคก์ อบ ดงั ต่อไปนี้ รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
2 2.1 ตวั ช้ีวดั เฉพาะด้าน จำนวน 3 องค์ประกอบ ดงั นี้ องค์ประกอบท่ี 1 คุณภาพ 1. ความพร้อมของอปุ กรณ์ 1. ระยะห่างระหวา่ งจอโทรทศั น์กับท่ีน่งั นักเรยี น ในแถวแรก ระหวา่ ง 1.50-2.00 เมตร 2. การตดิ ตงั้ จอโทรทัศนส์ ูงเหมาะสมกับระดบั สายตา ระหว่าง 1.20-1.50 เมตร 3. นกั เรยี นทกุ คนสามารถมองเห็นจอโทรทศั นไ์ ด้อย่างชัดเจน โรงเรยี นได้ดำเนนิ การติดตง้ั หนา้ จอโทรทัศน์กับระยะห่าง ระดบั ความสูง ของการนง่ั เรียนของผู้เรยี นอย่างเหมาะสม 2. ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ 2.1แผนการรจัดการเรียนรใู้ ชป้ ระกอบการจดั การเรยี นการสอนออกแบบและมีองคป์ ระกอบครบถ้วน ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ โดยได้ศกึ ษารูแบบของการจดั ทำตามคู่มอื การจดั การเรยี นการสอน ทางไกลผ่านดาวเทยี มและทำให้สอดคลอ้ งกบั บริบทของผู้เรียนเพื่อให้เกดิ ประสิทธิภาพมากทีส่ ุด รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
3 2.มกี ำหนดการสอนทแี่ สดงถงึ วิธีการจดั การเรยี นรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ที่หลากหลาย จัดตารางการรบั ชมหรือกำหนดการจัดการเรียนรูท้ างไกลผ่านดาวเทียม โดยอ้างอิงจากการตน้ ทาง ดงั น้ี 2.1 ชอ่ งทางการรบั ชมรายการ - ถา่ ยทอดสดผ่านทางเว็บไซต์ https://www.dltv.ac.th/home ตารางสอน/กำหนดการสอน ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ตารางสอน/กำหนดการสอน ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ตารางสอน/กำหนดการสอน ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 2.2 คมู่ ือครู แผนการจัดประสบการณ์/แผนการจดั การเรียนรู้ สอื่ การจดั การเรียนรู้ http://gg.gg/TeachD LTV รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
4 รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
5 3.รปู แบบการจดั พิมพ์ จัดรปู เล่มแผนการจดั การเรยี นรู้ การนำเสนออย่างนา่ สนใจ มีการจัดเรยี งลำดบั อยา่ งอย่าง เปน็ ขั้นตอนและบนั ทึกหลงั แผนการสอนที่สง่ ผลถึงผู้เรียน รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
6 3. ความเปน็ กระบวนการ การจัดการเรยี นร้ทู างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ของนวัตกรรม 1. การสร้างวิสยั ทัศน์ ความเชอื่ และค่านิยม กระบวนการ การจัดการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550–2554) ได้กำหนดแนวทางการพัฒนา มุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ มีสมรรถนะ ทักษะ ความรู้พื้นฐานที่จำเป็น ตอ่ การดำรงชีวิต ซง่ึ ความจำเป็นในการเปล่ียนแปลงจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้เป็น สังคม คุณธรรม มีความรอบรู้อยา่ งเท่าทัน มีความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สติปัญญาอารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าว ทันการเปล่ียนแปลงเพ่ือนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อยา่ งม่นั คง กระทรวงศึกษาธิการ ได้นำแนวทางดังกล่าวมากำหนดนโยบายพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลก ยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติสุข ซึ่งนำไปสู่ นโยบายการปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552 – 2561) มวี ิสยั ทศั น์ ใหค้ นไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต อยา่ งมีคณุ ภาพภายในปี 2562 ทำให้ต้องมกี ารปฏิรูปการศึกษาและจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบเพือ่ ให้ครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการการศึกษาทุกระดับที่เกี่ยวข้อง มีความเข้าใจ สามารถ นำไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาโดยเฉพาะเรื่องการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การส่งเสริมสนับสนุน การ จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ว่าในการจัดกระบวนการเรียนรนู้ ั้นสถานศึกษา และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งให้ดำเนินการ ตามหมวด 4 แนวการจัด การศกึ ษา มาตรา 24 จดั เน้ือหา สาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงถึง ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้ มา ใชเ้ พื่อปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา จัดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ ฝกึ การปฏบิ ตั ิ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำ เป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนโดย ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้ สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ผ้เู รียนและผู้สอนอาจเรียนรู้ไป พร้อม กนั จากสื่อการเรียนการสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ จดั การเรียนรใู้ ห้เกิดข้นึ ไดท้ ุกเวลา ทุกสถานที่ มี การประสานความรว่ มมือบิดามารดา ผปู้ กครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝ่าย เพอ่ื รว่ มกนั พฒั นาผู้เรียนตามศักยภาพ แต่ในความเปน็ จรงิ แล้วยังมีผู้สอนจำนวนมากที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนให้เปน็ ไป ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 ตามหมวด 4 แนว การจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาตอ้ งยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ และถอื ว่าผู้เรยี นมคี วามสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องสง่ เสริมให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพครู ยังไม่สามารถจัดการเรียนรไู้ ด้อยา่ งครอบคลมุ ทุกประเด็นและยังไมม่ คี ุณภาพทีด่ ีพอ ด้วยมี ขอ้ จำกัด นานปั การจงึ ทำให้คุณภาพการศึกษามีความไมเ่ ทา่ เทียมกัน ไม่เปน็ ไปตามมาตรฐานกำหนด โดยเฉพาะ โรงเรียนขนาดเล็กมกั ถูกต้งั คำถามเร่ืองคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าในการใช้ ทรัพยากร ดงั ท่ี กระทรวงศกึ ษาธิการมีนโยบายยบุ และควบรวมโรงเรยี นขนาดเล็กอยู่เสมอ ซ่ึงถูกวพิ ากษ์วิจารณ์ว่า ยง่ิ ทำให้เกดิ ความไม่ เป็นธรรมและมีความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษาสูงขน้ึ สร้างภาระและต้นทนุ ให้กับผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียที่อยใู่ นพื้นท่ีดอ้ ย โอกาส ดงั น้ันจึงเปน็ ภาระของสถานศกึ ษาท่ีจะต้องให้การดแู ล สนับสนนุ สง่ เสริมและช่วยเหลือนักเรยี น ในด้าน ปจั จัยเบือ้ งต้นในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ด้านบคุ ลากร งบประมาณ รวมท้งั โอกาสตา่ ง ๆ ใหม้ ีมากข้ึน รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
7 โดยเฉพาะอย่างย่ิงความสามารถของครูในการถา่ ยทอดความรู้ใหผ้ ู้เรยี น โรงเรียนขนาดเล็ก จงึ ควรได้รับความชว่ ยเหลือ ดา้ นบุคลากรไม่ใช่เฉพาะด้านปริมาณเท่านนั้ แตต่ ้องช่วยในด้านคุณภาพ ของครไู ปพร้อมกัน สถาบันวิจัยเพื่อการ พฒั นาประเทศไทย (Thailand development research institute: TDRI) ช้ีให้เหน็ ถึงการแกป้ ญั หาคุณภาพ การศึกษาไทย โดยเฉพาะการศกึ ษาระดับขนั้ พื้นฐานยังไม่ สามารถทำใหค้ ุณภาพการศึกษาของประเทศดีข้ึนไดอ้ ย่าง ท่วั ถึง ทั้งหลักสูตรและตำราเรยี นของไทย ยงั ไม่สอดคล้องกับการพฒั นาทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century skills) ซ่งึ มผี ลทำให้การเรียน การสอนตลอดจนการสอบยงั คงเนน้ การจำเน้ือหามากกว่าการเรียนเพือ่ ใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจ อย่าง แท้จรงิ ทั้งนี้เปน็ ผลมาจากการขาดแคลนครู หรือครไู ม่ครบชั้น ไม่ครบสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะครู สอน ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ครมู ีประสบการณ์หรอื ทกั ษะการจดั การเรียนรูน้ อ้ ย ขาด ส่อื อุปกรณ์ที่ทันสมัย และการเข้าถึงได้ลำบาก ครมู ีเวลาจัดการเรยี นการสอนนอ้ ย กิจกรรมของ โรงเรียนมมี าก ทรพั ยากรทม่ี ีกระจัดกระจาย ไมส่ ามารถ นำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่าและ การแกป้ ญั หาต่าง ๆ ก็ทำไดใ้ นวงจำกัด โรงเรยี นในชนบทและโรงเรียน ประจำจังหวัดหรือโรงเรียนใน เขตกรุงเทพมหานคร มีความเหลื่อมล้ำ และแตกต่างกันในด้านคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา อนั เป็นสง่ิ ที่บนั่ ทอนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต ถอื เป็นสงิ่ ทีส่ ะทอ้ นความมนั่ คงของ ประเทศชาติ ประการหนึ่ง ซึ่งสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ได้เสนอแนะแนวทางการปฏิรูป การศึกษาด้านหลักสูตรสื่อ การเรียนการสอนและเทคโนโลยี โดยสนับสนุนให้มีการนำระบบ ICT มาใช้ ให้เหมาะสมกับการพัฒนาการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 (สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน. 2558) การแก้ไขปัญหา เรื่องครู ไม่ครบชั้นหรือไมค่ รบกลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษาได้นำนวัตกรรมเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) มาใช้ในการจัดการศึกษา แนวทางสำคัญที่จะช่วยทำให้การจัดการศึกษามี คุณภาพทัดเทียมกัน ผู้เรียนต้องได้เรยี นรู้ จากผู้ที่มีความรู้ความสามารถในวิชานั้น ๆ โดยเฉพาะ ได้รับการถ่ายทอด การจัดกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งได้รับสื่อต่าง ๆ ที่ถูดจัดเตรียมไว้อย่างเหมาะสม จึงได้เกิดนวัตกรรมการศึกษาใน รปู แบบ การศึกษาทางไกลข้ึน ทำให้ตอบสนองต่อความด้อยโอกาสและความไม่เสมอภาคของผู้เรียนที่อยูห่ ่างไกล เป็น การให้โอกาสทางการศกึ ษาที่เท่าเทยี มกัน อำนวยความสะดวกแก่ผู้เรยี นในแง่ของเวลา และสถานท่ี และมคี วามคุ้มค่า ผูเ้ รยี นไม่จำเปน็ ตอ้ งเข้าชนั้ เรยี นอยู่ในห้องสี่เหลี่ยม แต่สามารถ เรยี นรผู้ ่านส่ือตา่ ง ๆ เช่น ส่ิงพิมพ์ โทรทศั น์ อุปกรณ์ สื่อสาร ได้ตลอดเวลา เป็นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา (ขวัญแก้ว วัชโรทัย. 2549, ดิษฐ์ลดา ปันคำมา. 2551 และ ประสาท วนั ทนะ. 2552) การจดั การศกึ ษาทางไกลและการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ ผู้เรียนมี ความพึงพอใจในประสบการณ์ที่ได้รับ มีความสะดวกสบายในการเลือกช่วงเวลาเรียนและมี ค่าใช้จ่ายน้อย การ ออกแบบการเรียนรู้เป็นแบบเปิดกว้าง มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ผู้เรียนสามารถ เรียนได้โดยไม่กระทบต่องานประจำ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไปในเชิงบวกต่อการเรียนและต่อการทำงาน (Burgess & Russell. 2003, Kutluk & Gulmez. 2012 และ Mays. 2016) หลักการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมเป็นการถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ของ ครูผู้สอนจากห้องเรียนในโรงเรียนวังไกลกังวล หรือ “โรงเรียนต้น ทาง” ส่งตรงไปยังห้องเรียนใน โรงเรียนในพื้นที่ต่าง ๆ หรือ “โรงเรียนปลายทาง” โดยครูจากโรงเรียนต้นทางจัดการ เรียนการสอน ตามตาราง ในขณะที่โรงเรียนปลายทางจะมีการทำกิจกรรมการเรียนการสอนไปพร้อมกัน ในเวลา เดียวกัน มีการถ่ายทอดออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เป็นประจำทุกวัน สามารถรับชมทางโทรทัศน์ผ่านระบบ ดาวเทยี มได้ทั้ง 15 ชอ่ ง นอกจากน้ีทั้งโรงเรียนปลายทาง และประชาชนทกุ กลุ่ม ทกุ เพศ ทุกวยั ยังสามารถเข้าถึงการ จดั การศึกษาทางไกล และรับชมรายการของมูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ไดท้ างเวปไซด์ของมูลนิธิการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม ซึง่ นอกจากจะรับชมรายการได้เช่นเดียวกับ ระบบการถ่ายทอดผ่านดาวเทียมแล้ว ยังสามารถ สบื คน้ รายการย้อนหลังได้ตามตอ้ งการ และสามารถดาวน์โหลดแผนการจัดการเรียนรู้ ใบงาน ส่ือการสอน ไดด้ ้วย และ ยงั มีหอ้ งสนทนา (Web board) ทีผ่ ้รู บั ชมปลายทางสามารถตัง้ กระทู้สอบถามปัญหาการจัดเรียนการสอน ซ่ึงท้ังครูต้น รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
8 ทางและครูปลายทางสามารถเข้ามาตอบปัญหา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ตลอดเวลา (มูลนิธิการศึกษาทางไกล ผ่าน ดาวเทยี ม. 2560) การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ได้ทรง รเิ ริ่มเอาไวต้ ั้งแตป่ ี 2538 มีการปรับระบบการออกอากาศจากเดมิ ท่ีใช้ระบบ SD เป็นระบบ HD ที่มี ประสิทธิภาพสงู มีการปรับ หอ้ งเรียนตน้ ทางให้มีการจัดการเรยี นการสอนท่ีน่าสนใจมากย่ิงข้นึ และ โรงเรียนปลายทางสามารถปรับรูปแบบการ รบั ชมนอกจากชมผ่านทางโทรทัศน์ตามปกติแล้ว ยังสามารถรับชมผ่านระบบอินเทอร์เนต็ เวลาไหนกไ็ ด้ มกี ารจัดทำ แอพพลิเคชัน่ ทม่ี ีเนอ้ื หาหลากหลายให้ เลือกรับชมย้อนหลังได้ ปรับการถ่ายทอดจากเดิมตง้ั แต่ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึงชนั้ มัธยมศึกษา ปีท่ี 6 เป็นตัง้ แตร่ ะดับชั้นอนบุ าลถงึ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เนอ่ื งจากมัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่ มี ครสู อนเฉพาะวิชาอยู่แล้วและเดก็ โตจะมีช่องทางหาความรู้ในด้านอื่น ๆ ได้ (ดาวพงษ์ รัตนสุวรรณ. 2561) มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชปู ถัมภ์ และสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ได้จัดทำมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม เพือ่ ให้โรงเรยี นและผ้ทู ี่ เกี่ยวขอ้ งมีแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซง่ึ ผูท้ ี่มีบทบาทสำคัญในการดำเนนิ งานจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมให้ได้มาตรฐาน ประกอบด้วย ฝ่ายปฏิบัติ ไดแ้ ก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากร ฝ่ายนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล ได้แก่ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถมั ภ์ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พื้นฐาน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด เปน็ ฝ่ายติดตาม ประเมินผล (มูลนธิ ิการศึกษา ทางไกลผา่ นดาวเทียม. 2560) การนำเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมมาช่วยแก้ปญั หาจำนวนครไู ม่เพยี งพอ ครูไม่ครบช้นั ครูจบ ไมต่ รงสาขาวิชาเอก ครูขาดความรู้เฉพาะเร่ืองเฉพาะทางเป็นวธิ ีการหนึง่ ท่เี กิด ประโยชนต์ ่อการเรยี นรู้ของผู้เรยี น การ จัดการเรียนการสอนของครู การบริหารจัดการของผ้บู ริหาร และเกดิ ประโยชน์ต่อชุมชนและผปู้ กครองเปน็ อย่างมาก การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของ โรงเรียนขนาดเลก็ ดว้ ยการบริหารจัดการระบบการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม สามารถช่วยแกไ้ ขปัญหา การขาดแคลนครทู ้ังด้านปริมาณและคุณภาพของครู สร้างความเสมอภาคในการศึกษา เพ่ิม โอกาส การเรียนรู้ให้กับผู้เรยี นทอี่ ย่หู ่างไกล ซ่ึงสอดรับกบั นโยบายการจัดการศกึ ษาของสำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 2. ความเปน็ ผ้นู ำ และการชี้นำกระบวนการ การจัดการเรียนร้ทู างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) โรงเรียทับโพธิ์พัฒนวทิ ย์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ได้นำ TPS Model ยทุ ธศาสตร์ 456 ปจั จยั ส่คู วามสำเรจ็ การพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนทางไกล ดว้ ย DLTV มาใชใ้ นการ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โดยกำหนดกรอบแนวคิด ทิศทางการพัฒนา การติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษาให้สามารถนำไปสกู่ ารปฏิบตั ิในระดบั สถานศึกษาและลงสู่หอ้ งเรียน ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ 3. การปฏบิ ตั ิส่วนบุคคล และการสร้างส่ิงแวดล้อมเชิงบวก สู่กระบวนการ การจัดการเรยี นรู้ทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม (DLTV) การดำเนินการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในโรงเรยี น โดยการบรหิ ารจดั การระบบการศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม(DLTV) ผูศ้ ึกษาได้ศกึ ษาแนวคิดการบริหารจดั การศึกษาโรงเรยี นขนาดเลก็ แนวคดิ การศึกษาทางไกล ผ่าน ดาวเทียมนำมาดำเนินการตามวงจรคุณภาพเดมมิง่ ดังนี้ รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
9 4. การปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง 1. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ สอดคล้องกับการจดั การ เรยี นรทู้ างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กระบวนการในการจัดการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่อื ง มลี ำดบั ขั้นตอนดงั นี้ 1.การเตรียมการสอน การเรียนการสอน 4 การสอนซอ่ มเสรมิ กระบวนการจัดการ 2.การจดั การเรยี นการ เพ่อื พัฒนาศักยภาพ เรียนรู้ สอดคลอ้ งกบั การ สอนของครูปลายทาง จัดการ เรยี นรู้ทางไกล อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ผเู้ รยี น ผ่านดาวเทียม (DLTV) 3.การวัดผลและ ประเมินผล รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
10 ข้ันที่ 1 การเตรยี มการสอนการเรียนการสอน 1.1 จดั เตรยี มหอ้ งเรียนใหเหมาะสม เอื้อต่อ การเรยี นการสอน 1.2 ตรวจสอบสญั ญาณการแพร่ภาพการสอนของโรงเรยี นต้นทาง เพอ่ื ให้สามารถ ดําเนินการจดั การเรยี น การสอนได้ 1.3 เตรยี มส่อื อปุ กรณ์ ใบงาน และเครอ่ื งมือ การวดั ผลและประเมนิ ผล ท่ีสอดคลอ้ งกับ โรงเรยี นต้นทาง 1.4 มีการทาํ ความเข้าใจให้กับนักเรยี นในการ เรียนร้กู ับ DLTV ขั้นที่ 2 การจดั การเรยี นการสอนของครูปลายทางอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2.1 กำกับ ดแู ล ช่วยเหลอื และกระตุ้นให้ นักเรียนมีปฏสิ ัมพนั ธก์ บั กจิ กรรมการเรยี นท่ี สอดคลอ้ งกบั โรงเรยี นต้นทาง 2.2 กระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นจดบนั ทกึ ความรู้ หรือ เนื้อหาทไี่ ด้จากการเรียนการสอนในแต่ละชัว่ โมง 2.3 รว่ มกบั นักเรียนในการสรปุ ความรหู้ ลังจบ บทเรียน 2.4 มีการมอบหมายงานเพอื่ การเรียนในชัว่ โมง ต่อไป 2.5 ตรวจผลงาน และเสนอแนะใหน้ ักเรยี น ปรับปรงุ แกไ้ ข 2.6 บนั ทกึ ผลหลังสอน ขั้นที่ 3 การวัดผลและประเมนิ ผล 3.1 มีการวัดผลก่อนเรียน การวัดผลระหวา่ ง เรียนและการวัดผลหลงั เรยี น 3.2 มกี ารวัดผลปลายปี 3.3 มีการวัดและประเมินตามสภาพจริงดว้ ย วิธีการท่ีหลากหลาย 3.4 มกี ารวิเคราะหผลการวัดและประเมินผลเพ่ือนําไปใช้ในการปรับปรุงและ พฒั นาการจัดการเรยี นการ สอน ขน้ั ท่ี 4 การสอนซอ่ มเสรมิ เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี น 4.1 วเิ คราะหข์ อ้ มูลนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล 4.2 สอนซอ่ ม นอกตารางออกอากาศเพื่อช้วยเหลือนกั เรยี นทีไ่ ม่บรรลจุ ดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ 4.3 สอนเสริม หรอื ให้ความรู้เพ่ิมเตมิ แก่ นักเรียนที่มีความสามารถพเิ ศษ 4.4 บันทกึ ผลการสอนซอ่ มเสริม รายงานสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
11 2. มีเนือ้ หาสาระชัดเจนครอบคลุมประเด็น สามารถนำไป ปฏบิ ัติไดจ้ ริง ตวั อย่างการจดั เนือ้ หาการจดั การเรยี นรู้ 3. มลี ำดบั เนื้อหาเปน็ ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิชดั เจน ปฏบิ ตั อิ ยา่ งต่อเนอ่ื ง รายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
12 5. มนี วัตกรรม 1. การออกแบบนวตั กรรมที่สอดคลอ้ งกับการจัดการเรียนรทู้ างไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาสุรินทร์ กำหนด กรอบแนวคิดในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้ TPS Model ยทุ ธศาสตร์ 654 ปัจจัยสคู่ วามสำเรจ็ การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนทางไกล ดว้ ย DLTV ดงั นี้ 2. เปา้ หมายของนวตั กรรมสอดคลอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) โรงเรียนมกี ารดำเนนิ การดงั นี้ จากนวตั กรรม TPS Model ยทุ ธศาสตร์ 654 ปัจจยั สคู่ วามสำเร็จการพัฒนาคุณภาพการเรียนการ สอนทางไกล ดว้ ย DLTV ทุกโรงเรียน และทุกหนว่ ยงานสามารถนำไปพฒั นาและปรับปรงุ ใช้ในการพฒั นา สถานศกึ ษาของเองได้ โดยมเี ป้าหมายดังน้ี ผลท่เี กดิ กับผู้เรียน มีคุณภาพตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มผี ลการทดสอบระดบั ชาติในระดบั ที่ดีข้ึน DLTV ผลที่เกดิ กับครู มีประสิทธิภาพในการจดั การเรียนร้มู ากข้ึน ลดความเหลอื มลา้ ทางการเรียน ผลทีเ่ กดิ กับโรงเรยี น โรงเรียนเกิดประสิทธิภาพด้านการบรหิ ารการจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนไดร้ ับความไว้วางใจจากหน่วยงานตา่ งๆ ผลทีเ่ กดิ กับชมุ ชน ชมุ ชนให้ความเชื่อมน่ั เกดิ โรงเรียนท่ีมีคุณภาพในชุมชน รายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
13 3. นวัตกรรมมีประสิทธิภาพ มีความสมบูรณ์ และมคี วามแปลกใหม่ สรา้ งสรรค์ การดำเนินการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในโรงเรยี น โดยการบรหิ ารจัดการระบบการศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม(DLTV) ผูศ้ กึ ษาได้ศึกษาแนวคิดการบริหารจดั การศกึ ษาโรงเรียนขนาดเลก็ แนวคดิ การศึกษาทางไกล ผา่ น ดาวเทียมนำมาดำเนินการตามวงจรคุณภาพเดมมิ่ง ดังนี้ รายงานการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี น โดยการบริหารจัดการระบบการศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม (DLTV) มีวัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาสภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น และเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาของโรงเรียนโดยการบริหารจดั การระบบการศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) ผ้วู ิจัยได้ดำเนนิ การ ตามวงจรคณุ ภาพเดมมงิ่ (Deming Cycle) ประกอบดว้ ย 4 ขน้ั ตอน คือ การวางแผน (Plan: P) การ ดำเนินการ (Do: D) การตรวจสอบ (Check: C) และการปรับปรุงงาน (Action: A) มรี ายละเอียดของการ ดำเนนิ การในแต่ละขน้ั ตอน ดงั น้ี ขนั้ ตอนท่ี 1 การวางแผน (Plan: P) ผู้รายงานไดศ้ ึกษาสภาพการจัดการศึกษาของ โรงเรยี น ดว้ ยการ นิเทศ ตรวจสอบเอกสารและการสนทนากลุ่มเพื่อใหไ้ ด้สารสนเทศเก่ยี วกบั สภาพปจั จุบัน ปญั หาและความ ต้องการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น และศึกษาเอกสารเกีย่ วกบั แนวคดิ การ บริหารจัดการศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก เอกสารเก่ียวกบั การจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม นำมากำหนดทิศทางการพฒั นา คณุ ภาพการศึกษา ในขั้นตอนน้ีไดด้ ำเนนิ การดังน้ี 1.1 กลุ่มเป้าหมายคือผู้บรหิ ารโรงเรียนทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ปีการศกึ ษา 2562 จำนวนนกั เรียน 149 คน รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
14 1.2 เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในข้ันตอนนี้ ประกอบไปดว้ ย 1.2.1 แบบสอบถามสภาพปัจจุบนั ปญั หาและความต้องการในการพฒั นาคุณภาพ การศึกษา ของโรงเรยี น มลี กั ษณะเป็นแบบเตมิ คำในช่องว่างและปลายเปิด มี 2 ตอน 1.2.2 แบบบันทึกผลการสนทนากลุ่ม มีลกั ษณะเป็นแบบปลายเปิด จำนวน 1 ประเดน็ 1.3 นำเคร่อื งมอื ไปใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1.4 วเิ คราะห์ขอ้ มูลนำมาสรุป จดั ทำคูม่ ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโดยใชก้ ารศกึ ษา ทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) ใหไ้ ด้มาตรฐาน เพอื่ นำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน 1.5 นำมอื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโดยใช้การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ให้ได้ มาตรฐาน ไป ตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหาโดยผทู้ รงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และปรบั ปรุงแกไ้ ข คู่มอื ฯ ตามคำแนะนำของ ผู้ทรงคุณวุฒิ ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการ (Do: D) 2.1 กลุม่ เป้าหมายคือผู้บรหิ ารและครูผู้สอนโรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวิทย์ สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 ปกี ารศึกษา 2562 ผูบ้ รหิ ารจำนวน 1 คน ครผู ู้สอนจำนวน 16 คน 2.2 เตรยี มการอบรมเพอื่ สรา้ งความรู้ความเข้าใจใหค้ รูผสู้ อนในโรงเรยี น ในการจัดการเรียนการสอน 2.3 จัดทำคมู่ ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ใหไ้ ดม้ าตรฐาน 2.4 ดำเนนิ การอบรมครผู ูส้ อนในโรงเรยี นโดยใชค้ ู่มอื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (DLTV) ให้ได้มาตรฐานเปน็ แนวทางในการขบั เคลอ่ื น 2.5 โรงเรยี นดำเนินการจดั การเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล ผ่านดาวเทียมตาม กระบวนการดำเนนิ การในคมู่ ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกล ผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ใหไ้ ด้ มาตรฐาน ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบ (Check: C) 3.1 กล่มุ เป้าหมายคือผบู้ ริหารและครูผูส้ อนโรงเรียนทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย์ สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 ปกี ารศึกษา 2562 ผบู้ ริหารจำนวน 1 คน ครูผู้สอนจำนวน 16 คน 3.2 เครื่องมอื ทใี่ ช้ในข้ันตอนท่ี 3 ผู้รายงานไดส้ รา้ งและพัฒนาเคร่อื งมือในการเกบ็ รวบรวม ข้อมูลโดย ศึกษาแนวทางการดำเนินการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ของศนู ยพ์ ฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร (2559) นำยุทธศาสตร์ 456 ซงึ่ ประยุกตม์ าเป็นยุทธศาสตรข์ องโรงเรียน และนำมาตรฐานการจดั การศึกษา ทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม ระดบั สถานศกึ ษาและระดับสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา มาเป็นกรอบในการสรา้ งเครอื่ งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบการดำเนนิ การที่เปน็ ไปตามมาตรฐาน ดงั น้ี 3.2.1 แบบนิเทศติดตามการดำเนนิ งานของโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามมาตรฐานและ ตวั ช้ีวดั การ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) มีลักษณะเปน็ แบบตรวจสอบ รายการเพ่อื ประเมนิ มาตรฐาน 4 ด้าน 25 ตวั ชี้วัด กำหนดเกณฑก์ ารพิจารณาและเกณฑ์ การประเมนิ 3.2.2 แบบบันทกึ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น โรงเรยี นทีจ่ ดั การเรียนการสอนโดยใช้ DLTV มี ลกั ษณะเป็นแบบบนั ทึกผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 (O-NET) 3.2.3 แบบบันทกึ ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น โรงเรียนท่จี ดั การ เรียนการ สอนโดยใช้ DLTV มีลกั ษณะเป็นแบบบันทกึ ขอ้ มูลผลการประเมินการอา่ นคิด วิเคราะห์ และ เขียน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 6 รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
15 3.2.4 แบบบันทกึ ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ โรงเรียนทีจ่ ัดการเรียน การสอน โดยใช้ DLTV มีลักษณะเปน็ แบบบนั ทกึ ขอ้ มูลผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 3.2.5 แบบรายงานผลงานทเ่ี กิดจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน DLTV มี ลกั ษณะเป็น แบบสอบถามปลายเปิด มีจำนวน 4 ข้อ 3.2.6 แบบรายงานการติดตามการดำเนนิ งานโครงการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาด้วย เทคโนโลยี การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มลี กั ษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (checklist) และแบบตอบสน้ั มีท้งั หมด 3 ตอน 3.3 นำเคร่ืองมือที่สรา้ งทุกชุดไปดำเนินการหาคุณภาพโดยให้ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา จำนวน 5 คน 3.4 ปรับปรงุ เครอื่ งมือตามคำแนะนำของผทู้ รงคุณวุฒิ จัดทำเคร่ืองมือฉบับทีส่ มบูรณน์ ำไป เกบ็ รวบรวม ข้อมลู จากกลมุ่ เป้าหมาย 3.5 วิเคราะห์ข้อมูล หาค่าสถติ ิ และวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 4 กำรปรับปรุงงาน (Action: A) 4.1 กลุ่มเป้าหมายในข้ันตอนที่ 4 มี 2 กลุม่ คอื 4.1.1 ผบู้ ริหารโรงเรยี นทบั โพธ์ิพัฒนวิทย์ สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33 ปกี ารศกึ ษา 2562 จำนวน 1 คน 4.1.2 ผทู้ รงคุณวฒุ ใิ นการสนทนากล่มุ จำนวน 4 คน 4.2 เครือ่ งมือท่ีใช้ในขั้นตอนนี้ โดยผู้รายงานต้องการตรวจสอบผลเพื่อตอ่ ยอดการ ดำเนินการจงึ ใช้ เครื่องมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูลดงั น้ี 4.2.1 แบบรายงานการถอดบทเรยี นโรงเรียนต้นแบบ DLTV ระดบั เครอื ขา่ ย ท่ีมวี ธิ ีการปฏิบัติที่ เป็นเลศิ มลี ักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิด จำนวน 9 ข้อ 4.2.2 แบบบันทึกการสนทนากลมุ่ (focus group) ประกอบไปดว้ ยประเด็นคำถาม หลัก จำนวน 1 ประเด็น 4.3 เกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามแบบรายงานและจากการสนทนากลุ่ม ของผู้บรหิ ารโรงเรยี น จำนวน 1 โรงเรียน 4.4 วเิ คราะหข์ ้อมูล ข้อมูลเชงิ ปริมาณหาค่าสถิติ และขอ้ มูลเชิงคุณภาพนำมาวิเคราะห์เนื้อหา 6. คณุ ลักษณะของนวัตกรรม 1. มรี ูปแบบนวตั กรรมถกู ต้อง ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรทู้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) รูปแบบทใี่ ชใ้ นการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ DLTV 1.1 ใช้ตามรปู แบบของโรงเรียนต้นทางทุกวิชา ทกุ ระดบั ชัน้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามคมู่ อื โรงเรียนวังไกล กงั วล 1.2 ใช้ตามรปู แบบของโรงเรียนตน้ ทางในบางวิชา ในบางชั้นเทา่ นน้ั 1.3 ใชส้ อนเสริมในบางวชิ าเท่านั้น เช่นคณิตศาสตร์ ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ 1.4 ครปู ระจำชน้ั ใช้สอนเฉพาะวิชาท่ีตนเองไม่ถนดั ในบางวิชา 1.5 มีการพฒั นาและ นำรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนมาประยุกต์ใชเ้ พมิ่ เตมิ นอกเหนอื จาก กจิ กรรมของโรงเรยี นต้นทางเช่น กิจกรรม Active Learning, กิจกรรม Brain Based Learning และ PLC รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
16 1.6 โรงเรยี นมีวางแผนการบริหารจัดการเพอ่ื ใหก้ ารนา DLTV มาใชใ้ ห้เกิดประสทิ ธภิ าพ สงู สดุ เช่น นำวงจร คุณภาพ PDCA การบริหารแบบรว่ มมอื และการนำ DLIT มาใชร้ ่วมกบั DLTV 1.7 โรงเรียนมีการพฒั นานวตั กรรมใหม่ ๆ มาใช้ในโรงเรียนเพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพการนา DLTV มาใช้ให้ได้ผล เปน็ รูปธรรมมากยง่ิ ขึ้น 1.8 ผลการติดตามการดำเนนิ งานโครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษา ทางไกลผ่าน ดาวเทียม 2. นวัตกรรมมีความสอดคลอ้ งกับความรคู้ วามสามารถ ประสบการณ์ วุฒกิ ารศึกษา และการปฏบิ ตั ิงาน ตามหนา้ ที่ ยุทธศาสตรส์ ูค่ วามสำเรจ็ (Key Success Factors) ปัจจัยทนี่ ำไปสู่ความสำเร็จของการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม โดยใช้ยทุ ธศาสตร์ 6 5 4 ขับเคลอื่ นการดำเนนิ งานในระดบั สถานศกึ ษา รายละเอียดดังน้ดี ังนีค้ ือ ครู 6 ขอ้ ปฏิบัติ (Teacher) ไดแ้ ก่ 1. ครตู อ้ งจัดสภาพห้องเรียนใหเ้ หมาะสม เออ้ื ต่อการปฏิบัติกจิ กรรมตามแผนการจัดการเรยี นรู้ 2. ครตู ้องเตรยี มการสอนล่วงหน้า ท้ังสอ่ื วัสดุ อุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้ และกจิ กรรมเสริม ตามทค่ี มู่ ือ ครูสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี มกำหนด รวมทงั้ มอบหมายงานให้นกั เรยี น เตรยี มพรอ้ มในการเรยี นครั้งต่อไป 3. ครตู ้องร่วมจดั การเรียนรู้ไปพร้อมกบั ครโู รงเรียนตน้ ทางและตอ้ งเอาใจใส่ กำกับดูแล แนะนำนกั เรยี น ให้ปฏบิ ัติกิจกรรมการเรยี นทกุ ครงั้ 4. ครูต้องสรปุ สาระสำคัญรว่ มกับนกั เรียนหลังจากกจิ กรรมการเรียนรูส้ ้ินสุดลงและ บันทึกผลการ จดั การเรียนรู้หลงั สอนทุกคร้ัง 5. ครตู อ้ งวดั และประเมนิ ผลเม่อื กิจกรรมการเรยี นรู้สิ้นสุดในแต่ละครัง้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้ ทำให้ ทราบว่าผลการเรยี นรขู้ องนักเรียนบรรลุจุดประสงค์การเรยี นรู้หรอื ไม่ เพื่อปรบั ปรงุ แก้ไขต่อไป 6. ครูตอ้ งจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมนอกตารางออกอากาศ เพอื่ ช่วยเหลอื นักเรียนท่ีไมบ่ รรลุจุดประสงค์ การเรียนรหู้ รอื ให้ความรเู้ พมิ่ เติมแก่นกั เรียน (ศูนยพ์ ัฒนาคณุ ภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล. 2559) ผ้บู ริหาร 5 ข้อ (Principal) ได้แก่ 1. ผู้บริหารสถานศกึ ษาต้องวางแผนการบริหารจัดการอย่างเปน็ ระบบ ส่งเสริม สนบั สนนุ การจัดการ เรียนการสอนทางไกลผา่ น ดาวเทยี มอยา่ งจริงจงั และอ านวยความสะดวกให้ การจัดการเรียนการสอนเปน็ ไป อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและต่อเน่อื ง รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
17 2. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาต้องจัดหาเคร่ืองรบั สัญญาณดาวเทยี มและโทรทัศนข์ นาด เหมาะสมกบั ห้องเรียน และจ านวนนักเรยี น ตดิ ต้งั โทรทัศนใ์ หม้ ีความสงู เหมาะสมกับระดบั สายตา นักเรยี น 3. ผู้บริหารสถานศึกษาต้องจดั หาคมู่ ือครูพระราชทานการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม สำหรบั โรงเรยี น ปลายทาง 4. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาตอ้ งเป็นผู้นำดว้ ยความมุ่งมัน่ และนำพาครทู กุ คน ทกุ ฝา่ ยตระหนักเหน็ ความสำคญั และให้ความรว่ มมือดำเนนิ การอยา่ งจริงจังต่อเนือ่ ง 5. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาต้องนิเทศ ติดตามการจัดการเรยี นการสอนทกุ ห้องเรียนอยา่ งสม่ำเสมอ โรงเรยี น 4 ขอ้ พ้ืนฐาน (School) ได้แก่ 1. สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นและภายในห้องเรยี นต้องสะอาดและเป็นระเบยี บ 2. โทรทัศนข์ นาดเหมาะสมกับห้องเรยี นและจำนวนนกั เรยี น ตดิ ตัง้ โทรทัศนใ์ หม้ ีความสูง เหมาะสมกบั ระดบั สายตานักเรยี น 3. บทบาทของครตู ้องเอาใจใสก่ ำกับดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นกอ่ นเรียน ระหวา่ งเรยี นและหลงั เรียน 4. นักเรียนตอ้ งมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมและตั้งใจเรยี นรู้ พรอ้ มกับนกั เรียนโรงเรยี นไกลกงั วล ครผู ู้รบั ผดิ ชอบเวรประจำวันศกุ ร์ กจิ กรรมขยายผลการจากการพฒั นาตนเอง กจิ กรรมนำนักเรยี นเขา้ รบั รางวัล กจิ กรรมเปิดบ้านวิชาการทับโพธน์ิ ทิ รรศ พระราชทานเยาวขนดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 62 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
18 วทิ ยากรใหก้ ารอบรมแก่เยาวชน เปน็ ตัวแทนของโรงเรียนเขา้ ประกวด กิจกรรมรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ออนไลน์ BEST PRACTIES DLTV ระดบั เขตพ้นื ท่ี การศึกษา กิจกรรมเปิดห้องเรยี นในรายวชิ าสขุ ศกึ ษา กิจกรรมเปดิ หอ้ งเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมวันเฉลมิ พระชนมพรรษา รชั กาลที่ 10 กิจกรรมสง่ เสริมการปอ้ งกันสงิ่ เสพติดในสถานศึกษา รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
19 กจิ กรรมหอ้ งเรียนสีขาว กจิ กรรมปริวาสกรรม ณ วดั สว่างโนนแคน กิจกรรมลกู เสอื โรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวิทย์ กิจกรรมทำ MOU การจัดการเรยี นรู้กบั โรงเรยี น ประเทศกัมพูชา 3.รูปแบบการจัดพิมพ์ จัดเล่มนวตั กรรม การนำเสนอหน้าสนใจ และการเรยี งลำดับอย่างเปน็ ข้นั เปน็ ตอน การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้ TPS Model ยทุ ธศาสตร์ 654 ปจั จยั สคู่ วามสำเรจ็ การพัฒนาคุณภาพการ เรยี นการสอนทางไกล ด้วย DLTV รายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
20 7. คณุ ภาพขององค์ประกอบในนวัตกรรม 1. ความสมบรู ณ์ในเน้ือหารสาระของนวตั กรรม ครบถว้ น ตามกระบวนการ การจัดการเรยี นรทู้ างไกลผา่ น ดาวเทียม (DLTV) การบริหารจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ระดบั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา และ สถานศึกษา การบรหิ ารจัดการศกึ ษาทางไกล มีรูปแบบการบรหิ ารจัดการทป่ี ระสบความสำเรจ็ ในการ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครทู ่ีสอนไมต่ รงกับ วิชาที่ตนเองถนดั หรอื เช่ียวชาญของโรงเรียนขนาดเล็ก ได้ดำเนินพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาการศึกษา โดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) จนประสบความสำเรจ็ ดังแผนภาพที่ 1 และ 2 ต่อไปน้ี ภาพที่ 1 แผนผังการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
21 ภาพท่ี 2 แผนผงั การบรหิ ารจดั การการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลระดับสถานศึกษา การบริหารการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมสู่การปฏบิ ัติ การนำรูปแบบการจดั การ การศกึ ษาทางไกล ผา่ นดาวเทยี ม สู่การปฏิบัติ ซ่งึ ถือเป็น หวั ใจสำคัญของการจดั การเรียนการสอน ให้ประสบความสำเรจ็ มี 5 องค์ประกอบดงั น้ี (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน. 2558 : 6) องค์ประกอบที่ 1 การกำหนดนโยบาย องคป์ ระกอบที่ 2 การขับเคล่อื นและสร้างความเขม้ แข็ง องคป์ ระกอบที่ 3 การจดั การเรียนรู้ องคป์ ระกอบท่ี 4 การนเิ ทศและตดิ ตาม องค์ประกอบที่ 5 การประเมินผลและปรับปรงุ ซ่งึ แตล่ ะองคป์ ระกอบมรี ายละเอยดี ดังน้ี รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
22 องคป์ ระกอบที่ 1 การกำหนดนโยบาย หมายถึง การสร้างหลักการและวธิ ีการ ปฏิบตั ิทเี่ ปน็ แนว ทางการดำเนนิ งานใน การจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลโดยการวเิ คราะห์ สภาพปัจจบุ นั ปญั หา ความต้องการ วางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ กำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โดยใช้กระบวนการมีสว่ นรว่ มจากทกุ ภาค ส่วนให้บรรลุตามเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้ วตั ถุประสงค์ เพ่ือให้ สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษา มี หลักการและวิธกี ารปฏิบัติท่ีเป็นแนวทางในการ ดำเนินงานการจดั การศกึ ษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล แนวปฏิบัติระดบั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา มีข้ันตอนดำเนินการ ดงั นี้ 1. สำรวจ วเิ คราะหค์ วามต้องการจำเปน็ และวเิ คราะห์สภาพปัจจุบัน 2. กำหนดนโยบายในการดำเนนิ งาน 3. ประกาศเปน็ นโยบายของสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาเพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธิท์ าง การเรยี น 4. กำหนดแผนการดำเนนิ งาน 5. ประชมุ ชแี้ จงแผนการดำเนินงานใหแ้ ก่ผทู้ ่ีเกย่ี วขอ้ ง 6. ประเมนิ แผนการดำเนนิ งานในสว่ นทเี่ กีย่ วกบั การจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ท่ีอยู่ ในแผนกลยทุ ธ์และแผนปฏิบตั กิ ารของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 7. การปรบั ปรุงแผนการดำเนนิ งานการจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล เพื่อพัฒนา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ในแผนกลยุทธแ์ ละแผนปฏิบตั กิ ารของสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา แนวปฏิบัติระดับสถานศกึ ษามีขน้ั ตอนดงั น้ี 1. สำรวจ วิเคราะห์ความตอ้ งการจำเป็น และวเิ คราะห์สภาพปัจจบุ นั 2. กำหนดนโยบายของสถานศกึ ษา 3. กำหนดแผนการดำเนินงานไว้ในแผนกลยทุ ธ์และแผนปฏบิ ตั กิ ารของสถานศกึ ษา 4. ประชมุ ช้ีแจงแผนการดำเนินงานแกค่ รู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน และผู้ปกครอง 5. ประเมนิ แผนการดำเนินงานในสว่ นทเี่ กี่ยวกบั การจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล ท่อี ยู่ ในแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั กิ ารของสถานศกึ ษา 6. การปรับปรุงแผนการดำเนินงาน ในแผนกลยุทธแ์ ละแผนปฏิบตั ิการของ สถานศึกษา องค์ประกอบท่ี 2 การขับเคล่ือนและสร้างความเข้มแข็ง หมายถงึ การสร้างความ ตระหนัก และ ความเข้าใจ ในหลักการ แนวคิดของการจัดการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลการบริหารจัดการศกึ ษา และการส่งเสรมิ สนบั สนนุ ทรัพยากรทางการศกึ ษาในการจัดการศึกษาดว้ ย เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ มวี ตั ถปุ ระสงค์ดงั น้ี 1. เพื่อสร้างความตระหนักและความเข้าใจในหลักการ แนวคิดให้บรรลุผลสำเร็จ ตามเป้าหมายให้กบั บคุ ลากรท่ีเก่ียวข้อง 2. เพอ่ื บรหิ ารจัดการการจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 3. เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา ในการจดั การศกึ ษาดว้ ย เทคโนโลยีการศกึ ษา ทางไกลได้อย่างมีประสิทธภิ าพ แนวปฏบิ ตั ิระดับสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามขี ั้นตอนและการดำเนนิ การ ดงั น้ี 1. ประชมุ ชี้แจงสร้างความตระหนักและความเขา้ ใจเก่ียวกับ หลกั การ แนวคิด การบรหิ ารจัดการ บทบาทหน้าทขี่ องผ้เู กย่ี วข้องในการจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล ให้แกบ่ ุคลากรของสำนกั งาน เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครู รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
23 2. พฒั นาครแู ละบคุ ลากร 2.1 พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความรูแ้ ละทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีการศึกษาทางไกล รวมทั้งพัฒนา ความสามารถในการผลิตและใช้สือ่ นวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อพฒั นาการเรยี นการสอนด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ทางไกลโดยการอบรมสัมมนาและประชมุ เชิงปฏิบัติการ 2.2 สง่ เสรมิ และพัฒนาให้ครูทำวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน ดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล ควบค่กู ับการปฏบิ ัตงิ านในสภาวะปกติ 3. สนบั สนุนการจดั การระบบ วสั ดุอุปกรณ์ และสอื่ ในการจดั การศกึ ษาดว้ ย เทคโนโลยีการศกึ ษา ทางไกลแกส่ ถานศกึ ษา 3.1 ให้คำปรกึ ษาแนะนำ ชว่ ยเหลอื ด้านการจดั ระบบและวัสดอุ ุปกรณ์ เทคโนโลยี การศกึ ษา ทางไกลทงั้ ในเรือ่ งการตดิ ตง้ั การใช้ การซอ่ มแซมการปรบั ปรงุ แก้ไขและพฒั นา 3.2 รวบรวมและผลิตสอ่ื การเรยี นรดู้ ว้ ยดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล ทัง้ ในลกั ษณะสือ่ วดี ีทศั น์ ระบบดจิ ิทลั (Digital Video Disc: DVD) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Learning and E - Learning) เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษาได้นำสื่อเหลา่ น้ีไปใชใ้ นการจัด การเรียนการสอน 3.3 จัดทำแนวปฏบิ ัตกิ ารจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล โดยใช้ส่อื การศึกษาทางไกลท้ัง 3 ลกั ษณะ คอื ส่อื การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม สอ่ื วดี ีทัศน์ ระบบดิจิทัล และสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 4. จัดตัง้ ศูนย์ชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษา ทางไกลของ สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา พร้อมบุคลากรประจำศนู ย์ฯ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญทางด้าน เทคโนโลยี 5. ประชมุ ปฏบิ ัติการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรูท้ ส่ี อดคล้องกับ การจัดการศกึ ษา ด้วยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล และใหส้ ถานศึกษาได้นำไปใช้ ได้แก่ 1) แผนการจดั การเรยี นรู้ สำหรบั การจดั การศกึ ษาด้วย เทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล โดยใช้สื่อการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย กลุ่ม สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 2) แผนการจัดการเรียนรสู้ ำหรบั การจัด การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกลโดยใช้ส่อื วีติทัศนร์ ะบบดิจิทัลกล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย กลุ่ม สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และ 3) แผนการจัดการเรียนรู้ สำหรับการจดั การศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลโดยใช้สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ สก์ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย กลมุ่ สาระการ เรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 6. สง่ เสริมการสร้างเครือข่ายเพ่ือสร้างความเข้มแขง็ ในการจดั การศกึ ษาดว้ ย เทคโนโลยี การศึกษา ทางไกลของสถานศึกษา 6.1 สง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ข่ายเพ่ือการพฒั นาการจัด การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล ทั้ง 2 ระดบั ระดับ บุคคล ได้แก่ ครแู ละบุคลากรในโรงเรียนเดยี วกันและโรงเรียนอนื่ ๆ และ ระดบั องค์กร ไดแ้ ก่ กลุม่ โรงเรียน ระหว่างกลุ่มโรงเรยี น รวมท้งั การสร้างเครือขา่ ยเช่อื มโยงกบั หนว่ ยงานภายนอกทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กับการจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษา ทางไกล 6.2 สง่ เสริม สนับสนนุ กิจกรรมของเครือข่าย เช่น การสนับสนนุ งบประมาณ วัสดุ อปุ กรณ์ สอ่ื สถานที่ บคุ ลากร และใหค้ ำปรึกษาแนะนำ 6.3 ส่งเสรมิ การสรา้ งเครอื ข่ายประชาสัมพันธ์ในระดับ โรงเรยี นและระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เพื่อ การประชาสมั พันธข์ ้อมลู ขา่ วสารของโรงเรยี น และเครือขา่ ยในเว็บไซต์ วารสาร จดหมายข่าว หรือสอื่ อ่ืน ๆ รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
24 7. ดำเนนิ การตามแผนการจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลในแผน กลยุทธ์ และ แผนปฏิบัติการในการจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล 8. ประเมนิ ความพงึ พอใจของผทู้ ่ีเกีย่ วข้อง กบั การขบั เคลื่อนและสรา้ งความเขม้ แขง็ ใน การจัดการ ศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 9. ปรับปรุงการส่งเสริมและสร้างความเข้มแขง็ ในการจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล แนวปฏิบัติระดับสถานศกึ ษามีขนั้ ตอนและการดำเนินงานดงั นี้ 1. ประชุมช้ีแจงสรา้ งความตระหนกั และความเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั การ แนวคดิ การบรหิ ารจัดการ บทบาทหน้าทีข่ องครู และบคุ ลากร คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และผู้ปกครองในการจดั การศกึ ษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล 2. จดั หาทรพั ยากรทางการศึกษาเพ่อื สนบั สนุนการจดั การศกึ ษาด้วย เทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล 3. จดั สภาพแวดลอ้ มสำหรบั การจดั การศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล โดยแยก เป็น 3 ลักษณะ ดงั น้ี 3.1 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สอ่ื การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม 3.1.1 จัดหาเครอื่ งรบั สญั ญาณดาวเทยี มและโทรทัศน์ ขนาดเหมาะสมกับห้องเรียน และจำนวน นักเรยี น 3.1.2 ตดิ ต้ังโทรทัศนใ์ หม้ ีความสูงเหมาะสมกบั ระดบั สายตานกั เรียน 3.1.3 จดั หาคูม่ ือครูสอนทางไกลผา่ นดาวเทียมของมูลนิธิ การศกึ ษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม 3.2 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สอื่ วีดที ัศน์ระบบดิจิทลั 3.2.1 จัดหาเครื่องรับโทรทัศนแ์ ละเคร่อื งเลน่ สอื่ วีดทิ ัศนร์ ะบบดจิ ิทลั 3.2.2 ติดต้ังเครอื่ งรับโทรทัศนใ์ หอ้ ยู่ในระดับสายตาของนกั เรยี น 3.2.3 ประสานกับสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาเพื่อขอรับ แผน่ สื่อวตี ิทัศน์ ระบบดิจิทัลท่บี ันทึก จากรายการการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมทุกกลุ่มสาระการเรยี นรตู้ ามระดบั ชั้น 3.3 การจดั การเรยี นการสอนโดยใช้สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ 3.3.1 จัดเตรียมครูและบคุ ลากรเพ่อื เป็นผู้ดูแลระบบ 3.3.2 ออกแบบการจดั แผนผงั และกำหนดตำแหนง่ ในการตดิ ตงั้ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ตามความจำเป็น เหมาะสม และตรงกบั ความต้องการ โดยคำนึงถึงสภาพอาคารสถานท่ขี องโรงเรยี น 3.3.3 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณไ์ ดแ้ กเ่ คร่ืองคอมพวิ เตอร์แม่ข่าย เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ลกู ข่าย โทรทศั น์ อปุ กรณ์แยกสัญญาณ สายสญั ญาณ และอนิ เตอรเ์ น็ต 3.3.4 การติดตงั้ วัสดุอุปกรณ์และระบบใหด้ ำเนนิ การดงั นี้ 3.3.4.1 ติดดังเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายตามจุดที่กำหนด ไว้ในแผนผัง กรณีโรงเรียน มีอินเตอร์เนต็ ให้นำสายสญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็ เชื่อมตอ่ กับเครื่องคอมพิวเตอรแ์ ม่ขา่ ย 3.3.4.2 ติดตังเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client) ในชนั้ เรียน หรือหอ้ งพเิ ศษต่าง ๆ พรอ้ มทัง้ ติดตั้งโทรทศั นต์ ามจุดท่ีกำหนด และต่อสายสัญญาณจากเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ลกู ข่ายกบั โทรทัศน์ เพ่อื ให้สามารถแสดงภาพและเสยี งได้ 3.3.4.3 ติดต้งั อุปกรณ์แยกสญั ญาณตามจุดทก่ี ำหนดไว้ ในแผนผงั 3.3.4.4 เดินสายสัญญาณใหเ้ รียบร้อย จากนั้นทำการ เชื่อมต่อระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอรแ์ มข่ ่าย อุปกรณ์แยกสญั ญาณและ คอมพวิ เตอรล์ ูกขา่ ย รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
25 3.3.4.5 ติดดังระบบปฏิบัติการในเครื่องคอมพวิ เตอร์ แม่ขา่ ยโดยติดตง้ั ระบบปฏบิ ัตกิ ารวนิ โดว์เซิร์ฟเวอร์ 2003 (Windows Server 2003) หรอื วินโดวเ์ ซริ ฟ์ เวอร์ 2008 (Windows Server 2008) หลงั จากติดตั้งระบบปฏิบัตกิ ารเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ จากนั้นติดตัง้ สอื่ ต่าง ๆ เชน่ การสอนทางไกล ผา่ นดาวเทยี มโรงเรยี นไกลกังวล คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) หนังสือ อิเล็กทรอนกิ ส์ สื่อมัลติมีเดยี 3.3.4.6 ติดตังระบบปฏบิ ัติการในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ลกู ขา่ ยตามที่ต้องการซ่งึ อาจเป็น ระบบปฏิบตั ิการ Windows XP หรอื Windows 7 หลงั จากนั้นติดต้ังโปรแกรม ทส่ี นับสนนุ การแสดง ภาพเคล่ือนไหวหรอื ไฟลม์ ัลตมิ ีเดยี ต่าง ๆ เช่น โปรแกรม Flash Player, GOM Player, Windows Media Player หรือ Win Amp เปน็ ตน้ 3.3.4.7 ทดสอบการเช่ือมตอ่ สัญญาณระหวา่ งเครื่องแมข่ ่ายกับเครอื่ งลกู ข่ายโดย ประสานงานกบั ศนู ยช์ ว่ ยเหลือและส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลของ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา 4. พฒั นาการจดั การเรียนการสอน 5. พฒั นาครูดา้ นความร้คู วามสามารถในการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล 6. ดำเนนิ การตามแผนการ ดำเนนิ งานการจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล ในแผนกล ยทุ ธ์และแผนปฏบิ ัติการในการจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล 7. ประเมนิ ความพงึ พอใจของผทู้ เ่ี กีย่ วข้องเก่ียวกบั การขับเคล่อื น และสร้างความ เข้มแขง็ ในการจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล 8. ปรบั ปรุง พฒั นา กระบวนการขับเคลือ่ นและสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการจัด การศกึ ษาดว้ ย เทคโนโลยีการศึกษาทางไกล และกำหนดระยะเวลาสำหรบั การตรวจสอบ ดูแลบำรงุ รกั ษาเครือ่ งรับสัญญาณหรือ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ อย่างสมำ่ เสมอ เพ่ือการใชง้ านอย่างต่อเนอื่ ง ประหยดั และการใช้งานอยา่ งคมุ้ คา่ องค์ประกอบท่ี 3 การจัดการเรยี นรู้ หมายถงึ กระบวนการหรือขนั้ ตอนที่ทำให้ นกั เรียนเกิดองค์ ความรู้และคุณลกั ษณะตามเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษา โดยครแู ละนกั เรียน ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามแนวทาง ของรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลมี วัตถุประสงค์ดังน้ี 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นร้ตู ามหลกั สูตรสถานศกึ ษาจากการจดั การด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล 2. เพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นจากการจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษา ทางไกล แนวปฏบิ ตั ิระดับสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา มีข้ันตอนการดำเนนิ การ ดังน้ี 1. ประชมุ ช้ีแจงสรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกับการจดั การเรียนรู้ดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลใหก้ ับ สถานศึกษา 2. พัฒนาสือ่ การเรียนรู้ นวตั กรรม และกระบวนการเรยี นการสอน ท่เี หมาะสมและมปี ระสิทธิภาพ ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลอย่างตอ่ เนื่อง 3. จัดระบบการบรหิ ารจัดการ การบรกิ าร และการเผยแพร่สือ่ สำหรับการจดั การเรียนรู้ ดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ และสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการและบริบทของ สถานศกึ ษา 4. แลกเปลย่ี นเรียนรู้ สรา้ งองค์ความรู้ และนวัตกรรมดา้ นการจัดการศึกษาด้วย เทคโนโลยีการศึกษา ทางไกล เชน่ การจดั การความรู้ (Knowledge Management: KM) คลงั ความรู้ จัดเวทีเสวนา ประชุมสมั มนา อภิปราย เปน็ ต้น 5. นำเสนอ เผยแพร่องคค์ วามรู้ และนวัตกรรมดา้ นการจดั การศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล ผ่านทางสอ่ื ต่าง ๆ เช่น นิทรรศการ วารสาร จุลสาร จดหมายข่าว เว็บไซต์ เป็นตน้ รายงานสรุปผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
26 แนวปฏิบตั ิระดับสถานศกึ ษา มีข้ันตอนดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สอื่ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 1.1 ศึกษาหลักสูตรสถานศกึ ษา ผงั มโนทัศน์กำหนดการเรยี นรู้ และแผนการเรยี นรู้ ตามคูม่ ือครู สอนทางไกลผา่ นดาวเทยี มสำหรบั โรงเรยี นปลายทาง เพ่อื เตรยี มการจดั การเรียนการสอน ให้ครอบคลมุ เนื้อหา ตามหลักสตู ร 1.2 เตรียมสื่อ วสั ดุอปุ กรณ์ ใบงาน ใบความรู้ และกจิ กรรมเสรมิ ตามค่มู อื ครู สอนทางไกลผ่าน ดาวเทียมและประยกุ ตต์ ามความเหมาะสม กบั ท้องถนิ่ และความจ าเปน็ 1.3 วางแผนการจดั การขัน้ เรยี นให้มีความเหมาะสมกบั การปฏบิ ตั ิ กิจกรรมตาม แผนการจดั การ เรียนรู้ 1.4 ครูจัดกจิ กรรมนำเข้าส่บู ทเรยี น เพื่อเชือ่ มโยงความรเู้ ดิมกบั ความรใู้ หม่ ปฏบิ ัติ กิจกรรมตาม โรงเรียนต้นทางโดยครูกำกับ ดแู ล สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น แนะนำ อธบิ ายเพม่ิ เติมตามความ เหมาะสม ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปบทเรยี น 1.5 วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพอ่ื วเิ คราะห์ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพฒั นาตอ่ ไป 1.6 ครูจัดกิจกรรมสอนซอ่ มเสรมิ นอกตารางออกอากาศ เพ่ือช่วยเหลอื นกั เรียนท่เี รยี นร้ไู ม่ทันตามการ สอนของครูตน้ ทาง หรือไม่ผ่านจุดประสงค์ และใหค้ วามรเู้ พิ่มเตมิ เพ่ือให้ ครอบคลมุ เนือ้ หาสาระตามหลักสตู ร สถานศึกษา 2. จัดการเรยี นการสอนโดยใชส้ อื่ วีดีทัศน์ระบบดิจทิ ลั 2.1 ศึกษาหลกั สตู รสถานศึกษา ผังมโนทศั น์ กำหนดการเรยี น และแผนการจัดการ เรียนตามคู่มอื ครู สอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำหรับโรงเรียนปลายทาง เพ่อื เตรียมการจดั การเรียนการสอนให้ครอบคลมุ เน้อื หาตาม หลกั สูตร 2.2 ศึกษาบทเรยี นทส่ี อนโดยครตู ้นทางจากสอ่ื วิดีทัศน์ระบบดจิ ิทัล จัดทำแผนการ จัดการเรียนรขู้ อง ตนเอง โดยระบุรายการสือ่ เอกสาร ใบงาน ใบความรู้ และกจิ กรรมเสรมิ ตามคู่มือครสู อนทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม หรือประยกุ ต์ตามความเหมาะสมกบั ท้องถิ่นและความจำเปน็ 2.3 วางแผนการจดั การชนั้ เรยี นให้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิ กิจกรรมตามแผนการ จัดการเรยี นรู้ 2.4 ครจู ัดกิจกรรมนำเขา้ สูบ่ ทเรียน เพ่อื เช่อื มโยงความเดมิ กบั ความใหม่ ปฏิบตั ิ กิจกรรมตาม บทเรยี นจากส่อื วีดิทัศนร์ ะบบดิจิทัล โดยครูกำกบั ดแู ล สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ ของนักเรยี น แนะนำ อธบิ ายเพมิ่ เตมิ ตามความเหมาะสม ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ บทเรียน 2.5 วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพื่อวิเคราะหป์ รับปรุงแกไ้ ขและพฒั นาต่อไป 2.6 ครูจดั กิจกรรมสอนซ่อมเสรมิ เพอื่ ชว่ ยเหลือนักเรียน ท่ีเรียนรู้ไมท่ ันตามการสอน จากสื่อวีดิทศั น์ ระบบดจิ ิทัล หรอื ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์ และให้ความร้เู พิ่มเตมิ เพื่อให้ครอบคลมุ เน้ือหาสาระตามหลักสูตร สถานศึกษา 3. การจัดการเรยี นการสอนโดยใชส้ ่ืออเิ ลกทรอนิกส์ 3.1 ศกึ ษาหลักสูตรสถานศึกษาและเนอื้ หาเพิ่มเดมิ 3.2 ศึกษาสอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ในคลังสือ่ การเรียนการสอนอเิ ลกทรอนิกส์ทเ่ี ป็นโปรแกรม ระบบ (Software) ท่ีพัฒนาขึน้ เพอ่ื ใช้บรหิ าร จัดการสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ด้านการเรียนการสอนที่ รวบรวมไวบ้ นเครื่อง รายงานสรปุ ผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
27 คอมพิวเตอร์แมข่ ่ายหรอื เซริ ฟ์ เวอร์ (Server) แลว้ ส่งผ่านไปยงั เครอ่ื ง คอมพิวเตอร์ลูกขา่ ยโดยใชเ้ ครอื ข่าย อนิ ทราเน็ต (Intranet) และอนิ เทอรเ์ น็ต (Internet) 3.3 จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ คัดเลือกส่ือ จัดทำส่อื และเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ์ในการจดั การเรยี น การสอนโดยใชส้ ่อื อิเล็กทรอนกิ สท์ ี่สอดคลอ้ งกบั แผนการจดั การเรียนรู้ 3.4 วางแผนการจัดการชัน้ เรยี นให้เหมาะสมกับการปฏบิ ัติกจิ กรรม ตามแผนการจัดการเรียนรู้ 3.5 ตรวจสอบระบบและวัสดอุ ุปกรณใ์ ห้มคี วามพร้อมต่อการใชง้ าน เชน่ เคร่ือง คอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ย เครื่องคอมพิวเตอรล์ กู ข่าย โทรทัศน์การเชอ่ื มตอ่ ของสญั ญาณต่าง ๆ เป็นต้น 3.6 ครนู ำเขา้ สู่บทเรียนเพอื่ เชอ่ื มโยงความรเู้ ดิมกับความรู้ใหม่และเปดิ โปรแกรมจากเครอื่ ง คอมพิวเตอร์ และเปิดโทรทัศนเ์ พื่อเชอ่ื มตอ่ ระบบการใช้งาน โดยครูควรจะสอนใหน้ กั เรยี น สามารถเปิดใช้งาน เรียนรู้ และดแู ลรักษาวัสดอุ ุปกรณเ์ บือ้ งต้นด้วยตนเองไต้ ซ่งึ จะเป็นการฝึกทักษะดา้ นเทคโนโลยี และสร้างเสริม นสิ ัยใฝ่เรยี นรูใ้ หแ้ ก่นักเรยี น รวมทั้งทำใหก้ ารจัดการเรียนการสอนโดยใช้สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ มีประสิทธภิ าพย่ิงขึ้น 3.7 ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยครูกำกบั ดูแล สังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรูข้ อง นักเรียน แนะนำอธิบายเพม่ิ เดมิ ตามความเหมาะสม ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ บทเรียนโดยครูผ้สู อนประจำ ชั้นหรือวิชา 3.8 ติดตาม แนะนำเพม่ิ เติมระหว่างเรียน ตดิ ตามตรวจสอบผลงานนกั เรียนจดั กจิ กรรมการสอน ซอ่ มเสริม ใหก้ บั นกั เรยี นอย่างต่อเนือ่ งและสมำ่ เสมอ ฝึกฝนใหน้ ักเรียนมวี นิ ยั ในตนเอง 3.9 วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพือ่ วเิ คราะหป์ รับปรุงแก้ไข หรอื พฒั นาตอ่ ไป 3.10 ครูจัดกจิ กรรมสอนซ่อมเสริม เพื่อชว่ ยเหลือนกั เรียนทเี่ รยี นรู้ไม่ทันตามการสอน โดยใช้ส่ือ อเิ ล็กทรอนิกสห์ รอื ไมผ่ ่านจุดประสงค์ และให้ความรู้เพมิ่ เดิมเพอื่ ให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระ ตามหลักสูตร สถานศึกษา องคป์ ระกอบที่ 4 การนิเทศและตดิ ตาม หมายถึง กระบวนการใหค้ ำปรึกษา แนะนำชว่ ยเหลือ และ ติดตามการดำเนินงานการจดั การศึกษา ดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล มีวตั ถปุ ระสงค์ดังนี้ 1. เพื่อจดั กระบวนการนเิ ทศ และติดตาม ผลการดำเนินงาน การจดั การศึกษาด้วย เทคโนโลยี การศึกษาทางไกลท่มี ีประสทิ ธิภาพ 2. เพื่อสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารนเิ ทศเกย่ี วกบั การดำเนินงานการจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล 3. เพ่ือสร้างขวญั และกำลังใจในการปฏบิ ัตงิ านการจัดการศึกษา ดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกลแก่ บคุ ลากรทุกฝา่ ยที่เก่ยี วข้อง แนวปฏบิ ตั ิระดับสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา มีชนั้ ตอนและการดำเนินการดังนี้ 1. สำรวจความต้องการและวเิ คราะหส์ ภาพปัจจุบัน เกีย่ วกับการนเิ ทศและติดตามการจัดการศกึ ษาดว้ ย เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล ของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 2. ประชมุ ชแี้ จงสร้างความเข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการนิเทศและ ติดตามการจัดการศกึ ษาดว้ ย เทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลใหก้ ับบคุ ลากร ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศกึ ษา 3. แตง่ ตั้งคณะกรรมการนิเทศและติดตามการจัดการศึกษาด้วย เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลของ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 4. วางแผนการดำเนินงานนิเทศและติดตามการจัดการศึกษาดว้ ย เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล กำหนด ปฏิทนิ การนเิ ทศให้เปน็ ไปอย่างตอ่ เนอื่ งสมำ่ เสมอ รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
28 5. ดำเนนิ การนเิ ทศและตดิ ตามการจัดการการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ตามปฏิทนิ งานท่ี กำหนด 6. สรปุ ผล ประเมินผล ปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการนเิ ทศ ติดตามการจดั การการศกึ ษาด้วย เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล 7. ยกย่องชมเชย สรา้ งขวญั และกำลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงานแก่ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาท่ีมีผลงานดีเดน่ หรอื ปฏบิ ัติงานด้วยความมุ่งม่ันตง้ั ใจจนเกดิ ผลดีต่อการจดั การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล แนวปฏบิ ตั ริ ะดบั สถานศึกษา มีขนั ตอนและการดำเนนิ การ ดังน้ี 1. สำรวจความดอ้ งการและวิเคราะหส์ ภาพปจั จุบันเกี่ยวกบั การนเิ ทศภายใน และ ติดตามการจัด การศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลของสถานศกึ ษา 2. ประชมุ ชแ้ี จงสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั กระบวนการนิเทศภายในและตดิ ตามการจดั การศึกษาด้วย เทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลใหก้ ับครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน และผูป้ กครอง 3. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการนิเทศภายในและตดิ ตามการจัดการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกลของ สถานศกึ ษา 4. วางแผนการดำเนินงานนเิ ทศภายในและติดตามการจดั การศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล 5. ดำเนนิ งานการนเิ ทศภายในและติดตามการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ทางไกล 6. สรปุ ผล ประเมนิ ผล ปรับปรงุ และพฒั นากระบวนการนิเทศภายในและติดตาม การจัดการศึกษา ดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล 7. ยกยอ่ งชมเชย และมอบเกียรตบิ ัตรหรือรางวลั เพอ่ื เป็นขวัญกำลังใจให้กบั ครแู ละ บุคลากร ทม่ี ี ผลงานดีเดน่ หรอื ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความมงุ่ มัน่ ตง้ั ใจจนเกดิ ผลดีต่อการจัดการศึกษาดว้ ย เทคโนโลยกี ารศึกษา ทางไกล องคป์ ระกอบที่ 5 การประเมินผลและปรับปรุง หมายถงึ กระบวนการรวบรวมขอ้ มลู การจดั การ ศกึ ษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล โดยใชแ้ นวทางการประเมนิ ตามรปู แบบ CIPP และนำข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการ ประเมินผลมาปรบั ปรงุ การดำเนินงานการจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล มีวัตถุประสงคด์ ังน้ี 1. เพือ่ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล ของสำนกั งานเขต พน้ื ที่การศกึ ษา 2. เพือ่ นำขอ้ มลู ทีไ่ ดไ้ ปประเมินผลมาปรบั ปรงุ การจดั การศกึ ษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษา ทางไกลของ สำนักงานเขตใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ แนวปฏบิ ัตริ ะดบั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา มีข้ันตอนและการดำเนินการดังนี้ 1. ประชมุ ช้ีแจงสร้างความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การประเมนิ การจัดการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล 2. วางแผนการดำเนินงานและกำหนดปฏทิ ินการประเมินการจัดการการศกึ ษาดว้ ย เทคโนโลยกี ารศึกษา ทางไกล 3. ดำเนนิ การจัดทำเครื่องมอื ในการประเมินผลการจดั การศึกษาดว้ ย เทคโนโลยี การศึกษาทางไกล ตามรูปแบบ CIPP ประกอบดว้ ย แบบสอบถามเพ่อื ประเมนิ สภาวะแวดลอ้ ม แบบสอบถามเพือ่ ประเมินปจั จัย นำเขา้ แบบประเมนิ กระบวนการ และแบบสอบถามเพอื่ ประเมิน ผลผลิต 4. ดำเนนิ การประเมนิ ตามรูปแบบ CIPP รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
29 4.1 ดำเนนิ การประเมนิ สภาวะแวดลอ้ ม (Context) ระยะก่อนการดำเนนิ งาน โดยใช้ แบบสอบถาม ประเมนิ สภาวะแวดล้อมในการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล นำข้อมูล ทีไ่ ด้มาวเิ คราะห์และ นำไปวางแผนดำเนินงาน 4.2 ดำเนนิ การประเมนิ ปัจจัยนำเข้า (Input) ระยะก่อนการดำเนินงาน โดยนำแบบสอบถามประเมิน ปัจจัยนำเข้าในการจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล วิเคราะห์ ข้อมูลและนำไปกำหนดโครงสร้างการ ดำเนินงาน 4.3 ดำเนินการประเมินกระบวนการ (Process) ในระหวา่ งดำเนินงาน โดยนำแบบสอบถามประเมนิ กระบวนการในการจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลวเิ คราะห์ ขอ้ มลู และนำไปปรับปรุง การ ดำเนนิ งาน 4.4 ดำเนนิ การประเมนิ ผลผลิต (Product) เม่ือสิ้นสดุ การดำเนนิ งาน โดยนำแบบสอบถาม ประเมินผลผลิตในการจัดการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล วิเคราะหข์ อ้ มูล และนำไปเปรียบเทยี บกับ เป้าหมายทก่ี ำหนดไว้ และพจิ ารณาความคมุ้ คา่ หรอื คุณคา่ ของการ ดำเนนิ งาน 5. ตรวจสอบการประเมินการดำเนนิ งานการจดั การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล โดยการมี สว่ นร่วมของผมู้ ีสว่ นเกีย่ วข้อง 6. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามผลการประเมินการดำเนนิ งานการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล แนวปฏบิ ตั ริ ะดบั สถานศึกษา มีขั้นตอนและการดำเนินการ ดงั น้ี 1.ประชมุ ช้ีแจงสรา้ งความเข้าใจเกย่ี วกบั การประเมินการจดั การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล ตามรูปแบบ CIPP 2. วางแผนการดำเนนิ งานและกำหนดปฏิทนิ การประเมนิ การจัดการศกึ ษาด้วย เทคโนโลยกี ารศึกษา ทางไกลตามรูปแบบ CIPP 3. ดำเนนิ การจัดทำเครอ่ื งมือในการประเมนิ การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลตาม รูปแบบ CIPP ประกอบด้วยแบบสอบถามเพอ่ื ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม แบบสอบถามเพ่ือประเมินปจั จัยนำเข้า แบบประเมนิ กระบวนการ และแบบสอบถามเพื่อประเมินผลผลิต เกณฑ์มาตรฐานการจัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม การจดั การเรียนการ สอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มุ่งเน้นการดำเนินงานใน ระดับสถานศกึ ษา โดยมกี ระบวนการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล ตามมาตรฐานการสง่ เสริมการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มาตรฐานการจดั การเรียนการสอน โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม หมายถึง ขอ้ กำหนดเกณฑค์ ณุ ภาพ สำหรบั การดำเนินงานการจัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ประกอบดว้ ยมาตรฐาน การจดั การเรียนการสอนโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มระดับสถานศกึ ษา และมาตรฐานการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มระดับสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มาตรฐานการจดั การเรียนการสอน โดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มระดบั สถานศึกษา ระดับสถานศกึ ษา หมายถึง ข้อกำหนดเกณฑ์คุณภาพสำหรับการดำเนินงานเกี่ยวกบั การจดั การเรยี น การสอนโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มในระดับสถานศกึ ษา มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐาน ด้านคุณภาพผเู้ รยี น มาตรฐานการจดั การเรียนการสอน และมาตรฐานด้านการบรหิ ารจัดการ ในแต่ละมาตรฐาน ประกอบด้วยตวั ช้วี ดั ดังตอ่ ไปนี้ มาตรฐานดา้ นคุณภาพผู้เรียน ประกอบดว้ ยตัวช้ีวดั จำนวน 4 ตัวชีว้ ัด ได้แก่ ตวั ชวี้ ัดที่ 1 พฤติกรรมสำคัญทเ่ี กดิ จากการเรียนการสอนโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ตัวชี้วัดท่ี 2 ผลการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
30 ตวั ชว้ี ัดท่ี 3 ผลการทดสอบระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ตัวชี้วัดท่ี 4 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (NT) มาตรฐานด้านการจดั การเรยี นการสอน ประกอบด้วยตวั ช้ีวดั จำนวน 4 ตวั ช้วี ดั ไดแ้ ก่ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 การเตรยี มการกอ่ นการเรยี นการสอน ตัวชีว้ ดั ท่ี 2 การจัดการเรียนการสอนของครปู ลายทางอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตวั ชีว้ ัดที่ 3 การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั ที่ 4 การสอนซอ่ มเสรมิ เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียน มาตรฐานดา้ นการบรหิ ารจัดการ ประกอบด้วยตัวช้ีวดั จำนวน 6 ตวั ชว้ี ัด ไดแ้ ก่ ตัวชี้วดั ท่ี 1 การจดั หาวสั ดุอุปกรณก์ ารจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม ตวั ชว้ี ดั ที่ 2 การจดั สภาพหอ้ งเรยี น อาคารเรียน และสงิ่ แวดลอมภายในสถานศึกษาให้ เออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ตวั ชี้วัดที่ 3 การสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ตัวชีว้ ดั ที่ 4 การกำหนดนโยบายและการนำนโยบายการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ การศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทยี มส่กู ารปฏบิ ัติ ตัวชว้ี ัดที่ 5 การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเก่ียวกบั การจัดการเรียนการสอนโดย ใช้การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ตวั ชี้วัดที่ 6 การนิเทศภายใน มาตรฐานการจัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมระดับสำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษาระดบั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา หมายถึง ข้อกำหนดเกณฑค์ ุณภาพสำหรบั การ ดำเนินงานเกย่ี วกบั การ จดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมในระดับ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา หรอื หนว่ ยงานต้นสังกดั มจี ำนวน 1 มาตรฐาน คือ มาตรฐานการ สง่ เสริมการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ประกอบด้วยตัวช้วี ัด จำนวน 4 ตัวชว้ี ดั ได้แก่ ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 การกำหนดนโยบายเพื่อสงเสรมิ สนับสนุนการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ การศกึ ษาทางไกล ผา่ นดาวเทยี ม ตัวชี้วัดที่ 2 การสง่ เสริม และสนับสนนุ การจัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทยี ม ตวั ชี้วดั ที่ 3 การดำเนินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การจัดการเรยี นการสอนโดย ใช้การศกึ ษา ทางไกลผา่ นดาวเทียม ตัวช้ีวัดที่ 4 สถานศึกษามีการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน (ศูนย์พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีทางไกล. 2559) ภาพท่ี 3 ผงั มาตรฐานการจดั การเรียนการสอนโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม รายงานสรุปผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
31 ปัจจยั สูค่ วามสำเร็จของการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม การนำรปู แบบและแนวทางการจดั การศึกษา ทางไกล เพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนนั้น มีปจั จยั หลายประการทีจ่ ะส่งผลให้การดำเนนิ งานการจดั การศึกษาทางไกลประสบความสำเร็จ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน. 2558 : 44) 1. ดา้ นหน่วยงาน 1.1 สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ควรกำหนดเปน็ นโยบายสำคญั และชแ้ี จงให้ทราบถึงความ เหมาะสมในการเลอื กการจัดการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรยี น 1.2 สถานศึกษาทมี่ คี วามสนใจในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ควรมีการศึกษาความร้แู ละศึกษา จากโรงเรียนตน้ แบบ เพอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจอย่างชดั เจนมากยงิ่ ขึน้ 1.3 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามีการนเิ ทศตดิ ตามให้ความสำคัญกับการ ปฏบิ ัตงิ านของสถานศึกษา ในการจัดการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลอยา่ งต่อเน่อื ง 1.4 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาควรจดั กิจกรรมเชดิ ชูเกยี รติใหก้ บั สถานศกึ ษาที่มผี ลการปฏบิ ัติงานท่ีดี 1.5 สถานศึกษาควรดำเนินการชแ้ี จงและประชาสมั พันธก์ ารจดั การศกึ ษาด้วย เทคโนโลยกี ารศกึ ษา ทางไกลของสถานศกึ ษาให้กับผูม้ ีส่วนเกย่ี วข้องทุกฝา่ ยทราบและยอมรับ โดยเฉพาะผปู้ กครองนกั เรยี น ให้เข้าใจ ถึงข้อดี ข้อเสยี และความสำเร็จที่จะเกิดข้นึ 2. ด้านบคุ ลากร 2.1 ผู้บริหารใหก้ ารสนับสนุนด้านงบประมาณอยา่ งเพียงพอ 2.2 ผู้บริหารควรมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ ทกั ษะเก่ยี วกับการใช้สือ่ เทคโนโลยี และ สนใจใฝ่รู้ 2.3 ผู้บรหิ ารควรให้การสนบั สนุนและอำนวยความสะดวกในการจัดหาสอ่ื เทคโนโลยี ในการจัดการ เรยี นการสอน 2.4 ผู้บริหารควรมกี ารนิเทศติดตามดแู ลช่วยเหลอื การจัดการเรยี นการสอน ของครูอย่างสม่ำเสมอ รวมทง้ั การสรา้ งขวัญและกำลงั ใจให้กับครูผู้สอนในการปฏบิ ตั ิงาน 2.5 ผู้บรหิ ารควรมีการประชมุ ปรกึ ษาหารือในการพัฒนาหรอื ศกึ ษาปญั หา ทีเ่ กิดข้นึ อย่างตอ่ เนื่องและ สมำ่ เสมอ 2.6 ครูผู้สอนควรมีการสรา้ งแรงจงู ใจให้กบั นกั เรยี นรวมท้งั มคี วามใส่ใจและร่วมมอื กบั นกั เรยี นในการ เรยี นการสอนและให้มีความสอดคลอ้ งกบั ครูต้นทาง 2.7 ครูควรมกี ารพฒั นาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถเกยี่ วกับด้านเทคโนโลยี การศกึ ษา 2.8 ครูจะต้องมีความรู้ความเขา้ ใจในบทบาทของตนเองและดำเนินการตามขัน้ ตอน ของการจดั การ เรยี นการสอนทางไกลของนักเรียน ศึกษาหลกั สูตรเน้อื หาต่าง ๆ จดั ทำกำหนดการสอน วดั และประเมินผล บนั ทกึ หลงั การสอน ทงั้ ในเรื่องของการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ การสร้างเครอื ขา่ ยการศกึ ษาด้นคว้าเพ่ิมเตมิ เป็นต้น 2.9 ครูควรควบคมุ ดูแลให้นักเรียนเขา้ เรียนตามเวลาในการออกอากาศสื่อการศกึ ษา ทางไกลฝาน ดาวเทียม และมกี ารติดตาม แนะนำเพิ่มเตมิ ระหวา่ งเรยี นติดตามตรวจสอบผลงานนักเรยี น จดั กิจกรรมการสอน ซ่อมเสริม ให้กบั นักเรียนอย่างต่อเนื่องและสมำ่ เสมอและฝึกฝนให้ นักเรียนมวี ินัยในตนเอง 2.10 ครูควรมีบันทกึ หลงั สอนทกุ คร้งั นำผลมาใชพ้ ฒั นาปรบั ปรงุ การจัดกจิ กรรม การเรยี นการสอน จัดทำวจิ ัยในขนั เรยี น ซ่งึ เปน็ การพัฒนาและแก้ไขปญั หาทถ่ี กู ตอ้ งและชดั เจน 2.11 นกั เรียนควรมวี นิ ยั ในการเรียน และควรมีการเตรียมความพร้อมในการเรียนทกุ ครง้ั เช่น ใบงาน อุปกรณ์การเรยี น เป็นตน้ 3. ดา้ นการบริหารจดั การ รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
32 3.1 มีการทำงานเป็นทมี (Teamwork) เนน้ การทำงานแบบมีสว่ นรว่ ม 3.2 มีการประชาสมั พนั ธ์ การดำเนนิ งานและข้อมูลขา่ วสารเกยี่ วกบั การจดั การศึกษาด้วยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลอยา่ งตอ่ เนื่อง 3.3 ควรมกี ารสรา้ งวฒั นธรรมใหม่ในการให้นกั เรียนเกดิ ความรักในการทจี่ ะแสวงหา ความร้จู ากสื่อ เทคโนโลยี 3.4 ควรมีการจัดสอ่ื วสั ดุอุปกรณ์ในการจัดการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษา ทางไกล ให้มีความ พร้อม และที่สำคัญควรมสี ือ่ อุปกรณ์สา่ รองเพื่อทดแทน การทำงานได้อยา่ ง รวดเรว็ และ ต่อเนอื่ ง 3.5 ควรมกี ารกำหนดระยะเวลาในการตรวจสอบดแู ล บำรงุ รกั ษาเครือ่ งรบั สัญญาณหรอื อุปกรณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งสม่ำเสมอ เพื่อการใช้งานอยา่ งตอ่ เน่ืองประหยดั และการใช้งานอยา่ งคุ้มค่า (สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1. 2557 : 65 - 67) สรุปไดว้ ่า ปัจจัยสู่ความสำเรจ็ ของการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มน้นั ขึน้ อยูก่ บั การวางแผนต้ังแต่ ระดบั นโยบายสกู่ ารปฏิบตั ิ ซ่ึงมีการวางแผนอย่างเปน็ ระบบ มกี ระบวนการกำกับ ตดิ ตามอย่างต่อเนือ่ ง และนำ ผลการปฏิบัตมิ าปรบั ปรงุ อยา่ งสม่ำเสมอ นอกจากน้ีการสร้างความตระหนักให้บุคลากรได้เห็นถึงความสำคญั ความจำเปน็ ของการนำเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ช้กับ กระบวนการเรียนรู้ ทง้ั บุคลากร ผู้ปกครอง ใหท้ ราบถงึ ขอ้ ดี ขอ้ เสีย เพื่อใหก้ ารสนับสนุน และใหข้ วัญกำลงั ใจแกผ่ ูป้ ฏบิ ัติงานจะเป็นสว่ นสำคญั ของความสำเร็จในการจัด การศึกษาทางไกลการศกึ ษาทางไกล 6. ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จ (Key Success Factors) ปัจจยั ท่นี ำไปสคู่ วามสำเร็จของการพฒั นาคุณภาพการ จดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม โดยใชย้ ุทธศาสตร์ 6 5 4 ขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานในระดบั สถานศึกษา รายละเอียดดังน้ดี ังนคี้ ือ ครู 6 ข้อปฏิบัติ (Teacher) ได้แก่ 1. ครูต้องจดั สภาพหอ้ งเรียนให้เหมาะสม เอือ้ ต่อการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ครตู ้องเตรียมการสอนล่วงหนา้ ท้งั สอ่ื วัสดุ อุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้ และกิจกรรมเสรมิ ตามทีค่ ู่มอื ครูสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี มกำหนด รวมท้ังมอบหมายงานให้นักเรียน เตรียมพรอ้ มในการเรยี นคร้ังตอ่ ไป 3. ครูต้องร่วมจดั การเรยี นรูไ้ ปพร้อมกับครูโรงเรยี นตน้ ทางและต้องเอาใจใส่ กำกับดแู ล แนะนำนกั เรียน ใหป้ ฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียนทุกครัง้ 4. ครตู ้องสรุป สาระสำคญั ร่วมกับนักเรยี นหลังจากกิจกรรมการเรียนรสู้ ิน้ สุดลงและ บนั ทกึ ผลการ จดั การเรยี นร้หู ลงั สอนทกุ คร้ัง 5. ครตู ้องวดั และประเมินผลเมื่อกิจกรรมการเรียนรู้ส้นิ สดุ ในแตล่ ะคร้ังแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ ทำให้ ทราบวา่ ผลการเรยี นรูข้ องนกั เรียนบรรลุจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูห้ รอื ไม่ เพ่ือปรบั ปรุง แกไ้ ขตอ่ ไป 6. ครูต้องจัดกจิ กรรมสอนซ่อมเสรมิ นอกตารางออกอากาศ เพือ่ ช่วยเหลอื นักเรยี นทีไ่ มบ่ รรลจุ ุดประสงค์ การเรยี นรหู้ รือให้ความรเู้ พ่มิ เตมิ แก่นกั เรียน (ศนู ยพ์ ฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล. 2559) ผบู้ ริหาร 5 ข้อ (Principal) ไดแ้ ก่ 1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาต้องวางแผนการบริหารจัดการอยา่ งเป็นระบบ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการ เรียนการสอนทางไกลผ่าน ดาวเทียมอย่างจรงิ จังและอ านวยความสะดวกให้ การจัดการเรียนการสอนเปน็ ไป อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและต่อเนอ่ื ง 2. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาต้องจัดหาเครือ่ งรับสญั ญาณดาวเทยี มและโทรทัศนข์ นาด เหมาะสมกบั หอ้ งเรียน และจ านวนนกั เรียน ติดตั้งโทรทศั น์ให้มีความสูงเหมาะสมกบั ระดบั สายตา นักเรียน รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
33 3. ผู้บริหารสถานศกึ ษาตอ้ งจดั หาคมู่ ือครพู ระราชทานการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม สำหรบั โรงเรียน ปลายทาง 4. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาตอ้ งเปน็ ผ้นู ำดว้ ยความมงุ่ มนั่ และนำพาครูทุกคน ทุกฝ่ายตระหนักเห็น ความสำคัญและใหค้ วามรว่ มมือดำเนินการอยา่ งจริงจงั ตอ่ เน่ือง 5. ผบู้ ริหารสถานศึกษาตอ้ งนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทกุ หอ้ งเรยี นอย่างสม่ำเสมอ โรงเรียน 4 ขอ้ พ้นื ฐาน (School) ได้แก่ 1. สภาพแวดลอ้ มของโรงเรียนและภายในห้องเรยี นต้องสะอาดและเปน็ ระเบยี บ 2. โทรทัศนข์ นาดเหมาะสมกับห้องเรยี นและจำนวนนักเรียน ติดตงั้ โทรทัศนใ์ หม้ ีความสูง เหมาะสมกับ ระดบั สายตานกั เรียน 3. บทบาทของครตู ้องเอาใจใส่กำกับดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนกอ่ นเรยี น ระหว่างเรยี นและหลังเรียน 4. นักเรียนตอ้ งมสี ่วนรว่ มกิจกรรมและต้งั ใจเรียนรู้ พร้อมกบั นักเรียนโรงเรียนไกลกังวล 2. วตั ถุประสงคเ์ ปา้ หมายของนวตั กรรมสอดคล้องกบั การจัดการเรยี นรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) 1. เพื่อให้การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ มี ประสทิ ธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาสุรินทร์ โดย TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปัจจัยสู่ความสำเร็จการพัฒนาคุณภาพการเรียนการ สอนทางไกล ด้วย DLTV 3. ความถกู ต้องตามหลักวชิ าการ นวัตกรรมมีการพฒั นาและดำเนินการดงั นี้ ขั้นตอน กจิ กรรมท่ดี ำเนนิ การ ขั้นเตรยี มการ 1. ศึกษาแนวทางการจดั การเรียนรูท้ างไกลและตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละสาระการเรยี นรู้ท่ี เกยี่ วขอ้ งเพือ่ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ วเิ คราะหเ์ น้อื หา วิเคราะหแ์ ละจดั ลำดับเนอ้ื หายอ่ ย จัดลำดับของจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ตามลำดบั มกี ารกำหนดภารกจิ ของผู้เรยี นในกระบวนการเรยี นรู้ (Task) ทสี่ อดคล้องกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. ศึกษาคน้ ควา้ แนวคิดหรือทฤษฎีท่เี กีย่ วขอ้ ง เช่นเทคนคิ การสอน คู่มือการจัดการเรยี นรูท้ างไกล การจดั การเรียนรู้ ใบงาน ใบกิจกรรมการเรยี นรู้ 3. การเขียนเคา้ โครงการพัฒนาและนำนวตั กรรมไปใช้ เปน็ การวางแผนทำงานอยา่ งเปน็ ระบบยิง่ ขน้ึ 4. ลงมอื สรา้ งและหาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม ขัน้ ดำเนินการ 1. นำไปใชป้ ระกอบการสอนของครู 2. ใช้จัดการเรียนรแู้ บบศูนย์การเรยี น 3. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาดว้ ยตนเอง 4. ใชส้ อนซ่อมเสรมิ ฯลฯ ข้นั ประเมนิ ผล 1. สอบวดั ความรู้ความเข้าใจตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั และมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีกำหนด 2. ประเมินเจตคตหิ รอื ความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยนวตั กรรม รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
34 โมเดลการบริหารจัดการคุณภาพการจัดการศึกษาทางไกล แนวทางการดำเนินงานการจดั การเรียนการสอนทางไกล หลักสูตรสถานศึกษาและเอกสารประกอบหลกั สตู รท่ีออกแบบให้สอดคล้องกบั การเรยี นการสอนทางไกล DLTV แผนการจดั การเรียนรู้ทอ่ี อกแบบให้ สอดคล้องกบั การเรียนการสอน ทางไกล DLTV รายงานสรุปผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
35 ใช้กระบวนการนเิ ทศภายในสถานศึกษา เชน่ การตดิ ตามงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย การนเิ ทศการเรยี นการ สอน เป็นตน้ การนิเทศภายใน นำโดย ผอ.พิทักษ์ ทวแี สง เข้านิเทศการจัดการเรียนรูข้ องคณะครแู ละคณะครูรว่ มแสดงแนวทางการจดั การเรียนรู้ รายงานสรปุ ผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
36 คณะครแู ต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรรู้ ่วมสะท้อน สภาพปัญหา และแนวทางในการจดั การศึกษา 8. การออกแบบนวัตกรรม 1. ใชแ้ นวคดิ กระบวนการ การจดั การเรยี นร้ทู างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) มาสงั เคราะห์บรู ณาการ และ นำเสนอ องค์ความรู้อยา่ งสมเหตสุ มผล รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
37 ในการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33 กำหนด กรอบแนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โดยใช้ TPS Model ยทุ ธศาสตร์ 654 ปัจจัยสูค่ วามสำเรจ็ การพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนทางไกล ดว้ ย DLTV ดงั นี้ 2. กรอบแนวคดิ ในการพฒั นานวตั กรรม เปน็ ไปไดใ้ นการพัฒนาใหเ้ กิดสมั ฤทธิ์ผล การจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม สบื เน่อื งจากการผสมผสานเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยโี ทรคมนาคมก่อให้เกิด เทคโนโลยี สารสนเทศทางดว่ นข้อมลู สารสนเทศ (Information Superhighway) ซึ่งเป็นขอ้ มลู สารสนเทศที่มีปรมิ าณมาก และภาวการณข์ ยายตวั อย่างรวดเรว็ ของประชากรทำให้สถาบันการศึกษาตา่ ง ๆ ตอ้ งขยายพ้ืนที่การจดั การศกึ ษา เพมิ่ มากขนึ้ เพือ่ ตอบสนองต่อการเรยี นรู้ ของคนในปัจจบุ ันท่ี ไมม่ ีขีดจำกดั เหมือนในอดีตทผ่ี ่านมา การศึกษา ทางไกลจึงเปน็ นวตั กรรมทางการศึกษาหนึ่งที่ ตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมปจั จบุ ัน เปน็ การเปิดโอกาส ทางการศึกษาไปสปู่ ระชาชนทกุ กล่มุ อย่างทัว่ ถึงก่อให้เกิดการศกึ ษาตลอดชวี ิตอย่างกว้างขวาง 1. แนวคดิ เกี่ยวกับการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในปัจจบุ ันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี ความกา้ วหน้าเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ทัง้ ความเจรญิ ด้านวทิ ยาการ ด้านการสือ่ สารโทรคมนาคม การสง่ สัญญาณทั้งภาพและเสยี ง สารสนเทศทม่ี อี ำนาจ และขอบข่ายกว้างขวาง ครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่ของโลก ข้อมูล สารสนเทศ สามารถส่งต่อเชอื่ มโยงกันไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และมปี รมิ าณครั้งละมาก ๆ ไมว่ ่าจะเกิดเหตุการณ์ ปรากฏการณใ์ ดขึ้นในโลกก็สามารถรับรขู้ อ้ มูลขา่ วสารและภาพได้อย่างรวดเรว็ ความเปล่ียนแปลง ดังกล่าว ก่อให้เกดิ การเชอื่ มโยงกนั ทกุ มติ ิ ทุกภาคส่วนของโลก ท้ังดา้ นเศรษฐกจิ สังคม การเมือง ศิลปวฒั นธรรม ตลอดจน วิถชี วี ติ ของสงั คมโลกก็เปลยี่ นไปดว้ ย การศึกษาไม่ได้จำกัดแตเ่ พียงในห้อง สีเ่ หลี่ยมเท่าน้นั ด้วยอทิ ธพิ ลของ วิทยาการดา้ นดาวเทียม ทีส่ ามารถสง่ ข้อมลู ข่าวสารพร้อมภาพและ เสยี งไปยังสถานี ต่าง ๆ ทว่ั ภูมิภาคไดอ้ ยา่ ง รวดเร็ว มปี ระสิทธิภาพ จงึ เกิดแนวคดิ การจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ถ่ายทอดสญั ญาณจากโรงเรียนตน้ ทางไปยังโรงเรียนปลายทาง เพ่อื ตอบสนอง ต่อความด้อยโอกาสและความไม่เสมอภาคของนักเรียนและบคุ คลที่ อย่หู ่างไกล รายงานสรุปผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
38 การศึกษาทางไกล(Distance Learning) นับเปน็ นวัตกรรมการศึกษาในรปู แบบของการศกึ ษาทางไกล หรอื การศึกษาไร้พรมแดน ทเ่ี ปน็ ผลสืบเนื่องจากการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การผสมผสานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยโี ทรคมนาคมท่ีกอ่ ใหเ้ กิดเทคโนโลยีสารสนเทศ และภาวการณ์ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ของประชากร ทำให้สถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ ตอ้ งขยายพน้ื ทีก่ ารจัดการศึกษาเพิม่ มากขึน้ เพ่อื ตอบสนองต่อการ เรยี นรูข้ องคนในปัจจบุ นั ท่ไี มม่ ีขีดจำกดั เหมือนในอดตี ที่ผ่านมา การศกึ ษาทางไกลเปน็ นวตั กรรมทางการศกึ ษาท่ี เกิดข้นึ ในสมยั ศตวรรษที่ 21 เพื่อสนองความตอ้ งการของสงั คมปจั จุบัน ซ่งึ เปน็ สงั คมข้อมูลขา่ วสารหรอื สังคมแหง่ การเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสม เปน็ การเปิดโอกาสทางการศกึ ษาไปสบู่ ุคคลกล่มุ ต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง ทำใหเ้ กิด การศกึ ษาตลอดชีวิต ท่ีบคุ คลสามารถนำไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของตนเองได้อยา่ งต่อเนือ่ ง ซง่ึ มีผ้กู ลา่ วถึง แนวคิดการจัดการศกึ ษาทางไกล ดงั น้ี ขวัญแก้ว วัชโรทยั (2549 : 17) กล่าวว่าการศึกษาของประเทศไทยในอนาคตจะต้องมีความสมั พันธ์ เกยี่ วโยงกบั การศกึ ษาในระดบั นานาชาตโิ ดยผ่านทางเทคโนโลยีสมยั ใหมแ่ ละจะเปน็ หวั ใจสำคัญในการจัด การศกึ ษาให้แกป่ ระชาชนด้วยเหตุผลสำคญั 3 ประการคือ ประการแรกเป็น การใหโ้ อกาสทางการศึกษาท่เี ท่า เทยี มกันแก่ชนทกุ หมู่ทุกเหลา่ ทุกเพศวัย สถานภาพและสภาพรา่ งกายประการท่สี อง อำนวยความสะดวกทัง้ ในแง่ ของเวลาและสถานท่กี ล่าวคือประชาชนสามารถท่ีจะเรยี นรไู้ ด้ไมว่ า่ จะอยใู่ นสถานทใ่ี ดและเวลาใดเพราะการศกึ ษา นนั้ มิไดถ้ กู จำกดั อยเู่ พยี งแตใ่ นห้องเรยี นและประการสดุ ท้าย การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมมคี วามคุ้มคา่ มากกวา่ เมื่อเปรียบเทยี บ กับการท่ีต้องกอ่ สร้างโรงเรียนสักแหง่ และค่าจ้างบคุ ลากรผสู้ อน มูลนธิ กิ ารศกึ ษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม มุ่งมั่นที่จะใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี ให้สนองตอบต่อการสรา้ งโอกาสการเรยี นรตู้ ลอด ชีวติ ในการถา่ ยทอดความรู้ ความถนัดทางเทคนคิ การทำมาหากิน จริยธรรมและพัฒนาการทางด้านจิตใจโดย มงุ่ สนองตอบตอ่ ความต้องการของผู้คนสงั คมชมุ ชนโดยเฉพาะในทอ้ งถนิ่ ทรุ กันดาร กลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาสอยา่ งคมุ้ คา่ ดษิ ฐล์ ดา ปนั คำมา (2551 : 23) กลา่ วว่าการศกึ ษาทางไกลเป็นการศึกษาท่ีเอื้ออำนวยให้ ผู้เรยี นไดเ้ รียน ตามความตอ้ งการ โดยไม่จำเปน็ ต้องเข้าช้นั เรยี น แตอ่ าศัยการสอื่ สารผ่านสือ่ การสอน เช่น ส่อื ส่งิ พิมพ์ โทรทัศน์อปุ กรณ์การสือ่ สารตา่ ง ๆ ผูเ้ รียนสามารถเรียนรู้ไดต้ ลอดเวลา ประสาท วันทนะ (2552 : 8) กล่าวถงึ แนวคิดการจัดการศกึ ษาทางไกลวา่ การจัด การศกึ ษาทางไกลนน้ั เปน็ การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการ จดั การศึกษา ทำให้คนทีด่ ้อย โอกาสทางการศึกษาที่อยหู่ ่างไกลไดม้ ีโอกาสเรยี นรแู้ ละรบั ความรู้ใหม่ ๆ ไดพ้ รอ้ มกันกับสว่ นกลางหรอื แหลง่ ทม่ี ี ความเจรญิ จึงนบั ว่าเป็นการสร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษาใหเ้ กิดข้ึน สรปุ ได้วา่ การจดั การศึกษาทางไกลเป็นการศึกษาผ่านเทคโนโลยีทใ่ี ห้โอกาสและความเสมอภาคในการ เรียนรู้ ที่ผ้เู รียนสามารถเรยี นูรไ้ ดท้ กุ ที่ ทุกเวลา มีความคุม้ ค่าและตอบสนองการเรยี นรู้ ตลอดชวี ิต 2. ทฤษฏแี ละหลักการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม การจดั การศกึ ษาทางไกลเกิดจากการทรี่ ะบบการศึกษาในระบบไมส่ ามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการ ของมนษุ ยท์ ี่อยหู่ ่างไกลจากหอ้ งเรียนได้ ท้ังทีม่ ีอายุ สภาพรา่ งกาย เวลา ที่ไมส่ ามารถมานงั่ เรียนในหอ้ งเรยี นปกติ ร่วมกบั ครูผสู้ อนได้ กอปรกบั ววิ ฒั นาการดา้ นเทคโนโลยกี าร สอื่ สารมีความเจริญกา้ วหน้า การติดต่อส่อื สารถึงกัน ระหว่างคนทอ่ี ยู่ตา่ งสถานทีก่ นั สามารถสื่อสาร กันไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ไม่มขี อ้ จำกัด และการใหค้ วามสำคัญของรฐั ที่ จะต้องจดั การศกึ ษา ใหแ้ กป่ ระชาชนตามหลักสิทธมิ นุษยชนเพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถแสวงหาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง ตลอดชีวิต ตามความจำเป็นต้องการของแตล่ ะบุคคล เพื่อพฒั นาคุณภาพชีวติ ความเป็นอยู่ท่ีสามารถดำรงตนอยู่ ได้อย่างปกตสิ ขุ ตามฐานานรุ ปู ทฤษฎี และหลักการจดั การศกึ ษาทางไกล ได้มนี กั การศกึ ษาหลายท่านไดก้ ล่าวถึง ทฤษฎีและหลักการการจดั การศึกษาทางไกลไว้ ดังนี้ รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
39 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2545 หมวด 9 ว่าดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษา มาตรา 63 รัฐต้องจดั สรรคลน่ื ความถ่ี สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐาน อืน่ ทีจ่ ำเป็นต่อการส่ง วิทยุกระจายเสียงวทิ ยโุ ทรทัศน์ วิทยโุ ทรคมนาคม และการสือ่ สารในรูปแบบอื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศกึ ษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั การทะนุบำรงุ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ตามความ จำเปน็ มวั ร์ (Moore. 1996: 19) ได้พัฒนาทฤษฎีการเรยี นการสอนอย่างเป็นอสิ ระข้ึนมาทฤษฎี หน่งึ ซงึ่ ประกอบดว้ ย 2 มติ ิ คอื การจัดการเรยี นทางไกลและการเรยี นรู้ด้วยตนเองของผ้เู รยี น มติ ิ แรกนนั้ อาจจะรวม ความไปถงึ การอยู่ห่างไกลกนั ทางกายภาพและทางภูมิศาสตร์ระหว่างผู้สอน และผู้เรียนภายใต้สถานการณ์ของ สงิ่ แวดลอ้ มทแ่ี ยกบุคคลท้งั สองออกจากกันและมีกจิ กรรมการเรยี นการ สอนอย่างเป็นพเิ ศษอย่างต่อเนอื่ ง ก่อให้เกิดช่องวา่ งทางจติ วิทยาและการสอื่ สาร แมจ้ ะเกิดความไม่เขา้ ใจกันระหว่างผสู้ อนและผู้เรียนในเนือ้ หาท่ี เรียนนน้ั นอกจากนีย้ งั เช่อื วา่ เราสามารถประยุกต์ การศึกษาทางไกลเข้ากบั การเรยี นการสอนแบบดั้งเดมิ ได้ เพียงแต่วิธีคดิ และวิธปี ฏบิ ตั เิ ท่านนั้ ที่ จำเป็นต้องกำหนดให้ชัดเจน อกี มิติหน่ึงคือการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Autonomous Learning) ของผู้เรยี นนน้ั ย่อมขน้ึ อยูก่ บั ระดับของวฒุ ิภาวะของบุคคลแตล่ ะคนในการทจ่ี ะ ขวนขวายเพ่ือการเรยี นรู้ ซึง่ ทฤษฎกี ารจดั การศกึ ษาทางไกลและการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองของผเู้ รียนมหี ลักการสำคัญ ดังนี้ คอื 1) โครงสรา้ งของการจัดโปรแกรมการเรยี นการสอน 2) การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองของผเู้ รยี น 3) การอยู่ หา่ งไกลกันทางกายภาพระหว่างผสู้ อนและผู้เรียนการเรียนการสอนทางไกลที่ประยกุ ตเ์ ข้ากับการ เรียนการสอน แบบด้ังเดมิ ได้ โฮลม์ เบิรก์ (Holmberg. 1977 : 32) กล่าวว่าการใหค้ วามสำคัญของการมปี ฏสิ มั พันธ์กันระหวา่ งบคุ คล (Interpersonalization) ว่าเปน็ ส่งิ จำเป็นเบ้ืองต้นตอ่ การกระตุ้นแกผ่ ู้เรียน และการเรียนรซู้ งึ่ ในเรอื่ งการศกึ ษา ทางไกลนัน้ สามารถดำเนนิ การได้แมว้ า่ จะมกี ารสือ่ สารทีห่ ่างไกลจากกนั และกัน และไมเ่ ผชิญหนา้ กันกต็ ามผ้เู รียน รายบคุ คลมีอสิ ระและเสรภี าพในการเรียนรู้ เป็นส่ิงจำเป็น สำหรับแนวคดิ การศึกษาทางไกล โดยเฉพาะประเด็น ท่วี า่ กิจกรรมการเรยี นรขู้ องแต่ละบคุ คลเกิดข้นึ ได้จากความต้งั ใจท่ีเกิดข้ึนจากจติ ใจของบคุ คลอย่างจรงิ จัง (Internalization Process) การสง่ เสรมิ การเรียนรูใ้ นลกั ษณะนีจ้ ึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้เรยี นรู้อย่าง อิสระ โดยมีหลกั การศึกษา ทางไกลมดี งั นี้ 1. การสอ่ื สารทางไกลอาศยั การสื่อสารท่ีไมเ่ ผชิญหน้ากนั ระหว่างผสู้ อนและผเู้ รียน 2. ผ้เู รยี นกบั ผสู้ อนตดิ ต่อสือ่ สารกนั ไดผ้ า่ นสอื่ สง่ิ พิมพ์ ส่อื เทคโนโลยี หรือส่ืออื่นๆ 3. มนุษยสัมพนั ธ์และการสรา้ งแรงกระตุ้นยังจำเป็นสำหรับผู้เรียน เช่นเดยี วกับการให้ ความสำคัญแก่ ผเู้ รียนรายบุคคล เสรภี าพในการเรยี นร้คู วามต้ังใจท่เี กิดจากความร้สู กึ ภายในของ ผู้เรยี น และความยืดหยุ่นของ กระบวนการเรยี นการสอน เจมส์ (James. 2004: 5) ไดก้ ลา่ วถงึ การศึกษาทางไกลว่าเปน็ การเข้าถึงและสร้าง ความ เท่าเทียมกันของคนในสังคมทีม่ ีความแตกต่างกนั ของประชากรทไ่ี มส่ ามารถเขา้ ถึงระบบการศึกษา แบบปกติ มี 5 กล่มุ ดังน้ี กลมุ่ แรกพวกทีถ่ ูกปฏิเสธโดยโรงเรียนปกติ กลมุ่ ทีส่ องกลุม่ ประชากรทย่ี ากจน กล่มุ ที่สามกลมุ่ คนท่อี ยใู่ นระบบอตุ สาหกรรม กล่มุ ท่ีส่ีกลุ่มคนท่ีถูกคุมขัง และกลุ่มสุดท้าย กลุ่มคนที่อาศยั อยหู่ ่างไกลจาก สถานศึกษา สรุปได้วา่ ทฤษฎแี ละหลกั การจัดการศึกษาทางไกล เกิดจากความเจริญทางเทคโนโลยีที่สามารถส่งถา่ ย ข้อมูลทจี่ ัดเก็บทัง้ ภาพและเสยี ง จากสถานทีห่ น่งึ ไปยงั อกี สถานท่ีหนงึ่ ซง่ึ อยหู่ ่างไกลกนั ตอบสนองต่อความ ต้องการเรยี นรูข้ องบคุ คลทุกอาชีพโดยไม่มขี ้อจำกดั โดยผู้เรียนสามารถศกึ ษาได้ ดว้ ยตนเองจากสอ่ื ทศั นูปกรณ์ สื่ออินเทอรเ์ นต็ สื่อประสมอน่ื ๆ ให้เหมาะสมกับตนเอง เปน็ การสรา้ งโอกาสและความเท่าเทยี มกันทาง การศึกษา รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
40 3. ความหมายของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม การจดั การศกึ ษาทางไกลเปน็ นวัตกรรมทางการศึกษาที่เกิดข้ึนเพื่อตอบสนองความตอ้ งการ ของระบบ การศกึ ษาในปจั จุบนั ซง่ึ เปน็ ยคุ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมลู ขา่ วสาร รวมถงึ เปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้ หรือสังคมฐานความรู้ ซงึ่ ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย นอกจากนย้ี ังเป็นการลดช่องว่างและเป็นการเปดิ โอกาส ทางการศึกษาใหก้ บั ทกุ คนให้ไดร้ ับการศกึ ษาอย่างเสมอภาค ได้มผี ู้ให้ความหมายของการศกึ ษาทางไกลไว้มากมาย ทั้งนกั การศกึ ษาในประเทศไทยและตา่ งประเทศ ดงั นี้ กิดานันท์ มลทิ อง (2543 : 173) กล่าววา่ การศึกษาทางไกลหมายถงึ ระบบการศึกษาท่ี ผเู้ รยี นและ ผูส้ อนอย่ไู กลกนั แต่สามารถทำให้เกดิ การเรียนรู้ได้โดยอาศัยสือ่ การสอนในลกั ษณะของสอ่ื ประสมโดยการใช้ส่อื ต่าง ๆ รว่ มกนั อาทเิ ช่น ตำราเรียน เทปเสียงแผนภมู ิ คอมพวิ เตอร์ หรอื โดย การใช้อุปกรณโ์ ทรคมนาคมและ ส่อื มวลชน ประเภทวทิ ยุโทรทัศน์ เข้ามาชว่ ยในการแพรก่ ระจาย การศกึ ษาไปยังผ้ทู ปี่ รารถนาจะเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ ง กวา้ งขวางท่ัวทุกทอ้ งถิ่นการศึกษา สรุ นนั ท์ ศุภวรรณกิจ (2546 : 7) ไดก้ ล่าวไว้วา่ การศกึ ษาทางไกล เป็นอีกรูปแบบของการ เรยี นการสอน ท่สี ามารถเขา้ ถงึ กลุ่มเปา้ หมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพโดยเฉพาะในพื้นทหี่ า่ งไกล หรอื ขาดแคลนบุคลากรผู้สอน ผู้สอนจะถ่ายทอดวิชาส่งผา่ นส่ือในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ทางโทรทัศนเ์ พอื่ การศึกษา วิทยุซดี รี อม เทปรายวิชาต่าง ๆ แมแ้ ต่หนงั สือประกอบการเรยี นไปยงั ผูเ้ รยี น เปน็ การเรียนการสอนรบั ส่งด้านเดียวไม่มกี ารปฎิสมั พนั ธ์กนั ระหวา่ ง ผูส้ อนกับผู้เรียน จรรยา พลสมัคร (2549 : 24) กล่าววา่ การศึกษาทางไกลหมายถึง การจัดการศกึ ษาทไี่ ม่ไดอ้ ยใู่ นชน้ั เรียน อีกทั้งผเู้ รยี นและผูส้ อนไม่ไดพ้ บกนั โดยตรง แตส่ ามารถทำให้เกิดการเรยี นรู้ โดยอาศัยสอ่ื ประสมและ เทคโนโลยีต่าง ๆ เชน่ สื่อสง่ิ พมิ พ์ วทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทัศน์ วดี ิทัศน์ คอมพวิ เตอร์ สอื่ ทางไปรษณีย์ เทปเสียง หรอื อน่ื ๆ ผ้เู รียนจะได้เรยี นรดู้ ้วยตนเอง ได้ พบปะกับกล่มุ และครผู ้สู อนบ้างในบางคร้ัง ซ่ึงจะเปน็ การพบปะเพื่อทบทวน และซักถามประเด็น ปญั หาที่เรยี นดว้ ยตนเองไม่เขา้ ใจ เกษศิรนิ ทร์ พลจันทร์ (2554 : 34) กลา่ วว่า การศกึ ษาทางไกลหมายถงึ การศึกษาระบบเปิด มีการเรยี น ทงั้ ในระบบและนอกระบบควบคกู่ ันไปเปน็ การจัดการเรยี นการสอนทพ่ี ยายามใหถ้ ึง ตวั ผู้เรียนมากท่สี ุด เป็นระบบ การเรยี นการสอนท่ีเอ้อื อำนวยให้ผู้เรยี นสามารถใชเ้ วลาวา่ งศกึ ษาด้วย ตนเองโดยไม่ตอ้ งเขา้ ชั้นเรียนตามปกติ ไม่ จำเปน็ ต้องมเี วลาเรยี นประจำถงึ แมว้ า่ ผูเ้ รยี นและผูส้ อนจะอยู่ห่างไกลกันกต็ ามแตก่ ส็ ามารถทำกิจกรรมรว่ มกันได้ โดยอาศยั สือ่ การสอนหลายประเภท เชน่ ตำราเรียน สงิ่ พิมพ์ เทปบนั ทกึ เสียง สื่อมวลชน และอุปกรณ์ โทรคมนาคมประเภทต่าง ๆ เป็นการให้ผ้เู รียนไต้เรียนรู้ด้วยตนเองให้มากท่สี ดุ ไกรมส์ (Grimes. 1993 : 6 - 8) ได้ให้ความหมายวา่ การศึกษาทางไกลเปน็ แนวทางทุก ๆ แนวทางของการเรยี นรู้ จากหลักสตู รการเรยี นการสอนปกตทิ ีเ่ กิดขึ้น แตใ่ นกระบวนการเรยี นรนู้ ้ี ผสู้ อนและผูเ้ รียนอยู่คนละสถานทก่ี ัน เปน็ การนำบทเรียนไปสูผ่ ู้เรียนโดยใช้เทคโนโลยมี ากกว่าที่จะใช้ เทคโนโลยนี ำผู้เรียนเขา้ สู่บทเรียน สรปุ ไดว้ ่า การศึกษาทางไกลเปน็ การจัดการศกึ ษาผ่านกระบวนการเรียนรูท้ ่ีผ้สู อนและ ผู้เรยี นอยูค่ นละ สถานท่กี นั โดยอาศัยสอ่ื ประสมและเทคโนโลยี เปน็ ระบบการเรยี นการสอนท่ี เอือ้ อำนวยให้ผูเ้ รียนสามารถใช้ เวลาว่างศกึ ษาด้วยตนเองได้ทกุ ที่ทุกเวลา สามารถจดั ได้ทง้ั ในระบบ และนอกระบบควบคกู่ ัน และเขา้ ถงึ กลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพโดยเฉพาะในพน้ื ที่หา่ งไกล หรอื ขาดแคลนบุคลากรผู้สอน รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
41 4. รปู แบบการจัดการศึกษาทางไกลดาวเทยี ม การจดั การศึกษาทางไกล เปน็ การจัดการศึกษาอีกรูปแบบหน่ึง ที่กำลงั แพรห่ ลายในยุค แห่งเทคโนโลยี กา้ วหน้า ซึง่ มหี ลายรปู แบบท่ีใชก้ ารส่งส่อื การเรียนรูท้ างอิเลก็ ทรอนิกส์ ไปยังผเู้ รยี น ซงึ่ ในประเทศไทยมี พฒั นาการจากอดีตจนถงึ ปจั จุบนั ดงั นี้ กรมการศึกษานอกโรงเรยี น (2542 : 37) จากอดตี ท่ีผ่านมารัฐบาลทุก รฐั บาลต่างก็ให้ ความสำคัญของการใหก้ ารศึกษาแก่ประชาชนของตนทัง้ การศึกษาในระบบ และการศกึ ษานอก ระบบ อยา่ งตอ่ เนื่องซงึ่ ได้พัฒนารปู แบบการให้การศึกษามาเปน็ ลำดบั ดังน้ี เดิมทีการศึกษาของไทย เร่ิมต้นทวี่ ดั โดยมีพระภิกษสุ งฆเ์ ปน็ ผจู้ ดั การเรียนการสอน ตอ่ มารัฐไดใ้ หก้ ารศกึ ษาแก่ประชาชนที่เริม่ เปน็ ระบบโดยเริม่ ตงั้ แต่ เปิดโรงเรียนสอนเยาวชนเป็นแห่งแรกทโ่ี รงเรยี นวดั มหรรณพาราม การจัดการศึกษาของไทยได้พัฒนามาเป็น ลำดบั มีการประกาศใชแ้ ผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ การจดั ทำหลักสูตร ตลอดถงึ การจัดตัง้ หน่วยงานของรัฐให้ รบั ผิดชอบต่อการจัดการศึกษาของชาติ ต่อมาในยุคโลกาภิวตั น์ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีทำให้การศกึ ษาของ ชาติต้องปรับปรงุ กระบวนการเรยี นการสอนโดยการ นำส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทนั สมัยมปี ระสิทธภิ าพมาใช้ ในการเรียนการสอนทั้งในระบบโรงเรยี น และนอกระบบโรงเรยี นและการศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยแรกเริ่มกรมการ ศึกษานอกโรงเรียน ได้เร่มิ ระบบการเรียนการสอนทางไกลที่เรยี กวา่ การศึกษาทางไปรษณยี ์ เมอ่ื ปพี ทุ ธศักราช 2518 เปน็ ครงั้ แรกนำเอาวิทยุทรานซสิ เตอรม์ าเป็นสอ่ื สำหรับการเรียนการสอนเพือ่ ขยายการเรยี นการสอนไปสู่ กลมุ่ เป้าหมายใหท้ ั่วถึงโดยเฉพาะผทู้ ี่ขาดโอกาสทางการศึกษาอยูใ่ นชนบทห่างไกล วทิ ยุกระจายเสียง และ ไปรษณยี ม์ ีบทบาทสำคัญทางการเรียนการสอนทางไกลเปน็ อย่างมาก วิทยุสามารถรับฟังไดอ้ ยา่ ง ทั่วถงึ แมก้ าร คมนาคมจะไม่สะดวกกต็ าม แม้การดำเนินงานจะประสบความสำเรจ็ เป็นท่นี า่ พอใจแตก่ ็ ยงั มีประชาชนอกี เปน็ จำนวนมากท่ยี งั ขาดโอกาสทางการศกึ ษาท่ีไมโ่ อกาสเรยี นในระบบโรงเรยี น ต่อมารฐั บาลได้มอบหมายให้ กระทรวงศึกษาธิการโดยกรมการศึกษานอกโรงเรยี นเป็นผู้บรหิ าร การดำเนินการและได้รบั ความร่วมมอื จาก มลู นธิ ิไทยคมในการบรจิ าคชอ่ งสญั ญาณดาวเทยี มในระบบ KU - BAND จำนวน 1 ช่องพร้อมทงั้ อุปกรณ์ และ ไดท้ ดลองออกอากาศ โครงการจดั การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ระยะแรก ๆ เปน็ เวลา 5 ปี โครงการนไ้ี ด้ กอ่ ใหเ้ กิดสถานีวิทยุโทรทัศนเ์ พอ่ื การศึกษา (Educational Television Station: ETV) แพรอ่ อกอากาศผา่ น ดาวเทยี มไทยคม ทกุ วนั วันละ 8 ชวั่ โมง ระหวา่ งเวลา 08.00 - 20.00 น. เปน็ สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนแ์ ห่งแรก ของประเทศไทยทแ่ี พร่ภาพผ่านดาวเทียม ตรงสเู่ ป้าหมายเพอ่ื ยกระดับการศกึ ษาของคนในชาติ นอกจากนนั้ ปจั จุบนั ประเทศไทยมกี ารพฒั นาทางด้านเทคโนโลยีอย่างตอ่ เนอ่ื งส่งผลให้ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีทำให้ ระบบการศกึ ษาของไทยมคี วามทนั สมัยตามระบบของเทคโนโลยีนอกจากการ เรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม แลว้ สถานศกึ ษาบางแหง่ ยงั เอาระบบเทคโนโลยเี ข้ามามีบทบาท ทางการเรยี นการสอนโดยเฉพาะเรยี กวา่ ระบบ การเรยี นผ่านสอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์หรือ e - Learning (Electronic Learning) โดยการเรียนผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต คอมพิวเตอร์ วีดิทัศน์ ซดี ีรอม การเรียน การสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี มอาจถอื ไดว้ ่า เป็นสว่ นหนงึ่ ของ e - Learning ประเทศไทยการ เรียนร้รู ะบบ e - Learning ได้เข้ามามบี ทบาทต่อการเรียนรู้ในรปู แบบออนไลน์ คุณลักษณะทส่ี ำคญั ของ e – Leaning มอี ยู่ 3 ส่วนคือ 1. การเรยี นผ่านระบบเครอื ข่ายทำใหส้ ามารถแก้ไขเปล่ียนแปลงจัดเกบ็ เรียกใช้ สง่ ผ่าน และเปลี่ยน ข้อมูลเนอื้ หาไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและตลอดเวลาในชว่ งระยะเวลาของรายวชิ า 2. สง่ ผ่านถึงผู้ใชโ้ ดยผ่านระบบอินเทอรเ์ น็ตโดยเว็บบราวเซอร์ 3. สง่ ผา่ นระบบเครือข่ายท่ีมีการเช่อื มโยงเน้อื หาไดถ้ ึงกนั ทั้งหมดซ่ึงจะช่วยผลกั ดนั ให้เกดิ การเรยี นรู้ อย่างกวา้ งขวางทุกพื้นท่ี พจมาศ ขมุ พลอย (2543 : 14 - 16) ได้ศึกษาถงึ รูปแบบของการจัดการศึกษาดว้ ยรายการโทรทศั น์และ สรุปไวด้ งั นี้ การจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมสำหรับการศึกษานอกโรงเรียน เป็นการจดั การศึกษาทางไกล รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
42 ตามหลักสตู รระดับประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษาของกรมการศึกษานอก โรงเรียนโดยมุ่งเน้นขยายบรกิ ารทาง การศึกษาใหก้ บั เดก็ เยาวชนและประชาชนท่ีขาดโอกาสทาง การศกึ ษาโดยเฉพาะอย่างยง่ิ ผูท้ ีอ่ ยใู่ นชนบทหา่ งไกล รวมถงึ กลมุ่ เปา้ หมายเยาวชนท่ีต้องการยกระดับ การศกึ ษาพนื้ ฐานจาก 6 ปี เป็น 9 ปี ตามนโยบายของ รัฐบาลและกลมุ่ แรงงานความร้ตู ำ่ สถานประกอบการและแหล่งพัฒนาอตุ สาหกรรมทว่ั ประเทศนอกจากนี้ยงั สามารถใช้ไดอ้ กี หลายรปู แบบ เช่น การเรียนการสอนของการศกึ ษาระบบเปิด การฝึกอบรม การสมั มนา การ ฝกึ วิชาชพี เป็นตน้ โดยการท่ีผู้สอนหรอื วิทยากรอยูใ่ นสถาบนั การศกึ ษา หรือศนู ยก์ ลางของการสอนผูเ้ รยี น ผู้ เข้ารับการอบรมหรือผ้เู ข้าร่วมสมั มนาจะอยู่รวมกันในสถานท่อี กี แห่งหนง่ึ หรืออาจจะแยกยา้ ยกนั อยู่ในสถานท่ี หลาย ๆ แห่งกไ็ ดแ้ ต่ก็จะสามารถทำการเรียนการสอนฝึกอบรม หรือสมั มนาร่วมกนั ได้โดยอาจใช้ ระบบ ดีบีทวี ี หรืออาจจะตอ่ สายเคเบิ้ลจากสถานีรบั สญั ญาณดาวเทียมและใชร้ ว่ มกบั เครอื่ งรับ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ลำโพงและอุปกรณอ์ นื่ ดว้ ยการประชุมทางไกลโดยวดี ีโอพร้อมกัน ไปด้วยเพ่อื ให้ทงั้ สองฝา่ ยได้รว่ ม อภปิ รายปรกึ ษาหารือซักถามปญั หาข้องใจรว่ มกนั ได้ การจดั การศึกษาทางไกลของมูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภายใตช้ ื่อโครงการการศกึ ษาสายสามญั ด้วย ระบบทางไกลผ่านดาวเทียม อยภู่ ายใต้การรับผิดชอบของกรมสามัญศึกษาโดยได้ประกาศเปน็ โครงการเฉลิมพระ เกยี รตเิ นื่องในวโรกาสปกี าญจนาภเิ ษก และถวายเป็นพระราชกศุ ลแด่สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี ท้ัง เป็นการเฉลิมพระเกยี รติของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว การเรียนการสอนในโครงการนจ้ี ะใช้โรงเรยี น วงั ไกล กังวลเป็นสถานทใ่ี ช้ในการเรยี นการสอนตั้งแต่ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ถึงชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 แบบถา่ ยทอดสด ผา่ นดาวเทียมไปยังโรงเรยี นเครอื ขา่ ยทัว่ ประเทศ การศึกษาทางไกลตามหลักสตู ร ระดบั ประถมศกึ ษาและ มัธยมศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยมงุ่ เนน้ พฒั นาคุณภาพ และมาตรฐานการเรียนการสอนในวชิ าท่ีขาด แคลนครู อาจารย์ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การใช้ดาวเทียมเพ่ือการศกึ ษาในระบบโรงเรียนจะเป็นการ สง่ สัญญาณผา่ นดาวเทียม เพอ่ื ใหส้ ง่ รายการวทิ ยุ หรอื โทรทศั นโ์ ดยจะเป็นการสอนในระบบการส่อื สารทางเดยี ว และการส่ือสารสองทางท่ีผเู้ รยี น สามารถมีการตอบสนองไดใ้ นทนั ที ในการเรยี นในระบบการสอ่ื สารทางเดยี วและ ในการเรียนในระบบ การสอื่ สารสองทางจะเป็นการใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคมประเภทต่าง ๆ ร่วมกับอุปกรณก์ าร ประชมุ ทางไกลโดยวิดีโอ จึงทำใหก้ ารศึกษาในปัจจุบันได้ช่ือว่าเป็น โทรคมนาคมเพ่อื การศกึ ษา (Educational Telecommunication) ห้องเรยี นกไ็ มใ่ ชห่ ้องเรยี นธรรมดาอกี ตอ่ ไป แตจ่ ะเป็นหอ้ งเรยี นท่ีเรยี กว่า หอ้ งเรียน ทางไกล (Tele - Classroom) ห้องเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Classroom) หรือห้องเรียนโทรทัศน์ (TV Classroom) ทั้งน้เี พราะในการสอนจะต้องอาศัยอปุ กรณ์ ไฟฟา้ หลายอย่างหลายประเภท โดยเฉพาะอยา่ ง ยง่ิ เคร่ืองรับโทรทศั น์เพ่อื รับภาพและเสยี งของผู้สอน เข้ามาในหอ้ งเรียนโดยผสู้ อนอาจจะมหี รอื อาจจะไม่มีโอกาส เห็นภาพผเู้ รยี น แต่ท้งั สองฝา่ ยสามารถมี ปฏิสมั พันธ์กันได้โดยการพูดโตต้ อบและส่งข้อมูลระหวา่ งกันได้ โดยทาง โรงเรยี นหรือ สถาบันการศึกษาจะต้องตอ่ สายเคเบ้ลิ จากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมมายังโรงเรียนหรือในบางแหง่ จะมีการรบั สญั ญาณตรงจากดาวเทยี ม โดยการมีจานรับสัญญาณดาวเทียมของสถาบันเอง การรบั ในรปู แบบของ ดีบที ีวิ (Direct Broadcasting Television: DBTV) ซึง่ เป็นการนำเอาระบบรบั ตรง จากดาวเทยี ม (DTH) มาใช้ กับโทรทัศนน์ อกจากเคร่อื งรับโทรทัศนแ์ ล้วภายในห้องเรยี นยังต้องมี เคร่อื งคอมพิวเตอร์และโทรศพั ท์เพ่ือการ ติดต่อประกอบการเรยี นดว้ ย สรุปได้ว่า รปู แบบการการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม เป็นการจัด การศกึ ษาท่ี ส่งผา่ นสอื่ การเรียนร้ทู างอิเล็กทรอนกิ สไ์ ปยงั ผเู้ รียน มีการถ่ายทอดผา่ นดาวเทยี มไปยังโรงเรียน เครอื ข่ายทัว่ ประเทศ ทำให้กบั เด็ก เยาวชนและประชาชนท่ขี าดโอกาสทางการศกึ ษาได้เรยี นรู้โดยไม่ ต้องอย่ใู น ห้องเรยี น รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
43 5. แนวทางการจดั การศกึ ษาทางไกลดาวเทยี ม การจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มมีหลากหลายแนวทาง ทัง้ น้ีขึน้ อยกู่ ับบริบทของแต่ ละ สถานศกึ ษาตง้ั ความพร้อมดา้ นส่อื วัสดุ อปุ กรณ์ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของการจดั การศกึ ษา ทางไกลผา่ น ดาวเทียม มีผ้กู ล่าวถงึ แนวทางการในการจดั การศกึ ษาทางไกลไวด้ งั นี้ ขวัญแก้ว วัชโรทัย (2548: 24 - 26) กล่าวว่าแนวทางการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี มที่มีประสิทธิภาพมีแนวทางดังนี้ 1. การวางแผนการจัดการเรยี นการสอน 1.1 แต่งตง้ั คณะทำงานรับผิดชอบการจัดการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ยครูทท่ี ำงานดา้ น วิชาการวัดผล ครูรับผิดชอบด้านสือ่ และอปุ กรณ์รบั สญั ญาณ ครูประจำวชิ า หรอื ครู ท่ีปรึกษา 1.2 ติดตง้ั จานรับสัญญาณและเครอ่ื งรับสัญญาณ โดยพิจารณาประกอบกับ สถานที่ เรียนของ นักเรยี นจำนวนนักเรียน และขนาดของจอภาพตอ้ งเหมาะสมกับจำนวนนักเรียน 1.3 วางแผนการจดั ตารางสอนหรอื กำหนดตารางเรยี นตามตารางสอนของ โรงเรียนวังไกล กังวล ซงึ่ เปน็ โรงเรียนต้นทาง โดยมีแนวทางพิจารณาดงั นี้ 1.3.1 กรณีเปดิ สอนด้วยระบบทางไกลครบทุกช้นั ทุกชว่ั โมง และมอี ุปกรณ์ รับส่ง สัญญาณครบตามระบบช้นั ควรจัดตารางสอนให้ตรงกับสถานอี อกอากาศทง้ั หมด 1.3.2 กรณที ่ีเลอื กรบั รายการสอนบางรายวชิ าท่ไี มม่ คี รูสอนในระดบั ช้ันใดควรจัด ตารางสอนให้ตรงกับเวลาออกอากาศในระดับช้นั น้นั 1.3.3 กรณีท่ตี อ้ งการเลอื กรบั รายการสอนบางวิชา เพียงบางจุดประสงคห์ รือ บาง เรอ่ื งอาจอัดเทปรายการสอนไว้ แล้วเปิดชมรายการทสี่ นใจได้ตามความตอ้ งการ 1.4 การจดั ให้นักเรียนได้เรียนร้จู ากโทรทัศนผ์ า่ นดาวเทียมควรจดั สภาพแวดลอ้ ม ใหเ้ หมาะสม กบั ขนาดของกลมุ่ นักเรียน ควรพอเหมาะกับขนาดและปรมิ าณของเครอื่ งรับโทรทศั น์ และต้องมคี รูควบคุมดูแล การดำเนินกจิ กรรมสนับสนุนการเรียนรู้ของนกั เรยี นทุกคร้ัง 1.5 ดำเนนิ การตดิ ตามผล ประเมนิ ผล การจัดการเรยี นการสอนเป็นระยะ ๆ อยา่ งตอ่ เนื่องเพือ่ หาทางปรบั ปรุงแก้ไข 2. การจัดการเรยี นการสอน 2.1 ครูประจำรายวชิ าหรือครทู ่ีปรกึ ษาศึกษาจุดประสงคร์ ายวิชาตามหลักสตู ร ศึกษา เอกสาร คมู่ ือกำหนดการสอนในรายวชิ าที่ตนเองรบั ผิดชอบลว่ งหนา้ ก่อนออกอากาศ ในกรณที ่ี กำหนดการสอนมไี ม่ครบ หรอื ยงั ไมไ่ ดร้ บั โปรดตดิ ตามจากรายการโทรทัศน์ทแี่ จง้ ตารางออกอากาศ ทั้งนเ้ี พอ่ื เตรียมการจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอนให้สอดคล้องกบั รายการสอน ทง้ั ในแง่การเตรียมส่อื ใบงาน ใบความรู้ บทเรียน วัสดุ อปุ กรณ์ และ เตรียมตวั นักเรยี นใหพ้ ร้อมที่จะร่วมกจิ กรรมใน ระหว่างเรียนท่มี กี ารออกอากาศ 2.2 กำหนดประเด็นสำคญั เพ่ือการเสริมประสบการณ์การทบทวนและการวัดผลประเมินผลไว้ ล่วงหนา้ ประเดน็ สำคัญในท่ีนหี้ มายถึง การพิจารณาเพ่อื หาจุดประสงค์ ระดบั ความ ยากงา่ ย และพนื้ ฐานความรู้ ของนกั เรียน เพราะบางบทเรียนตอ้ งการความกระจา่ งและจำเป็นต้อง ฝกึ หดั ฝกึ ปฏิบตั ิ ค้นควา้ ทบทวน เพิม่ เตมิ นอกจากเวลาทด่ี โู ทรทัศน์ 3. การดำเนนิ การระหวา่ งเรียน โดยทัว่ ไปแล้วรายการสอนออกอากาศถงึ แม้จะใชเ้ วลาเตม็ 60 นาที แต่ก็มีช่วงเวลาท่ี จัดให้ นกั เรยี นได้ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทั่งในด้านการเตรยี มการเข้าสบู่ ทเรียน การฝึกปฏิบัติ การทบทวน เปน็ ตน้ ดงั นั้น บทบาทของครูประจำชัน้ ที่ควบคมุ ช้นั เรยี น ควรทำหน้าท่ีดูแลเอาใจใสเ่ สริมแรง พฤตกิ รรมของนกั เรยี น เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพการเรียน และศกั ยภาพของนกั เรยี นให้ได้เรยี นอยา่ งเต็มท่ี ซ่ึงโดยหลักการแลว้ ขอย้ำว่าการเรียน รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
44 ทางไกลผา่ นดาวเทียมมิใชก่ ารให้นักเรยี นดโู ทรทศั น์ แตเ่ ปน็ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ท่เี นน้ การบรู ณาการโดย เพอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ และกจิ กรรมการเรยี นรูท้ นี่ ักเรียนตอ้ งปฏบิ ัติ ซึ่งต้องอาศัยครูชว่ ยกระตุน้ ส่งเสริมเป็นอยา่ ง มากจงึ จะบรรลุผล นอกจาก บทบาทในการเสริมแรง จดั บรรยากาศในการเรียนรู้ และกระตุ้นความสนใจแลว้ ครู อาจดำเนนิ การ ไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะหรอื รปู แบบในช่วงที่มีการสอนเพม่ิ เตมิ เสริมประสบการณ์นกั เรียนให้บรรลุ วตั ถุประสงค์ คือ ลกั ษณะที่ 1 เหมาะสำหรับรายวิชาที่ไมต่ ้องใช้ทกั ษะความสามารถหรอื เทคนิคปฏิบัติเปน็ พิเศษ 1.1 ครูแจ้งจดุ ประสงค์ กระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมทน่ี กั เรยี นตอ้ งปฏิบตั ิ (กอ่ นดู โทรทศั น์ 5 - 10 นาท)ี 1.2 ให้นักเรียนศกึ ษาจากบทเรยี นในรายการโทรทัศนท์ ี่ออกอากาศผ่านดาวเทยี ม 1.3 ทดลองสาธติ ฝึกปฏบิ ัตหิ รอื ทำแบบฝึกหัดตามทบ่ี ทเรยี นกำหนดหรือตามท่ี ครูเหน็ วา่ สมควรปฏิบตั เิ พิ่มเติม 1.4 อภปิ รายประเด็น และเปิดโอกาส ให้ชกั ถามปัญหา 1.5 สรุปบทเรยี น มอบหมายงาน ทดสอบ กระต้นุ ให้นักเรียนเตรยี มตวั หรือเชอ่ื มโยงความรู้ใน ครงั้ ต่อไป ลกั ษณะท่ี 2 เหมาะสำหรบั เน้ือหาจุดประสงคท์ ีเ่ น้นขั้นตอนทักษะการปฏบิ ัตหิ รอื ทำตามแบบอย่าง เชน่ กล่มุ วิชาภาษาตา่ งประเทศหรอื การฝึกทักษะโดยเฉพาะ 2.1 ครแู จ้งจดุ ประสงค์ 2.2 ให้นกั เรียนเรียนรู้จากบทเรียน ทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมและปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม ฝกึ ทกั ษะ ตามทบ่ี ทเรียนหรอื ครูผู้สอนออกอากาศกำหนด 2.3 ซกั ถามปญั หา ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ 2.4 สรุปบทเรยี น และให้นักเรียนเตรยี มตวั รับบทเรยี นตอ่ ไป 4. ดำเนินการหลังสอน 4.1 ตดิ ตามผลการเรยี นของนักเรยี นเป็นรายบุคคลเพื่อตรวจสอบ ซ่อมเสริม เพ่มิ เติม ปรบั ปรุง แก้ไข 4.2 จัดการวัดผลประเมนิ ผล เป็นระยะๆ ใหส้ อดคลอ้ งตรงตามจุดประสงค์ การ เรียนรู้และ เน้ือหาสาระท่ีนกั เรียนได้รู้ 4.3 กรณที ี่นักเรียนมีปญั หาสงสัยระหว่างเรยี น และจดุ ประสงคท์ ี่ครูผสู้ อนออกอากาศ เปน็ ผู้ตอบกระทำได้โดยโทรศพั ทห์ รอื โทรสารถามตอบโดยตรงไปยงั สถานีออกอากาศ ซ่งึ จะได้รบั คำตอบในชว่ั โมงนน้ั หรือชัว่ โมงถดั ไปของรายวชิ านัน้ หรอื จะใช้นักเรยี นติดตอ่ ผู้สอน โดยตรงโดยใช้ จดหมายหรอื ไปรษณียบตั รก็ได้ 4.4 หากมปี ญั หาหรอื ตอ้ งการความรู้ความเข้าใจเพิม่ เติมเก่ยี วกับบทเรยี นการ เรยี น การสอน วชิ าทรี่ บั ผิดชอบ ครูประจำวิชาสามารถติดตอ่ กบั ครูผู้สอนออกอากาศได้โดยผา่ นสถานี ออกอากาศหรือตัวผสู้ อน โดยตรง ณ โรงเรียนวงั ไกลกงั วล 5. แนวทางการใช้สือ่ การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม เปน็ การจดั การเรียนการสอนทใ่ี ชส้ ่ือ รายการ โทรทศั น์โดยตรง หรอื ใช้เปน็ สื่อเสรมิ ในการเรยี นการสอน ซึ่งครจู ำเป็นตอ้ งรวู้ ธิ ีดำเนนิ การ กระบวนการเรียน การสอนและบทบาทในการดำเนนิ การสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม เพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายและวัตถปุ ระสงคข์ อง การจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม หากดำเนินการใชส้ ่ือได้อยา่ ง เหมาะสมตามหลกั สูตรจะช่วยให้การสอนมี รายงานสรปุ ผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายธนวชิ ญ์ แสงราม
45 ประสิทธิภาพและมคี ณุ ภาพย่ิงข้ึน การเลอื กใชส้ ่ือการสอน ทางไกลผ่านดาวเทียม ตอ้ งคำนงึ ถงึ หลกั จิตวิทยาทวี่ า่ ผูเ้ รียนต้องมปี ฏิสมั พนั ธก์ บั ส่อื อยู่ตลอดเวลา เปน็ ระยะเวลานาน ๆ ผ้เู รียนจะเกดิ อาการเบือ่ หนา่ ย ยิง่ ถา้ ส่อื นน้ั เป็นสอื่ ชนิดเดยี วกนั หรือเป็นสอ่ื ทางวิชาการ ท่ียงุ่ ยากซับชอ้ น ทำใหไ้ มส่ นกุ แลว้ ผูเ้ รยี นยง่ิ ท้อถอย หมด กำลังใจในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ดงั น้ันส่ือท่ใี ชค้ วรเปน็ ส่อื เสรมิ แรงให้กำลังใจ และผูเ้ รียนสามารถรู้ความก้าวหน้า ของตนเอง เปน็ ระยะ ๆ การใช้สื่อการเรยี นแบบนี้จึงควรอยู่ในลักษณะ สอ่ื ประสม โดยมีส่อื ใดสอ่ื หนึง่ เป็นสือ่ หลัก และสื่อชนิดอ่ืนเปน็ สื่อประสม ท้งั นเี้ พราะส่ือแตล่ ะอย่างมที ้ังขอ้ ดแี ละข้อจำกัดในตวั ของตวั เอง การศึกษา จากสือ่ เพยี งชนดิ เดยี วอาจจะทำใหผ้ ู้เรยี นได้รบั ความร้ไู มส่ มบรู ณเ์ ท่าทค่ี วร จงึ ควรอาศยั สอื่ ชนิดอนื่ ๆ ประกอบ เพ่อื เสริมความรู้ สอื่ ทีใ่ ช้ในการสอนทางไกลแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด ดงั น้ี 1. สอื่ หลกั คือ ส่อื ท่บี รรจุเนอื้ หารายละเอียดตามประมวลการสอนจองแตล่ ะวิชาในหลักสตู ร โดยอาจ อยใู่ นรูปสอ่ื สิ่งพิมพ์รายการโทรทศั นก์ ารสอน รายการวทิ ยกุ ารสอน หรอื วทิ ยโุ รงเรยี น และโปรแกรมบทเรยี น การสอนใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ผเู้ รยี นต้องศกึ ษาจากส่ือหลักให้ ครบตามหลกั สตู รของวชิ าจึงจะสามารถเรียนรู้ เนือ้ หาได้ครบถว้ น 2. สือ่ เสริม คอื สือ่ ท่ีชว่ ยเกบ็ ตก ต่อเติมความรู้ ให้ผู้เรียนมคี วามรู้กระจ่างสมบรู ณ์ขนึ้ หรอื หากในกรณี ที่ผเู้ รียนศกึ ษาจากส่อื หลักแก้วยังไมเ่ ขา้ ใจ หรือยังเข้าใจไม่ชดั เจนก็สามารถศกึ ษา เพมิ่ เตมิ จากสื่อเสริมได้ ส่ือ ประเภทนอี้ ยู่ในรูปเทปสรปุ การเรียน วทิ ยุ เอกสารเสริม CAI, E-Book, DVD การสอนเสริม การพบกล่มุ เทป การสอนรายวิชา หรือเว็บไซต์ตา่ ง ๆ เป็นตน้ (ขวัญแก้ว วชั โรทัย. 2548 : 28) ดษิ ฐลดา ปันคำมา (2551 : 35 - 36) กล่าววา่ แนวทางการจดั การเรียนการสอนดว้ ย ระบบทางไกลผา่ น ดาวเทียมผู้สอนควรคำนงึ ส่ิงตอ่ ไปนี้ 1. บรรยากาศการเรียนการสอน ในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมการจัด บรรยากาศท่ี เหมาะสมภายในห้องเรียนจะทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ บรรยากาศใน ห้องเรยี นประกอบดว้ ยเรอ่ื งต่อไปน้ี 1.1 การติดตัง้ เครื่องรบั โทรทศั น์ ตดิ ตัง้ ในระดับพอดกี ับสายตาของผูเ้ รียนท่ี มองเหน็ อย่าง ทั่วถึง หรอื อยูบ่ นโตะ๊ มีลอ้ เลอื่ น ถ้าติดตงั้ อยา่ งถาวรตอ้ งอย่ใู นท่ที เี่ หมาะสม แสงสว่างไม่กระทบจอรับภาพ 1.2 การจดั ที่นงั่ สำหรบั ผู้เรยี น น่งั หา่ งจากจอรบั ภาพในระยะพอควรไมจ่ ดั ทีน่ ั่งห่าง เกนิ ไปจน ไมไ่ ด้ยนิ เสียงและเห็นภาพไมช่ ดั เจน 1.3 สภาพแวดลอ้ มในห้องเรียน หอ้ งไมค่ บั แคบเกินไป แสงสว่างไมม่ ากหรอื นอ้ ยเกินไป อากาศ ถา่ ยเทได้สะดวกไม่รอ้ นอบอ้าว ไม่มีเสียงรบกวนจากภายนอก 2. บุคลิกภาพของครู มีผลต่อบรรยากาศการเรยี นการสอน ดงั น้นั ครผู ู้สอนจึงควรมี บคุ ลิกภาพท่ียิม้ แย้มแจม่ ใส ศรทั ธาต่องาน สนใจค้นคว้า รว่ มกิจกรรม มนุษยสมั พันธ์ดี เอื้อเฟือ้ เผ่ือแผ่ ไม่น่งิ ดดู าย โลกทัศนไ์ กล คิดกวา้ ง สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 (2558 : 8) กล่าวถงึ แนวทาง การจัดการ ศึกษาทางไกลไว้ 3 แนวทาง คอื 1) สอื่ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (Distance Learning Television: DLTV) 2) สอื่ วีดทิ ศั นร์ ะบบดิจิทัล (Digital Video Disc: DVD) และ 3) สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronics Learning : E - Learning) สรุปได้ว่า แนวทางการจดั การศกึ ษาทางไกลดาวเทยี ม ประกอบด้วย การวางแผนในการจดั การเรยี นการ สอน การดำเนนิ การระหวา่ งเรียน การดำเนนิ การหลงั สอน และแนวทางการใช้ สอื่ การเรียนการสอนทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม ซงึ่ จะมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ ต้องประกอบด้วยบรรยากาศ และบคุ ลกิ ภาพครู เป็นปัจจัยท่ีสถานศึกษาตอ้ ง จัดให้มเี พื่อให้การเรียนการสอนเกิดคุณภาพ รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายธนวิชญ์ แสงราม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105