Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore eknowledge-586-บทสวดมนต์ข้ามปี

eknowledge-586-บทสวดมนต์ข้ามปี

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-31 04:57:09

Description: eknowledge-586-บทสวดมนต์ข้ามปี

Search

Read the Text Version

บทเจรญิ พระพุทธมนต สวดมนตข ามป สง ทา ยปเกาวถิ ไี ทย ตอ นรบั ปใหมว ิถพี ทุ ธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ ทกุ ทท่ี ว่ั ไทย…สุขใจไดบุญ ของขวัญป‚ใหมจ‹ ากรฐั บาลไทย นาํ ความเปšนไทยส‹ูใจประชาชน กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รว มสืบสานวถิ ถี ่นิ วิถไี ทยอนั ดงี าม พรอมกนั ท่วั ประเทศ

∫∑‡®√‘≠æ√–æ∑ÿ ∏¡πµå  «¥¡πµ¢å â“¡ªï  àß∑“â ¬ªï‡°“à «‘∂’‰∑¬ µÕâ π√∫— ªï„À¡à«‘∂’æÿ∑∏ æ∑ÿ ∏»—°√“™ Úıı˘ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม www.dra.go.th

บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี สง่ ทา้ ยปีเกา่ วิถีไทย ต้อนรับปใี หมว่ ถิ ีพทุ ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ ผู้จดั พิมพ ์ ปีที่พมิ พ ์ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม จำนวนพิมพ ์ ๒๕๕๘ ๖๐,๐๐๐ เลม่ ท่ีปรกึ ษา นายกฤษศญพงษ์ ศริ ิ อธบิ ดีกรมการศาสนา นายสเุ ทพ เกษมพรมณี รองอธิบดีกรมการศาสนา นางศรนี วล ลภั กติ โร ผู้อำนวยการสำนกั พัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม นายเกรียงศกั ด์ิ บุญประสทิ ธ ์ิ ผูอ้ ำนวยการกองศาสนูปถมั ภ์ นายสำรวย นักการเรียน เลขานุการกรมการศาสนา นายชวลติ ศริ ิภิรมย ์ ทป่ี รกึ ษากรมการศาสนา นางสาวพิไล จิรไกรศริ ิ ทปี่ รกึ ษากรมการศาสนา คณะทำงาน นางศรีนวล ลภั กติ โร ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม นายสำรวย นักการเรียน เลขานุการกรมการศาสนา นายธนพล พรมสุวงษ ์ นักวชิ าการศาสนาชำนาญการ นายเอกสทิ ธ์ิ คล้ายแดง นกั วิชาการศาสนาปฏิบตั กิ าร นายธนเดช เจอื จารย ์ นกั วชิ าการศาสนา นางสาวธันญรตั น์ พ่ึงศรไี สย เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัตงิ าน นายยทุ ธนา สวุ รรณรงั สกิ ุล เจ้าหนา้ ทีว่ เิ คราะหโ์ ครงการ นายอนันต์ตชาติ สุทธการ เจา้ หน้าทว่ี เิ คราะห์โครงการ นางสาวชรินรัตน์ แกว้ เขยี ว เจา้ หนา้ ที่วิเคราะหโ์ ครงการ

พรปใ หม ่ พุทธศักราช ๒๕๕๙  ¡‡¥Á®æ√–¡À“√—™¡ß— §≈“®“√¬å ºªâŸ Ø∫‘ µ— À‘ πâ“∑ ’Ë ¡‡¥Á®æ√– ß— ¶√“™ «¥— ª“°πÈ” ‡¢µ¿“…‡’ ®√≠‘ °√ßÿ ‡∑æ¡À“π§√



คำนำ กรมการศาสนา มภี ารกิจในการสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมทกุ กลมุ่ เป้าหมายของสงั คม ไทยให้นำหลักธรรมของศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิต เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของประชาชนให้มี สำนึกในคุณธรรม สามารถดำเนินชีวิตด้วยความรอบรู้ มีสติปัญญาและมีเหตุผล สำหรับพุทธ ศาสนิกชน กรมการศาสนาส่งเสริมให้มีการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเช่ือมโยงกับวิถี ชวี ติ ใหม้ ากย่ิงขึน้ ในปีนีก้ รมการศาสนา ได้จัดกิจกรรมส่งทา้ ยปเี กา่ วิถีไทย ต้อนรบั ปีใหม่วถิ ีพทุ ธ : สวด มนตข์ า้ มปี ระหวา่ งวันท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๘-๑ มกราคม ๒๕๕๙ เพ่อื ใหป้ ระชาชนร่วมเฉลิม ฉลองปใี หมด่ ว้ ยมิตศิ ษสนา อนั เป็นการสรา้ งเสรมิ มงคลใหก้ บั ชีวิต ทำจิตใจให้เบกิ บานสดใส มุ่ง ประพฤติดีและทำส่ิงท่ีถูกต้อง ดีงาม ซึ่งการสดมนต์ไหว้พระ ท่ีเป็นกิจสำคัญประการหนึ่งท่ีเป็น อุบายฝึกจิต และฝึกสมาธิได้เป็นอย่างดี และเม่ือสวดเป็นประจำจะทำให้มีจิตและสมาธิท่ีมั่นคง นอกจากจะไดร้ บั อานิสงส์จากการบำเพ็ญบุญโดยส่วนตวั แล้ว ยังเกดิ ประโยชน์ต่อพระพทุ ธศาสนา เป็นการช่วยกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม สืบทอดประเพณีท่ีดีงามและจรรโลงสืบต่ออายุพระพุทธ ศาสนา ตลอดทง้ั บงั เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทยท่มี ีวิถชี วี ิตท่ีดงี าม มีความสุขบนพน้ื ฐาน ของศาสนาและวฒั นธรรมสืบไป (นายกฤษศญพงษ์ ศริ ิ) อธิบดีกรมการศาสนา



สารบัญ หนา้ บทนำ ๑ ❖ สวดมนตข์ ้ามปี : ส่งท้ายปีเกา่ วิถไี ทย ต้อนรบั ปีใหม่วถิ พี ทุ ธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ ๑ ❖ การเจริญพระพุทธมนต์ข้ามปี ส่งท้ายปเี ก่าวถิ ไี ทย ตอ้ นรับปีใหม่วถิ ีพทุ ธ ๑ ❖ อานิสงส์ของการสวดมนต์ ๒ ❖ ความสำคัญของการสวดมนต์ ๔ ❖ ประโยชนจ์ ากการสวดมนต์ ๕ ❖ รว่ มกจิ กรรมสวดมนต์ข้ามปี ๕ ❖ เรม่ิ ต้นปใี หม่ รว่ มสืบสานวถิ ีถิน่ วิถไี ทย : นำความเป็นไทย สูใ่ จประชาชน ๖ ❖ การเตรยี มเข้าร่วมกจิ กรรมสวดมนตข์ ้ามปี ๖ ❖ บทเจริญพระพุทธมนต์ ๑๐ คำนมัสการพระรัตนตรัย ๑๐ (๑) นอบน้อมพระผมู้ ีพระภาคเจ้า ๑๐ (๒) ไตรสรณคมน์ ๑๑ (๓) นะมะการะสิทธิคาถา (สัมพทุ เธ) ๑๑ (๔) นะมะการะสิทธคิ าถา (โย จกั ขมุ า) ๑๒ (๕) นะโมการะอฏั ฐะกะคาถา(นะโม ๘ บท) ๑๔ (๖) มังคะละสูตร ๑๕ (๗) ระตะนะสตู ร (ย่อ) ๑๖ (๘) กะระณยี ะเมตตะสูตร (ย่อ) ๑๙ (๙) ขนั ธะปรติ ร ๑๙ (๑๐) โมระปรติ ร ๒๐ (๑๑) วฏั ฏะกะปรติ ร ๒๒ (๑๒) พระพุทธคณุ พระธรรมคณุ พระสังฆคุณ ๒๒ (๑๓) อาฏานาฏิยะปริตร ๒๓

สารบัญ (ตอ่ ) (๑๔) มะหากสั สะปะโพชฌงั คะสตู ร (๑๕) มะหาโมคคัลลานะโพชฌงั คะสูตร หนา้ (๑๖) มะหาจุนทะโพชฌังคะสูตร ๒๔ (๑๗) บทขัดโพชฌงั คะปริตร ๒๗ (๑๘) โพชฌงั คะปริตร ๒๙ (๑๙) ธชคั คสตู ร (ย่อ) ๓๑ (๒๐) อะภะยะปริตร ๓๒ (๒๑) บทสกั กัตวา ๓๓ (๒๒) บทนัตถิ เม ๓๔ (๒๓) บทยังกญิ จิ ๓๕ (๒๔) เทวะตาอยุ โยชะนะคาถา ๓๕ (๒๕) อณุ หสิ สวชิ ยคาถา ๓๖ (๒๖) ทวัตติงสาการะปาฐะ ๓๖ (๒๗) มงคลจักรวาลใหญ ่ ๓๗ (๒๘) ถวายพรพระ ๓๘ ๓๘ ๔๐

บทนำ สวดมนตข์ า้ มปี : ส่งทา้ ยปีเกา่ วถิ ไี ทย ตอ้ นรับปใี หมว่ ิถีพทุ ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม มีนโยบายท่ีจะส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชน ได้นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวันอย่างเป็นรูปธรรม ในทกุ โอกาส โดยเฉพาะในเทศกาลสง่ ท้ายปเี กา่ ต้อนรับปีใหม่ ไดส้ ่งเสริมกจิ กรรมสวดมนตข์ ้าม ปี ภายใต้โครงการส่งท้ายปีเก่าวิถีไทย ต้อนรับปีใหม่วิถีพุทธ อย่างต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ รวมระยะเวลา ๑๐ ปี โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ สง่ เสรมิ ใหพ้ ทุ ธศาสนิกชนเขา้ วดั ปฏบิ ัติ ธรรม ในช่วงเทศกาลปีใหม่ น้อมนำหลักธรรมคำสอนมาประพฤติปฏิบัติในวิถีชีวิตด้วยกิจกรรม ทางพระพุทธศาสนา ทีเ่ นน้ ความพอเพยี งความเรยี บงา่ ย ให้คณุ ค่าตอ่ จิตใจ เป็นการสรา้ งโอกาส ให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ธรรมะ เติมธรรมะให้ชีวิต ส่งเสริมการทำความดีเพื่อให้เกิด ความสงบร่มเย็นท้ังต่อตนเองและต่อสังคม โดยได้ดำเนินการท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ท่ัวประเทศ ซ่ึงได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีย่ิงจากทุกภาคส่วน ทั้งคณะสงฆ์ องค์กรชาวพุทธ ภาครฐั ภาคเอกชน พทุ ธศาสนกิ ชน ซงึ่ มปี ระชาชน เดก็ และเยาวชน เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพมิ่ ขน้ึ ทกุ ป ี การเจริญพระพทุ ธมนต์ข้ามปี สง่ ทา้ ยปีเก่าวถิ ไี ทย ต้อนรบั ปีใหม่วิถพี ทุ ธ การกา้ วขา้ มปเี กา่ อยา่ งมคี ณุ คา่ ตอ้ นรบั ปใี หมอ่ ยา่ งมปี ญั ญา ดว้ ยการเจรญิ พระพทุ ธมนต์ ข้ามปี เป็นส่ิงที่ชาวพุทธให้ความสำคัญและพึงปรารถนา เน่ืองจากการเจริญพระพุทธมนต ์ ทุกบท เป็นมนต์หรือคำสอนของพระพุทธเจ้าอันเป็นหลักปฏิบัติที่สำคัญของชีวิตชาวพุทธ และเป็นหนทางหนึ่งท่ีสามารถจะน้อมนำกำลังแห่งความศรัทธาและปัญญามาสู่ทุกชีวิต เพราะการเจริญพระพุทธมนต์หรือสวดมนต์ นอกจากจะเป็นการรำลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย อันเป็นท่ีพ่ึงที่นับถือสูงสุดของชีวิตแล้ว ยังเป็นการสร้างกุศลอันประเสริฐให้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม ทำให้สามารถจดจำพระธรรมคำสอนซ่ึงจะนำไปประพฤติปฏิบัติให้เกิดปัญญา และความรุ่งเรืองในชีวิตได้ ด้วยจิตใจที่มั่นคง มีสติ มีสมาธิ มีกำลังใจที่เข้มแข็ง พร้อมที่จะต่อสู้กับปัญหาอุปสรรคต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนในชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การเจริญ พระพุทธมนต์ข้ามปี จึงเป็นประโยชน์ท้ังแก่ตนเองและสังคม เป็นการพัฒนาปัญญาทางธรรม ให้เกิดขึ้น จากความศรัทธาในส่ิงท่ีดีงาม ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันให้มีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ า้ มป ี  ส่งทา้ ยปเี กา่ วถิ ีไทย ต้อนรบั ปีใหมว่ ิถพี ทุ ธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

การเข้าร่วมเจริญพระพุทธมนต์หรือร่วมสวดมนต์ข้ามปี เพื่อความเป็นสิริมงคล เสริมสิ่งที่ดีงาม ให้เกิดขึ้น และขจัดสิ่งไม่ดีให้ผ่านพ้นไปพร้อมกับปีเก่า ให้เริ่มต้นชีวิตใหม่พร้อมกับ ปีใหม่ท่ีก้าวไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง โดยมีพระพุทธศาสนาเป็นเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ เป็นการ รกั ษาประเพณีวัฒนธรรมในมิติทางศาสนา สืบสานวิถีถิน่ วิถไี ทยอยา่ งม่นั คง และย่งั ยืน การสวดมนต์ไหว้พระเป็นกิจวัตรสำคัญประการหนึ่งท่ีเป็นอุบายฝึกจิตและฝึกสมาธิ ภาวนาได้เป็นอย่างดี เพราะในขณะสวดมนต์ จิตของผู้สวดจะต้องจดจ่ออยู่ที่บทสวดจึงจะสวด ได้อย่างถูกต้อง ถ้าจิตฟุ้งซ่านแล้วจะสวดผิดบ่อยๆ ผู้สวดมนต์เป็นประจำได้รับอานิสงส์ต่างๆ เช่น ตัดความกังวลได้ ปล่อยวางความคิดอย่างอื่นเสียได้ จิตระลึกถึงพระพุทธคุณและคำสั่งสอน ของพระพุทธองค์ และจิตเป็นจิตสงบ มีสติครอง และเม่ือสวดเป็นประจำจะทำให้เป็นจิตท่ีมั่นคง นอกจากได้รับอานิสงส์จากการบำเพ็ญบุญโดยส่วนตัวแล้วยังเกิดประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา อันเป็นการช่วยกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม สืบทอดประเพณีท่ีดีงามและจรรโลงสืบต่ออายุ พระพุทธศาสนา อานิสงส์ของการสวดมนต์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ได้กล่าวเร่ือง อานิสงสจ์ ากการสวดมนต์ใจความตอนหน่งึ ว่า อาตมาไดเ้ หน็ อานสิ งสข์ องการสวดมนตด์ ว้ ยตวั อาตมาเอง ในสมัยท่อี าตมาไดอ้ อกเดนิ ธุดงค์ในปา่ เป็นเวลา ๑๕ ปี โดยอาศัย อยู่ในเขตดงพญาไฟ ซ่ึงเป็นเขตที่อยู่ใกล้ชายแดนของประเทศเขมร ในสมัยน้ันเต็มไปด้วยสิงสาราสัตว์ และภูตผีวิญญาณ ตลอดจน ชาวบ้านท่ีมีเวทมนต์คาถา และเล่นคุณไสยกันอยู่อย่างมากมาย ในอาณาบรเิ วณชายแดนแหง่ ประเทศสยามในตอนนนั้ อาตมาไดเ้ ดนิ ธดุ งคแ์ ตเ่ พยี งลำพงั ในชว่ งนน้ั อาตมามไิ ด้ศกึ ษาในพระเวทมนตรค์ าถาอาคมใดเลย นอกจากคำวา่ พุทธงั สะระณงั คัจฉาม,ิ ธมั มงั สะระณัง คจั ฉาม,ิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ซึง่ มคี วาม หมายวา่ ขา้ พเจ้าขอยึดมน่ั พระพทุ ธเจา้ เป็นท่พี ่ึง พระธรรมเป็นทีพ่ ึ่ง พระสงฆ์เป็นท่ีพ่งึ อาตมาไปท่ีแห่งหนตำบลใดก็จะกล่าวเพียงคำน้ี เป็นท่ีพึ่งทางจิตใจของอาตมา อาตมา เดินทางเข้าสู่หมู่บ้านชายแดนแห่งประเทศสยาม ในดงพญาไฟขณะน้ัน ในหมู่บ้านมีชาวบ้าน อาศัยอยู่เพียงเล็กน้อย อาตมาจึงได้ปักกลดอยู่ที่ท้ายหมู่บ้าน มีชาวบ้านนำอาหารมาถวาย ตามกำลังท่ีเขาจะพอทำได้ อาตมาอาศัยอยู่ท่ีน้ันเป็นระยะเวลาหลายปี และ ณ ท่ีแห่งนั้น อาตมาจึงได้พบคณุ วเิ ศษแห่งการสวดมนต์ ท่มี า : หนงั สอื อมตะธรรม สมเดจ็ โต พรหมรงั สี 2 บทเจรญิ พระพุทธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี ส่งทา้ ยปเี ก่าวถิ ไี ทย ต้อนรับปีใหมว่ ิถพี ุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

พระพรหมวชริ ญาณ เจา้ อาวาสวดั ยานนาวา กรรมการ มหาเถรสมาคม กล่าวถึงอานิสงส์แห่งการสวดมนต์ในคืนข้ามปีนั้น จะทำใหไ้ ดโ้ อกาสในการระลกึ ถงึ บญุ กศุ ลทป่ี ฏบิ ตั มิ าตลอดปี หรอื สงิ่ ใด ทเ่ี ราทำผิดพลาดกจ็ ะไดม้ าร่วมรวมจิตด้วยการสวดมนต์บทต่างๆ “เชื่อว่าการสวดมนต์ได้ทำจิตให้สงบ อย่างน้อยก็จะลบล้าง ความร้ายด้วยความดี ชำระล้างบาปด้วยบุญ อดีตผ่านไปแล้วให้มัน ผ่านไป ไม่ต้องนำมาคิดใหม่ และมาเริ่มต้นใหม่ ให้มองไปข้างหน้า อะไรท่ดี ีอยูแ่ ลว้ ก็ใหม้ องกลับไป ทบทวนและพัฒนาใหด้ ยี ่ิงขึ้น” พระพรหมบณั ฑติ เจา้ อาวาสวดั ประยรุ วงศาวาส กรรมการมหาเถรสมาคม กล่าวว่า ช่วงเทศกาลปีใหม่น้ี เราทำบุญทำกุศลเพื่อความเป็นสิริมงคล นำมาซึ่งความสุข สวัสดีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เพื่อให้ชาวพุทธได้มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ส ว ด ม น ต์ ข้ า ม ปี โ ด ย พ ร้ อ ม เ พ รี ย ง กั น ท่ัวประเทศ ซ่ึงมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ให้คนทั้ง ในประเทศและท่วั โลกไดม้ ีสว่ นร่วม ร้อยใจเปน็ หน่ึงเดยี ว ทำ ความดีด้วยกัน กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีสร้างความสามัคคี นำความสขุ มาให้ ดงั พทุ ธภาษติ วา่ “สขุ า สงฆฺ สสฺ สามคั ค”ี แปลความวา่ “ความสามัคคีพร้อม เพรยี งของหม่คู ณะนำความสขุ มาให”้ ความสามัคคี หมายถึง ความมนี ้ำหน่งึ ใจเดียว ทำอะไรด้วยความคดิ คลา้ ยกนั ชาวไทย สวดมนต์ข้ามปี มีจิตใจมองเห็นความดีงามและสวดมนต์ไปพร้อม ๆ กัน ถ้าสวดแต่ปาก แต่ใจ ล่องลอยไปที่อ่ืน อย่างนี้เรียกว่า สวดมนต์ไม่ได้รวมใจเป็นหน่ึงเดียว และเราจะไม่มีความสุข เพราะว่าใจไม่เต็มร้อย ความสุขไม่เกิด ในบ้านเมืองเรา ถ้ามีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน บ้านจะมคี วามสขุ วดั กม็ ีความสขุ ประเทศกม็ คี วามสขุ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) ได้ให้ ข้อคิด หลักธรรมเกี่ยวกับอานิสงส์หรือผลท่ีจะได้รับจากการ สวดมนต์ข้ามปไี วด้ งั น้ี ๑. ลดความเสีย่ งจากอบายมขุ อบุ ัตเิ หตุ และความช่ัวร้าย ๒. เป็นการทำบุญใหญ่ให้กับชีวิต ท้ังทางกาย ทางจิต และ ทางปญั ญา ๓. เปน็ การสง่ ท้ายดว้ ยธรรมะ และตอ้ นรบั ดว้ ยศีล ๔. เป็นการสร้างบรรยากาศรูเ้ ช่นเห็นจรงิ ในสัจธรรม ๕. เริ่มตน้ ชีวิตดว้ ยส่ิงท่เี ปน็ สิรมิ งคล อันจะส่งผลใหไ้ ดพ้ บส่งิ ที่เป็นมงคลตลอดท้งั ปี บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี 3 ส่งท้ายปเี ก่าวถิ ีไทย ตอ้ นรบั ปใี หมว่ ถิ พี ทุ ธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

ความสำคัญของการสวดมนต์ ก า ร ส ว ด ม น ต์ เ ป็ น กิ จ ท่ี จ ำ เ ป็ น แ ล ะ ส ำ คั ญ ส ำ ห รั บ พุทธศาสนิกชน เป็นประเพณีนิยมที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาเป็นเวลา ชา้ นาน เปน็ หลกั ปฏบิ ตั เิ บอื้ งตน้ อนั จะนำไปสกู่ ารเรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ติ าม หลักคำสอนในระดับท่ีสูงขึ้นไป การสวดมนต์มีอานิสงส์และ คุณประโยชน์มาก ซง่ึ พอสรุปได้ ดังนี้ ๑. เช่ือว่าได้เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะขณะสวด มนต์อยู่นั้นจิตรำลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรมคำสอน และ คุณความดีของพระสงฆ์สาวก ๒. ขณะท่ีสวดมนต์อยู่นั้น จิตใจจะสงบ ปราศจากความโลภ ความโกรธ ความหลง ๓. จติ เป็นสมาธิ เข้มแขง็ อดทน ๔. ได้ปัญญารแู้ จง้ เห็นจริงถึงสัจธรรมในการดำเนินชวี ิต ๕. เปน็ การสง่ั สมบญุ บารมี จติ ใจสงบ นอนหลบั สบาย ไมฝ่ นั รา้ ย ๖. เป็นการบริหารร่างกายอย่างหน่ึง เช่น การยกมือ การประนมมือ การก้มกราบ การเปล่งออกเสยี งทำใหป้ อดขยาย ระบบทางเดินหายใจดี สรา้ งภมู ิคุ้มกนั ภยั แก่ร่างกาย ๗. การสวดมนตเ์ ปน็ หมคู่ ณะ ตอ้ งมคี วามพรอ้ มเพรยี งกนั เรมิ่ พธิ พี รอ้ มกนั กราบพรอ้ มกนั สวดมนตพ์ รอ้ มกนั เลิกพรอ้ มกนั เปน็ การสร้างระเบยี บและความสามคั คใี นหมู่คณะ สวดมนต์อยา่ งไรและสวดเมอ่ื ไหร่ การสวดมนต์นั้นมีการสวดมนต์เฉพาะบทบาลี และการสวดมนต์บทบาลีและมีคำแปล การสวดมนต์ท้ังสองแบบนี้มีความแตกต่างกันตรงที่หากสวดมนต์ในวันธรรมดา นิยมสวดเฉพาะ บทภาษาบาลี แต่หากเป็นวันธัมมัสวนะหรือวันพระ นิยมสวดโดยมีคำแปลกำกับด้วย ข้อดีของ การสวดมนต์แปลก็คือ ทำให้เข้าใจเนื้อหาของบทสวดซ่ึงก่อให้เกิดท้ังบุญ (อิ่มใจ/สุขใจ) ท้ังปัญญา (ความเข้าใจเนื้อหาสาระนำมาปรับใช้ในชีวิตได้จริง) และในการสวดนั้น จะสวดในใจ หรือสวดแบบเปล่งเสียงก็ได้ทั้งส้ิน รวมท้ังจะสวดแบบมีคำแปลเป็นภาษาไทย หรือแบบที่มี คำแปลเป็นทำนองสรภัญญะก็ได้อีกเช่นกัน ท้ังน้ีให้พิจารณาตามกาลเทศะเป็นสำคัญ กล่าวคือ การสวดตอนเช้า-ตอนเย็น (เรียกว่าทำวัตรเช้า-ทำวัตรเย็น) และการสวดตามเวลาท่ีสะดวก หรอื ยามที่ต้องการความสงบ ความเป็นสริ ิมงคล ความมนั่ ใจ 4 บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ ้ามปี ส่งทา้ ยปเี ก่าวถิ ีไทย ต้อนรับปใี หมว่ ถิ พี ทุ ธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

ทง้ั น้ี ผทู้ ม่ี เี วลามากพอจะตง้ั เปน็ กตกิ าขนึ้ มาสำหรบั ตนเองดว้ ยการสวดมนตต์ อนเชา้ ตรู่ หรือตอนเยน็ หรอื เวลากอ่ นนอนก็ทำได้ แตส่ ำหรับผู้ทไ่ี ม่มีเวลาจะสวดตามสะดวกทไี่ หน เมื่อไหร่ ไมว่ ่าจะทวี่ ัด ท่บี ้าน ที่ทำงาน บนรถสว่ นตวั บนรถประจำทาง ยามนง่ั รอ เพ่ือทำกจิ กรรมใด ๆ หรือแม้กระท่ังยามเดินทางไกลที่ต้องขึ้นรถ ลงเรือ หรือยามไปนอนพักค้างอ้างแรมในต่างถ่ิน ต่างที่ หรือในยามท่ีจิตใจว้าวุ่น สับสน ประหว่ัน พร่ันพรึง ต้องการขวัญกำลังใจ ก็สามารถ สวดมนตไ์ ดท้ งั้ สิน้ กล่าวอีกนยั หน่ึงวา่ พระพุทธมนตน์ ั้นสวดได้ทุกท่ี ทกุ เวลา ประโยชนจ์ ากการสวดมนต์ การสวดมนต์กอ่ ใหเ้ กิดพลานภุ าพแหง่ พระพทุ ธมนต์ ทำใหจ้ ำจำธรรมะในบทสวดมนต์ ต่าง ๆ ได้ เช่นในมงคลสูตร พุทธานุภาพบำบัดปัดเป่าอุปัทวันตราย ๓ ประการ คือ ทุกข์ภัย และโรคร้ายท้ังปวง ขณะเดียวกันก็เพิ่มพูนสรรพสมบัติแก่ผู้เจริญพระพุทธมนต์อยู่เนืองนิตย์ และเปน็ การพฒั นาจิตใจของส่งิ มีชวี ิตใหส้ งู ขึน้ จากภาวะปกติ สามารถประมวลได้ดังน้ี ๑. เป็นการเสริมสรา้ งสติปญั ญา ๒. เป็นการอบรมจิตใจใหป้ ระณีตและมีคุณธรรม ๓. เปน็ สริ มิ งคลแก่ชีวิตตนและบริวาร ๔. เป็นการฝกึ จิตใจให้มีคุณค่าและมอี ำนาจ ๕. ทำให้มีความเห็นถูกตอ้ งตามหลักพระพทุ ธศาสนา ๖. เปน็ การรักษาศรทั ธาปสาทะของสาธุชนไว้ ๗. เทา่ กบั ได้เข้าเฝ้าพระพทุ ธเจ้าแมป้ รินพิ พานแลว้ ๘. เป็นเนตตขิ องอนุชนต่อไป ๙. เปน็ บุญกริ ิยา เป็นวาสนาบารมี เปน็ สุขทางใจ รว่ มกิจกรรมสวดมนต์ขา้ มปี ขอเชิญร่วมสวดมนต์ข้ามปีส่งท้ายปีเก่าวิถีไทย ต้อนรับปีใหม่วิถีพุทธ ระหว่างวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘-๑ มกราคม ๒๕๕๙ เพื่อร่วมเฉลิมฉลองปีใหม่ด้วยมิติทางศาสนา อันจะเป็นมงคลให้กับชีวิต ตามหลักศาสนาท่ีนับถือ โดยยึดหลักประหยัดและเรียบง่าย และสามารถปฏิบัติร่วมกันได้ท้ังครอบครัว น้อมนำแนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประพฤติปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความสงบร่มเย็น เป็นสุข เกิดความเจริญและความมั่นคง ทั้งต่อตนเอง ต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ การสวดมนต์ข้ามปีน้ี ได้รับ การตอบรับจากพุทธศาสนิกชนเป็นอย่างดี นับเป็นเรื่องที่ดีงามของสังคมไทย ท่ีคนรุ่นใหม่ ได้เข้าวัดปฏิบัติธรรม โดยเฉพาะการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัว ทุกคน สามารถทำได้ เพราะเป็นวิถีชีวติ ของคนไทย เพ่ือความเจรญิ มน่ั คงของชีวิตสบื ไป บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี 5 ส่งทา้ ยปเี กา่ วถิ ีไทย ต้อนรบั ปใี หมว่ ิถพี ทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

ในโอกาสวนั สง่ ท้ายปีเก่า ตอ้ นรับปใี หม่ ๒๕๕๙ นี้ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ขอเชญิ ชวนทุกท่านไปร่วมกิจกรรม “สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๙” ณ วัดหรือสถานท่ีต่างๆ เพื่อร่วมกันส่งเสริมและ สบื ทอดคณุ ธรรมของคนในชาติ ให้ดำรงอยคู่ สู่ ังคมไทยอยา่ งย่งั ยนื สบื ไป เรม่ิ ต้นปีใหม่ รว่ มสืบสานวถิ ีถิน่ วถิ ไี ทย : นำความเปนไทย สู่ใจประชาชน กิจกรรมส่งท้ายปีเก่าวิถีไทย ต้อนรับปีใหม่วิถีพุทธ เป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์และ มีคุณค่าต่อวิถีชีวิตของคนไทย ได้รับความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ จากทุกภาคส่วนได้เข้ามา มีส่วนร่วมส่งเสริมสนับสนุน ซ่ึงถือว่ากิจกรรมน้ีเป็นของทุกคนจึงเป็นโอกาสท่ีดีท่ีคนไทยทุกคน จะร่วมกันฟืนกระแสวัฒนธรรมที่ดีงามด้วยการส่งเสริมความเป็นไทย มีจิตสำนึกพฤติกรรม ความเปน็ ไทยในชวี ติ ประจำวัน ดงั น้ี ๑. มีความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย ๒. มอี ธั ยาศยั ไมตรี มนี ้ำใจทักทาย ยิม้ แยม้ กลา่ วคำสวสั ดี ขอบคุณ ขอโทษ ๒. มีความกตัญญกู ตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ๓. แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ แสดงความเคารพด้วยการ ไหว้ การกราบ วางตนอย่างสุภาพ อ่อนน้อม มีน้ำใจ มีความเกรงใจ ช่วยเหลือซ่งึ กันและกัน ๔. รว่ มกจิ กรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย สง่ เสรมิ การละเลน่ พนื้ เมอื ง และสามารถชักชวน แนะนำใหผ้ ูอ้ ืน่ ปฏบิ ตั ติ ามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย ๕. เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสือ่ สารได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมรวมถึงภาคถิน่ ๖. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต แนะนำให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมในการ สบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย การเตรียมเข้าร่วมกจิ กรรมสวดมนต์ข้ามปี เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสวดมนตข์ า้ มปี ไดร้ บั อานสิ งสจ์ าการปฏบิ ตั บิ ชู า และอามสิ บชู า อย่างสมบูรณ์ ด้วยจิตใจท่ีดี และเป่ียมด้วยความเอ้ือเฟือเผ่ือแผ่ ความมีเมตตาและกรุณาต่อกัน ควรปฏบิ ตั ติ น ดงั นี้ ๑. การเตรียมกายเมื่อไปวัดหรือสถานที่ท่ีเหมาะสม ควรแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีขาวเรียบ หรอื สที ไ่ี มฉ่ ดู ฉาด ไมห่ ลวมไมค่ บั เกนิ ไป เนอื่ งจากจะไมค่ ลอ่ งตวั ไมป่ ระดบั รา่ งกายดว้ ยเครอ่ื งประดบั ไม่ใชเ้ ครือ่ งประทนิ ผิว เชน่ นำ้ หอม เป็นตน้ ขอเชญิ ชวนแตง่ ผ้าไทยหรอื พ้ืนบา้ น ๒. รับประทานอาหารแต่พอดี ไม่อ่ิมจนอึดอัด เพื่อประทังความหิว เนื่องจากถ้ามี อาการหวิ กระหายจะทำใหจ้ ติ ใจไมส่ บายไปดว้ ย ควรงดเวน้ อาหารทอี่ าจจะทำใหเ้ กดิ อาการทอ้ งเสยี เป็นตน้ และหลีกเล่ียงของมึนเมาทกุ ชนดิ 6 บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ า้ มปี ส่งทา้ ยปเี กา่ วถิ ไี ทย ตอ้ นรับปใี หม่วถิ ีพุทธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙

๓. เชิญชวนครอบครัว เพ่ือนบ้าน เข้าร่วมสวดมนต์ ณ วัดใกล้บ้าน หรือสถานท่ีท่ีมี การจัดท่ีเหมาะสม และถอื โอกาสเริ่มต้นปีใหม่ ด้วยกันรกั ษาศลี ๕ ท้ังครอบครวั เพอื่ ประโยชนส์ ขุ ทง้ั แกต่ นเอง ครอบครัว และสังคมโดยรวม บทเจริญพระพุทธมนต์ทีใ่ ช้ในการสวดมนต์ข้ามป ี พระพทุ ธมนต์ หมายถงึ พระพุทธพจน์อันเปน็ คำสง่ั สอนของพระสมั มาสัมพระพทุ ธเจา้ ที่มีปรากฏในพระไตรปิฎกบ้าง เป็นคำที่แต่งขึ้นมาภายหลังบ้าง โดยถือกันว่าพระพุทธมนต ์ เปน็ คำศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ สามารถปดั ปอ้ งอนั ตรายต่างๆได้ จึงเรียกอีกอย่างหนง่ึ วา่ พระปรติ ร บทพระพทุ ธมนตท์ น่ี ำมาใชเ้ ปน็ บทสวดมนตข์ า้ มปนี นั้ ไมม่ กี ำหนดทแี่ นน่ อนชดั เจนลงไป สุดแท้แต่ความสะดวกและความเหมาะสมในแต่ละสถานท่ี แต่ท่ีนิยมโดยท่ัวไปจะนำบทสวดมนต์ ที่มีในเจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน ซึ่งเป็นที่คุ้นเคยสำหรับพุทธศาสนิกชนเป็นอย่างดีมาใช้เป็น บทสวดในการสวดมนตข์ า้ มปี ในท่ีน้ีจะขอนำความหมายโดยย่นย่อของพระพุทธมนต์ที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ มาแสดงไว้ ดงั ต่อไปน้ ี ๑. บทนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นบทที่เริ่มต้นก่อนที่จะมีพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา เรียกกันโดยทวั่ ไปวา่ บทไหวค้ รู เปน็ บททีถ่ วายความเคารพแด่พระพทุ ธเจ้า ถึงแม้ว่าพระองค์จะเสด็จปรินิพพานไปแล้ว แต่พระคุณยังคงอยู่มิได้ล่วงลับตามพระองค์ไป บทนอบนอ้ มน้ี จะกลา่ ว ๓ ครงั้ ทง้ั นก้ี เ็ พอ่ื เปน็ การทำใจใหแ้ นบสนทิ กบั พระคณุ จรงิ ๆ ไมโ่ ยกโคลง กวัดแกว่งไปได้ง่าย ๆ เปรียบเหมือนเชือก ๓ เกลียว ย่อมจะแน่นและเหนียวกว่า ๑ เกลียว หรือ ๒ เกลยี วเปน็ แน ่ ๒. บทไตรสรณคมน์ เร่ิมแรกเป็นบทท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นในพิธีบรรพชา อุปสมบท ต่อมาได้นำมาใช้ในการเริ่มต้นพิธีกรรมทางพุทธศาสนาท่ัวไป เป็นบทที่แสดงถึง การยอมรบั พระพทุ ธ พระธรรมและพระสงฆ์ ว่าเปน็ ทพ่ี ่ึงท่ีระลึก ๓-๔. บทนะมะการะสิทธิคาถา แยกเป็นบทสัมพุทเธ เป็นการกล่าวนอบน้อม พระพทุ ธเจา้ ๓, ๕๘๔, ๑๙๒ พระองค์ และดว้ ยอานภุ าพของการนอบนอ้ มกข็ อใหภ้ ยนั ตรายทง้ั ปวง จงพินาศไป บทโย จักขุมา เป็นบทท่ีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ประพันธ์ขึ้นใช้แทนบทสัมพุทเธ เน้ือหาของบทนี้แสดงความนอบน้อมต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และด้วยเดชของพระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ขอให้มีชัยชนะมคี วามสำเรจ็ ปราศจาก อนั ตราย บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มป ี  สง่ ท้ายปีเก่าวถิ ีไทย ต้อนรับปใี หมว่ ถิ ีพุทธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

๕. บทนะโมการะอฏั ฐะกะคาถา โดยทวั่ ไปเรยี กวา่ นโม ๘ บท เปน็ บททพี่ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ ทรงแต่งขึ้นในครั้งท่ีทรงพระผนวชเป็นพระภิกษุ เน้ือหา ของบทนี้ว่าด้วยการนอบน้อม ๘ ครั้ง คือ ในบทน้ีมีคำว่า “นโม” ๘ คร้ัง ใช้สวดต่อจากบท สัมพุทเธ หรอื บทนมการสิทธิคาถา นยิ มสวดในงานมงคล ๖. บทมังคะละสูตร หมายถึง บทท่ีว่าด้วยมงคล พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนถึง หลกั ธรรมที่นำความสุข ความเจริญ ซ่ึงเรียกว่า มงคลอันสูงสุด ๓๘ ประการ เมอื่ บุคคลประพฤติ ปฏบิ ัติตามจะเปน็ ผู้ไมพ่ า่ ยแพ้ ประสบความสำเร็จในทกุ ๆ ที่ ๗. บทระตะนะสูตร หมายถึง บทที่แสดงอานุภาพของพระรัตนตรัยโดยตรง เมื่อ เทวดาและมนุษย์รู้คุณค่าของพระรัตนตรัย ยอมรับนับถือ บูชาพระรัตนตรัยเป็นท่ีพึ่งที่ระลึกแล้ว ย่อมก่อให้เกิดพลังใจในการต่อสู้ฟันฝ่าเพื่อชัยชนะต่ออุปสรรค ปัญหา ตลอดจนภัยทั้งหลาย ท้ังปวงได้ ๘. บทกะระณียะเมตตะสูตร บทที่ว่าด้วยการเจริญเมตตา พระพุทธเจ้าตรัสมุ่ง หมายการแผ่จิตท่ีเก้ือกูล ปรารถนาดีให้แก่ตนเองและสรรพสัตว์ ปรารถนาให้ตนเองและสรรพ สัตว์ไมม่ เี วรต่อกนั ไมเ่ บยี ดเบยี นกนั มีแตส่ ขุ ไร้ทกุ ข์ ปราศจากความขนุ่ เคอื งใจ ไรพ้ ยาบาท ๙. บทขันธะปริตร บทที่มีความหมายว่า บทสวดป้องกันพญางู ส่วนสาเหตทุ ่ตี ง้ั ชอ่ื วา่ ขันธปริตร นั้น อาจหมายถึง มนต์ป้องกันตัว (จากพญางู) ท้ังน้ี เน่ืองจาก ขันธ แปลว่า ตัว หรือกาย นัน่ เอง ในปรติ รนี้ พระพุทธเจ้าตรสั สอนเรอ่ื งเมตตากรณุ า ๑๐. บทโมระปริตร บทที่หมายถึง คาถาสำหรับป้องกันตัวของพญานกยูง กล่าวคือ เมื่อพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพญานกยูงได้เจริญมนต์เป็นประจำทำให้แคล้วคลาด จากภยนั ตราย ดังนั้น โบราณาจารย์ จงึ ไดน้ ำมาเป็นบทสวดมนตเ์ พอ่ื ให้แคล้วคลาดจากอนั ตราย ปริตรนี้เป็นการกลา่ วถงึ การแสดงความนอบนอ้ ม ๑๑. บทวัฏฏะกะปริตร บทท่ีหมายถึง ปริตรของนกคุ่ม คือ เมื่อพระโพธิสัตว์เสวย พระชาติเป็นนกคุ่มได้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าในอดีต ระลึกถึงพระธรรมคุณ ตั้งสัจจาธิษฐานขอให้ ไฟปา่ มอดดบั ๑๒. บทพระพทุ ธคุณ พระธรรมคุณ พระสงั ฆคณุ ๑๓. บทอาฏานาฏิยะปริตร บทท่ีกล่าวนมัสการพระพุทธเจ้าในอดีตท้ังหลายจนถึง องค์ปัจจุบัน ต่อจากนั้นก็บรรยายถึงท้าวมหาราชท้ัง ๔ ว่า ใครเป็นอะไร มีหน้าที่อะไร และ สุดท้าย ก็สรุปพระคุณของพระรัตนตรัย เช่ือกันว่า ผู้ใดสวดอาฏานาฏิยรักขาแล้ว บรรดายักษ์ และภูตผีปีศาจทง้ั หลายจะไม่ทำอนั ตรายและคุม้ ครองรกั ษาให้ปลอดภัย ๑๔. บทมะหากัสสะปะโพชฌังคะสูตร บทที่ว่าด้วยพระมหากัสสปะหายอาพาธด้วย โพชฌงค์ ๗ ประการ  บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ข้ามป ี ส่งท้ายปีเก่าวิถีไทย ตอ้ นรับปีใหม่วิถีพุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

๑๕. บทมะหาโมคคัลานะโพชฌังคะสูตร บทท่ีว่าด้วยพระมหาโมคคัลานะ หายอาพาธด้วยโพชฌงค์ ๗ ประการ ๑๖. บทมะหาจุนทะโพชฌังคะสูตร บทที่ว่าด้วยพระมหาจุนทะหายอาพาธด้วย โพชฌงค์ ๗ ประการ ๑๗. บทโพชฌงั คะปรติ ร บททีว่ า่ ดว้ ยองคธ์ รรมทเ่ี ป็นไปเพ่ือตรัสรู้ มี ๗ ประการ คือ (๑) สติ ความระลึกได้ (๒) ธัมมวิจยะ ความสอดสอ่ งธรรม (๓) วิริยะ ความเพยี ร (๔) ปตี ิ ความ อ่ิมเอมใจ (๕) ปัสสัทธิ ความสงบใจ (๖) สมาธิ ความต้ังใจมน่ั (๗) อเุ บกขา ความวางเฉย ๑๘. บทธะชัคคะสตู ร บทท่ีวา่ ด้วยยอดธงหรือชายธง พระพทุ ธเจ้าไดต้ รสั สอนให้ภิกษุ ระลกึ ถงึ คณุ พระพทุ ธ คณุ พระธรรม คณุ พระสงฆ์ ในเวลาทเ่ี กดิ ความหวาดกลวั จนขนพองสยองเกลา้ ขณะท่ีบำเพ็ญสมาธิตามป่าเขา เพื่อให้ความหวาดกลัวหมดไป เหมือนพระอินทร์ขณะออกรบ กบั พวกอสรู ส่ังใหน้ ักรบบริวารมองยอดธงรถศกึ ของพระองค์ ๑๙. บทอะภะยะปริตร บทท่ีเป็นการขอให้ลางร้าย สิ่งไม่เป็นมงคล เสียงนกเสียงกา ท่ีไม่เป็นมงคล บาปเคราะห์ ฝันร้ายพินาศไปด้วยพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ และสังฆานุภาพ ตอนกลาง เป็นการอัญเชิญเหล่าเทพยดาที่ได้อัญเชิญมาร่วมในงานมงคล ร่วมฟังสวด ร่วมรับ สิ่งท่ีเป็นมงคล กลับวิมานไป และขอให้เทพยดาทั้งหลายได้ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา และตอนท้ายเป็นการขอให้อานุภาพของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ ทัง้ หมดปกปอ้ งคุ้มครองรักษา ๒๐. บทสกั กตั วา บททส่ี รรเสรญิ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์วา่ ยอดเย่ียม และ ด้วยเดชแหง่ พระพทุ ธ พระธรรมและพระสงฆ์ ขอให้สง่ิ ไมด่ ีมลายสญู ไป ๒๑. บทนตั ถิ เม บททวี่ า่ ดว้ ยทพ่ี งึ่ อนั ประเสรฐิ คอื พระพทุ ธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ ์ ๒๒. บทยังกิญจิ บทที่ว่าด้วยรัตนะหรือสิ่งมีค่าในโลกน้ี คือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ ๒๓. บทเทวะตาอุยโยชะนะคาถา บทที่ว่าด้วยการขอให้สรรพสัตว์พ้นทุกข์ และ เหลา่ เทวดาทีม่ ารว่ มอนุโมทนาบญุ ขอให้กลับไป ๒๔. บทอุณหสิ สวิชยคาถา บทท่ีวา่ ด้วยพระธรรมที่ชือ่ วา่ อณุ หสิ วชิ ยั เปน็ บทท่ีป้องกัน ภัยอันตรายจากอมนษุ ย์ ภตู ผี ปีศาจ ๒๕. บททวัตติงสาการะปาฐะ บทท่ใี ห้พิจารณาเหน็ ถึงส่งิ ทีม่ ีภายในรา่ งกาย ๒๖. บทมงคลจักรวาลใหญ่ บทท่ีอ้างอานุภาพพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ใหก้ ำจัดทุกขโ์ ศกโรคภยั ทัง้ ปวง ๒๗. บทถวายพรพระ บทท่ีว่าด้วยชัยชนะ ๘ ประการอันเปน็ มงคลของพระพทุ ธเจ้า บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี  สง่ ท้ายปเี กา่ วิถีไทย ตอ้ นรบั ปีใหม่วิถพี ุทธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

บทเจริญพระพุทธมนต ์ คำนมสั การพระรัตนตรัย อะระหงั สัมมาสมั พทุ โธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า เปน็ พระอรหันต ์ ดับเพลิงกเิ ลสเพลิงทกุ ข์สนิ้ เชงิ ตรัสรชู้ อบได้โดยพระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตงั อะภิวาเทมิ. ข้าพเจ้าอภวิ าท พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ผู้รู้ ผตู้ น่ื ผ้เู บิกบานด้วยธรรม. (กราบ ๑ ครัง้ ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรม เป็นธรรมอนั พระผมู้ ี พระภาคเจ้า ตรสั ไวด้ ีแล้ว, ธัมมัง นะมสั สามิ. ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม. (กราบ ๑ คร้ัง) สปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต พระสงฆส์ าวกของพระผู้ม ี สาวะกะสงั โฆ, พระภาคเจ้า ปฏิบตั ดิ แี ลว้ , สังฆัง นะมาม.ิ ข้าพเจา้ นอบนอ้ มพระสงฆ์. (กราบ ๑ คร้ัง) (๑) นอบนอ้ มพระผ้มู พี ระภาคเจา้ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธสั สะฯ (ว่า ๓ ครั้ง) คำแปล ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ซึ่งเป็นพระอรหันต์ผู้ไกลจากกิเลส ตรัสร้ชู อบ ไดด้ ว้ ยพระองคเ์ อง 10 บทเจรญิ พระพุทธมนต์ สวดมนตข์ า้ มป ี สง่ ท้ายปเี ก่าวถิ ีไทย ตอ้ นรบั ปีใหมว่ ิถีพุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

(๒) ไตรสรณคมน์ พทุ ธัง สะระณัง คัจฉาม ิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สงั ฆัง สะระณงั คจั ฉามิ ทตุ ิยัมป ิ พุทธงั สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมงั สะระณัง คัจฉามิ ทตุ ิยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉาม ิ ตะติยมั ปิ พทุ ธงั สะระณงั คัจฉาม ิ ตะตยิ ัมป ิ ธัมมัง สะระณัง คจั ฉาม ิ ตะติยมั ปิ สังฆงั สะระณัง คจั ฉามิ คำแปล ข้าพเจ้าขอถงึ พระพทุ ธเจา้ วา่ เปน็ ท่พี ึ่ง ขา้ พเจ้าขอถงึ พระธรรมว่าเปน็ ที่พ่ึง ขา้ พเจ้าขอถึงพระสงฆ์วา่ เปน็ ทพ่ี ่ึง แม้วาระที่ ๒ ข้าพเจา้ ขอถงึ พระพทุ ธเจา้ วา่ เป็นท่ีพ่งึ แม้วาระที่ ๒ ขา้ พเจา้ ขอถึงพระธรรมว่าเป็นท่ีพ่ึง แมว้ าระที่ ๒ ข้าพเจ้าขอถงึ พระสงฆว์ า่ เปน็ ทีพ่ ่งึ แมว้ าระที่ ๓ ข้าพเจ้าขอถงึ พระพทุ ธเจ้าว่าเป็นทพ่ี ง่ึ แม้วาระที่ ๓ ขา้ พเจ้าขอถึงพระธรรมว่าเปน็ ทพี่ ่งึ แม้วาระท่ี ๓ ข้าพเจา้ ขอถึงพระสงฆว์ ่าเปน็ ท่ีพง่ึ (๓) นะมะการะสทิ ธคิ าถา (สมั พทุ เธ) สมั พทุ เธ อัฏฐะวสี ัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก ปญั จะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสงั ธัมมัญจะ สังฆญั จะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานภุ าเวนะ หันตวา สพั เพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาป ิ วนิ ัสสนั ตุ อะเสสะโตฯ บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนตข์ า้ มปี 11 สง่ ทา้ ยปเี ก่าวถิ ีไทย ต้อนรับปใี หม่วถิ พี ุทธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙

สมั พทุ เธ ปัญจะปัญญาสญั จะ จะตุวสี ะติสะหสั สะเก ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สริ ะสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สงั ฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สพั เพ อปุ ัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วนิ ัสสนั ตุ อะเสสะโตฯ สัมพุทเธ นะวตุ ตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬสี ะสะหสั สะเก วีสะตสิ ะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธมั มญั จะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามหิ ัง นะมะการานุภาเวนะ หนั ตวา สัพเพ อปุ ทั ทะเว อะเนกา อันตะรายาป ิ วินัสสนั ตุ อะเสสะโตฯ คำแปล ขา้ พเจ้าขอนอบน้อมพระสัมพทุ ธเจ้า ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์ ดว้ ยเศยี รเกล้า ขอนอบนอ้ ม พระธรรมและพระสงฆ์ของพระสัมพุทธเจ้า ท้ังหลายเหล่าน้ันโดยเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการ ทำความนอบนอ้ ม ขอจงขจดั เสยี ซง่ึ อปุ ทั วะทง้ั ปวง แมอ้ นั ตรายเปน็ อนั มากกจ็ งพนิ าศไปโดยสน้ิ เชงิ ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระสมั พทุ ธเจา้ ๑,๐๒๔,๐๕๕ พระองคด์ ว้ ยเศยี รเกลา้ ขอนอบนอ้ ม พระธรรมและพระสงฆ์ของพระสัมพุทธเจ้าท้ังหลายเหล่านั้นโดยเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการ ทำความนอบนอ้ ม ขอจงขจดั เสยี ซงึ่ อปุ ทั วะทง้ั ปวง แมอ้ นั ตรายเปน็ อนั มากกจ็ งพนิ าศไปโดยสน้ิ เชงิ ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระสมั พทุ ธเจา้ ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองคด์ ว้ ยเศยี รเกลา้ ขอนอบนอ้ ม พระธรรมและพระสงฆ์ของพระสัมพุทธเจ้าท้ังหลายเหล่านั้นโดยเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการ ทำความนอบนอ้ ม ขอจงขจดั เสยี ซง่ึ อปุ ทั วะทง้ั ปวง แมอ้ นั ตรายเปน็ อนั มากกจ็ งพนิ าศไปโดยสนิ้ เชงิ (๔) นะมะการะสทิ ธิคาถา (โย จกั ขมุ า) โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ สามงั วะ พุทโธ สคุ ะโต วมิ ุตโต มารสั สะ ปาสา วนิ โิ มจะยนั โต ปาเปสิ เขมงั ชะนะตัง วิเนยยัง. พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ ตนั เตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหต ุ สพั พันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ. 12 บทเจรญิ พระพุทธมนต์ สวดมนตข์ า้ มปี ส่งท้ายปเี กา่ วิถีไทย ตอ้ นรบั ปใี หม่วถิ ีพทุ ธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

ธมั โม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สตั ถุ ทัสเสสิ โลกสั สะ วสิ ทุ ธิมัคคงั นิยยานโิ ก ธัมมะธะรสั สะ ธาร ี สาตาวะโห สันตกิ ะโร สุจณิ โณ. ธัมมัง วะรันตงั สิระสา นะมาม ิ โมหปั ปะทาลงั อุปะสันตะทาหัง ตนั เตชะสา เต ชะยะสทิ ธิ โหต ุ สพั พันตะรายา จะ วินาสะเมนต.ุ สทั ธัมมะเสนา สคุ ะตานุโค โย โลกสั สะ ปาปปู ะกเิ ลสะเชตา สันโต สะยงั สันตนิ โิ ยชะโก จะ สวากขาตะธมั มงั วิทติ งั กะโรต.ิ สังฆัง วะรนั ตัง สริ ะสา นะมาม ิ พทุ ธานุพทุ ธัง สะมะสีละทฏิ ฐิง ตันเตชะสา เต ชะยะสทิ ธิ โหต ุ สพั พนั ตะรายา จะ วนิ าสะเมนต.ุ คำแปล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระจักษุ ขจัดมลทินคือโมหะแล้ว ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง เสดจ็ ไปดีแล้ว พ้นไปแลว้ (จากกเิ ลส) ทรงเปล้ืองหมชู่ นอนั เป็นเวไนยสัตว์จากบ่วงมาร ทำให้ถงึ ความเกษม ข้าพเจ้าขอนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ผู้เป็นท่ีพึ่ง และเป็นผู้นำของสัตว์โลก พระองค์นั้นด้วยเศียรเกล้า ด้วยเดชพระพุทธเจ้านั้น ขอชัยชนะและความสำเร็จจงมีแก่ท่าน และขอให้อนั ตรายทัง้ ปวงจงพนิ าศไป พระธรรม อันเป็นดุจธงชยั แห่งพระศาสดาพระองค์นั้น แสดงหนทางแห่งความบรสิ ทุ ธ์ิ แก่สัตว์โลก นำสัตว์ออกจากทุกข์ คุ้มครองผู้ทรงธรรมท่ีบุคคลประพฤติดีแล้ว ย่อมนำความ สำราญก่อให้เกิดความสงบ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระธรรมที่ทำลายโมหะระงับความเร่าร้อนนั้น ด้วยเศยี รเกล้า ดว้ ยเดชพระธรรมน้ัน ขอชยั ชนะและความสำเร็จจงมีแกท่ ่าน และขอใหอ้ ันตราย ทั้งปวงจงพินาศไป บทเจรญิ พระพุทธมนต์ สวดมนตข์ า้ มปี 13 สง่ ทา้ ยปเี กา่ วิถีไทย ต้อนรับปใี หมว่ ถิ ีพุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

พระสงฆ์ ผู้เป็นเสนาประกาศพระสัทธรรม ดำเนินรอยตามพระสุคตเจ้า ชนะอุปกิเลสอันหยาบช้าแห่งโลก เป็นผู้สงบเองด้วย ประกอบผู้อ่ืนไว้ในความสงบด้วย กระทำ พระธรรมท่พี ระผ้มู พี ระภาคเจ้า ตรสั ไวด้ แี ลว้ ให้แจม่ แจง้ ขา้ พเจา้ ขอนมสั การพระสงฆผ์ ตู้ รัสรู้ตาม พระพุทธเจา้ มีศีลและทิฏฐเิ สมอกนั นน้ั ด้วยเศียรเกลา้ ด้วยเดชพระสงฆน์ ้นั ขอชัยชนะและความ สำเร็จจงมแี ก่ทา่ น และขอใหอ้ นั ตรายทง้ั ปวงจงพนิ าศไป (๕) นะโมการะอฏั ฐะกะคาถา (นะโม ๘ บท) นะโม อะระหะโต สมั มา- สมั พุทธัสสะ มะเหสโิ น นะโม อตุ ตะมะธัมมสั สะ สวากขาตสั เสวะ เตนธิ ะ นะโม มะหาสงั ฆัสสาปิ วสิ ทุ ธะสลี ะทิฏฐิโน นะโม โอมาตยารัทธัสสะ ระตะนตั ตยสั สะ สาธุกงั นะโม โอมะกาตตี ัสสะ ตัสสะ วัตถุตตยัสสะปิ นะโมการปั ปะภาเวนะ วคิ จั ฉันตุ อปุ ัททะวา นะโมการานุภาเวนะ สวุ ตั ถิ โหตุ สัพพะทา นะโมการสั สะ เตเชนะ วิธมิ หิ โหมิ เตชะวาฯ คำแปล ขอนอบนอ้ มแด่พระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ผู้แสวงหาประโยชน์อนั ย่ิงใหญ ่ ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระธรรมอนั สงู สดุ ในศาสนานที้ พี่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั ตรสั ไวด้ แี ลว้ ขอนอบน้อมแด่พระสงฆห์ ม่ใู หญ่ ผมู้ ศี ลี และทฏิ ฐิอันบรสิ ุทธิ ์ การนอบนอ้ มแดพ่ ระรตั นตรยั ทข่ี น้ึ ตน้ ดว้ ยคำวา่ อ (ยอ่ มาจาก อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ ) อุ (ยอ่ มาจาก อุตตฺ มธมมฺ สสฺ ) ม (ย่อมาจาก มหาสงฆฺ สฺส) เปน็ การดี ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระรตั นตรยั ทงั้ ๓ นนั้ อนั ลว่ งพน้ โทษตำ่ ชา้ ดว้ ยอำนาจแหง่ การนอบนอ้ ม ขออุปัทวะท้ังหลายจงพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่งการนอบน้อม ขอความสวัสดีจงมีตลอดกาล ทุกเม่อื ดว้ ยเดชแห่งการนอบนอ้ ม ขอเราจงมีเดชในมงคลพิธีเถดิ 14 บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี สง่ ท้ายปเี กา่ วถิ ไี ทย ตอ้ นรบั ปใี หม่วิถพี ุทธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

(๖) มงั คะละสตู ร อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑติ านญั จะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนยี านงั เอตมั มงั คะละมุตตะมงั ฯ ปะฏิรปู ะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตมั มังคะละมุตตะมงั ฯ พาหสุ ัจจญั จะ สิปปญั จะ วนิ ะโย จะ สสุ ิกขิโต สภุ าสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมงั คะละมุตตะมงั ฯ มาตาปติ อุ ุปัฏฐานัง ปุตตะทารสั สะ สงั คะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั ฯ ทานัญจะ ธัมมะจะรยิ า จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กมั มานิ เอตมั มงั คะละมุตตะมังฯ อาระตี วรี ะตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมตุ ตะมงั ฯ คาระโว จะ นวิ าโต จะ สนั ตฏุ ฐี จะ กะตญั ญุตา กาเลนะ ธมั มสั สะวะนัง เอตมั มังคะละมุตตะมงั ฯ ขนั ตี จะ โสวะจสั สะตา สะมะณานญั จะ ทสั สะนงั กาเลนะ ธมั มะสากจั ฉา เอตัมมังคะละมุตตะมงั ฯ ตะโป จะ พรหั มะจะริยัญจะ อะรยิ ะสจั จานะ ทัสสะนงั นิพพานะสัจฉิกริ ิยา จะ เอตัมมังคะละมตุ ตะมังฯ ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมห ิ จติ ตัง ยัสสะ นะ กัมปะต ิ อะโสกัง วิระชัง เขมงั เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั ฯ เอตาทสิ านิ กัตวานะ สพั พตั ถะมะปะราชิตา สพั พตั ถะ โสตถิง คจั ฉันต ิ ตันเตสัง มงั คะละมตุ ตะมันติฯ คำแปล [ข้าพเจ้า (พระอานนท์) สดับมาดังนี้ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาค ประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้กรุงสาวัตถี เมื่อล่วงปฐมยาม เทวดา บทเจรญิ พระพุทธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี 15 ส่งท้ายปีเก่าวถิ ไี ทย ตอ้ นรับปใี หมว่ ิถีพทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

องค์หนึ่ง มีรัศมีงดงามยิ่งนักทำพระเชตวันให้สว่างไสวเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ถวายอภิวาทแล้ว ยนื อยู่ ณ ทส่ี มควรข้างหน่ึง ทูลถามพระพทุ ธเจา้ วา่ เทวดาและมนษุ ยจ์ ำนวนมาก เม่อื ปรารถนา ความสวสั ดี พากนั คดิ คน้ หามงคลทงั้ หลาย ขอพระองคจ์ งตรสั บอกดว้ ยเถดิ วา่ อะไรเปน็ มงคลสงู สดุ (พระพุทธเจา้ ตรสั ตอบว่า)] การไมค่ บคนพาล การคบบัณฑติ การบูชาคนที่ควรบูชา น้ีเป็นมงคลสูงสดุ การอยใู่ นถนิ่ ทเี่ หมาะสม ความมคี วามดเี ปน็ ทนุ เดมิ การตง้ั ตนไวช้ อบ นเ้ี ปน็ มงคลสงู สดุ ความคงแกเ่ รยี น ความมศี ิลปวทิ ยา ความมีวินัย วาจาสภุ าษิต นี้เปน็ มงคลสูงสดุ การเล้ยี งดมู ารดาบดิ า การสงเคราะห์บตุ ร การสงเคราะหภ์ รรยา การทำงานไม่ค่งั ค้าง น้เี ปน็ มงคลสงู สุด การใหท้ าน การประพฤตธิ รรม การสงเคราะหญ์ าติ การทำงานสจุ รติ นเ้ี ปน็ มงคลสงู สดุ การงดเว้นจากความช่ัว การไมด่ ื่มน้ำเมา ความไม่ประมาทในธรรม น้ีเป็นมงคลสงู สดุ ความเคารพ การเจยี มตวั ความสนั โดษ ความกตญั ญู การฟงั ธรรมตามกาลอนั เหมาะสม นเี้ ปน็ มงคลสงู สดุ ความอดทน ความเปน็ คนวา่ นอนสอนงา่ ย การพบเหน็ สมณะ การสนทนาธรรมตามกาล นีเ้ ป็นมงคลสูงสดุ ความเพียร การประพฤติพรหมจรรย์ การเห็นอริยสัจ การทำพระนิพพานให้แจ้ง นี้เป็นมงคลสงู สดุ จิตของผู้ท่ีถูกโลกธรรมกระทบแล้วไม่หว่ันไหว จิตไม่เศร้าโศก จิตปราศจากกิเลส จติ เกษมปลอดภยั นเี้ ป็นมงคลสูงสดุ เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย กระทำมงคล ๓๘ ประการดังที่กล่าวมาน้ีแล้ว จะเป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ ในท่ีทั้งปวง ย่อมถึงความสวัสดีในทุกสถานที่ ข้อน้ันเป็นมงคลสูงสุดของ เทวดาและมนุษยท์ ั้งหลายเหลา่ น้นั ดงั นแี้ ล (๗) ระตะนะสตู ร (ยอ่ ) ยังกิญจิ วติ ตัง อธิ ะ วา หุรงั วา สคั เคสุ วา ยัง ระตะนงั ปะณตี ัง นะ โน สะมงั อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ 16 บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี ส่งทา้ ยปีเก่าวถิ ีไทย ต้อนรับปใี หมว่ ิถพี ทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

ขะยงั วริ าคงั อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สกั ยะมุนี สะมาหโิ ต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจ ิ อิทมั ปิ ธัมเม ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตุฯ ยมั พทุ ธะเสฏโฐ ปะริวณั ณะยี สจุ งิ สะมาธิมานันตะริกญั ญะมาหุ สะมาธนิ า เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทมั ปิ ธัมเม ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตฯุ เย ปุคคะลา อฏั ฐะ สะตงั ปะสฏั ฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนต ิ เต ทักขิเณยยา สคุ ะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อิทัมปิ สงั เฆ ระตะนัง ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตฯุ เย สปุ ปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปตั ตปิ ตั ตา อะมะตงั วคิ ยั หะ ลัทธา มุธา นพิ พุตงิ ภญุ ชะมานา อิทัมปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตฯุ ขีณงั ปรุ าณงั นะวัง นตั ถิ สัมภะวัง วิรตั ตะจติ ตายะติเก ภะวัสมงิ เต ขีณะพชี า อะวริ ฬุ หิฉันทา นพิ พนั ติ ธรี า ยะถายัมปะทโี ป อทิ ัมปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตฯุ บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ ้ามปี 17 สง่ ท้ายปเี ก่าวถิ ไี ทย ต้อนรับปใี หมว่ ถิ ีพทุ ธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙

คำแปล (พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ตรสั วา่ ) ทรัพย์อย่างใดอย่างหน่ึง หรือรัตนะประณีตอันใดในโลกนี้และโลกอ่ืน หรือใน สรวงสวรรค์ทุกช้ัน ทรัพย์หรือรัตนะน้ันจะเสมอเหมือนพระตถาคตไม่มีเลย รัตนะคือ พระพทุ ธเจา้ เปน็ ของประณตี เชน่ น้ี ดว้ ยสจั จะข้อน้ี ขอความสวสั ดจี งม ี พระธรรมใดที่ปราศจากกิเลส ปราศจากราคะ เป็นอมตะประณีต ท่ีพระศากยมุน ี พุทธเจ้าทรงมีจิตเป็นสมาธิบรรลุแล้ว พระธรรมนั้นหามีสิ่งใด ๆ เสมอเหมือนไม่ รัตนะคือ พระธรรมเปน็ ของประณีตเช่นนี้ ดว้ ยสจั จะข้อน้ี ขอความสวสั ดีจงมี สมาธิใดท่ีพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐตรัสสรรเสริญว่าเป็นอานันตริกสมาธิ หามีสมาธิอ่ืน ใดเสมอเหมือนไม่ รัตนะคอื พระธรรมเป็นของประณีตเช่นน้ี ดว้ ยสัจจะขอ้ นี้ ขอความสวัสดจี งมี พระอริยบุคคล ๘ ที่สัตบุรุษสรรเสริญ จัดเป็น ๔ คู่ ท่านเหล่าน้ันเป็นสาวกของ พระสุคตเจ้า ควรแก่การทำบุญ ทานที่ถวายแก่พระอริยบุคคล ๘ น้ัน มีผลมาก รัตนะคือ พระสงฆเ์ ป็นของประณีตเชน่ น้ี ด้วยสัจจะข้อน้ี ขอความสวัสดจี งมี พระอริยบุคคลเหล่าใดในศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้ามีความขยันขวนขวายด้วยดี มีจิตมั่นด้วยสมาธิ ไม่มีความใคร่ พระอริยบุคคลเหล่านั้นได้บรรลุอรหัต บรรลุอมตธรรม ได้เสวยความดับกิเลสโดยเปล่า ๆ (โดยไม่ต้องซ้ือหา) รัตนะคือพระสงฆ์เป็นของประณีตเช่นน้ี ด้วยสัจจะข้อน้ี ขอความสวัสดจี งม ี พระตถาคตผปู้ ระเสริฐ ผรู้ พู้ ระนพิ พานอันประเสริฐ ผู้ให้ธรรม อันประเสรฐิ ผ้นู ำมาซึ่ง มรรคอันประเสริฐ ไม่มีผู้อื่นประเสริฐกว่า ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ รัตนะคือพระพุทธเจ้า เป็นของประณีตเชน่ น้ี ด้วยสจั จะขอ้ น้ี ขอความสวสั ดจี งม ี อริยบุคคลเหล่าใด มีกรรมเก่าสิ้นแล้ว กรรมใหม่ที่จะให้เกิด อีกคร้ังหน่ึงก็ไม่มี มีจิตปราศจากความกำหนัดยินดีในภพต่อไป พระอริยบุคคลเหล่านั้นสิ้นเง่ือนไขท่ีจะให้เกิด อีกแล้ว ไม่มีฉันทะท่ีเป็นเช้ือให้งอกงามได้อีก เป็นผู้มีปัญญาดับสนิทเหมือนดวงประทีปดวงนี้ รตั นะคอื พระสงฆเ์ ปน็ ของประณตี เช่นนี้ ดว้ ยสจั จะขอ้ นี้ ขอความสวสั ดีจงมี 18 บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ข้ามป ี ส่งท้ายปีเกา่ วถิ ีไทย ตอ้ นรบั ปีใหมว่ ถิ พี ทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

(๘) กะระณยี ะเมตตะสูตร (ยอ่ ) เมตตัญจะ สพั พะโลกัสมงิ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อทุ ธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสมั พาธัง อะเวรงั อะสะปัตตงั ติฏฐญั จะรงั นิสนิ โน วา สะยาโน วา ยาวะตสั สะ วิคะตะมิทโธ เอตงั สะตงิ อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตงั วิหารงั อิธะมาหุ ทิฏฐญิ จะ อะนุปะคัมมะ สลี ะวา ทัสสะเนนะ สัมปนั โน กาเมสุ วเิ นยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยงั ปนุ ะเรตีติฯ คำแปล พงึ แผเ่ มตตาจติ ไมม่ ขี อบเขต ไมค่ ดิ ผกู เวร ไมเ่ ปน็ ศตั รอู นั หาประมาณไมไ่ ด้ ไปยงั สตั วโ์ ลก ทงั้ ปวงทวั่ ทกุ สารทศิ ผเู้ จริญเมตตาจติ นนั้ จะยืน จะเดนิ จะนง่ั จะนอน ตลอดเวลา ท่ีตนยงั ตน่ื อยู่ พงึ ตั้งสติ อันประกอบไปด้วยเมตตานี้ให้ม่ันไว้ บัณฑิตท้ังหลายกล่าวว่า การอยู่ด้วยเมตตานี้เป็น พรหมวิหาร (การอยอู่ ยา่ งประเสรฐิ ) ท่านผู้เจริญเมตตาจิตท่ีละความเห็นผิดแล้ว มีศีล มีความเห็นชอบ ขจัดความใคร ่ ในกามได้ กจ็ ะไม่กลับมาเกดิ อกี เป็นแนแ่ ท ้ (๙) ขันธะปริตร วริ ูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพยาปตุ เตหิ เม เมตตงั เมตตัง กณั หาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตงั เมตตงั ทปิ าทะเกหิ เม จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตงั เมตตงั พะหุปปะเทหิ เม มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มงั หิงสิ ทปิ าทะโก มา มงั จะตปุ ปะโท หงิ ส ิ มา มัง หงั สิ พะหปุ ปะโท สพั เพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันต ุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ ้ามป ี 19 สง่ ทา้ ยปีเกา่ วิถีไทย ต้อนรับปีใหมว่ ถิ ีพทุ ธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙

อัปปะมาโณ พทุ โธ อปั ปะมาโณ ธมั โม อัปปะมาโณ สงั โฆ ปะมาณะวนั ตานิ สิริงสะปานิอะหิวิจฉิกาสะตะปะทีอุณณานาภีสะระพูมูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมา สัมพทุ ธานงั ฯ คำแปล ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาให้แก่ตระกูลพญางูวิรูปักข์ ตระกูลพญางูเอราบัถ ตระกูลพญาง ู ฉัพยาบุตร และตระกูลพญางูกณั หาโคตมกะ ขา้ พเจา้ ขอแผ่เมตตาไปยงั สตั ว์ท่ีไมม่ เี ทา้ สัตว์สองเท้า สัตวส์ ่เี ท้า และสัตวม์ ากเทา้ ขอสัตว์ที่ไมม่ เี ท้า สัตว์สองเทา้ สตั ว์ส่เี ทา้ และสัตว์มากเท้าทง้ั หลายอย่าได้เบยี ดเบยี น ขา้ พเจา้ ขอบคุ คลและสตั วท์ งั้ หลายทเี่ กดิ มาแลว้ ทงั้ สนิ้ จงพบแตส่ ง่ิ ทเี่ จรญิ ดงี ามถว้ นทวั่ ทกุ ตวั ตน สิ่งช่ัวรา้ ยใด ๆ จงอยา่ ได้แผ้วพานเลย พระพทุ ธเจา้ ทรงมพี ระคณุ หาประมาณมไิ ด้ พระธรรมมพี ระคณุ หาประมาณมไิ ด้ พระสงฆ์ มีพระคุณหาประมาณมิได้ สัตว์เล้อื ยคลานท้ังหลาย คอื งู แมงปอ่ ง ตะขาบ แมงมมุ ตกุ๊ แก หนู มปี ระมาณนบั ได้ ข้าพเจ้าได้ทำการคุ้มครองป้องกันไว้แล้ว ขอสัตว์ท้ังหลายทั้งปวงจงหลีกไปเถิด ด้วยข้าพเจ้า ได้เคารพนบนอบแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าและพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท้ัง ๗ พระองคแ์ ล้ว (๑๐) โมระปริตร อุเทตะยัญจักขมุ า เอกะราชา หะริสสะวณั โณ ปะฐะวิปปะภาโส ตงั ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวณั ณัง ปะฐะวปิ ปะภาสัง ตะยัชชะ คตุ ตา วหิ ะเรมุ ทิวะสัง. เย พราหมะณา เวทะคุ สพั พะธมั เม เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานงั นะมตั ถุ โพธยิ า นะโม วมิ ตุ ตานงั นะโม วมิ ตุ ติยา. 20 บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนตข์ า้ มป ี ส่งท้ายปีเกา่ วิถไี ทย ต้อนรับปใี หม่วิถีพทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

อิมัง โส ปะรติ ตัง กตั วา โมโร จะระติ เอสะนา. อะเปตะยญั จักขมุ า เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวปิ ปะภาโส ตงั ตงั นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวปิ ปะภาสัง ตะยชั ชะ คตุ ตา วิหะเรมุ รตั ติง. เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธมั เม เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยนั ตุ นะมัตถุ พทุ ธานัง นะมตั ถุ โพธยิ า นะโม วมิ ุตตานงั นะโม วมิ ุตติยา. อมิ ัง โส ปะริตตัง กตั วา โมโร วาสะมะกัปปะยตี .ิ คำแปล ดวงตาของโลก เป็นเจ้าแห่งแสงสว่างอย่างเอก มีรัศมีงามดังทอง สว่างไสวท่ัวปฐพี กำลงั อุทยั ขึ้นมา เพราะเหตุน้ันข้าพเจา้ ขอนอบน้อมพระอาทติ ยท์ ่มี ีรศั มีงามดังทอง สวา่ งไสวนน้ั วนั น้ี ข้าพเจา้ ได้รับการคุม้ ครองจากท่านแลว้ จึงอยเู่ ป็นสขุ ตลอดวนั พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้รู้จบธรรมท้ังปวง ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระพุทธเจ้าท้ังหลาย เหลา่ นน้ั และขอพระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลายเหลา่ นน้ั จงคมุ้ ครองขา้ พเจา้ ดว้ ย ขอนอบนอ้ มพระพทุ ธเจา้ ทั้งหลาย ขอนอบน้อม พระปัญญาตรัสรู้ของพระองค์ ขอนอบน้อมผู้หลุดพ้นแล้วท้ังหลาย และ ขอนอบนอ้ มความหลุดพ้นของท่านเหล่านน้ั นกยงู นั้นรา่ ยปริตรนี้แลว้ จึงไปเที่ยวหาอาหาร ดวงตาของโลก เป็นเจ้าแห่งแสงสว่างอย่างเอก มีรัศมีงามดังทอง สว่างไสวท่ัวปฐพี กำลงั อสั ดงคต เพราะเหตนุ น้ั ขา้ พเจา้ ขออบนอ้ ม พระอาทติ ยท์ มี่ รี ศั มงี ามดงั ทอง สวา่ งไสวทว่ั ปฐพนี นั้ วันนี้ข้าพเจา้ ได้รับการคุม้ ครองจากท่านแล้ว จงึ อยเู่ ปน็ สขุ ตลอดคนื พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้รู้จบธรรมท้ังปวง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เหล่านั้น และขอพระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลายเหลา่ นัน้ จงค้มุ ครองขา้ พเจ้าด้วย ขอนอบนอ้ มพระพุทธเจา้ ทั้งหลาย ขอนอบน้อมพระปัญญาตรัสรู้ของพระองค์ ขอนอบน้อมผู้หลุดพ้นแล้วทั้งหลาย และขอนอบน้อมความหลดุ พน้ ของท่านเหล่านัน้ นกยูงนั้นร่ายปริตรน้แี ล้วจึงไดก้ ลับทอ่ี ย่อู าศยั บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ า้ มปี 21 สง่ ท้ายปีเกา่ วถิ ีไทย ตอ้ นรบั ปใี หมว่ ิถพี ทุ ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

(๑๑) วฏั ฏะกะปริตร อัตถิ โลเก สลี ะคโุ ณ สัจจงั โสเจยยะนุททะยา เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรงั อาวัชชิตวา ธัมมะพะลงั สะริตวา ปุพพะเก ชเิ น สจั จะพะละมะวัสสายะ สจั จะกริ ิยะมะกาสะหงั . สนั ติ ปกั ขา อะปัตตะนา สันติ ปาทา อะวัญจะนา มาตา ปิตา จะ นกิ ขันตา ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ. สะหะ สจั เจ กะเต มยั หัง มะหาปชั ชะลิโต สขิ ี วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปตั วา ยะถา สขิ .ี สจั เจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติ. คำแปล คณุ คอื ศลี สัจจะ ชีวิตที่สะอาด และความเอน็ ดู มอี ยใู่ นโลก ดว้ ยสัจจะข้อนนั้ เราจักทำ สัจกิริยาอนั ยอดเย่ยี ม เราขอระลึกถึงพลานุภาพของพระธรรม ขอระลึกถึงพระชินเจ้า ซ่ึงมีอยู่ในปางก่อน แล้วอาศัยกำลงั ของสจั จะ (ที่มใี นตวั ) ทำสัจกิรยิ า (๓ ประการ คอื ) (๑) ปกี ทง้ั สองมอี ยู่ แตเ่ ราบนิ ไม่ได้ (๒) เทา้ ท้งั สองกม็ อี ยู่แต่เราเดนิ ไมไ่ ด้ (๓) พ่อแม ่ ก็บนิ หนีออกไปเสียแลว้ อคั คเี อ๋ย จงถอยกลบั ไปเสยี เถิด ทนั ทีทเี่ ราได้ทำสจั จะ เปลวเพลิงท่ีลกุ โชติช่วงชัชวาล ได้เว้น ท่ีไว้ ๑๖ กรสี (ประมาณ ๓๑ วา) (ดบั ไป) เหมอื นเปลวไฟตกมาถึงนำ้ แล้วดับลงฉะน้ัน ไมม่ ีสิ่งใดเสมอดว้ ยสจั จะของเรา น้คี ือสจั บารมขี องเรา (ตถาคต) (๑๒) พระพุทธคณุ พระธรรมคุณ พระสงั ฆคุณ อิตปิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสมั ปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนตุ ตะโร ปรุ ิสะทมั มะสาระถิ สตั ถา เทวะมะนสุ สานงั พทุ โธ ภะคะวาตฯิ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญหู ตี ฯิ 22 บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ า้ มปี ส่งท้ายปีเก่าวิถีไทย ต้อนรบั ปีใหม่วถิ พี ทุ ธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สามจี ปิ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปญุ ญักเขตตัง โลกัสสาติฯ คำแปล ก็เกียรติศักดิ์อันงามของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ันแล ฟุ้งเฟ่ืองไปดังน้ีว่า แม้เพราะเหตุน้ี ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ควรบูชา เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้ฝึกบุรุษท่ีควรฝึก ไม่มีผู้อ่ืนย่ิงกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและ มนษุ ย์ทงั้ หลาย เป็นผูร้ ู้ ผตู้ ่นื ผู้เบิกบานแล้ว เป็นผจู้ ำแนกธรรม ดังน้ี พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว เป็นของอันบุคคลพึงเห็นเอง เป็นของ ไม่มกี าลเวลา เปน็ ของจะรอ้ งเรยี กผอู้ ืน่ ใหม้ าดูได้ เป็นของอนั บคุ คลพึงน้อมเขา้ มาใสใ่ จ เปน็ ของ อันวิญญูชนท้ังหลายพงึ รเู้ ฉพาะตัว ดงั น้ี พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู้มี พระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติถูกแล้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติชอบแล้ว คือ คู่แห่งบุรุษท้ังหลาย ๔ บุรุษ บคุ คลทั้งหลาย ๘ น่พี ระสงฆส์ าวกของพระผู้มีพระภาคเจา้ ทา่ นเปน็ ผคู้ วรสักการะท่ีเขานำมาบชู า ท่านเปน็ ผูค้ วรของต้อนรบั ทา่ นเปน็ ผคู้ วรทกั ษิณาทาน ท่านเป็นผ้คู วรอัญชลกี รรม ทา่ นเป็นนาบญุ ของโลก ไม่มีนาอื่นยง่ิ กว่า ดังน ้ี (๑๓) อาฏานาฏิยะปริตร วปิ สั สสิ สะ นะมัตถ ุ จักขมุ นั ตสั สะ สิรีมะโต สขิ สิ สะปิ นะมตั ถ ุ สัพพะภูตานกุ ัมปโิ น เวสสะภุสสะ นะมตั ถ ุ นะหาตะกสั สะ ตะปสั สิโน นะมตั ถุ กะกสุ ันธัสสะ มาระเสนัปปะมทั ทโิ น โกนาคะมะนัสสะ นะมตั ถุ พราหมะณสั สะ วุสีมะโต บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ า้ มปี 23 ส่งทา้ ยปีเก่าวิถไี ทย ต้อนรับปีใหม่วิถีพุทธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

กสั สะปัสสะ นะมตั ถ ุ วปิ ปะมตุ ตัสสะ สพั พะธ ิ องั ครี ะสสั สะ นะมตั ถุ สักยะปตุ ตัสสะ สิรีมะโต โย อมิ ัง ธมั มะมะเทเสสิ สพั พะทกุ ขาปะนทู ะนงั เย จาปิ นพิ พุตา โลเก ยะถาภตู ัง วิปัสสสิ ุง เต ชะนา อะปสิ ุณา มะหนั ตา วีตะสาระทา หติ ัง เทวะมะนสุ สานงั ยงั นะมสั สันติ โคตะมงั วชิ ชาจะระณะสมั ปันนัง มะหนั ตงั วตี ะสาระทงั วชิ ชาจะระณะสัมปนั นงั พทุ ธัง วนั ทามะ โคตะมนั ติฯ คำแปล ขอนอบน้อมพระวิปสั สีพทุ ธเจ้า ผทู้ รงมพี ระจกั ษุ ทรงมีสิริ ขอนอบน้อมพระสิขพี ทุ ธเจา้ ผู้ทรงอนเุ คราะห์สัตวท์ ั้งปวง ขอนอบนอ้ มพระเวสสภูพุทธเจา้ ผูท้ รงชำระลา้ งกเิ ลสแลว้ ทรงมตี บะ ขอนอบนอ้ มพระกกุสนั ธพทุ ธเจ้า ผู้ทรงกำจดั มารและเสนาแหง่ มาร ขอนอบน้อมพระโกนาคมนพุทธเจ้า ผทู้ รงลอยบาปแลว้ ทรงอยจู่ บพรหมจรรย์ ขอนอบน้อมพระกัสสปพทุ ธเจ้า ผู้ทรงพ้นพิเศษแลว้ ในสงิ่ ท้งั ปวง ขอนอบน้อมพระอังคีรสพุทธเจ้า ผู้ศากยบุตร ทรงมีสิริ ทรงแสดงธรรมเป็นเคร่ือง บรรเทาทุกข์ทง้ั ปวงน ้ี อนึ่ง พระพุทธเจ้าเหล่าใดในโลก ผู้ดับกิเลสได้แล้ว เห็นแจ่มแจ้งตามความเป็นจริง พระพุทธเจ้าเหลา่ น้นั เป็นผู้ไมม่ ีวาจาสอ่ เสยี ด เป็นผู้ยิ่งใหญ่ มีความกลา้ หาญ เหล่าเทวดาและมนุษย์ย่อมนอบน้อมพระพุทธเจ้าเหล่าน้ัน ผู้โคตมโคตร พระองค์ใด ทรงเก้อื กูลแก่เทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย ทรงถึงพร้อมด้วยวชิ ชาและจรณะ ทรงกล้าหาญ ยง่ิ ใหญ่ ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระโคตมพทุ ธเจ้า ผ้ทู รงถงึ พร้อมด้วยวชิ ชาและจรณะพระองคน์ ั้น (๑๔) มะหากัสสะปะโพชฌังคะสตู ร เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชคะเห วิหะระติ เวฬุวะเน กะลนั ทะกะนวิ าเปฯ เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ อายสั มา มะหากสั สะโป ปปิ ผะลคิ หุ ายงั วหิ ะระติ อาพาธโิ ก ทุกขโิ ต พาฬหะคลิ าโนฯ 24 บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนตข์ ้ามปี สง่ ท้ายปเี กา่ วิถีไทย ตอ้ นรับปีใหมว่ ิถีพุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

อะถะ โข ภะคะวา สายณั หะสะมะยงั ปะฏสิ ลั ลานา วฎุ ฐฺ โิ ต เยนายสั มา มะหากสั สะโป เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิตวา ปัญญัตเต อาสะเน นิสีทิฯ นิสัชชะ โข ภะคะวา อายัสมันตัง มะหากัสสะปัง เอตะทะโวจะ กจั จิ เต กสั สะปะ ขะมะนยี งั กจั จิ ยาปะนยี งั กจั จิ ทกุ ขา เวทะนา ปะฏกิ กะมนั ตโิ น อะภกิ กะมนั ติ ปะฏกิ กะโมสานงั ปญั ญายะตโิ น อะภกิ กะโมตฯิ นะ เม ภนั เต ขะมะนยี งั นะ ยาปะนียัง พาฬหา เม ทุกขา เวทะนา อะภิกกะมันติโน ปะฏิกกะมันติ อะภิกกะโมสานงั ปญั ญายะติ โน ปะฏิกกะโมตฯิ สัตติเม กัสสะปะ โพชฌังคา มะยา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา อะภิญญาสัมโพธายะ นิพฺพานายะ สังวตั ตนั ตฯิ กะตะเม สัตตะฯ สะติสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานาย สงั วตั ตะติฯ ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหุลกี ะโต อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ วิริยะสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สงั วัตตะตฯิ ปีติสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวตั ตะตฯิ ปัสสัทธิสัมโพชฌงั โค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทกั ขาโต ภาวโิ ต พะหลุ ีกะโต อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สงั วัตตะตฯิ สะมาธิสัมโพชฌงั โค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานาย สังวัตตะตฯิ อเุ ปกขาสมั โพชฌงั โค โข กัสสะปะ มะยา สมั มะทักขาโต ภาวิโต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะตฯิ อิเม โข กสั สะปะ สตั ตะโพชฌงั คา มะยา สมั มะทกั ขาโต ภาวโิ ต พะหุลีกะโต อะภญิ ญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สํวตตะตีตฯิ ตัคฆะ ภะคะวา โพชฌังคา ตคั ฆะ สคุ ะตะ โพชฌงั คาติฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวาฯ อัตตะมะโน อายัสมา มะหากัสสะโป ภะคะวะโต ภาสิตังอะภินันทิฯ วุฏฐะหิจายัสมา มะหากัสสะโป ตัมหา อาพาธาฯ ตะถาปะหีโน จายัสมะโต มะหากัสสะปัสสะ โส อาพาโธ อะโหสตี ิฯ บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนตข์ ้ามป ี 25 ส่งท้ายปเี กา่ วิถไี ทย ต้อนรับปีใหมว่ ถิ ีพทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

คำแปล สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ เวฬุวัน กลันทกนิวาปสถาน ใกล้พระนคร ราชคฤห์ ก็สมัยนัน้ ท่านพระมหากสั สปะอาพาธไมส่ บาย เป็นไข้หนกั อยู่ทีป่ ิปผลคิ หู า ครง้ั นนั้ พระผมู้ พี ระภาคเสดจ็ ออกจากทเี่ รน้ ในเวลาเยน็ เขา้ ไปหาทา่ นพระมหากสั สปะ ถึงท่ีอยู่ แล้วประทับน่ังบนอาสนะท่ีปูลาดไว้ คร้ันแล้วได้ตรัสถามท่านพระมหากัสสปะว่ากัสสปะ เธอพออดทนได้หรือ พอยังอัตภาพให้เป็นไปได้หรือ ทุกขเวทนาคลายลง ไม่กำเริบข้ึนแลหรือ ความทเุ ลายอ่ มปรากฏ ความกำเริบข้ึนไมป่ รากฏแลหรือท่านพระมหากัสสปะกราบทลู ว่า ขา้ แต่ พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้ ยังอัตภาพให้เป็นไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของข้าพระองค์ กำเริบหนกั ยังไม่คลายไป ความกำเรบิ ข้นึ ย่อมปรากฏ ความทุเลาไมป่ รากฏ กสั สปะ โพชฌงค์ ๗เหลา่ น้ี เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพือ่ ความรยู้ ง่ิ เพ่อื ความตรัสรู้ เพอ่ื นพิ พาน โพชฌงค์ ๗เป็นอย่างไร กัสสปะ สติสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้วกระทำให้มากแล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ความร้ยู งิ่ เพื่อความตรัสรู้ เพ่ือนิพพาน ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพื่อความรู้ยิ่ง เพอ่ื ความตรสั รู้ เพอ่ื นิพพาน วริ ยิ สมั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอ่ื ความรูย้ ่ิง เพ่อื ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ปตี สิ มั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพื่อความรยู้ ่ิง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนพิ พาน ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอ่ื ความรู้ยิ่ง เพือ่ ความตรสั รู้ เพื่อนพิ พาน สมาธสิ มั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอื่ ความรู้ย่ิง เพอื่ ความตรัสรู้ เพ่ือนพิ พาน อเุ บกขาสมั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอ่ื ความรู้ย่งิ เพือ่ ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน กัสสปะ โพชฌงค์ ๗ เหล่านี้แล เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้ มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพอ่ื ความรู้ย่งิ เพ่ือความตรัสรู้ เพือ่ นพิ พาน 26 บทเจรญิ พระพุทธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี ส่งทา้ ยปเี ก่าวิถไี ทย ตอ้ นรบั ปีใหมว่ ิถพี ุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

ท่านพระมหากัสสปะกราบทูลวา่ ข้าแตพ่ ระผูม้ พี ระภาค โพชฌงค์ดนี กั ขา้ แตพ่ ระสคุ ต โพชฌงคด์ ีนกั พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้แล้ว ท่านพระมหากัสสปะปล้ืมใจ ช่ืนชม ภาษิตของพระผมู้ ีพระภาค ท่านพระมหากัสสปะหายจากอาพาธน้นั แลว้ และอาพาธนั้น อันท่าน พระมหากัสสปะละไดแ้ ลว้ ดว้ ยประการฉะน้ีแล (๑๕) มะหาโมคคลั ลานะโพชฌังคะสูตร เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ เวฬุวะเน กะลันทะกะนวิ าเปฯ เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะอายสั มา มะหาโมคคลั ลาโน คชิ ฌะกเู ฏ ปพั พะเต วิหะระติ อาพาธโิ ก ทกุ ขิโต พาฬหะคลิ าโนฯ อะถะโข ภะคะวา สายัณหะสะมะยัง ปะฏิสัลลานา วุฏฐิโต เยนายัสมา มะหาโมคคลั ลาโน เตนปุ ะสงั กะมิ อปุ ะสงั กะมติ วา ปญั ญตั เต อาสะเน นสิ ที ฯิ นสิ ชั ชะ โข ภะคะวา อายสั มนั ตัง มะหาโมคคลั ลานัง เอตะทะโวจะ กัจจิ เต โมคคัลลานะ ขะมะนียัง กัจจิ ยาปะนียัง กัจจิทุกขา เวทะนา ปะฏิกกะมันติ โน อะภิกกะมันติ ปะฏิกกะโมสานัง ปัญญายะติ โน อะภิกกะโมติฯ นะ เม ภันเต ขะมะนียัง นะยาปะนียัง พาฬหา เม ทุกขา เวทะนา อะภิกกะมันต ิ โน ปะฏกิ กะมันติ อะภกิ กะโมสานงั ปญั ญายะติ โน ปะฏิกกะโมติฯ สตั ตเิ ม โมคคลั ลานะ โพชฌังคา มะยา สมั มะทักขาตา ภาวิตา พะหลุ ีกะตา อะภญิ ญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สังวัตตันตฯิ กะตะเม สตั ตะฯ สะตสิ มั โพชฌงั โค โข โมคคลั ลานะ มะยา สมั มะทกั ขาโต ภาวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สงั วตั ตะติฯ ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหลุ ีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สังวัตตะติฯ วริ ยิ ะสมั โพชฌงั โค โข โมคคลั ลานะ มะยา สมั มะทกั ขาโต ภาวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สงั วัตตะตฯิ ปีติสมั โพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวโิ ต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สมั โพธายะ นพิ พานายะ สงั วตั ตะตฯิ ปัสสัทธิสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหลุ ีกะโต อะภญิ ญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สงั วัตตะติฯ บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี 27 ส่งทา้ ยปเี กา่ วถิ ไี ทย ต้อนรับปใี หมว่ ถิ พี ุทธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

สะมาธสิ มั โพชฌงั โค โข โมคคลั ลานะ มะยา สมั มะทกั ขาโต ภาวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สังวตั ตะติฯ อุเปกขาสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สังวัตตะตฯิ อิเม โข โมคคัลลานะ สัตตะ โพชฌังคา มะยา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหลุ กี ะตา อะภิญญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สงั วัตตนั ตตี ฯิ ตัคฆะ ภะคะวา โพชฌงั คา ตคั ฆะ สุคะตะ โพชฌังคาติฯ อทิ ะมะโวจะ ภะคะวาฯ อัตตะมะโน อายัสมา มะหาโมคคลั ลาโน ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภนิ ันทิฯ วุฏฐะหจิ ายสั มา มะหาโมคคัลลาโน ตัมหา อาพาธา ตะถาปะหีโน จายสั มะโต มะหาโมคคัลลานสั สะ โส อาพาโธ อะโหสตี ิฯ คำแปล สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ วิหารเวฬุวัน กลันทกนิวาปสถาน ใกล้พระนครราชคฤห์ ก็สมัยนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะอาพาธ ไม่สบาย เป็นไข้หนักอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ ครงั้ นน้ั พระผมู้ พี ระภาคเสดจ็ ออกจากทเ่ี รน้ ในเวลาเยน็ เขา้ ไปหาทา่ นพระมหาโมคคลั ลานะ ถึงที่อยู่ แลว้ ประทบั นง่ั บนอาสนะท่ีปลู าดไว้ ครั้นแลว้ ได้ตรัสถามทา่ นพระมหาโมคคลั ลานะว่า โมคคัลลานะ เธอพออดพอทนได้หรือ พอยังอัตภาพให้เป็นไปได้แลหรือทุกขเวทนา คลายลงไม่กำเริบขึ้นแลหรือ ความทุเลาย่อมปรากฏ ความกำเริบขึ้นไม่ปรากฏแลหรือท่าน พระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้ ยังอัตภาพ ใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทกุ ขเวทนาของขา้ พระองคย์ อ่ มกำเรบิ หนกั ยงั ไมค่ ลายลง ความกำเรบิ ยอ่ มปรากฏ ความทเุ ลาไมป่ รากฏ. โมคคัลลานะ โพชฌงค์ ๗ เหลา่ น้ี เรากล่าวไว้ชอบแลว้ อันบุคคลเจริญแลว้ กระทำให้ มากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพื่อความรยู้ ง่ิ เพื่อความตรสั รู้ เพอื่ นิพพาน โพชฌงค์ ๗เปน็ อยา่ งไร โมคคลั ลานะ สตสิ มั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพื่อความรยู้ ิง่ เพื่อความตรัสรู้ เพือ่ นพิ พาน ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้วกระทำให้มากแล้ว ย่อมเปน็ ไปเพือ่ ความร้ยู ิง่ เพือ่ ความตรสั รู้ เพอ่ื นิพพาน 28 บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนตข์ า้ มป ี ส่งท้ายปเี ก่าวถิ ีไทย ต้อนรบั ปใี หมว่ ิถพี ุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

วริ ยิ สมั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอื่ ความร้ยู ิ่ง เพ่อื ความตรสั รู้ เพือ่ นพิ พาน ปตี สิ มั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพื่อความรู้ยิ่ง เพ่ือความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพื่อความร้ยู ิ่ง เพือ่ ความตรสั รู้ เพือ่ นิพพาน สมาธสิ มั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอ่ื ความรู้ยง่ิ เพ่อื ความตรสั รู้ เพอ่ื นิพพาน อเุ บกขาสมั โพชฌงค์ เรากลา่ วไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอื่ ความรู้ย่ิง เพอ่ื ความตรัสรู้ เพือ่ นิพพาน โมคคัลลานะ โพชฌงค์ ๗เหล่าน้ีแล เรากลา่ วไว้ชอบแล้ว อันบคุ คลเจริญแลว้ กระทำ ใหม้ ากแล้ว ย่อมเป็นไปเพือ่ ความรู้ยงิ่ เพื่อความตรัสรู้เพือ่ นพิ พาน ทา่ นพระโมคคัลลานะกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาค โพชฌงค์ดีนัก ข้าแต่พระสคุ ต โพชฌงคด์ นี ัก พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้แล้ว ท่านพระมหาโมคคัลลานะปลื้มใจ ชนื่ ชมภาษิตของพระผู้มีพระภาค ท่านพระมหาโมคคลั ลานะหายจากอาพาธน้นั แล้ว และอาพาธ นั้นอันทา่ นพระมหาโมคคลั ลานะละไดแ้ ล้ว ดว้ ยประการฉะนีแ้ ล. (๑๖) มะหาจนุ ทะโพชฌังคะสูตร เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติเวฬุวะเน กะลันทะกะนิวาเปฯ เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ ภะคะวาอาพาธิโก โหติ ทุกขิโต พาฬหะ คลิ าโนฯ อะถะโข อายัสมา มะหาจุนโท สายัณหะสะมะยงั ปะฏิสัลลานา วุฏฐโิ ต เยนะ ภะคะวา เตนปุ ะสงั กะมิ อปุ ะสงั กะมติ วา ภะคะวนั ตงั อะภวิ าเทตวา เอกะมนั ตงั นสิ ที ฯิ เอกะมันตัง นสิ ินนัง โข อายัสมนั ตงั มะหาจุนทัง ภะคะวา เอตะทะโวจะ ปะฏิภันตุ ตงั จุนทะ โพชฌงั คาตฯิ สัตติเม ภันเต โพชฌังคา ภะคะวะตา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นพิ พานายะ สังวตั ตันตฯิ กะตะเม สตั ตะฯ บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ ้ามป ี 29 ส่งท้ายปีเก่าวิถไี ทย ตอ้ นรบั ปใี หมว่ ถิ ีพุทธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

สะติสมั โพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สมั มะทักขาโต ภาวิโต พะหลุ กี ะโต อภิญญายะ สมั โพธายะ นพิ พานายะ สงั วัตตะติฯ ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทักขาโต ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สงั วตั ตะติฯ วริ ยิ ะสมั โพชฌงั โค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทกั ขาโต ภาวิโต พะหลุ ีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สงั วัตตะติฯ ปีตสิ มั โพชฌังโค โข ภนั เต ภะคะวะตา สมั มะทักขาโต ภาวิโต พะหลุ ีกะโต อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงั โค โข ภนั เต ภะคะวะตา สมั มะทกุ ขาโต ภาวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สงั วัตตะติฯ สะมาธสิ มั โพชฌงั โค โข ภนั เต ภะคะวะตา สมั มะทกั ขาโต ภาวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สังวตั ตะตฯิ อเุ ปกขาสมั โพชฌงั โค โข ภนั เต ภะคะวะตา สมั มะทกั ขาโต ภาวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภิญญายะ สมั โพธายะ นพิ พานายะ สังวัตตะติฯ อเิ ม โข ภนั เต สตั ตะ โพชฌงั คา ภะคะวะตา สมั มะทกั ขาตา ภาวติ า พะหลุ กี ะตา อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นิพพานายะ สงั วัตตนั ตีติฯ ตัคฆะ จนุ ทะ โพชฌังคา ตคั ฆะ จนุ ทะ โพชฌงั คาตฯิ อิทะมะโวจายัส์มา มะหาจุนโทฯ สะมะนุญโญ สัตถา อะโหสิฯ วุฏฐะหิ จะ ภะคะวา ตมั หา อาพาธา ตะถาปะหีโน จะ ภะคะวะโต โส อาพาโธ อะโหสีตฯิ คำแปล สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ วิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน ใกล้ พระนครราชคฤห์ ก็สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคทรงประชวร ไม่สบาย เป็นไข้หนัก คร้ังนั้น ท่านพระมหาจุนทะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นง่ั ณ ท่คี วรส่วนข้างหน่งึ พระผูม้ พี ระภาคไดต้ รสั กะท่านพระจุนทะว่าจนุ ทะ โพชฌงคจ์ งแจม่ แจง้ กะเธอ ข้าแตพ่ ระองค์ผเู้ จรญิ โพชฌงค์ ๗ เหล่านี้ พระผมู้ ีพระภาคตรสั ไว้ชอบแลว้ อนั บคุ คล เจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพื่อความรูย้ งิ่ เพื่อความตรัสรู้ เพ่อื นิพพานโพชฌงค์ ๗ เปน็ อย่างไร 30 บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ข้ามป ี สง่ ท้ายปเี กา่ วถิ ไี ทย ต้อนรบั ปีใหมว่ ิถพี ุทธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ สตสิ มั โพชฌงค์ พระผมู้ พี ระภาคตรสั ไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำให้มากแล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพ่ือความรู้ยงิ่ เพื่อความตรัสรู้ เพ่อื นิพพาน ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้ มากแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพ่ือความรยู้ ิง่ เพือ่ ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน วริ ยิ สมั โพชฌงค์ พระผมู้ พี ระภาคตรสั ไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพื่อความร้ยู ง่ิ เพื่อความตรัสรู้ เพอ่ื นิพพาน ปตี สิ มั โพชฌงค์ พระผมู้ พี ระภาคตรสั ไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพื่อความร้ยู งิ่ เพอ่ื ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้ มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพอ่ื ความรยู้ ิง่ เพือ่ ความตรัสรู้ เพอื่ นิพพาน สมาธสิ มั โพชฌงค์ พระผมู้ พี ระภาคตรสั ไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพือ่ ความตรสั รู้ เพื่อนพิ พาน อเุ บกขาสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคไดต้ รสั ไว้ชอบแล้ว อนั บคุ คลเจริญแล้ว กระทำให้ มากแล้ว ย่อมเปน็ ไปเพ่ือความรู้ย่งิ เพ่ือความตรัสรู้ เพือ่ นิพพาน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โพชฌงค์ ๗เหล่าน้ีแล พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อนั บุคคลเจรญิ แล้ว กระทำใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ความรยู้ ิ่ง เพ่อื ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน. จุนทะ โพชฌงคด์ นี ัก จนุ ทะ โพชฌงคด์ ีนัก ท่านพระมหาจุนทะได้กล่าวไวยากรณภาษิตนีแ้ ลว้ พระศาสดาทรงพอพระทยั พระผมู้ ี พระภาค ทรงหายจากประชวรนั้นและอาพาธนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงละแล้ว ด้วยประการ ฉะนแ้ี ล (๑๗) บทขัดโพชฌงั คะปรติ ร สงั สาเร สงั สะรันตานงั สัพพะทุกขะวินาสะเน สัตตะ ธัมเม จะ โพชฌงั เค มาระเสนัปปะมัททโิ น พุชฌติ วา เยปเิ ม สตั ตา ติภะวามุตตะกุตตะมา อะชาตงิ อะชะราพยาธิง อะมะตัง นพิ ภะยัง คะตา เอวะมาทคิ ุณูเปตัง อะเนกะคุณะสังคะหงั โอสะถญั จะ อิมัง มันตัง โพชฌงั คนั ตมั ภะณามะ เหฯ บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มป ี 31 ส่งทา้ ยปเี กา่ วถิ ีไทย ตอ้ นรับปใี หมว่ ิถีพุทธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

คำแปล สัตว์ท้ังหลายรู้โพชฌงคธรรม ๗ ประการ อันเป็นเคร่ืองบำบัดทุกข์ทั้งปวงของ เหลา่ สตั วผ์ ทู้ อ่ งเทย่ี วในสงั สารวฏั และอนั กำจดั มา รและเสนามาร จงึ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ อยา่ งยอดเยยี่ ม จากภพทั้ง ๓ ได้บรรลุพระนิพพานอันไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย ไม่มีภัย พวกเราจงสวด โพชฌงค์นั้น อันประกอบด้วยคุณมีอาทิดังกล่าวมาแล้วนี้ ซ่ึงเป็นท้ังโอสถและมนต์ท่ีรวบรวม สรรพคุณเปน็ อเนกกันเถดิ (๑๘) โพชฌังคะปริตร โพชฌังโค สะติสงั ขาโต ธัมมานัง วจิ ะโย ตะถา โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร วริ ิยมั ปีติปัสสทั ธิ- สตั เตเต สัพพะทสั สินา สะมาธุเปกขะโพชฌังคา ภาวิตา พะหุลกี ะตา มนุ ินา สมั มะทกั ขาตา นิพพานายะ จะ โพธิยา สงั วตั ตันติ อะภญิ ญายะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทาฯ เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โมคคลั ลานญั จะ กสั สะปงั เอกัสมงิ สะมะเย นาโถ โพชฌงั เค สัตตะ เทสะยิ คลิ าเน ทุกขเิ ต ทิสวา โรคา มจุ จงิ สุ ตงั ขะเณ เต จะ ตัง อะภินันทติ วา โสตถิ เต โหตุ สพั พะทาฯ เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ เคลญั เญนาภปิ ีฬิโต เอกะทา ธัมมะราชาป ิ ภะณาเปตวานะ สาทะรงั จุนทัตเถเรนะ ตญั เญวะ ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส สมั โมทติ วา จะ อาพาธา โสตถิ เต โหตุ สพั พะทาฯ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ตณิ ณนั นัมปิ มะเหสินัง ปะหนี า เต จะ อาพาธา ปัตตานปุ ปตั ติธัมมะตงั มคั คาหะตะกิเลสา วะ โสตถิ เต โหตุ สพั พะทาฯ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ 32 บทเจรญิ พระพุทธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี สง่ ทา้ ยปเี ก่าวิถีไทย ต้อนรับปใี หมว่ ถิ พี ทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

คำแปล โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ วิริยสัมโพชฌงค์ ปีตสิ มั โพชฌงค์ ปสั สัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสมั โพชฌงค์ และอเุ บกขาสมั โพชฌงค์ เป็นธรรมทพ่ี ระมุนี ผ้ทู รงเห็นธรรมท้ังปวง ตรัสไวแ้ ลว้ โดยชอบ บุคคลทำให้เกดิ แลว้ ทำใหม้ ากยิง่ ข้นึ แล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือตรัสรู้ และเพ่ือพระนิพพาน ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี แก่ทา่ นในกาลทกุ เม่อื เถิด สมัยหนึ่ง พระโลกนาถทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ และพระกัสสปะอาพาธ ได้รับความลำบาก พระองค์ทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ (ให้ฟัง) ท่านทั้งสองต่างชื่นชม พระธรรมเทศนานั้น หายจากอาพาธในทนั ที ดว้ ยการกลา่ วคำสตั ย์นี้ ขอความสวสั ดจี งมแี ก่ท่าน ในกาลทุกเม่ือเถดิ แม้แต่พระธรรมราชาเอง ครั้งหน่ึง ทรงพระประชวรเป็นไข้ ได้ตรัสให้พระจุนทเถระ สวดโพชฌงคน์ นั้ ถวายโดยความเคารพ พระพทุ ธองคท์ รงบนั เทงิ พระหทยั ทรงหายจากโรคพาธนนั้ โดยพลนั ดว้ ยการกลา่ วคำสัตยน์ ี้ ขอความสวสั ดจี งมีแก่ทา่ นในกาลทกุ เมอื่ เถดิ อาพาธท้ังหลายของท่านผู้แสวงหาพระคุณใหญ่แมท้ ัง้ ๓ องคน์ ัน้ หายแลว้ ดจุ ดังกเิ ลส ท่ีอริยมรรคกำจัดได้แล้ว ได้ถึงความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความ สวสั ดจี งมแี กท่ า่ นในกาลทุกเมอ่ื เถดิ (๑๙) ธชัคคสตู ร (ยอ่ ) อะรญั เญรกุ ขะมูเล วา สุญญาคาเรวะ ภิกขะโว อะนุสสะเรถะ สัมพทุ ธงั ภะยัง ตมุ หากะ โน สยิ า โน เจ พทุ ธงั สะเรยยาถะ โลกะเชฏฐงั นะราสะภงั อะถะ ธมั มัง สะเรยยาถะ นิยยานกิ ัง สเุ ทสิตงั โน เจ ธมั มงั สะเรยยาถะ นยิ ยานกิ ัง สเุ ทสิตงั อะถะ สังฆงั สะเรยยาถะ ปญุ ญักเขตตัง อะนุตตะรัง เอวัมพทุ ธงั สะรนั ตานงั ธัมมงั สังฆญั จะ ภกิ ขะโว ภะยงั วา ฉัมภติ ัตตัง วา โลมะหงั โส นะ เหสสะตีตฯิ บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี 33 สง่ ท้ายปเี กา่ วิถีไทย ต้อนรับปใี หมว่ ิถพี ทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

คำแปล ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมอื่ พวกเธอทงั้ หลายอยใู่ นปา่ กด็ ี อยู่ ณ โคนตน้ ไมก้ ด็ ี อยใู่ นเรอื นวา่ งกด็ ี พึงระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ภัยจะไม่พึงมีแก่พวกเธอท้ังหลาย หากว่า พวกเธอท้ังหลาย จะไมพ่ งึ ระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ ผยู้ ง่ิ ใหญข่ องโลก ผเู้ ปน็ นรชนประเสรฐิ ขณะนน้ั พงึ ระลกึ ถงึ พระธรรม ซ่ึงเป็นเคร่ืองชี้ทางออกท่ีตถาคตแสดงไว้แล้ว หากว่า พวกเธอท้ังหลายจะไม่พึงระลึกถึง พระธรรมซ่งึ เป็นเครอื่ งช้ีทางออกทต่ี ถาคตแสดงไวแ้ ลว้ ขณะนัน้ พึงระลกึ ถงึ พระสงฆผ์ ู้เป็นนาบญุ ของโลกท่ียอดเย่ียม ภิกษุทั้งหลาย เม่ือพวกเธอระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ อยอู่ ยา่ งนี้ ความกลวั กด็ ี ความคร่ันครา้ มกด็ ี ความสยดสยองกด็ ี จกั ไมม่ ี ฉะนนั้ แล (๒๐) อะภะยะปริตร ยันทุนนิมติ ตัง อะวะมงั คะลญั จะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะ สทั โท ปาปัคคะโห ทสุ สปุ นิ ัง อะกนั ตงั พุทธานุภาเวนะ วนิ าสะเมนตุ ยันทนุ นมิ ติ ตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกณุ สั สะ สทั โท ปาปัคคะโห ทุสสุปินงั อะกันตงั ธัมมานุภาเวนะ วนิ าสะเมนต ุ ยันทนุ นมิ ติ ตงั อะวะมงั คะลญั จะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะ สทั โท ปาปัคคะโห ทุสสุปินงั อะกันตัง สงั ฆานุภาเวนะ วนิ าสะเมนตุ คำแปล ขอลางร้าย ส่ิงอวมงคล เสียงนกท่ีไม่พึงพอใจ บาปเคราะห์ และฝันร้าย จงพินาศไป ดว้ ยพุทธานุภาพ ธรรมานภุ าพ สงั ฆานภุ าพเถิด 34 บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มป ี ส่งท้ายปีเก่าวถิ ีไทย ตอ้ นรบั ปใี หมว่ ถิ พี ทุ ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

(๒๑) บทสักกตั วา สกั กตั วา พทุ ธะระตะนัง โอสะถงั อตุ ตะมงั วะรัง หติ งั เทวะมะนุสสานัง พุทธเตเชนะ โสตถนิ า นัสสันตุปัททะวา สัพเพ ทุกขา วปู ะสะเมนตุ เตฯ สกั กัตวา ธัมมะระตะนงั โอสะถัง อตุ ตะมงั วะรงั ปะรฬิ าหปู ะสะมะนัง ธมั มะเตเชนะ โสตถนิ า นัสสันตุปัททะวา สัพเพ ภะยา วปู ะสะเมนตุ เตฯ สกั กตั วา สังฆะระตะนัง โอสะถงั อตุ ตะมงั วะรงั อาหเุ นยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตปุ ัททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เตฯ คำแปล เพราะทำความเคารพพระพุทธรัตนะ ซึ่งเป็นโอสถประเสริฐเย่ียมยอด ทรงเก้ือกูล เทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย ด้วยเดชแห่งพระพทุ ธรัตนะ ขอให้อปุ ทั วะทั้งหลายท้งั ปวงจงพนิ าศไป ขอให้ทกุ ข์ทง้ั หลายของท่าน จงสงบโดยสวสั ดีเถดิ เพราะทำความเคารพพระธรรมรตั นะ ซงึ่ เปน็ โอสถประเสรฐิ ยอดเยยี่ ม เปน็ เครอ่ื งระงบั ความเร่าร้อน ด้วยเดชแห่งพระธรรมรัตนะ ขอให้อุปัทวะทั้งหลายทั้งปวงจงพินาศไป ขอให้ภัย ทัง้ หลายของทา่ น จงสงบโดยสวัสดีเถิด เพราะทำความเคารพพระสงั ฆรตั นะ ซง่ึ เป็นโอสถประเสริฐเยีย่ มยอด ควรแกข่ องท่เี ขา นำมาสักการะ ควรแก่การต้อนรับ ด้วยเดชแห่งพระสังฆรัตนะ ขอให้อุปัทวะท้ังหลายทั้งปวง จงพนิ าศไป ขอให้โรคทัง้ หลายของท่าน จงสงบโดยสวัสดเี ถดิ (๒๒) บทนัตถิ เม นตั ถิ เม สะระณัง อัญญงั พทุ โธ เม สะระณงั วะรัง เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญัง ธมั โม เม สะระณัง วะรงั เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ นัตถิ เม สะระณัง อัญญงั สังโฆ เม สะระณงั วะรงั เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี 35 ส่งทา้ ยปเี กา่ วถิ ีไทย ตอ้ นรับปีใหม่วิถพี ทุ ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

คำแปล ท่ีพึ่งอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วยการกล่าว คำสัตย์น้ี ขอความสวสั ดีจงมีแกท่ ่านทุกเมอ่ื ที่พึ่งอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรมเป็นที่พ่ึงอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วยการกล่าว คำสัตย์นี้ ขอความสวสั ดจี งมีแกท่ า่ นทกุ เม่อื ที่พึ่งอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วยการกล่าว คำสตั ย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแกท่ า่ นทุกเม่อื (๒๓) บทยังกิญจ ิ ยังกิญจิ ระตะนงั โลเก วชิ ชะติ วิวิธัง ปถุ ุ ระตะนัง พทุ ธะสะมัง นตั ถิ ตัสมา โสตถี ภะวนั ตุ เตฯ ยงั กญิ จิ ระตะนงั โลเก วชิ ชะติ ววิ ธิ งั ปถุ ุ ระตะนงั ธมั มะสะมัง นตั ถิ ตัสมา โสตถี ภะวนั ตุ เตฯ ยังกิญจิ ระตะนงั โลเก วิชชะติ ววิ ธิ ัง ปถุ ุ ระตะนัง สังฆะสะมงั นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวนั ตุ เตฯ คำแปล รตั นะใด ๆ มากมายหลายชนดิ มอี ยใู่ นโลก รตั นะนนั้ ๆ หาเสมอดว้ ยพระพทุ ธรตั นะไม่ เพราะพระพทุ ธรตั นะนั้น ขอความสวสั ดีจงมีแกท่ ่าน รตั นะใด ๆ มากมายหลายชนดิ มอี ยใู่ นโลก รตั นะนนั้ ๆ หาเสมอดว้ ยพระธรรมรตั นะไม่ เพราะพระธรรมรตั นะนั้น ขอความสวัสดจี งมีแกท่ า่ น รตั นะใด ๆ มากมายหลายชนดิ มอี ยใู่ นโลก รตั นะนน้ั ๆ หาเสมอดว้ ยพระสงั ฆรตั นะไม่ เพราะพระสังฆรัตนะนนั้ ขอความสวัสดจี งมแี กท่ ่าน (๒๔) เทวะตาอยุ โยชะนะคาถา ทุกขปั ปตั ตา จะ นทิ ทุกขา ภะยปั ปัตตา จะ นิพภะยา โสกัปปตั ตา จะ นสิ โสกา โหนตุ สพั เพปิ ปาณโิ น เอตตาวะตา จะ อมั เหห ิ สมั ภะตัง ปญุ ญะสัมปะทัง สัพเพ เทวานโุ มทันตุ สัพพะสัมปตั ตสิ ทิ ธิยา ทานงั ทะทนั ตุ สัทธายะ สีลัง รักขนั ตุ สพั พะทา ภาวะนาภริ ะตา โหนต ุ คจั ฉันตุ เทวะตา คะตาฯ สพั เพ พทุ ธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานญั จะ ยงั พะลัง อะระหนั ตานัญจะ เตเชนะ รักขงั พนั ธามิ สัพพะโสฯ 36 บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ า้ มป ี สง่ ท้ายปีเก่าวถิ ไี ทย ตอ้ นรบั ปีใหมว่ ถิ พี ทุ ธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

คำแปล ขอสัตว์ทั้งหลายที่มีทุกข์ จงหายทุกข์ ที่มีภัย จงปราศจากภัย ท่ีมีโศก จงหายโศก ทกุ ถ้วนท่ัวเถดิ ขอเหล่าเทพยดาท้ังปวง จงอนุโมทนาบุญท่ีพวกข้าพเจ้าร่วมกันสร้าง เพื่อความสำเร็จ แห่งสมบตั ิทงั้ ปวงด้วยเถดิ ขอเหล่าเทพยดา จงมีศรัทธาให้ทาน รักษาศีล ยินดียิ่งในภาวนา ตลอดกาลทุกเม่ือ ขออญั เชญิ เหล่าทวยเทพทม่ี าชมุ นมุ กัน จงกลบั ไปเถดิ ข้าพเจ้าขอผูกมนต์คุ้มครองรักษาโดยประการทั้งปวง ด้วยเดช แห่งกำลังของ พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ผู้ทรงพละกำลัง ด้วยเดชแห่งกำลังของพระปัจเจกพุทธเจ้าท้ังหลาย และด้วยเดชแห่งกำลังของพระอรหันต์ทั้งหลาย (๒๕) อุณหิสสวิชยคาถา อตั ถิ อณุ หสิ สะวชิ ะโย ธัมโม โลเก อะนุตตะโร สัพพะสัตตะหิตัตถายะ ตงั ตวงั คัณหาหิ เทวะเต ปะริวัชเช ราชะทัณเฑ อะมะนสุ เสหิ ปาวะเก พยคั เฆ นาเค วิเส ภูเต อะกาละมะระเณนะ วา สัพพัสมา มะระณา มตุ โต ฐะเปตวา กาละมารติ งั ตสั เสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สขุ ี สะทา สทุ ธะสลี งั สะมาทายะ ธัมมัง สจุ ะริตัง จะเร ตัสเสวะ อานภุ าเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา ลกิ ขติ ัง จินติตัง ปชู ัง ธาระณงั วาจะนัง คะรุง ปะเรสัง เทสะนัง สตุ วา ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตตี ิฯ คำแปล พระธรรมอันช่ือว่าอุณหิสวิชัยมีอยู่เป็นธรรมอันยอดเย่ียมในโลก เทวดาท่านจงเรียน อุณหิสวิชัยธรรมนั้น เพ่ือประโยชน์เก้ือกูลแก่สรรพสัตว์ พึงหลีกเว้นเสียได้ซึ่งราชทัณฑ์ อมนุษย์ ทงั้ หลาย เพลงิ ไฟ เหลา่ เสอื นาค สตั วม์ พี ษิ รา้ ยรอดพน้ จากอกาลมรณะ (ความตายในเมอื่ ยงั ไมถ่ งึ เวลาอนั สมควร) จากความตายทกุ อย่าง ทุกประการ เวน้ แต่กาลมรณะ (ความตายในเม่ือถึงกาล อันสมควร) ด้วยอานุภาพแห่งอุณหิสวิชัยธรรมน้ัน ขอเทพเจ้าจงเป็นผู้มีความสุขทุกเม่ือ (พระธรรมน้ี) นำมาเขียนก็ดีนึกก็ดีบูชาก็ดีทรงจำกด็ บี อกกลา่ วเคารพกด็ ี ฟังทที่ า่ นแสดงแกผ่ ู้อ่ืน ก็ดีจะทำให้มอี ายุจำเรญิ แล บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ า้ มป ี 37 ส่งทา้ ยปีเกา่ วถิ ไี ทย ตอ้ นรับปใี หมว่ ถิ ีพุทธ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

(๒๖) ทวตั ตงิ สาการะปาฐะ อัตถิ อิมัสมิง กาเย เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ มังสา นะหารู อัฏฐี อัฏฐิมิญชัง วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง อันตัง อันตะคุณัง อุทะริยัง กะรีสัง ปิตตัง เสมหัง ปุพโพ โลหิตัง เสโท เมโส อัสสุ วะสา เขโฬ สงิ ฆาฌกิ า มตุ ตงั มัตถะเก มัตถะลงุ คันติฯ คำแปล มอี ย่ใู นกายนี้ คือ ผมท้ังหลาย ขนท้งั หลาย เล็บทัง้ หลาย ฟันทงั้ หลาย หนัง เนอื้ เอ็น ท้ังหลาย กระดูกท้ังหลาย เย่ือในกระดูก ไต หัวใจ ตับพังผืด ม้าม ปอด ไส้ใหญ่ สายรัดไส้ อาหารใหม่ อาหารเก่า นำ้ ดี น้ำเสลด นำ้ เหลือง นำ้ เหงือ่ น้ำมนั ขน้ น้ำตา นำ้ มันเหลว น้ำลาย นำ้ มูก น้ำมนั ไขขอ้ นำ้ มูตร เย่ือในสมอง (๒๗) มงคลจกั รวาลใหญ ่ สิริธิติมติเตโชชยสิทฺธิมหิทฺธิมหาคุณาปริมิตปุญฺาธิการสฺสสพฺพนฺตร ายนวิ ารณสมตฺถสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสฺสทวฺ ตฺตึสมหาปรุ ิสลกฺขณานภุ าเวน อสีตฺยานุพฺยญฺชนานุภาเวน อฏฺฐุตฺตรสตมงฺคลานุภาเวน ฉพฺพณฺณรสิยานุภาเวน เกตุมาลานุภาเวน ทสปารมิตานภุ าเวน ทสอุปปารมติ านภุ าเวน ทสปรมตถฺ ปารมิตานุ ภาเวน สีลสมาธิปญฺานุภาเวน พุทฺธานุภาเวน ธมฺมานุภาเวน สงฺฆานุภาเวน เตชานภุ าเวน อทิ ธฺ านภุ าเวน พลานภุ าเวน เยยฺ ธมมฺ านภุ าเวน จตรุ าสตี สิ หสสฺ ธมมฺ กขฺ น ฺ ธานภุ าเวน นวโลกตุ ตฺ รธมมฺ านภุ าเวน อฏฺ งคฺ กิ มคคฺ านภุ าเวน อฏฺ สมาปตตฺ ยิ านภุ าเวน ฉฬภิ ฺ านภุ าเวน จตสุ จจฺ าณานภุ าเวน ทสพลาณานภุ าเวน สพพฺ ญญฺ ตุ าณานภุ าเวน เมตฺตากรุณามุทิตาอุเปกฺขานุภาเวน สพฺพปริตฺตานุภาเวน รตนตฺตยสรณานุภาเวน ตุยฺห สพฺพโรคโสกุปทฺทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา วินสฺสนฺตุ สพฺพอนฺตรายาปิวินสฺสนฺตุ สพพฺ สงกฺ ปปฺ า ตยุ หฺ  สมชิ ฌฺ นตฺ ุ ทฆี ายตุ า ตยุ หฺ  โหตุ สตวสสฺ ชเี วน สมงคฺ โิ ก โหตุ สพพฺ ทา. อากาสปพฺพตวนภูมิคงฺคามหาสมุททฺ า อารกฺขกา เทวตา สทา ตเุ มหฺ อนุรกฺขนตฺ .ุ ภวตุ สพพฺ มงคฺ ลํ รกฺขนฺตุ สพพฺ เทวตา สพฺพพุทฺธานภุ าเวน สทาโสตถฺ ี ภวนตฺ ุ เต. ภวตุ สพพฺ มงฺคลํ รกขฺ นตฺ ุ สพฺพเทวตา สพฺพธมมฺ านภุ าเวน สทาโสตฺถี ภวนตฺ ุ เต. 38 บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี สง่ ท้ายปเี กา่ วถิ ไี ทย ตอ้ นรบั ปใี หมว่ ิถพี ุทธ พุทธศักราช ๒๕๕๙

ภวตุ สพพฺ มงคฺ ล ํ รกขฺ นตฺ ุ สพพฺ เทวตา สพฺพสงฺฆานภุ าเวน สทาโสตถฺ ี ภวนฺตุ เต. นกฺขตตฺ ยกฺขภูตาน ํ ปาปคฺคหนิวารณา ปรติ ฺตสสฺ านภุ าเวน หนตฺ วฺ า เตสํอปุ ทฺทเว นกฺขตฺตยกขฺ ภตู านํ ปาปคฺคหนิวารณา ปริตฺตสสฺ านภุ าเวน หนฺตฺวา เตสอํ ปุ ทฺทเว นกฺขตฺตยกฺขภตู าน ํ ปาปคคฺ หนิวารณา ปรติ ตฺ สฺสานุภาเวน หนตฺ วฺ า เตสํอุปททฺ เว. คำแปล ดว้ ยอานุภาพแหง่ พระมหาปรุ ิสลักษณะ ๓๒ ประการ พระอนพุ ยญั ชนะ ๘๐ ประการ พระมงคล ๑๐๘ ประการ พระฉัพพรรณรังสี พระเกตุมาลา พระบารมี ๑๐ ประการ พระอุป บารมี ๑๐ ประการ และพระปรมัตถบารมี ๑๐ ประการ ของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมา สัมพุทธเจ้า ผู้มีบุญญาธิการ กอปรด้วยฤทธิ์อันยิ่งใหญ่และคุณอันย่ิงใหญ่กำหนดไม่ได้ ที่ส่งผล ให้เกิดมีสิริ ธิติ (ปัญญา) มติ (ความรู้) เดช และชัยชนะ สามารถห้ามอันตรายท้ังปวงได้ ด้วยอานุภาพแห่งศีล สมาธิ ปัญญา อานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยอานุภาพแห่งเดช อานุภาพแห่งฤทธ์ิ อานุภาพแห่งพละกำลัง อานุภาพแห่งเญยยธรรม อานุภาพแห่งธรรมขันธ์ ๘๔,๐๐๐ อานุภาพแห่งโลกุตตรธรรม ๙ อานุภาพแห่งมรรคมีองค์ ๘ อานุภาพแห่งสมาบัติ ๘ อานุภาพแห่งอภิญญา ๖ อานุภาพแห่งสัจจญาณ ๔ อานุภาพแห่ง ทศพลญาณ อานุภาพแห่งสัพพัญญุตญาณ อานุภาพแห่งเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา อานภุ าพแห่งพระปรติ รท้งั ปวง และอานุภาพแห่งการระลกึ ถงึ พระรัตนตรยั ขอให้โรค ความโศก อปุ ัทวะ ทุกข์ โทมนสั และอุปายาสทง้ั ปวงของท่านจงพินาศไป แมอ้ นั ตรายทง้ั ปวงก็จงพนิ าศไป ขอความดำริทั้งปวงของทา่ นจงสำเร็จ ขอใหท้ ่านมอี ายยุ นื ยง อยู่ได้ ๑๐๐ ปี ขอให้เทวดาผรู้ ักษา การณ์อยู่ ณ ห้วงนภากาศ บรรพต ไพรสณฑ์ ภาคพ้ืน แม่น้ำและมหาสมุทรจงค้มครองรักษา ทา่ นตลอดกาลทกุ เม่อื เทอญ ขอมงคลทุกประการจงมี ขอเทวดาทง้ั ปวงจงคุม้ ครองรักษา ขอความสวัสดจี งมีแก่ทา่ น ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมท้ังปวง ด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ทง้ั ปวงเทอญ. ดว้ ยอานภุ าพของปรติ รอนั เปน็ เครอ่ื งปอ้ งกนั บาปเคราะห์ (ทเ่ี กดิ ดว้ ยอำนาจ) ของนกั ษตั ร ของยักษ์ และของภูตผีท้งั หลาย ขอให้อปุ ัทวะทง้ั หลายจงเสือ่ มสนิ้ ไป บทเจริญพระพทุ ธมนต์ สวดมนตข์ ้ามปี 39 ส่งทา้ ยปเี กา่ วิถไี ทย ตอ้ นรับปใี หม่วถิ พี ทุ ธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙

(๒๘) ถวายพรพระ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปรุ สิ ะทมั มะสาระถิ, สตั ถา เทวะมะนสุ สานัง พทุ โธ ภะคะวาต,ิ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหปิ สั สิโก โอปะนะยโิ ก ปัจจตั ตัง เวทติ ัพโพ วญิ ญหู ีต,ิ สปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, อชุ ปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, ญายะปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหเุ นยโย ปาหเุ นยโย ทกั ขเิ ณยโย อญั ชะลกี ะระณโี ย อะนตุ ตะรงั ปญุ ญกั เขตตงั โลกสั สาต,ิ พาหุง สะหัสสะมะภนิ มิ มติ ะสาวธุ ันตัง ครีเมขะลัง อุทติ ะโฆระสะเสนะมารงั ทานาทิธัมมะวธิ นิ า ชติ ะวา มนุ นิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ มาราติเรกะมะภิยชุ ฌติ ะสัพพะรัตตงิ โฆรัมปะนาฬะวะกะมกั ขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสทุ ันตะวิธินา ชติ ะวา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลาน ิ นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมัตตะภตู ัง ทาวัคคิจักกะมะสะนวี ะ สุทารณุ นั ตงั เมตตมั พเุ สกะวธิ ินา ชติ ะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลาน ิ อกุ ขติ ตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณนั ตงั ธาวนั ติโยชะนะปะถังคุลมิ าละวันตงั อทิ ธีภสิ ังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลาน ิ กตั วานะ กฏั ฐะมทุ ะรงั อิวะ คัพภนิ ยี า จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนงั ชะนะกายะมชั เฌ สันเตนะ โสมะวธิ นิ า ชติ ะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลาน ิ สจั จัง วิหายะ มะตสิ จั จะกะวาทะเกตงุ วาทาภิโรปิตะมะนัง อะตอิ ันธะภตู ัง ปัญญาปะทปี ะชะลิโต ชติ ะวา มนุ นิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ 40 บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนต์ขา้ มปี ส่งท้ายปีเก่าวิถีไทย ตอ้ นรับปใี หม่วิถีพทุ ธ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙

นนั โทปะนันทะภชุ ะคัง วพิ ุธงั มะหทิ ธงิ ปตุ เตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธปู ะเทสะวิธินา ชติ ะวา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลาน ิ ทุคคาหะทฏิ ฐภิ ชุ ะเคนะ สทุ ฏั ฐะหตั ถัง พรหั มัง วิสทุ ธิชุตมิ ทิ ธิพะกาภธิ านัง ญาณาคะเทนะ วธิ ินา ชติ ะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลาน ิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทนิ ะทเิ น สะระเต มะตันท ี หติ วานะเนกะววิ ิธานิ จปุ ัททะวาน ิ โมกขงั สขุ ัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญั โญ. มะหาการณุ โิ ก นาโถ หิตายะ สพั พะปาณนิ งั ปเู รตวา ปาระมี สัพพา ปตั โต สมั โพธมิ ตุ ตะมัง เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง ชะยันโต โพธยิ า มูเล สกั ยานงั นนั ทวิ ฑั ฒะโน เอวงั ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยสั สุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปลั ลังเก สเี ส ปะฐะวโิ ปกขะเร อะภิเสเก สพั พะพทุ ธานัง อคั คปั ปตั โต ปะโมทะติ สนุ กั ขตั ตงั สุมงั คะลัง สุปะภาตัง สุหฏุ ฐิตงั สขุ ะโณ สุมุหตุ โต จะ สยุ ฏิ ฐงั พรัหมะจารสิ ุ ปะทักขณิ ัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทกั ขณิ ัง ปะทกั ขณิ ัง มะโนกมั มัง ปะณธิ ี เต ปะทกั ขณิ า ปะทกั ขณิ านิ กัตวานะ ละภนั ตัตเถ ปะทักขเิ ณ. ภะวะตุ สพั พะมังคะลัง รักขนั ตุ สพั พะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ภะวะตุ สัพพะมงั คะลงั รักขนั ตุ สพั พะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ภะวะตุ สพั พะมงั คะลงั รกั ขนั ตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทเจริญพระพุทธมนต์ สวดมนตข์ ้ามป ี 41 ส่งทา้ ยปเี ก่าวิถไี ทย ต้อนรับปีใหม่วถิ พี ทุ ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook