Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore bali-1.14

bali-1.14

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-30 10:45:26

Description: bali-1.14

Search

Read the Text Version

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนาท่ี 99 ตองประกอบศัพทว า นาวาย ตรต,ิ แตเมือ่ ใชปจ จัยแทนศัพทเสีย ศัพทหนง่ึ คือ ตรติ แลว สาํ เร็จรปู เปน นาวโิ ก เชนน้ี กไ็ ดค วาม เทา ๒ ศัพท ทําคําพูดใหสัน้ ไมร งุ รงั เยิน่ เยอ. [ อ.น. ]. ถ. ปจจัยกติ กก ับปจจยั ตัทธติ ใชต างกันอยางไร ? สรณีย เปนตัทธติ หรอื กิตก ? มที ี่กาํ หนดอยา งไร ? ต. ปจจัยกิตก ลงปรงุ ธาตุ, ปจ จยั ตัทธติ ลงปรุงนาม. สรณีย เปน ตทั ธติ ก็ได. เปนกติ กก ็ได, ถา เปนนามศพั ท เปน ตทั ธติ , ถาเปน กิรยิ าศัพท เปน กิตก. [ ๒๔๖๔ ]. ถ. ปชู นีโย เปน ศัพทต ทั ธิตก็ได เปนกติ กกไ็ ด จะสงั เกต อยา งไรวา ทเ่ี ชนไร ควรใชเ ปนศพั ทตทั ธติ หรอื กิตก ? ต. ปชู นีโย จะแปลเปน ตัทธติ วา ผูควรซง่ึ อันบชู า หรอื จะ แปลเปนกิตกวา ผูอ ันบคุ คลพึงบชู า ก็ไดค วามอยา งเดยี วกนั วา ผู ควรบชู า เพราะฉะนนั้ ถาเปนนามศพั ท จะเปน ตัทธิหรือกติ กก ็ได แตโ ดยมาก ใชเปน ตัทธิต ถา เปน กริ ยิ าศัพท ตองเปนกิตก. [ ๒๔๖๑ ]. ถ. โภชก โภคี เปน ศพั ทต ทั ธติ หรอื กติ ก ? ต. โภชโก ปรงุ ข้ึนจาก ภุชุ ธาตุ ณฺวุ ปจ จัย เปน นามกิตก, โภคี ปรุงขึ้นจากบทนาม โภค อีก ปจจยั เปน ตัทธติ . [ ๒๔๗๐ ]\" ถ. ตัทธิตทงั้ สิน้ ทานนยิ มบทปลง เปนลิงคว จนะอะไร ? ต. ตัทธติ ทีเ่ ปน คุณ บทปลง เปนได ๓ ลิงคและทง้ั ๒ วจนะ ตามตวั ประธาน คอื ตัวประธานเปนลงิ ค วจนะอะไร ก็ตอ งเปนลงิ ค

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 100 วจนะนั้น ตัทธติ ที่เปนนาม โคตตตทั ธติ บทปลงเปนได ๓ ลิงค เอกวจนะ. สมุหตทั ธิตทล่ี ง กณฺ ณ ปจ จยั บทปลงเปน ปุงลิงค เอกวจนะ, สมุหตัทธติ และภาวตทั ธิท่ลี ง ตา ปจ จัย บทปลงเปน อิตถลี ิงค เอกวจนะ, ภาวตัทธิต นอกจากทล่ี ง ตา ปจ จัยแลว บท ปลงเปน นปุงสกลิงค เอกวจนะท้ังสน้ิ . สว น วภิ าคตทั ธิต บทปลง เปน ตติยาวิภัตติ เอกวจนะ อพั พยตัทธติ มอี รรถลงในประการ ไม เปนวิภัตติ และวจนะไร ๆ เพราะเปน พวกอัพยยศัพท . [ อ. น. ] ถ. ปจ จัยตทั ธติ ใชป ระกอบกับศพั ทพ วกไหนไดบาง ? ของให ชักตวั อยางมาดว ย. ต. ประกอบกับศพั ทหลายพวก คอื นามนาม เชน วาสฏิ โ  เหลา กอแหงวาสิฏฐะ พวก ๑, คุณนาม เชน นลี ตตฺ  ความเปน แหงของเขยี ว พวก ๑. สพั พนาม เชน สพฺพถา ประการทั้งปวง พวก ๑, ศพั ทส ังขยา เชน ทุติโย ตกิ  เอกธา พวก ๑, อพั ยยศัพท เชน ปจฉฺ ิโม พวก ๑, ศัพทน ามกิตก เชน คมนตา ความเปน แหง การไป, ปาจกตฺต ความเปน แหงคนหงุ พวก ๑, ศพั ทก ิรยิ ากิตกพวก อนพั ยยะ เชน กตตตฺ  ความเปนแหงกิจอนั บคุ คลทําแลว, คตตฺต ความเปนแหงชนผไู ปแลว พวก ๑, และศัพทอ าขยาตมีบา งบางตัว เชน อตถฺ ติ า ความเปนแหง วัตถุมอี ยู, นตถฺ ติ า ความเปนแหงวัตถุ ไมม อี ยู. [ อ.น.] ถ. ตัทธิต โดยยอ มีเทา ไร ? โดยพสิ ดารมีเทา ไร ? อะไรบาง ? ต. โดยยอ มี ๓ คอื สามัญญตัทธิต ภาวตัทธิต อัพยตัทธติ .

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 101 โดยพิสดารมี ๑๕ คือ สามญั ญตัทธติ ทา นแบง เปน ๑๓ คอื โคตต- ัตทั ธิต ตรตยาทติ ัทธติ ราคาทิตทั ธิต ชาตาทิตทั ธิต สมุหตัทธติ ฐานตัทธิต พหลุ ตัทธติ เสฏฐตทั ธิต ตทัสสตั ถติ ัทธิต ปกตติ ัทธิต สังขยาตทั ธิต ปณุ ณตัทธติ วิภาคตัทธิต. แตใ นคมั ภรี ศ พั ทศาสตร ทัง้ หลาย ทา นแบง เปน ๑๕ คอื เติม อุปมาตทั ธติ และนสิ สติ ตัทธิต เขาดว ย ถา รวม ๒ ตัทธติ นี้เขาดวยก็เปน ๑๗, แต ๒ ตทั ธติ นไี้ มได ใชทัว่ ไป จงึ มไิ ดม อี ธบิ ายไวใ นบาลีไวยากรณ. [ อ. น.]. ถ. ยกวภิ าคตัทธิตในสามญั ญตัทธติ ๑๓ ออกเสยี ตัทธติ ไหน เปนนามอะไร ? ต. โคตตตทั ธิตเปน นามนามกไ็ ด คณุ นามก็ได, ตรตยาทิตัทธติ ราคาทติ ัทธิต ชาตาทติ ัทธิต ฐานตทั ธิต พหุลตัทธติ เสฏฐตทั ธติ ตทสั สตั ถิตัทธติ ปกติตทั ธิต ปูรณตทั ธิค เหลา นี้ เปนคุณนาม, สมุหตทั ธติ และ ภาวตัทธติ เปนนามนาม, สงั ขยาตัทธิตตามวิเคราะห ในแบบ เปนคณุ นาม แตมักใชเ ปนนามนาม. [ ๒๔๖๗ ] ถ. ปจจัยตัทธิตอะไรบา ง ท่ลี งในศัพทแลว เปน นามนาม ? จงอธิบายมา. ต. ปจ จยั ทีล่ งในโคตตตทั ธิต เปน นามนามก็ได เปน คุณนาม กไ็ ด, ท่ลี งในสมหุ ตัทธิต และภาวตทั ธิต เปน นามนามอยางเดียว ทล่ี งในสงั ขยาตทั ธติ ในแบบเปน คุณนาม แตม ักใชเปนนามนาม. [ ๒๔๗๓ ]

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 102 ถ. ปจจยั อะไรบาง ที่ลงในศพั ทแ ลว เปนนามนาม ? จงชกั ตัวอยา ง. ต. ปจ จัยในโคตตัทธติ เชน วาสิฏโ  เปนตน ๑, ปจจยั ใน สมหุ ตัทธิต เชน มานุสโก มานโุ ส คามตา ๑, ปจจยั ในภาวตัทธติ เชน จนทฺ ตตฺ  ปณฑฺ ิจฺจ ปุถุชชฺ นตฺตน มทุ ุตา เวสม รามณียก ๑. [ ๒๔๖๐ ]. [ โคตตตทั ธิต ] ถ. โคตตตทั ธติ ที่ไดชือ่ เชนน้ัน เพราะอะไร ? ต. เพราะใชปจจัยแทน โคตฺต ศพั ท หรือศัพทท มี่ เี น้ือความ อยา งเดยี วกันกับ โคตฺต เชน อปจจฺ ศพั ท ที่แปลวา เหลา กอ เปนตน. [อ. น. ]. ถ. ในโคตตตทั ธิตนี้ ใชปจจัยแทนศัพทกตี่ วั ? อะไรบาง ? ขอดตู ัวอยาง. ต. มี ๘ ตวั คือ ณ ณายน ณาน เณยฺย ณิ ณกิ ณว เณร. ณ ปจ จัย เชน โคตโม, ณายน ปจจยั เชน กจจฺ ายโน, ณาน ปจ จยั เชน โมคคฺ ลฺลาโน, เณยฺย ปจจัย เชน ภาคิเนยฺโย ณิ ปจจยั เชน วารุณ,ิ ณิก ปจจยั เชน สากยฺ ปตุ ตฺ ิโก, ณว ปจ จัย เชน มาณโว, เณร ปจ จยั เชน สามเณโร. [ อ. น. ]. ถ. ปจ จยั สําหรบั ตัทธิตน้ี มถี ึง ๘ ตวั เมอื่ จะนําไปใชประกอบ กบั ศพั ท จะตอ งนาํ ไปทั้งหมด หรือจะแบง ใชต วั ใดตัวหนงึ่ ? ต. ไมตอ งนาํ ไปประกอบทั้งหมด พงึ เลือกใชแ ตต วั ใดตวั หนึ่ง

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 103 ตามทีเ่ ห็นวาเหมาะกับศัพทนั้น ๆ หรอื ตามทท่ี า นนิยม ท่ีมไี วหลาย ตัวเชน นน้ั กเ็ พ่อื ใหเลือกใชไดสะดวก และใหค รบตามภาษานยิ ม ทพ่ี ดู กัน . [ อ. น.]. ถ. เม่ือปจ จัยประกอบกบั ศัพทแลว จะทราบไดอยา งไรวา ศพั ทนปี้ ระกอบกับปจ จัยตวั นนั้ ๆ ต. จะทราบได ตอ งสังเกตที่ทา ยศัพท และตอ งทราบศพั ทเดมิ กอน เชน กจจฺ ายโน ศพั ทเดมิ เปน กจจฺ , เม่ือแยก กจฺจ ออกแลว คงเหลอื แต ณายน ซ่งึ เปนปจ จัย ก็ทราบไดวา กจฺจายน ลง ณายน ปจจยั เพราะ ณ เมอื่ ประกอบปจจยั กับศัพทแ ลว ทา นใหลบเสยี เหลือไวแ ตส ระท่ี ณ อาศัย เม่ือทราบศัพทเดิมแลว ก็ทราบปจจัยได หรือเม่อื ทราบปจจยั แลว ก็ทราบศพั ทเ ดมิ ไดเ หมือนกนั . [อ. น. ]. ถ. วิธีตง้ั วิเคราะหแ หง โคตตตัทธิตน้ี ทําอยา งไร ? จงแสดง ใหเหน็ ชัด. ต. วธิ ตี ง้ั วิเคราะหน ั้น ทา นใหประกอบศพั ทเ ดิมเปน ฉัฏฐีวภิ ตั ติ เอกวจนะ แลวประกอบศพั ทที่ใชแ ทน โคตตฺ ศพั ท เปน ปฐมาวิภตั ติ ตามลิงคของตนเรียงไวหลงั ศพั ทเ ดิม, ในโคตตตัทธติ ทานใช อปจฺจ ท่แี ปลวา เหลากอ แทน โคตฺต ศพั ท ตวั อยา งเชน สมณสฺส อปจฺจ สาํ เรจ็ รูปเปน สามเณโร แปลไดความเทากับบทวเิ คราะห วา เหลา กอแหง สมณะ, อปจฺจ นั้น แมมีอยใู นบทวิเคราะหก็จรงิ แตไม ปรากฏในบทสาํ เรจ็ เพราะลบ อปจจฺ เสยี ใชป จจัยแทน, เฉพาะ ศั พั ท สามเณโรน้ี ใช เณร ปจ จัยแทน อปจจฺ ศพั ท. อน่งึ การ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนาท่ี 104 จะลงปจ จัยท่ีทา ยศพั ทใ ด ตอ งลบวภิ ัตตทิ ปี่ ระกอบอยูกับศพั ทน ั้นเสีย กอ น ใหเ หลอื อยูแ ตร ปู เดิมจริง ๆ เชน สมณสสฺ ตอ งลบ ส วภิ ัตติ เหลอื อยแู ต สมณ ซ่ึงเปน รปู เดมิ แลว จงึ ประกอบปจ จยั ได จะลง ปจจัยทา ยศัพททม่ี ีวิภตั ติประกอบอยไู มไ ด. [ อ. น.]. ถ. ณ ปจ จยั เม่ือจะประกอบกับศพั ท ทานใหล บ ณ เสีย ครนั้ ลบ ณ แลว กเ็ ปน อันแลวกัน หรือมีใหเ ปลี่ยนแปลงอยา งไรอีก ? ต. เมื่อลบ ณ แลว ถาสระอยูห นา ศพั ทเปน รสั สะลว น ไมม ี พยญั ชนะสงั โยคอยูเ บ้ืองหลัง ตอ งพฤทธิ คอื ทฆี ะ อ เปน อา, วิการ อิ เปน เอ, อุ เปน โอ, เวนแตสระทอ่ี ยูห นาศพั ทเปน รัสสะ มี พยญั ชนะสงั โยคอยเู บอื้ งหลงั หรอื เปน ทีฆะ ไมต อ งพฤทธิ ลบ ณ แลวเปน อนั แลวกัน, สวนสระท่ี ณ อาศัย และสระพยัญชนะอน่ื ๆ ท่ีเหลอื อยู ใหป ระกอบกบั ศพั ทไ ดทเี ดียว ตวั อยางเชน :- ภคินิ ลง เณยยฺ ปจ จยั เมอ่ื ลบ ณ แลว ตองทฆี ะสระทอ่ี ักษร ตัวหนาอาศัย คอื อ เปน อา แลวนาํ เ-ยย ไปประกอบกับ ภาคนิ ิ สาํ เรจ็ รูปเปน ภาคิเนยโฺ ย แปลวา เหลากอแหงพ่ีนอ งหญิง. วธิ วา ลง เณร ปจจัย ลบ ณ แลว ตองวิการสระท่อี กั ษร ตวั หนาอาศัย คอื อิ เปน เอ, แลว นํา เ-ร ไปประกอบกบั เวธวา สําเร็จรูปเปน เวธเวโร แปลวา เหลา กอแหง แมหมาย. อปุ กุ ลง ณว ปจ จยั ลบ ณ แลว ตองวิการสระท่อี ักษรตวั หนาอาศัย คือ อุ เปน โอ, แลวนาํ -ว ไปประกอบกับโอปกุ สาํ เรจ็ รูปเปน โอปกโว แปลวา เหลากอแหง อปุ กุ.

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 105 ทกขฺ ลง ณิ ปจจยั ลบ ณ แลว เอา อิ ท่เี หลอื ประกอบกบั ทกขฺ เปน ทกฺขิ เฉพาะศัพทน้ี เมอ่ื ลบ ณ แลว ไมต อ งพฤทธหิ รอื วกิ าร เพราะ ทกฺ เปนพยญั ชนะสงั โยค. โคตม ลง ณ ปจ จยั ลบ ณ แลว เอา อ ไปประกอบกบั โคตม กค็ งเปนรปู เดมิ ไมต องเปล่ยี นแปลง เพราะ โค เปน ทีฆะ สระอยูแลว .[ อ. น. ]. ถ. ภิกขฺ ุ กับ สามเณโร เปน บทอะไร ? อยา งไหน มมี ลู เดิม อยางไร ? จงแสดงใหตลอดสาย. ต. ภิกขฺ ุ เปน บทกิตก, สามเณโร เปนบทตทั ธติ , ภกิ ขุ เปน กัตตสุ าธนะ ลงในอรรถแหง ตัสสลี ภกิ ขฺ ธาตุ รู ปจจยั ไมล บท่สี ุด ธาตุ รสั สะ อู เปน อุ ลบ ร เสยี วเิ คราะหว า ภิกฺขติ สีเลนาติ ภิ กิ ขฺ ,ุ สว นสามเณโรนน้ั เปนโคตตตัทธิต เณร ปจ จัย ทีฆะ อ เปน อา ลบ ณ เสยี วิเคราะหวา สมณสสฺ +อปจจฺ = สามเณโร มลู เดิมมีอยางน้ี . [๒๔๖๘ ]. ถ. โคตตตัทธิต เปนตัทธติ นามหรือคณุ ? และเปนไดก ล่ี ิงค ? จงแสดงตัวอยา งดวย. ต. เปน ไดท ัง้ นาม ทง้ั คณุ และเปนไดท้ัง ๓ ลงิ ค ตัวอยางเชน โคตโม ปุงลงิ ค, โคตมี อคิ ถลี งิ ค, โคตม นปุงสกลงิ ค. [อ. น. ] [ตรตยาทติ ัทธติ ] ถ. เหตุไร ตัทธิตนี้ จงึ เรยี กวา ตรตยาทิตัทธิต ? ต. เพราะใชปจ จัยแทนศพั ทต า ง ๆ ไมม ที ีส่ นิ้ สดุ มี ตรติ ศพั ท

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 106 เปนตน . จึงไดช่ืออยางน้ัน. [ อ. น. ]. ถ. ตัทธิตน้ี มปี จจยั กี่ตัว ? ไดแกอ ะไร ? ต. มตี วั เดยี ว ไดแก ณกิ ปจจัย. [อ.น. ]. ถ. ณิก ปจจัย ในโคตตตัทธติ ก็มีแลว เมอื่ ซํ้ากนั อยา งนี้ จะ รไู ดอ ยางไรวา ศพั ทน ี้เปนตัทธติ นนั้ ? ต. ตอ งสังเกตความแหงศัพททป่ี จจยั ลงแทน ถา ไดความใน ตทั ธิตไหน ก็รูไ ดว าเปนตทั ธิตนัน้ เชน ธมมฺ โฺ ก จะลงแทน อปจจฺ [ เหลา กอ] ในโคตตตทั ธิต คอื แปลวา \"เหลากอแหงธรรม\" ไมไ ด ความ ก็รวู า เปน ตทั ธิตนีไ้ มได ถา ลงแทน ยุตฺต [ ประกอบแลว]. หรอื ติ [ ต้งั อยูแลว ] คือแปลวา ประกอบแลวในธรรม หรือตัง้ อยแู ลวในธรรม จงึ ไดความดี เชนนก้ี ร็ ไู ดว าเปน ตรตยาทติ ัทธติ ดงั นีเ้ ปน ตน . [อ.น. ]. ถ. ตัทธติ น้ี ใช ณิก ปจ จยั แทนศพั ทอะไรไดบ าง ? ต. ใชแ ทนศัพทตาง ๆ ไมมีจํากัด อาจใชแ ทนศพั ทท เ่ี ปน นามนาม คุณนาม กริ ยิ าอาขยาต นามกติ ก และกริ ยิ ากติ กไดท ง้ั นั้น แตทีใ่ ชแ ทนโดยมากนนั้ คือ ศพั ทกิริยาอาขยาต และกริ ิยากติ ก นอกนั้นกม็ ีหา ง ๆ ในแบบทา นยกตวั อยางมาแสดงไวด ังน้ี :- ใชแ ทนศพั ท ตรติ เชน นาวิโก ผูขามดวยเรือ. \" \" สสฏ  \" เตลิก ระคนแลวดว ยงา. \" \" จรติ \" สากฏโิ ก ผูเท่ียวไปดว ยเกวยี น. \" \" ชาโต \" ราชคหิโก ผูเกิดในเมอื งราชคฤห.

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 107 ใชแทนศัพท วสติ เชน ราชคหิโก ผูอ ยใู นเมอื งราชคฤห. \" \" กต \" กายกิ  อันชนทาํ แลว ดว ยกาย. \" \" วตฺตติ \" กายิก เปนไปในกาย. \" \" นิยตุ โฺ ต \" โทวารโิ ก ผปู ระกอบในประตู. \" \" หนฺตวฺ า ชีวตฺ ิ \" สากุณิโก ผูฆ า ซึง่ นกเปนอย.ู \" \" สนตฺ ก \" สงฆฺ ิก ของมีอยูแหง สงฆ. \" \" ทิพฺพติ \" อกขฺ โิ ก ผูเ ลน ดวยสกา. นอกจากน้ี ยังใชแทนศัพทอ่นื ๆ อีกมาก แลว แตค วามของ ศพั ทตัทธติ น้ันจะบง ถงึ . [ อ. น.]\" ถ. ตัทธิตทัง้ มวล ลว นใชป จ จัย จะรไู ดวาเปนตัทธิตไหน ตอง อาศัยการแปล ? ถา จรงิ ตามนี้ จงลองแปลศัพทวา ธมมฺ ิโก ให เปนชื่อของการกรายกฐิน อติเรกลาภ อุบาสก ภกิ ษุ รวม ๔ นยั พรอ มทัง้ แสดงปจจัยไมนอยกวา ๒ ตทั ธิต และบทวเิ คราะหดว ย. ต. ธมมฺ โิ ก เปน ชื่อของการกราบกฐิน แปลวา อนั ทําโดย ธรรม [ คือทําถูกระเบยี บ], เปน ชื่อของอติเรกลาภ แปลวา อันเกดิ โดยธรรม [ คอื สมั มาชีพ], เปน ชื่อของอตเิ รกลาภ แปลวา ผตู ้ังอยู ในธรรม หรอื ผูประกอบในธรรม, ทัง้ ๓ ชือ่ นี้ ลง ณกิ ปจ จยั ใน ตรยาทติ ทั ธิต วิเคราะหวา ธมเฺ มน+กโต = ธมฺมิโก [ กนิ ตฺถาโร ] ธมฺเมน+ชาโต = ธมฺมโิ ก [ อตเิ รกลาโภ]. ธมเฺ ม + โิ ต = ธมมฺ โิ ก ธมเฺ ม+ยตุ ฺโต วา = ธมฺมโิ ก [ อปุ าสโก ]. เปนช่อื ของภกิ ษุ แปลวา ผูมีธรรม [ แปลเหมอื นอุบาสกกไ็ ด ] ลง อกิ ปจจยั ในตทัสสตั ถิ-

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 108 ตทั ธติ วเิ คราะหว า ธมฺโม อสสฺ อตถฺ ีติ ธมมฺ โิ ก [ ภิกขุ ] [ ๒๔๗๑ ]. ถ. ณิก ปจ จยั ในตรตยาทติ ัทธติ ลงในอรรถเปน หลายอยา ง สงั เกตอยางไรจึงจะรูไดว า เมอ่ื ลงในศพั ทน้นั แปลวา อยางน้ัน? ต. สังเกตศพั ทน ามทป่ี รุงข้นึ น้ัน และคิดแปลปจจัยใหเ ขาความ กนั เชน ธมมฺ ิโก แปลวา ผูต ง้ั อยใู นธรรมก็ได ผปู ระพฤติธรรม ก็ได สงฆฺ ิโก เปน ของสงฆกม็ ี เฉพาะสงฆก ็มี. [๒๔๕๗ ]. ถ. ณกิ ปจ จยั ลงในตทั ธติ อะไรบาง ? และตา งกันอยางไร ? ต. ลงในโคตตตัทธิต ๑, ในตรตยาทติ ทั ธิต ๑, ตางกันอยางน้ี ลงในโคตตตัทธิต แทนศัพท อปจฺจ ซง่ึ แปลวา เหลากอ และมัก ลงในศัพทที่เปนชื่ออสาธารณะ ซึ่งเปนตนโคตร, สว นลงในตรตยาทิ- ตัทธิต ไมกาํ หนดแนวาลงแทนศพั ทอะไร [ เวน ศพั ท อปจฺจ ] แลว แตไดค วาม .[ ๒๔๖๐ ]. ถ. จงแปลและต้งั วเิ คราะหศพั ทวา เสนาสนโิ ก มาดสู ัก ๕ อยา ง ? ต. ถา แปลวา ผอู ยใู นเสนาสนะ วิเคราะหวา เสนาสเน วสตตี ิ เสนาสนโิ ก. ถาแปลวา ผูทําซ่ึงเสนาสน วเิ คราะหวา เสนาสน กโรตตี ิ เสนาสนิโก. ถา แปลวา เปนผใู หญในเสนาสนะ วเิ คราะหวา เสนาสเน+ อิสสฺ โร= เสนาสนโิ ก. ถา แปลวา ผรู กั ษาซึง่ เสนาสนะ วเิ คราะหวา เสนาสน รกขฺ ตตี ิ เสนาสนิโก.

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 109 ถา แปลวา ผูเกิดในเสนาสนะ วิเคราะหว า เสนาสเน+ชาโต =เสนาสนิโก. [ อ. น.]. ถ. ตทั ธติ น้ี เปน นามหรือคณุ ? การต้งั วิเคราะหในตัทธติ น้ี ถอื หลกั วธิ อี ยา งไร ? ต. เปน คุณลว น การตงั้ วิเคราะหน้ัน ตอ งตงั้ รูปตามความที่ แปล เชน ราชคหโิ ก ถาแปลวา ผูไปสูก รงุ ราชคฤห ก็ใหประกอบ ศัพทน ามท่ปี รากฏอยูนั้นเปนทุติยาวิภัตติ และหาศัพทคาํ วา ไป คอื คจฉฺ ติ มาวางไวขางหลังศพั ทน ามนน้ั ถาศัพททใ่ี ชปจ จัยแทนนน้ั ประกอบรปู เปนกริ ิยาอาขยาต ตองเติม อติ ิ (เพราะเหตุนน้ั ) ไวทา ย วเิ คราะหทกุ ๆ วเิ คราะหไป เม่อื ไดศ ัพทอยางนั้นแลว จึงต้ังวิเคราะห ดังน้ี : ราชคห คจฺฉตีติ ราชคหโิ ก. ถา แปลวา ผูอยูใ นกรุงราชคฤห ก็ตงั้ วเิ คราะหว า ราชคเห วสตตี ิ ราชคหิโก ดังนเี้ ปน ตน. [ อ. น. ] ถ. โทวาริโก ศพั ทน ี้ ผิดลกั ษณะทฆี ะและวิการศัพทท ีเ่ นื่อง ดว ย ณ ใชไหม ? เหน็ อยา งไรจงแถลง. ต. ถา ศพั ทเ ดิมเปน ทวฺ าร สาํ เร็จรูปเชนนั้น กเ็ ปนอันผิดลักษณะ แตบางอาจารยวา ศพั ทเ ดมิ เปน ทุวาร จึงวกิ าร อุ เปน โอ ได, ถา เชนนี้ ไมผิดลักษณะ, อกี อยางหน่ึง เขาใจวา ศัพทเดิมคงเปน ทฺวาร แตเ พือ่ ไมใ หขดั กับสํานวนภาษาท่ีเขานิยมพูดกัน ทา นจงึ ประกอบเปนรูปเชนนั้น. [ อ. น. ]. [ ราคาทิตัทธิต ] ถ. ราคาทติ ัทธติ ใชป จจยั แทนศัพทก่ตี วั ? คอื ปจ จัยอะไร ?

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 110 ใชแทนศัพทพ วกไหนบา ง ? ต.ใชปจ จัยแทนศพั ท ๒ ตวั คอื ณ , แทนศพั ทต าง ๆ มี ราคา เปน ตน มิไดจ ํากัดศพั ท เชนเดียวกบั ตรตยาทิตัทธิต แตในแบบท่ี ทานแสดงเปนตัวอยา งไวดังนี้ :- ใชแ ทนศัพท รตตฺ  เชน กาสาว [ ผา ] อันบคุ คลยอ มแลว ดวยน้ําฝาด. \" \" อิท มส \" มาหิส [ เนอ้ื น้ี ] ของกระบือ. \" \" ชาโต \" มาคโธ ผูเกดิ แลว ในแวน แคลนมคธ. \" \" วสติ \" มาคโธ ผูอยูในแวน แควนมคธ. \" \" อิสฺสโร \" มาคโธ ผูเปน ใหญใ นแวนแควนมคธ. \" \" นิยตุ โฺ ต \" กตฺตโิ ก [ เดอื น ] ประกอบดว ยฤกษ- กัตตกิ า. \" \" อธิเต \" เวยฺยากรโณ ผูเรียนซง่ึ พยากรณ. [อ. น. ]. ถ. ราคาทิตทั ธิต เปนนามหรอื คุณ ? ตางจากตรตยาทิตัทธติ อยางไรบา ง ? ต. เปน คุณลวน, ตา งจากตรตยาทติ ัทธิตกเ็ พียงเปน ปจจยั เทา นัน้ คือ ในตรตยาทิตทั ธใิ ช ณิก, ตัทธติ น้ีใช ณ, สว นการตัง้ วิเคราะห การแปลเหมือนกนั เปน คณุ และมีปจจัยตัวเดียวเหมือนกัน. [ อ. น. ] ถ. ตทั ธติ ไหนบา ง ใชปจ จยั แทนศพั ทเ ปนอนั มาก ? จงเขียน ศัพททป่ี ระกอบปจจยั แลวในตัทธติ เหลา น้ันมาดู.

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 111 ต. ตรตยาทิตทั ธิต ราคาทิตัทธติ ชาตาทติ ทั ธิต ใชปจจยั แทนศัพทเปนอันมาก, โทวารโิ ก เปน ตรยาทิตทั ธติ ลง ณกิ ปจ จัย. กตฺตโิ ก เปน ราคาทติ ัทธิต ลง ณ ปจจัย, อนฺติโม เปน ชาตาทติ ัทธติ ลง อมิ ปจจยั . [ ๒๔๖๙]. ถ. นาคริโก นาคโร ก็แปลวา ชาวเมือง เหมือนกนั เปน ตัทธติ เดยี วกันหรอื ตางกัน ? จงวเิ คราะหมาดู. ต. ตางกัน, นาคริโกเปน ตรตยาทิตทั ธติ ณิก ปจ จัย วเิ คราะห วา นคเร+ชาโต, นคเร+วสตีติ = ราครโก, นาคโร เปน ราคาทิตัทธติ ณ ปจจัย วเิ คราะหอยางเดียวกัน. [ ๒๔๖๔ ]. ถ. ตัทธติ อะไรบาง ใชป จ จยั แทนศพั ทโ ดยไมมีจาํ กัด ? เมื่อ เปนเชน นน้ั จะรไู ดอยางไรวา ในทีน่ ใี้ ชปจ จยั แทนศพั ทน้ี ในทนี่ ้ัน ใชป จจยั แทนศัพทนนั้ ? จงชี้แจงมา. ต. ตรตยาทิตัทธติ ราคาทิตทั ธติ ชาตาทติ ทั ธิต ๓ นี้ ใชป จ จัย แทนศพั ทโ ดยไมจาํ กดั รไู ดโ ดยพิจารณาความทีเ่ หมาะแกรูปศพั ท และโดยหยัง่ ถึงความหมายแหงศัพทท่ีใชใ นท่ีนนั้ ๆ เชน เตลกิ  เปน คณุ ของ โภชน กต็ องแปลวา ระคนดวยงา, ราชคหิโก เปน คณุ ของ ชโน กต็ องแปลวา ผูเกิดในเมืองราชคฤห, หรอื ผอู ยูใ นเมอื ง ราชคฤห, ตามความหมายในนั้น. [ ๒๔๗๙ ]. ถ. ณ ปจ จัย ในตัทธติ ลงในอรรถอะไรบาง ? และตอ งทํา วธิ อี ยางไร ? ต. ณ ปจ จัยลงในอรรถ ๕ อยา ง คอื โคตตตัทธิต ราคาทิตัทธติ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 112 สมหุ ตัทธติ ตทัสสัตถติ ัทธิต ภาวตัทธติ . ถา สระทีอ่ ยหู นาศัพทเ ปน รสั สะลวน ไมม ีพยญั ชนะสังโยคอยูเบอื้ งหลัง ตองพฤทธิ คอื ทฆี ะ อ เปน อา, วกิ าร อิ เปน เอ, อุ เปน โอ. เวนไวแ ตสระท่อี ยเู บือ้ งหนา ศัพท เปน รสั สะ มพี ยัญชนะสังโยคอยูเ บ้ืองหลัง หรือ เปน ทฆี ะ ไมต องพฤทธิ และ ณ ปจจัยนั้นจะตองลบเสยี คงไวแ ตสระท่ี ณ อาศัย. [ ๒๔๕๘ ]. [ ชาตาทติ ัทธิต ] ถ. ตัทธิตน้ี เพราะเหตุไร จงึ ไดช ่อื วา ชาตาทติ ทั ธิต ? ใช ปจจัย แทนศัพทเ ทาไร ? อะไรบา ง ? ขออทุ าหรณป ระกอบดว ย. ต. เพราะใช ปจจัย แทนศพั ทต าง ๆ มี ชาต ศพั ท เปนตน จึงไดช่ือวา ชาตาทิตทั ธิต, ตัทธิตน้ี ใชปจ จยั แทนศัพทไ ดมาก ไมมี จาํ กัด เชนเดยี วกบั ตรตยาทติ ัทธติ และ ราคาทิตทั ธิต. ใชป จ จัย ๓ ตัว คือ อิม อิย กิย ปจ จัย อทุ าหรณ ดังน้ี :- อมิ ปจ จัย เชน ปรุ โิ ม [ ชน ] เกดิ แลว ในกอ น. อิย ปจจยั เชน ปณฑฺ ิตชาติโย [ ชน ] เกดิ แลว โดยชาติ แหงบณั ฑติ . กยิ ปจ จยั เชน อนธฺ กโิ ย [ ชน ] ประกอบแลว ในทมี่ ืด. [ อ. น. ]. ถ. ชาตาทติ ัทธิต เปนนามหรือคุณ ? ทําไมจึงวาอยางนัน้ ? โสตฺถิโก โสตฺถิโย แปลวา [ ชน ] ถึงซง่ึ ความสวัสดี เปนตทั ธติ อะไร ? วเิ คราะหใหดดู วย. ต. เปนคุณ เพราะมีบทอื่นเปนประธาน, เมือ่ เปน คณุ กเ็ ปนได

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 113 ทั้ง ๓ ลิงค, โสตถฺ โิ ก เปน ตรตยาทิตัทธิต วิเคราะหว า โสตถฺ +ึ ปตฺโต= โสตฺถิโก ลง ณกิ ปจ จัย, โสตฺถโิ ย เปนชาตาทิตทั ธิต วเิ คราะห เหมือนอยางนั้น แตล ง อยิ ปจจัย .[ อ. น. ]. ถ. การต้งั วิเคราะหชาตาทติ ทั ธิตนั้น มีกฎเกณฑอ ยา งไรบา ง ? ต. มกี ฎเกณฑอ ยางเดียวกับตรตยาทิตทั ธิต และ ราคาทิตัทธิต คือไมจ ํากัดศัพท แลว แตค วามจะระบุใหป ระกอบรปู วเิ คราะหเชน ไร ตวั อยา งเชน อนตฺ โิ ท ถาแปลวา ผูเกิดแลวในที่สดุ กต็ ง้ั วเิ คราะหว า อนฺเต+ชาโต= อนตฺ ิโม [ ชโน ]. ถาแปลวา ผปู ระกอบแลว ในที่สดุ ก็ต้ังวเิ คราะหว าอนเฺ ต + นยิ ุตโฺ ต= อนตฺ โิ ม [ ชโน ] เปน ตน. บาง วิเคราะหก ต็ ้ังเหมือน ตทัสสตั ถติ ัทธิต เชน ปตุ ฺตโิ ม แปลวา ผมู บี ุตร ก็ต้ังวิเคราะหว า ปุตฺโต อสสฺ อตถฺ ีติ ปตุ ฺตโิ ม [ ชโน] . [ อ. น.]. ถ. การต้งั วเิ คราะหและคาํ แปลศัพทข องชาตาทติ ัทธติ และตทสั - สัตถิตัทธเิ หมือนกนั เชนนี้ จะสังเกตรูไ ดแ นนอนอยางไรวา เปน ตทั ธิตไหน? ปตุ ตฺ มิ า เปนตทั ธติ อะไร ? ตง้ั วิเคราะหอ ยางไร ? ต. ตองสงั เกตปจจยั เปนหลัก เพราะตัทธิตท้ังปวงมีปจจยั ประจาํ เฉพาะตัทธิตนนั้ ๆ แลว , ปจ จัยใน ๒ ตัทธติ ทง้ั ปวงมีปจจยั อยแู ลว ปตุ ตฺ ิมา ถาเปน พหวุ จนะ เปนชาตาทิตทั ธติ อมิ ปจจยั วเิ คราะหวา ปุตฺโต เตส อตถฺ ตี ิ ปตุ ตฺ ิมา[ มาตาปตโร] ถา เปน เอกวจนะ เปน ตทัสสตั ิถตทั ธติ อมิ นฺตุ ปจ จัย วเิ คราะห ปตุ ฺโต อสฺส อตถฺ ตี ิ ปตุ ฺติมา [ ชโน]. ทเ่ี ปน รปู เชน น้ี แจกตามแบบ ภควนฺตุ ศัพท. [ อ. น. ].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนาที่ 114 [ สมุหตทั ธิต ] ถ. สมหุ ตัทธติ หมายความวา กระไร ? มปี จ จัยกตี่ วั ? อะไร บาง ? และปจ จยั เหลา นั้น ปจจยั ตวั ไหน เปน เครอ่ื งหมายลงิ คอะไร ? ต. หมายความวา ตัทธิตท่ใี ชป จ จยั แทน สมหุ ศพั ท ซง่ึ แปล วา ความประชุม มปี จ จัย ๓ ตัว คือ กณฺ ณ ตา, กณฺ ณ ๒ ตัวน้ี เมื่อประกอบศัพทแลว เปนเครื่องหมายปุงลงิ ค เชน มานุสโก มายุโร เปนตน, ตา เปนเครอ่ื งหมายอิตถลี ิงค เชน สหายตา เปนตน . [ อ. น.]\" ถ. ตัทธติ น้ี เปนคณุ หรือนาม ? ตา งจากราคาทิตทั ธิตอยางไร บา ง ? ต. เปน นามแท, ตา งจากราคาทติ ัทธติ คือ ราคาทติ ัทธิต เปน คุณนามลวน เปน ได ๓ ลงิ ค และใช ณ ปจจัย แทนศพั ทไมม ีจํากัด ี่ตงั้ แต ราค ศัพท เปน ตนไป, มี ณ ปจ จยั ใชแทนศัพทตัวเดียว. สวน ตัทธิตนเ้ี ปน นาม ใชปจ จัยแทน สมุห ศพั ท ๓ ตวั มีจาํ กดั ใชแทน ไดแต สมุห ศพั ทเ ทานนั้ ไมทัว่ ไป, เมือ่ กลา วถงึ รปู วิเคราะหก็ตางกนั ในราคาทติ ทั ธิต ไมม นี ิยมแนน อนตายตวั ลงไป, ยอ มแลว แตศ ัพท ตทั ธติ นัน้ จะบง ความเปนอยางใด ก็ต้งั วเิ คราะหต ามรปู ความน้ัน, สว น ตัทธิตนี้ ศพั ทหนาซึ่งเปนนาม มจี ํากัดใหป ระกอบเปน ฉฏั ฐวี ิภัตติ พหวุ จนะ, ศัพทหลงั ใช สมหุ ศพั ท เปน ปฐมาวิภัตติ, บทปลง เปน เอกวจนะ เปนได ๒ ลงิ ค คอื ปุงลิงคและอิตถีลงิ คเ ทา น้นั ตวั อยา ง วิเคราะหด งั น้ี : ชนาน+ สมโุ ม = ชนตา เปน ตน. [ อ. น. ]. ถ. เพราะเหตไุ ร ในรูปวิเคราะหแหง ตัทธติ นี้ ทา นจงึ บังคับให

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 115 ประกอบศัพทนาม เปนพหวุ จนะ ? ลองประกอบ มหสิ ศัพท ดว ย ปจ จยั ทั้ง ๓ นัน้ มาดู. ต. เพราะ สมหุ ศัพท ซึง่ ประกอบวา ความประชุม อยเู บอื้ งหลงั ซง่ึ บง ความถึงนามมีจํานวนมาก ถา คนเดยี วหรือสง่ิ เดียว เรียกวา ประชุมไมได ฉะน้นั จงึ ตอ งประกอบศัพทหนา เปน พหวุ จนะ จะ ประกอบเปนเอกวจนะ ใชไ มได. มหสิ ประกอบดว ยปจ จยั ๓ ตวั นั้น มีรูปดงั น้ี : กณฺ ปจ จยั มาหิสโก, ณ ปจ จัย มาหโิ ส, ตา ปจจัย มหสิ ตา. [ อ. น.]. ถ. นคร ศัพท ถา ประสงคค วามวา ประชุมแหงชาวเมืองเปน ตทั ธติ อะไร ? จงตงั้ วิเคราะหมาดู. ต. นคร ศัพท ถาประสงคค วามวา ประชุมแหง ชาวเมอื ง เปน ราคาทิตัทธิตกอ น แลว เปน สมุหตทั ธติ อีกช้ันหนง่ึ , ตง้ั วเิ คราะห อยา งน้ี : นคเร+ชาโต=นาคโร, ตสฺม+ึ วสตีติ วา = นาคโร, นาคราน + สมุโห = นาครตา. [ ๒๔๖๐ ]. ถ. คามตา เปน ตทั ธิตอะไรบาง ? แปลวา กระไร ? จงแสดง ความเปนไปของศพั ท ต้ังแตเ ปน นามจนถึงตัทธติ น้.ี ต. คามตา เปนสมุหตัทธติ แปลวา ประชมุ แหงชาวบา น, เปน ภาวตัทธิต แปลวา ความเปนแหงชาวบาน, คาโม [ บาน ] เปนนาม, คาเม+วสตตี ิ= คาโม เปน ราคาทิตทั ธติ , คามาน+สมุโห = คามตา เปน สมุหตทั ธติ , คาสสฺ +ภาโว = คามตา เปน ภาวตัทธิต. [ ๒๔๖๖]

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 116 ถ. แปลโวหาร วา ประชุมแหง ชาวเมือง แปลตามพยญั ชนะ วา ประชมุ แหง ชนเกดิ ในเมอื ง หรือวา ประชมุ แหง ชนอยูใ นเมอื ง ดังน้ี เปนตทั ธิตอะไร ? วเิ คราะหอยา งไร ? ต. เปน ราคาทติ ัทธิต กอ น แลว เปน สมุหตทั ธิต อีกช้นั หนึ่ง วเิ คราะหวา นคเร+ชาตา=นาครา, ตสฺมึ+วสนฺตตี ิ วา= นาครา, เตส+สมโุ ม=นาครตา.[๒๔๗๓]. ถ. จงชขี้ อ ท่ตี างกันของศพั ทท ีล่ ง ณ ปจจยั ในตัทธนิ ัน้ ๆ มา ใหครบ พรอ มท้ังวิเคราะหตวั อยาง. ต. ในโคตตตัทธิต ลงแทนศพั ท คือ อปจฺจ เชน วิเคราะห วา โคตมสฺส + อปจจฺ = โคตโม, ในราคาทติ ทั ธิต ลงแทนศัพทตา ง ๆ มี รตตฺ ศัพทเ ปนตน เชน วิเคราะหวา กวาเวน+รตฺต=กาสาว, ในสมุหตัทธิต ลงแทน สมหุ ศพั ท เชน วเิ คราะห วา มนุสสฺ าน+ สมโุ ห=มานุโส, ในตทัสสัตถติ ัทธิต ลงแทน อตฺถิ ศพั ท เชน วิเคราะห วา สทฺธา อสสฺ อตถฺ ีติ สทโฺ ธ, ในภาวตทั ธติ ลงแทน ภาว ศัพท เชน วิเคราะหว า วิสมสฺส+ภาโวช=เวสม. [๒๔๗๕ ]. [ ฐานตัทธติ ] ถ. ฐานตัทธติ มีปจจยั กีต่ วั ? อะไรบาง ? และปจจัยนี้ ใช แทนศพั ทอ ะไร ? ต. มี ๑ ตัว คอื อยี แตใช เอยยฺ ปจ จัย แทนบางกไ็ ด เชน ทกฺขิเณยฺโย ใชแ ทน ฐาน ศพั ท ซึง่ แปลวา ทต่ี ้งั และใชแทน อรห ศัพท ซ่ึงแปลวา ควร บา ง, ในสัททนตี ิวา อีย ปจจัย ลงในอรรถ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 117 อันอน่ื ไดบ าง เชน อปุ าทานาน+หิต=อุปาทานยี  แปลวา เกอื้ กูล แกอปุ าทานทั้งหลาย, อทุ เร+ภว = อทุ รีย [ โภชนะ] มใี นทอง, โดย นยั น้ี อีย หรอื เอยฺย ยอ มใชแทนศัพทท้งั ๔ คือ ฐาน [ ที่ตั้ง ] อรห [ ควร ] หิต [ เก้อื กูล ] ภว [ มี ]. [ อ. น. ]. ถ. ฐานตทั ธติ เปน นามพวกไหน ? โภชนยี  ตงั้ วเิ คราะห อยา งไร ? ต. เปนพวกคุณนาม, วเิ คราะหว า โภชนสฺส + าน = โภชนยี  [ ภาชนะ ] เปน ท่ตี ั้งแหงโภชนะ, โภชน อรหตีติ โภชนีย [ วตั ถ]ุ ยอ มควรซ่ึงโภชนะ เหตุนั้น จงึ ชื่อวา โภชนยี , โภชนสสฺ + หิต = โภชนีย [ วัตถ]ุ เกื้อกลู แกโ ภชนะ ชอื่ โภชนยี ะ, โภชเน+ภว = โภชนยี  [ วัตถุ ] มีในโภชนะ ชอ่ื วา โภชนียะ, จะใชอ ยา งใดอยา งหน่ึงกไ็ ด. [ อ. น.] ถ. ปจ จัยในตทั ธิตน้ี ใชป ระกอบกบั ศัพทพ วกไหน ? ต. ใชป ระกอบกบั ศพั ทห ลายพวก แตท ่ีปรากฏโดยมาก กค็ ือ ศัพทนามนาม และ ศัพทน ามกติ ก. [ อ. น. ]. [ พหุลตัทธติ ] ถ. พหลุ ตัทธติ ใชป จ จยั อะไรแทนพหลุ ศัพท ? ต. ใช อาลุ ปจจยั แทน. [ อ. น.]\" ถ. ทําไม ในวิเคราะหท านจึงใช ปกติ แทน พหุล เลา ? ต. เพราะ ปกติ มเี นอ้ื ความอยางเดยี วกับ พหุล แมในภาษา ไทยเอง เชนคําวา ทาํ บาปเปน ปกติ กห็ มายความวา ทําบาปเสมอ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 118 หรือทําบาปมากน่นั เอง เพราะฉะน้ัน จงึ ใชแ ทนกันได. [ อ.น.] ถ. ตัทธิตนี้ เปน ไดกีล่ ิงค ? เพราะเหตไุ ร จงึ เปน ไดเ ชน นนั้ ? ต. เปนได ๓ ลิงค เพราะเปน คุณนาม ซึ่งเปนบทอืน่ เปนประธาน เชน สตี าลุ [ ประเทศ] มหี นาวมาก เปนตน. ศพั ทท ่สี าํ เรจ็ รปู เปน ตัทธิตนแ้ี ลว คงรปู อยูอยางนัน้ ท้ัง ๓ ลงิ ค ไมตองเปลยี่ นแปลง เพราะ เปน ศัพท อุ การตั น ซึง่ มที ัง้ ๓ ลิงค. [ อ. น.] ถ. ปจจัยในตทั ธิตนี้ ใชประกอบกับศพั ทพ วกไหน ? ต. โดยมาก ใชป ระกอบกับศพั ทพวกนามนาม. [ อ. น. ] ถ. จงตงั้ วเิ คราะห ทยาลุ ศพั ท มาดดู วย ? ต. ทยา อสฺส ปกติ ทยาลุ [ ชโน ] แปลวา ความเอ็นดูเปน ปกตขิ องช้นั [ ชนนั้น ] ชื่อวา มคี วามเอ็นดเู ปน ปกติ, ทยา อสฺส พหุลา วา ทยาลุ [ ชโน ] แปลวา อีกอยางหนงึ่ ความเอ็นดขู องชน นั้นมาก [ ชนนน้ั ] ชื่อวา มีความเอน็ ดมู าก. [ อ.น. ]. [ เสฏฐตัทธติ ] ถ. ในเสฏฐตัทธติ มีปจ จัยกี่ตัว ? และตวั ไหน ใชในอรรถ อยางไร ? ต. มี ๕ ตัว ตร อยิ สิ สฺ ก อิย ใชห มายความเปรยี บ อุทาหรณ วา ปาปตโร ปาปย ิสฺสโก ปาปโ ย เปนบาปกวา, ตม อิฏ ใช หมายความถึงทส่ี ดุ อทุ าหรณวา ปาปตโม ปาปฏ โ เปน บาปท่สี ุด แปลวา ไมมพี วกอืน่ บาปเหมือน. [๒๔๕๘ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนาท่ี 119 ถ. ปจ จัยในเสฏฐตทั ธิต มเี ทาไร ? ใชในทต่ี างกันอยางไร ? ต. มี ๕ คือ ตร อยิ สิ ฺสา อิย อิกฺ . ในปจจัย ๕ ตวั นี้ ตร อิยิสฺสก และ อิย ลงในวเิ สสคุณศัพท, ตม และ อฏิ  ลงใน อติวิเสสนคุณศพั ท. สว น อยิ ิสฺสก ไมม ีในทีอ่ ่นื นอกจาก ปาปน สิ ฺสโก ที่ทา นยกขึน้ เปนอทุ าหรณในคัมภรี ศ ัพทศาสตรนัน้ ๆ. [ ๒๔๗๐]. ถ. อิย ปจ จัย ลงในอรรถแหง ตทั ธติ อะไรบาง ? ศัพทท่ี ประกอบปจจัยนีแ้ ลว ตอ งเปน คุณนามทั้งน้ันมิใชหรอื ถาเชน น้ัน จะจดั เปน ชน้ั ยง่ิ และหยอ นตามคณุ ศัพทน้นั ๆ อยางไร ? ต. ลงในชาตาทติ ทั ธิต และ เสฏฐตัทธติ . เปน อยา งนัน้ จัด เปน ชั้นยงิ่ และหยอนตามคณุ ศพั ทนน้ั ๆ ดงั นี้ : ทล่ี งในชาตาทิตัทธติ เปน ชน้ั ปกต,ิ ท่ลี งในเสฏฐตัทธติ เปน ชนั้ วิเสส.[ ๒๔๖๒ ]. ถ. ปจ จัย ๕ ตัวนน้ั ตวั ไหนใชน อ ยที่สดุ ? และเปน เครอื่ งหมาย คณุ นามช้นั ไหน ? ต. อิยิสสฺ ก ใชน อ ยทส่ี ดุ มีใชประกอบกบั บาป เปน ปาป- ิยสิ ฺสโก ที่แสดงไวเ ปน ตวั อยา งในแบบเทา นนั้ นอกจากน้ันไมป รากฏ เปนเคร่ืองหมายคุณนามชนั้ วเิ สส. [ อ. น. ] ถ. ปจ จยั ในเสฏฐตทั ธิต นยิ มลงในศพั ทพ วกไหน ? เมื่อลง แลว จดั เปน นามศัพทพ วกไหน ? ต. นิยมลงในศพั ทคณุ นามช้นั ปกติ เชน ปาปตโร ปาปตโม ปาปโย ปาปฏโ  เปนตน เม่ือลงแลว จัดเปน คุณนามช้ันวิเสสบาง อตวิ ิเสสบาง. [ อ. น.].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 120 ถ. เสยฺโย เชยโฺ ย ลงปจจยั อะไร ? ทาํ ไมจึงเปน รูปอยา งน้ัน มีวิเคราะหอ ยา งไร ? ต. ลง อยิ ปจ จัย, ท่ีเปนรูปเชนน้นั คือ เสยโฺ ย มลู ศพั ทเปน ส เม่ือลง อยิ ตามปกติตองเปน สิโย แตไ มถ ูกกับภาษานิยม ทานจงึ ใหแ ปลง อิย เปน เอยยฺ เขากับ ส ก็เปน เสยฺโย, เชยฺโย มลู ศพั ท เปน ช ลงปจ จยั นนั้ แลว ก็แปลงเปนอยางเดยี วกนั กบั เสยโฺ ย. ศัพท ท้งั ๒ นี้ กอจะต้ังวิเคราะห ตอ งทราบอรรถเสยี กอ น. ส เปน ไป ในอรรถแหง ปสฏ ทีแ่ ปลวา ประเสรฐิ .ช เปน ไปในอรรถแหง วุฑฒุ ที่แปลวา เจรญิ . วิเคราะหอ ยางนี้ อยจฺ ปสฏโ  อยจฺ ปสฏโ , อยมิเมส วเิ สเสน ปสฏโ ติ เสยโฺ ย [ ชโน ] ชนน้ี ประเสรฐิ ดวย ชนน้ี ประเสริฐดวย, ชนน้ี ประเสรฐิ โดยวเิ ศษ แหง [ กวา] ชนเหลา น้ี เพราะฉะนัน้ ชนนี้ จงึ ชื่อวา ประเสริฐกวา. อยฺจ วฑุ ฺโฒ อยจฺ วฑุ ฺโฒ, อยมเิ มส วเิ สเสน วฑุ ฺโฒติ เชยโฺ ย [ ชโน ] ชนน้ี เจรญิ ดวย ชนน้ี เจริญดวย , ชนน้ี เจริญโดยวเิ ศษ แหง[ กวา ] ชนเหลา น้ี เพราะฉะนั้น ชนนี้ จงึ ชื่อวา เจริญกวา. [ อ. น.]. ถ.กนโิ ย เสฏโ  เชฏโ ศัพทไหน เปนศัพทช ัน้ ไหน ? ิวเิ คราะหอยางไร ? ต. กนโิ ย เปนคณุ ศัพทช ้นั วเิ สส, สเฏโ  เชฏฏ โ เปน คณุ ศพั ท ชัน้ อตวิ ิเสส กนิโย ออกจากศัพทวา กน เปนไปในอรรถแหง ยุว

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 121 แปลวา หนุมนอย วเิ คราะหว า อยฺจ ยวุ า อยฺจ ยุวา, อยมิเมส วเิ สเสน ยุวาติ กนโิ ย [ ชโน ] ชนน้ี หนุมนอยดว ย ชนนี้ หนมุ นอยดวย,ชนน้ี หนุม นอยกวา . สวน เสฏโ  เชฏโ  มมี ลู ศพั ทแ ละ เชยฺโย ดังท่ีกลา วมาแลว .[ อ. น.]. ถ. วิเคราะหท ีท่ านวางไวใ นสําหรับศพั ทท ว่ั ๆ ไป นอกจากที่ กลามาแลวน้นั เปน อยา งไร ? จงตั้ง ปาปตโร มาดูเปน ตวั อยา ง. ต. เปนดังนี้ :สพฺเพ อิเม ปาปา, อยมเิ มส วเิ สเสน ปาโปติ ปาปตโร [ ชโน ] ชนท้ังหลาย เหลา น้ี ทัง้ ปวง เปน บาป, ชนน้ี เปน บาปโดยวิเศษแบง (กวา) ชนท้งั หลายเหลา นี้ เพราะเหตุน้ี ชนนี้ จึงชอ่ื วา เปนบาปกวา. แมศพั ทอ่นื ๆ กจ็ งตง้ั วิเคราะหตามแบบนี้ เปล่ยี นแต ปาปา กบั ปาโป ในวิเคราะห. เมอ่ื จะตั้งวิเคราะหศพั ทอ ่ืน ใหป ระกอบ ศัพทอ่ืนวางลงแทนที่ ปาปา ปาโป นน้ั ใชแ บบเดียวกนั ทั้งที่เปนวเิ สส คณุ นาม ท้ังอตวิ ิเสสคุณนาม. [ อ. น.]. ถ. จงประกอบ ปุฺ ตามปจจัยทงั้ ๕ มาดู ? ต. ปุ ฺ ตโร ปุฺ ตโม ปุฺยิ ิสสฺ โก ปุ ฺโิ ย หรอื ปุ ฺเยฌฺ ย ปุ ฺ ิฏโ . [ อ. น. ]. ถ. ปณฑฺ ิต ศัพท ถาถือความวา ชนมีชาติแหง บณั ฑิตอยาง หนึ่ง เกิดแลวโดยชาติแหง บณั ฑติ อยางหนึง่ เปน บัณฑติ กวา อยาง

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 122 หน่ึง อยางไหน เปนตัทธติ อะไร ? ปจ จยั อะไร ? จงต้ังวเิ คราะหม าดู. ต. ปณฑฺ ติ ศพั ท ถา ถือความวา ชนมชี าติแหงบณั ฑติ เปน ชาตาทติ ัทธิต อิย ปจจยั วิเคราะหวา ปณฑฺ ติ ชาติ อสสฺ อตฺถตี ิ ปณฺฑิตชาตโิ ย. ถาประสงคค วามวา ชนเกดิ แลว โดยชาติแหงบัณฑิต ก็เปน ชาตาทิตัทธิต อิต ตร ปจจัย อยา งเดยี วกนั วิเคราะหวา ปณฑฺ ิต- ชาติยา+ชาโต = ปณฺฑิตชาติโย, ถาประสงคความวา ชนเปน บัณฑิต กวา เปน เสฏฐตทั ธิต ตร ปจจยั วิเคราะหว า สพเฺ พ อเิ ม ปณฑฺ ิตา อยมิเมส วเิ สเสน ปณฺฑิโตติ ปรฑฺ ติ ตโร. [ ๒๔๖๒ ]. [ ตทัสสตั ถิตทั ธติ ] ถ. ตัทธติ นี้ ใชป จ จยั แทนศพั ทก ต่ี วั ? อะไรบาง ? และใชแทน ศพั ทอ ะไร ? ต. ใชป จ จัย ๙ ตวั คอื วี ส สี อกี อี ร วนฺตุ มนฺตุ ณ ในสทั ทนตี ิปกรณ ทา นเพ่มิ อิมนฺตุ ปจ จัย เขา ดวย เชน ปาปม า เปนตน. ใชแ ทน อตถฺ ิ ศพั ท ซ่งึ แปลวา มอี ย.ู [ อ. น. ]. ถ. ตทั ธิตน้ี จดั เปน นามหรอื คุณ ? หรอื เปนไดท ้งั ๒ ? จง แสดงอทุ าหรณใ หดูปจ จัยละ ๑ อทุ าหรณ. ต. เปน คณุ ลว น เปนนามไมไ ด อทุ าหรณวา เมธาวี ลง วี ปจจยั , สุเมธโส ลง ส ปจจยั , ตปสี ลง สี ปจจยั , ทณฑฺ โิ ก ลง อิก ปจ จยั , ทณฑฺ ี ลง อี ปจ จัย, มธุโร ลง ร ปจ จัย, สีลวา ลง วนตฺ ุ ปจ จัย, สติมา ลง มนฺตุ ปจ จยั , สทโฺ ธ ลง ณ ปจจยั . [ อ. น. ]. ถ. ในปจ จยั ๙ ตวั น้ัน ตัวไหนนิยมลงในศพั ทอ ยา งไร ? ต. วี ปจ จัย นิยมลงในศัพทท ่ีเปน อา การนั ต ในอติ ถลี งิ ค.

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 123 สี ปจ จัย นยิ มลงในศพั ทท เ่ี ปน มโนคณะบางตวั . วนตฺ ุ \" \" \" อ อา การันต. มนตฺ ุ \" \" \" อิ อุ การนั ต. นอกจาํ นี้ ไมนิยมลงเฉพาะศัพทน ัน้ ศพั ทนี.้ [ อ. น. ]. ถ. อายสฺมา แปลวา ผมู อี ายุ ลงปจจัยอะไร ? มีวิเคราะห อยางไร ? ไฉนจงึ เปน รปู เชน นน้ั ? ต. ลง มนฺตุ ปจ จยั วิเคราะหว า อายุ อสฺส อตฺถีติ อายสฺมา [ ชโน ]. การที่เปน รูปเชน น้ัน คอื แปลง อุ แหง อายุ ศัพท เปน อสฺ เขา กับ อาย เปน อายสฺ ลง มนฺตุ ปจจัย เปน อายสมฺ นตฺ ุ แจกตาม แบบ ภควนตฺ ุ ศพั ท จงึ เปน อายสมฺ า. [ อ. น.]. ถ. โภโค โภคี ยสสี ศพั ทไ หนแปลวา อยา งไร ? ลงปจจัย อะไร ? วิเคราะหอ ยา งไร ? ต. โภโค แปลวา [ ชน ] มโี ภคะ ลง ณ ปจจยั วิเคราะหวา โภโค อสฺส อตฺถีติ โภโค [ ชโน ]. โภคี แปลและวิเคราะหเ หมือนกัน แปลกจาก โภโค เพราะ ลง อี ปจจัย เทา น้ัน. ยสสี แปลวา [ ชน ] มยี ศ ลง สี ปจ จัย วเิ คราะหวา ยโส อสฺส อตฺถตี ิ ยสสี [ ชโน ]. [ อ. น. ]. ถ. วเิ คราะหข องตทั ธิตนี้ ทานวางระเบียบไวอยางไร ? จง อธบิ าย. ต. วางนามนามที่จะประกอบกบั ปจจยั ไวตน ตามลงิ คของตน,

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนาท่ี 124 วางสพั พนาม คอื อสสฺ ซง่ึ เปนตวั ประธานของศัพทต ัทธิตไวท่ี ๒, วาง อตฺถิ ซงึ่ ใชป จ จยั แทนในศพั ทตัทธติ ไวที่ ๓, วาง อิติ ซ่งึ เปนเหตไุ วท ่ี ๔, วางศัพทตัทธิต ซ่ึงเรยี กวา บทปลงไวท่ี ๕, ตวั อยางเชน ปฺา อสฺส อตฺถตี ิ ปฺ วา เปนตน. [ อ. น. ]. ถ. ธมมฺ ิโก กด็ ี อนาถปณ ฑฺ โิ ก กด็ ี ตา งกเ็ ปนชอ่ื ของอบุ าสก แตมีวิเคราะหแ ละปจ จัยตา งกนั หรือไม ? อธบิ าย. ต. ธมมฺ โิ ก ทานแปลวา ตง้ั อยูในธรรม กม็ ี ประกอบในธรรม กม็ ี ถาตามนี้ เปน อนั ลง ณิก ปจ จยั ในตรตยาทิตัทธิต วเิ คราะห วา ธมเฺ ม+ิโต=ธมฺมโิ ก, ธมเฺ ม+ยุตฺโต วา = ธมมฺ ิโก. แตถา จะ สังเกตศัพท ธมฺมโิ ก ใสคําวา สสีลวา ปฺวา ธมฺมโิ ก สิยา จะ เหน็ วาลง อิก ปจ จยั ในตทสั สตั ถิตัทธติ วเิ คราะหวา ธมโฺ ม อสฺส อตถฺ ตี ิ ธมฺมโิ ก. สว นศพั ท อนาถปณฑฺ ิโก นัน้ ลง อิก ปจจัย ใน ตทัสสัตถิตทั ธิต วิเคราะหวาอนาถาน ปณโฺ ฑ เอตฺถ ๑ อตถฺ ีติ อนาถปณฑฺ ิโก. [ ๒๔๖๓ ]. ถ. อนฺติมา ชุติมา ปตุ ตฺ มิ า สตฺตมา ศพั ทไ หน ลงปจจยั อะไร ? มรี ูปเปนลิงคไ หน ? ถา ตอ งการใชใ นลงิ คอ นื่ จะทําอยา งไร ? ต. อนตฺ ิมา อิม ปจ จยั , ชตุ ิมา มนตฺ ุ ปจ จัย, ปตุ ตฺ มิ า อิมนฺตุ ปจ จัย, สตฺตมา ม ปจจัย, ชุตมิ า ปตุ ตฺ มิ า เปน ปงุ ลงิ ค,ถาตองการใช ใน อิตถลี งิ ค ตอ งเปน ชตุ ิมตี ปุตตฺ ิมนตฺ ี , นปงุ สกลิงค ชุตมิ  ชตุ ิมนฺต ๑. ตามแบบใช อสฺส แตท ใี่ ช เอตฺถ นัน้ ถอื ตามแบบทีม่ ีใน มังคลตั ถทีปนี เลม ๑ หนา ๗ ซึง่ แกศ พั ทน ี.้ [ อ. น. ].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 125 ปุตติม ปุตตฺ ิมนตฺ , อนตฺ ิมา สตตฺ มา เปนอติ ถลี งิ ค. ถา ตอ งการใช ในปงุ ลิงค ตอ งเปน อนตฺ ิโม สตฺตโม, นปงุ สกลิงค อนตฺ มิ  สตตฺ ม. [ ๒๔๗๑ ]. [ ปกตติ ทั ธิต ] ถ. ตัทธติ น้ี มีปจจัยกีต่ วั ? คืออะไร ? ใชแ ทนศัพทอ ะไรบา ง ? ต. มี ๑ ตัว คือ มย, ใชแ ทนศพั ทกริ ิยา คือ ปกต ซ่งึ แปลวา ทาํ แลว บาง, ใชแทนศพั ทน าม คอื วิการ บาง. [ อ. น. ]. ถ. มย ปจ จยั นิยมลงในศัพทช นิดไหน ? จงแสดงตัวอยางดว ย. ต. นยิ มลงในศพั ทท เี่ ปนนาม เชน สุวณณฺ ทอง, มตตฺ ิกา ดิน, อย เหล็ก, ทารุ ไม เปน ตน.[ อ. น. ]. ถ. ตัทธิตน้ี เปนนามหรือคุณ, ศพั ทวา โสวณฺณมย อนั บุคคล ทําแลวดว ยทอง หรือเปน วิการแหงทอง ตั้งวิเคราะหอ ยางไร ? ทําไม จึงตอ งวกิ าร อุ เปน โอ หรอื มย ปจจัย มลี กั ษณะเชนเดยี วกับ ณ ปจ จัย อยางนั้นหรือ ? ต. เปนคุณ, โสวณฺมย แปลวา อันบุคคลทาํ แลว ดว ยทอง วเิ คราะหว า สุวณฺเณน+ปกต = โสวณฺณมย [ ภาชน ] , แปลวา , เปน วิการแหง ทอง วเิ คราะหว า สุวณฺณสสฺ +วกิ ารโร = โสวณฺณมย [ ภาชน ], ทต่ี องวิการ อุ เปน โอ น้ัน หาเปนเพราะอาํ นาจ มย ปจจยั ไมเพราะ มย ปจจัย ไมม ีลกั ษณะเชน ณ ปจ จยั เลย โดยมาก เมอื่ ลง มย ปจจัย แลว ไมม เี ปล่ียนแปลงแตอ ยา งใดอยา งหนึ่ง เชน มตตฺ ิกามย ทารุมย เปนตน แตท ่ี โสวณณฺ มย ท่ีวิการ อุ เปน โอ น้ัน

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 126 เปน ไปตามความนิยมของภาษา เพ่ือใหถอยคําไพเราะ. [ อ. น. ]. ถ. อโยมย เจโตมย ๒ ศัพทนี้ เมื่อพจิ ารณา ก็เห็นไดช ดั วา ผิดปกติ เพราะแปลง อ เปน โอ การท่เี ปน เชนนนั้ เพราะ มย ปจ จัย หรอื เพราะอะไร ? ต. ไมใ ชเ พราะ มย ปจจัย เปน เพราะลักษณะของศัพท มโนคณะตา งหาก คือ ศัพทม โนคณะ เมื่อเขา สมาสหรือประกอบกับ ศพั ทอ ่นื แลว เอาสระท่ีสดุ ของตนเปน โอ ได, อย เจต ๒ ศพั ทน้ี ก็ เปนศัพทมโนคณะ จึงตองเปน ไปตามลักษณะของตน. [ อ. น.]. [ ปรู ณตัทธติ ] ถ. ปูรณตทั ธติ มีปจ จยั เทา ไร ? อะไรบาง ? ใชแ ทนศัพทอะไร ? ต. มี ๕ คือ ติย ถ  ม อี. ใชแ ทน ปูรณ ซงึ่ แปลวา เปนท่เี ต็ม. [ อ. น.]. ถ. ปจจยั ทงั้ ๕ นี้ มกี ฎเกณฑใหล งในศัพทพ วกไหนหรือไม ? เมอ่ื ลงกบั ศพั ทพวกนน้ั แลว ทําศัพทพวกน้นั ใหค งท่ีอยูหรอื เปล่ยี น แปลงเปนอยางไร ? จงแสดงตวั อยางใหเหน็ ดว ย. ต. ใหล งในศัพทปกติสังขยาอยา งเดียว ลงในศัพทน ามหรอื คุณไมไ ด เมือ่ ลงแลว ทาํ ปกตสิ ังขยาใหเปน ปรุ ณสงั ขยา ตวั อยาง เชน เอกาทส ๑๑ เปนปกตสิ งั ขยา ลง ม ปจจัย เปน เอกาทสโม แปลวา ที่ ๑๑, ลง อี ปจจัย เปน เอกาทสี แปลวา ท่ี ๑๑ เปน ปูรณสงั ขยา . [ อ. น. ]. ถ. ตทั ธิตนี้ เปนคณุ ทงั้ หมดใชไ หน ? ถา ใช ก็คงเปนไดท ั้ง ๓

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 127 ลงิ ค หรืออยา งไร ? ต. ใช, แตศ ัพททล่ี ง อี ปจ จัย เปนไดแตอ ติ ถลี งิ คอ ยา งเดยี ว สวนศัพทท ล่ี งปจจยั นอกน้นั เปนได ๓ ลิงค. [ อ. น.]. ถ. ปจจยั ในปูรณตัทธิต ปรากฏวา ตอ งประกอบกับศัพท สงั ขยา จะเพียงแตเ ปน สงั ขยาแลว ก็ประกอบไดทุกตวั หรือมจี ํากัด อยา งไร ? จงอธบิ าย. ต. ไมใ ชว าเพียงเปนศพั ทสังขยาแลว จะประกอบไดทุกตวั ไป ตอ งมีจํากัดอยา งนี้ คอื ปจจยั เหลา นัน้ บางตวั ประกอบไดใ นสังขยา บางศัพท เชน ติย ประกอบไดเฉพาะ ทวฺ ิ กบั ติ. ถ ประกอบได เฉพาะ จต.ุ  ประกอบไดเ ฉพาะ ฉ. อกี ประกอบไดตั้งแต เอกาทส ถึง อฏารส ที่ใชใ นอิตถลี ิงค, นอกจากน้ี ใช ม ประกอบทั้งสนิ้ . [ ๒๔๗๖ ]. ถ. ปจจัยในปรู ณตทั ธติ ใชประกอบไดในสังขยาบางศพั ท คอื ตยิ ประกอบไดเฉพาะแต ทวฺ ิ กับ ต.ิ ถ ประกอบไดเ ฉพาะ จต.ุ  ประกอบไดเ ฉพาะ ฉ. อี ประกอบไดเฉพาะต้ังแต เอกาทส ถงึ อฏ ารส ท่ีใชใ นอติ ถีลงิ ค, นอกจากน้ใี ช ม ประกอบท้งั ส้ิน. [ ๒๔๖๗ ] ถ. อี ปจจัย ในตทัสสัตถติ ัทธติ กบั ปูรณตัทธติ มีวธิ ใี ชตา ง กนั อยางไร ? ต. อี ปจ จัย ในตทสั สตั ถติ ัทธติ ใชประกอบกบั นามนาท่ัวไป

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 128 สวนในปูณณตัทธิต ใชประกอบกบั ปกตสิ ังขยา ตั้งแต เอกาทส ถึง อฏารส เทา น้ัน ใชต า งกันอยา งน้.ี [ ๒๔๖๘ ]. ถ. อี ปจ จยั ทา นใหล งในสงั ขยาตั้งแต เอกาทส ถงึ อฏารส ถาจะใหปจ จัยอ่ืนมาลงกบั สังขยาเหลา น้ี จะขัดขอ งอยางไรบา งหรอื ไม ? ต. ถาจะใหเปน อติ ถีลงิ ค ใชปจจยั อืน่ ลง ยอมขดั ของ ตอง ใชล งไดแ ต อี ปจจยั เทา นัน้ ถา จะใชป จจยั อื่นลง ตองเปนลิงคอน่ื ถาใหเปนลิงคอ น่ื ลง ม ปจ จยั ได เชน เอกาทสโม เปนตน . [ อ. น. ]. ถ. คาํ วา อฑฒฺ ซ่ึงแปลวา กง่ึ นน้ั ไดแกจํานวนเทาไร ? และใชอยา งไรบา ง ? ต. จะวา ไดแ กจํานวนเทา ไรน้ัน ไมแน เพราะคําวา กึ่ง กนิ ความกวาง ไมทราบวา กึง่ ของอะไร, ถาเปนกงึ่ ของจํานวนหนว ย กไ็ ดแก ๑ สว น ใน ๒ สวน เชน ๑ สตางค แบงครง่ึ เปน ๒ สวน กงึ่ หนง่ึ ก็ไดแ กครง่ึ สตางค, ถาเปนกึง่ ของจาํ นวน ๑๐ ก็ไดแ กจํานวน ๕ ถา เปน กงึ่ ของจาํ นวน ๑๐๐ ก็ไดแกจาํ นวน ๕๐ , ถาเปนกึ่งของ จาํ นวน ๑๐๐๐ ก็ไดแ กจ าํ นวน ๕๐๐, แมจ าํ นวนย่ิงข้นึ ไป กใ็ หถ อื โดยนัยนี.้ ศพั ทนี้ ในวิเคราะห ทานใหประกอบเปน ตติยาวิภัตติ คือ อฑฌฺ ฒน ซงึ่ แปลวา ทั้งกึง่ เชน อฑฌฺ ฒน+ตติโย= อฑฺฒเตยฺโย แปลวา ท่ีสามทง้ั กงึ่ ไดแก สองครง่ึ , ทว่ี าท่ี ๓ นนั้ หมายถึงจาํ นวน เต็ม ท่ีวาทั้งกึ่งคอื คร่ึงของท่ี ๓.[อ. น. ]. ถ. จงประกอบสงั ขยา จตุ จตทุ ฺทส ดวยปจจยั ในปูรณตัทธิต มาดู พรอมดวยวเิ คราะห?

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 129 ต. จตนฺ นฺ + ปรู โณ= จตุตฺโต [ ชน ] เปน ท่เี ต็มแหงชนท้ังหลาย ๔ ชื่อท่ี ๔ ลง ถ ปจ จัย, จตทุ ฺทสนฺน + ปรู โณ = จตุททฺ สโม [ ชน ] เปนที่เต็มแหงชนทัง้ หลาย ๑๔ ชือ่ ท่ี ๑๔ ลง ม ปจ จยั , จตุทฺทสนฺน+ ปูรณี=จตทุ ฺทสี [ หญิง] แปลเชนเดยี วกัน ลง อี ปจ จยั . [ อ. น.]\" ถ. เตชสี กับ เตชสี ตางกันอยา งไร ? ต. ตางกันอยางนี้ เตชสี เปน ตทัสสัตถติ ัทธิต ลง สี ปจจัย แปลวา มเี ดช วเิ คราะหวา เตโช อสสฺ อตถฺ ีติ เตชส.ี เตรสี เปน ปูรณตัทธติ ลง อี ปจจัย แปลวา ท่๑ี ๓ วเิ คราะหวา เตรสนนฺ + ปูรณ=ี เตรสี. [๒๔๖๖]. [ สังขยาตทั ธติ ] ถ. สังขยาตทั ธิต มีปจจัยกต่ี ัว ? ใชแ ทนศัพทอะไร ? จงแสดง อทุ าหรณด ว ย. ต. มปี จจยั ๑ ตัว คอื ก, ใชแทนศพั ท คอื ปรมิ าณ ซงึ่ แปลวา เคร่อื งกาํ หนดนับ ตวั อยางเชน จตกุ ฺก [ วัตถุ] มีปรมิ าณ ๔. [ อ. น. ]. ถ. ปจ จยั ในตัทธติ นใ้ี ชลงในศพั ทพ วกไหน ? สตฺตก มวี เิ คราะห อยางไร ? ต. ลงในศัพทสังขยา, สตตฺ ปรมิ าณานิ อสฺสาติ สตตฺ ก [ วตั ถุ ] มปี รมิ าณ ๗. [ อ. น.]. ถ. ตัทธิตนี้ เปนนามหรอื คณุ ? เปนไดกล่ี ิงค ? ขอดูตวั อยาง. ต. เปน คณุ , เปน ได ๓ ลิงค, ตัวอยางเชน ติโก [ ชน ]

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 130 ปุงลงิ ค, ตกิ า [ หญิง ] อติ ถีลิงค, ติก [ วัตถุ ] นปุงสกลงิ ค, แปลวา มีปริมาณ ๓. [ อ. น.]. [ วภิ าคตทั ธิต ] ถ. ในวภิ าคตทั ธิต มีปจจยั ก่ตี วั ? อะไรบา ง ? ทานใชประกอบ กบั ศพั ทท ั่วไป หรอื ประกอบเฉพาะศัพทเ หลา ไหน ? มีวธิ แี จกดว ย วภิ ตั ตินามทั้ง ๗ อยา ง ไร ? ต. มี ๒ ตัว คอื ธา โส. ธา ปจจยั ทานมกั ใชป ระกอบกับ ปกติสังขยาเปนพ้นื เชน เอกธา ทฺวิธา แตใ ชประกอบกบั ศัพทอ ่ืน กม็ บี า ง เชน พหธุ า, โส ปจ จยั ใชประกอบกับนามศพั ททว่ั ๆไป เชน สตุ ตฺ โส, สพพฺ โส. ศพั ทที่ประกอบดว ยปจ จัยทง้ั ๒ น้ี สําเร็จ รูปแลว จะแจกดว ยวิภตั ตนิ ามท้งั ๗ ใหเ ปน รูปไปตา ง ไมไ ด คง อยอู ยา งเดิมและ เปนไดแ ตตตยิ าวิภัตติอยางเดียว. [ ๒๔๘๐ ]. ถ. ปจจัยในตัทธิตนี้ ใชแทนศัพทอะไร ? แปลวา อยางไร ? และการแปลเชนนัน้ มีหลกั อยา งไร ? ต. ใชแทน วิภาค ศพั ท แปลวา สว น บาง จาํ แนก บาง, ที แปลเชน นน้ั มีหลกั ดงั นี้ : ถา ลงในศพั ทสังขยา แปลวา สว น, ลงใน ศพั ทนาม แปลวา จําแนก, เชน เอกธา โดยสวนหนึง่ . สตุ ฺตโส โดยจาํ แนกสตู ร เปนตน . [อ. น. ]. ถ. ตทั ธติ น้ี จดั เปนลงิ คอ ะไร ? บทวเิ คราะหเปน อยา งไร ? สตตฺ ธา แปลวาอยางไร ? ตง้ั วิเคราะหใหดดู ว ย. ต. เปน อลิงค เพราะลงในอรรถแหงตตยิ าวภิ ตั ติ แปลกจาก

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 131 ตัทธติ อืน่ ๆ ทง้ั บทวิเคราะหท ง้ั ๒ ศพั ท ก็ประกอบเปน ติยาวภิ ัติ, สตฺตธา แปลวา โดยสวน ๗ วิเคราะหว า สตตฺ ห+ิ วิภาเคห=ิ สตฺตธา. [ อ. น. ]. [ ภาวตทั ธิต ] ถ. ภาวตัทธติ มปี จจยั ทตี่ ัว ? อะไรบาง ? ใชแ ทนศพั ทอะไร ? ต. มี ๖ ตัว คือ ตตฺ ณฺย ตตฺ น ตา ณ กณ,ฺ แตใ น สทั ทนีตปิ กรณ แสดงปจจัยเพม่ิ ขึน้ ๓ คอื ณิย ปจจยั เชน วริ ยิ  อาลสีย, เณยฺย ปจ จัย เชน โสเจยฺย, พยฺ ปจจัย เชน ทาสพยฺ  เปนตน. ใชแ ทน ภาว ศพั ท ซ่ึงแปลวา ความมี ความเปน . [ อ. น. ]. ถ. ตทั ธติ น้ี เปน นามหรือคุณ ? เปน ไดก่ีลิงค ลงิ คไ หนบาง ? ต. เปน นาม, ศพั ทท ี่ลง ต ปจจัย เปน อติ ถีลงิ ค อยางเดยี ว ศพั ทท ี่ลงปจ จัยนอกนีเ้ ปนนปุงสกลงิ คอยางเดยี ว. [ อ. น.]. ถ. ขอตัวอยางศัพททล่ี งปจ จัยในตัทธติ น้ี มาอยางละศพั ท ? ต. ตฺต ปจจัย เชน มนสุ สฺ ตฺตล ณยฺ ปจจยั เชน โปรสิ ฺส, ตฺตน ปจจยั เชน ปถุ ชุ ชฺ นตตฺ น, ตา ปจ จยั เชน สหายตา, ณ ปจจัย เชน มทฺทว, กณฺ ปจ จยั เชน รามณียก. [ อ. น. ]. ถ. ปจ จัยในตัทธิตนี้ ลงในศัพทพ วกไหนบา ง ? ขอตัวอยางดว ย. ต. ลงในนาม เชน จนทฺ ตฺต ความเปน แหงพระจนั ทร. ลง ในคุณ เชน นลี ตฺต ความเปนแหงของเขียว, ลงในศัพทน ามกติ ก เชน ปาจกตฺต ความเปน แหงคนหุง, ลงในศพั ทกริ ยิ ากิตก เชน คตตา ความเปนแหงบคุ คลผูไปแลว , ลงในศพั ทก ริ ิยาอาขยาต เชน อตฺถิตา ความเปนแหง ...มอี ยู, นตฺถติ ร ความเปน แหง ..ไมมีอยู,

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 132 (ทลี่ ง ภาว ศพั ท โดยตรงกม็ ี เชน อตถฺ ิภาโว นตถฺ ภิ าโว) และ ลงในศพั ทตัทธติ เหมอื นกันกม็ ี เชน ทณฑฺ ิตตฺ  ความเปนแหงคนมี ไมเทา, ทณฺฑี เปน ตทัสสัตถิตัทธติ มากอนแลว วเิ คราะหวา ทณโฺ ฑ อสสฺ อตฺถีติ ทณฑฺ ี [ นโร คน ] มีไมเ ทา อี ปจ จยั , ทณฺฑโิ ณ+ภาโว = ทณฑฺ ติ ตฺ  ตฺต ปจ จัย. [ อ. น. ]. ถ. เวรกิ  เปน ตทั ธติ อะไรบาง ? มวี ิเคราะหอยา งไรบา ง ? ต. เปน ได ๒ ตทั ธติ คือ เปนตทัสสตั ถติ ัทธิตแลว เปน ภาว- ตัทธติ วิเคราะหด งั น้ี :- เวร อสฺส อตฺถีติ เวรี [ คน ] มีเวร อี ปจ จัย. เวริโน+ภาโว= เวริก ความเปนแหงคนมเี วร กณฺ ปจ จยั , อกี อยาง หน่ึง เวร อสสฺ อตฺถตี ิ เวรโิ ก อกี ปจจยั , เวรกิ สสฺ +ภาโว= เวรกิ  ณ ปจ จัย. [ อ. น.]. ถ. อาชชฺ ว มททฺ ว เปน ตัทธิตอะไร ? จงวิเคราะหมาดทู ้ัง ๒ ศัพท และลงอะไร จงึ ไดเปนตัทธติ น้ัน ? ต. อชุ ุโน + ภาโว = อาชฺชว, มทุ ุโน+ภาโว=มททฺ ว เพราะลง ณยฺ ปจ จัย ในภาวตทั ธติ จงึ ไดเปน ภาวตัทธิต. [ ๒๔๖๕ ]. ถ. ตา ปจจยั ลงในตทั ธิตอะไรบาง? เม่ือเห็นศพั ท สหายตา สังเกตุอยางไร จึงรูวาเปน ตทั ธติ ชื่อนน้ั ? ต. ลงในสมุหตัทธติ และ ภาวตัทธิต. สังเกตความในเร่ืองนน้ั ถาเพง สหาย ศัพท เปน นาม เปน สมหุ ตทั ธติ , ถา เพง เปนคุณ เปน ภาวตัทธติ . [ ๒๔๕๙ ]. ถ. ณ ปจ จยั ในตทั ธิต ลงในอรรถอะไรบาง ? และตองทาํ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 133 วิธอี ยางไร ? ต. ณ ปจ จัย ลงในอรรถ ๕ อยาง คอื โคตตตทั ธิต ราคาท-ิ ตทั ธิต สมหุ ตทั ธติ ตทัสสัตถติ ัทธิต ภาวตัทธติ , ถา สระอยูหนา ศพั ท เปน รัสสะลวน ไมมพี ยญั ชนะสงั โยคอยูเบื้องหลัง ตอ งพฤทธิ คอื ทีฆะ อ เปน อา, วิการ อิ เปน เอ, อุ เปน โอ, เวนไวแ ตส ระท่อี ยู หนา ศพั ทเ ปนรัสสะ มีพยัญชนะสงั โยคอยูเ บื้องหลังหรอื เปนทฆี ะ ไม ตอ งพฤทธิ และ ณ ปจจัยนนั้ ตอ งลบเสีย คงไวแ ตสระที่ ณ อาศัย. [ ๒๔๖๘ ]. [ อพั ยยตัทธติ ] ถ. อัพยยตทั ธิต มปี จ จัยกต่ี วั ? อะไรบา ง ? นิยมลงในศัพท พวกไหน ? ขอตวั อยาง, เมือ่ ลงแลว จดั เปน ลงิ คอะไร ? ต.มี ปจ จัย ๒ ตัว คือ ถา ถ, นยิ มลงในทายสัพพนาม เชน ยถา ตถา กถ อิตฺถ เปน ตน, เมือ่ ลงแลว เปน อลงิ ค เพราะเปน พวกอพั ยยศัพท แจกตามลงิ คทงั้ ๓ ไมได. [ อ. น.]. ถ. ถา ทา ธา ปจ จยั ๓ ตวั นี้ ตวั ไหน ลงในตทั ธติ ชอ่ื อะไร ? ลงไดจ ําเพาะศพั ทพวกไหน ? หรือมขี ดี คน่ั อยา งไร ? แสดงอทุ าหรณ ดวย. ต. ถา ทา ๑ ลงในอัพยยตทั ธิต. ถา ลงในประการ จําเพาะหลัง สัพพนาม อุทาหรณ เชน ยถา ประการใด, ตถา ประการนัน้ , สพฺพถา ประการท้ังปวง เปนตน , ทา ลงในกาล จาํ เพาะหลังสพั พนาม เปน ๑. อนุโลมเขา ในตทั ธิตนี้ เพราะลงทายสพั พนามเหมอื นกัน. [ อ. น. ].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 134 เครอื่ งหมายสตั ตมวี ภิ ัตติดวย อุทาหรณ เชน กทา ในกาลไร, สพพฺ ทา ในกาลท้ังปวง, สทา ใกาลทกุ เม่อื , อฺ ทา ในกาลอนื่ , เอกทา ในกาลหน่งึ , ยทา ในกาลใด, ตทา ในกาลน้นั , นอกจากนี้ไมปรากฏ. ธา ลงในวภิ าคตทั ธติ จําเพาะหลังสังขยา อทุ าหรณ เชน เอกธา โดยสวนเดียว, ทฺวิธา โดยสว นสอง เปน ตน. [ ๒๔๕๙ ]. ถ. ปกติสังขยา สัพพนาม ลงปจ จยั แลว เปนตทั ธติ อะไร ? ขอตวั อยาง. ต. ปกติสังขยา ลงปจจัยแลว เปน ปรู ณตัทธิต บา ง สังขยา- ตทั ธติ บาง วิภาคตัทธิต บา ง, ทุติโย ปจฺ โม เปน ปรู ณตทั ธติ , ทวฺ กิ  ติก เปน สังขยาตัทธติ , เอกธา ทฺวิธา เปน วภิ าคตทั ธิต, สัพพนาม ลงปจจัยแลว เปน อัพยยตทั ธติ เชน ตถา กถ เปนตน . [ ๒๔๖๙ ]. ถ. จาตุทฺทโส เปน วเิ สสนะของ อุโปสโถ แปลวากระไร ? เปน วิเสสนะของ ชโน แปลวาประไร ? แปลเชนนัน้ เปน ตัทธิตอะไร ? ปจ จยั อะไร ? จงต้ังวเิ คราะหมาดว ย. ต. จาตุททฺ โส เปนวเิ สสนะของ อโุ ปสโถ แปลวา อุโบสถ มใี นดิถที ่ี ๑๔, เปนวิเสสนะของ ชโน แปลวา ชน เกิดในดถิ ีท่ี ๑๔, เปนปูรณตทั ธิตแลว เปนราคาทิตทั ธิต เหมอื นกันท้ัง ๒ อยา งน้นั , วิเคราะหใ นปูรณตัทธติ กอ็ ยางเดยี วกัน คือ จตุทฺทสนฺน + ปรู ณี =จาตุทฺทสี [ ดิถี] เปนที่เตม็ แหง ดิถที ง้ั หลาย ๑๔ ชอ่ื ที่ ๑๔ อี ปจจัย, สว นวเิ คราะหใ นราคาทิตัทธติ ท่ีเปน วิเสสนะของ อุโปสโถ ดงั น้ี :

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 135 จตุทฺทสยิ +อตฺถีต=ิ จาตุททฺ โส. ทเี่ ปนวเิ สสนะของ ชโน ดงั นี้ : จตทุ ฺทสิย + ชาโตติ = จาตทุ ทฺ โส ณ ปจ จัย. [ อ. น. ]. [ อาขยาต ] ถ. ศพั ทเชน ไร เรียกวา อาขยาต ? มีประโยชนอ ยา งไร ? ต. ศพั ทท แี่ สดงกริ ยิ าของนามนาม เชน ยนื เดิน น่งั นอน เปน ตน เรียกวา อาขยาต. มีประโยชนใ หร ไู ดวา นามนามแสดง กริ ิยาอาการเปนเชน ไร, ถา ไมมศี ัพทพ วกน้ี กจ็ ะรูเชนนั้นไมได และ เม่อื ตองการจะแสดงกริ ิยาของนามนามเหลาน้ัน กไ็ มรจู ะทาํ อยางไร การมศี ัพทพ วกนีไ้ ว ยอมตดั ความขดั ขอ งดังกลา วแลว ได. [ อ.น.]. ถ. ศพั ทอ าขยาตนี้ จะสมบูรณใชก ารได ตองประกอบดวย อะไรบา ง ? หรือสมบรู ณไ ดโดยลําพัง ? ต. ตองประกอบดว ยเคร่ืองประกอบ ๘ อยา ง คอื วภิ ัตติ กาล บท วจนะ บรุ ษุ ธาตุ วาจก ปจ จยั , จะสมบรู ณโ ดยลําพงั หาไดไม. [ อ. น.]. ถ. ในเครอื่ งประกอบ ๘ อยางน้ัน สําคญั ทุกอยา งเสมอกนั หรืออยางไหนยงิ่ กวา ? จงแสดง. ต. สาํ คญั ทุกอยาง แตท่ีสาํ คญั ยิ่ง ก็คอื วภิ ตั ติ ธาตุ ปจ จัย ๓ อยา งนี้ อยางใดอยางหนึง่ ขาด ก็ทําศัพทใ หสมบรู ณไมไ ด เมอื่ มี ๓ อยา งน้แี ลว ยอมทําใหร ูเคร่ืองประกอบ ๕ อยา งน้ันได เพราะวภิ ัตติ เปน เครอ่ื งหมายใหร ู กาล บท วจนะ บุรุษ, สว น ธาตุ กเ็ ปน ราก ฐานสาํ หรบั เปน ทีป่ ระกอบของส่ิงเหลานนั้ , ปจจัย เมอ่ื ประกอบกับ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 136 ธาตุแลว ก็ใหรู วาจก ได, เพราะฉะนัน้ ๓ อยางน้ี จึงจดั วา เปน สําคัญยิง่ กวา ๕ อยางนัน้ . [ อ. น.]. [ วิภตั ติ ] ถ. วภิ ตั ติอาขยาต จัดเปน ก่ีหมวด ? อะไรบาง ? หมวดหนง่ึ มกี ่ีวิภตั ติ ? ต.จัดเปน ๘ หมวดคอื วตั ตมานา ปญจมี สตั ตมี ปโรกขา หยิ ตั ตนี อชั ชัตตนี ภวิสสนั ติ กาลาตปิ ต ต.ิ หมวดหนึ่งๆ มี ๑๒ วภิ ัตติ. [ อ. น.]. ต. วิภตั ติอาขายาต รวมทง้ั สน้ิ มเี ทา ไร ? วิภัตติทีซ่ ํา้ กนั คอื วภิ ตั ติ อะไรบา ง ? ต. มี ๙๖ วิภัตต.ิ วภิ ตั ตทิ ่ซี าํ้ กัน คือ มิ ม มใี นวตั ตมานา และปญ จมี. เส มใี นวตั ตมานา หิยตั ตนี และอัชชตั ตนี . เอ มใี น วัตตมานา ปญจมี และ ปโรกขา. และ อัชชตั ตน,ี มฺเห มีในวัตตมานา ปโรกขา และอชั ชตี ตน.ี อา โอ มใี นหยิ ตั ตนี และ อชั ชัตตนี. วโฺ ห มีในปญจมี และ ปโรกขา. มฺห มใี จปโรกขา และ หยิ ัตตนี. สสฺ เส สฺส สสฺ วฺเห มใี นภวสิ สนั ติ และ กาลาตปิ ต ติ. [ อ. น. ]. ถ. วิภัตติ ๘ หมวดนี้ หมวดไหนมีใชมากในปกรณตา ง ๆ ? ต. หมวด วัตตมานา ปญ จมี สัตตมี อชั ชตั ตนี ภวสิ สันติ ๕ หมวดน้ี ใชม ากในปกรณต าง ๆ แตใชม ากที่สดุ กค็ ือ วัตตมานา และ อชั ชตั ตนี. [ อ. น. ]

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 137 ถ. วิภตั ติ ๘ หมวด ๆ ไหนบอกกาลอะไร ? ต. วัตตมานา บอกปจ จุบนั กาล, ปโรกขา หยิ ัตตนี อชั ชตั ตนี บอกอดีกาล, ภวสิ สนั ติ กาลาติปต ติ บอกอนาคตกาล. สวนหมวด ปญจมี กับหมวดสตั ตมี ทา นไมไ ดระบุไวช ัด แตก อ็ นโุ ลมเขาใน หมวดบอกปจ จุบนั กาล [ อ. น. ]. ถ. วภิ ัตตินาม กับ วภิ ัตติอาขยาต ใชต างกันอยา งไร ? ต. วิภตั ตนิ าม สําหรับใชล งทท่ี า ยนามศัพท ทาํ นามศพั ทใหม ี รูปตาง ๆ และเปนเครื่องหมาย ลิงค วจนะ, สว นวภิ ัตติอาขยาต ใชลงทายธาตุ ทําธาตใุ หมีรูปตา ง ๆ และเปนเครื่องหมาย กาล บท วจนะ บรุ ุษ. [ อ. น. ]. ถ. วภิ ตั ติไหนบา ง ใชแ ทนวิภัตติอืน่ ซงึ่ เปน เครอ่ื งหมายให ทราบบุรุษ อนั ตา งจากช้ันของตนได ? ต. อา หิยตั ตนี และ อี อัชชตั ตนี เปนเครือ่ งหมายประถมบุรษุ ใชแ ทน โอ ซ่ึงเปน เครือ่ งหมายมธั ยมบรุ ษุ ได ตัวอยาง เชน มา อโวจ [ ทา น ] อยา ไดกลา วแลว , มา กริ [ ทาน ] อยา ทาํ แลว . [ อ. น. ]. ถ. ตฺถ ปรัสสบท หยิ ตั ตนวี ิภัตติ ตางจาก ตถฺ อัชชตั ตนวี ิภัตติ อยา งไร ? ภทิ ฺ ธาตุ ซง่ึ ประกอบดวยวภิ ัตติทงั้ ๒ นั้น สําเรจ็ รูปเปน อยา งไร ? ต. ตถฺ หิยัตตนี ไมมี อิ อยหู นา , อัชชัตตนี มี อิ. ภิท ธาตุ ประกอบดว ย ตถฺ หยิ ตั ตนี เปน อภินทฺ ตฺถ, อัชชัตตนี เปน อภนิ ฺทติ ถฺ . [ ๒๔๖๔ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 138 ถ. สัตตมีวิภตั ตแิ หงกริ ยิ าอาขยาต บอกความอะไรบา ง ? ขอ ตัวอยางของเนือ้ ความที่สัตตมวี ิภัตตบิ อกมาอยางละอทุ าหรณ. ต. สัตตมี บอกความยอมตาม และความกาํ หนด ความราํ พงึ เปน ตน, บอกความยอมตาม แปลวา ควร อุทาหรณว า ภเชถ ปุรสิ ตุ ตฺ เม [ ชน ] ควรคบซงึ่ บุรษุ สงู สุดทั้งหลาย. บอกความกาํ หนด แปลวา พึง อทุ าหรณว า ปุฺฺเจ ปุรโิ ส กยริ า ถาวา บุรษุ พงึ ทําซ่ึงบุญไซร, บอกความราํ พึง แปลวา พึง อุทาหรณวา ยนนฺ นู าห ปพพฺ ชเฺ ชยฺย ไฉนหนอ เราพงึ บวช. [ ๒๔๖๕ ]. ถ. คาํ วา จิตฺต รกฺเขยฺยาสิ และคาํ วา จติ ฺต รกขฺ าหิ หมาย ความตางกนั หรอื เหมือนกัน ? ถาเหมือนกัน กแ็ ลวไป ถาตางกัน จงอธบิ าย. ต. หมายความตางกัน ประโยคตน ใชส ัตตมีวิภัตติ เปน คํา แนะนาํ วาควรจะทาํ เชนนั้น ไมใชคาํ สง่ั . ประโยหลงั ใชปญ จมีวิภตั ติ เปนคาํ สั่งทเี ดยี ว. [ ๒๔๗๐]. ถ. เมื่อเปน กริ ยิ าศัพทท ีท่ า นประกอบ ม วิภตั ติ เชน คจฉฺ าม สังเกตอยางไร จงึ จะรวู าเปน วัตตมานา หรือ ปญ จมี ? ต. สงั เกตความในเรือ่ งนัน้ ถา หมายความปจจบุ ัน เปนวัตต- มานา. ถาหมายความบังคบั หรอื ความหวัง หรอื ความออ นวอน เปนปญจมี . [๒๔๙๕ ]. ถ. มาศพั ท มีทใี่ ชไดอยางไรบาง ? ชกั อทุ าหรณม า. ต. มีที่ใชแ ตก ิรยิ า อนั เปนปญจมีและอชั ชัตตนวี ิภตั ตเิ ทานั้น

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 139 อุทาหรณว า มา ม ภนเฺ ต นาเสถ, มา เอว กริ. [ ๒๔๖๓ ]. ถ. วภิ ตั ติและปจ จัยในอาขยาต ลงทีไ่ หน ? และลงแลว เปน เครื่องหมายอะไร ? ต. วิภัตติ ลงทาย ปจ จยั . ปจจยั ลงทาย ธาตุ, วภิ ตั ตเิ ปน เครือ่ งบอก กาล บท วจนะ บุรษุ . ปจ จยั เปน เครื่องหมายบอกวาจก. [ ๒๔๖๐ ]. ถ. วภิ ตั ตอิ าขยาต กบั วภิ ตั ตนิ าม มีขอทีเ่ หมือนกันและตาง กันอยางไรบาง ? ต. ขอท่ีเหมอื นกนั คอื จดั เปน ๒ วจนะเหมือนกนั , ขอทต่ี าง กนั คือ วภิ ตั ตินามจัดเปน ๗ หมวด เปนเคร่อื งหมายใหร ูเน้ือความ ของนามศพั ท, สว นวภิ ตั ติอาขยาต จัดเปน ๘ หมวด เปน เครอ่ื ง หมายใหรกู าล , และในหมวดหนง่ึ ๆ จัดเปน ๒ บท ๓ บรุ ษุ เพือ่ ใหบง ถึงนามท่เี ปนประธานแหง กิริยา. [ ๒๔๗๙ ]. ถ. สตั ตมวี ภิ ัตติ บอกความกาํ หนด กแ็ ปลวา พึง, บอกความ รําพงึ กแ็ ปลวา พึง, ถา เห็นอทุ าหรณวา อปฺเปวนาม มยมฺป อายสมฺ นฺตาน กิ ฺจมิ ตฺต อนฺปฺปทชเฺ ชยฺยาม จะรไู ดอ ยา งไรวา บอก ความกําหนด หรอื บอกความรําพึง ? ต. อทุ าหรณวา อปเฺ ปวนาม มยมปฺ  อายสฺมนฺตาน กิ จฺ ิมตตฺ  อนปุ ปฺ ทชเฺ ชยยฺ าม ดงั นี้ เปน สัตตมวี ิภตั ติ บอกความรําพึง, รไู ด ดว ยนบิ าตที่เปน ตน ความ คอื อปเฺ ปวนาม เพราะวา สัตตมีวิภตั ติ ทบ่ี อกความกําหนด ทานนิยมใช เจ สเจ เปนอาทิ เปนตน ขอ ความ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 140 ในประโยคนน้ั ๆ, ถาบอกความราํ พึง ทา นมักใช อปเฺ ปวนาม หรอื ยนฺนูน เปน อาทิ. [ ๒๔๗๖ ]. ถ. สตั ตมีวภิ ัตติ กริ ิยาอาขยาต บอกความอะไรบา ง? เพยี ง ๓ อยา งกไ็ ด จงเขยี นบาลีมาอยา งละอุทาหรณ. ต. บอกความยอมตาม อทุ าหรณวา อภติ เฺ รถ กลฺยาเณ. บอกความกําหนด อทุ าหรณวา สเจ ลเภถ นปิ ก สหาย. บอก ความราํ พึง อุทาหรณวา กสสฺ นุ โขห ปม ธมมฺ  เทเสยฺย. [ ๒๔๗๓ ] ถ. อ อาคม, อิ อาคม, มา ศพั ท, ใชประกอบกบั กิรยิ าได ทั่วไป หรอื มจี าํ กัดอยา งไร ? จงแถลง. ต. มีจาํ กดั เปน บางอยาง คือ อ อาคม ประกอบไดเ ฉพาะแต ทีห่ นา ธาตใุ นกริ ยิ าซ่งึ ใชว ภิ ัตติ หิยัตตนี อัชชัตตนี และกาลาตปิ ตติ. อิ อาคม ประกอบไดเ ฉพาะแตทห่ี ลังธาตุในกริ ิยาซึง่ ใชวภิ ตั ติ อชั ชตั ตนี ภวสิ สนั ติ และกาลาติปตต.ิ มา ศัพท ประกอบไดเ ฉพาะแตก ริ ิยา ท่ีใชวิภัตติ ปญ จมี และอชั ชัตตานี. [๒๔๖๗ ]. ถ. อ ตน ธาตุ ทานบัญญตั ิใหแ ปลวากระไร ? มีไดท่ัวไปทกุ วภิ ตั ติ หรอื จาํ เพาะแตหมวดไหน ? เชนคําวากระไร ? ชักมาแต จาํ เพาะ. ต. ทา นบญั ญตั ใิ หแ ปลวา ได, มีไดจาํ เพาะ หยิ ตั ตนี เชน คาํ วา อวจ ไดก ลาวแลว, อัชชัตตนี เชน คาํ วา อกาสิ ไดทาํ แลว, กาลาตปิ จ จัย เชน คําวา อคจฉฺ ิสฺสา จกั ไดไ ปแลว.[ ๒๔๕๘ ]. ถ. ส อาคม ลงในวิภัตตหิ มวดไหนบาง ? ขอตวั อยา งดวย.

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 141 ต. ส อาคม ลงในวิภตั ตหิ มวด อชั ชตั ตนี ได เชน อทาสิ อทส ุ อาโรเจสิ อาโรเจสุ เปน ตน . [ อ. น. ]. [ กาล ] ถ. กาล โดยยอมมเี ทาไร ? โดยพสิ ดารมีเทา ไร ? อะไรบาง ? จะรูก าลน้นั ๆ ไดอ ยางไร ? ต. โดยยอ มไม ๓ คือ ปจ จบุ นั กาล ๑ อดตี กาล ๑ อนาคตกาล ๑ โดยพสิ ดารมี ๘ คือ ปจจุบนั แท ปจ จุบันใกลอ ดตี ปจจบุ นั ใกล อนาคต, อดีตกาลไมม กี าํ หนด อดตี กาลตัง้ แตวานนี้ อดีตกาลตง้ั แต วันนี้, อนาคตแหงปจ จบุ ัน อนาคตกาลแหง อดีต, รไู ดดวยวิภัตติ เพราะวภิ ัตตเิ หลานัน้ เปน เครือ่ งหมายบอกใหรูกาลได. [ อ. น. ]. [ บท ] ถ. บท มีเทา ไร ? อะไรบา ง ? อยางไหนมีประโยชนอ ยา งไร ? ต. มี ๒ คอื ปรัสสบท บทเพ่ือผอู ่ืน อัตตโนบท บทเพ่อื ตน. ปรสั สบท เปน เคร่ืองหมายใหรกู ริ ยิ าทเี่ ปนกัตตวุ าจก, อัตตโนบท เปน เคร่ืองหมายใหรกู ริ ิยาท่ีเปนกมั มวาจก และภาววาจก. น้ีแสดง ตามทเ่ี ปน ไปโดยมาก แตไ มแ นน ัก ทจ่ี ะใหร ูวาจกแน ตอ งอาศัย สงั เกตปจ จัยทปี่ ระจาํ วาจกน้นั ๆ ดวย. [ อ. น.]. [ วจนะ ] ถ. วจนะในอาขยาต เหมือนกบั วจนะในนาม หรือตางกัน ? ต. เหมอื นกันกม็ ี ตา งกันกม็ ี, ทเ่ี หมือนกนั แบง เปน ๒ คือ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 142 เปนเอกวจนะ และพหวุ จนะ เหมือนกนั , ทต่ี างกัน คอื วจนะในนาม นัน้ เปน เคร่ืองหมายใหรูนามนามวามากหรือนอย และอยูท่นี ามนาม, สว นวจนะในอาขยาต อยทู ศ่ี พั ทกิริยา ถานามนามเปนวจนะไหน ศพั ทก ิริยาก็ตอ งประกอบเปน วจนะนนั้ เวน แตนามนามหลายศพั ท มี จ ศัพท อยใู นระหวา ง แมเ ปน เอกวจนะ กิริยากต็ องประกอบ เปน พหุวจนะ เชน อุปาสโก จ อปุ าสกิ า จ โสตาปนฺนา อเหสุ. [ อ. น. ] ถ. เมือ่ ผนู อยพูดกบั ผูใหญ มวี ิธแี สดงความเคาระดว ยวจนะ อยา งไรหรือไม? ต. ม,ี คือ เมอ่ื ผนู อ ยพดู กับผูใหญค นเดยี ว ทา นนิยมใหใ ช มธั ยมบรุ ุษเปนพหวุ จนะ ดงั คาํ วา ตมุ ฺเห ปฺจสตปริวารา สวฺ าตนาย อธิวาเสถ. แตอ ยา งเขาใจวา เม่ือผูนอยพูดกบั ผใู หญ จะตอ งใชม ัธยม- บรุ ษุ พหวุ จนะ ทุกคราวไป ทใ่ี ชเ ปนเอกวจนะกม็ ี เชนคาํ วา อุปชฌฺ าโย เม ภนฺเต โหหิ, หรอื จะใชประถมบรุ ษุ เอกวจนะ ในท่ีควรใชม ธั ยม- บรุ ษุ พหวุ จนะ แสดงความเคารพกไ็ ด เหมอื นคําวา อปโฺ ปสสฺ ุกฺโก ภนฺเต ภควา ทฏิ ธมมฺ สุขวิหาร อนุยุตโฺ ต วิหรต.ุ [ ๒๔๖๖ ]. [ บรุ ุษ ] ถ. บุรษุ ในอาขยาต แบง เปนเทาไร ? อะไรบา ง ? จะรวู าเปน บรุ ษุ อะไรแน ตอ งถืออะไรเปน หลัก ? ต. แบง เปน ๓ คอื ประถมบรุ ุษ ๑ มัธยมบรุ ุษ ๑ อตุ ตมบรุ ษุ ๑. จะรูบ รุ ษุ ไดแ น ตอ งถือวิภัตตเิ ปนหลกั เพราะวิภตั ติเปน เครือ่ งแสดง

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 143 ใหรบู ุรษุ เชน ติ เปน ประถมบรุ ุษ, สิ เปน มัธยมบรุ ุษ, มิ เปน อุตตมบุรุษ เปน ตน. [ อ. น.]. ถ. เพราะเหตไุ ร จงึ แบง บรุ ษุ เปน ๓ ? ต. เพราะในสพั พนาม ซ่งึ เปน ประธานของกริ ยิ าแบงบุรษุ เปน ๓, สวนกริ ิยาซง่ึ เปนเคร่ืองแสดงอาการของประธานใหป รากฏ จงึ จําเปนตอ งแบงเปน ๓ ดวย เพือ่ ใหเทา กัน จะแบงใหมากหรอื นอ ย กวา กนั ไมไ ด. [ อ. น. ]. ถ. ตัวประธานกับตัวกิริยา มกี ฎเกณฑใ หคลอ ยเขา หากนั อยางไรบา ง ? ต. มกี ฎเกณฑอยางน้ี ถา สพั พนามทเ่ี ปน ประธาน เปน บุรุษใด กริ ิยากต็ องเปนบุรษุ นั้น เชน โส เปน ประถมบุรษุ กิรยิ ากต็ อ ง เปน ประถมบุรษุ ตาม, ตวฺ  เปนมธั ยมบุรษุ กริ ิยากต็ อ งเปนมธั ยมบุรุษ ตาม. อห เปน อตุ ตมบรุ ุษ กริ ิยากต็ องเปน อุตตมบรุ ษุ ตาม ให บุรษุ ตรงกันเสมอไป สับเปลย่ี นกนั ไมไ ด. [ อ. น. ]. [ ธาตุ ] ถ. ในอาขยาต มอี ะไรเปนทีส่ ิง่ สาํ คัญในการทจี่ ะทาํ เปน รปู ราง ขึน้ ? ทานจัดแบงไวอยางไร ? จงจดั มาดู. ต. มีธาตเุ ปนสิ่งสําคัญ, ทานจัดแบง ไวเ ปน ๘ หมวด คอื ๑. หมวด ภู ธาตุ ๒. หมวด รธุ ฺ ธาตุ ๓. หมวด ทวิ ฺ ธาตุ ๔. หมวด สุ ธาตุ ๕. หมวด กี ธาตุ ๖. หมวด คหฺ ธาตุ ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ๘. หมวด จรุ ฺ ธาต.ุ [ ๒๔๘๐ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 144 ถ. ที่วา ธาตุเปน สําคัญน้ัน สาํ คญั อยางไร ? ต. เปน สาํ คัญอยางนี้ คือ เปนทปี่ ระกอบ วิภัตติ ปจ จัย ทํา ใหกิรยิ าศัพทสมบูรณ ถา ขาดธาตแุ ลว จะใช วภิ ตั ติ ปจ จยั โดย ลําพงั ไมได เปรียบเหมือนเรอื น เสาเปนสําคญั สําหรับรองรับทัพพ- สัมภาระอ่นื ๆ ฉันใด, ธาตกุ เ็ ปนฉนั นั้น. [ อ. น.]. ถ. ในอาขยาต ทา นใชอะไรเปน มลู ศพั ท ? จะใชน ามบางได หรือไม ? อธิบาย. ภชุ ฺ หรฺ ธาตุ ประกอบ ติ วัตตมานาวิภตั ติ สําเรจ็ รปู เปนอยา งไรบาง ? อยา งไหนลงปจจยั อะไร ? ต. ใชธาตุ, ถาประกอบดวย อาย หรอื อิย ปจจัย ก็ใชได เชน ปพฺพตายติ ปตุ ตฺ ิยติ เปน ตัวอยาง, สาํ เร็จรปู เปน ภุฺชติ หรติ บา ง เปน พุภุกขฺ ติ ลง ข ปจ จัย, ท่เี ปน ชคิ สึ ติ ลง ส ปจ จัย. [ ๒๔๗๒ ]. ถ. กิริยาอาขยาต มอี ะไรเปน มลู ราก ? รชฺ ธาตุ ภิท ธาตุ ติ วัตตมานาวภิ ตั ติ สําเร็จรูปอยางไร จึงเปนหมวด ทวิ ธาตุ ? อยางไร จึงเปน หมวด รธุ ธาตุ ? ต. กริ ิยาอาขยาต มีธาตเุ ปน มลู รากบาง นามศัพทบาง, รชฺ ธาตุ ติ วตั ตมานาวภิ ัตติ ลง ย ปจจยั ในหมวด ทวิ ฺ ธาตุ สาํ เรจ็ รปู เปน รชชฺ ต,ิ ในหมวด รุธฺธาตุ สําเรจ็ รูปเปน รชฺ ต,ิ ภิทฺ ธาตุ สําเร็จรปู เปน ภิชชฺ ติ ภินทฺ ติ. [ ๒๔๖๔ ]. ถ. ธาตุแบงเปนกี่อยาง ? อะไรบาง ? ต. มี ๒ คือ สกมั มธาตุ ธาตมุ ีกรรม ๑. อกัมมธาตุ ธาตุ ไมมกี รรม ๑. [ อ. น. ].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 145 ถ. คําวา กรรม ในทนี่ ี้ ไดแ กอ ะไร ? จะรไู ดอ ยางไรวา ธาตุ นเี้ ปน ธาตุประเภทนนั้ ประเภทน้ี ? ต. ไดแ กสิ่งที่ถูกเขาทํา ถูกเขาคดิ เชน คนทาํ นา ภกิ ษคุ ือ ธรรม เปน ตน , คาํ วา นา และ ธรรม นน้ั ทา นเรียกวา กรรม คือ ผูถกู ทํา. รูไดด ว ยการสงั เกตความของธาตุนนั้ ๆ ถาธาตุใดแสดงความ ใหเ รยี กหากรรมจงึ จะไดความชัด ถาไมเรียกหากรรมความไมชัด ดงั คาํ วา คนกิน ความไมช ัด ชวนใหน ึกวากินอะไร ? ถา เตมิ กรรม ตอทา ยวา คนกนิ ขาว หรอื คนกินขนม เชน นี้ ไดความชดั ธาตุ ชนดิ นี้ เรียกวา สกัมมธาตุ คือธาตมุ ีกรรม. ธาตุในไมแสดงความ ใหเรียกหากรรม ตามลําพังกไ็ ดความชัดพอแลว เชน นกบนิ คนเดนิ สนุ ขั นอน เปน ตน ธาตุชนดิ น้ี เรียกวา อกมั มธาตุ ธาตไุ มม ีกรรม. [ อ. น. ]. ถ. สกัมมธาตุ อกมั มธาตุ ใชในวาจกอะไรไดบ าง ? ต. สกัมมธาตุ ใชไดทุกวาจก, แตอ กัมมธาตุ ใชไ ดแ ตใ น กัตตุวาจก ภาววาจก เหตกุ ัตตุวาจก. [ ๒๔๖๐ ]. [ วาจก ] ถ. จงแสดงวาจกในอาขยาต. ในวาจกเหลาน้ี วาจกอะไรบา ง ใชด ืน่ ในปกรณท ง้ั หลาย ? ต. วาจากในอาขยาต มี ๕ คอื :- ๑. กัตตุวาจก เปนกิริยาของผูท ําทเ่ี ปน ประธาน อุทาหรณวา ธมมฺ จารี สขุ  เสต.ิ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 146 ๒. กมั มวาจก เปน กริ ยิ าของสิง่ ทถี่ กู ทาํ ท่ีเปน ประธาน อุทาหรณ วา ปาป กริยติ. ๓. ภาววาจก เปนกริ ิยาหาประธานที่เปน ปฐมาวภิ ตั ตมิ ิได อทุ าหรณว า จิตฺเตน อุปปฺ ชชฺ เต. ๔. เหตกุ ัตตวุ าจก เปน กิรยิ าของผูใชทเ่ี ปนประธาน อทุ าหรณ วา เมตตฺ  อปุ ฺปาเทติ. ๕. เหตุกมั มวาจก เปน กริ ิยาของส่งิ ทถ่ี ูกเขาใชใ นทาํ ทเี่ ปน ประธาน อุทาหรณว า โอทโน ปาจาปยเต. ในวาจกเหลา นี้ กตั ตุวาจกและเหตุกตั ตุวาจก ใชอ ่ืนในปกรณ ทงั้ หลาย. [๒๔๕๗,๒๔๖๗ ]. ถ. วาจก มเี ทา ไร ? ใจความตา งกนั อยางไร ? ต. มี ๕, ตา งกันอยางนี้ กัตตวุ าจก ยกผทู าํ เปนบทประธาน, กัมมวาจก ยกกรรมเปนบทประธาน, ภาววาจก กลา วแตความมีความ เปน, เหตุกัตตุวาจก ยกผใู ชใหทําเปน บทประธาน, เหตุกมั มวาจก ยกส่งิ ท่ีถกู เขาใชใหท ําเปนบทประธาน.[ ๒๔๗๐ ]. ถ. วาจกทั้ง ๕ มปี ระโยชนอยางไร ? จงยกตัวอยา งมา ประกอบกบั คาํ อธบิ ายใหเ ห็นสม. ต. มปี ระโยชนใ นทางพดู และแตงหนงั สือ ถา ผพู ูดผูแตไ ม เขาใจวิธีของวาจก อาจทําเนอื้ ความที่ประสงคน ั้น ๆ ใหแ ผกไป คอื จักไดใจความตรงกันขา ม หรอื ถือเอาใจความไมได เชนตองการ จะพูดวา \"บดิ าใหบ ุตรศึกษาศลิ ปะ\" ซึ่งควรจะตอ งเรยี งคําพดู เปน

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 147 ภาษาบาลี ปตา ปุตฺต สปิ ฺป สกิ ฺขาเปติ แตห าเรยี กเชนน้ันไม ไปเรยี งเสียวา ปต ปตุ ฺต สิปฺป สกิ ขฺ ติ กลบั มคี วามแผนกันไปวา บดิ าศึกษาศิลปะกะบตุ ร ดงั น้ีเปน ตัวอยา ง. [ ๒๔๖๒ ]. ถ. จงเอาศพั ท ๔ นี้ คือ ปต ุ ธตี ุ ปุปฺผ วุ ธาตุ เรียงตาม ลกั ษณะแหง วาจกทงั้ ๕ ยกภาววาจก. ต. กัตตวุ าจก. ปตโุ น ธตี า ปปุ ฺผ วุณาติ. กมั มวาจก. ปต ุโน ธตี รา ปุปฺผ วุยฺยเต. เหตกุ ัตตุวาจก. ปต า ธีตร ปปุ ผฺ  วุณาเปติ, เหตกุ มั มวาจก, ปต รา ธีตรา ปุปผฺ  วุณาปย เต.[ ๒๔๖๒ ]. ถ. คําวา \"ทําการงาน\" ประสงคเ ปนคณุ นามอยา งหน่ึง เปน อาขยาตอยางหนึง่ คํามคธวา กระไร ? ต. คําวา \"ทาํ การงาน\" ทีป่ ระสงคเปนคุณนาม คํามคธวา \"กมมฺ กาโร\" ท่ีประสงคเปน อาขยาต คาํ มคธวา \"กมมฺ  กโรติ.\" [ ๒๔๗๗ ]. [ ปจ จัย ] ถ. ปจจัยในอาขยาต มปี ระโยชนอ ยางไร ? และตางจากปจจัย ในตทั ธติ อยา งไร ? ต. มีประโยชนใ หก ําหนดรวู าจกไดแ มน ยํา, ตา งกันปจ จัยใน ตัทธิต คอื นิยมลงทา ยธาตเุ ปนพนื้ มีลงทายนามศัพทบา งบางตวั เมอื่ ลงทา ยธาตหุ รือนามศัพทน ้ัน ๆแลว ศัพทนัน้ ๆ กส็ าํ เร็จรปู เปน กริ ิยาทั้งส้ิน, สว นปจ จัยในตัทธิต นยิ มลงทายนามศพั ทเ ปนพ้นื ไมมี ลงทายธาตุ เมอ่ื ลงแลว ใชแทนศพั ทต า ง ๆ. [ อ. น. ]

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 148 ถ. จงแสดงปจ จัยในอาขยาต ทล่ี งในธาตุ ๘ หมวด ในวาจก ท้งั ๕ ? ต. ท่ลี งในธาตุ ๘ หมวด คอื อ เอ ย ณุ ณา นา ณฺหา โอ เณ ณฺย ๑๐ ตวั และลงในกตั ตุวาจกดว ย, ในกัมมวาจก ลง ย ปจ จยั กบั ทั้ง อิ อาคม หนา ย, ในภาววาจก ลง ย ปจ จัย, ในเหตกุ ตั ตุ วาจก ลงปจ จยั ๔ ตัว คอื เณ ณย ณาเป ณาปย ตัวใดตัวหน่ึง, ในเหตุกมั มวาจก ลงปจจัย ๑๐ ตวั น้นั ดวย เหตปุ จ จยั คอื ณาเป ดวย ลง ย ปจ จัย กับทัง้ อิ อาคม หนา ย ดวย. [ ๒๔๖๓-๒๔๗๑ ]\" ถ. จาํ กาํ หนดรูวาจกไดอ ยางไร? และวาจก ทงั้ ๕ น้นั โดย ใจความตางกนั อยางไร ? ต. กริ ิยาศพั ททป่ี ระกอบดว ย อ เอ ย ณุ ณา นา ณหฺ า โอ เณ ณฺย ตัวใดตวั หน่งึ เปน กัตตวุ าจก, ทป่ี ระกอบดว ย ย ปจ จยั กบั อิ อาคม เปน กัมมวาจก, ทีป่ ระกอบดว ย ย ปจจยั เปน ภาววาจก, ท่ปี ระกอบดว ย เณ ณย ณาเป ณาปย ตวั ใดตัวหน่งึ เปน เหตุกัตตุ วาจก, ท่ีประกอบดว ยปจจัย ๑๐ ตวั ในกัตตวุ าจกตวั ใดตัวหนึ่งดว ย ณาเป ปจจยั ดว ย ย ปจ จยั กบั อิ อาคมดวย เปนเหตุกัมมวาจก รูไ ดอ ยางน.้ี ตางกนั อยางน้ี : กัตตวุ าจก ยกผูทาํ เองเปนบทประธาน, กัมมวาจก ยกกรรมเปน บทประธาน. ภาววาจก กลาวแตค วามมี ความเปน , เหตุกัตตวุ าจก ยกผใู ชใ หท าํ เปนบทประธาน. เหตุกัมม- วาจก ยกสิ่งทถี่ ูกเขาใชใ หท ําเปนบทประธาน. [๒๔๖๖ ]. ถ. กริ ยิ าศพั ทในประโยค ภาววาจก นยิ ม วจนะ บุรุษ บท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook