Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore bali-1.14

bali-1.14

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-30 10:45:26

Description: bali-1.14

Search

Read the Text Version

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 149 อยางไรบา ง ? ขออุทาหรณด วย . ต. นิยมใหป ระกอบเปน เอกวจนะ ประถมบุรุษ อตั ตโนบท แตสวนบทนี้ไมสูแ นนอนนัก ทใี่ ชป รสั สบทกม็ ีบาง อทุ าหรณ เชน ชายเต คจฺฉิยเต เปน ตน . [ อ.น.]. ถ. ปจจัยในวาจกนั้น ๆ ตัวไหนใชล งประจาํ หมวดธาตไุ หน บาง ? ต. ปจจัยในวาจกทัง้ ๔ นอกจากกตั ตวุ าจก ลงในธาตทุ กุ หมวดไมมจี ํากัด, สวนปจ จยั ในกัตตุวาจก ๑๐ ตวั มจี าํ กดั คอื แบง ลงในธาตุ ๘ หมวดนนั้ ดังนี้ : อ เอ ลงในหมวด ภู ธาตุ และ รธุ ฺ ธาตุ แตใ นหมวด รธุ ฺ ธาตุ ลงนคิ คหติ อาคมหนา พยัญชนะทส่ี ุดธาตุดว ย, ฯ ลงในหมวด ทวิ ฺ ธาต,ุ ณุ ณา ลงในหมวด สุ ธาต,ุ นา ลงใน หมวด กี ธาตุ, ณหฺ า ลงในหมวด คหฺ ธาตุ, โอ ลงในหมวด ตนฺ ธาตุ, เณ ณย ลงในหมวด จรุ ฺ ธาต.ุ [ อ. น. ]. ถ. อาศยั อะไรเปน หลัก จึงจะกาํ หนดวาจกไดแ มน ยาํ ? สิวยิ ติ สพิ พฺ ยติ เปน วาจกอะไร ? จงชี้วาสังเกตตรงไหน ? ต. อาศัยปจ จัยเปน กลัก, สิวิยติ เปน กัมมวาจก สวิ ฺ ธาตุ เห็น ย ปจ จยั กับทงั้ อิ อาคมหนา ย ก็รูได, สิพฺพยติ เปน เหตุกัตตุวาจก สวิ ฺ ธาตุ เหมือนกนั ธาตหุ มวดน้ลี ง ย ปจ จยั แตถาลง ย ปจ จัย ในกตั ตุวาจก ตอ งเอง ย ปจ จัย กบั พยญั ชนะท่สี ุดธาตเุ ปน พพฺ สาํ เร็จรูปเปน สพิ ฺพติ จะเปน สพิ ฺพยติ ไมไ ด นมี้ ี ย เหลืออยตู อง เปน ณย ปจ จัย ในเหตกุ ัตตวุ าจก เมือ่ ลบ ณ หรอื สระที่ ณ อาศัย

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 150 อยู มสี ระอยเู บอื้ งหลงั จึงแปล ว เปน พ ไดโดยวธิ สี นธิ. [ ๒๔๖๑ ]. ถ. ในอาขยาต ในทเ่ี ชน ไร ตองพฤทธิตน ธาตุ ? ในที่เชน ไร ตองทีฆะท่สี ุดปจ จยั เปน อา ? ต. เม่อื ลง เณ ณย ณาเป ณาปย ปจ จัย ตอ งพฤทธติ น ธาต,ุ เม่ือ หิ มิ ม วภิ ตั ติอยหู ลงั ตองทีฆะที่สดุ ปจจยั เปน อา. [ ๒๔๕๙ ] ถ. ปจ จยั ที่เนอ่ื งดวย ณ ในตทั ธิตกม็ ี ในอาขยาตก็มี ตอ งการ ทราบวา ณ ปจ จยั ในท่ที ั้ง ๒ นัน้ มอี าํ นาจเหมือนกนั หรือตางกนั อยา งไร ? ต. อาํ นาจพฤทธอิ ยางเดียวกนั แต ร ปจจัยในตทั ธติ ลงแลว ตอ งลบ เมือ่ ลงแลว ตอ งพฤทธติ ามลกั ษณะของศพั ททกุ แหงไป, สวน ณ ปจ จยั ในอาขยาตไมทําดังน้นั ท้ังหมด คือคงมี ณ ไวไ มตองลบกม็ ี เชน สณุ าตุ สิโณติ ลง ณา ณุ ปจจัย ในกตั ตุวาจก เปน ตน, เม่ือ ไมลบ กไ็ มตอ งพฤทธสิ ระตนธาตุ คงไวตามเดมิ . [ อ. น. ]. ถ. กัตตวุ าจก มปี จ จัยกี่ตัว ? อะไรบาง ? มุจฺ ฉิทฺ ภิทฺ ลง ปจ จยั ในกตั ตุวาจก ลงตัวไหนเปน สกัมมธาตุ ลงตัวไหนเปนอกมั มธาตุ ? ขอรูปศพั ทแ ละแปลมาดวย. ต. มีปจจัย ๑๐ ตัว คอื อ เอ ย ณุ ณา นา ณหฺ า โอ เณ ณย, ลง อ ปจ จัย เปน สกัมมธาตุ, ลง ย ปจจัย เปน อกมั มธาตุ, ท่ีลง อ มีรปู เปน มุจฺ ติ ฉินทฺ ติ ภนิ ฺทติ แปลวา ยอ มปลอ ย ยอ ม ตัด ยอ มทาํ ลาย, ทีล่ ง ย ปจจัย มรี ปู เปน มุจฺจติ ฉิชฺชติ ภชิ ชฺ ติ แปลวา ยอมพน ยอมขาด ยอ มแตก. [ ๒๔๖๗ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 151 ถ. ย ปจจัย มีในวาจกอะไรบาง ? จะกาํ หนดไดอยางไรวา เชน ไรเปน วาจกไหน ? อธบิ าย. ต. มีในกตั ตุวาจก กมั มวาจก ภาววาจก, กาํ หนดไดอยา งน้ี : ย ในกัตตุวาจก ถาธาตุ ๒ ตวั ตอ งแปลกบั ที่สดุ ธาตุเปน พยญั ชนะ นน้ั ๆ ถาเปนธาตตุ ัวเดียวคง ย ไว ลงไดไมจ ําจดั ธาตุ และลงได ในหมวดธาตุของตน. สวน ย ในกัมมวาจก มีวิธเี ปน ๓ อยา ง คอื คง ย ไว ตองลง อิ อาคมอยา ง ๑ แปลง ย กับท่ีสดุ ธาตเุ ปนพยัญชนะ นน้ั ๆ แลว ไมต องลง อิ อาคม คลา ยกบั ย ในกัตตุวาจก นอกจาก หมวดธาตทุ ่ีมี ย ในกตั ตวุ าจกประจําอยแู ลว อยาง ๑ ลง ย แลวซอน ย ไมต องลง อิ อาคมอยาง ๑ ลงไดเ ฉพาะสกมั มธาตุอยา งเดยี วเทานัน้ . สว น ย ในภาววาจก ไมม พี ิธีเปลยี่ นแปลงอยางไร ทัง้ นยิ มลงใน อกมั มธาตุ แตท ล่ี งในสกมั มธาตกุ ม็ ี และเปน ไดแ ตประถมบุรษุ เอกวจนะ อยางเดยี วเทา น้ัน มที ่ีใชโ ดยมากแตว ตั ตมานา นอกนั้น ไมค อยใช . [ ๒๔๖๙ ]. ถ. เหตกุ ัมมวาจก ลงปจ จยั ๑๐ ตัว คืออะไรบา ง ? แลว ลง อะไรกันอกี ? ขออุทาหรณด ว ย. ต. เหตุกมั มวาจก ลงปจจัย ๑๐ ตัว คอื อ เอ ย ณุ ณา นา ณหฺ า โอ เณ ณยฺ แลว ลงเหตุปจ จยั คือ ณาเป ดวย, ลง ย ปจ จยั กับทัง้ อิ อาคม หนา ย ดวย อุทาหรณ เชน ปาจาปยเต สิพพฺ าปย เต เปนตน. [ ๒๔๖๕ ]. ถ. ณาเป และ ณาปย ปจจัย สาํ หรับเหตุกตั ตุวาจก ใชได

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 152 เหมือน เณ และ ณย ปจจัย หรือใชไ ดเ ฉพาะในที่เชน ไร ? ต. ณาเป และ ณาปย ปจ จัย สาํ หรับใชบ อกเหตกุ ัตตุวาจก ในธาตุหมวดท่ี ๘ มี จุรฺ เปน ตน ที่ใช เณ และ ณย ปจ จัย บอก สยกัตตา และในธาตหุ มวดอ่นื ทใี่ ชป จ จัยเหตกุ ัตตวุ าจกในอรรถ แหงสยกตั ตา อุทาหรณ เชน มาเรติ ใหตาย คือ ฆา , มาราเปติ ให ๆ ตาย คอื ใชใหฆ า. [๒๔๕๗ ]. ถ. ปจจยั ในอาขยาต สาํ หรับใชแทนศพั ทอ ยา งตัทธิตมหี รือไม ? ถา มี คืออะไร ? และตวั ไหนลงในอรรถวา กระไร ? จงยกอทุ าหรณ มาเทยี บ. ต. ม,ี คือ ข ฉ ส ลงในอรรถวา ปรารถนา, อทุ าหรณ เชน พภุ กุ ฺขติ ปรารถนาจะกิน, ชฆิ จฉฺ ติ ปรารถนาจะกนิ , ชคิ ึสติ ปรารถนา จะนาํ ไป, อาย อยิ ลงในอรรถวา ประพฤติ อุทาหรณ เชน จิรายติ ประพฤตชิ าอยู, ปตุ ตฺ ยิ ติ ยอ มประพฤตใิ หเปน เพยี งดังบตุ ร. [๒๔๕๘-๒๔๗๐]. ถ. จงแสดงความตา งแหง วาจกอาขยาต วาตางกันอยา งไร ? และ ในวาจกเหลานั้น กัมมวาจกมปี จ จัยก่ีตวั ? พทุ ธฺ ิยติ ลงปจจัยอะไร ? แปลวา กระไร ? ต. กตั ตวุ าจก ยกผทู าํ เองเปน บทประธาน, กัมมวาจก ยก กรรมเปน บทประธาน, ภาววาจก กลาวแตค วามมีความเปน, เหตุ- กตั ตุวาจก ยกผใู ชทําเปน บทประธาน, เหตกุ ัมมวาจก ยกสง่ิ ท่ี ถูกเขาใชใ หท าํ เปนบทประธาน, กมั มวาจก ลง ย ปจ จยั กบั อิ อาคม,

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนาที่ 153 พุทธฺ จิ ติ ลง อิย ปจจัย แปลวา ยอมประพฤติใหเ ปน เพียงดงั พระ พุทธเจา. [ ๒๔๗๔ ]. ถ. ภชุ ,ฺ หร ธาตุ ประกอบกับ ติ วตั ตมานาวิภัตติ สําเรจ็ รูป เปนอยา งไรบา ง ? และอยางไหนลงปจจัยอะไร ? ต. สาํ เรจ็ รูปเปน ภุฺชติ หรติ บาง, เปน พุภุกฺขติ ชิคสึ ติ บา ง, ท่ีเปน ภุชฺ ติ หรอื หรติ ลง อ ปจจยั , ท่เี ปน พุภกุ ชฺ ติ ลง ข ปจจยั ที่เปน ชคิ ึสติ ลง ส ปจจยั . [ ๒๔๖๘ ]. ถ. จงขุดมลู วิชฺฌติ ลพฺภติ ต้ังแตธาตุจนสาํ เร็จรูป ? ต. วชิ ฌฺ ติ วิธฺ ธาตุ เปน ไปในความแทง, ย ปจ จัย ในกตั ตุ- วาจก ติ วิภตั ติ เอา ย กบั ธฺ เปน ชฌฺ สาํ เร็จเปน วิชฺฌต.ิ ลพภฺ ติ ลภฺ ธาตุ เปน ไปในความได ย ปจจยั ในกมั มวาจก ติ วภิ ัตติ เอา อ กับ ภฺ เปน พภฺ สําเรจ็ รปู เปน ลพฺภติ. [ ๒๔๖๑ ]. ถ. จงวินจิ ฉัยประโยคตอ ไปนว้ี าผดิ หรือถกู ? ถาผดิ จงแก อานนทฺ ตฺเถโร จ ปมสงคฺ ีติย อโหสิ. ต. ประโยค ก. ถกู เพราะวานามทําเปน เอกวจนะหลายศัพท ถา มคี วามรวมกัน เม่อื ใช จ ศัพท กาํ กบั ศพั ทเ หลาน้ันแลว คณุ นามก็ดี กิริยากด็ ี ของนามนามเหลานนั้ ตอ งใชเปนพหวุ จนะ, เมือ่ เปนเชน นี้

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 154 ประโยค ข. จงึ ผดิ ควรแกเ ปน อาวุโส มหากสฺสโป จ อปุ าลิตฺเถโร จ อานนฺทตเฺ ถโร จ ปมสงคฺ ตี ยิ  ปาโมกขฺ า อเหส.ุ [ ๒๔๗๕ ]. ถ. การคนหาธาตุในศัพทกิรยิ าอาขยาตน้ัน ทานแนะนาํ ใหท าํ อยางไร จึงจะทราบวา เปนธาตุนนั้ ธาตุนไี้ ด ? ต.ทา นแนะนําใหแยก วภิ ตั ติ ปจ จยั ที่ประกอบอยูก ับศพั ทน นั้ ออก ถามอี ปุ สคั หรือนิบาตนําหนา, หรอื ส อิ อาคม ในวิภตั ติบาง หมวด ก็ใหแยกออกเสยี เมอื่ แยกส่ิงเหลา นน้ั ออกหมดแลว ทเี่ หลือ ก็จดั วาเปน ธาตุ เชน อทาสิ แยก อ บทหนา ส อาคม อี วิภตั ติ อ ปจจัย ออกแลว คงเหลอื แต ทา กท็ ราบวา ทา ธาตุ ดงั นี้ เปนตน น้ีกลาวตามท่ีเปนไปโดยมากท่เี ปนสามัญ แตที่เปนวิสามญั แมจะแยกเคร่อื งประกอบออกหมดแลว ก็ยังทราบไมไดว า เปนธาตุ อะไร เชน ปสสฺ ติ แยก ติ วภิ ตั ติ และ อ ปจ จยั ออกแลว เหลอื แต ปสสฺ จะวาเปน ปสฺส ธาตุ กไ็ มถ กู ทถ่ี ูกเปน ทิสฺ ธาตุ เพราะ แปลง ทิสฺ เปน ปสฺส, อาคจฺฉติ แยก อา อปุ สคั ติ วิภตั ติ อ ปจ จัย ออกแลว เหลอื คจฉฺ จะวา เปน คจฺฉ ธาตุ กไ็ มถกู ทถ่ี กู เปน คมฺ ธาตุ เพราะแปลง คมฺ เปน คจฺฉ, ธาตพุ วกทไ่ี มแ ปลงเชนนี้ ยากทจ่ี ะ ทราบไดแนน อนวาเปนธาตอุ ะไร ตองอาศยั การคนควา นดูตําราหรือได รับคําอธิบายจากผูรู จงึ จะถอื เอาเปน แนนอนได. [ อ. น.]. ถ. กิริยาอาขยาตนั้น ทา นนิยมใหเรียงไวใ นท่ีอยา งไร ? ขอ อทุ าหรณดว ย. ต. ตามปกติ นิยมเรยี งไวส ดุ ประโยค เชน อาจริโย สิสเฺ ส

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 155 อนุสาสติ, แตถ าเปนประโยคคาํ ถาม ซึ่งศพั ทก ริ ยิ านน้ั จะตองใช หางเสยี งเปนคาํ ถาม และประโยคท่เี ปน คําเตอื น นิยมเรยี งกริ ิยา อาขยาตไวต นประโยค เชน [ คําถาม] อตฺถิ ปนายสมฺ โต โกจิ เวยยฺ าวจฺจกโร, [ คําเตือน ] สณุ าตุ เม ภนเฺ ต สงฺโฆ เปนตน. [ อ. น. ] ถ. หมวดธาตไุ หนบาง ซ่ึงใชปจ จยั ในกัตตุวาจกประจําหมวด ของตนติดไปในวาจกอ่ืนได ? จงแสดงพรอมดวยอทุ าหรณ. ต. มีอยู ๔ หมวดคอื รุธ,ฺ ทวิ ,ฺ ก,ี คห,ฺ ธาตุ ๔ หมวดน้ี ใชปจจัยในกตั ตวุ าจกประจําหมวดของตนตดิ ไปในวาจกอืน่ ได. หมวด รุธฺ ธาตุ ตดิ ไปในวาจกทัง้ ๔ ได เชน รนุ ธฺ ยิ เต กมั ม. และภาว. รนุ ฺธาเปติ เหตกุ ตั ตุ. รนุ ธฺ าปยเต เหตุกมั ม. หมวด ทวิ ฺ และ กี ธาตุ ติดไปในเหตกุ ตั ต.ุ และเหตกุ มั . ได เชน ทพิ ฺพเปติ กีนาเปติ เหตุกัตต. ทพิ พฺ าปย เต กนี าปย เต เหตกุ ัมม. หมวด คหฺ ธาตุ ตดิ ไปในเหตกุ ตั ต.ุ และเหตุกมม. ได เชน คณฺหาเปติ เหตุกตั ตุ. คณฺหาปยเต เหตกุ มั ม. [ อ. น.]

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 156 [ กติ ก ] ถ. ศัพทเ ชนไร เรียกวาศพั ทก ิตก ? กิตกแบงเปนก่อี ยา ง ? อะไรบาง ? ต. ศพั ทท ่ีประกอบดวยปจ จยั หมูหนงึ่ ซง่ึ เปน เครือ่ งกําหนด หมายเน้ือความของนามศัพทและกริ ิยาศัพทท ต่ี า ง ๆ กนั เรียกวา ศพั ทกิตก, กติ กแบง เปน ๒ คอื นามกติ ก ๑ กิริยากติ ก ๑. [ อ. น. ] ถ. กิตกก ด็ ี อาขยาตก็ดี ลว นมีธาตุเปนทตี่ ้ังทั้งสน้ิ เมือ่ เปน เชนนี้ จะมีตางกันอยา งไรบาง ? จงแสดงใหไดความชัด. ต. จริงอยู ศัพททั้ง ๒ ประเภทนั้น ลวนมธี าตุเปนทีต่ ั้งเหมอื น กัน ถงึ ดังน้นั กม็ ีตางกันบา ง คอื กติ ก เม่อื ประกอบปจ จยั แลว ก็แจกตามวภิ ัตติทัง้ ๗ ในนาม เวนแตศัพททปี่ ระกอบกบั อพั ยยปจจัย ๕ ตวั คอื เตวฺ ตุ ตูน ตฺวา ตฺวาน เม่ือประกอบกบั ปจ จัยตัวใด ตัวหน่ึงในปจจยั ๕ ตวั นี้แลว เปนแลว กัน จะนําไปแจกตามวิภัตติ ทง้ั ๗ ไมได และกติ กไ มมบี ทและบุรุษ, สวนอาขยาตนนั้ เมอื่ ประกอบ กับปจ จัยเสร็จแลว กแ็ จกตามวิภตั ติอาขยาต จะแจกตามวภิ ัตตินาม ไมไ ด. [ อ. น.]. [ นามกิตต ] ถ. นามกิตกก ับกริ ยิ ากติ ก ตางกนั อยา งไร ? จงแสดงอทุ าหรณ. ต. นามกติ ก เปนนามนามและคุณนาม จัดเปนสาธนะ มี ปจจยั เปน เคร่อื งหมายสาธนะนั้น ๆ, กริ ิยากิตก เปนกริ ิยาประกอบ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 157 ดว ยวภิ ัตติ วจนะ กาล ธาตุ วาจก ปจ จัย เหมือนในอาขยาต ตา งแต ไมมีบทและบรุ ษุ เทาน้ัน, นามกติ ก อทุ าหรณ เชน ทายโก ทายก ทุกฺกร กรรมอันทาํ ไดโดยมาก, กริ ยิ ากิตก อทุ าหรณ เชน ิโต ยืนแลว, คโต ไปแลว. [ ๒๔๕๘ ]. ถ. นามกติ ก เปนนามนามอยางเดยี ว หรือเปน นามอื่นกไ็ ด ? ถา เปนได จงแสดงตัวอยางมาประกอบ. ต. เปนนามอน่ื ก็ได คือ เปน ไดท้ังนามนาม ทงั้ คณุ นาม, นามนามนนั้ เชน ปาโก ความหุง, คมน ความไป, นสิ ที น การนัง่ , สยน การนอน เปนตน , คณุ นาม เชน อุรโค ผูไปดว ยอก [งู ], ทายโก ผใู ห, ธมฺมวาที ผกู ลา วธรรมโดยปกติ เปน ตน . [ อ.น. ]. ถ. ศัพทน ามกติ กท ่ีเปนนามนามและคณุ นามนนั้ เหมือนกันกับ นามนามและคณุ นามในนามศพั ทท ง้ั ๓ หรือตา งกันอยา งไร ? ต. ตา งกนั คอื นามนามในนามกติ ก เปน ศพั ทท่ีปรงุ ข้นึ จาก ธาตุ สาํ เร็จรูปมาแตว ิเคราะห มปี จ จยั ประกอบ เปน เคร่อื งหมาย สาธนะ แลวใชไดต ามลําพงั ตนเอง มติ อ งมบี ทอ่นื เปนประธาน เชน คมน ความไป, ภุ ชฺ น การกนิ เปน ตน เรยี กวา กริ ยิ านาม. สวน นามนามในนามศพั ทน นั้ เปนนามนามแท คือ เปนนามนามโดย กําเนดิ มิไดป รุงข้นึ จากธาตุ เชน รกุ โฺ ข ตน ไม, ปุพฺพโต ภเู ขา เปนตน , สวนคณุ นามในนามกิตก กป็ รงุ ขึ้นจากธาตุ สําเร็จมาแต รปู วิเคราะห มีปจ จัยประกอบ เปนเครอ่ื งหมายสาธนะ มบี ทอน่ื เปน ประธาน เชน ทายโก [ บคุ คล] ผใู ห สาวโก [ ภิกษุ ] ผฟู ง

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนาที่ 158 เปน ตน , สวนคุณนามในนามศัพท เปนคุณนามแท เปน คุณนาม โดยกําเนิด ไมม ีปจ จยั ประกอบ ไมไดห มายสาธนะ เชน นลี  เขยี ว สุนฺทร ดี เปน ตน . [ อ. น.]. [ สาธนะ ] ถ. อะไรเรียกวา สาธนะ ? สาธนะมีเทา ไร ? อะไรบาง ? ต. ศัพทท สี่ าํ เร็จมาจากรูปวเิ คราะห ลงปจจัยนามกิตกต วั ใด ตวั หน่ึง เรียกวา สาธนะ, สาธนะมี ๗ คอื กตั ตุสาธนะ กัมม- สาธนะ ภาวสาธนะ กรณสาธนะ สัมปทานสาธนะ อปาทานสาธนะ อธกิ รณสาธนะ. [ อ. น. ]. ถ. สาธนะทั้ง ๗ ตางกันอยา งไร ? และสาธนะไหนทานบัญญตั ิ ใหแ ปลวา กระไร ? ต. ตา งกันดงั นี้ : กตั ตุสาธนะ เปน ศพั ทแ สดงชื่อผูทํา คือผู ประกอบกิรยิ า เชน กมุ ฺภกาโร ผูทาํ ซึ่งหมอ เปนตน , สาธนะนี้ ทานบญั ญัติใหแ ปลวา ผู. ..ถา ลงในอรรถแหงตัสสีล ใหแ ปลวา ผ.ู ..โดยปกติ หรอื ผู..... เปน ปกติ. กัมมสาธนะ เปน ศพั ทแสดงผูถูกคนอ่ืนทาํ เชน ปโ ย เปนทีร่ ัก ทาน [ วตั ถุ ] อนั เขาพงึ ใหเ ปนตน, สาธนะน้ี ทา นบญั ญัตใิ หแ ปลวา เปน...อยา ง ๑, อนั เขา....อยาง ๑. ภาวสาธนะ เปนศพั ทแสดงกิรยิ า คอื ความทาํ ของบคุ คลผูทาํ เชน าน ความยนื , คมน ความไป, นสิ ชฺชา การนง่ั , เปน ตน สาธนะนี้ ทานบัญญตั ิใหแ ปลวา ความ... อนั ....การ....

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 159 กรณสาธนะ เปน ศพั ทแ สดงวัตถซุ ง่ึ เปน เคร่ืองมอื สําหรับทาํ เชน พนฺธน [ วัตถุ ] เคร่อื งผกู [ มีเชอื กและโซงเปน ตน ] สาธนะน้ี ทา นบัญญตั ิใหแปลวา เปนเหต.ุ ...เปน เคร่อื ง.....เปนเครือ่ งอนั เขา... สมั ปทานสาธนะ เปนศพั ทแสดงช่ือผทู ี่เขามอบให คอื ผรู บั เชน สมปฺ ทาน [ วตั ถุ ] เปน ท่ีมอบให เปนตน , สาธนะ ทานบัญญตั ิ ใหแปลวา เปนที่... เปน ทอี่ นั เขา... อปาทานสาธนะ เปนศพั ทแ สดงสถานที่ ๆ ไปปราศ หรอื บคุ คล ผไู ปปราศ เชน ปภสสฺ โร แดนซา นออกแหงรัศมี [ ไดแ กเทวดา พวกหนึ่ง] ปภโว แดนเกิดกอน [ ทน่ี าํ้ ตก ] ภโี ม แดนกลวั [ ยกั ษ ] สาธนะนี้ ทานบญั ญตั ิใหแปลวา เปนแดน... อธกิ รณสาธนะ เปน ศพั ทแ สดงสถานที่ หรือเปนชอ่ื ของสถาน ที่ เชน าน ท่ตี ั้ง ทีย่ นื , สยน ท่นี อน เปนตน , สาธนะน้ี ทาน บญั ญตั ใิ หแปลวา เปน ท.ี่ .. เปนทอ่ี ันเขา... [ อ. น. ]. ถ. ในสาธนะท้ัง ๗ นี้ สาธนะไหนบา ง ท่ีใชม าก ? ต. กตั ตสุ าธนะ กมั มสาธนะ ภาวสาธนะ กรณสาธนะ อธ-ิ กรณสาธนะ ๕ สาธนะนใ้ี ชม าก สวนสมั ปทานสาธนะและอปาทาน- สาธนะใชนอ ย. [ อ. น. ]. ถ. เหตุไร สาธนะทั้ง ๒ น้ี จงึ ใชนอย ? จงอธบิ ายใหกระจาง. ต. เพราะสาธนะท้ัง ๒ นี้ ใชไ ดแตใ นธาตุบางตวั ไมทว่ั ไป สมั ปทานสาธนะ ใชไดแตธาตุทเี่ ปนไปความให ยืน่ ให สงไป

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 160 ประทษุ ราย เชน ทา เปสฺ ทุสฺ ธาตุ เปนตน เพราะเม่ือเวลาต้ัง วิเคราะหแหงสาธนะน้ี ตอ งประกอบสัพพนามเปนจตุตถีวิภัตติ ซง่ึ แปลวา แก เพือ่ ตอ , สาธนะนี้ ใชกมั มธาตเุ ปนพ้ืน, สวนอปาทาน สาธนะ ใชไ ดแ ตธ าตทุ ่ีเปนไปในความซาน ความเกดิ ความออกไป เชน สรฺ ภู ชา นิก-ฺ ขมฺ ธาตุ เปน ตน เพราะเวลาตั้งวิเคราะห แหงสาธนะน้ี ตอ งประกอบสพั พนามเปนปญ จมวี ภิ ัตติ ซึ่งแปลวา แต, จาก, กวา, เหตุ, สาธนะนใ้ี ชอกมั มธาตเุ ปน พนื้ เพราะฉะนัน้ สาธานะท้ัง ๒ นี้จงึ ใชนอ ย. [ อ. น. ]. ถ. สาธนะทงั้ ๕ นอกจากสาธนะท้งั ๒ ทกี่ ลาวแลว ใชไ ดใ น ธาตุเชน ไรบา ง ? ต. กมั มสาธนะ ใชไดในสกมั มธาตอุ ยางเดยี ว, ๔ สาธนะ ใช ไดในธาตุท้งั ปวง ทัง้ สกัมมธาตุ ท้งั อกัมมธาตุ ตามความทีอ่ ํานวย ใหเปน. [อ. น.]. ถ. คําวา สาธนะ ทานใหส ําเรจ็ รปู มาแตรปู วเิ คราะหนนั้ อยา งไร ? อธบิ าย. ต. คําวา สาธนะ นัน้ เปนชือ่ ของศัพทที่สาํ เรจ็ แลว บรรดา ศัพทซ ง่ึ เปน นามกติ กทัง้ หมด กาํ หนดรไู ดวาเปน สาธนะนั้น สาธนะนี้ กต็ อ งอาศยั รูปวิเคราะห ซึง่ เปน เคร่อื งแสดงใหร ไู ด เพราะสาธนะ ท้ัง ๗ ตางมรี ปู วเิ คราะหละอยา ง ๆ เพือ่ แสดงความวาเปนชอื่ ของ ผทู ํา หรือของสิ่งทถ่ี ูกทํา เปนตน เหมือนศพั ท คือ กมฺมกาโร นี้ เปน กัตตุสาธนะ สาํ เรจ็ มาแตวิเคราะหวา กมฺม กโรติ ซึง่ แสดงให

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 161 เหน็ วา สาธนะนน้ั เปน ชือ่ ของผทู าํ ดังน้ี. [ ๒๔๖๖ ]. ถ. สาธนะทง้ั หมด อยางไหนใชในอกมั มธาตอุ ยา งเดียว ? อยางไหนใชในสกมั มธาตอุ ยา งเดยี ว ? อยา งไหนใชในธาตทุ ้งั ๒ ? ต. อปาทานสาธนะ ใชอกัมมธาตุอยางเดยี ว, กมั มสาธนะ และสมั มทานสาธนะ ใชสกมั มธาตอุ ยางเดยี ว , ๔ สาธนะนอกนนั้ ใชไดใ นธาตุท้งั ๒. [ อ. น. ]. ถ. สาธนะท้งั ๗ นน้ั สาธนะไหนเปน นาม ? สาธนะไหนเปน คุณ ? ทาํ ไมจึงมีถึง ๗ ? และเปนสําคัญอยา งไรบาง ? ต. ภาวสาธนะ เปน นาม, นอกนั้นเปน คณุ , ทมี่ ีถงึ ๗ เพราะ อนุโลมตามวิธใี ชใ นภาษา, เปน สาํ คัญในการพูดและการแตงหนงั สือ ในภาษามคธ เพราะผูไมรูสาธนะแลว อาจพูดและแตงผดิ ทาํ ให ผูฟ งผูศกึ ษาเขาใจความผิดได เชน ชอ นหรือจาน ควรจะเรียก วาเปน เคร่ืองกิน แตก ลบั เรียกวา ที่กนิ หรือ การกนิ เชน นเี้ ปน ตน ยอ มทาํ ใหค วามเสยี ไป. สวนภาษามคธ เชน สี ธาตุ แปลวา นอน ถา หมายความถึงสถานท่ี แปลวา เปน ทน่ี อน ก็ควรประกอบวา สยน แตกลบั ประกอบเปนอยา งอื่นเสยี เชน ประกอบเปน สายโก เชน นี้ จะแปลวา ท่นี อน ไมได เพราะใชเคร่อื งหมายผิดไป จะตอ ง แปลวา ผนู อน เปนกัตตสุ าธนะเปนแน สาธนะเปน สาํ คัญในการพดู การแตง ดงั นี้ . [ อ. น.]. ถ. คาํ วา รูป ไดแ กอ ะไร? และรปู นัน้ แบงเปน กีอ่ ยา ง ? อะไรบา ง ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 162 ต. รปู ไดแกวาจก แบงเปน ๓ คอื กตั ตรุ ปู กัมมรูป ภาวรูป. [ อ. น.]. ถ. ที่จะทราบวา เปนรปู น้ันรปู นไี้ ด ถอื อะไรเปนหลัก ? ต. ถือ วาจก คอื ศพั ทก ิรยิ าในวเิ คราะหเปนหลัก รปู วิเคราะห ใด เปน กัตตวุ าจกกด็ ี เหตกุ ัตตวุ าจกด็ ี รปู วเิ คราะหน ้ัน จดั เปน กตั ตรุ ปู , รูปวิเคราะหใ ด เปน กมั มวาจกกด็ ี เปน เหตุกัมมวาจาก็ดี รปู วิเคราะหนั้น จดั เปน กัมมรูป, รปู วิเคราะหใ ด เปน ภาววาจก รูปวิเคราะหนัน้ จดั เปนภาวรูป. [ อ. น. ]. ถ. สาธนะทั้ง ๗ นัน้ สาธนะไหน เปนไดกีร่ ปู ? รปู อะไร ? ต. กตั ตสุ าธนะ และ อปาทานสาธนะ เปนกัตตรุ อู ยางเดียว, ภาวสาธนะ เปนภาวรปู อยา งเดยี ว, ๔ สาธนะนอกนี้ เปน ไดทัง้ ๒ คือ กัตตรุ ปู และ กัมมรปู . [ อ. น. ]. ถ. สาธนะทีจ่ ะสําเร็จได ตองอาศยั ธาตเุ ปน ท่ีตัง้ อยากทราบ วา สกมั มธาตุ และ อกัมมธาตุ อยา งไหนเปนสาธนะอะไรไดบาง ? และเปน รูปวิเคราะหไดกีร่ ปู ? ต. สกมั มธาตุ เปน ได ๖ สาธนะ ยกอปาทานสาธนะเสยี เปน รูปวเิ คราะหไดท ้ัง ๓ รปู , อกัมมธาตุ เปน ได ๖ สาธนะ ยกกมั ม- สาธนะเสยี เปน รปู วเิ คราะหไ ด ๒ รปู ยกกัมมรปู เสยี [ ทีว่ านเี้ ฉพาะ เปนไปโดยมาก ] แตควรถอื เน้อื ความของศพั ทเปนสาํ คัญ คอื แลว แตเ น้อื ความของศัพทจะหมุนใหเปนไปได. [อ. น. ]. ถ. รปู วเิ คราะหท ้งั ๓ นัน้ อยางไหนใชหมายสาธนะอะไรไดบ า ง

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 163 ต. กตั ตุรูป ใชหมายสาธนะได ๖ ยกภาวสาธนะเสีย, กัมมรูป ใชห มายสาธนะได ๔ คือ กมั มสาธนะ กรณสาธนะ สมั ปทานสาธนะ อธิกรณสาธน, ภาวรปู ใชห มายสาธนะได ๑ คือ ภาวสาธนะ. [ ปจจัยนามกติ ก ] ถ. เราจะทราบสาธนะไดแ มนยํา ตองอาศยั อะไรเปนหลกั ? ต. ตอ งอาศยั ปจจัย และเนอื้ ความของสาธนะนั้น ๆ เปนหลกั . [ อ. น. ]. ถ. ปจจัยนามกติ ก มเี ทา ไร ? แบงเปนหมวดหมูอยางไร บา ง ? จงแสดง. และหมวดหมไู หนเปน เคร่อื งหมายรูปและสาธนะ วเิ คราะหและสาธนะอะไร? ต. มี ๑๔ ตัว แบง เปน ๓ หมู คือ กิตปจ จัย ๔ ตัว กฺวิ ณี ณฺวุ ตุ ร,ู กิจจปจจัย ๒ ตัว ข ณฺย, กติ กิจจปจจัย ๗ ตัว อ อิ ณ เตฺว ติ ตุ ย.ุ กิตปจจัย เปน เครอ่ื งหมาย กัตตรุ ปู กตั ตุสาธนะ. กจิ จปจ จยั เปนเครือ่ งหมาย กมั มรปู และภาวรูป กมั มสาธนะ และภาวสาธนะ. กิตกจิ จปจ จจยั เปน เครอ่ื งหมาย รูปและสาธนะไดท ง้ั หมด แลว แตเ นอ้ื ความจะอํานวยใหเปนได. [ อ. น.]. ถ. ปจ จยั ในนามกติ ก นยิ มลงในนามหรอื คุณ ? หรือนยิ มใน ศพั ทอะไร เมอ่ื ลงสําเรจ็ แลว เปนศพั ทพวกไหน ?

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 164 ต. จะลงในศพั ทน ามหรอื คณุ ไมได ตอ งลงไดแตที่ธาตุอยา ง เดียว เม่ือลงสาํ เรจ็ แลว เปน นามบา ง คณุ บา ง. [อ. น. ]. ถ. ทา นหมายประโยชนอยา งไร ทแี่ บง ปจ จัยในกติ กเปน ๓ แผนก ซ่ึงเรียกช่ือเหมือน ๆ กัน ทงั้ ในนามกิตกแ ละกิริยากิตก ? จงอธบิ าย. ต. ทาน หมายประโยชนท ีจ่ ะใหอาศัยเปน เครอ่ื งกําหนดประเภท ของนามกิตก และ กริ ยิ ากติ กน นั้ คือ ในนามกติ กเปนเครือ่ งกําหนด รูปแหงสาธนะวา ศพั ทท ่ีประกอบปจจยั แผนกน้นั มรี ปู อยา งน้ันได มรี ปู อยา งนไ้ี มได คอื กตั ปจจัย เปน ไดแตกตั ตรุ ูปอยา งเดยี ส, กจิ จปจ จยั เปน ไดแต กัมมรูป และภาวรูป, กิตกจิ จปจ จัย เปน ไดทั้ง ๓ รปู . ในกิรยิ ากติ ก เปนเครอ่ื งกาํ หนดวาจก โดยอาการ คลา ยกันกบั ปจจยั ในนามกติ ก ซึ่งเปนเครอื่ งกําหนดหมายรูป คือ กติ ปจจยั เปนไดแก กัตตุวาจก และ เหตกุ ัตตุวาจก. กิจจปจ จัย เปนไดแ ต กัมมวาจก และภาววาจก และ เหตกุ ัมมวาจก, กิตกิจจ- ปจจัย เปน ไดท งั้ ๕ วาจก. [ ๒๔๖๒-๒๔๗๑ ]. ถ. ปจจัยอะไรบาง สําหรับประกอบกบั ศัพททเ่ี ปน กัตตุสาธนะ กัมมสาธนะ และ ภาวาธนะ ? ต. กติ ปจ จัย คือ กวฺ ิ ณี ณวฺ ุ ตุ รู สําหรับประกอบกับศัพท ที่เปน กัตตสุ าธนะ, กจิ จปจจัย คือ ข ณยฺ สาํ หรบั ประกอบศพั ท ทีเ่ ปน กัมมสาธนะ และ ภาวสาธนะ, กิตกิจจปจ จัย คอื อ อิ ณ เตฺว ติ ตุ ยุ สําหรบั ประกอบศพั ทท ีเ่ ปน ภาวสาธนะ. [ ๒๔๖๓ ] .

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 165 ถ. การทจ่ี ัดปจจัยนามกิตกเ ปนหมวด ๆ นน้ั มปี ระโยชน อยางไร ? ต. มปี ระโยชน คือ ทําความฟนเฝอ ของผูศ กึ ษาใหน อยลงใน เร่อื งวนิ ิจฉัยสาธนะ กลา วส้นั กค็ ือ ทาํ ใหจ าํ หรือสังเกตสาธนะไดง าย. [ อ. น. ]. ถ. ปจจยั ในนามกติ ก เมือ่ ลงแลว แจกดว ยวภิ ตั ตินามไดหมด หรอื ไม ? ถาแจกไดห มดกแ็ ลวไป ถา แจกไมไดหมด ปจจัยอะไร บา งที่แจกไมได ? และจะนาํ มาใชใ นขอความไดอยางไร ? ต. แจกไมไ ดห มด เพราะ เตฺว และตุ ปจ จยั เปนอพั ยยะ แจก ดว ยวภิ ตั ตนิ ามไมได เมอ่ื นํามาใชใ นขอ ความ เตฺว ปจจยั เปนเครอ่ื ง หมาย จตตุ ถวี ภิ ัตติ, ตุ ปจ จัย เปนเครื่องหมาย ปฐมาและจตุ ตถี- วิภัตติ นอกจากน้ี แจกไดท ัง้ หมด. [ ๒๔๖๐-๒๔๗๘ ]. ถ. ศพั ทนามกิตกนั้น ถา มศี ัพทอ ่ืนท่ีเกย่ี วเปนกรรมเขามา จะ มีวธิ ใี ชศัพทน น้ั อยา งไร ? มอี ทุ าหรณเชนไร ? ต. มีวธิ ใี ชศ พั ทน นั้ เปน ฉฏั ฐีวิภตั ติ แทน ทตุ ยิ าวภิ ตั ติ. อุทา- หรณ เชน ปุ ฺ สสฺ กรณ, อรยิ สจจฺ าน ทสฺสน. [ ๒๔๖๓ ]. ถ. อาํ นาจของปจจัยอะไรบา ง อาจบงั คบั ฉัฏฐีลงในอรรถแหง ทตุ ิยา ? จงบรรยายพรอ มทัง้ อทุ าหรณ. ต. วาตามวากยสมั พันธ ปจ จยั ในนามกิตกท ั้งหมด เวนแต ตุ ตัวเดียวเทานั้น มอี าํ นาจอาจบงั คับฉัฏฐีลงในอรรถแหง ทุตยิ าไดทกุ ตวั เชน จติ ตฺ สสฺ ทมโถ สาธ,ุ ปตุ ฺตทารสฺส สงคฺ โห, ภวิสสฺ นตฺ ิ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 166 ธมฺมสฺส อฺ าตาโร เปน ตัวอยา ง, แตต ามหลกั ทใี่ ชอ ยโู ดยมาก ทา นกาํ หนดไวเพยี ง ๓ ตัว คือ ณฺวุ ตุ ยุ และลักษณะแหงศัพททีใ่ ช โดยมาก กม็ กั เปนไปตามนี.้ [ ๒๔๗๑]. ถ. ปจจัยตัวไหนบา ง ลงในอรรถแหง ตัสสีลได ? ขอตวั อยา ง ดว ย ต. ณี ตุ รู ยุ ปจ จยั ๔ ตวั น้ี ลงในอรรถแหงตัสสลี ได. ณี ปจจยั เชน ธมฺม วทติ สเี ลนาติ ธมฺมวาที, ตุ ปจจัย เชน กโรติ สเี ลนาติ กตตฺ า, รปู ปจ จยั เชน วชิ านาติ สเี ลนาติ วิ ฺ,ู ยุ ปจ จัย เชน กุฺฌติ สเี ลนาติ โกธโน. [อ. น. ]. ถ. ณ ข กวฺ ิ ปจ จัย เมือ่ ประกอบกับธาตุแลว ตองลบ จักรวู า ศพั ทนน้ั ลงปจ จยั นั้นไดอ ยางไร ? ต. จักรไู ดเปน สวน ๆ ตามธรรมดาของปจจยั คือ อทุ าหรณ ที่ประกอบดวย ณ ปจจัย ถาพยญั ชนะตนธาตุเปนรัสสะลวน มใิ ช ทฆี ะ หรอื มพี ยัญชนะสงั โยคอยูเบอ้ื งหลัง ตองพฤทธสิ ระทีส่ ุด คอื อ ตองเปน อา, อิ ตองเปน เอ, อุ ตอ งเปน โอ. เชน กมมฺ กาโร [ กมฺม+กฺร ] ปเวโส [ ป+วิสฺ ] โจโร [ จรุ ฺ ] เปนตน. อทุ าหรณ ทป่ี ระกอบดว ย ข ปจจยั ตอ งเปน ศพั ทท ีม่ ี อสี ทุ สุ อยูตน ธาตุ เชน อีสสสฺ โย ทุรกฺข สุกร เปน ตน , อทุ าหรณท ป่ี ระกอบดวย กฺวิ ปจ จยั ถา เปนธาตตุ ้ังแต ๒ ตวั ข้ึนไป มักมบี ทหนา และตองลบทส่ี ุดธาตุ เชน อุรโค [ อรุ +คม]ฺ ถา เปน ธาตตุ ัวเดียว มกั มอี ปุ สคั หรือนบิ าตนําหนา เชน สยมภฺ ู [สย+ภ]ู อภภิ ู [ อภ+ิ ภู ] เปนตน . [ ๒๔๖๗ - ๒๔๘๒ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 167 ถ. ณฺย ปจ จัย ในภาวตัทธติ และในนามกิตก มวี ธิ ีตา งกัน อยา งไร ? ต. ในภาวตัทธิต ทานใชลงทีศ่ ัพทนามบาง กิริยาบาง เปน เคร่อื งหมายแทนภาวศัพท เมอ่ื ลงแลว ทา นใหลบ ณ เสยี เหลอื ไวแ ต ย, ลบ อ สระที่สดุ ศพั ทห นา เสียแลว เอาพยัญชนะทส่ี ุดศัพท ซงึ่ มสี ระอันลบเสยี แลว น้นั กับ ย อาเทศตามรปู ทอ่ี าจเปนไดต าง ๆ หรือแปลงเหมือนพยญั ชนะหนา ย ทั้ง ๒ ตัวบาง, คง ย ไวไ มอ าเทศ บาง. ในนามกิตก ทา นใชล งท่ธี าตุ เปน เครอื่ งหมายกัมมสาธนะ และภาวสาธนะ ลงแลวลบ ณ เสยี เหลอื ไวแต ย แลวอาเทศกับ ท่ีสุดธาตบุ า ง, คง ย ไวไมต องมวี ิธอี ยางอืน่ บาง, คง ย ไวแ ลว ซอ น ย หรอื มีวิธอี ยางอ่ืนบาง, ไมลบ ณ แตอ าเทศ ณฺย นัน้ บา ง. [ ๒๔๗๗ ]. ถ. ปจจยั ตวั ไหนบาง เม่อื ลงสําเร็จเปน สาธนะแลว ไมปรากฏ รูปรา ง ๆ ของตัวอยางดวย. ต. กวฺ ิ ณ อ ข ปจ จัย เมื่อลงสาํ เร็จเปน สาธนะแลว ไมป รากฏ รปู รา ง กฺวิ ปจจัย เชน อุรโค เปน ตน. ณ ปจจยั เชน กมฺมกาโก เปนตน . อ ปจ จัย เชน หิตกกฺ โร เปน ตน. ข ปจ จัย เชน สุภโร เปน ตน. [ อ. น. ]. ถ. ปจจัยตวั ไหนบา ง เม่อื ลงธาตุแลว นยิ มใหล บพยัญชนะ ท่สี ดุ ธาตุ ? จงอางอุทาหรณมาใหดดู ว ย.

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 168 ต. กวฺ ิ ตุ ติ เตวฺ ตุ ปจจัย, เม่อื ลงทธี่ าตแุ ลว นยิ มใหลบ พยัญชนะทส่ี ุดธาตุ, กฺวิ ปจจยั เชน สงโฺ ข เปนตน, ตุ ปจ จัย เชน กตฺตา เปน ตน, ติ ปจจัย เชน มติ เปน ตน , เตฺว ปจจยั เชน กาเตวฺ เปน ตน, ตุ ปจ จัย เชน กาตุ เปนตน, สวน รู ปจ จัย ลบท่สี ดุ ธาตุ กไ็ ด เชน ปารคู เปน ตน , ไมลบทส่ี ดุ ธาตุก็ได แตตองรัสสะ อู เปน อุ เชน ภกิ ขฺ ุ เปน ตน . [ อ. น. ]. ถ. กิตปจจัย เมื่อประกอบกับธาตสุ ําเรจ็ เปน สาธนะแลว จะ สงั เกตรไู ดอยางไรวา ศัพทไหนลงปจจัยอะไร ? ต. สงั เกตรูไดด ังน้ี :- กฺวิ ปจ จัย เมอ่ื ลงทธ่ี าตุ ซึ่งมพี ยัญชนะ ๒ ตัว มพี ยัญชนะเปน ท่ีสุด เชน คมฺ เมอ่ื ลงแลว ตองลบพยัญชนะทส่ี ุดธาตุ คงไวแต พยญั ชนะตนธาตตุ วั เดยี ว เชน อรุ โค เปน ตน, ถา ลงทีธ่ าตพุ ยัญชนะ ตัวเดียว ไมต อ งลบ คงไวตามเดิม เชน ภู ธาตุ สาํ เร็จเปน สยมฺภู เปนตน, กฺวิ ปจ จยั เม่ือลงแลว ตองลบ และธาตทุ ี่ลง กวฺ ปิ จ จยั น้ี ตอ งมีบทอ่นื นําหนา เสมอ แตไมนิยมลงในอรรถแหงตัสสลี . ณี ปจจัย เมอ่ื ลงทีธ่ าตแุ ลวตอ งลบ ณ เสยี เหลอื ไวแ ตสระ ท่ี ณ อาศยั ถา ตน ธาตเุ ปนรัสสะ ไมมีพยญั ชนะสังโยคอยูเ บือ้ งหลัง ตอ งพฤทธิ เหมือนในตัทธติ คอื ทีฆะ อ เปน อา, วกิ าร อิ เปน เอ, อุ เปน โอ, นยิ มลงในอรรถแหง ตสั สีล ซึง่ แปลวา ปกติ และนิยม การมีบทอน่ื นาํ หนาเสมอ แตไมน ิยมลงในอรระแหง ตัสสีล. ณี ปจจัย เมื่อลงท่ธี าตแุ ลว ตองลบ ณ เสยี เหลือไวแตส ระ ท่ี ณ อาศัย ถาตนธาตเุ ปนรสั สะ ไมม พี ยญั ชนะสงั โยคอยเู บอ้ื งหลงั ตองพฤทธิ เหมอื นในตทั ธติ คือ ทฆี ะ อ เปน อา, วกิ าร อิ เปน เอ, อุ เปน โอ, นยิ มลงในอรรถแหง ตัสสีล ซึง่ แปลวา ปกติ และนิยม การมีบทอนื่ นาํ หนาเหมอื นกนั กฺวิ ปจ จยั แตเ ม่อื ลงปจจยั แลวไมต องลบ

ท่สี ดุ ธาตุ เชน ธมมฺ จารี ปาปการี เปน ตน . ถา ลงที่ธาตมุ พี ยญั ชนะ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 169 ตัวเดียว มี อา เปน ทส่ี ุด เชน ปา า ทา เปน ตน ทา นใหล ง ย ปจจัย หลงั ธาตุ เชน มชชปายี กมมฺ ฏ ายี อทนิ นฺ ทายี เปนตน ถา ลงทธี่ าตมุ ี อิ อี เปนทีส่ ุด เชน จิ สี ธาตเุ ปนตน ตองวกิ าร อิ อี เปน เอ, เอา เอ เปน อาย เชน วุฑฒฺ าปจายี ตองวิการ อุ อู เปน โอ, เอา โอ เปน อาว เชน ธมฺมสาวี เอวภาวี เปน ตน . ณวฺ ุ ปจจัย เมอื่ ลงทธ่ี าตุแลว ตอ งพฤทธิ เชนเดยี วกับท่ีกลา ว แลว ในตทั ธิต แลว เอา ณวฺ ุ เปน อก เชน อนสุ าโก เปนตน ถา ลงที่ธาตุ มีพยญั ชนะตวั เดียว มี อา เปน ท่สี ดุ ใหล ง ยุ ปจจยั หลัง ธาตุดว ย เชน ทายโก. ถา มี อิ อี อุ อ เปนที่สดุ ก็ตอ งพฤทธิและ แปลงสระอยางเดยี วกบั ณี ปจ จัย ทีก่ ลา วแลว ปจ จยั น้ี แปลกจาก ณี ปจจยั ก็คือ ไมน ยิ มลงในอรรถแหง ตสั สลี มบี ทอน่ื นาํ หนา กไ็ ด ไมนาํ หนาก็ได ท่ีแนนอนกค็ อื เอา ณวฺ ุ เปน อก เสมอไป. ตุ ปจจัย เม่ือลงท่ธี าตุมีพยญั ชนะ ๒ ตวั ตอ งลบพยัญชนะ ทสี่ ุดธาตุ คงไวแ ตพยญั ชนะตน ธาตุตัวเดียว และคง ตุ ปจจยั ไว แลว ซอน ต หนา ตุ ปจ จัย ทาํ ใหพ ยญั ชนะท่อี ยหู นา ตุ เปน ครุ เสมอ ไป เชน กรฺ ธาตุ เปน กตตฺ า , วทฺ ธาตุ เปน วตฺตา เปน ตน ถา พยญั ชนะท่ีสดุ ธาตเุ ปน น จะคง น ไวไมต องซอน ต กไ็ ด หรือจะ ลบ น แลวซอ น ต ก็ได ตามแตจะเห็นควร เชน หนฺ ธาตุ เปน หนตฺ า, ขนฺ ธาตุ เปน ขตฺตา เปน ตน , ถาลงทีธ่ าตุมีพยญั ชนะตัวเดยี ว ไมม ีวธิ เี ปล่ยี นแปลงอยางไร คงธาตคุ งปจ จัยไวตามเดมิ เชน ธา

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 170 ธาตุ เปน ธาตา, า ธาตุ เปน าตา เปนตน, ถา ธาตมุ ีสระเปน ลหุ ก็ตองทําเปน ครุ เชน สุ ธาตุ เปน โสตา เปนตน , สว นธาตุท่มี สี ระ เปน ครุ แลว จะคงตามเดิมหรอื จะวิการ อิ เปน เอ, อุ เปน โอ ก็ได ตามแตความนยิ ม ศัพททปี่ ระกอบดว ย ตุ ปจ จัย น้ี นิยมแจกตาม แบบ สตถฺ ุ เปนพ้ืน, อนง่ึ ปจจยั นี้ ลงในอรรถแหงตสั สลี ก็ได ไมล ง ก็ได ไมม ีจํากัด. รูป ปจจัย เมอ่ื ลงทีธ่ าตุแลว ตองลบ ร เหลอื ไวแ ตส ระที่ ร อาศยั ถา ลงที่ธาตมุ พี ยัญชนะ ๒ ตัวเปนรัสสะ ตอ งลบพยัญชนะตัว ทส่ี ุด เชน คมฺ ธาตุ เปน ปารคู เปนตน ถาธาตุมีพยัญชนะสังโยค อยเู บอ้ื งหลงั ไมต องลบพยญั ชนะทสี่ ดุ เปน แตรสั สะ อู เปน อุ เชน ภกิ ขฺ ธาตุ เปน ภิกฺขุ เปน ตน ถา ธาตุมีพยัญชนะตัวเดียว ตองลบ สระทธ่ี าตุ แลว ประกอบ อู เขา กบั ธาตุ เชน า ธาตุ เปน วิฺู เปนตน . ปจ จยั นี้ นิยมลงในอรรถแหง ตัสสีล แตจ ะมีบทอ่นื นําหนา ก็ได ไมมีก็ได ไมมีจาํ กัด. ปจ จยั ๕ ตวั เปนเครอ่ื งหมายกตั ตรุ ูป กตั ตุสาธนะ เม่อื สังเกต ดังกลาวมานี้ ยอ มทราบไดว า ศพั ทน ีล้ งปจ จยั น้นั ๆ ได. [ อ. น.]. ถ. กิจจปจจัย ๒ ตัว เมื่อลงแลว จะสงั เกตรูไดอยา งไร วา ศัพทนน้ั ๆ ลงปจจยั ๒ ตัวนี้ ? ต. รไู ดด งั นี้ คอื ปจ จัย ๒ ตัวน้ี เปนเครือ่ งหมายกมั มรูป กมั มสาธนะ และ ภาวรูป ภาวสาธนะ แตภาวรปู ภาวสาธนะ มีท่ใี ช นอย.

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 171 ข. ปจ จัย เม่ือลงแลว ตอ งลบเสยี เม่อื ลบแลว กไ็ มมีวิธี เปลยี่ นแปลง โดยมากศัพทท ่ลี งปจจยั นี้ มกั มี ทุ สุ ตวั ใดตวั หน่ึง นําหนา และนยิ มลงใน สกัมมธาตุ เปนพนื้ เชน ทกุ ฺกร [ กรรม] อันเขาทําไดโดยยาก, ทุรกขฺ  [ จติ ] อนั เขารกั ษาไดโ ดยยาก, สภุ โร [ บุตร ] อันเขาเล้ยี งไดโดยงา ย เปน ตน. ณยฺ ปจ จัย เมื่อลงแลว ลบ ณ เสยี เหลอื ไวแต ย แลว พฤทธเิ หมอื น ณ ปจ จัย ในตัทธิต หรือแปลงพยญั ชนะทส่ี ดุ ธาตุกบั ย เปน พยัญชนะตาง ๆ ดงั น้ี :- การิย กรฺ ธาตุ พฤทธิ อ เปน อา, อิ อาคม ลบ ณ. เนยฺย นี ธาตุ พฤทธิ อิ เปน เอ, ลบ ณ ซอ น ย. เทยยฺ  ทา ธาตุ ลบ อา เอา ณฺย เปน เอยฺย. วชชฺ  วทฺ ธาตุ ลบ ณ เอา ทฺ กบั ย เปน ชช. ทมโฺ ม ทมฺ ธาตุ ลบ ณ เอา มฺ กบั ย เปน มฺม. โยคคฺ  ยชุ ฺ ธาตุ ลบ ณ เอา ชฺ กบั ย เปน คคฺ . คารยฺห ครหฺ ธาตุ ลบ ณ แปร หฺ ไวเบ้อื งหลัง ย ไวเบื้องหนา. โพชฌฺ  ครหฺ ธาตุ ลบ ณ พฤทธิ อุ เปน โอ, เอา ธฺ กับ ย เปน ชฺฌ. ยงั มวี ธิ ีเปลี่ยนแปลงอีกมาก นาํ มาแสดงพอเปนตวั อยาง ปจจัยน้ี ลงใน กัมมรูป กัมมสาธนะ เปน พนื้ ท่เี ปน ภาวรปู ภาว- สาธนะ กม็ บี าง, สังเกตดังแสดงมานี้ ยอ มทราบได. [ อ. น. ]. ถ. ศพั ทน ามกติ ก เปนนามนามบา ง คณุ นามบาง ทง้ั นัน้ หรือ ? ถา จะใชเ ปน กริ ยิ ากติ กบา ง จะไดไหม ? โปรดแสดงใหมหี ลกั ฐาน.

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 172 ต. เปน นามนามและคุณนามท้ังนัน้ แตจ ะใชกิริยากติ กบ า ง ก็ได เชน เต จ ภิกขฺ ู คารยฺหา แปลวา อนง่ึ ภกิ ษทุ ้งั หลาย เหลา นน้ั อนั ทา นพึงติเตียน, อานนทฺ าทสิ ขุ  มาตร ปริจริตวฺ าน ปณฺฑเิ ตน ลพภฺ  แปลวา สุขมคี วามเพลดิ เพลินเปนตน อนั บตุ ร ผู เู ปน บัณฑติ บาํ เรอแลว ซ่ึงมาดา พงึ ได. [ อ. น. ]. ถ. กติ กจิ ปจจัย เมอ่ื ประกอบกบั ธาตุแลว มที ส่ี ังเกตใหรไู ด อยา งไรวา ศพั ทนีล้ งปจ จัยนนั้ ๆ. ต. รูไดดงั น้ี :- อ. อิ ปจ จัย เมือ่ ประกอบกับธาตุแลว ไมมีวธิ ีเปลย่ี นแปลง อยางไรเลย คงรปู อยูอยางนน้ั แตศ พั ทที่ประกอบดว ย อ ปจ จัย มักมบี ทอ่ืนนําหนา ธาตโุ ดยมาก แตไมนิยมลงเปน แนนอน ทไี่ มมีบท อ่ืนนาํ หนา ก็มี เชน คโห ผจู บั , สว นศพั ทท ป่ี ระกอบดวย อิ ปจ จยั ตามที่เคยเห็นมา มบี ทอน่ื นําหนา เปนพน้ื . อ ปจจยั เชน นิสสฺ โย เปนตน . อิ ปจ จัย เชน นธิ ิ อุทธิ เปนตน . ณ ปจ จัย เมอ่ื ประกอบกบั ธาตุแลว มีวธิ เี ปลย่ี นแปลง คอื พฤทธติ ามลกั ษณะท่ีกลา วแลวในตทั ธิต มบี ทอื่นนาํ หนา ก็มี ไมมนี ํา หนา กม็ ี ถา ธาตมุ ี ชฺ เปน ท่ีสุด แปล ชฺ เปน ค เชน ยาโค โยโค โรโค เปน ตน . ถา ธาตมุ ี จฺ เปน ทส่ี ดุ แปลง จฺ เปน ก เชน ปาโก อภเิ สโก เปน ตน . เตฺว ปจ จยั เมื่อประกอบกบั ธาตุแลว คง เตฺว ไว ลบพยญั ชนะ ทสี่ ดุ ธาตุ เชน ภาเตวฺ คนเฺ ตวฺ เปน ตน ถาประกอบกบั ธาตตุ วั เดียว

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 173 ไมมีวธิ เี ปล่ยี นแปลง เชน หาเตฺว าเตวฺ และศพั ททป่ี ระกอบดวย ปจ จัยน้ี ใชเปน จตตุ ถีวิภัตติอยา งเดียว เปนอพั ยยะแจกดวยวภิ ตั ติ ทั้ง ๗ ไมไ ด. ต.ิ ปจจยั เมอื่ ประกอบกบั ธาตุแลว ลง ติ ไว ลบพยญั ชนะ ทีส่ ุดธาตุ ศพั ทท ี่ลง ติ ปจจัย เปน อิตถลี งิ คอ ยางเดียว เชน มติ สติ คติ เปน ตน . ตุ ปจ จยั เมื่อประกอบกับธาตแุ ลว คง ตุ ไว ลบพยัญชนะ ท่สี ุดธาตุ เชน กาตุ คนตฺ ุ เปนตน แตถ า ลง อิ อาคม ไมต องลบ พยญั ชนะที่สดุ ธาตุ เชน คมติ ุ สยติ ุ ปติตุ โสเธตุ ถาเปน เหตกุ ตั ตุวาจก ก็ไมตองลบพยญั ชนะทส่ี ดุ ธาตุ เชน กาเรตุ ปาเตตุ โสเธตุ เปน ตน ถาประกอบกับธาตุตัวเดียว คงไวตามเดิมไมมีเปลย่ี นแปลง เชน ปติฏ าตุ ทาตุ เปน ตน. ศพั ทท ี่ประกอบดว ยปจจยั น้ี ใชไ ด ๒ วิภัตติ คือ ปฐมาวภิ ัตติ และ จตตุ ถวี ภิ ตั ติ เทา น้ัน เปนอัพยยะ แจกดว ย วภิ ตั ติทงั้ ๗ ไมไ ด. ยุ ปจ จัย เม่ือประกอบกับธาตุแลว มีอาํ นาจพฤทธิสระไดเ หมือน ณ ปจ จัย ท่กี ลา วแลว ในตทั ธติ และแปลง ยุ เปน อน เชน เจตนา โกธโน โภชน เปนตน หรอื จะไมพฤทธิ คงไวตามเดิมก็ได เชน คมน วจน เปนตน , ถา ธาตุมี รฺ หรอื หฺ เปนทส่ี ดุ แปลง ยุ เปน อณ เชน กรณ หรณ, คหณ, แตธาตมุ ี หฺ เปนทีส่ ดุ ไมน ยิ มแนเหมือนธาตุ ท่มี ี ร เปนทสี่ ุด คือจะแปลงเปน อน หรือ อณ กไ็ ด. อน่งึ ศพั ทท ี่ ลงปจ จัยนี้ ใชล งในอรรถแหงตสั สีลก็ได ไมลงกไ็ ด และมีบทอ่ืน

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 174 นาํ หนาหรือไมนาํ หนา ก็ได แลวแตความนยิ ม. เมอื่ สังเกตโดยนัยดงั แสดงมาน้ี ยอ มรไู ดวา ศพั ทนนั้ ลงปจจยั นนั้ .[ อ.น.]. ถ. ติ กบั ตุ ปจจัย ลงไดใ นสาธนะไหนบาง ? อางหลกั มาดู. ต. ติ ปจ จัย ลงไดท กุ สาธนะ แตทีป่ รากฏโดยมากเพยี ง ๕ สาธนะ คอื กตั ตสุ าธนะ กมั มสาธนะ ภาวสาธนะ กรณสาธนะ อธกิ รณสาธนะ อุทาหรณว า มติ เปน กัตตุสาธนะ กไ็ ด กรณสาธนะ ก็ได ภาวสาธนะ ก็ได, สมฺปตฺติ เปน กัตตุสาธนะ, คติ เปน อธกิ รณ- สาธนะ. ตุ ปจจัย ลงในกัตตุสาธนะอยางเดียว อุทาหรณว า กตตฺ า โสตา เปนตน . [ ๒๔๖๖๙ ]. [ วเิ คราะหน ามกิตก ] ถ. จงเขียนรูปวเิ คราะหท ้ัง ๓ มาด.ู ต. กตั ตรุ ูป เชน กโรติ กเถต,ิ กมั มรปู กริยเต หรอื กาตพพฺ  กถยิ เต หรอื กเถตพฺพ, ภาวรูป เชน กรยเต หรือ กาตพพฺ  เปน ตน . [ อ. น. ]. ถ. ศัพทวา กมฺม กโรตีติ กมฺมการี นี้ สว นไหนเปน วิเคราะห ? สว นไหนเปนสาธนะ ? สว นไหนเปนเครอื่ งหมายรูปวิเคราะห ? ต. กมมฺ  กโรตีติ เปน วิเคราะห, กมมฺ การี เปน สาธนะ, กโรติ เปนเคร่อื งหมายรปู วิเคราะห. [ อ. น.]. ถ. ศพั ทท ีเ่ ปน เครื่องหมายรปู วเิ คราะหแหงสาธนะนัน้ ทา นนยิ ม ใชศัพทชนดิ ไหนบา ง ? และอยา งไหนเปน เครอ่ื งหมายรปู วิเคราะห อะไร ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 175 ต. ใชศ พั ทกริ ยิ าอาขยาต เชน กโรติ เปน ตน อยางหน่ึง ศพั ท กิริยากิตกท ล่ี ง ตพพฺ ปจ จัย เชน กาตพโฺ พ เปนตน อยา งหนงึ่ ศพั ท กริ ยิ านาม เชน ปจน เปน ตน อยางหนงึ่ ศัพทกิรยิ าอาขยาต เปน เครื่องหมายรปู วิเคราะหทัง้ ๓ ศพั ทก ริ ยิ ากิตก เปน เครอื่ งหมาย เฉพาะกัมมรูป และ ภาวรูป. ศัพทกริ ยิ านามเปนเครื่องหมายภาวรปู อยางเดยี ว. [ อ. น. ]. ถ. วเิ คราะหแ หงสาธนะนนั้ ทานนิยมใชส ัพพนามดว ย เมือ่ เปนเชน นี้ จึงอยากทราบวา สาธนะไหน ใชส ัพพนามอยางไร ? ขอตวั อยางดวย. ต. กตั ตสุ าธนะ ใชสพั พนามประกอบเปนปฐมาวิภตั ติ แต ไมไ ดเรียงไวในวิเคราะห เปน แตเม่ือแปล ใหเ ตมิ ย ต เขา ดว ยตาม ลิงคว จนะ เปนกัตตุรปู อยา งเดียว เชน เทตีติ ทายโก แปลวา [บคุ คลใด] ยอ มให เหตนุ นั้ [ บคุ คลน้ัน] ชือ่ วา ผใู ห. กัมมสาธนะ ถา เปน กัตตรูป ใชส ัพพนามประกอบเปน ทุติยา- วิภัตติ เชน ปยติ ตนฺติ ปโย แปลวา [ บดิ า ] ยอมรกั ซ่ึงบตุ รนนั้ เหตนุ นั้ [ บตุ รนน้ั ] ชอ่ื วา เปนทรี่ ัก [ ของบดิ า ] , ถาเปนกัมมรปู ใชสพั พนามประกอบเปนปฐมาวิภัตติ แตไ มไ ดเรียงไวใ นวเิ คราะห เชนเดยี วกบั กตั ตสุ าธนะ เชน ภุชฺ ิตพฺพนตฺ ิ โภชน แปลวา [ ส่งิ ใด ] อนั เขาพงึ กนิ เหตนุ ้นั [ สง่ิ นน้ั ] ชื่อวา อันเขาพึงกนิ . ภาวสาธนะ ไมตอ งใชสพั พนามในวเิ คราะห เปน แตเวลาแปล เตมิ ตัว อนภิหิตกตั ตา มาเปนเจาของกิริยา เชน คจฉฺ ิยเตติ คมน

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 176 แปลวา [ อันเขา ] ยอ มไป เหตุนน้ั ชือ่ วา ความไป. กรณสาธนะ ใชส ัพพนามประกอบเปนตตยิ าวิภตั ติ ทงั้ ทเ่ี ปน กัตตุรูป ทงั้ กัมมรปู , กตั ตุรูป เชน คจฉฺ ติ เตนาติ คมน แปลวา [ คน ] ยอ มไปดว ยยานนัน้ เหตนุ ้นั [ ยานน้ัน ] ชือ่ วา เปน เครื่อง ไป [ ของคน ], กัมมรูป เชน สวณณฺ ิยเต เอตายาติ สว ณฺณนา แปลวา [ เนอื้ ความ ] อันทา นยอ มพรรณนาพรอม ดวยวาจาน่ัน เหตนุ ั้น [ วาจาน่นั ] ชอื่ วา เปนเคร่อื งอันทา นพรรณนาพรอ ม [ แหงเนอื้ ความ ]. สัมปทานสาธนะ ใชส ัพพนามประกอบเปน จตตุ ถวี ภิ ตั ติ ทั้ง กตั ตรุ ูป ทั้งกัมมรปู . กตั ตุรปู เชน สมฺปาเทติ เอตสสฺ าติ สมฺปทาน แปลวา [ ทายก ] ยอมมอบใหแ กทีน่ ั่น เหตนุ นั้ ทนี่ ั่น ช่อื วา เปน ที่มอบให [ แหงทายก ], กมั มรูป เชน สมฺปทยิ เต เอตสสฺ าติ สมฺปทาโน แปลวา [ วตั ถุ ] อนั เขายอมมอบใหแกปฏคิ าหกนัน่ เหตุนนั้ [ ปฏคิ าหกนน่ั ] ชื่อวา เปนทอ่ี ันเขามอบให [ แหง วตั ถุ ]. อปาทานสาธนะ ใชสพั พนามประกอบเปนปญจมวี ภิ ตั ติ เปน กัตตุรูปอยางเดียว เชน ปม ภวติ เอตสมฺ าติ ปภโว แปลวา [ แมนํา้ ] ยอ มเกิดกอน แตป ระเทศนั่น เหตุนัน้ ประเทศนนั่ ชื่อวา เปน แดนเกดิ กอ น [ แหง แมนาํ้ ]. อธิกรณสาธนะ ใชสพั พนามประกอบเปน สตั ตมีวภิ ัตติ ทัง้ กัตตรุ ูป ทงั้ กมั มรปู , กตั ตุรูป เชน สยติ เอตฺถาติ สยน [ บคุ คล ] ยอมนอนในท่ีนี้ เหตุนัน้ ทีน่ ้ี ชอ่ื วา เปนทน่ี อน [ แหงบคุ คล ],

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 177 กัมมรปู เชน ภุ ฺชิพพฺ  เอตฺถาติ โภชน แปลวา [ วัตถุ ] อนั เขาพึงกิน ในท่ีน้ี เหตนุ นั้ ทน่ี ี้ เปน ทอ่ี นั เขากนิ [ แหง วัตถุ ]. [อ. น.] ถ. สัพพนามทีใ่ ชใ นวิเคราะหแหงสาธนะนั้น ๆ ทานนยิ มใช สพั พนามตวั ไหน ในสาธนะไหน? ต. กัตตสุ าธนะ นิยมใช ย ศพั ทในวเิ คราะห แตไมต องเขียน ไว. กัมมสาธนะ ถา เปน กัตตุรูป นยิ มใช ต ศพั ทใ นวเิ คราะห, ถาเปน กมั มรปู นยิ มใช ย ศัพทในวเิ คราะห. ภาวสาธนะ ไมต อ ง ใชส พั พนาม ในวิเคราะห เปน แตเ วลาแปล เดิม เตน อันเขา เปน เจา ของกิรยิ าเทานน้ั . กรณสาธนะ สัมปทานสาธนะ อปาทานสาธนะ นิยมใช ต เอต ในวิเคราะห, อธิกรณสาธนะ นิยมใช ต เอต อิม ในวิเคราะห แต อมิ ศัพทน ้นั นยิ มลง ตถฺ ปจ จยั ซึง่ เปน เคร่ือง หมายสัตตมีวิภัตติ สาํ เร็จรปู เปน เอตฺถ. [อ. น. ]. ถ. ขอตัวอยา งสาธนะทงั้ ๗ พรอ มทง้ั วเิ คราะหมาดู ? ต. ธมมฺ  ธาเรตตี ิ ธมฺมธโร ช่ือ กัตตุสาธนะ. กาตพพฺ นฺติ กจิ ฺจ ชือ่ กัมมสาธนะ, ปูชยิ เตติ ปูชา ช่อื ภาวสาธนะ, ปหรติ เตนาติ ปหรณ ชื่อ กรณสาธนะ, โคจรติ เอตสสฺ าติ โคจโร ชอ่ื สัมปทานสาธนะ, นิคจฺฉติ เอตฺสมาติ นิคโม ชือ่ อปาทานสาธนะ ตฏิ  ติ เอตฺถาติ าน ชอ่ื อธิกรณสาธนะ. [ ๒๔๖๕ ]. ถ. สพั พนามในวเิ คราะหแหง สาธนะนนั้ เปน สําคัญอยา งไร ? ต. เปน สาํ คัญ คอื เปนเครอ่ื งหมายใหท ราบสาธนะไดงายและ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 178 แมนยาํ ทั้งเปนหลักสําคัญในการแปล คือวา ถาสพั พนามในวเิ คราะห โยคนามนามใด พงึ ทราบเถดิ วา นามนามน้นั เปน ประธานแหง สาธนะ สพั พนามทเี่ ปน ประธานแหงสาธนะ จะตองโยคนามนามให ตรงกบั สัพพนามในวิเคราะห โยคเสมอไปทกุ ๆ สาธนะท่ีนิยมใชส พั พ- นาม ตวั อยา ง เชน พนฺธติ เตนาติ พนธฺ น [ ต ]. ในวิเคราะห นี้ เตน โยค วตถฺ ,ุ ต ซง่ึ เปน ตวั ประธานของ พนธฺ น ซง่ึ เปน ศพั ทส าธนะ กต็ องโยค วตถฺ ุ ใหต รงกนั แปลวา อยางน้ี [ บุคคล ] ยอ มผูก ดว ยวัตถนุ ัน้ เหตุนน้ั [ วัตถนุ น้ั ] ช่อื วา เปน เครื่องผกู [ ของบคุ คล ]. ถา สพั พนามโยคนามนามไมตรงกันแลว ความกเ็ สยี หมด ใชไ มไ ดเ ลยทีเดยี ว จะตอ งระวังใหม ากในการแปล. [ อ. น .] ถ. ยาโค เปน ช่อื ของสักการะ เปน สาธนะอะไร ? เปน ชอ่ื ของ พระพทุ ธเจา เปนสาธนะอะไร ? ตง้ั วิเคราะหม าด.ู ต. เปน ชื่อของสกั การะ เปน กรณสาธนะ วิเคราะหวา ยชติ เตนาติ ยาโค, เปน ชอ่ื ของพระพทุ ธเจา เปน กมั มสาธนะ วเิ คราะห วา ยชิตพโฺ พติ ยาโค. [ ๒๔๗๗ ]. ถ. สนฺธิ ความตอ , สมาโส ความยอ ตั้งวเิ คราะหอยา งไร ? บอกธาตุปจ จัยดว ย. ต. สนธฺ ิ วิเคราะหวา สนฺธาน สนฺธ,ิ ส บทหนา ธา ธาตุ อิ ปจ จยั นามกติ ก, สมาโส วเิ คราะหวา สมสน สมาโส, ส บท หนา วสฺ ธาตุ ณ ปจ จยั นามกิตก. [ ๒๔๗๖ ]. ถ. เนยยฺ  ปชนีโย อปุ วท จเิ นยยฺ  เปนศพั ทอ ะไร ? ศพั ทไ หน

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 179 มรี ูปเดิมอยางไร ? จงแสดงใหละเอียด. ต. เนยยฺ  เปน นามกิตก เดิมเปน นี ธาตุ ลง ณฺย ปจ จยั เปน กมั มรูป กมั มสาธนะ วิเคราะหวา เนตพพฺ นฺติ เนยยฺ , ปชู นโี ย เปน ฐานตทั ธติ เดิมเปน ปชู น ลง อีย ปจ จัย แปลวา ผคู วรซ่ึงอันบูชา วเิ คราะหว า ปชู น อรหตีติ ปูชนโี ย, เปน กริ ิยากิตกก ็ได ลง อนยี ปจจัย แปลวา ผูอันเขาพึงบูชา, อุปวท เปนนามกิตกก็ได เปน กิรยิ ากิตกไ ด ถา เปน นามกติ ก ลง อ ปจ จัย เปน กตั ตสุ าธนะ วเิ คราะหวา อปุ วทตีติ อปุ วโท ทม่ี รี ปู เปน อุปวท เพราะลง อ ทุตยิ าใน ๓ ลงิ ค หรอื สิ ปฐมในนปงุ สกลิงค อปุ บทหนา วทฺ ธาตุ ถ า เปนกริ ิยากิตก ลง อนตฺ ปจ จัย ลง สิ ปฐมา เอา นตฺ กับ สิ เปน อ เปนปุงลงิ ค อุป บทหนา วทฺ ธาตุอยางเดยี วกัน, จเิ นยยฺ  เปน กริ ยิ าอาขยาต จิ ธาตุ นา ปจ จัย เอยฺย สตั ตมวี ภิ ัตติ กตั ตุ- วาจก. [ ๒๔๖๙ ]. ถ. จิเนยฺย เจยยฺ  โสเจยยฺ  เปน ศัพทอ ะไร ? ศัพทไ หนรูปเดิม เปนอยางไร ? แปลวา กระไร ? จงแสดงใหต ลอด. ต. จิเนยยฺ  เปน ศพั ทก ริ ยิ าอาขยาต จิ ธาตุ ในความกอ ความ สง่ั สม นา ปจ จยั เอยยฺ  สตั ตมีวิภตั ติ กตั ตวุ าจก, เจยยฺ  จิ ธาตุ ณยฺ ปจ จยั พฤทธิ อิ เปน เอ, ลบ ณ ซอ น ย, สิ ปฐมาวิภัตติ นปุงสกลิงค จึงเปน เจยยฺ , ถาแปลวา วตั ถอุ นั เขาพึงสั่งสม เปน กัมมรูป กมั มสาธนะ วเิ คราะหว า จินติ พพฺ นตฺ ิ เจยฺย [ วัตถุ ]. ถา แปลวา ความกอ เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ วิเคราะหวา จิยเตติ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 180 เจยฺย, โสเจยยฺ  ภาวตัทธติ เณยฺย ปจ จัย แปลวา ความเปน ของ สะอาด วิเคราะหวา สจุ ิโน+ภาโว=โสเจยยฺ . [๒๔๗๕ ]. ถ. วสฺ ธาตุ เปนชอื่ ของคน ของที่ ของกิรยิ า เปนสาธนะ อะไร ? ตงั้ วิเคราะหม าดวย. ต. วสฺ ธาตุ เปนชื่อของคน เปน กัตตสุ าธนะ วิเคราะหวา วสติ สเี ลนาติ วาโส [ ลงในอรรถแหง ตัสสลี ], เปน ชอื่ ของท่ี เปน อธกิ รณสาธนะ วิเคราะหวา วสติ เอตถฺ าติ วสน. เปน ช่ือของ กริ ยิ า เปน ภาวสาธนะ วิเคราะหวา วสน วาโส. [ ๒๔๖๘ ]. ถ. คาํ วา \"ทาน \" ในภาษาของเราหมายความหลายอยา ง เชน คนมใี หทาน คนจนรบั ทาน ผนู ้ยี นิ ดีในทาน ทานมยั กศุ ล โรง ทาน ในคําเชนน้ี ในภาษามคธหมายดวยสาธนะ จงช้ีวา คําไหนเปน สาธนะอะไร ? วเิ คราะหมาดวย. ต. คําวา \"ทาน \" ในคําวา คนมใี หทาน คนจนรบั ทาน เปน กัมมสาธนะ วเิ คราะหวา ทาตพฺพนตฺ ิ ทาน, คาํ วา ผูนี้ยินดใี นทาน เปน ภาวสาธนะ วิเคราะหวา ทิยเตติ ทาน, คําวา ทานมยั กศุ ล เปน กรณสาธนะ วเิ คระหว า เทติ เอเตนาติ ทาน, คําวา โรงทาน เปนอธิกรณสาธนะ วิเคราะหว า เทติ เอตถฺ าติ ทาน. [๒๔๖๔ ]. ถ. ป บพุ พบท หรฺ ธาตุ ท่แี ปลวา ประหาร เปน ชื่อของ เคร่อื งมอื มดี าบ ไม เปน ตน เปนสาธนะอะไร ? เปน ชอ่ื ของกิรยิ า ท่ที ําลง เปน สาธนะอะไร? จงตั้งวิเคราะหม าด.ู ต. ป บพุ พบท หรฺ ธาตุ เปนชื่อของเครื่องมือ เปน กรณ-

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 181 สาธนะ วเิ คราะหว า ปหรติ เตนาติ ปหรณ, เปน ช่อื ของกิริยา เปน ภาวสาธนะ วิเคราะหว า ปหรยเตติ ปหรณ.[ ๒๔๖๑ ]. ถ. ท่ีเขียนไวว า อธกิ รณสาธนะ ดงั นี้ รูไดไ หมวา ถกู หรอื ผิด ? ถาถกู ก็แลว ไป ถาผิด ควรจะเปนอยา งไร ? รูไดดวยอยา งไร? ต. ผดิ ควรเปน อธิกรณสาธนะ เพราะ ณ, น แปลงมาจาก ยุ ถา ธาตุมี รฺ และ หฺ เปน ทีส่ ดุ ทา นใหแปลง ยุ เปน อณ นอก จากนี้ใหแ ปลงเปน อน.[๒๔๕๙ - ๒๔๗๐ ]. ถ. คาํ วา เปนท่ี เปนเครอ่ื งหมายสาธนะอะไรบา ง ? สงั เกต อยา งไรจึงรูไดวา เปน สาธนะนน้ั ๆ ? ต. เปนเครอ่ื งหมาย กัมมสาธนะ สมั ปทานสาธนะ อธกิ รณ- สาธนะ รูไดดวยความตางแหง รปู วเิ คราะห กมั มสาธนะ ทําซ่ึงส่ิง น้นั , สัมปทานสาธนะ ทําแกส่ิงน้ัน, อธิกรณสาธนะ ทาํ ในสงิ่ นนั้ , อุทาหรณวา นสิ สฺ โย เปนชื่อของอาจารย เปน กัมมสาธนะ เพราะ ศษิ ยอาศัยอาจารย, สมปฺ ทาโน เปน ชอ่ื ของปฏิคคาหก เปน สมั ปทานสาธนะ เพราะเขามอบใหแ กป ฏคิ คาหก, ทาน เปน ช่ือของ โรงทาน เปน อธกิ รณสาธนะ เพราะเขาใหในโรงทาน. [ ๒๔๕๘ ]\" ถ. สังเกตอยา งไร จึงจะรคู วามตา งแหงกรณสาธนะ และ อธกิ รณสาธนะ ? ต. สงั เกตอยางนี้ กรณสาธนะ ทําดวยสิ่งน้ัน, อธิกรณสาธนะ ทําในสิ่งนน้ั อุทาหรณวา พนฺธนฺน เปนชือ่ ของเชอื ก เปน กรณสาธนะ เพราะเขาผูกดว ยเชือกน้ัน, พนฺธน เปน ช่อื ของเรือนจาํ เปน อธิกรณ-

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 182 สาธนะ เพราะเขาจําในเรอื นน้ัน. [ ๒๔๕๗ ]. ถ. ววิ รยิ ววิ รณ เหมือนกนั อยา งไร ? ตางกันอยางไร ? ต. เหมอื นกันท่ีเปนธาตุเดยี วกัน เปนกติ กดว ยกนั คอื วิ บท หนา วรฺ หรอื วุ ธาต,ุ ตา งกนั ท่ี ววิ ริย ลงอพั ยยปจจยั แปลวา เปดแลว หรอื ไขออกแลว, ววิ รณ เปนนาม ลง ยุ ปจจัย แปลวา ความเปด หรือ ความไขออก. [ ๒๔๗๖ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 183 [ กริ ิยากิตก ] ถ. ศัพทเชนไร เรียกวา กริ ิยากิตก ? ตา งจากกิรยิ าอาขยาต อยา งไร ? ต. ศัพทท ี่ใชป จจยั แผนกหนง่ึ ปรุงกบั ธาตุ สําเรจ็ รปู เปน กิรยิ า เรียกวา กริ ยิ ากิตก เชน คโต ิโต กโต เปนตน . ตา งจากกิรยิ า- อาขยาต คือ กริ ยิ ากิตก ท่ลี งปจ จยั ไมใชพ วกอพั ยยะ ใชแ จกดวย วิ ิภัตตทิ ัง้ ๗ ในนามได สว นท่ลี งปจ จยั พวกอพั ยยะ แจกไมไ ด และ กริ ิยากติ ก ไมมีบทและบรุ ษุ บางศัพทใชเ ปน นามได เชน พทุ โฺ ธ ขาทนยี  เปน ตน, สวนกิรยิ าอาขยาต ใชแจกดว ยวภิ ตั ติในอาขยาต เปนกิริยาลวน. [อ.น.]. ถ. นามกิตก กับ กิรยิ ากิตก ตา งกนั อยา งไร ? อนุจร อุปวท เปน นามกิตกห รือกิริยากติ ก ? จงแสดงความเขาใจ. ต. นามกิตก เปน ไดท้งั นามนามและคณุ นาม จัดเปน สาธนะ มี ปจจยั เปนเครื่องหมายสาธนะนั้นๆ , กริ ิยากติ ก เปนกิริยา ประกอบ ดวยวิภัตติ วจนะ กาล ธาตุ วาจก ปจจยั เหมือนในอาขยาต ตาง แตไมมีบทและบรุ ุษเทาน้ัน. อนจุ ร อปุ วท เปนนามกิตกก ็ได เปน กิรยิ ากิตกก็ได ถา เปนนามกิตก ลง อ ปจจยั เปนทุตยิ าวภิ ตั ตใิ น ๓ ลิงค หรอื ปฐมาวิภตั ตใิ น นปุงสกลิงค, ท่เี ปน กิรยิ ากติ ก ลง อนตฺ - ปจ จัย แปลง นตฺ กับ สิ ปฐมาวิภัตติ เปน อ. [ ๒๔๗๒ ]. ถ. ในกริ ยิ ากิตก ทา นวา ไมมีวภิ ัตติ และ วจนะ แผนกหน่ึง เหมอื นวภิ ัตตอิ าขยาต เมื่อเปน เชนน้ี กิริยากิตกก แ็ ปลวา ไมมวี ภิ ัตติ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 184 และวจนะใชไหม ? หรอื อยางไร ? จงแสดง. ต. จริง ในกริ ิยากติ กไ มมวี ิภตั ติและวจนะแผนกหนึ่ง แตทาน ใหใ ชว ิภตั ตแิ ละวจนะในนามแทน และคลอ ยตามนามศัพทซ ่ึงเปน ตัวประธาน คือ ตัวประธานเปน วภิ ัตติ วจนะใด กริ ิยากิตกก ต็ อง เปนวิภัตติ วจนะน้นั ตาม ตัวอยา ง เชน ภกิ ขฺ ุ คาม คโต ภิกษุ ไปแลวสูบ า น, ชนา มตา ชนทง้ั หลาย ตายแลว เปน ตน . [ อ. น.]. ถ. การแบงกาลในกิริยากิตก กบั กิริยาอาขยาต ตางกนั อยางไร ? ต. ตางกันดงั นี้ คือ : กริ ยิ ากติ ก แบงกาลท่ีเปนประธาน ๒ คือ ปจจุบันนกาล ๑ อดีตกาล ๑, ปจ จุบันกาล แบงใหละเอยี ดอกี ๒ คือ ปจจุบันแท ๑ ปจ จบุ ันใกลอนาคต ๑, อดตี กาล แบงเปน ๒ คื ลว งแลว ๑ ลว งแลวเสรจ็ ๑, รวมทั้งสน้ิ เปน ๔. สวนกริ ิยา อาขยาตแบงกาลท่ีเปนประธาน ๓ แบง ใหล ะเอียดอีก รวมเปน ๘ ดัง ไดแ สดงมาแลวในอาขยาตนน้ั . [ อ. น. ]. ถ. กาลในกริ ยิ ากิตก ทงั้ ทกี่ ลา วโดยยอ และพิสดารน้ี จะรไู ด แมนยาํ วาเปนกาลน้ัน ๆ ได ตอ งอาศัยอะไรเปนหลัก ? ต. ตองอาศยั ปจ จัยเปนหลัก เพราะปจ จยั ในกริ ยิ ากิตกน้ี นอก จากเปนเคร่ืองหมายวาจกแลว ยงั เปน เครือ่ งหมายใหทราบกาลได ดวย. [ อ. น.]. ถ. กาลท้งั ๔ นน้ั กาลไหนทานบญั ญตั ใิ หแ ปลวา กระไร ? ต. ปจ จบุ นั แท แปลวา อยู, ปจจุบันใกลอนาคต แปลวา

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 185 เม่อื , ลว งแลว แปลวา แลว , ลว งแลวเสรจ็ แปลวา ครน้ั แลว . [ อ. น. ]. ถ. วาจกในกริ ิยากติ ก มเี ทาไร ? อะไรบา ง ตางจากวาจก ในอาขยาตหรือเหมอื นกนั ? ต. มี ๕ เหมือนอยา งอาขยาต คอื กัตตุวาจก กมั มวาจก ภาววาจก เหตุกตั ตุวาจก เหตกุ ัมมวาจก. ตา งกนั แตสกั วา รปู แหง ศัพทก ิรยิ าเทานน้ั เชน :- กิรยิ ากิตก กริ ยิ าอาขยาต กตั ตวุ าจก มโต มรติ กมั มวาจก กโต กรยิ ติ ภาววาจก ภวิตพฺพ ภยู เต เหตุกัตตุวาจก มาเรนฺโต มาเรติ เหตกุ มั มวาจก ปตฏิ าปโ ต ปตฏิ  าปยติ. [ อ. น. ] ถ. ปจจัยในกิรยิ ากิตก มเี ทาไร ? ตวั ไหนบางเปนพวกอพั ยย- ศัพท ? อารทฺธา ลงปจจัยอะไรบาง? จงแสดงใหส น้ิ เชงิ . ต. มี ๑๐ ตัว อนตฺ ตวนฺตุ ตาวี อนยี ตพฺพ มาน ต ตนู ตฺวา ตฺวาน. เปน พวกอัพยยศพั ทมี ๓ ตัว คอื ตนุ ตวฺ า ตวฺ าน. อารทธฺ า ลง ต ปจ จยั กไ็ ด ตวฺ า ปจ จยั กไ็ ด เพราะธาตมุ ี ภฺ เปนทส่ี ดุ แปลง ต ปจ จยั เปน ทธฺ แลว ลบทสี่ ดุ ธาตุ เปน กริ ิยาของ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 186 ศพั ทท ่เี ปน อิตถีลงิ ค หรอื เปนปุงลิงค พหวุ จนะ, และธาตุมี ภฺ เปน ท่สี ุด แปลง ย กบั ทสี่ ุดธาตุเปน ทธฺ า. [ ๒๔๗๔ ]. ถ. กริ ยิ ากิตก มปี จจยั กีต่ วั ? ตัวไหนลงในวาจกอะไร ? ต. มี ๑๐ ตวั คือ อนฺต ตวนตฺ ุ ตาวี ลงในกตั ตุวาจก, อนีย ตพฺพ ลงในกมั มวาจก และ ภาววาจา, มาน ต ตนู ตวฺ า ตฺวาน ลงในวาจกทั้งมวล. [ ๒๔๖๙-๒๔๖๗ ]. ถ. ปจจัย ๑๐ ตวั นัน้ ตัวไหนมหี นา ทอี่ ยา งไร ? ต. อนตฺ มาน บอกปจ จุบันนกาล, ตวนตฺ ุ ตาวี ตูน ตวฺ า ตวฺ าน บอกอดีตกาล, อนีย ตพพฺ บอกความจาํ เปน ซงึ่ แปลวา พงึ หรอื ตอง . [ อ. น.]. ถ. จงแสดงวิธใี ชปจ จัยในกติ ก ใหเ หน็ ชดั วา ตางจากปจจัยใน ตทั ธิตอยางไร? ต. ปจจัยในกติ ก ใชป ระกอบกับธาตุ สาํ เร็จรปู เปนนามกิตก และกริ ิยากิตก เปน เครอื่ งหมายสาธนะและกาล. สว นปจ จัยในตทั ธติ ใชป ระกอบกับศพั ทนาม แมศ พั ทก ิตกทสี่ าํ เรจ็ แลว น้ัน ก็ประกอบได ท้ังในนามกิตกแ ละกิริยากิตก เพ่ือเปนเครอื่ งหมายใชแทนศพั ท. [ ๒๔๖๒ - ๒๔๗๓ ]. ถ. ปจจยั กิตกตัวไหนบา ง ใชเ ปนนามกิตกก ็ได เปน กิรยิ ากติ ก ก็ได ? และใชไ ดอยา งไร? จงแสดงมา. ต. ณยฺ อนีย ต, ณฺย เปนปจ จัยแหงนามกติ ก ใชกริ ยิ า- กิตกก็มี ดงั อุทาหรณว า เต จ ภิกขฺ ู คารยหฺ า. อนยี ต เปน ปจจยั

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 187 แหงกิริยากติ ก ใชเปนนามกติ กก ็มี อนยี ปจจยั อทุ าหรณวา ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน ปรวิ ิส.ิ ต ปจจยั อทุ าหรณว า พุทฺโธ โลเก อปุ ปฺ นโฺ น.[ ๒๔๗๙-๒๔๘๐ ]. ถ. อนตฺ ตวนฺตุ ตาวี เมื่อประกอบกับธาตุ มวี ิธีเหมือนกัน หรือตางกนั อยางไร ? ต. ตางกัน คอื อนฺต เมื่อจะประกอบกับธาตุใน ธาตุนัน้ ทานใหล งปจจยั ในอาขยาตท่หี นงึ่ กอ น แลวจึงลง อนฺต ปจจัยอีกทีหน่ึง เชน สุณนโฺ ต ชานนฺโต เปนตน, สวน ตวนตฺ ุ ตาวี หาทาํ เชน นน้ั ไม ลงปจ จยั ทส่ี ุดธาตุทีเดยี ว เชน สตุ วา สตุ าวี เปนตน . [ อ. น.]. ถ. จะประกอบ ภชุ ฺ ธาตุ ดวย อนตฺ มาน ปจ จัย สาํ เรจ็ รปู เปน ปลุ ิงคและอิตถีลงิ คม าดู ? ต. ภุชฺ ธาตุ ประกอบดว ย อนตฺ ปจ จยั สําเรจ็ รูปดงั น้ี ปุงลงิ ค ภุ ฺชนโฺ ต, อติ ถีลงิ ค ภุชฺ นฺตี, ประกอบดวย มาน ปจจัย สาํ เรจ็ รปู ดังนี้ : ปุงลิงค ภุฺชาโน, อติ ถลี ิงค ภุ ชฺ ทานา. [ อ. น.] ถ. อนตฺ มาน ปจ จัย เมื่อประกอบกบั ธาตุ สําเรจ็ รูป เปน กิริยาแลว ทา นนิยมแจกตามแบบการนั ตไ หน ? ต. ศพั ทท ี่ลง อนฺต ปจ จยั ถา เปน ปุงลงิ ค นิยมแจกตามแบบ อ การนั ตใ นปุงลิงค [ ปรุ สิ ] ก็ไดเชน วทนโฺ ต, ตามแบบ ภวนตฺ ศพั ทก ็ได เชน กร จร. ถา เปน อติ ถลี งิ ค นิยมแจกตามแบบ อี

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 188 การนั ตใ นอิตถีลิงค [ นารี ] , ศัพทท ล่ี ง มาน ปจ จัย ปงุ ลงิ ค นยิ ม แจกตามแบบ อ การันตใ นปุงลงิ ค, อิตถีลิงค นยิ มแจกตามแบบ อา การันตในอติ ถีลิงค [ กฺ า ]. [ อ. น. ]. ถ. ศัพทก ิรยิ าที่ประกอบดว ย อนตฺ มาน ปจ จยั ถา ตอ งการ ใหเปน กัมมวาจก ทา นใหทาํ อยางไรบา ง ? ต. ทา นใหท ําดวยวิธี ๒ อยา ง คอื ลง อิ อาคมหลังธาตุ และ ย ปจจยั ในอาขยาต เชน กถิยนฺ โต กถยิ มาโน เปน ตน อยางหนึ่ง ลง ย ปจจยั แลว เอา ย กับที่สุดธาตุแปลงเปนพยญั ชนะ เชน วุจฺจนตฺ ี วุจฺจมาโน เปนตน เม่อื แปลงเชน นั้นแลว ไมตองลง อิ อาคมอยางหน่ึง. [ อ. น. ]. ถ. ภุชฺ ธาตุ เมือ่ ประกอบดวยปจจัยเหลา นี้ คือ ตวนตฺ ุ ตาวี ต มีรปู เปนอยางไรในปงุ ลงิ คและอิตถลี ิงค ?และแจกตามแบบการันต ไหน ? ต. ประกอบดว ย ตวนตฺ ุ ปจ จยั ปงุ ลิงคเ ปน ภุตวา แจกตาม แบบ ภควนตฺ ุ ศพั ท, อิตถีลงิ คเ ปน ภตุ วตี แจกตามแบบ อี การนั ต ในอติ ถลี งิ ค [ นารี ]. ประกอบดวย ตาวี ปจจยั ปุงลงิ ค เปน ภุตฺตาวี แจกตาม แบบ อี การนั ตใ น ปุงลงิ ค [ เสฏ ี] , อติ ถีลิงค เปน ภุตฺตาวนิ ี แจกตามแบบ อี การันตใน อติ ถลี งิ ค. ประกอบดวย ต ปจจยั ปงุ ลงิ ค เปน ภุตโฺ ต แจกตามแบบ อ การนั ตใ น ปงุ ลงิ ค [ ปุรสิ ] , อติ ถีลิงคเปน ภตุ ฺตา แจกตาม

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนาท่ี 189 แบบ อา การันตในอติ ถีลงิ ค [กฺ า]. [อ. น. ]. ถ. ศัพทก ิริยากติ ก ลง ตวนฺตุ กบั ตวฺ า มลี กั ษณะคลายคลึง กนั มาก เมื่อพบศัพทก ริ ยิ าทลี่ งปจจัย ๒ ตัวนีแ้ ลว จะสังเกตรไู ด อยา งไรวา ศัพทไ หนลงปจ จยั อะไร ? ต. สงั เกตทีจ่ ดุ ขางลาง ถาลง ตวนฺตุ ปจจยั ไมมจี ุดขา งลาง เชน สตุ วา เปนตน, ถาลง ตฺวา ปจจยั มจี ดุ ขา งลา ง เชน สตุ ฺวา เปน ตน. [ อ. น. ]. ถ. อนจุ ร เปนนามกติ ก หรือ กิรยิ กิตก ? จงแสดงความเขาใจ ต. เปนนามกิตกก ไ็ ด เปนกิริยากติ กก ็ได, อนุ บพุ พบท จรฺ ธาตุ ทั้ง ๒ อยา ง ที่เปน นามมกติ ก ลง อ ปจ จัย เปนทตุ ิยาวิภัตติ เอกวจนะ ในไตรลงิ ค หรือปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ นปงุ สกลิงค. ท่ี เปนกิรยิ ากติ ก ลง อนตฺ ปจจยั แปลง นตฺ กับ สิ เปน อ. [ ๒๔๖๖ ]. ถ. ศัพทท ป่ี ระกอบดว ย ตพพฺ อนีย ปจ จัย ใชตา งกนั อยางไร? จงยกตัวอยางมาแสดงดวย. ต. ศพั ทท ีป่ ระกอบดว ย ตพพฺ ปจ จยั ใชเ ปน กริ ยิ าลว น, สว น ศพั ททีป่ ระกอบดว ย อนยี ปจจยั ใชเ ปน นามศัพทกไ็ ด ใชเ ปนกริ ยิ า กไ็ ด, ท่ใี ชเปน นาม เชน ปณีเตน ขาทนเี ยน โภชนเี ยน ปรวิ ิสิ แปลวา เขาเลย้ี งแลว ดวยของควรเค้ียว ดว ยของควรบริโภค อนั ประณีต, ที่ใชเปนกริ ยิ า เชน กมฺม กรณยี  แปลวา กรรม อันเขา พึงทําเปนตน, แตใ ชเ ปน นาม เปน ชื่อของศพั ทท ี่เปน นปงุ สกลิงค เปนพ้นื .[ อ. น.].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 190 ถ. ศัพทที่ประกอบดวย ตพฺพ, อนยี ปจจัยนี้ เปนเครื่องหมาย วาจกอะไรไดบา ง และเปนไดก ีล่ งิ ค ? ต. เปนเครอื่ งหมายกัมมวาจก และภาววาจก. ที่เปน เครื่อง หมายกมั มวาจก เปน ได ๓ ลงิ ค, เปน เคร่อื งหมายภาววาจก เปนได แตนปงุ ลิงค ปฐมาวภิ ัตติ เอกวจนะ อยางเดียว. [ อ. น.]. ถ. ต ปจ จยั มวี ธิ ปี ระสมเขากบั ธาตุเปน อยางไรบาง ? ต. ต ปจ จัยประสบกบั ธาตมุ ี มฺ และ นฺ เปนที่สดุ ลบท่สี ดุ ธาตเุ สยี ตัวอยา ง เชน คโต ขโต, ถาธาตมุ ี จฺ ชฺ และ ปฺ เปน ท่สี ดุ เอาท่สี ุดแหง ธาตุเปน ต ตัวอยาง เชน สติ ฺโต ภุตฺโต คุตโฺ ต, ถาธาตุมี อา เปน ทีส่ ดุ กด็ ี ต เปนกัมมวาจกกด็ ี ลง อิ ตัวอยา ง เชน โิ ต ปโต, ถาธาตุมี ทฺ เปน ที่สดุ อยหู นา แปลง ต เปน นนฺ แลว ลบที่สุดธาตุ ตัวอยา ง เชน ฉนฺโน ภินฺโน, ถาธาตมุ ี รฺ เปนที่ สดุ อยูหนา แปลง ต เปน ณณฺ แลว ลบท่ีสุดธาตุ ตัวอยา ง เชน ชิณฺโณ, ถา ธาตุมี สฺ เปน ทส่ี ดุ อยหู นา แปลง ต เปน ฏ แลว ลบทีส่ ดุ ธาตุ ตวั อยา ง เชน ตุฏโ , ถา ธาตุมี ทฺ และ ภฺ เปนทสี่ ุดอยูห นา แปลง ต เปน ทธฺ แลว ลบทีส่ ุดธาตุ ตัวอยาง เชน พุทฺโธ, ลทฺโธ, ถาธาตุมี มฺ เปนที่สุดอยูหนา แปลง ต เปน นตฺ แลว ลบทสี่ ุดธาตุ ตัวอยาง เชน ปกกฺ นโฺ ต, ถา ธาตมุ ี หฺ เปน ท่สี ดุ อยหู นา แปลง ต เปน ฬหฺ ลบท่สี ดุ ธาตุ ตวั อยาง เชน รฬุ โฺ ห. [ ๒๔๖๕]. ถ. ในทเี่ ชน ไร ต ปจ จยั ใชก ับบอกกัตตวุ าจก ? ในทีเ่ ชนไร ใช บอกกัมมวาจก ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 191 ต. ลงกับธาตไุ มมีกรรม ใชบ อกกตั ตุวาจก, ลงกับธาตุมี กรรม ใชบอกกัมมวาจก. [๒๔๕๗ ]. ถ. วิ รหุ ฺ ธาตุ ลง ต ปจ จัย เปน วริ ุยฺโห ถกู หรอื ไม ? ถาถูกก็แลวไป ถา ไมถ กู จะควรแกใ หเปนอยางไร ? ต. ไมถกู ทถ่ี ูกควรเปน วริ ุฬโฺ ห เพราะธาตุมี หฺ เปน ท่ีสดุ เมือ่ ลง ต ปจ จัย แปลง ต เปน ฬหฺ และลบท่ีสดุ ธาต.ุ [๒๔๖๐ ]. ถ. เมอ่ื เราเห็นศพั ทมรี ูปคลาย ๆ กนั เชน นกิ ขฺ นโฺ ต วสนโฺ ต ปกกฺ นโฺ ต วทนโฺ ต ดังน้ี จะสังเกตอะไรจึงจะรูไดว า ตัวไหนลงปจ จยั อะไร ? ตา งกนั อยางไร ? ต. สงั เกตพยญั ชนะที่สุดธาตุ นกิ ฺขนฺโต ปกฺกนฺโต ตองเปน ต ปจ จัย เพราะ นิกฺขนฺโต นิ บพุ พบท ขมฺ ธาตุ, ปกกฺ นโฺ ต ป บพุ พบท กมฺ ธาตุ ธาตมุ ี มฺ เปน ท่สี ดุ แปลง ต เปน นตฺ แลว ลบทีส่ ดุ ธาตุ จงึ เปน นิกฺขนฺโต ปกกฺ นฺโต. วสนโฺ ต วทนโฺ ต ตอ งเปน อนฺต ปจ จัย วสนโฺ ต วสฺ ธาตุ. วทนฺโต วทฺ ธาตุ, เหน็ พยญั ชนะทส่ี ุดธาตชุ ัด อยูตา งกันอยางน้ี . [ ๒๔๖๑ ]. ถ. มาน ปจ จยั ทใ่ี ชใ นกตั ตุวาจก และกัมมวาจก ตา งกัน อยางไรกบั ต ปจจยั ซ่งึ ใชใ นท่เี ชน นัน้ ? ต. มาน ปจจยั ที่ใชใ นกตั ตวุ าจก ใชธาตทุ ้ัง ๒ ชนดิ และเมื่อ นําธาตมุ าต้ังลงแลว ตอ งยมื ปจ จัยประจาํ หมวดธาตุในอาขยาตมา ประกอบกอน แลวจงึ นําปจจัยน้เี ขาประกอบ เชน กรุ ุมาโน คจฉฺ มาโน, สว น ต ปจ จยั ท่ีใชในกตั ตวุ าจก ใชธ าตุไดอ ยางเดียวคอื อกรรมธาตุ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 192 เชน คโต รโต เปนตน และไมตอ งยืมปจ จยั ประจําหมวดธาตุใน อาขยาตมาใช, มาน ปจจยั ที่ใชในกัมมวาจกตองลง ย ปจจยั อิ อาคม เชน กรยิ ามาโน, สว น ต ปจจัยไมตองใช. [ ๒๔๗๕]. ถ. ต ปจ จยั ประกอบกบั ธาตุ เชน ไรลบแตท ี่สุดธาตุอยา งเดียว ไมต องแปลง ? เชน ไรแปลงแลว ลบทสี่ ดุ ธาตุ ? ต. ถา ประกอบกบั ธาตทุ มี่ ี มฺ รฺ นฺ เปน ทส่ี ดุ ลบแตทส่ี ุดธาตุ อยา งเดยี วไมตองแปลง เชน คโต กโต หโต, ถาประกอบกับธาตุท่ีมี รฺ สฺ ธฺ ภฺ มฺ หฺ ทฺ เปนทสี่ ดุ ลบที่สุดธาตุแลว ตอ งแปลงรปู ไป ตางๆ ตามอํานาจของทส่ี ุดธาตุ ธาตุที่มี ร เปนทส่ี ดุ แปลง ต เปน ณณ เชน ตณิ ฺโณ , ทมี่ ี สฺ เปนทีส่ ดุ แปลง ต เปน ฏ เชน ปฏุ โ , ทม่ี ี ธฺ เปน ที่สดุ แปลง ต เปน ทธฺ เชน กทุ โฺ ธ, ทมี่ ี ภฺ เปนที่สดุ แปล ต เปน ทฺธ เชน ลทโฺ ธ, ทม่ี ี มฺ เปน ทีส่ ุด แปลง ต เปน นฺต เชน ปกกฺ นฺโต, ท่มี ี หฺ เปน ท่สี ุด แปลง ต เปน ฬหฺ เชน มฬุ โฺ ห, ทม่ี ี ทฺ เปนทสี่ ดุ แปลง ต เปน นฺน เชน ภินฺโน, ถา ธาตุทีม่ ี อา เปน ทสี่ ดุ ทา นใหเ อา อา ท่ีสุดธาตุนั้นเปน อิ หรอื อี และไมต องลบ ตอ งแปลง เชน โิ ต ปโ ต เปนตัวอยา ง. [ ๒๔๖๘-๒๔๗๗ ]. ถ. ในธาตเุ ชน ไร แปลง ตวฺ า ปจจัย เปน ย ได ? และในท่ี เชน ไร ตองอาเทศเปนอื่นอีกตอหน่ึง? ในท่เี ชน ไร คงเปน ย ตามรูป ? ต. ในธาตุมีอปุ สคั อยหู นา แปลง ตวฺ า ปจ จัยเปน ย ได, และ ในธาตมุ ี มฺ เปนทสี่ ดุ แปลง ย เปน มฺ เชน อภิรมฺม อภิ รม ธาต,ุ ในธาตุมี ทฺ เปน ทีส่ ดุ แปลง ย กับทสี่ ดุ ธาตุเปน ชชฺ เชน อปุ ปฺ ชฺช

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 193 อุ ปท ธาต,ุ ในธาตุมี ภฺ เปน ทส่ี ุด แปลง ย กับที่สดุ ธาตุ เปน พภฺ เชน อารพฺภ อา รภฺ ธาตุ, ในธาตุมี หฺ เปน ทสี่ ดุ แปลง ย กบั ทส่ี ดุ ธาตเุ ปน ยฺห เชน อารยุ ฺท อา รหุ ฺ ธาตุ, ในธาตมุ ี อา เปนทสี่ ุดคงเปน ย เชน อาทาย อา ทา ธาตุ,ในธาตุไมม ีอุปสคั อยหู นา แปลง ตวฺ า เปน ย แลวแปลง ย กบั ท่ีสุดธาตเุ ปน ทธฺ า ไดบา ง เชน วิทธฺ า วิธฺ ธาต,ุ ลมทฺธา ลภฺ ธาตุ. [ ๒๔๕๗ ]. ถ. ตวฺ า ปจ จยั บอกกาลอะไรบาง ? จงยกอุทาหรณมาแสดง. ต. บอกอดีตกาลเปนพ้นื แตถาเปนกริ ยิ าทีท่ าํ กอนแลวจึงทํา กิรยิ าขา งหลังตอ ไปอกี เรยี กวา ปพุ พกาลกิริยา อทุ าหรณวา ธมฺม สุตวฺ า คาม ปจฺจาคจฺฉต.ิ ถาเปน กิรยิ าทกี่ ลา วซ้าํ กับกิรยิ าขา งตนแสดง วา ทําเสรจ็ แลวเรียกวา ปริโยสานกาลกริ ิยา อุทาหรณว า เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ; อปุ สงกฺ มติ วฺ า-นสิ ที .ิ ถาเปน กริ ยิ าทําพรอมกบั กิรยิ าอนื่ เรียกวา สมานกาลกิรยิ า อทุ าหรณวา ฉตตฺ  คเหตฺวา คจฉฺ ติ. ถา เปน กิรยิ าท่ีทาํ ทหี ลงั กริ ิยาอ่นื เรียกวา อปรกาลกริ ยิ า อทุ าหรณวา ธมฺมาสเน นสิ ที ิ จติ ตฺ วชี นึ คเหตฺวา. ถาเขากับนาม เรยี กวา วเิ สสน อุทาหรณว า เปตฺวา เทวฺ อคคฺ สาวเก อวเสสา อรหตฺต ปาปุณึสุ. ถา เขากบั กริ ยิ า เรยี กวา กิรยิ าวิเสสน อทุ าหรณวา ตีณิ รตนาน เปตวฺ า อฺ  เม ปฏสิ รณ นตถฺ .ิ ถามีกตั ตา ตา งจากกิริยาหลัง เรียกวา เหตุ อทุ าหรณว า สหี  ทสิ ฺวา ภย อุปฺปชชฺ ติ. [๒๔๖๓ ]. ถ.ปจจัยในกิรยิ ากติ ก ตวั ไหนบา ง ใชค มุ พากยได ? ตวั ไหน

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 194 ใชคุมพากยไ มไ ด ? ต. ตพพฺ อนยี ต ปจจยั ใชคมุ พากยได, นอกจากนี้ ใชค ุม พากยไมได. [ อ. น. ]. ถ. ในกริ ยิ ากิตก ไมม บี รุ ุษ ถาเชน น้ัน ศพั ทก ริ ิยาน้ี เปนกริ ิยา ของนามนามที่เปน ประธานบุรษุ อะไร ? ต. เปน กิริยาของนามนามี่เปนประธานทัง้ ๓ บรุ ษุ . [อ. น. ]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook