Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore bali-1.14

bali-1.14

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-30 10:45:26

Description: bali-1.14

Search

Read the Text Version

คํานํา หนงั สอื บาลีไวยากรณ เปน หลกั สาํ คญั ในการศกึ ษามคธภาษา ทานจัดเปน หลกั สตู รของเปรยี ญธรรมตรอี ยา งหนงึ่ นักศกึ ษาบาลขี ัน้ ตนตอ งเรียนบาลไี วยากรณน ีใ้ หไดห ลักกอ น จึงจะเรยี นแปลคัมภีรอน่ื ๆ ตอ ไปได ผรู หู ลกั บาลไี วยากรณด ี ยอ มเบาใจในการแปลคมั ภีรต าง ๆ เขาใจความไดเรว็ และเรยี นไดดีกวา ผูอา นไวยากรณ แตก ารเรียนนน้ั ถา ขาดหนงั สอื อปุ กรณแ ลว แมท องแบบไดแ มน ยาํ ก็เขา ใจยาก ทาํ ให เรียนชา ทง้ั เปนการหนกั ใจของครสู อนไมน อ ย. กองตํารามหากฏราชวิทยาลยั ไดคาํ นึงถึงเหตุนี้ จึงไดค ดิ สรา งเคร่ืองอุปกรณบ าลที ุก ๆ อยาง ใหครบบรบิ ูรณ เพอื่ เปน เครือ่ ง ชวยนกั ศึกษาใหไดร ับความสะดวกในการศกึ ษา และชวยครผู ูส อน ใหเบาใจ ไดจดั พิมพเสร็จไปแลวหลายเร่อื ง อุปการณบาลไี วยากรณ กเ็ ปนเร่ืองหน่ึงทจี่ ะตอ งจัดพิมพข ึ้นใหเสร็จครบบริบรู ณโ ดยเร็ว ไดขอ ใหพระเปรยี ญทีท่ รงความรูหลายเชนรวบรวมและเรียบเรียง เฉพาะ ประมวลปญหาและเฉลยบาลีไวยากรณน ี้ พระมหาอู นสิ สฺ โภ ป.ธ . ๗ วัดบวรนิเวศวิหาร เปนผูรวบรวมและเรยี บเรยี งตอลดเลม และ มอบลิขสทิ ธิส์ วนทเี รยี บเรียงในหนังสือเลม น้ี ใหเ ปนสมบัตขิ อง มหากฏุ ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภตอไป. ในการรวบรวมนน้ั ทานไดรวบรวมปญหาและเฉลยนของนาม หลวง ต้งั แต พ.ศ. ๑๔๕๗ ถงึ พ.ศ. ๑๔๘๐ รวม ๒๔ ชุด จดั เรยี งใหเ ขาลาํ ดบั กันตามหนังสือบาลีไวยากรณ ตัง้ แตอักขรวธิ เี ปน ตน ไปจนถึงกริ ยิ ากติ ก ตดั ขอท่ีซํ้ากันออก และวางเลขประจํา พ.ศ ท่ีออกในสนามหลวงกํากับไวท ี่สุดคําเฉลยแหงขอ นนั้ ดว ยทุก ๆ ขอ ตอน ไหนขาดคอื บกพรอง ทา นไดเ รียบเรียงปญหาและเฉลยเพ่มิ เติมจน ครบทุกตอน และลงอกั ษรยอ [ อ. น. ] ซึง่ ความหมายวา [ อู. นสิ ฺสโก] กํากบั ไวทีส่ ุดคําเฉลยครบบริบูรณทกุ ๆ ขอ เชนเดียว

กนั นับวา หนังสือเลมนี้มปี ญหาและเฉลยครบบริบรู ณท กุ ๆ ตอน. หวงั วา หนังสอื เลม นี้จักอํานวยความรูหลักบาลีไวยากรณแกนักศึกษา ไดเ ปน อยา งด.ี กองตํารา ฯ ขอแสดงความขอบใจทานผรู วบรวมและเรยี บเรียง หนังสอื เลม น้ีจนเปนผลสาํ เร็จไวใ นทีน่ ้ีดวย. กองตํารา มหามกุฏราชวทิ ยาลัย ๒๐ ตุลาคม ๒๔๘๑

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 1 ประมวล ปญ หาและเฉลยบาลไี วยากรณ [ ขอความทัว่ ไป ] ถ. บาลไี วยากรณว าดวยเรอ่ื งอะไร ? แบงเปนกภ่ี าค ? อะไร บาง ? ต. วาดว ยเรอ่ื งระเบียบถอยคําสํานวน และระเบยี บหนงั สือใน ภาษาบาลีทว่ั ไป. แบง เปน ๔ ภาค คอื อกั ขรวธิ ี ๑ วจวี ภิ าค ๑ วากยสัมพนั ธ ๑ ฉนั ทลกั ษณ ๑. [ อ. น. ] . ถ. ผศู กึ ษาบาลีไวยากรณ ไดร บั ประโยชนอยา งไรบาง ? ต. ไดร บั ประโยชน คอื ความรูค วามเขา ใจในภาษาบาลีวา อะไรเปน อะไร เปนเหตุใหใ ชถอ ยคาํ สํานวนถกู ตอง ไดร ะเบยี บตาม ภาษานยิ ม เชนเดยี วกับผเู รียนไวยากรณภ าษาไทยฉะนั้น. [ อ.น. ] ถ. ลกั ษณะอักขรวิธีและวจวี ิภาค แผกกนั อยา งไร ? ต. อักขวิธี เปนวธิ วี า ดว ยตัวอกั ษร เชน วิธกี อน วิธีตอตัว อกั ษร จดั วรรคตอนในสวนตวั อักษร เปน ตน . วจวี ภิ าร เปนการแบง คําพูดที่ประกอบดวยตวั อกั ษรหลายตวั รวมกันเขาเปนคํา ๆ จําแนก คาํ พดู เหลานั้นออกเปน อยาง ๆ ตามลักษณะของคําพูด เชนคาํ พดู ที่ เปนชื่อจดั ไวพวกหน่งึ คาํ พดู เปนกริ ยิ าจดั ไวพวกหนง่ึ ดังน้ีเปน ตน . [ ๒๔๖๗ ]

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 2 [ อกั ขรวธิ ี ] ถ. อะไรเรียกอักขระ ? อกั ขระแปลวาอะไร ? มีอุปการ อยา งไรหรอื เขาจึงใชกนั ทกุ ชาติ ? ต. เสยี งก็ดี ตวั หนังสือกด็ ี ชือ่ วา อกั ขระ. อกั ขระแปลวา ไมร ูจ กั อยางหนงึ่ , ไมเปนของแขง็ อยางหน่ึง. เนื้อความของถวย คาํ ทัง้ ปวง ตองหมายรูกันไดด วยอกั ขระท้ังน้นั เพราะฉะนน้ั เขาจึง ตอ งใชกนั ทุกชาต.ิ [ ๒๔๖๕ ]. ถ. อักขรวธิ ี แบง ออกเปน ก่ีแผนก ? อะไรบาง ? แผนกไหน วา ดวยเรื่องอะไร ? ต. แบงเปน ๒ แผนก คือ สมญั ญาภธิ าน วา ดว ยอักษรทเี่ ปน สระและพยญั ชนะ พรอมท้งั ฐานกรณแ ผนก ๑ สนธิ วาดวยตอ อักษร ทีอ่ ยูในคาํ อ่ืนใหเนือ่ งเปนอันเดยี วกันแผนก ๑. [ อ. น. ]. [สมัญญาภิธานวาดวยสระและพยัญชนะ] ถ. อักขระทใี่ ชในบาลีภาษานน้ั มเี ทา ไร ? อะไรบา ง ? ต. มี ๔๑ ตวั คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๘ ตวั น้ชี ื่อสระ. ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ , ฏ  ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล ว ส ห ฬ  ๓๓ ตัวนีช้ ่ือพยญั ชนะ. [๒๔๖๓]. ถ. อกั ขระกบั พยัญชนะ ตางกนั หรือเหมอื นกันอยางไร ? ต. ตางกัน อักขระ หมายความกวาง คือหมายถึงท้งั สระทัง้ พยัญชนะ, สว นพยญั ชนะ หมายความเฉพาะพยญั ชนะมี ก, ข. เปน ตน ไมไ ดหมายความถึงสระดวย. [อ. น. ]

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 3 ถ. อะไรเรียกวาอกั ขระ พยญั ชนะและนิคคหิต ? ในคําท้ัง ๓ น้ัน คําไหนแปลวา กระไร ? ต. เสยี งก็ดี ตวั หนงั สือก็ดี เรยี กวา อักขระ, อกั ขระ แปลวา ไมร ู จกั ส้ินอยา ง ๑ ไมเปน ของแขง็ อยาง ๑ อกั ขระทเ่ี หลือจากสระ ๓๓ ตัว มี ก. เปนตน มนี ิคคหิตเปน ทส่ี ดุ เรยี กวา พยัญชนะ. พยัญชนะ แปลวา ทาํ เนื้อความใหปรากฏ พยัญชนะ คือ  เรียกวา นิคคหติ นิคคหติ แปลวา กดสระหรอื กรณ. [ ๒๕๘๐]. ถ. อะไรเรียกวา นสิ ยั ? อะไรเรียกวานสิ สติ ? มีหนา ทตี่ า ง กันอยา งไร ? ต. สระ ๘ ตวั เรียกวานสิ ยั . พยัญชนะ ๓๓ ตวั เรียกวา นสิ สิต, นสิ สยั มหี นา ที่ออกสาํ เนียง และเปน ท่ีอาศยั แหง พยญั ชนะ. นสิ สิต มีหนาทที่ าํ เนอ้ื ความใหปรากฏ แตตองอาศัยสระ. [ ๒๔๖๔ ]. ถ. อักขระพวกไหนชอื่ วานิสสยั ? พวกไหนชอ่ื วา นิสสิต ? เพราะเหตุไร ? ต. อกั ขระ ๘ ตวั เบ้อื งตนชอื่ วา นิสสยั เพราะเปนที่อาศยั ของ พยญั ชนะ, ทเ่ี หลอื นอกนช้ี อ่ื วา นสิ สติ เพราะตองอาศยั สระ. [ ๒๔๖๘ ]. ถ. สระ ๘ ตวั ๆ ไหนเปน รสั สะ ทีฆะ ? และตวั ไหน จัดเปน ครุ ลห?ุ ต. อ อิ อุ เปนรัสสะ, อา อี อู เอ โอ เปน ทีฆะ, แต เอ เปน โอ ๒ ตวั น้ี ถามีพยัญชนะสงั โยคซอนกนั อยูเบอ้ื งหลัง ทานจัดเปนรัสสะ. สระที่เปน ทฆี ะลว น ๕ ตวั และท่เี ปนรสั สะมีพยัญชนะสงั โยคและ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 4 นคิ คหติ อยูเบื้องหลงั จัดเปน ครุ. สระทีเ่ ปน รัสสะลว น ไมม ีพยัญชนะ สังโยคและนิคคหิตอยูเบื้องหลงั จดั เปน ลหุ. [ อ.น. ] ถ. เอ โอ เปน รัสสสระไดไหม ถา ไมไดก แ็ ลวไป ถาได ยก ตัวอยา งมาดู ? ต. ถา มีพยัญชนะสังโยคอยูเบ้ืองหลงั เปนรสั สสระได เหมือน คําวา เสยโฺ ย โสตถฺ ิ เปนตน. [๒๔๖๖]. ถ. เอ กบั โอ โดยฐานตางจากสระอื่นอยา งไร จงบรรยายและ ชเ้ี หตดุ วย ? ต. สระอนื่ เกดิ ในฐานเดียว เอ กบั โอ เกิดใ น ๒ ฐาน เอ เกดิ ท่ีคอและเพดาน. โอ เกดิ ทคี่ อและริมฝป าก. เพราะสระ ๒ ตวั น้ีเปน สังยุตตสระ. อ กบั อิ ผสมกันเปน เอ. อ กับ อุ ผสมกันเปน โอ. [ ๒๔๗๐ ]. ถ. พยญั ชนะ แปลวา กระไร ? มอี ปุ การะแกอ ักขรวธิ อี ยา งไร ? ต. พยญั ชนะ แปลวา ทาํ เน้อื ความใหป รากฏ คอื ใหไ ดค วาม ชดั เจนข้นึ มีอุปการะแกอ ักขรวธิ ีมาก เพราะความลําพงั สระซึ่งเรียก วา นิสสยั ถาไมม ีพยัญชนะเขาอาศัยแลว ก็ไมไดค วามชดั ตามภาษา ินยิ ม เชน จะพดู วา \"ไปไหนมา\" ก็จะเปน \"ไอไออา\" มเี สยี ง เหมือนกนั ไปหมด. แตเมื่อมีพยญั ชนะเขาอาศยั แลว เสียงกป็ รากฏ ชัด ไดค วามตามภาษาใหสําเร็จประโยชนใ นการพูด การเขยี นอกั ษร. [ อ. น. ]. ถ. พยญั ชนะ ๓๓ ตัวน้ัน จดั เปนวรรคกม็ ี เปนอรรคกม็ ี การ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 5 จัดอยา งนน้ั ถืออะไรเปนหลัก หรือจดั สง ๆ ไปเชนนน้ั ? ต. ถอื ฐานกรณเ ปน หลัก คือพยญั ชนะทีเ่ ปนพวก ๆ กนั ตาม ฐานการณท่เี กดิ จัดเปน วรรค. ทไ่ี มเปน พวกเปนหมูกนั ตามฐานกรณ ทเี่ กิด จดั เปน อวรรค. มหี ลกั อยา งน้ี มิไดจ ัดสง ๆ ไป. [ อ. น. ]. ต. พยญั ชนะวรรค อวรรค อยา งไหนมจี ํานวนเทา ไร ? จง บรรยาย. ต. พยญั ชนะวรรค มี ๒๕ ตัว ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ , ฏ  ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม. ท่เี ปนอวรรค ๘ ตวั คอื ย ร ล ว ส ห ฬ  [อ.น. ]. ถ. อนสุ าร คืออะไร ? และแปลวาอะไร ? เหตุใดจงึ ช่อื อยา งน้ัน ? ต. อนสุ าร คือนิคคหติ , แปลวา ไปตามสระ. ไดชือ่ อยางนั้น กเ็ พราะไปตามสระ คือ อ อิ อุ เสมอ เหมอื นคาํ วา อห เสตุ อกาสึ เปนตน . [๒๔๖๕ ]. [ฐานกรณข องอักขระ ] ถ. ฐาน กบั กรณ ตา งกันอยางไร ? และอยางไหนมเี ทา ไร ? จงแสดงมาดู. ต. ฐานไดแกทีต่ ้งั ท่ีเกดิ ของอักขระ กรณ ไดแ กท ี่ทาํ อกั ขระ. ฐานมี ๖ คือ กณฺโ คอ, ตาลุ เพดาน, มุทฺธา ศีรษะ, หรอื ปมุ เหงือก กว็ า , ทนฺโต ฟน, โอฏโ  รมิ ฝปาก, นาสกิ า จมกู . กรณม ี ๔ คอื ชิวฺหามชฺณ ทามกลางลนิ้ ๑ ชิวโฺ หปคคฺ  ถัดปลายล้นิ เขามา ๑

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 6 ชิวฺหคคฺ  ปลายล้นิ ๑ สกฏาน านของตน ๑. [ อ. น. ]. ถ. อะไรเปน ฐานและกรณของพยัญชนะอรรค ? ในพยัญชนะ เหลานี้ ตัวไหนเปนสิถลิ หรือธนติ ? รูไ ดอยางไร ? ต. เพดานเปนฐานของ ย, ทา มกลางล้นิ เปนกรณของ ย. ศีรษะหรือปุมเหงอื กเปน ฐานของ ร, ถัดปลายลิ้นเขามาเปน กรณ ของ ร, ฟน เปน ฐานของ ล, ปลายลน้ิ เปน กรณข อง ล, ฟน และ ริมฝป ากเปน าของ ว, ปลายลิน้ และรมิ ฝปากเปนกรณข อง ว, ฟน เปน ฐานของ ล, ปลายลน้ิ เปน กรณข อง ส, คอเปนฐานและเปน กรณข อง ห, ศรี ษะเปนฐานของ ฬ, ถดั ปลายล้นิ เขา มาเปน กรณ ของ ฬ, จมูกเปนฐานและกรณของนคิ คหติ . ในพยญั ชนะเหลานี้ ย ล ว ส ฬ เปน สิถลิ , ร ห  เปน ธนติ รูไดวา ย ล ว ฬ ๔ ตัวนี้ ใชเปนตวั สะกดได มีเสียงเทากับพยญั ชนะ ท่ี ๓ ที่ ๕ ในวรรคทัง้ ๕ อันเปนสถิ ลิ โฆสะ ใชสะกดไดเหมือกัน, ส รไู ดว าเปนสิถิลอโฆสะ เพราะสะกดได มีเสยี งเทา กับพยัญชนะที่ ๑ ในวรรคท้ัง ๕ อันใชส ะกดไดเ หมอื นกัน, ร ห  เปน ธนิต เพราะ ใชเ ปน ตวั สะกดไมได ซึ่งมเี สียงเทากับพยัญชนะที่ ๔ ในวรรคท้ัง ๕ อันใชส ะกดไมไ ดเหมอื นกัน. [ ๒๔๖๙ ]. ถ. ในจําพวกสระเอ กบั โอ เกดิ ในฐานไหน? มีกาํ เนดิ เปนมา อยา งไร จึงไดเกนิ ในฐานน้นั ? ต. เอ เกิดใน ๒ ฐาน คือ คอและเพดาน โอ เกดิ ใน ๒ ฐาน คือ คอและริมฝปาก, สระ ๒ ตวั นี้ เปนสังยุตตสระ ประกอบ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 7 สระ ๒ ตวั เปน เสยี งเดียวกัน. อ กบั อิ ผสมกนั เปน เอ, อ กบั อุ ผสมกันเปน โอ, เพราะฉะนัน้ เอ จงึ เกดิ ในคอและเพดานตามฐาน ของ อ และ อ,ิ โอ จงึ เกดิ ในคอและริมฝปากตามฐานของ อ และ อ.ุ [ ๒๔๕๙ ] ถ. อกั ขระอะไรบาง เกิดใน ๒ ฐาน ? ต. เอ, โอ, ง, , ณ, น, ม, ว, เกิดใน ๒ าน. [ ๒๔๖๒]. ถ. สระ ๘ ตวั เกิดฐานเดยี วกนั หรือตา งกันอยางไร ? ต. ไมเ กิดฐานเดยี วกนั ท้งั นนั้ อ อา เกิดในคอ, อิ อี เกดิ ที่ เพดาน, อุ อู เกดิ ทีร่ ิมฝป าก, เอ เกิดในคอและเพดาน, โอ เกิด ในคอและริมฝป าก. [ ๒๔๕๘ ]. ถ. ห แตลําพังตัวเอง เกดิ ที่ไหน ? และประกอบดว ยพยญั ชนะ อื่นอะไร ? เกดิ ทีไ่ หน ? ต. ห แตล ําพังตวั เองเกดิ แตค อ ประกอบดวยพยัญชนะ ๘ ตวั คือ  ณ น ม ย ล ว ฬ ทานกลา ววา เกดิ ที่อกดว ย. [๒๔๖๐ ] ถ. กรณ ๓ นัน้ กรณไหนสาํ หรบั อักขระพวกไหน ? ต. ชวิ หฺ ามชฺฌ ทา มกลางลนิ้ เปนกรณของอกั ขระที่เปนตาลุชะ, ชวิ โฺ หปคฺค ถัดปลายลน้ิ เขามา เปนกรณของอกั ขระทีเ่ ปนมุทธชะ, ชวิ ฺหคคฺ  ปลายลน้ิ เปน กรณข องอักขระทเ่ี ปนทันตชะ, สกฏ าน านของตน เปน กรณข องอักขระท่ีเหลือจากนี้. [อ. น. ]. [ เสียงอกั ขระ ] ถ. เสยี งของอกั ษรท้ังปวง ทา นจัดอักษรอยางไหน มเี สียง

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 8 ก่ีมาตรา ? ต. ทานจัดอกั ษรท่เี ปนสระสน้ั มาตราเดยี ว สระยาว ๒ มาตรา สระทีม่ ีพยัญชนะสังโยคอยเู บ้อื งหลงั ๓ มาตรา, พยญั ชนะทั้งหมด ตัวหนึ่ง ๆ มีเสียงก่ึงมาตรา ถา พยญั ชนะควบกัน ๒ ตวั กม็ เี สยี ง ยาวเทา กับพยญั ชนะไมค วบตวั หนึ่ง. [ อ. น. ]. ถ. สระกบั พยญั ชนะ ตอ งอาศัยกันจงึ ออกเสียได หรือไมต อง อาศยั กนั ก็ออกเสียงได ? ต. สระ แมจะไมอาศัยพยญั ชนะกอ็ อกเสียงไดตามลําพัง เชน อาภา โอชา เปนตน คาํ วา อา โอ นนั้ ไมม พี ยัญชนะอาศัย แต กอ็ อกเสยี งได สวนพยญั ชนะ จะออกเสยี งตามลําพังไมได ตอ ง อาศัยสระจึงออกเสยี งได เชน ตโิ ร รกุ โฺ ข เปนตน. [อ. น. ]. ถ. พยญั ชนะอะไร จดั เปน อโฆสะ ? อะไรจัดเปน โฆสะ ? ต. พยญั ชนะที่ ๑ ที่ ๒ ในวรรคทั้ง ๕ คอื ก ข, จ ฉ, ฏ , ต ถ, ป ผ, และ ส รวม ๑๑ ตวั เปน อโฆสะ มีเสียงไมก อง. พยัญชนะ ท่ี ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ในวรรคทง้ั ๕ คอื ค ฆ ง, ช ฌ , ฑ ฒ ณ, ท ธ น, พ ภ ม, และ ย ร ล ว ห ฬ. ๒๑ ตัวนี้ เปนโฆสะ มเี สียง กอ ง. [ อ.น.]. ถ. นคิ คหติ จัดเปน โฆสะหรอื อโฆสะ ?หรอื ไมจดั เปน ทัง้ ๒ อยา ง ? ต. ศัพทศาตราจารย จดั เปน โฆสะ สว นนักปราชญฝ า ย ศาสนา จัดเปนโฆสาโฆสวมิ ตุ คือพน จากโฆสะและอโฆสะ [ อ.น .].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 9 ถ. จงจัดพยญั ชนะวรรคเปน ๔ หมู มีสถิ ลิ อโฆสะเปนตน. และ พยัญชนะ ๔ หมู มเี สียงหนกั เบากวา กันอยา งไร ? ต. จดั พยญั ชนะวรรคเปน ๔ หมนู ้นั ดังน้ี :- ๑. สถิ ลิ อโฆสะ ก จ ฏ ต ป. ๒. ธนติ อโฆสะ ข ฉ  ถ ผ. ๓. สถิ ลิ โฆสะ ค ง ช  ฑ ณ ท น พ ม. ๔. ธนติ โฆสะ ฆ ฌ ฒ ธ ภ. พยญั ชนะเปน สิถลิ อโฆสะ มเี สยี งเบากวาทุกยญั ชนะ, ธนติ อโฆสะ มีเสียงหนกั กวา สิถลิ อโฆสะ, สถิ ดิ โฆสะ มเี สียงดังกวา ธนิตอโฆสะ, ธนิตโฆสะ มีเสยี ดังกองกวาสถิ ิลโฆสะ.๑ [ ๒๔๗๙ ]\" ถ. พยญั ชนะอะไรบา ง เปนธนิตโฆสะ. และพยัญชนะพวกน้ี ออกเสยี เชน ไร ? ต. พยญั ชนะท่ี ๔ ในวรรคทง้ั ๕ คอื ฆ ฌ ฒ ธ ภ เปน ธนติ - โฆสะ. พยัญชนะพวกน้ี ออกเสียงดงั กอง มีเสยี ง ห แกม. [๒๔๕๗] ถ. พยัญชนะทีเ่ ปน อฑั ฒสระคอื อะไรบา ง ? เหตใุ ดจงึ ช่ือดังนั้น ? ต. พยญั ชนะ ๗ ตัว คอื ย ร ล ว ส ห ฬ. เพราะพยญั ชนะ เหลานี้ บางตวั ก็รวมลงในสระเดียวกันดว ยพยญั ชนะอนื่ ออกเสยี ง พรอมกันได บางตัวแมเปนตัวสะกดก็คงออกเสยี งหนอ ยหนึง่ พอใหร ู ไดว า ตัวน้ันสะกด. [ ๒๔๗๖ ]. ๑. ขอนท้ี จ่ี ดั พยัญชนะที่สดุ วรรคท้งั ๕ คือ ง  ณ น ม เขา เปนสถิ ลิ โฆสะดวยนัน้ กลาวตามคัมภรี กจั จายนเภท สว นคัมภีรอ นื่ มิไดก ลา วไวอ ยา งน้ัน. (อ.น.)

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 10 [ พยญั ชนะสงั โยค] ถ. พยญั ชนะเชนไรเรยี กวา พยัญชนะสังโยค จงอธิบายถึงวิธี ทีอ่ าจเปน ไดเพยี งไร ? ต. พยญั ชนะที่ซอ นกนั เรียกวาพยัญชนะสงั โยค วิธีที่อาจเปน ได น้นั ดังน้ี คือ พยญั ชนะท่ี ๑ ซอ นหนา พยัญชนะที่ ๑และ ที่ ๒ ในวรรค ของตนได, พยัญชนะที่ ๓ ซอนหนา พยญั ชนะท่ี ๓ และท่ี ๔ ในวรรค ของตนได, พยัญชนะทส่ี ดุ วรรค ซอ นหนาพยัญชนะในวรรคของตน ไดท ง้ั ๕ ตวั เวน แตตวั ง ซึ่งเปนตวั สะกดอยา งเดยี ว ซอนหนา ตัวเอง ไมไ ด, ย ล ส ซอนหนาตัวเองได, นอกจากน้ยี ังมีอีก แตท า นมิได วางระเบยี บไวแ นนอน. [ ๒๔๗๗]. ถ. ลกั ษณะทปี่ ระกอบพยัญชนะซอ นกันไดน น้ั เปน อยา งไร ? พยญั ชนะสนธิ เหตุใดจึงไดสนธิกิริโยปกรณแตเ พียง ๕ ? และเหตุใด สระสนธจิ งึ มีสนธิกิริยาปกรณขาดไป ๑ ? ต. ลกั ษณะทีจ่ ะประกอบพยญั ชนะซอนกนั ไดน ้ัน ดงั น้ี ใน พยญั ชนะวรรคทง้ั หลาย พยญั ชนะท่ี ๑ ซอนหนาพยญั ชนะท่ี ๑ และ ท่ี ๒ ในวรรคของตนได, พยัญชนะที่ ๓ ซอนหนา พยญั ชนะท่ี ๓ และ ท่ี ๔ ในวรรคของตนได, พยัญชนะท่ี ๕ สดุ วรรคซอ นหนาพยัญชนะใน วรรคของตนไดท ้งั ๕ ตวั ยกเสียแตตวั ง. ซงึ่ เปนตวั สะกดอยา งเดียว มิไดส าํ เนียงในภาษาบาลี ซอ นหนา ตวั เองไมได. พยัญชนะวรรคที่ ซอนกันดงั นก้ี ็ดี ตัว ย ล ส ซอ นกนั ๒ ตวั กด็ ี ไมมีสระคัน่ พยัญชนะ ตวั หนาเปน ตัวสะกดของสระท่อี ยูหนาตน ไมอ อกเสียงผสมดวย

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 11 พยัญชนะตัวหลงั . สว นพยญั ชนะตวั หลงั อาศยั สระตวั หลงั ออกสําเนยี ง พยัญชนะอาจจะลบได อาเทสได ลงอาคมกไ็ ด ปกติกไ็ ด ซอ นกัน ก็ได แตจะทฆี ะ รสั สะ หรือวิการไมได เพราะทฆี ะ รสั สะและวกิ าร เปน ของสระ เพราะฉะนั้น พยญั ชนะสนธิจึงไดสนธิกริ ิโยปกรณแต เพียง ๕, สระจะซอ นกนั ไมไ ดเ ลย ไดแตพยี งผสมกัน เพราะฉะนัน้ ในสระสนธจิ ึงไมมสี ญั โญโค. [ ๒๔๖๕ ]. ถ. พยญั ชนะสังโยค ในพยัญชนะวรรคท้งั หลาย มเี กณฑท ี่ จะประกอบอยา งไร ? จงแสดงอุทาหรณแหง พยัญชนะ ท่ซี อนหนา ตัวเองทกุ ตัว. ต. มีเกณฑท ี่จะประกอบอยางน้ี คือ พยัญชนะท่ี ๑ ซอนหนา พยญั ชนะท่ี ๑ และท่ี ๒ ในวรรคของตนได, พยัญชนะที่ ๓ ซอหนา พยญั ชนะท่ี ๓ และท่ี ๔ ในวรรคของตนได, พยญั ชนะที ซอ นหนา พยัญชนะในวรรคของตนไดท ัง้ ๕ตัว เวน แตต วั ง ท่ีซอ นหนา พยัญชนะ อ่นื ๆ ในวรรคของตนได แตซ อ นหนาตวั เองไมได เพราะมิไดออก เสียงในภาษาบาลี มีไวสําหรับเปนตัวสะกดอยา งเดียว. อทุ าหรณ แหงพยญั ชนะทีซ่ อนหนาตัวเอง คือ เนปกกฺ  วทิ ูนคคฺ  ปณฑฺ จฺจ โสหชฺช การุฺ  วฏฏ ฉฑฑฺ ติ  ปณณฺ  นลี ตตฺ  หาลิทฺท ทินฺนธน สปฺปก นิพพฺ าน โอปมมฺ  โสเจยฺย โกสลฺล โปรสิ สฺ . [นป.ุ ๑๗ ]. [ ๒๔๗๑ ] ถ. พยญั ชนะอะไรบางซอ นหนา ตัวเองได ? พยัญชนะอะไรบาง ไดแตซอนหนา พยัญชนะอ่นื ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 12 ต. พยญั ชนะท่ี ๑ ท่ี ๓ ที่ ๕ ในวรรคทัง้ ๕ เวน แต ง กบั ย ล ส ซอ นหนา ตวั เองได, ง ว ฬ ไดแตซ อนหนา พยญั ชนะอื่นบางตัว [ ๒๔๗๘ ]. [ สนธิ] ถ. สนธกิ บั สมาส มงุ ลกั ษณะอยางเดียวกนั มิใชห รอื ? เหน็ อยางไร ? จงอธิบาย . ต. มงุ ลกั ษณะตา งกัน สนธหิ มายเอาลกั ษณะการตอตวั อกั ษร มไิ ดเ พงถงึ ศัพท. สวนสมาสเพงการยอศพั ทห ลาย ๆ บท ใหเขา เปนบท เดยี วกนั มไิ ดมงุ การตอ ตัวอักษร. แตถ า อักษรทตี่ อกันในสมาส มีวธิ ีซ่ึงตอ งตอดว ยวิธขี องสนธิ จงึ ตองเอาวธิ ีสนธิมาให. [ ๒๔๗๔ ]. ถ. จงพรรณนาความตางแหงศัพทส นธิกบั ศัพทสมาส ? มหา- สาโล ศพั ทน ี้ เปนศพั ทส นธิดวยหรือไม ? เพราะเหตุไร ? ต. ศพั ทส นธกิ บั ศัพทสมาสตา งกันอยางน้ี ตอ ศัพทแ ละอักขระ ใหเ นอื่ งกนั ดวยอักขระ เพือ่ จะยออกั ขระใหนอ ยลง เปน อปุ มการะใน การแตงฉันท และใหค าํ พดู สละสวย เรยี กสนธิ. ยอ บทวิภตั ติ หลาย ๆ บท ใหเ ปนบทเดียวกนั เรียกสมาส. เปน ศัพทส นธดิ ว ย. เพราะอาเทสพยัญชนะ คอื ร เปน ล จงึ เปน มหาสาโล. [ ๒๔๖๓]. ถ. สนธิ กลา วตามประเภทเปนกอ่ี ยาง ? นิคคหติ สนธิ ๑ อยางไหน ตองใชสนธกิ ิริโยปกรณเ ทาไร ? คืออะไรบา ง ? ต. เปน ๓ คอื สระสนธิ ๒ พยญั ชนะสนธิ ๑ นิคคหติ สนธิ ๑ สระสนธิ ใชส นธิกริ โิ ยปกรณ ๗ คือ โลโป อาเทโส อาคโม วิกาโร ปกติ ทีโฆ รสสฺ . พยัญชนะสนธิ ใชสนธกิ ริ ิโยปกรณ ๕

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนาที่ 13 คอื โลโป อาเทโส อาคโม ปกติ สฺโโค. สว นนคิ คหิตสนธิ ใชส นธิกิรโิ ยปกรณ ๔ คอื โลโป อาเทโส อาคโม ปกติ. [ ๒๔๖๘ ] ถ. สนธมิ ีช่อื วา อยา งไร อยางไหนมีอทุ ากรณอยา งไร ? ต. มชี อ่ื วา สระสนธิ พยญั ชนะ สนธิ นิคคหิตสนธิ เปน ๓, สระสนธิ มอี ทุ าหรณว า ยสฺส= อินทฺ รฺ ยิ านิ ลบสระหนาคอื อ ทสี่ ดุ แหง ศพั ท ยสฺส เสีย สนธเิ ปน ยสฺสนิ ทฺ รฺ ิยานิ. พยัญชนะสนธิ มี อุทาหรณวา มหาสาโร เปนมหาสาโล. นคิ ฺคหิตสนธิ มีอทุ าหรณ วา พทุ ธฺ าน=สาสน เปน พทุ ฺธานสาสน. [ ๒๔๖๓ ]\" ถ. สระสนธิ ตอ สระนั้น คอื ตอ สระอะไรกบั อะไร ? และมี สนธกิ ริ โิ ยปกรณอะไรบา ง ? ต. คอื ตอ สระทส่ี ดุ ของศพั ทห นา ซงึ่ เรยี กวา สระหนา กับสระ หนา ของศพั ทหลงั ซง่ึ เรยี กวา สระหลงั มสี นธกิ ริ โิ ยปกรณ ๗ คือ โลปะ อาเทส อาคม วกิ าร ปกติ ทฆี ะ รัสสะ. [ ๒๔๖๐ ]. ถ. สระสนธิ ไดสนธกิ ิริโยปกรณเ ทาไร อะไรบา ง ? โลปสระ เชนไรจาํ เปนตองทฆี ะสระดวย เชน ไรไมต อ ง ? ต. ไดส นธกิ ิรโิ ยปกรณเ ปน ๗ คือ โลโป อาเทโล อาคโม วิกาโร ปกติ ทโี ฆ รสสฺ , ถา ลบสระสน้ั ท่ีมีรปู เสมอกนั คือเปน อ หรือ อิ หรอื อุ ท้ัง ๓ ตวั ตอ งทฆี ะสระส้นั ทไี่ มไดลบ เชน ตตรฺ = อย เปน ตตรฺ าย, ยานิ= อธิ เปน ยานีธ, พห=ุ อุปกาโร เปน พหปู กาโร หรอื สระหนาเปนทีฆะ สระเบ้ืองปลายเปนรัสสะ เมือ่ ลบแลว ตอง ทฆี ะสระหลัง เชน สทธฺ า= อิธ เปน สทฺธธี , นอกจากนีไ้ มตอ ง. [๒๔๖๙].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 14 ถ. จกฺขุ= อายตน สนธิเปน จกขฺ ายตน จะถกู หรือไม ? ถาถกู เปนสนธิอะไร มวี ธิ อี ยางไร ถาไมถ กู จะควรทาํ อยา งไรจึงจะ ถกู ? และทาํ อยางน้นั ดวยสนธิกิรโิ ยปกรณอะไร ? ในสนธอิ ะไร ? ต. ถกู . เปนสระโลปสนธิ คอื ลบสนะหนา. อกี อยางหนึ่ง สนธิ เปน จกขฺ ฺวายตน ก็ได เปน อาเทส. [ ๒๔๖๐]. ถ. สระอะไรบา ง เปนอาเทสไดเฉพาะในท่ีเชนไร ฒ? จงยก อทุ าหรณ. ต. สระทีอ่ าเทสได คอื อิ เอ อุ โอ ถา มสี ระอยเู บอ้ื งหลัง แปลง อิ ตวั หนาเปน ย. ถา พยญั ชนะซอนกัน ๓ ตัว ลบพยญั ชนะ ทีม่ ีรปู เสมอกนั เสียตวั หน่งึ อทุ หรณ ปฏิสนถฺ ารวุตติ= อสสฺ เปน ปฏิสนธฺ ารวุตยฺ สสฺ , เอา เอ เปน ย อทุ าหรณ เต = อสสฺ เปน ตยฺ สฺส, เอา โอ เปน ว อุทาหรณฺ อถโข=อสสฺ เปน อถขวฺ สสฺ , เอา อุ เปน ว อทุ กาหรณ พห=ุ อาพาโธ เปน พหวฺ าพาโธ ถามี สระอยูขางหนา แปลง เอ ตวั หนา แหง เอว ศัพทอันอยูเบือ้ งปลาย เปน ริ ไดบ า ง แลว รสั สะตวั หนาใหสั้น อทุ าหรณ ยถา-เอว เปน ยถรวิ . [๒๔๖๑]. ถ. จติ ตฺ ขวฺ าห วตเฺ ถรวตถฺ ตัดบทอยางไร ? ต. จิตฺต โข อห ลบนิคคหติ และเอา โอ เปน ว. วตถฺ ุ เอตฺถ เอา อุ เปน ว. [ ๒๔๖๒ ]. ถ. สระสนธิ ในที่เชน ไร แปลนคิ คหิตเปน  จงนาํ อทุ าหรณ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 15 มาแสดง ? ต. พยัญชนะวรรคและ เอ, ห อยหู ลงั แปลงนิคคหติ เปน  อทุ าหรณ พทุ ธฺ ฺจ มมฺเว เอวฺหิ. ย อยหู ลัง แปลนิคคหิต กบั ย เปน  อุทาหรณ สฺโชน. [๒๔๗๓ ]. ถ. ในสระสนธิ เมอ่ื ลบสระแลว อยา งไรตองทฆี ะ? อยางไร ไมต อ ง ? อุทาหรณวา โนเปติ เปนทฆี สนธใิ ชไหม? เพราะเหตุไร ? ต. ถาลบสระยาวหรือสระสั้นทมี่ ีรปู ไมเ สมอกัน ตองทีฆะสระส้ัน ที่ไมไ ดลบ ถา ลบสระส้ันท่ีรูปไมเสอมกนั ไมต อ งทฆี ะสระสั้นท่ี ไมไ ดลบกไ็ ด. ไมใช เพราะทีฆะ ทานประสงคท ําสระสัน้ ใหยาว เชน อ เปน อา, อิ เปน อ,ี อุ เปน อี, อ.ุ ถา เอา อิ เปน เอ เอา อุ เปน โอ ทา นเรยี กวิการ. [ ๒๔๕๙]. ถ.ในสนธิ ในที่เชน ไร วิการ อิ เปน เอ และ อุ เปน โอ ได จง ชกั อุทาหรณม าดวย ? ต. ในท่มี ีสระ อ อยขู า งหนา วกิ าร อิ เปน เอ และ อุ เปน โอ ได อุทาหรณ พนธฺ ฺสสฺ = องิ พนฺธสุ ฺเสว, น -อุเปติ โนเปติ เวน ไวแตม ีพยัญชนะสงั โยคสะกดสระ อิ หรอื อุ นนั้ อุทาหรณ เทว= อนิ ฺโท เทวนิ โฺ ท, จติ ฺต = อปุ ฺปาโท จติ ฺตุปปฺ าโท. [ ๒๔๕๗ ]. ถ. ทฆี สนธินน้ั แบง เปนเทาไร ? คืออะไรบาง ? อยา งไหน อทุ าหรณอยางไร ? ต. แบงเปน ๒ คือ ทฆี ะสระหนาอยา ง ๑ ทีฆะสระหลังอยา ง ๑ ทีฆะสระหนา น้ันดงั น้ี สระหนา เมอื่ สระหลังลบแลว ทีฆะไดบ า ง

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 16 อทุ าหรณว า สาธ=ุ อติ ิ เปน สาธูติ หรอื พยญั ชนะอยหู ลงั ทีฆะไดบ าง อทุ าหรณ มนุ ิ= จเร เปน มนุ ีเจ ทฆี ะสระหลงั ก็อยางเดียวกัน ตา งแต ลบสระหนาทฆี ะสระหลงั ดังน้ี สทธฺ า=อธิ เปน สทธฺ ธี . [ ๒๔๖๖ ]. ถ. พยญั ชนะสนธิ ไดสนธิกิริโยปกรณเ ทาไร? สวนอาเทโส พยัญชนะ อยา งไหนนิยมสระ อยางไหนนิยมพยญั ชนะ อยา งไหน ไมน ยิ มเลย ? ต. พยญั ชนะสนธิ ไดสนธกิ ิริยาโยปกรณ ๕ คือ โลโป อาเทโส อาคโม ปกติ สฺโโค. สวนอาเทสพยัญชนะ ถา สระอยูหลัง แปลง ติ ท่ีทาํ เปน ตฺย แลว ใหเ ปน จฺจ อทุ าหรณ อติ ิ= เอว อจิ ฺเจว แปลง อภิ เปน อพภฺ อุทาหรณ อภ=ิ อคุ คฺ จฺฉติ เปน อพภฺ คุ คฺ จฺฉติ เปน ตน อยา งน้ี นิยมสระ ถาพยัญชนะอยเู บอื้ งหลัง แปลง อว เปนโอ อทุ าหรณ อว= นทฺธา เปน โอนทฺธา เปนตน อยางนน้ี ิยมพยัญชนะ แปลง ธ เปน ห อุทาหรณ สาธุ=ทสสฺ น เปน สาหทุ สสฺ น เปน ตน อยา งนไ้ี มนยิ มเลย. [ ๒๔๖๔ ]. ถ. อาเทสพยัญชนะสนธิ มีวิธที าํ อยา งไร ทเ่ี รยี กวา นยิ มสระ นิยมพยัญชนะ และไมน ิยมกนั เลย จงยกอุทาหรณประกอบดวยทกุ แหง ? ต. มวี ิธที าํ อยางน้ี ถา สระอยูหลงั แปลงติ ท่ีทา นทาํ เปน ตฺย แลว ใหเ ปน จฺจ อุทาหรณ อติ ิ = เอว เปน อจิ เฺ จว เปน ตน ดงั นี้ เรยี กวา นิยมสระ [คอื นยิ มสระเบอ้ื งหลงั ], แปลง อว เปน โอ อทุ าหรณ อว= นทฺธา เปน โอนทธฺ า ดังน้ี เรียกวา นยิ มพยัญชนะ [คือพยญั ชนะอยเู บอ้ื งหลงั ] แปลง ธ เปน ห อุทาหรณ สาธุ =

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนาที่ 17 ทสฺสน เปนตน สาหทุ สฺสน แปลง ท เปน ต อุทาหรณ สุคโท เปน สคุ โต เปนตน เรียกวา ไมน ิยมเลย [ คอื ไมนยิ มสระหรือพยัญชนะ เบื้องปลาย ] [ ๒๔๖๒ ]. ถ. ขอขอ บงั คับและตวั อยางพยัญชนะอาคม ๘ ตัว ? ต. พยญั ชนะอาคม ๘ ตัว ย ว ม ท น ต ร ฬ นี้ ถาสระอยู เบ้อื งหลงั ลงไดบ างดงั นี้ ย อาคม ยถา=อทิ  ยถายทิ , ว อาคม อุ = ทกิ ฺขติ เปน วทุ ิกฺขต,ิ ม อาคม คร=ุ เอสสฺ ติ เปน ครเุ มสสฺ ต,ิ ท อาคม อตฺต = อตโฺ ถ เปน อตฺตทตฺโถ, น อาคม อิโต=อายติ เปน อิโตนายติ, ต อาคม ตสมฺ า= อิห เปน ตสฺมาตหิ , ร อาคม สพฺภิ=เอว เปน สพภฺ เิ รว, ฬ อาคม = อายตน เปน ฉฬายตน, ใน สัททนีติ วา ลง ห อาคมก็ได อทุ าหรณว า สุ = อุชุ เปน สหุ ชุ ,ุ สุ = อฏุ  ิต เปนสุหฏุ  ติ . [ ๒๔๖๕ ]. ถ. อาคโม และ สฺโโค ในพยญั ชนะสนธิ ๘ ตัว ย ว ม ท น ต ร ฬ ถา สระอยหู ลงั ลงไดบา ง, ในสทั ทนีตวิ า ลง ห อาคม ก็ได. สวน สโฺ โค แบงเปน ๒ คอื ซอนพยัญชนะทีม่ ีรปู เหมือน กันอยาง ๑ ทไี่ มเ หมือนกันอยา ง ๑ อทุ าหรณท ่ีตน อธิ = ปโมทติ เปน อธิ ปปฺ โมทติ, จาตุ =ทสี เปน จาตุทฺทสี, อุทาหรณที่ ๒ เอา อกั ขระที่ ๑ ซอ นหนา อักขระที่ ๒ อักขระท่ี ๓ ซอนหนา อกั ขระท่ี ๔ ดังอุทาหรณวา จตตฺ าริ = านานิ เปน จตตฺ ารฏิ  านานิ, เอโสว

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 18 จ=ฌานผโล เปน เอโสว จชฺฌานผโล. [๒๔๖๖]. ถ. การลงอาคมท้ังสระและพยญั ชนะ มจี ํากัดอยางไร ? จง อธิบายและยกอุทาหรณ. ต. มีจํากัดอยางนี้ ถาสระ โอ อยหู นา พยญั ชนะอยหู ลงั ลบ โอ เสยี แลว ลง อ อาคม อทุ าหรณ โส สีลวา เปน สสลี วา, ถา พยัญชนะ อยูเบือ้ งปลาย ลง โอ อาคม กไ็ ด อทุ าหรณ ปร= สหสฺส เปน ปโรสหสฺส, สว นพยัญชนะอาคมนัน้ มีจํากัดใหลงได ๘ ตวั คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ แตตองมีสระอยเู บ้ืองหลงั จึงจะลงได อทุ าหรณ ยถา=อทิ  เปน ยถายิท, อุ = ทิกฺขติ เปน วุทกิ ฺขต,ิ ครุ = เอสฺสติ เปน ครุเมสฺสต,ิ อตตฺ = อหิ เปน ตสมฺ าตหิ , สพภฺ ิ= เอว เปน สพฺภเิ รว ฉ= อายตน เปน ฉฬายตน แตใ นสทั ทนีติ ลง ห อาคมกไ็ ด อุทาหรณ สุ = อุชุ เปน สหุ ชุ ุ. [๒๔๖๘]. ถ. ในสระสนธิ ในท่เี ชน ไร แปลงนิคคหิตเปน  ได ชกั อุทาหรณมาเทยี บดวย ? ต. พยญั ชนะวรรคและ เอ, ห อยูห ลัง แปลงนคิ คหติ เปน ญ ได อทุ าหรณ ธมฺมฺจเร, ปจฺจตฺตเฺ ว, เอวฺหิ. ย อยหู ลัง แปลงนคิ คหิต กบั ย เปน ฺ อุทาหรณ สโฺ โค. [ ๒๔๕๘ ]. ถ. จงใหต วั อยางแหงอาเทสสนธิทัง้ ๓ เฉพาะนยิ มสระเบ้ือง ปลาย ? ต. สารเทสสนธิ เชน คาํ วา อคฺยาคาร พหฺวาพาโธ. พยญั ชนา-

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 19 เทสสนธิ ดังคาํ วา อจิ เฺ จว อชฌฺ คมา อชโฺ ฌกาโส. นคิ คหิตาเทส- สนธิ เชน คาํ วา ตเฺ ว, เอตทโวจ, ยมห.[ ๒๔๖๙]\" ถ. การลงอาคม ทา นบัญญตั ใิ หใ ชใ นสนธไิ หน ? จงแสดง พรอมท้ังวิธีหรือโอกาสที่ทานอนญุ าตใหลงดวย ? ต. ในสระสนธิ ถา มีพยัญชนะอยหู ลัง สระ โอ อยูห นา ลบ โอ แลว ลง อ อาคมได,ถาสระ อ อยูหนา ลบ อ แลวลง โอ อาคม ได, ในพยัญชนะสนธิ ถา มีสระอยูห ลงั ลง ย ว ม ท น ต ร ฬ อาคมได, ในสทั ทนีตวิ า ห อาคมกล็ งได, ในนคิ คหติ สมาธิ ถา สระ หรือพยัญชนะอยูหลัง ลงนคิ คหติ อาคมได. [ ๒๔๘๑ ]. ถ. อาเทสกบั วิการ ตางกนั อยา งไร ? เมอื่ พบอทุ าหรณวา นิพฺเพมตโิ ก จะเขาใจวา เปนมาอยา งไร ? ต. อาเทส ไดแ กแปลงสระหรอื นิคคหิตใหเปนพยัญชนะ หรือ แปลงพยญั ชนะใหเ ปน สระ หรือเปนพยญั ชนะอื่นจากเดิม, สวน วิการไดแ กทาํ สระใหเ ปน สระมีรูปผดิ จากวณั ณะเดิม ตางกนั อยางน้.ี นิพเฺ พมตโิ ก เขาใจวา เดมิ เปน นิ วิ มตโิ ก วกิ าร อิ เปน เอ อาเทส ว เปน พ แลว สงั โยค คือ ซอน พ. [๒๔๗๑ ]. ถ. ปจจฺ ปุ การ อภุ ยมเฺ ปต สพพฺ ตถฺ มปราชิตา ศพั ทไหนเปน สนธอิ ะไรไดบาง จงแถลงวธิ สี นธินั้น ๆ ใหสนิ้ เชงิ ? ต. ปจจฺ ุปการ เปนพยัญชนะสนธิ เดมิ เปน ปต=ิ อปุ การ แปลง ติ เปน ตยฺ แลว แปลงเปน จฺจ. อภุ ยมเฺ ปต เปนนิคคหติ สนธิ ในทอนหนา เปน สระสนธใิ นทอนหลงั เดิมเปน อุภย= ป= เอต แปลง

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 20 นคิ คหิตเปน ม เปนเสร็จในเร่อื งนิคคหติ สนธทิ อ นตน ทอ นหลงั ลบ อิ เสีย สนธเิ ขา เปน เป เปนสระสนธิ. สพพฺ ตฺถมปราชติ า เปน พยญั ชนะสนธิ เดมิ เปน สพฺถตฺถ=อปาราชติ า ลง ม อาคม. [๒๔๖๗ ]. ถ. ทกุ ขฺ มเนตฺ ิ เสนาสนตฺ ฏุ  กวา จะสาํ เร็จรูปอยางนี้ได ตอ ง ผานวิธีแหงสนธอิ ะไรบาง ? จะแสดงใหสน้ิ เชงิ . ต. ทกุ ขฺ มเนวฺติ ตดั บทเปน ทกุ ขฺ  อเนฺวต.ิ ทกุ ขฺ  ทุ = ขม ข ซอ น กฺ หนา ข โดยวธิ ีแหงสัญโญคสนธิ. อเนวฺ ติ อนุ = เอติ เอา อุ เปน ว โดยวธิ แี หงสราเทสสนธ.ิ ทกุ ขฺ =อเนฺวติ เอานคิ คหติ เปน ม โดยวธิ แี หงนิคคหติ าเทสสนธิ สาํ เรจ็ รูปเปน ทุกขฺ มเนฺวต.ิ เสนา- สนฺตฏุ  ตดั บทเปน เสน = อนสตฺ ฏุ  , อสนฺตฏุ  น ส = ตฏุ  เอา นคิ คหิตท่ี ส เปน น โดยวธิ ีแหง นคิ คหิตาเทสสนธิ เสน = อสนตฺ ฏุ  ลบสระหนา ทฆี ะสระหลัง โดยวธิ แี หง สรโลปสนธแิ ละทีฆสนธิ สําเร็จ รูปเปน เสนาสนตฺ ฏุ . [ ๒๔๘๙ ]. ถ. ในวธิ ีของสนธกิ ิริโยปกรณ ๘ อยาง เฉพาะบางปกติ ดู ไมนา จะเปนอปุ การะแกก ารตอ อยางไรเลย แตไ ฉนทา นจงึ จัดเขา ประจํา ทัว่ ทัง้ ๓ สนธิ หรืออาจเปน ไดบา ง ? เห็นอยางไร จงอธิบายมา ? ต. เปนอุปการะไดอยาง ๑ เพราะการตอ อกั ขระ ซึง่ เรยี กวา สนธนิ นั้ จะตอ เขาเฉยๆ โดยไมมีหลกั เกณฑไมได จะตอไดเฉพาะ ตามหลกั ท่ีวางไว เชน โลปะ เปน ตน แตเ มอ่ื ตองการจะตอ เขาเฉยๆ โดยไมต องลงหรอื ทาํ อยางอืน่ เชนนี้กต็ องตอโดยใชหลกั ทเ่ี รียกวา

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 21 ปกติ คงรปู ไวตามเดมิ จึงเหน็ วา ปกติ กม็ ปี ระโยชนอ ยูในสนธิทั้ง ๓. [ ๒๔๘๐ ]. [ นาม ] ถ. จงแสดงลกั ษณะแหง นามทั้ง ๓ ใหเ หน็ วาตา งกัน ยกตัวอยาง มาสักประโยคหน่งึ เปน คาํ มคธหน่ึงคําไทยก็ตาม แสดงใหเ ห็นวา คาํ นั้น ๆ เปนนามน้ัน ๆ ? ต. นามทเ่ี ปนช่ือของคน, สัตว, ท,่ี สิง่ ของ เปน นามนาม. นามทแี่ สดงลกั ษณะของนามนาม สาํ หรับหมายใหรวู า นามนามนั้น ดีหรือช่วั เปน ตน เปนคุณนาม. สพั พนาม เปนศัพทสาํ หรับใชแ ทน นามนามทีอ่ อกชื่อมาแลว เพือ่ จะไมใหซํ้า ๆ ซาก ๆ. อจุ จฺ  ขตฺตยิ สสฺ กลุ  , ต ชนเหิ มานิต. กลุ  เปน ช่อื ขอสกุล เปน นามนาม, อจุ ฺจ แสดงลกั ษณะของสกลุ เปนคุณนาม, ต ใชแทนสกุล เปน สัพพนาม. [ ๒๔๕๙]. ถ. นามศัพท เมือ่ นาํ ไปใชในขอ ความท้ังปวง จะตอ งทํา อยา งไร ? ต. ตอ งประกอบดว ยลิงค วจนะ และ วิภัตต.ิ [ ๒๔๖๐ ]. ถ. นามศพั ทท ้ัง ๓ อยางไหนแบงเปนกีอ่ ยาง ? อะไรบา ง ? ต. นามนาม แบง เปน ๒ อยาง คือ สาธารณนาม ๑ อสาธารณ- นาม ๑. คณุ นาม แบง เปน ๓ อยาง คอื ปกติ ๑ วิเสสน ๑ อตวิ เิ สส ๑. สัพพนาม แบงเปน ๒ อยาง คอื ปุริสสพั พนาม ๑ วเิ สสนสพั พนาม ๑. [ อ. น. ]

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 22 ถ. คุณนามแบง เปน ๓ จะสงั เกตรปู ไดอ ยางไรวา นี้เปน คุณนาม ชั้นน้นั ชั้นน้ี ? ต. สังเกตรูได  ๒ อยาง คือ สังเกตคําแปลอยา ง ๑ สงั เกต ศัพทอยา ง ๑. สังเกตคาํ แปลน้นั คือ ปกตคิ ณุ นาม แสดงลักษณะ อาการหรือสมบัติของนามนามตามปกติ เชน คนมีศรทั ธา, มศี ลี . ไมม คี าํ แปลวา \"ย่งิ หรอื กวา \" และคําแปลวา \"ทส่ี ดุ \" วเิ สส- คุณนาม มีคําแปลวา \"ย่ิง หรอื กวา \" เชน ดียิ่ง หรอื คําอ่ืนๆ อกี ทแ่ี สดงวา ดหี รอื ช่วั ทสี่ ุด เชน บาปทีส่ ุด ดรุ ายทส่ี ดุ สงู เกิน เปรยี บ. สังเกตศพั ทน ั้น คอื ศัพทท ่ีเปนปกตคิ ณุ นาม ไมม ปี จจัย อุปสรรคและนิบาต ทแ่ี สดงความยงิ่ และหยอนกวาปกตติ อทายหรือ อยูหนา เชน สทโฺ ธ สลี วา เปน ตน.ศพั ทท ี่เปนวเิ สสนคุณนาม มี ตร อยิ ปจ จยั ในตทั ธิตตอทา ยบา ง เชน ลามกตโร ปาปโ ย, มี อติ อปุ สรรคนําหนาบาง เชน อตสิ ุนฺทโร เปนตน. ศัพทท ี่เปน อติ- วิเสสคณุ นาม มี ตม อฏิ  ปจจยั ในตทั ธติ ตอทายบาง เชน ปาปตโม จณฑฺ ิฏโ  มอี ติวิยอุปสรรคและนิบาตนําหนาบาง เชน อตวิ ิยอุจฺโจ เปน ตน. [ อ. น.] ถ. นามศัพท ถานําไปใชใ นขอ ความทั้งปวง ตองประกอบ ดวยอะไร ? เมือ่ ไดประกอบไดกับวิภัตตแิ ลว เปน ประโยชนแ กผ ศู กึ ษา อยา งไรบาง ?

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 23 ต. ตอ งประกอบดว ย ลิงค วจนะ วภิ ตั ต.ิ เปน ประโยชน ใหผูศึกษาเขาใจ การนั ต ลงิ ค วจนะ และอายตนิบาตคือคาํ ตอ ซง่ึ ทานจดั ไวสําหรบั วภิ ัตติโดยแนน อนและชัดเจนข้ึน เชน คาํ วา ซ่งึ , ดว ย, แก, จาก, ของ, ใน, เปนตน ตอ งใชวภิ ตั ติขางหลังบอก ใหร เู นอื้ ความน้ัน ๆ ทัง้ ส้ิน. [ ๒๔๖๒ ]. ถ. นามนามกบั คุณนาม ตางกันอยางไร ? ภทรฺ บาป เปน นามหรอื คุณ หรือเปนไดท ้งั ๒ อยา ง ? ถาเปนอะไร กใ็ หบอกถงึ ชนั้ ดว ย ? ต. นามทีเ่ ปน ช่ือของ คน สัตว ท่ี สง่ิ ของ เปนนามนาม, สวนนามท่แี สดงลกั ษณะของนามนาม สําหรับหมายใหรูไดว า ดีหรอื ชวั่ เปน ตน เปนคุณนาม, เปนไดท งั้ ๒ อยา ง ที่เปน นามนาม เปนชัน้ สาธารณะ ท่ีเปน คุณนาม เปนชั้นปกต.ิ [๒๔๖๘ ]. ถ. การแบงนามนามเปน ๒ นน้ั อาศัยเหตุอะไร? การแบง เชนนน้ั มปี ระโยชนอยา งไร ? ต. อาศยั ชนดิ ของนามนามน่นั เอง ซึ่งประชาชนใชพ ูดกัน โดยไมจาํ กดั นามอยา งหน่งึ . โดยจํากัดนามอยา งหนึ่ง. การแบง เชน นน้ั กม็ ปี ระโยชนท ่จี ะใหท ราบความจํากดั หรอื ความไมจาํ กัดของ นามโดยแนน อน เมอื่ รูเชนน้นั ยอมไดรับความสะดวกในเวลาพดู คือ เมอื่ ตองการจะพดู จํากัดหรอื ไมจํากดั นามอยา งไร ก็เลอื ก พูดไดตามประสงค. [ อ.น. ]. ถ. จงแสดงใหเห็นวา นามนามมีอาํ นาจเหนอื คณุ ศัพทอ ยา งไร ?

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ท่ี 24 จะควรเรยี งคุณศพั ทไวห นา นามหรอื หลงั นาม จึงจะเหมาะ จงให ตัวอยาง ? ต. มอี ํานาจทจี่ ะบังคบั คณุ ศัพทใหม ี ลงิ ค วจนะ วภิ ตั ติ เสมอ กับนามนาม ซงึ่ เปน เจาของ เพราะวา คณุ ศัพทจ ะไดกต็ องอาศัยนาม ถานามไมมี คณุ ศพั ทก ็ไมปรากฏ, คุณนาม แสดงลักษณะ ของ นามนามบทใด เรยี งไวห นานามนามบทนั้น ดังนี้ อจุ โฺ จ รุกฺโข, อจุ ฺเจ รุกฺเข สุกณา. ถา เนื่องดวยกริ ยิ าวา มี วา เปน เรียงไวห ลังนามนาม ซงึ่ เปนเจาของ หนา กิริยาวา มี วา เปน ดงั นี้ สุคนฺธ ปุปฺผ มนุสสฺ าน มนาป โหต.ิ [ ๒๔๗๕ ]. ถ. คุณศพั ทเน่อื งดว ยกริ ยิ าวา มี วา เปน เรยี งไวหลังนาม ซง่ึ เปนเจาของ หนากริ ิยาวา มี วาเปน มใิ ชหรือ ? ถาเปนเชนน้นั ๒ บทวา สสุ สฺสา สุลภปณ ฑฺ า ในอทุ าหรณนีว้ า เตน โข ปน สมเยน เวสาลี สุภิกฺขา โหติ สุสสฺสา สุลภปณ ฑฺ า ทาํ ไมจึงเรียงไวหลงั กิรยิ า ? ต. คําวาคุณศัพทเนื่องดวยกริ ิยาวามี วาเปน เรยี งไวหลังนาม- นาม ซ่ึงเปนเจาของ หนากิริยาวา มี วาเปน นนั้ ทานกลาวหมาย เฉพาะทมี่ คี ุณศัพทบ ทเดียว แตอ ทุ าหรณนี้ มีคุณศพั ทเ ชนนน้ั ถึง ๓ บท คือ สภุ กิ ฺขา สสุ สฺสา สลุ ภปณฑฺ า เม่อื มคี ุณศัพทเ นอ่ื งดว ย กริ ยิ าวา มี วาเปน หลายบทเชนน้ี ทานใหเรยี งไวหนา กริ ยิ านนั้ แตบ ท เดียว ทเี่ หลอื เรียงไวห ลังกริ ิยาท้ังสน้ิ ดังน.ี้ [๒๔๗๖]. ถ. คณุ กับ วิเสสนะ ของ นามนาม โดยอาการเปน อันเดียวกนั อยากทราบวา โดยรูปศพั ท ทา นจัดไวตางกนั อยางไรหรือไม ช้ี

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 25 ตวั อยา ง ? ต. โดยรูปศพั ท ทานจัดไวต างกัน เพ่ือใหกาํ หนดรไู ดวา ลักษณะนี้เปนคณุ หรอื วิเสสนะ ศพั ทเ หลา ใดพอจะเปนเคร่อื งแสดง ลักษณะของนามใหร ูวาดีหรอื ช่ัว เชน ปาโป สุนทฺ โร จณฺโฑ เปน ตน จดั เปนพวกคณุ นาม, ศัพทเ หลา ใดทีส่ อ งนามใหว เิ ศษข้ึน ไม เกยี่ วกบั การแสดงลักษณะของนามนั้น เพง ลกั ษณะทีแ่ นหรอื ไมแน ของนามเปนประมาณ เชน โย โส อฺ ตโร เปนตน จดั ไดเ ปน พวกวเิ สสนะ เรียกวาวเิ สสนสพั พนาม ดังน้ี . [๒๔๖๙ ]. ถ. คาํ วา \"คนไทย\" เปนนามประเภทไหน ? ต. เปน นามไดท ้ัง ๒ ประเภท แลวแตความหมาย. ถา ใชเ รยี ก หมคู นไทยดวยกัน ไมไ ดเ ก่ียวกับคนชาตอิ นื่ กห็ มายความถงึ คนไทย ทกุ คน เชนนจ้ี ดั เปนสาธารณนาม, ถาใชเรียกชนหลายชาตทิ ร่ี วม กนั อยู คาํ วา \"คนไทย\" กห็ มายความเฉพาะแตค นชาตไิ ทย ไมได หมายถงึ ชนชาติอ่ืน เชนนจ้ี ดั เปน อสาธารณนาม. [อ. น]. ถ. คุณนาม สพั พนาม เวลาแปลไมไดแสดงอายตนิบาตและ วจนะ เหตุไรจงึ ตองประกอบดวย ลิงค วจนะ วภิ ัตติ ดจุ นามนาม ดวย ? ต. เพราะคุณนาม สพั พนาม ตอ งอาศัยนามนามเปนหลกั ถา ไมป ระกอบ ลงิ ค วจนะ วภิ ตั ติ จะรูไมไ ดวา เปน คณุ นามและ สพั พนามแหงนามนามตัวไหน ไมส ามารถจะประกอบคาํ พดู เขาเปน พากยไ ด. [ ๒๔๖๑ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนาที่ 26 ถ. สพั พนาม คือนามอยา งไร จาํ เปนอยา งไร จึงตอ งมี ? ต. สพั พนาม คือนามท่ใี ชแทนนามนามซ่ึงออกซ่งึ มาแลว เชน ทา น เธอ เขา มนั กู สู เอง มึง เปน ตน . จําเปนตองมี เพราะการ พดู ดว ยการความไพเราะเรยี บรอ ย ถา ไมม ีสพั พนามคือคาํ แทนชอ่ื แลว การพูดก็จําตอ งออกชอ่ื สัตว บุคคล สิง่ ของน้ัน ๆ ซึง่ เตย ออกชือ่ มาแลว ทุกคร้ังไป เปน การซา้ํ ซากไมเ พราะหู ตัวอยางเชน นามแดงกินขาว นายแดงไปโรงเรียน นายแดงเอาใจใสในการ เรยี น เมือ่ พูดออกชอ่ื มาครงั้ หน่ึงแลว ตอ ไป ถาจําเปน จะตอ งพูด ระบถุ ึงตวั เขาอกี กค็ วรใชสัพพนามแทนช่ือของเขา ดังอุกทาหรณ ขางตนนัน้ แตเ ปลยี่ นใชสพั พนาม เปน ดงั น้ี นายแดงกินขา วแลว เขาไปโรงเรยี น เขาเอาใจใสการเรียน เชนน้ี ความเรยี บรอ ย ไพเราะดีกวา เพราะเหตุน้ี สพั พนามจงึ จําเปน ตอ งมี. [ อ.น. ] ถ. คําพูดทเ่ี ปนสพั พนามสําหรบั ใชใ นในทีเ่ ชน ไร ? จงชกั ตัวอยา ง คาํ มคธกบั คําไทยเทยี บกัน ? ต. คาํ พดู เปน สพั พนามนั้น สาํ หรบั ใชใ นทีอ่ อกช่อื นามนามซ้ําๆ ตัวอยา ง ปมปรุ ิส โส ทา นหรือเขา ผชู าย, สา ทานหรือเขา ผูหญิง ต มนั เปน คําต่ํา คําสูงไมมีใช. มชฌฺ มิ ปรุ สิ ตฺว ทา น หรือ เจา สู เอง, อุตตฺ มปุริส อห ขาพเจา หรอื ขา กู [ ๒๔๕๘ ]. ถ. จงเขียนประโยคบาลี หรือไทย มาเทียบกับนาม ทงั้ ๓ แลว บอกวาคําน้ันเปน นามนั้น ๆ ? ต. อนตุ ฺตโร ปรุ ิสทมฺมสารถิ ภควา, โส ปุรสิ ทมฺเท เทมติ.

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 27 ภควา เปนพระนามของพระบรมศาสดา เปนนามนาม, ปรุ ิสทมฺม- สารถิ แสดงลกั ษณะสามัญแหงพระองค เปน ปกติคุณนาม, อนุตตฺ โร แสดงลักษณะวเิ ศษแหงพระองค เปน วิเสสคณุ นาม, โส ใชแทน พระบรมศาสดา เปนสัพพนาม. [ ๒๔๗๓ ]. [ ลิงค ] ถ. ลิงคแปลวาอะไร ? จดั เปน เทาไร ? อะไรบาง ? และจัด อยา งไร ? ต. แปลวาเพศ. จดั เปน ๓ ปลุ ิงคฺ ฺ เพศชาย ๑ อติ ฺถลี ิงฺค เพศหญิง ๑ นปุส กลิงฺค มิใชเพศชายมิใชเพศหญิง ๑. จดั ตาม สมมติของภาษาบาง ตามกาํ เนิดบา ง . [ อ. น. ] ถ. ลงิ คนั้นจดั ตามกําเนดิ อยางเดียวไมพอหรอื ? เหตุไฉน จึง ตอ งจัดตามสมมตดิ ว ย ซงึ่ ทีใ่ หผศู กึ ษาจาํ ลงิ คไ ดยาก ? ต. จริงอยู การจดั ลิงคตามสมมติน้นั ทําใหผ ศู ึกษาจําลิงคได ยาก เพราะสับสนเพศกนั เชน ทาโร เมยี ตามธรรมดาตอ งเปน อติ ถีลงิ ค เพศหญิง แตส มมติใหเปนปุงลิงคเพศชาย ภมู ิ แผน ดนิ ตามธรรมดาตองเปน นปุงสกลิงค มิใชเพศชายมิใชเพศหญิง แตส มมติ ใหเ ปน อิตถลี ิงคเ ปนตน. จะจดั ตามกาํ เนิดอยา งเดยี วไมพ อ เพราะ คําพูดผิดลิงคเ ชนนน้ั เขานิยมพูกันมากอ นตาํ ราไวยากรณเกิดขึน้ ตําราไวยากรณเกดิ ทีหลงั ตามหลักการแตต ําราไวยากรณจะตอง รวบรวมเอาคําพูดทั้งสน้ิ ใหอ ยูในกรอบและอนุวตั รตามภาษานิยม ถา ไมม ีการจัดลงิ คตามสมมตแิ ลว คาํ พดู เหลา นนั้ ก็จะอยูนอกกฏเกณฑ

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 28 ตาํ ราไวยากรณไ ป ตําราไวยากรณก อ็ าํ นวยผลไมบ ริบรู ณ เพราะ ฉะน้นั จึงจําเปนตอ งมีจัดลงิ คต ามสมมติดว ย. [อ. น.]. ถ. ลิงคม ีประโยชนอ ยา งไร ? โปรดอธบิ าย. ต. ลงิ คม ปี ระโยชนใ หร ูไ ดวา เปนเพศชาย เปน เพศหญิง หรอื เพศรวม คอื ไมใชชายไมใ ชห ญิง และเม่อื ทราบลงิ คแ ลว เปน เหตุใหส ะดวกในการแจกวิภตั ติตามการนั ตน ้ัน ๆ ถา ไมทราบวา เปน ลงิ คอะไร ก็ยากทีจ่ ะนําไปแจกตามการนั ตใ หถกู ตอ งได ลิงคเ ปน หลกั สําคัญในการท่ีจะนาํ ศพั ทไ ปแจกตามการันตตาง ๆ . [ อ. น. ] ถ. การจดั ลงิ คน ้ัน จัดอยางไร ? จงแสดงวธิ ีจัดมาด.ู ต. การจดั ลิงคน้ัน จดั ตามกําเนิด ๑ จดั ตามสมมติ ๑ จดั ตามกาํ เนิดนั้น คือกาํ เนิดของส่ิงนั้นเปนเพศอะไร กจ็ ัดเปนเพศนน้ั ไมม ีเปล่ยี นแปลง. จัดตามสมมตินั้น คือกําเนนิ สตรี สมมติใหเ ปน ปุงลงิ ค และของที่ไมม วี ิญญาณ สมมตใิ หเปน ปุงลงิ คและอติ ถีลิงค. [ อ. น. ]. ถ. ปุงลงิ ค สมมตใิ หเปน อิตถลี งิ ค หรอื นปุงสกลิงค มหี รือไม ? ต. ท่สี มมติใหเ ปนอติ ถีลงิ คม ี เชน เทวดา ตามรูปศัพทเ ปน อติ ถลี ิงคอยางเดยี ว. แตเทวดานั้นคงมีทง้ั หญิงท้งั ชาย. สวนปุงลิงค ทส่ี มมติเปนนปุงสกลงิ คน้นั ยังไมเ คยพบ. เขาใจวาคงไมม .ี [อ. น. ]. ถ. นามนามเปน ก่ีลงิ ค ? จงยกตวั อยาง ? สตรแี ละของ ปราศจากวิญญาณควรจัดเปน ลิงคอ ะไร ? เหตไุ รจึงมีศัพท เชน ทาร ศพั ท ภูมิ ศัพทท ่ีไมนยิ มตามนั้น ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 29 ต. นามนามเปน ลงิ คเดยี วบาง คือจะเปนปุงลิงค หรอื อิตถีลงิ ค หรือนปงุ สกลงิ คก็อยา งเดียว เชน อมโร อจฉฺ รา องคฺ  เปน ตน อน่งึ ศพั ทเดียวกนั นนั่ เอง มรี ปู เปนอยา งเดียวกันเปน ๒ ลิงคบาง เชน อกขฺ โร อกขฺ ร เปนตน. หรอื มมี ลู ศัพทเ ปน อันเดยี วกัน เปล่ยี น แตส ระท่สี ดุ ได เปน ๒ ลิงค เชน อรหา อรหนฺตี เปน ตน. สตรี ควรเปน อติ ถีลงิ ค ของทไี่ มม วี ญิ ญาณควรเปนนปงุ สกลิงค เพราะ ทานจดั โดยสมมติ จงึ ไมนยิ มตามน้นั . [ ๒๔๖๔ ]. ถ. คณุ นามและสัพพนาม เปน ลงิ คเดยี วหรอื ๒ ลิงค หรอื เปน ไดท ัง้ ๓ ลงิ ค ? ต. ตามหลกั ทานวา เปน ไดทัง้ ๓ ลิงค เวนแต ตุมหฺ และ อมหฺ ศพั ทเปน ได ๒ ลิงค และศพั ทส ังขยาทเ่ี ปนคุณบางอยางเทานั้น. เชน เอกนู นวุติ ถงึ อฏ นวุติ เปน แตอ ติ ถลี ิงคอ ยา งเดียว. [ อ. น. ]. ถ. เหตุไร คุณนามและสพั พนา จงึ จดั ใหเ ปนไดท ง้ั ๓ ลงิ ค ? ต. เพราะนามท้ัง ๒ นี้ ยอ มเปลยี่ นแปลงไปตามนามนาม คือ นามนามเปน ลิงค วจนะ วิภัตต อะไร ก็ตองเปลย่ี นใหต รงกับ นามนามนน้ั เสมอไป จะคงตวั อยูไมไ ด ทง้ั นี้ เวน แตสงั ขยาบาง อยา งดังกลา วแลว . [อ. น. ]. ถ. อคาร (เรือน) เปน ลิงคอ ะไร? แจกตามแบบไหน ? ต. เปน ได ๒ ลงิ ค คอื เปน ปุงลงิ คก ็ได เปนนปุงสกลิงคกไ็ ด เปนปงุ ลิงคแจกตามแบบ อ การันต (ปุรสิ ) มรี ปู เปน อคาโร. เปน นปุงสกลิงคแจกตามแบบ อ การันต (กลุ ) มรี ปู เปน อคาร. [ อ. น.].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 30 [ วจนะ ] ถ. วจนะหมายความวา กระไร ? มกี อี่ ยาง ? อะไรบา ง ? จาํ เปน ตอ งมีหรือ ถาไมม ี จะเปน อยางไร ? ต. วจนะหมายความวา คาํ พดู ที่ระบจุ ํานวนนามนาม มี ๒ อยาง คือ เอวจนะ สาํ หรับพดู ถงึ นามนามส่งิ เดียว. พหวุ จนะ สาํ หรับพูดถึงนามนามหลายส่ิง. จาํ เปนตอ ม.ี ถาไมมีก็ทาํ ใหท ราบ จาํ นวนของนามวามากหรอื นอยไมได. [ อ. น. ]. ถ. วจนะมีประโยชนอยา งไร ? สังเกตทไ่ี หนจึงจะรูจ ักวจนะได แมนยาํ ? ต. วจนะมีประโยชนใหร จู าํ นวนนามนอยหรอื มาก. ท่จี ะ รไู ดต องสังเกตที่ทา ยศัพท ซ่ึงเปนวภิ ัตติ ถาท่ีทา ยศัพทเปน วิภัตติ อะไร กท็ ราบวจนะไดทันที เพราะวิภัตตเิ ปน เคร่ืองหมายใหร ูวจนะ ไดแ มน ยาํ . [ อ. น. ]. ถ. วจนะกบั สังขยา ตางก็เปนเครื่องหมาย บอกจาํ นวนของ นามนามเหมือนกันมใิ ชหรอื ? เม่อื เปนเชน นน้ั ทาํ ไมทา นจงึ จัดใหมี ทงั้ ๒ อยางเลา ? จะมีเพียงอยา งใดอยางหนึ่งไมไ ดห รอื ? ต. จริง วจนะและสังขยาเปน เคร่ืองหมายบอกจาํ นวนนามนาม แตมีลักษณะตา งกนั วจนะบอกจํานวนนามนามไมชัดเจน เชน ปุรโิ ส ชาย ปรุ ิสา ชายหลายคน ไมช ดั เจนไปวาเทา ไรแน แมท ่ี เปน เอกวจนะกไ็ มร ะบุใหช ดั วา \"หนง่ึ \" สว นสังขยา นับจาํ นวน นามนามชัดลงไปทีเดยี ว เชน ชายคนหนึง่ กม็ ศี ัพทว า เอโก ปรุ โิ ส ชน ๔ คนวา จตตฺ าโร ชนา เปน ตน . [ อ. น. ].

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 31 [ วภิ ตั ติ ] ถ. วิภตั ติ มหี นาทีอ่ ยา งไร ? มจี ํานวนเทาไร ? จดั เปนหมวด หมกู นั อยา งไรบาง ? จงบรรยาย. ต. วภิ ตั ตมิ ีหนา ท่ีแจกนามศัพทต ามการันตน ั้น ๆ ทาํ ใหศพั ท มรี ปู ตา งๆ หมนุ ไปใหไ ดความตามภาษา มจี าํ นวน ๑๔ จดั เปน เอกวจนะ ๗ พหวุ จนะ ๗ และจัดเปน ท่ี ๆ ๗ ท่ี คือ ปฐมาท่ี ๑ ทตุ ิยาที ๒ ตตยิ าที่ ๓ จตุตถีท่ี ๔ ปญจมที ี่ ๕ ฉฏั ฐีที่ ๖ สัตตมี ที่ ๗. [อ. น. ]. ถ. วภิ ัตติ มปี ระโยชนอยางไร ? ต. มีประโยชน ทาํ ผูศึกษาใหก ําหนดเนอื้ ความไดงายข้นึ และ จาํ ลิงควจนะไดแ มนยําขึ้น ทาํ เน้ือความแหงศัพททัง้ ปวงใหประสาน เกี่ยวเน่อื งถงึ กัน และไดค วามตามภาษานิยม. [ อ. น. ]. ถ. วภิ ตั ติทาํ ใหกาํ หนดจําลิงคไดแมนยาํ ขึ้นนั้น จะกาํ หนดจํา ไดอยา งไร ? จงอธบิ ายใหเ ห็นจรงิ . ต. กาํ หนดจําไดอ ยางน้ี คอื ลงิ คท้ัง ๓ ทานประกอบวิภัตติให มีรูปตางกัน ปงุ ลิงค ทานประกอบวภิ ัตตเิ ปน อยาง ๑ อติ ถลี งิ ค ทาน ประกอบวิภตั ติเปนอยาง๑ นปุงสกลงิ ค ทา นประกอบวิภตั ตเิ ปน อยา ง ๑ เมื่อเปน ศพั ทท ่ีทานประกอบไวก ็จําได เชน ตาณ ศพั ท ปุงลิงคเปน ตาโณ อิตถีลงิ คเ ปน ตาณา นปุงสกลงิ คเปน ตาณ รูป ศพั ททท่ี านประกอบแลว ไมเหมอื นกนั จึงทาํ ใหจําลิงคไ ดงายและ แมนยํา. [ อ.น. ].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาท่ี 32 ถ. ศัพทอาลปนะ ทานมิไดจดั วภิ ตั ติไวประจํา. ถา เชนนัน้ ศัพทอาลปนะเห็นจะไมไ ดประกอบดวยวภิ ัตติกระมงั หรืออยางไร ? จงแสดง. ต. จรงิ อยู ศัพทอ าลปนะ ทานมิไดจ ดั วภิ ัตตไิ วประจําโดยตรง แตเ มือ่ จะใชป ระกอบวภิ ตั ติ ทา นใหนําปฐมาวภิ ัตติมาประกอบตาม วจนะท่ตี องการ เพราะปฐมาวิภัตติ ทานใชเ ปนลงิ คตั ถะ หรือกตั ตา ที่เปนตัวประธานอยา งหนึ่ง ใชเ ปนอาลปนะสาํ หรับรอ งเรียกอยางหนงึ่ . [ อ.น. ]. ถ. อายตนบิ าต เกีย่ วเนอื่ งกบั วภิ ัตติอยา งไร ? มีประโยชน เก้ือกูลแกภ าษาอยา งไร ? ต. เกย่ี วเนือ่ งดวยวิภัตติอยา งน้ี คือ เม่ือศพั ทท ป่ี ระกอบดว ย วิภัตติใดแลว วิภัตตินั้นก็ปรากฏที่ทายศัพทน้นั เปน เครอื่ งหมายให รูวาศพั ทนีเ้ ปนวิภัตตนิ ัน้ ๆ เมื่อทราบวภิ ัตตแิ ลว กใ็ ชอ ายตนบิ าตได ถกู ตอ ง เพราะวิภัตตเิ ปน เครอ่ื งสอ งแสดงใหใชอ ายตนบิ าตนั้นได ถา วภิ ัตติไมป รากฏ กใ็ ชอ ายตนบิ าตไมได เปรียบเหมอื นชองเขม็ ไม ปรากฏแตจกั ษุของบุคคลใด บคุ คลนน้ั ก็สนเขม็ ไมไดฉะนั้น . อายต- นบิ าตมีประโยชนเก้อื กลู แกภาษา คือเปนเครื่องเช่ือมหรอื ตอ เนื้อ ความของศัพทท ั้งปวงใหต อ เนื่องกนั ไดถอย ไดค วาม ไดเรือ่ งราว ถาไมมอี ายตนิบาตแลว เนื้อความของศพั ทท ้งั ปวงจะไมต ิดตอกนั เลย หรอื ดอกไมทไ่ี มไ ดรอ ยดว ยดายฉะน้นั . [ อ. น. ] ถ. อะไรเรยี กวาวภิ ัตตแิ ละอายตนิบาต, ศพั ทป ระกอบวิภัตติ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 33 ตอ งมอี ายนิบาตทง้ั นัน้ หรอื ไม เพราะเหตุไร ? ต. สิ อ โย เปนตนเรียกวาวภิ ตั ติ, ซ่ึง ดวย แก จาก ของ ใน เปนตน เรยี กวา อายตนิบาต. ไมท้งั นน้ั เพราะธรรมดาอายตนบิ าต เนื่องจากวิภัตติแหงนามนาม และปรุ ิสสพั พนาม [ ต ตุมหฺ อมหฺ ] โดยตรง หรอื กึ ศัพทบางคําเทานัน้ นอกน้ี โดยธรรมดาหรือมีไม เชนปฐมาวิภัตติ ไมเ นอ่ื งดวยอายตนิบาต เพราะเปนประธาน ท่ี เนื่องกัน ต้งั แตทตุ ยิ าวภิ ัตติเปนตนไป แตสาํ นวนไทยท่ีบญั ญตั ิให แปลปฐมาวิภัตตวิ า \"อันวา\" ก็เพอื่ กันเคอะเทาน้ัน ไมตอ งใชก ็ได. [ ๒๔๗๑ ]. ถ. อายตนิบาต จะปรากฏเพราะอาศัยอะไร ? ย ศัพทม ีรปู อยา งไร เปนไตรลิงค ? มีรูปอยางไร ไมน ิยมตามนน้ั ? ต. อายตนบิ าตจะปรากฏไดด ว ยวิภัตตอิ ยางหนึ่ง ดวยปจจัย อยางหนึ่ง. ย ศัพท ประกอบกับ โต ปจ จัย มีรูปเปน ยโต เปน เครอ่ื ง หมายปญจมี แปลวา แต, ประกอบกับ ตฺร ตฺถ ห มรี ปู เปน ยตรฺ ยตถฺ ยห, ประกอบกบั ทา มรี ปู เปน ยทา เปน เคร่ืองหมายสัตตมี แปลวา ใน แจกตามลงิ คทง้ั ๓ ไมไ ด คงรูปอยูเปน อยางเดยี ว. [ ๒๔๖๙ ] [ วิธแี จกนามนาม ] ถ. วธิ แี จกนามศัพท ตอ งจับหลักอยางไร จึงจะไดรับความ สะดวก ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 34 ต. ตอ งกาํ หนดสระท่ีสุดแหงศัพท ซ่งึ เรียกวา การันต เมอื่ ทราบวา ศัพทน ้ัน ๆ เปน การนั ตนั้นแลว กไ็ ดรับความสะดวกในการ แจกนามศพั ท เพราะศพั ททเี ปนลงิ คเ ดยี วกนั เปน การันตเดยี วกัน จะมีก่รี อ ยก่พี นั หมนื่ กแ็ จกเปนแบบเดียวกนั ทั้งหมด. [อ.น. ]. ถ. การนั ตค อื อะไร ? เปนสาํ คญั อยางไร ? ต. สระท่ีสุดอักษรหรอื สระท่ีคณุ ศัพท เรยี กวา การนั ต จะ ทราบไดวา ศัพทไ หนเปน การันตอ ะไร ทา นใหสงั เกตสระทสี่ ุดของ ศพั ทน้นั เปน สําคญั ในอนั ใหจําลิงคไ ดแมน ยาํ ข้ึน และใหค วามสะดวก ในการแจกศพั ทใ หเปลี่ยนแปลงไปตามวภิ ตั ติทั้ง ๗. [อ. น. ] ถ. การนั ตโดยพสิ ดารมเี ทา ไร ? โดยยอ มีเทาไร ? อะไรบา ง ? ต. โดยพสิ ดารมี ๑๓ คอื ปุงลงิ คมีการนั ต ๕ คือ อ อิ อี อุ อู. อิตถลี งิ คม กี ารนั ต ๕ คอื อา อิ อี อุ อ.ู นปงุ สกลิงคมีการันต ๓ คอื อ อิ อ.ุ โดยยอ มี ๖ คอื อ อา อิ อี อุ อ.ู [อ.น.] ถ. สิ และ โย ปฐมาวภิ ตั ตใิ นท่ีเชนไร แปลงเปนอะไรไดบาง ? ต. ใน อ การนั ต ปงุ ลงิ คแ ปลง สิ เปน โอ นปุงสกลิงคแ ปลง เปน อ ในพวกกติปยศพั ท แปลงกบั สระท่สี ุดแหง ศพั ทเปน อา (ถา ลง ในอรรถแหงอาลปนะ ในการันตอติ ถลี ิงคแ ปลงเปน เอ) ในการนั ต ปุงลงิ คแปลง โย เปน อา, นปงุ สกลิงคแ ปลงกับสระทส่ี ดุ แหง ศัพทเปน อานิ, ในหมูศ ัพทม ี ภควนตฺ ุ เปน ตน และ ภวนฺต แปลง โย เปน โอ. [ ๒๔๖๔ ]. ถ. อ ทตุ ยิ าวิภัตติ แปลงเปน อะไรไดบา ง ? ในท่เี ชนไร ?

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 35 ต. ใน อี การนั ตป ุงลิงค แปลง อ เปน น ไดบาง อทุ าหรณ เสฏนี , ในพวกกติปยศัพท บางศพั ท แปลง อ เปน อาน ได อทุ าหรณ อตฺตาน พฺรหฺมาน ราชาน, ในพวกศัพทมโนคณะ แปลง อ เปน โอ ไดบ าง อุทาหรณ ยโส ลทฺธา น มชฺเชยยฺ . [ ๒๔๖๑]. ถ. อา และ โอ คนู ี้ บางทแี ปลงจาก สิ บางทีแปลงจาก โย ไมเ ปนการแนน อน ขอใหทานหลกั ฐานมาอธิบาย? ต. หลกั ฐานในขอ นม้ี อี ยู คอื อา ถา อยทู ่สี ุดแหง ศัพทเ หลาน้ี คอื อตตฺ พฺรหฺม ราช สข ปุม มฆว และศัพทท ่มี ี นฺตุ หรอื นตฺ เปนทีส่ ุด ซงึ่ ไมม ี นตฺ ุ หรือ นฺต ปรากฏอยู และศพั ทจ าํ พวก สตถฺ ุ ปต ุ มาตุ แปลงมาจาก ส.ิ ถาอยูท สี่ ดุ แหงศัพทที่เปน อ การันตสามญั ในปุงลงิ ค หรือศัพททมี่ ี นต หรอื นตฺ ุ เปนที่สดุ แปลงมาจาก โย. โอ ถาอยทู ีส่ ดุ ศัพทท ี่เปน อ การันตใ นปงุ ลงิ คนอกจากท่ีกลาวขางตน นน้ั แปลงมาจาก สิ. ถาอยูที่สุดแหงศัพทท ่มี ี นฺต หรอื นฺตุ เปน ทีส่ ุด และศพั ทท่ีอาเทส อุ เปน อาร หรือ อร และ คาว ซึ่งแปลมาจาก โค ศัพท แปลงมาจาก โย. [๒๔๖๗]. ถ. ศพั ทว า เจตนาย ขตฺตยิ าย วตฺถาย เปน วิภตั ติอะไรได บา ง ? และศพั ทไหนเปนลิงคอ ะไร ? แจกตามแบบไหน ? ต. เจตนาย เปน ได ๕ วิภตั ติ คือ ตติยา จตตุ ถี ปญจมี ฉฏั ฐี สตั ตมี เอกวจนะ เปนอิตถลี ิงค แจกตามแบบ กฺา. ขตตฺ ิยาย เปนได ๑ วภิ ตั ติ คอื จตุตถวี ิภัตติ เอกวจนะ เปนปงุ ลงิ ค แจกตาม แบบ ปุริส. วตถฺ าย กเ็ ปนได ๑ วภิ ตั ติคือ จตตุ ถีวภิ ตั ติ เอกวจนะ

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ที่ 36 เหมือนกนั แตเปน นปุงสกลงิ ค แจกตามแบบกุล. [ อ. น.] ถ. เมธาวโิ น เปน วิภตั ตอิ ะไรไดบ าง ? ต. เปน ปฐมา ทตุ ยิ า อาลปนะ พหุวจนะ และจตุตถี ฉัฏฐี เอกวจนะ. [อ. น. ]. ถ. อตฺถาย หติ าย อิตถลี งิ คใ ชไ หม ? และเปนวจนะ วิภตั ติอะไร ? แจกตามแบบไหน ? ทาํ อยา งไร จงึ เปนรปู เชน น้ัน ? ต. ไมใ ช. อตฺถาย เปน ปงุ ลงิ ค เอกวจนะ จตุตภวี ภิ ตั ติ แจก ตามแบบ ปรุ สิ เอา ส วภิ ัตติ กับ อ สระทสี่ ุดศัพท เปน อาย. สวน หิตาย เปนนปสุ กลิงค แจกตามแบบ กลุ . นอกนนั้ ก็อยางเดยี วกบั อตถฺ าย. [อ. น. ]. ถ. อาลปนะ คําสําหรบั รองเรียก ไมไดระบุวา ใชวิภตั ตอิ ะไร ประจาํ เมื่อเปน เชนนัน้ กแ็ ปลวา ศพั ทอ าลปนะ ไมตองประกอบ วิภัตติอะไรเลย เปน ศัพทว า งจากวภิ ัตติ ถูกไหม ? เห็นอยางไร ? จงแถลง. ต. จรงิ อยู ศัพทอ าลปนะ ไมไ ดระบุไวชดั วา ใชวิภตั ตอิ ะไร ประจาํ แตทา นวา ยืมวิภัตติปฐมา คือ สิ โย มาใช. จะวา ศพั ท อาลปนะในนามท้งั ๓ น้ี วางจากวิภตั ติเลยทเี ดียวหาถูกไม เวน แต อาลปนะในอพั ยยศัพท ซ่ึงเปน ศัพทพเิ ศษ คงรปู อยูอยา งนนั้ . [ อ. น. ] ถ. อตฺต ศพั ท ไมม พี หุวจนะ ถงึ คราวใหพ หุวจนะ จะใช อยางไร ? ต. ใชเ อกวจนะนัน้ เอง แตถ า มีนามทเี่ ปน พหวุ จนะนั้นหลายพวก

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตรี) - หนาที่ 37 ใชคาํ เอกวจนะซํ้า ๒ หน อทุ าหรณ อตตฺ โน อตตฺ โน ปตฺตาสเนสุ นสิ ที ึส.ุ [ ๒๔๕๗ ]. ถ. ศัพทวา วิธีน ภาณนิ  อตฺตาน ขนฺตยฺ  เธนยุ  เหลา น้ี เปนลิงค วจนะ วภิ ตั ติ และการนั ต อะไร ? ต. วิธีนาํ เปนปงุ ลงิ ค พหุวจนะ จตตุ ถแี ละฉฏั ฐวี ิภัตติ อิ การนั ต. ภาณนิ  เปนปุงลงิ ค เอกวจนะ ทตุ ิยาวิภตั ติ อกี า การันต. อตตฺ าน เปนปงุ ลงิ ค เอกวจนะ ทุติยาวภิ ัตติ อ การนั ต แตม วี ธิ แี จกอีก อยา งหนึ่ง ไมเหมือนแบบ ปรุ สิ , ขนตฺ ยฺ  เปน อิตถลี งิ ค เอกวจนะ สัตตมวี ิภตั ติ อิ การนั ต, เธนยุ  เปนอติ ถลี งิ คเอกวจนะ สตั ตมีวภิ ตั ติ อุ การนั ต . [ อ. น. ]. ถ. พฺรหฺมาน พรฺ หมฺ าโน เปนวภิ ตั ตอิ ะไร ? ทําไมจงึ มรี ูป อยางน้ัน ? ต. พฺรหฺมาน เปนได ๓ วิภัตติ คือ ทุตยิ า เอกวจนะ จตุตถี และฉัฏฐี พหุวจนะ, พรฺ หฺมาโน เปน ได ๓ วภิ ัตตเิ หมือนกัน คือ ปฐมา ทตุ ยิ า อาลปนะ พหุวจนะ, พฺรหฺมาน เอา อ ทสี่ ดุ แหง พรฺ หมฺ ศพั ท กบั อ วิภัตติ เปน อาน อยา งหน่งึ , ลง น วิภัตตแิ ลว คง น ไว ทฆี ะท่ีสดุ แหงพฺรหมฺ ศัพท เปน อา อยา งหน่งึ , พฺรหมฺ าโน ลง โย วภิ ัตติ เอา โย เปน อาโน. [ อ. น. ]. ถ. ราชโิ น ราชนี ิ ราชนิ ิ รฺ ศพั ทไหนเปนวิภัตติ วจนะ และลงิ คอ ะไร ? ต. ราชโิ น เปนจตุตถแี ละฉฏั ฐี เอกวจนะ ปุงลิงค, ราชนิ ี

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 38 เปนปฐมา เอกวจนะ และพหวุ จนะ, เปน ทตุ ยิ าและอาลปนะ พหวุ จนะ อติ ถลี ิงค, ราชินิ เปน อาลปนะ เอกวจนะ อติ ถีลงิ คกไ็ ด เปน สัตตมีวภิ ตั ติ เอกวจนะ ปงุ ลิงคก็ได, รฺ  เปน จตตุ ถแี ละฉัฏฐี พหวุ จนะ ปงุ ลงิ ค. ถ. ราช ศพั ท เปน ไดก ่ลี ิงค ? ลงิ คอ ะไรบา ง ? วิธแี จกแบบ เดียวกนั หรือตา งกนั ? ต. เปนได ๒ ลิงค คือ ปุงลิงค และอติ ถลี ิงค มวี ิธแี จกตา งกัน คอื ปุงลงิ ค แจกอยางท่ปี รากฏชัดในแบบแลว. สว นท่เี ปนอติ ถีลงิ ค แจกตามแบบนาร.ี [ อ. น. ]. ถ. ภควนตฺ ุ ปฺวนฺตุ อยา งไหนจดั เปนนามอะไร ? ลิงคอ ะไร? และเม่ือเปน ลงิ คน ั้น ๆ แลว มรี ปู เปนอยา งไร ? ต. ภควนตฺ ุ สงเคราะหเ ปนนามนาม ปงุ ลงิ คอ ยา งเดียว เชน ภควา, ปฺ วนตฺ ุ เปน คณุ นาม เปน ได ๓ ลงิ ค เชน ปงุ ลิงค ปฺวา, อิตถลี งิ ค ปฺ วต,ี นปุงสกลิงค ปฺว ปฺ วนตฺ  เปน ตน . [อ. น.] ถ. ทาํ ไม ภควนฺตุ ศพั ท ทานจงึ จดั เปน นามนามปงุ ลงิ คอยา ง เดยี ว ? ไมเ หมอื นศพั ทอ นื่ ๆ ท่ีแจกเปน แบบเดียวกนั ? ต. เพราะไมน ยิ มใชใ นอิตถลี ิงคและนปุงสกลิงค จึงสงเคราะห เขา เปนนามนามปุลิงคอ ยางเดียว. [ อ. น. ]. ถ. ภควนฺตุ ศพั ท ปฐมา พหุวจนะ มี ๒ ศัพท คือ ภควนตฺ า ภควนโฺ ต หมายความอยางเดยี วกันหรอื พเิ ศษตา งกนั อยา งไรบาง ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนา ที่ 39 ต. หมายความตางกัน ภควนฺตา เปนทวฺ วิ จนะ สําหรบั กลาว ถงึ คน ๒ คนเทานน้ั , สว น ภควนฺโต เปน พหุวจนะ สําหรบั กลา วถึง คนมาก ตง้ั แต ๓ คนขนึ้ ไป. [อ.น. ]. ถ. สตมิ นตฺ ุ ถาเปน อติ ถีลิงคแ ปลเปน สตมิ ตี แจกตามแบบ อี การนั ต ในอิตถลี ิงค ถาเปน นปุงสกลิงค แปลงเปน สตมิ  แจก ตามแบบ อ การันต ในลงิ คน ัน้ ถกู ไหน ? ถกู หรอื ไมถ ูกจงแถลง ใหแจม ? ต. ท่เี ปน อติ ถลี ิงค แจกตามแบบนารีนนั้ ถกู แลว แตที่เปน นปุงสกลิงค แจกตาม อ การันตใ นลิงคน น้ั ไมถกู ตองแจกตามแบบ ถควนตฺ ุ ศัพท มตี า งกนั อยกู ค็ อื ปฐมา เอกวจนะ เปน สตมิ  สติมนฺต, อาลปนะ เอกวจนะ เปน สตมิ , ปฐมา ทุตยิ า อาลปนะ พหวุ จนะ เปน สตมิ นฺตานิ นอกนั้นเหมอื นรปู ภควนตฺ ุ ศพั ท. [อ. น. ]. ถ. อรหนฺต ศัพท กบั ลงิ ค ? ลิงคอะไรบาง ? ลงิ คไ หน นยิ มแจกตามแบบไหน ? ต. เปนได ๒ ลิงค คอื ปุงลงิ คก ับอิตถลี ิงค ปงุ ลิงค แจกเหมอื น แบบ ภควนฺตุ ศพั ท แปลกแต ปฐมา เอกวจนะ เปน อรหา อรห เทาน้นั นอกนั้นเหมอื นกนั . ทเ่ี ปน อิตถีลงิ ค แปลงเปน อรหนตฺ ี แจกตามแบบ อี การันต ในลิงคน น้ั . [อ.น.]. ถ. กุพพฺ โต เปน วิภตั ตอิ ะไร ? เหตุไฉนจึงเปน อยางน้นั ? ต. เปน จตตุ ถี และ ฉฏั ฐวี ภิ ัตติ เหตแุ จกอยาง ภวนตฺ ศัพท ส วภิ ัตติ เปน โต. [ ๒๔๖๓ ].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 40 ถ. ศัพทพ วกไหน ทา นนิยมแจกตามแบบ สตฺถุ ศัพท ? ขอ ตัวอยา งดวย. ต. ศัพทท ล่ี ง ตุ ปจจยั ในนามกติ ก ตัวอยางาเชน ทาตุ ภตตฺ ุ หนตฺ ุ เนตุ เปน ตน . [อ. น. ]. ถ. ปต า อาลปนะ กบั ตาต ใชไ ดอยา งเดียวกันหรอื มพี เิ ศษ กวากันอยา งไร ? ขอฟงอธิบาย. ต. ปต า อาลปนะ นน้ั แมจ ะเปนคาํ สาํ หรับรองเรียกกจ็ รงิ แต การพดู หรือการเขยี นหนังสือไมไดใชเลย ใช ตาต เอวจนะ, ตาตา พหุวจนะแทนและใชเ รียกบดิ ากไ็ ด เรียกบตุ รกไ็ ด เหมือนภาษา ไทย คาํ วา พอ ใชเ รียกไดท ้งั บดิ าทง้ั บตุ ร แตศัพทว า ตาต น้ี ถาเปน วิภัตติอ่ืนนอกจาก อาลปนะ แลว ใชไ ดแ ตเ ฉพาะเปน ชื่อของบิดา. [ อ. น. ] ถ. มาตา อาลปนะ ทา นวาไมไดใชทงั้ ในการพดู ท้ังในการเขยี น หนังสือ เหมือนกับ ปตา จริงหรือ ? ถาจริง ทานใชไดศัพทอะไร แทน หรือไมมี ? ต. จรงิ . มใี ช อมฺม เอกวจนะ. อมมฺ า พหวุ จนะ แทน แต ในตปั ปุรสิ สมาส ใช อาลปนะ เปน มาเต ธเี ต ตวั อยางเชน เทวมาเต เทวธีเต เปนตน . [ อ. น. ]. ถ. มโนคณะ มีกี่ศัพท ? คอื อะไรบา ง ? มวี ิธีแปลงวภิ ัตติเปน อยา งไร ? เมอ่ื เขา สมาส จะตอ งทําอยา งไรบาง ? ต. มโนคณะ มี ๑๒ ศัพท คอื มน อย อรุ เจต ตป ตม

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรบั เปรียญธรรมตรี) - หนา ที่ 41 เตช ปย ยส วจ วย สริ . มวี ิธีแปลงวิภัตติอยา งนี้ คอื นา กบั สมฺ า เปน อา, ส ทง้ั ๒ เปน โอ, สมฺ ึ เปน อ,ิ แลว ลง ส อาคมเปน สา เปน โส เปนส,ิ เอา อ เปน โอ ไดบาง, เมือ่ เขาสมาสแลว ตองเอา สระที่สุดของตนเปน โอ ได เหมือนคําวา มโนคโณ หมูแ หง มนะ อโยมย ของทคี่ ณุ ทําดวยเหล็ก . [ ๒๔๖๕ ]. ถ. ศพั ทประเภทไหน เม่ือยอ เขา สมาสแลว ทําทสี่ ดุ ใหแ ปลก จากปกติเดมิ ของตนได ? เหมือนคําวากระไร ? ต. ศัพท คือ มาตุ ธตี ุ และ ศพั ทม โนคณะ เหมอื นคาํ วา เทวมาเต เทวธเี ต มโนคโณ อโยมย เปนตน . [ ๒๔๗๕ ]. ถ. ในทเ่ี ชนไร แปลง อู แหง สตถฺ ุ เปน อาร ? ในท่เี ชนไร ไมแ ปลง ? ในทีเ่ ชนไร แปลงแลวตองรัสสะ ? ต. นิมติ ปฐมา กบั จตุตถี ฉัฏฐี เอกวจนะ แปลงไมได , นิมิต วภิ ัตตอิ น่ื ๆ แปลงได, นิมติ สตั ตมี เอกวจนะ ตองรสั สะ.[ ๒๕๕๗ ]. ถ. ศัพทไ หนบา ง ทไ่ี มน ยิ มเปน ลงิ คใ ดลิงคหน่ึงโดยแนน อน ? ศัพทเ หลานั้น ถา ประสงคจ ะใชเปนปุงลงิ คและอติ ถลี ิงค จะเปล่ยี นรูป เปน อยางไร ? แจกตามแบบไหน ? ต. ศัพท คอื โค [ โค ] สา [ สุนขั ] เมอ่ื ประสงคจ ะใชเ ปน ปุงลิงค โค เปลี่ยนรปู เปน โคณ, สา เปน สุนข แจกตามแบบ ปุรสิ , เมอ่ื ประสงคเปน อิตถีลิงค โค เปน คาวี สา เปน สนุ ขี แจกตาม แบบ นาร,ี สา ใน ปุงลงิ ค และอติ ถลี ิงคใ ชศพั ทอ ่ืน ๆ นอกจาก สนุ ข สุนขี ก็มี แจกตามการันตในลงิ คนน้ั ๆ. [ ๒๔๖๖].

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาท่ี 42 [ สงั ขยา ] ถ. ศัพทเ ชน ไร เรียกวา สงั ขยา ? ต. ศพั ทท่เี ปนเครอื่ งกําหนดนับนามนามใหรวู า นามนามมี จํานวนมากนอ ยเทาไรแน เรียกวา สังขยา.[อ. น. ]. ถ. วจนะ กบ็ อกจาํ นวนของนามนามใหรูวา มากหรอื นอ ยแลว มิใชห รอื ? แตเ หตุไฉนจึงตอ งมีสงั ขยาอีก ? ดูไมจ าํ เปน. ต. จรงิ . วจนะบอกจาํ นวนของนามนาม แตบ อกใหทราบ เพยี งวามากหรือนอ ย เชน ชโน หมายถงึ คน ๆ หน่ึง ชนา หมาย ถงึ คนหลายคน แตไ มท ราบแนวา หลายคนนน้ั เปนจํานวน เทา ไร อาจเปน ๒,๓, ๔, หรอื มากกวานน้ั ก็ได ทง้ั คาํ แปล พหวุ จนะ ก็มเี พียงวา \" ทัง้ หลาย \" เทา นน้ั . สวนทเ่ี ปนเอกวจนะ พอจะสังเกต ไดบางวา หมายถึงของส่ิงเดียว แตก ไ็ มแ นนัก เพราะบางศพั ทเปน เอกวจนะ แตหมายถึงของหลายอยา งก็มี เชน ปตฺตจวี ร แปลวา บาตรและจีวร นี้หมายถึงของ ๒ อยาง. หตฺถอิ สสฺ รถปตฺติก แปล วา ชาง มา รถ และคนเดนิ นีห้ มายถงึ ของ ๔ อยาง เอกวจนะ ยังบอกจํานวนของนามนามไมแนน อนถงึ เชนนี้ พหวุ จนะ มีคําแปล วา \"ทงั้ หลาย\" นน้ั จะแสดงใหร ูจํานวนของนามนามมากนอ ย เทา ไรแนไ ดอยา งไรเลา เมือ่ เปนเชนน้ี จงึ จาํ เปนตองมสี ังขยาอีก เพราะสังขยา มหี นาท่รี ะบจุ ํานวนของนามนามไวอยางชดั เจนแนนอน เชน เอโก สตโฺ ต สัตวตัวหนงึ่ จตโฺ ร ปรุ ิสา ชาย ๔ คน

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตรี) - หนา ที่ 43 ปจฺ อติ ฺถโิ ย หญิง ๕ คน เปน ตน จะวาสังขยาไมจ ําเปน หาควรไม. [ อ.น. ]. ถ. ศัพทค ุณนามและสงั ขยา ตางกเ็ ปนวเิ สสนะของนามนาม เหมือนกนั ถา เชนน้ัน จะวา มลี ักษณะเหมือนกนั ถูกหรือไม ? หรอื มีตา งกันอยางไร ? ต. เปน วิเสสนะของนามนามเหมือนกนั จริง แตจ ะวามลี ักษณะ เหมือนกนั ไมถ กู เพราะคุณนามแสดงลักษณะของนามนามใหรวู า ดหี รอื ชัว่ เชน คาํ วา อว น ผอม ดาํ ขาว เปนตน . สวนสงั ขยา บอกจาํ นวนของนามนามวามเี ทาไร ? เชน ๓, ๔, ๕ เปน ตน . อีก อยางหนึ่ง เม่ือเพง ถึงรูปศัพทแ ละความแลว ก็คอื ถา ท้งั ๒ ศัพทอ ยู ในประโยคเดียวกนั คณุ นามตอ งอยใู กลน ามนาม สงั ขยาอยูห าง เชนคําวา ตโย กณหฺ า ชนา ดาํ ๓ คน. [อ. น. ]. ถ. ใชตอ อยางน้ี คอื สงั ขยาทีเ่ ปนจาํ นวนหนวยหรอื จํานวนสิบ ใช อตุ ตฺ ร ตอ ทายจํานวนสังขยานั้น เชน ปจฺ เปน ปจฺ ตุ ฺตร, เอกาทส เปน เอกาทสุตฺตร เปนตน. สว น อธกิ ใชต อสงั ขยาที่ เปนจาํ นวนรอ ยหรอื พนั ข้ึนไป เชน ๑๕๐๐ แยกเปน ๕๐๐ จํานวนหนึง่ ตรงกับศพั ทบาลีวา ปจฺ สต, ๑๐๐๐ อกี จาํ นวนหนึง่ ตรงกับศัพท บาลีวา สหสสฺ , ตอ อธกิ เขาท่ีทาย ปจฺ สต สําเรจ็ รปู เปน ปจฺ - สตาธกิ สหสฺส. สมมติ ๒๕๗๕๐ กป็ ระกอบวา ปฺาสุตตฺ ร-

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สําหรับเปรยี ญธรรมตร)ี - หนา ท่ี 44 สตฺตสตาธกิ ปจฺ วีสสหสสฺ านิ เชน นเ้ี ปนตัวอยา ง. น้ีแสดงตามทีใ่ ช กันโดยมาก. [ อ.น. ]. ถ. สังขยา มีกอ่ี ยาง ? ใชตางกันอยางไร ? เปนนามอะไร ? ต. สังขยา มี ๒ อยาง คือ ปกตแิ ละปรู ณ. ปกติสงั ขยา ใชน ับตามปกติ เชน ๑, ๒, ๓. ปรู ณสงั ขยา ใชน ับตามลําดับที่ เชน ที่ ๑ ท่ี ๒ ที่ ๓. ปกตสิ งั ขยา ตั้งแต เอก. ถึงจตุ. เปน สัพพนาม, ต้ัง แต ปฺจ ถึง อฏนวุติ เปน คุณนาม, ตงั้ แต เอกนู สต ไปเปน นาม นาม สว น ปรู ณสงั ขยา เปน คุณนามลวน . [๒๔๖๔ ]. ถ. ปกติสังขยา เปน นามอะไร ? ต. ปกติสังขยา แบงเปน นามดังนี้ คอื ตัง้ แต เอก. ถึง จตุ. เปน สัพพนาม. ตงั้ แต ปจฺ ถงึ อฏ นวุติ เปน คุณนาม. ต้งั แต เอกูนสต ไป เปนนามนาม. [ ๒๔๖๐]. ถ. นว [ ๙ ] ปกติสงั ขยา ใชนาํ หนา สงั ขยาจํานวน ๑๐ ขึ้นไป ไดมใิ ชห รอื ? หรือมีจํากัดใชอยางไร ? ๕๙, ๔๙, ประกอบเปน นวปฺ าส นวจตตฺ าฬสี เชน นีใ้ ชไดห รือไม ? ต. นว ใชน าํ หนาปกตสิ ังขยาจํานวน ๑๐ ขน้ึ ไปไมไ ด มีจํากัด ใหใชแ ตเฉพาะจํานวนหนวย คอื ๙ เทา นั้น ไมเหมอื นสังขยาตวั อื่น ๆ. ๕๙, ๔๙, ประกอบอยา งน้ันใชไมได เพราะทานไมน ยิ มใช อยางนั้น ตองประกอบดังนี้ จงึ จะใชไ ด เอกูนสฏ ี ๕๙, เอกูน- ปฺ าส ๔๙. [ อ. น. ]. ถ. ปกตสิ งั ขยา เปนนามอะไร ? จงเขียนจํานวนเหลาน้ใี หเปน

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สําหรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 45 ภาษาบาลี ตามวธิ ปี กตสิ ังขยา ๘๔๐๐,๒๐๙,๑๖๑,๙๙. ต. ตงั้ แต เอก ถงึ อฏนวุติ เปน คุณนาม, แต เอก ถึง จตุ มวี ธิ แี จกอยางสพั พนาม, เอก สงั ขยา ไมมพี หวุ จนะ ทม่ี พี หุวจนะ เปนสัพพนาม, ทฺวิ ติ จตุ มลี กั ษณะเปนคณุ นามแท ต้ังแต เอกนู สต ไป เปน นามนาม. ๘๔๐๐๐ สังขยาวา จตรุ าสตี ิสหสสฺ , ๒๐๙ วา นวุตฺตรทวฺ สิ ต, ๑๖๑ วา เอกาทสุตฺตรทยิ ฑฺฒสต,๑ ๙๙ วา เอกูนสต. [ ๒๔๖๘ ]. ถ. จตสฺโส อสฺสา มา ๔ ตัว, ตีณิ ขนฺธา ขันธ ๓, ตสิ ฺโส อติ ฺถิโย หญงิ . ๓ คน, ประกอบศพั ทอยา งน้ถี ูกหรอื ไม ? ถา ถกู ก็ แลวไป ถาไมถ กู จงแกใ หถ ูก. ต. ๒ ขอ ขา งหนา ไมถูก เพราะตวั วิเสสนะผิดลงิ ค ไมต รง ลิงคของตวั นาม ท่ีถูกตอ งประกอบดังนี้ จตตฺ าโร อสสฺ า, ตโย ขนฺธา. สว นขอ ที่ ๓ นั้น ถกู แลว. [อ. น.]. ถ. ปกตสิ ังขยา กเ็ ปน การนับ ปูรณสงั ขยา กเ็ ปนการนับ. นบั อยา งไร เปนปกตสิ ังขยา ? นับอยา งไร เปนปูรณสังขยา ? ต. การนบั เปน ปกติ เปน ตนวา ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ สําหรบั นบั นามนามใหรวู ามปี ระมาณเทาใด ชอื่ วา ปกตสิ ังขยา, การนบั เปน ชนั้ ๆ สาํ หรับนบั นามนามทเ่ี ต็มในทนี่ ้นั ๆ เปน ตนวา ที่ ๑ ท่ี ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ชื่อวา ปรู ณสังขยา. [ ๒๔๖๕ ]. ถ. ปกติสงั ขยา กบั ปุรณสงั ขยา ตา งกนั อยา งไร ? จงอธิบาย ความสังเกต ทั้งศพั ทใ นภาษาบาลีและในคําภาษาไทย ? ๑. เอกสฏยตุ ตฺ รสต อ. น.

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลไี วยาการณ (สาํ หรับเปรียญธรรมตรี) - หนา ท่ี 46 ต. ตางกันอยา งนี้ คือ ปกติสงั ขยาน้นั นบั โดยปกติ เปน ตน วา ๑, ๒, ๓, ๔. สาํ หรับนบั นามนามใหร ูวา มีจํานวนเทา ใด, ปูรณสังขยา นัน้ นบั เปนชน้ั ๆ เปน ตน วา ที่ ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ ที่ ๔ . การสังเกต ถา เปน ศพั ทใ นภาษาบาลี ปกตสิ ังขยาเปน ศัพทเปลา , ปูรณสังขยามปี จจยั ปูรณตัทธติ เปนเครื่องหมาย, ถา เปนคําในภาษาไทย ปกติสงั ขยา สงั ขยาอยูหนาคาํ วเิ สสนะ เชน หนังสือ ๑ เลม , ๒ เลม, ๓ เลม ปรู ณสังขยาอยูหลงั คาํ วิเสสนะ เชน หนงั สอื เลม ๑, เลม ๒, เลม ๓ แมไมม ีคาํ วา \"ที่ \" ก็ตองเปน ปูรณสงั ขยา. [ ๒๔๖๑]. ถ. ความตางกันแหงลงิ คแ ละวจนะในปกติสังขยาท้ังปวง มี อยางไร ? จงเลามา. ต. เอกสงั ขยา เปน เอกวจนะ อยา งเดียว เปน ๓ ลิงค เอก- สพั พนาม เปน เทฺววจนะ เปน ได ๓ ลิงค ตงั้ แต ทฺวิ จนถงึ อฏารส เปนพหุวจนะอยา งเดยี ว เปน ๓ ลิงค ต้งั แต เอกูนวีสติ ถงึ อฏ นวุติ เปน เอกวจนะอิตถีลงิ คอ ยางเดยี ว ต้ังแต เอกนู สต ถงึ ทสสตสหสฺส เปนเทวฺ วจนะ นปงุ สกลงิ คอยางเดียว โกฏิ เปน เทฺววจนะ อิตถลี งิ ค อยางเดียว. [ ๒๔๖๙ ]. ถ. จงประกอบคําเหลา น้เี ปนมคธภาษามาดู ตน ไม ๔ ตน ผา ๓ ผืน เรอื น ๒๙ หลงั ? ต. จตฺตาโร รุกขฺ า, ตีณิ วตฺถาน,ิ เอกนู ตสึ ฆราน.ิ [อ.น.] ถ. นามศัพทพวกไหนบา ง ประกอบวภิ ตั ติที่เปน พหุวจนะ ไมไ ด ? ถา ถึงคราวจาํ เปนทีจ่ ะตอ งใชใหเปนพหุวจนะ จะมีทางใชได

ประโยค๑ - ประมวลปญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรียญธรรมตร)ี - หนาท่ี 47 โดยวิธีอะไรบางหรอื ไม ? หรอื ใชไมไ ดเลย ? ต. อตตฺ ศัพท เอกสงั ขยา และปกติสังขยา ต้งั แต เอกูนวสี ติ ถงึ อฏนวุ ตุ ิ และปูรณสงั ขยาทั้งหมด. มีวธิ ีใชไดบ างก็มี ไมไ ดเ ลย กม็ ี. อตตฺ ศพั ท ถา ประสงคเ ปน พหุวจนะ ตองใชค วบ ๒ หน เชน อตฺตโน อตตฺ โน เปนตน. เอกสังขยา ไมม ีทีใ่ ชเ ลย เพราะเปนศพั ท จาํ กัดจํานวน ถา ตองการจริง ๆ เชน ไมพดู ถึงคน ๆ เดยี ว แต ประสงคถงึ คนพวกหน่งึ ตองใชเ ปนสัพพนาม เพราะ เอก ทเี่ ปน สัพพนาม เปนไดท ้งั ๒ วจนะ, ปกติสังขยา ต้ังแต เอกนู วีสติ ถึง อฏนวุติ ใชป ระกอบแตเ ฉพาะวภิ ัตติ เอกวจนะ กจ็ รงิ แตใ ช ควบกนั นามทเ่ี ปน พหวุ จนะ ทั้งนน้ั , ฉะน้นั ศพั ทพ วกนี้ จงึ เปน พหวุ จนะ อยูแลว โดยบรรยาย, ปรู ณสังขยาทั้งหมด ไมมีท่ีใชเปน พหุวจนะเลย เพราะจํากดั เฉพาะช้นั หน่ึง ๆ เทา นั้น. [ ๒๔๘๐ ]. ถ. ศัพทพ วกไหน เมอื่ เรียงเขา กับศัพทอ ื่น ยอ มฝนลิงค คอื ไมเ ปลยี่ นไปตาม ? จําพวกไหนไมฝน คือเปลีย่ นเปนลงิ คน้นั ๆ ตาม อํานาจของศัพทอ น่ื ? ต. ศพั ทจ ําพวกสังขยา ตงั้ แต เอกูนวีสติ ถึง อฏ นวุติ ฝน ลิงค. จําพวกสพั พนามและบรรดาศพั ทท่เี ปนคุณนามทง้ั มวล ลว นเปน ศพั ทไ มฝ น ลิงคท ัง้ สน้ิ . [ ๒๔๗๑ ]. ถ. สังขยาอะไร เปน เอกวจนะอยางเดยี ว ? เปน พหุวจนะ อยา งเดียว ? เปน ๓ ลงิ ค ? เปนลิงคเ ดียว ?

ประโยค๑ - ประมวลปญ หาและเฉลายบาลีไวยาการณ (สาํ หรบั เปรยี ญธรรมตร)ี - หนาที่ 48 ต. เอกสังขยา เปน เอกวจนะอยางเดยี ว ตง้ั แต ทวฺ ิ จนถงึ อฏ ารส เปน พหุวจนะ อยางเดียว และเปน ๓ ลงิ ค, ตัง้ แต เอกูนวีสติ จนถงึ อฏ นวตุ ิ เปน เอกวจนะอิตถีลงิ คอยางเดยี ว แม เขา กบั ศพั ททเ่ี ปน พหุวจนะ ลงิ คอ่นื กค็ งอยูอ ยา งน้นั ไมเปล่ยี นไปตาม. [ ๒๔๖๓ ] ถ. การแบง วจนะและลงิ คในสงั ขยานนั้ แบงกันอยางไร ? คาํ ไทยวา ๓๖๕ วัน, ๒๕๐๐ ป คาํ มคธวากระไร ? ต. เอกศัพท เปน เอกวจนะ อยางเดียว เปน ๓ ลงิ ค, ตง้ั แต ทวฺ ิ ถึง อฏารส เปน พหุวจนะ อยางเดียว เปน ๓ ลิงค, ตั้งแต เอกนู วสี ติ ถงึ อฏนวตุ ิ เปน เอกวจนะ อติ ถีลิงคอยา งเดียว, ต้ังแต เอกนู สต ถึง ทสสตสหสฺส เปน นปุงสกลิงค, โกฏิ เปน อติ ถลี ิงค. ๓๖๕ วัน วา ปฺจสฏยฺ าธิกานิ ตณี ิ ทิวสสตานิ, ๒๕๐๐ ป วา อฑฺฒเยฺย สว จฉฺ รสหสฺส [ ๒๔๗๔ ]. ถ. จงประกอบสงั ขยาเหลานี้ตามวธิ ี มา ๔๓๖ ตัว, ววั ๑๒๕๐ ววั ๑๒๕๐ ตวั = อฑฒฺ เตรสานิ โคณาน สตานิ, หนงั สอื ๑๔๙ เลมของเดก็ ชาย ๑๖ คน = โสฬสนนฺ  กมุ าราน เอกนู ปฺ าสาธิก ปณฺณาน สต, บุรษุ ๘๒ คน ยงั โจร ๑๕ คนใหต ายแลว = ทวฺ าสตี ิ ปุริสา ปณฺณรส โจเร มาเรสุ, กระบือ ๑๙๙ ตวั ในคอกกวางที่สุด =


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook