ตราสัญลักษณ์ พระราชพธิ รี ชั ดาภิเษก ตราสัญลกั ษณ์ พระราชพิธรี ัชมังคลาภเิ ษก ๙ มิถุนายน ๒๕๑๔ ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๑ ตราสัญลกั ษณ์ งานฉลองสิรริ าชสมบัติครบ ๕๐ ปี ตราสัญลักษณ์ งานฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี ตราสญั ลักษณ์ งานฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ ๗๐ ปี พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙ พุทธศกั ราช ๒๕๔๙ พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ การฉลองสิรริ าชสมบัตใิ นรชั กาลท่ี ๙ มพี ระราชพธิ รี วม ๕ ครัง้ ได้แก่ พระราชพธิ รี ัชดาภิเษก พระราชพิธีรัชมงั คลาภิเษก พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี และพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๗๐ ปี ในโอกาส มหามงคลดังกล่าวรัฐบาลและประชาชน ได้จัดกจิ กรรมเฉลมิ พระเกียรติหลากหลาย อาทิ การจดั ซมุ้ เฉลมิ พระเกียรติ การประดับไฟ และตราสญั ลักษณ์ การจัดทำ�สง่ิ อนสุ รณ์ เป็นตน้ 99
พระราชพธิ ตี รยี ัมปวาย หรือ ตรยี มั พวาย หรือที่ประชาชนท่ัวไปมักเรียกว่า “พิธีโล้ชิงช้า” เป็นพิธีพราหมณ์ซึ่งปฏิบัติสืบต่อกันมาต้ังแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา และรตั นโกสนิ ทร์ ยกเลกิ ไปในรชั กาลท่ี ๗ พธิ นี ถี้ อื เปน็ พธิ ขี น้ึ ปใี หมข่ องพราหมณ์ เชอื่ วา่ ในหนง่ึ ปพี ระอศิ วรจะเสดจ็ มาเยย่ี มโลก ๑๐ วนั คณะพราหมณจ์ ึงได้จดั พิธีต้อนรับขึน้ ในระยะเวลาดงั กลา่ ว เพ่อื ความเปน็ สวสั ดิมงคลแก่พระนคร นาลวิ ัน กำ�ลังโลช้ งิ ช้า ในพระราชพิธตี รียมั ปวาย 100
พระราชพธิ ีจรดพระนงั คัลแรกนาขวญั ทีท่ ุง่ พญาไท พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวญั พระราชพิธีท่ีปฏิบัติมายาวนาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เป็นประธานในงานเสมอมิได้ขาดเพื่อพระราชทาน ขวญั และกำ�ลังใจแก่ราษฎรในการทำ�เกษตรกรรม ซงึ่ เป็นอาชพี หลกั ของคนไทย พระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวัญ ณ มลฑลพิธที ้องสนามหลวง ประชาชนเขา้ เก็บเมล็ดพนั ธ์ุพชื ณ มณฑลพิธที อ้ งสนามหลวงหลงั เสร็จพระราชพธิ ีแรกนา 101
งานกาชาด งานกาชาดจดั ขน้ึ เพอื่ หารายไดบ้ ำ�รงุ สภากาชาดไทย จดั ครง้ั แรกเมอื่ เดอื นมนี าคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ณ ทอ้ งสนามหลวง และจดั เปน็ ประจำ�ทุกปี ต่อมาย้ายสถานท่ีจัดงานไปยังพระราชอุทยานสราญรมย์ สถานเสาวภา บริเวณกรีฑาสถานแห่งชาติ และสวนอัมพร ตามลำ�ดับ ปัจจบุ นั ย้ายมาจดั ทีส่ วนลมุ พนิ ี งานกาชาด ปี ๒๕๖๑ ณ สวนลุมพินี 102
การประกวดเทพีสงกรานต์วสิ ทุ ธิกษัตรยิ ์ ถอื เปน็ ตำ�นานงานสงกรานต์แห่งกรุงเทพฯ เรมิ่ ต้นขน้ึ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๗๘ งานสงกรานต์ถนนขา้ วสาร สร้างความสนุกสนานทั้งชาวไทยและชาวตา่ งชาติ “งานสงกรานต์ เมษาผ้าขาวม้า สยามสนกุ ” และสร้างชื่อเสียงไกลถงึ ต่างแดน ณ สยามสแควร์ ทางเลือกใหม่ของคนกรุงเทพฯ งานสงกรานต์ วันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีไทยแต่โบราณ สะท้อนวัฒนธรรมอันดีงามท้ังด้านศาสนา ความกตัญญูกตเวทีโดยใช้น�้ำเป็นส่ือ แสดงความมีนำ้� ใจไมตรีและปรารถนาดตี ่อกัน 103
การแสดง มหรสพ ราชสำ�นักให้ความสำ�คัญเร่ืองความสุขและความร่ืนเริงบันเทิงใจของอาณาประชาราษฎร์ เมื่อแรกสถาปนา ในรัชกาลท่ี ๑ โปรดให้ขุดคลองเพื่อให้ราษฎรประชุมเล่นเพลงเรือและเล่นสักวาตามแบบอย่างคร้ังกรุงศรีอยุธยา ทรงพระราชนิพนธ์บทละครต่างๆ ทรงให้การอปุ ถัมภบ์ ำ�รุงด้านนาฏศลิ ป์ ดนตรี และในรชั กาลต่อๆ มา ทรงสนบั สนุนส่งเสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมแขนงน้ีตลอดมาทุกพระองค์ ประกอบกบั มหี นว่ ยงานราชการ องคก์ รเอกชน ทำ�หนา้ ทสี่ านตอ่ งานศลิ ปะสาขานจ้ี งึ เจรญิ รงุ่ เรอื งสบื ทอดเปน็ มรดกศลิ ปวฒั นธรรมทมี่ ี คณุ คา่ และม่นั คงดำ�รงอยจู่ นทกุ วันน้ี จากความรุ่งเรืองในอดตี ได้พัฒนามาโดยลำ�ดบั ท้ังการอนรุ ักษ์ สบื ทอดและสรา้ งสรรค์ จนกล่าว ไดว้ า่ กรงุ เทพมหานคร เป็นศูนย์กลางแห่งความบันเทงิ สมัยใหมอ่ ยา่ งหลากหลายอีกด้วย โขนพระราชทาน ตอนโมกขศกั ด์ิ พ.ศ. ๒๕๕๖ 105
การแสดงโมงครุ่ม และระเบง ในงานสมโภชพระราชพิธรี ชั มงั คลาภิเษก ในสมยั รัชกาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๕๐ ระเบง เปน็ การแสดงตามคตฮิ นิ ดู เพื่อความเป็นมงคลและความบนั เทงิ สมมุติผแู้ สดงเป็นกษตั รยิ ์ไปช่วยงานท่ีเขาไกรลาส การร�ำแมบ่ ทใหญ่ ท่าหนังหนา้ ไฟทีว่ งั วรดศิ ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ โดยนางสาวเสงี่ยม นาวเี สถียร กบั นายวา กาญจนวัจน ซง่ึ เป็นนกั แสดงของกรมมหรสพ 106
การแสดงโขนในสมยั รชั กาลที่ ๕ 107
การฉายหนังกลางแปลง ศาลาเฉลิมกรุง โรงมหรสพแห่งแรกในเอเชียท่ีติดต้ังเครอื่ งปรับอากาศระบบไอนำ�้ เป็นสง่ิ ทันสมัยในยคุ นั้น พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงวางศลิ าฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ เปดิ ฉายภาพยนตร์ครง้ั แรก ในพ.ศ. ๒๔๗๖ ปัจจุบันได้ยกระดับเป็นโรงมหรสพแหง่ ชาติ จดั แสดงนาฏศิลป์ โขน ละครเวที และจดั ฉายภาพยนตร์ 108
ศาลาเฉลิมไทย สร้างเม่อื พ.ศ. ๒๔๘๓ เป็นโรงมหรสพทท่ี ันสมยั ที่สดุ แห่งหนึ่งขณะน้ัน ปรับเป็นโรงภาพยนตร์ เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๖ จัดพนื้ ท่ตี ามแบบโรงภาพยนตร์ตา่ งประเทศ และร้อื ถอนเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๒ ให้มองเห็นทศั นยี ภาพอันสง่างามของโลหะปราสาท วดั ราชนัดดาราม เพ่อื สร้างลานพลับพลามหาเจษฎาบดนิ ทร์ 109
โขนพระราชทาน ศกึ อนิ ทรชติ ตอนนาคบาศ พ.ศ. ๒๕๕๗ 110
ละครนอก เร่อื งสวุ รรณหงส์ ตอนกุมภัณฑ์ถวายมา้ 111
การแสดงหนุ่ กระบอกออกตัว งานใต้ร่มพระบารมี ๒๓๖ ปี กรงุ รตั นโกสินทร์ พ.ศ. ๒๕๖๑ การแสดงหนุ่ ละครเลก็ คณะโจหลยุ ส์ 112
หนงั ใหญ่ เปน็ มหรสพเกา่ แกข่ องไทยมมี าตง้ั แตส่ มยั สโุ ขทยั อยธุ ยา และรตั นโกสนิ ทร์ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากอนิ เดยี มกี ารเชดิ หนงั ใหญเ่ ลน่ กนั ทว่ั ไปทงั้ ในกรงุ เทพฯ และตา่ งจงั หวดั มหรสพทใี่ ชห้ นงั สลกั เปน็ รปู ภาพขนาดเลก็ คบี ดว้ ยไมต้ บั อนั เดยี ว เชดิ ภายในโรงใหแ้ สงสวา่ งสอ่ งผา่ นตวั หนงั สรา้ งเงาใหป้ รากฏบนจอผา้ ขาวหนา้ โรง 113
การแสดงลเิ ก การแสดงอปุ รากรจนี (งิว้ ) เรื่องรามเกียรติ์ 114
การแสดงโขนสด คณะสังวาลเจริญยง่ิ เร่ืองรามเกียรต์ิ ตอน สุครพี ถอนตน้ รงั 115
โรงภาพยนตรส์ ยามภาวลยั รอยลั แกรนดเ์ ธยี เตอร์ ชน้ั ๖ สยามพารากอน มคี วามจุ ๑,๐๙๑ ทนี่ งั่ ซงึ่ ถอื วา่ มากทสี่ ดุ ในประเทศไทย และ ฉายภาพยนตรด์ ว้ ยระบบดจิ ติ อล 4K คอนเสิรต์ BODYSLAM FEST วชิ าตวั เบา LIVE IN ราชมังคลากีฬาสถาน ในวันท่ี ๙ และ ๑๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ 116
การแสดง ณ โรงละครสยามนริ มิต 117
“เอเชียทีค เดอะ ริเวอรฟ์ ร้อนท์ (Asiatique The Riverfront)” แหลง่ บนั เทิงยคุ ใหมข่ องชาวกรงุ เทพฯ เปน็ ศนู ยก์ ารคา้ แนวราบรมิ แม่น้ำ� ท่ีใหญ่ทส่ี ุดในเอเชีย ตั้งอย่รู ิมแม่นำ้� เจา้ พระยา ระหว่างซอยเจริญกรงุ ๗๒-๗๖ ประกอบด้วยรา้ นคา้ รา้ นอาหาร นอกจากน้ียังเปน็ ท่ีต้ังของโรงละครคาลิปโซ่ ท่ยี า้ ยมาจากโรงแรมเอเชยี และโรงละครโจหลยุ ส์ ทีย่ า้ ยมาจากสวนลมุ ไนทบ์ าซาร์ 118
“ไอคอนสยาม” สัญลกั ษณ์แหง่ ความรุ่งโรจน์ของไทยรมิ ฝั่งแม่น้�ำเจา้ พระยา นำ� เสนอในรูปแบบของความวจิ ิตรล�ำ้ สมยั หลอมรวมเป็นที่สดุ ของเอกลักษณ์ และวิถีไทยอันงดงาม พรอ้ มกบั คดั สรรสิ่งที่ดที ส่ี ุดของโลก มารวบรวมไว้ ณ ท่ีแห่งเดียวกนั 119
ระบบสาธารณปู โภค สมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ ท์ กุ พระองคแ์ หง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ทรงทำ� นบุ ำ� รงุ บา้ นเมอื งใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื งในทกุ ๆ ดา้ น โดยเฉพาะ กรงุ เทพมหานคร ไดร้ บั การพฒั นามาตง้ั แตเ่ รม่ิ สถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในดา้ นสาธารณปู โภคและโครงสรา้ ง พน้ื ฐานทส่ี ำ� คญั ประกอบไปดว้ ย การตดั ถนนใหม่ การขดุ คคู ลอง การสรา้ งสะพาน การเดนิ รถราง รถเมล์ รถไฟ การสรา้ งทา่ อากาศยาน ทา่ เรือ การไฟฟา้ ประปา การไปรษณีย์ โทรเลข การส่อื สารโทรคมนาคม โดยแบ่งออกไดเ้ ปน็ ๔ ช่วงเหตกุ ารณ์ คอื ช่วงที่ ๑ รัชกาลท่ี ๑ – รัชกาลท่ี ๔ ทรงให้ความส�ำคัญต่อการสร้างความมั่นคงและความเป็นปึกแผ่นของพระนคร ทรงเนน้ การขุดคูคลองรอบกรงุ และคลองเช่ือมกับคลองคเู มอื งเดมิ เรียกว่า คลองหลอด เพื่อเปน็ แนวปอ้ งกันขา้ ศกึ ศตั รู ใชเ้ ปน็ เสน้ ทาง ล�ำเลียงอาวุธยุทโธปกรณ์ ใชเ้ พื่ออ�ำนวยความสะดวกในการคมนาคม ขนสง่ สนิ ค้า และขดุ คลองผดุงกรุงเกษมเพื่อขยายพืน้ ทพี่ ระนคร และเพม่ิ การสญั จรของราษฎร นอกจากนนั้ มกี ารตดั ถนนรอบพระบรมมหาราชวงั ตามธรรมเนยี มโบราณ และตดั ถนนโครงขา่ ยเชอื่ มโยง พระบรมมหาราชวงั กับยา่ นชุมชน ย่านการค้า อาทิ ถนนเจริญกรงุ ถนนบ�ำรงุ เมอื ง ถนนเฟื่องนคร เมอ่ื สยามติดตอ่ กบั ต่างประเทศ มากขึ้น ถนนในกรงุ เทพฯ จงึ เริ่มมบี ทบาทส�ำคญั แทนท่ีแมน่ ้�ำลำ� คลอง อันเป็นกา้ วแรกของความเจริญรูปแบบเมืองสมัยใหม่ แผนทแี่ สดงคูคลองสำ�คญั ท่ีมมี าแตค่ รง้ั ต้นกรุงรตั นโกสินทร์ 121
พ.ศ. ๒๓๒๖ รชั กาลท่ี ๑ โปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ดุ คเู มอื งขน้ึ ใหมข่ นานกบั คเู มอื งเดมิ ครงั้ กรงุ ธนบรุ ี ทำ� ใหพ้ นื้ ทใ่ี นพระนครขยายเพมิ่ ขนึ้ อกี พระราชทานนามวา่ คลองรอบกรงุ ซ่ึงเป็นช่ือเรียกอย่างเป็นทางการจนทุกวันน้ี ส่วนชาวบ้านมักเรียกช่ือตามพ้ืนท่ีท่ีผ่าน เร่ิมต้นต้ังแต่บางล�ำพู เรียกคลองบางล�ำพู คลองสะพานหัน คลองวัดเชิงเลน ชว่ งสุดทา้ ยเรียกคลองโอง่ อ่าง เพราะเคยเป็นแหล่งคา้ ขายโอ่ง ไห อ่าง ของชาวมอญสามโคกและชาวจีน เมือ่ คลองรอบกรุงทำ� หนา้ ท่เี ปน็ คเู มอื งใหม่ คลองคูเมอื งเดมิ และคลองรอบกรุง จึงถกู ใช้ในการสัญจรของราษฎรมากกว่าการเปน็ คูเมอื งปอ้ งกันขา้ ศกึ ซึง่ ในปัจจบุ นั ลำ� คลองเหล่านีบ้ างแหง่ ไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ ป็นเส้นทางแหล่ง ทอ่ งเที่ยว ในภาพเป็นคลองรอบกรุงชว่ งคลองโอ่งอา่ งเมือ่ ราวสมยั รชั กาลที่ ๕ เหน็ สะพานหันยา่ นส�ำเพง็ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพนั ธวงศ์ 122
สมัยรัชกาลท่ี ๓ มีการขุดคลองเพ่ิมข้ึน เพ่ือส่งเสริมทางด้านเศรษฐกิจภายในประเทศ เช่ือมต่อการเดินทางระหว่างพระนครกับหัวเมือง โดยขุดคลองเช่ือมต่อกับ แมน่ �้ำเจา้ พระยา เพ่ือใชเ้ ป็นเสน้ ทางสญั จรออกสู่แม่นำ้� ใหญ่ ไดแ้ ก่ คลองบางขุนเทยี น คลองพระโขนง คลองสนุ ขั หอน คลองถนนตรง (เปลยี่ นช่ือเปน็ คลองหัวล�ำโพง ในสมัยรัชกาลท่ี ๕) และคลองแสนแสบขุดเชื่อมแม่น้�ำเจ้าพระยากับแม่น้�ำบางปะกง ยาว ๗๒ กิโลเมตร ในภาพเป็นภาพถ่ายทางอากาศคลองแสนแสบ เมื่อราว พ.ศ. ๒๔๘๙ เหน็ สะพานเฉลมิ โลก ๕๕ ย่านประตูนำ้� เขตราชเทวี 123
สมัยรัชกาลท่ี ๔ เป็นช่วงเวลาท่ีระบบสาธารณูปโภคในกรุงเทพฯ ได้รับการพัฒนาให้เจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว อันเนื่องมาจากการขยายตัวอย่างมากของประชาชน ในเมอื งหลวง และการตดิ ตอ่ กับตา่ งชาตจิ ึงทำ� ให้ตอ้ งมีการจดั การผังเมอื งใหม่ และมกี ารขยายบ้านเมอื งออกไปในทศิ ต่าง ๆ โปรดเกลา้ ฯ ให้ขุดคลองผดุงกรงุ เกษม เป็นคลองรอบพระนครชั้นนอกเม่ือ พ.ศ. ๒๓๙๔ เพื่อใช้เป็นทางสัญจรของประชาชน ปัจจุบันได้ปรับปรุงให้เป็นเส้นทางท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์อีกด้วย ในภาพ เป็นภาพถา่ ยทางอากาศ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๙ เหน็ แนวคลองผดุงกรุงเกษมและปลายถนนหลวง ช่วงตัดถนนกรุงเกษมที่แยกนพวงศ์ 124
การคมนาคมเกิดการเปล่ียนแปลงจากทางน้�ำสู่ทางบกมากขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ถนนสายแรกของกรุงเทพฯ คือ ถนนตรง หรือถนนวัวล�ำพอง ซึ่งเกิดขึ้นโดยการ น�ำมูลดินจากการขุดคลองถนนตรง มาถมเปน็ ถนนเส้นใหม่ ถนนดังกลา่ วน้ีต่อมารัชกาลท่ี ๖ ทรงเปลยี่ นชือ่ เปน็ ถนนพระราม ๔ นอกจากนัน้ มีการสรา้ งโครงขา่ ย ถนนเป็นครั้งแรก โดยตัดถนนผ่านย่านเศรษฐกิจการค้าและย่านชุมชนส�ำคัญต่างๆ ภายในเขตพระนคร อาทิ ถนนเจริญกรุง ถนนบ�ำรุงเมือง และถนนเฟื่องนคร เปน็ ตน้ 125
ช่วงที่ ๒ รัชกาลท่ี ๕ – รัชกาลท่ี ๗ (ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕) มเี หตกุ ารณ์ทีก่ ่อใหเ้ กดิ การ เปลย่ี นแปลงทางสงั คมเศรษฐกจิ เกดิ ขน้ึ บนโลกมากมายทำ� ใหส้ ยามในขณะนน้ั ตอ้ งปรบั ตวั เพอ่ื ใหท้ ดั เทยี มกบั นานาอารยประเทศการพฒั นา จึงเกิดข้ึนอย่างกว้างขวาง ในกรุงเทพมหานครมีการสร้างและปรับปรุงถนนรวมทั้งสะพานนับร้อยสาย ครอบคลุมทุกพื้นท่ี บางสาย เป็นถนนเลียบคลอง และถนนสายเศรษฐกจิ ทมี่ ีประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน มกี ารสรา้ งทางรถไฟ รถราง จดั ต้ังการไปรษณยี ์โทรเลข โทรศพั ท์ การไฟฟ้า และขยายอาณาเขตของพระนครออกไปยังพนื้ ทใ่ี กล้เคยี ง ถนนท่ีมีความส�ำคัญในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ใช้เป็นเส้นทางเสด็จพระราชด�ำเนินที่เช่ือมระหว่างพระราชวังดุสิตกับพระบรมมหาราชวัง พระราชทานนามว่า “ถนนราชด�ำเนิน” เป็นถนนที่มีความสวยงาม และเป็นท่ีต้ังของสถานที่ราชการส�ำคัญ ในภาพเป็นสะพานผ่านพิภพลีลาสร้างข้ามคลองคูเมืองเดิม เช่ือมระหว่าง ถนนราชดำ� เนินในกับถนนราชดำ� เนินกลาง 126
เยาวราช มคี วามหมายวา่ “พระราชาทที่ รงพระเยาว”์ เปน็ ถนนสายเศรษฐกจิ ทส่ี ำ� คญั ตง้ั แตใ่ นสมยั รชั กาลที่ ๕ ยา่ นเยาวราชเปน็ พน้ื ทที่ ไ่ี ดร้ บั การพฒั นาเปน็ อยา่ งมาก ในช่วงสมัยดังกล่าว และเป็นแหล่งสำ� คัญทางดา้ นเศรษฐกจิ การค้าของชาวจนี ทีเ่ ข้ามาพำ� นักและประกอบธุรกจิ ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร จัดเปน็ ยา่ นธุรกจิ การค้า การเงิน การธนาคาร ร้านค้าทอง ภตั ตาคาร ร้านอาหาร เป็นแหลง่ ท่องเท่ยี วท่สี �ำคัญ เรียกวา่ “ไชนา่ ทาวน”์ แหง่ กรงุ เทพมหานคร (China Town) 127
ประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๐ รถลากเปน็ ยานพาหนะท่เี กิดข้ึนใหม่สอดรบั กบั การสัญจรทางบก ท่ีมกี ารตัดถนนมากขึ้นในพระนคร ระยะแรกเร่มิ นำ� เขา้ มาใชส้ ำ� หรบั เจา้ นาย ในเวลาต่อมาได้มีการสั่งรถลากจำ� นวนมากจากญ่ีปุ่น เพ่ือวิ่งรับส่งผู้โดยสาร โดยมีคนจีนเป็นผู้ลากรถ จึงเรียกว่า รถเจ๊ก เป็นท่ีนิยมอยู่ระยะหน่ึง เม่ือมีรถยนต์ใช้ แพรห่ ลาย ประกอบกบั การโดยสารรถรางทีข่ ับเคล่อื นด้วยไฟฟ้าเป็นท่ีนิยมมากขนึ้ รถลากจงึ ยตุ ิบทบาทไปเมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๖ ในภาพเห็นรถลากใชถ้ นนร่วมกับรถราง และผคู้ น บนถนนเจริญกรุง แยก เอส. เอ.บ.ี ซง่ึ เปน็ หนึ่งในถนนสายสำ� คัญทีห่ ล่อเลี้ยงเศรษฐกจิ การค้าของสยาม 128
การขนส่งมวลชนระยะแรกๆ ในสมัยรชั กาลที่ ๕ นอกจากรถลากหรือรถเจก๊ และรถเทยี มม้าแล้ว ยานพาหนะที่ขนสง่ คนเป็นจ�ำนวนมากไดใ้ นคราวเดยี ว คอื รถเมล์ โดยสาร เริม่ มขี น้ึ ในพ.ศ. ๒๔๒๘ ลกั ษณะคล้ายรถมา้ แตม่ ีรปู ทรงยาวข้ึน เพม่ิ เสา หลังคาและที่นัง่ ลากจงู ด้วยมา้ ๒ ตัว กระท่งั พ.ศ. ๒๔๓๑ มีรถรางท่ีใช้มา้ ๔ ตวั และ ๖ ตวั ลากจงู แตไ่ มเ่ ปน็ ทน่ี ยิ ม เพราะใชเ้ วลามากในการเดนิ ทาง และไมม่ กี ำ� หนดเวลาวง่ิ ทชี่ ดั เจนและตอ้ งรอรบั สง่ ผโู้ ดยสารตามรายทางไปเรอื่ ยๆ ใน พ.ศ. ๒๔๓๗ รถรางเริ่มเปล่ียนมาใช้พลังงานไฟฟ้า และกลายเป็นสัญลักษณ์ของความทันสมัยในกรุงสยาม แต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ รถยนต์ในกรุงเทพฯ มีมากข้ึน และมีรถรับจ้างประเภทอ่ืนเข้ามาทดแทน เช่น เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๑ เร่ิมมีรถเมล์หรือรถโดยสารประจ�ำทางบริษัทนายเลิศจ�ำกัดให้บริการ และเม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๐ มรี ถยนตแ์ ทก็ ซใ่ี หบ้ ริการ ซง่ึ การเดนิ ทางรวดเรว็ กวา่ รถราง ประกอบกับรถรางประสบปญั หาขาดทุน และเป็นปัญหากบั การจราจรบนถนนทม่ี ยี วดยานหนาแนน่ ขึน้ ในทส่ี ดุ รถรางถกู ยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ 129
รัชกาลท่ี ๕ โปรดเกล้าฯ ให้ด�ำเนินการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายกรุงเทพ - นครราชสีมา ขึ้นเป็นสายแรกของประเทศไทย เป็นทางขนาดกว้าง ๑.๔๓๕ เมตร และใน พ.ศ. ๒๔๕๓ เริ่มสร้างสถานีรถไฟกรุงเทพฯ หรือ สถานีรถไฟหัวล�ำโพง แต่สร้างแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๖ ซึ่งในปัจจุบันกิจการรถไฟของประเทศไทย ยงั คงไดร้ บั การพัฒนา และไดร้ ับความนยิ มจากประชาชนในการใชเ้ ดนิ ทางระยะทางไกลอย่างต่อเนื่อง 130
การขุดคลองเพื่อพัฒนาเส้นทางการคมนาคม เศรษฐกิจ การเกษตร ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เช่น คลองเปรมประชากรเพื่อเชื่อมพระนครศรีอยุธยาเข้ากับกรุงเทพฯ คลองประเวศบุรีรมย์ขุดต่อจากคลองพระโขนง เพื่อขยายแหล่งเกษตรกรรมและเช่ือมต่อเมืองฉะเชิงเทรา คลองทวีวัฒนาเพ่ือเชื่อมต่อการเดินทางทางน�้ำจาก แม่น้�ำเจ้าพระยากับแม่น้�ำท่าจีนและขยายพื้นท่ีการเกษตร ขุดคลองรังสิตประยุรศักดิ์ เพื่อเชื่อมระหว่างแม่น้�ำเจ้าพระยากับแม่น้�ำนครนายก ส�ำหรับการขนส่งข้าว และสนิ คา้ ทางการเกษตร กอ่ ใหเ้ กดิ ระบบชลประทาน ทำ� ใหบ้ รเิ วณดงั กล่าวมนี �้ำใชเ้ พยี งพอตลอดทั้งปี ท้ังยังสร้างระบบคลองท่มี ปี ระตสู �ำหรับระบายน้ำ� ทำ� ให้ทดี่ นิ บริเวณริมฝ่ังคลอง มีราคาสูงขน้ึ ในภาพเป็นภาพคลองรงั สติ เหน็ เรอื กระแซงบรรทกุ ข้าวทีม่ นี �้ำหนักมาก จงึ ใช้ใบเรอื รบั ลม ส่งให้เรอื แลน่ ได้เรว็ ข้นึ 131
กรมไปรษณีย์ เปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๖ มีส�ำนักงานใหญ่อยู่ท่ีไปรษณียาคาร ริมแม่น้�ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองโอ่งอ่าง ปัจจุบันรื้อท้ิงไป เพื่อสร้างสะพานพระปกเกล้าและถนนเช่ือมตอ่ ในระยะแรกการขนสง่ ไปรษณยี ม์ ีใหบ้ ริการเฉพาะกรงุ เทพฯ เทา่ นั้น ตอ่ มาได้ขยายไปในหลายจงั หวดั อีก ๒ ปตี ่อมา จึงเร่ิมส่วนบริการไปรษณีย์ระหว่างประเทศ ครั้นถึง พ.ศ. ๒๔๑๑ กรมไปรษณีย์ได้เปล่ียนช่ือเป็น กรมไปรษณีย์โทรเลข หลังจากมีการควบรวมกรมไปรษณีย์ และกรมโทรเลขเข้าด้วยกันและขยายการขนส่งไปรษณีย์ทางอากาศเม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๕ จากน้ันจึงเปิดที่ท�ำการไปรษณีย์กลางขึ้นบนถนนเจริญกรุง เขตบางรัก เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๓ และใช้เป็นท่ีท�ำการของกรมไปรษณีย์โทรเลข ภายหลังเมื่อมีนวัตกรรมทางการสื่อสารใหม่ ๆ เกิดขึ้นตามยุคสมัยของเทคโนโลยี จึงได้ยกเลิก การบริการรับสง่ ไปรษณยี โ์ ทรเลขต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ 132
ช่วงที่ ๓ รัชกาลท่ี ๗ (หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕) - รัชกาลที่ ๘ ภายหลังจากการ เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตย กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงพัฒนาท้ังใน ส่วนของโครงสร้างการบรหิ ารงาน และสาธารณปู โภคในหลาย ๆ ดา้ นอยา่ งตอ่ เนื่อง มุง่ เนน้ การสรา้ งทางหลวงแผ่นดินจากกรุงเทพฯ เช่ือมต่อกับหัวเมืองหลักท่ัวภูมิภาค เพื่อกระจายความเจริญ และความสะดวกในการคมนาคม เป็นเส้นทางขนส่งสินค้า และ ทรัพยากรธรรมชาติเพือ่ น�ำมาใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาประเทศ การตัดถนนสายส�ำคัญๆ ในแหล่งชุมชนการค้าจากในพระนครไปสู่เมืองปริมณฑล เช่น ถนนงามวงศ์วาน ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนพิบูลสงคราม และถนนปรีดีพนมยงค์ เปน็ ตน้ นอกจากนีย้ งั เกดิ ทางหลวงแผ่นดินสายสำ� คญั ๆ ของประเทศไทยขน้ึ อกี ดว้ ย อาทิ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑ คอื ถนนพหลโยธิน เริ่มสร้างระยะแรกเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๗๙ โดยเริ่มต้ังต้นนับหลกั กโิ ลเมตรที่ ๐ จากอนุสาวรยี ์ประชาธปิ ไตย 133
ชว่ งที่ ๔ รัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร รชั กาลท่ี ๙ - ปัจจบุ นั สบื เน่ืองจากการขยายตวั อย่างรวดเร็วของชุมชนเมอื ง และการโยงใยเครือข่ายการคมนาคมภายในประเทศรวมถงึ ต่างประเทศ ทำ� ให้ กรุงเทพมหานครประสบปัญหาอย่างหนักในด้านการจราจรทางบก รวมไปถึงการคมนาคมทางอากาศ รัชกาลท่ี ๙ พระราชทาน พระราชด�ำริ และพระบรมราชวินิจฉัยเพื่อแก้ไขปัญหาด้านการจราจรในกรุงเทพฯ ท้ังการตัดถนน สร้างสะพานเช่ือมโยงพ้ืนที่ แกป้ ญั หานำ้� ทว่ มขงั และการระบายนำ้� ในกรงุ เทพฯ รวมทง้ั การสรา้ งทา่ อากาศยานแหง่ ใหม่ อนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คมและเศรษฐกจิ ของชาติ จวบจนทุกวันน้ี มีพระราชด�ำริให้ขุดคลองลัดโพธ์ิเพื่อเป็นการเบี่ยงน้�ำ หรือ ระบายน�้ำลงสู่ทะเล สะพานพระราม ๘ เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเด่ียวข้ามแม่น�้ำ ลดปัญหาน้�ำท่วมกรุงเทพฯ อีกท้ังยังพระราชทานพระราชด�ำริเพื่อก่อให้เกิดโครงการ เจ้าพระยาเป็นแห่งที่ ๑๓ ของกรุงเทพมหานครเชื่อมต่อถนนยกระดับ สระเกบ็ น้ำ� พระราม ๙ อนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ที่ต�ำบลคลองหลวง อ�ำเภอธญั บรุ ี หรือทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ช่วยลดปัญหาการจราจรท้ังไป จังหวัดปทุมธานี ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแก้มลิงเพ่ือรับน�้ำเหนือ และกลับจากฝั่งพระนครไปยังฝั่งธนบุรี ข้ามแม่น้�ำเจ้าพระยาบริเวณ ท่ีไหลเข้ามา เป็นการป้องกันและชะลอน�้ำท่วมกรุงเทพฯ ได้อีกทางหน่ึงด้วย โรงงานยาสบู บางยี่ขัน เขตบางพลัด บรรจบกบั ปลายถนนวสิ ทุ ธกิ ษตั ริย์ ในภาพเห็นสะพานภูมิพลหรือสะพานวงแหวนอุตสาหกรรม ช่วงประตูระบายน�้ำ เขตพระนคร คลองลัดโพธิ์เป็นสะพานข้ามแม่น้�ำเจ้าพระยาตามแนวพระราชด�ำริเชื่อมต่อฝั่ง กรุงเทพมหานครและฝง่ั สมทุ รปราการ เพือ่ แก้ไขปญั หาจราจร เป็นสะพานทสี่ วยทสี่ ุด สะพานหนึ่งในประเทศไทย 134
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ค�ำว่า “สุวรรณภูมิ” เป็นชื่อท่ีรัชกาลท่ี ๙ พระราชทาน มีความหมายว่าแผ่นดินทอง และเสด็จฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร ผู้โดยสาร เมื่อวันท่ี ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศที่ทันสมัย และเป็นหน่ึงในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารผ่านเข้าออก มากทสี่ ดุ แหง่ หน่งึ ของโลก 135
การคมนาคมระบบรางในกรุงเทพมหานคร ได้พัฒนาระบบขนส่งมวลชนทั้งรถไฟลอยฟ้า โดยรถไฟลอยฟ้าสายแรกเปิดให้บริการเป็นคร้ังแรกเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๒ และรถไฟใต้ดินสายแรกเปิดให้บริการใน พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นมหานครท่ีทันสมัยในยุคปัจจุบัน และยังคงมีการก่อสร้างเพิ่มเติม ในอีกหลายเสน้ ทางให้เปน็ โครงขา่ ยโยงใยเชือ่ มตอ่ กนั ทำ� ให้การเดินทางในแบบขนส่งมวลชนกรงุ เทพฯ สะดวกและรวดเรว็ ยง่ิ ขนึ้ 136
ปจั จบุ นั การพฒั นาระบบสาธารณูปโภค รวมทง้ั การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานอ่นื ๆ ของกรงุ เทพมหานคร ยงั คงขยายตัว อย่างไม่หยดุ ยัง้ ทง้ั นเี้ พื่อให้สมกับการเป็นมหานครทพ่ี รั่งพรอ้ มทั้งความเจริญของบา้ นเมือง ความงดงามด้านวัฒนธรรม และการเปน็ ศูนยก์ ลางระบบเศรษฐกิจของประเทศ 137
การศึกษา สงั คมไทยมคี ำ�กลา่ ววา่ พอ่ แมเ่ ปน็ ครคู นแรกของลกู ซงึ่ พอ่ แมน่ อกจากจะสอนพดู สอนกริ ยิ ามารยาทแลว้ ยงั สอนทอ่ งอกั ษรไทย และนับเลขอันเป็นพื้นฐานการศึกษาเบ้ืองต้นของทุกครอบครัว ต่อมามีประเพณีส่งบุตรชายไปอบรมบ่มนิสัยที่วัด จึงถือว่าวัดเป็น โรงเรยี น มพี ระเปน็ ครู ประกอบกบั ประเทศไทยมวี ดั เปน็ จำ�นวนมาก กลุ บตุ รไทยจงึ มโี อกาสศกึ ษาเลา่ เรยี นดว้ ยการอปุ สมบทเพอ่ื ศกึ ษา พระธรรมสืบตอ่ อายุพระพทุ ธศาสนา และศกึ ษาเล่าเรยี นอักษรขอม ภาษาบาลี ไปพรอ้ ม ๆ กนั รชั กาลที่ ๓ โปรดใหจ้ ารกึ วชิ าความรไู้ วท้ วี่ ดั ตา่ งๆ เชน่ วดั โพธแิ์ ละวดั ราชโอรสารามแลว้ ยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ อนพระปรยิ ตั ธิ รรม ทมี่ ขุ พระมหาปราสาท กระทง่ั รชั กาลที่ ๔ ทรงสรา้ งเกง๋ ทหี่ นา้ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม แลว้ ยา้ ยมาสอนพระปรยิ ตั ธิ รรมทเ่ี กง๋ แตก่ เ็ ปน็ ความรู้ทางพระพทุ ธศาสนาเท่านัน้ สมัยรัชกาลท่ี ๕ ทรงปฏิรูปการศึกษาแบบตะวันตก โปรดฯ ให้ตั้งโรงเรียนหลวงข้ึนในพระบรมมหาราชวัง เพ่ือชักชวน พระราชวงศ์และข้าราชการให้ส่งบุตรหลานมาเล่าเรียนหนังสือไทย คิดเลข และขนบธรรมเนียมราชการ ต่อมามีพระราชปรารภว่า สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ และหม่อมเจา้ ตา่ งกรม ควรเล่าเรยี นภาษาต่างประเทศให้ได้วิชาความรู้สูงขนึ้ ไป จึงโปรดให้ตั้งโรงเรียนหลวง สำ�หรับสอนภาษาอังกฤษ พ.ศ. ๒๔๒๕ ต้ังโรงเรยี นทหารมหาดเล็ก และต้งั โรงเรยี นทำ�แผนท่ีในกรมทหารมหาดเล็กดว้ ย ต่อมามีคนนิยมนำ�บุตรหลานมาส่งเข้าเรียนมากขึ้น จึงขยายโรงเรียนพระตำ�หนักสวนกุหลาบให้เป็นโรงเรียนพลเรือน สอน ทง้ั หนังสือไทยและภาษาองั กฤษ โดยหนังสือไทยเรยี นจากแบบเรียน ๖ เล่ม คอื มูลบทบรรพกิจ วาหนิตนิ ิกร อกั ษรประโยค สงั โยค พิธาน ไวพจนพ์ จิ ารณ์ พิศาลการันต์ เม่ือการศึกษาประสบผลสำ�เร็จ มีพระราชปรารภว่า ควรจัดต้ังโรงเรียนให้แพร่หลายออกไปจนถึงราษฎรพลเมืองด้วย พ.ศ. ๒๔๒๗ จงึ พระราชทานพระราชดำ�รใิ หส้ มเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพตง้ั โรงเรยี นหลวงสำ�หรบั ราษฎรขน้ึ ตามวดั โดยตง้ั ท่ี วดั มหรรณพารามเปน็ แหง่ แรก พ.ศ. ๒๔๒๙ มโี รงเรยี นสำ�หรบั ราษฎรทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตามพระอารามตา่ ง ๆ ในกรงุ เทพฯ จำ�นวน ๑๗ โรง และ หวั เมอื ง ๑๓ โรง รวมเปน็ ๓๐ โรง สมยั รชั กาลที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๖๔ มพี ระราชบญั ญตั ปิ ระถมศกึ ษา จงึ เกดิ โรงเรยี นทว่ั ประเทศใหป้ ระชาชนมโี อกาสศกึ ษาเลา่ เรยี น เท่าเทยี มกันทัง้ โรงเรียนประชาบาลและการศกึ ษาผู้ใหญ่ 139
กลุ บุตรไทยศกึ ษาเล่าเรยี นอักษรขอม ภาษาบาลจี ากพระคมั ภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา ขนบการศึกษาเล่าเรยี นความร้จู ากคัมภรี ใ์ บลาน โดยวางคมั ภรี ใ์ บลานบนกากะเยยี เพ่อื ปอ้ งกันคัมภรี ใ์ บลานชำ� รุดแตกหกั 140
พระยาศรีสุนทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู ) ดร. แมคฟาแลนด์ ครใู หญ่ ครใู หญโ่ รงเรียนหลวง ผ้แู ตง่ แบบเรียบภาษาไทย ๖ เลม่ โรงเรียนสอนภาษาองั กฤษของหลวง สมัยรัชกาลที่ ๕ ตอ่ มา พ.ศ. ๒๔๗๙ ตามแผนการศกึ ษาของชาตมิ กี ารศกึ ษาสายสามญั เปน็ สายกลาง มกี ารศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาเปน็ ภาค บงั คบั สว่ นมัธยมศึกษา เตรียมอุดม และอุดมศกึ ษาไมใ่ ช่ภาคบงั คบั แตร่ ะบบการศกึ ษาไทยกย็ ังสร้างโอกาสการศึกษาทางเลอื กทงั้ สาย อาชวี ศกึ ษา การฝึกหัดครู และการพยาบาล เปน็ ตน้ ปจั จุบนั การศกึ ษาเจริญกา้ วหนา้ มกี ารจดั การศกึ ษาหลายระดบั ท้ังเตรยี มอนบุ าล อนุบาล ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา และ อุดมศกึ ษา จนถงึ ระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต การศกึ ษามไิ ดจ้ ำ�กดั แตภ่ าครฐั จดั ใหเ้ ทา่ นน้ั ยงั มโี รงเรยี นราษฎรเ์ ปน็ จำ�นวนมากทเ่ี กดิ จากความตง้ั ใจของภาคเอกชน องคก์ ร ทางศาสนา และผมู้ กี ารศกึ ษาทเี่ หน็ ความสำ�คญั ของการศกึ ษา ดำ�เนนิ การโดยการแนะนำ� ตรวจตรา และอดุ หนนุ งบประมาณจากภาครฐั ปจั จบุ นั เอกชนไดม้ สี ว่ นในการจดั การศกึ ษา จนถงึ ระดบั อดุ มศกึ ษาและมคี ณุ ภาพจนไดร้ บั การรบั รองจากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตลอดจนมผี ลการวัดระดับการศกึ ษาในระดับนานาชาตดิ ้วย โลกยคุ โลกาภวิ ตั นก์ ส็ รา้ งโอกาสการเรยี นรใู้ หแ้ กผ่ คู้ นทกุ วยั ทกุ ระดบั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากเวบ็ ไซตแ์ ละโลกออนไลนม์ กี ารเผยแพร่ ความร้หู ลากหลายใหไ้ ด้เรยี นรูอ้ ย่างไม่ร้จู บ 141
โรงเรยี นสวนกุหลาบวิทยาลัย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู วั โปรดให้กรมโยธาธกิ ารออกแบบ เปน็ อาคารเรยี นหลงั ท่ี ๑ ของโรงเรียน มคี วามยาวเป็นเอกลักษณ์ส�ำคญั ของโรงเรียนสืบมาจนถึงปัจจบุ นั 142
โรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ในปจั จบุ นั 143
โรงเรยี นราชวทิ ยาลัย ทบี่ า้ นสมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บนุ นาค) พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว โปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ัง้ ขนึ้ เม่ือวันท่ี ๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยมีพระราชประสงค์ ใหเ้ ปน็ โรงเรียนประจ�ำท่ีเน้นการสอนวชิ าภาษาองั กฤษ และฝกึ อบรมนกั เรียนตามวิธใี นประเทศตะวนั ตก เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มไปศกึ ษาตอ่ ในทวปี ยโุ รป 144
ครแู ละนกั เรยี นโรงเรียนสตรีวทิ ยา นกั เรยี นชน้ั มลู ปที ี่ ๑ วันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ 145
โรงเรยี นสายปญั ญา เปน็ โรงเรยี นสตรีล้วน สถาปนา เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๙ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หวั พระราชทานนามว่า สายปญั ญา ดว้ ยเหตุทท่ี ายาทพระองค์เจ้าสายสนิทวงศป์ ระทานตำ� หนกั ให้กระทรวงศกึ ษาธิการ จัดทำ� เป็นโรงเรียนสำ� หรบั สตรี ปัจจุบันอยู่ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภส์ มเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลที่ ๙ โรงเรยี นวชริ าวธุ วิทยาลัย กอ่ ตง้ั ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เป็นโรงเรยี นประจำ�สำ�หรับเด็กชาย เพ่อื ฝกึ หดั ใหม้ รี ะเบยี บวินัยแบบอังกฤษ อนั เปน็ ท่มี าของคำ�ว่า “สุภาพบุรษุ วชริ าวุธ” 146
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั เดมิ คือโรงเรียนสำ�หรบั ฝกึ หดั วชิ าขา้ ราชการพลเรอื น ก่อตง้ั โดยพระราชดำ�ริพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว ตอ่ มารัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาใหเ้ ปน็ มหาวทิ ยาลยั พระราชทานนามว่า จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 147
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184