เสด็จประพาสสำ� เพ็ง วนั ที่ ๓ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ เสดจ็ ตรวจพลสวนสนามกองทหารสหประชาชาตพิ ร้อมกบั ลอร์ด หลุยส์ เมานต์แบตเทน 49
รัชกาลท่ี ๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร (พุทธศักราช ๒๔๘๙ – ๒๕๕๙) พระนามเดิม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมอื่ วนั จนั ทร์ ท่ี ๕ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๐ เสด็จข้ึนครองราชสมบตั ิ วันอาทิตย์ ท่ี ๙ มิถุนายน พทุ ธศักราช ๒๔๘๙ เสด็จสวรรคต เมอ่ื วนั พฤหัสบดี ท่ี ๑๓ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ พระชนมพรรษา ๘๙ พรรษา ทรงดำ� รงสิริราชสมบัติ ๗๐ ปี ทรงเป็นศูนยร์ วมจิตใจของพสกนกิ รทุกหมูเ่ หล่า ทรงเป็นกษัตรยิ ์นกั พัฒนา ทรงคดิ ค้นทางเลือกใหม่แก่เกษตรกรให้สามารถ พ่ึงพาตนเองได้ เรียกว่า เกษตรทฤษฎีใหม่ พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตของ ราษฎร พระราชทานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริเกอื บ ๕,๐๐๐ โครงการ ซ่งึ ครอบคลมุ ทุกดา้ น โดยเฉพาะด้านเกษตรกรรม การชลประทาน ท่ีดิน ป่าไม้ ประมงและปศุสัตว์ เพื่อยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร ทรงตระหนักและให้ความส�ำคัญต่อ การศกึ ษา เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพประชากร โปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดต้งั โรงเรยี นหลายแห่ง จัดโครงการการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม จัดท�ำ สารานกุ รมไทยสำ� หรบั เยาวชน และพระราชทานทนุ การศกึ ษาแกเ่ ยาวชน ทรงเปน็ อคั รศาสนปู ถมั ภก พระราชทานพระบรมราชปู ถมั ภ์ บ�ำรงุ ศาสนาอื่น นอกเหนือจากพระพุทธศาสนาอนั เป็นศาสนาหลัก เป็นผลใหพ้ สกนกิ รทุกศาสนาอยรู่ ่วมกันอยา่ งสันตสิ ขุ นอกจากน้ี ยงั ทรงสง่ เสรมิ อปุ ถมั ภบ์ ำ� รงุ งานดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม เพอื่ ใหค้ งความเปน็ เอกลกั ษณข์ องชาติ ทรงหว่ งใยในสขุ ภาพอนามยั ของประชาชน โปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ังหน่วยแพทย์พระราชทาน หน่วยทันตกรรมพระราชทาน จัดตั้งมูลนิธิต่างๆ เพื่อช่วยเหลือประชาชน พระราช กรณียกจิ ทง้ั ปวงเพือ่ ประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชน ทรงได้รับการประกาศพระเกยี รตคิ ุณจากหน่วยงาน สถาบนั สมาคม องคก์ รต่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ รวมทง้ั รางวัลพระเกยี รตคิ ณุ นานาประการเปน็ จ�ำนวนมาก 50
เสดจ็ พระราชดำ� เนินไปทอดพระเนตรการก่อสร้างเขอ่ื นภมู พิ ล จังหวัดตาก วนั ที่ ๓ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๐๑ ทอดพระเนตรโครงการอา่ งเก็บน�ำ้ ยางชมุ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ วันที่ ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๘ 51
วรรณกรรมพระราชนิพนธ์ พระราชนพิ นธแ์ ปล 52
ทรงประดษิ ฐ์กังหันชัยพฒั นา สรา้ งช่อื เสียงในระดบั นานาชาติ ทรงได้รบั การถวายพระราชสมัญญา “พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย” สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชยี ทลู เกล้าฯ ถวายเหรียญทองสดุดีพระเกยี รติคุณในฐานะทที่ รงพระปรชี าสามารถในการพัฒนาชนบท เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๐ 53
รัชกาลท่ี ๑๐ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ – ปัจจบุ นั ) พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมื่อวันจนั ทร์ ที่ ๒๘ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๔๙๕ ทรงได้รบั การสถาปนาเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎ ราชกมุ าร เม่ือวันที่ ๒๘ ธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๕ เสด็จขึ้นทรงราชยเ์ ปน็ พระมหากษัตรยิ ์ รชั กาลที่ ๑๐ เมอื่ วนั พฤหัสบดี ที่ ๑๓ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ และทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ตง้ั การพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เพ่ือความเปน็ สวัสดมิ งคลแก่ชาตบิ ้านเมืองและประชาชน มีพระราชปณธิ านแน่วแนท่ ีจ่ ะท�ำให้ประเทศชาตมิ ัน่ คงและประชาชนมชี ีวิตความเป็นอยทู่ ี่ดขี นึ้ ดว้ ยมพี ระราชประสงค์ที่จะ สบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ� รแิ ละแนวพระราชด�ำริต่าง ๆ ในการบำ� บดั ทกุ ข์บ�ำรุงสขุ ให้ประชาชน และพัฒนาประเทศใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ม่ันคง มพี ระบรมราโชบายใหม้ หาวิทยาลยั ราชภฏั เปน็ แหล่งความรู้ทางวิชาการ ผลติ ครูคณุ ภาพ และสง่ เสรมิ ใหท้ ำ� หนา้ ทพี่ ฒั นาทอ้ งถน่ิ ทรงดำ� เนนิ “โครงการจติ อาสา เราท�ำความดดี ว้ ยหวั ใจ” บำ� เพญ็ สาธารณประโยชนใ์ นพนื้ ทตี่ า่ ง ๆ ท้ังในกรุงเทพมหานครและทุกจังหวัดท่ัวประเทศ เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน และแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชน ท้ังได้พระราชทาน ความสุขแก่ประชาชนด้วยการพระราชทานพระราชานญุ าตใหใ้ ชพ้ ระลานพระราชวังดสุ ติ จดั แสดงดนตรี คอนเสิร์ต เพ่อื ใหป้ ระชาชน ผ่อนคลาย และส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย รวมท้ังทรงปลูกฝังให้ชาวไทยยึดมั่นในความดีงาม สุจริต เที่ยงตรง ท้ังหน้าท่ีการงาน และการด�ำรงชีวิต โดยปฏิบัติธรรม สวดมนต์สรรเสริญคุณพระรัตนตรัยในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา และ วันสำ� คญั อันเกย่ี วเนือ่ งกบั สมเดจ็ พระบรู พมหากษตั ริยาธริ าช 54
ทรงออกแบบปกหนังสือบทเจรญิ พระพุทธมนต์ พระราชทานผเู้ ข้ารว่ มพธิ บี �ำเพ็ญพระราชกุศล เจริญพระพทุ ธมนต์ถวายสมเดจ็ พระบูรพมหากษตั ริยาธริ าช และถวายพระพรสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ ในรชั กาลที่ ๙ โครงการจิตอาสา เราท�ำความดีดว้ ยหวั ใจ 55
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหห้ นว่ ยราชการในพระองค์จดั งานฤดูหนาวในชื่อ “อุ่นไอรกั คลายความหนาว” ครงั้ ท่ี ๑ และ “อุ่นไอรัก คลายความหนาว สายน้�ำแห่งรัตนโกสนิ ทร”์ ครงั้ ที่ ๒ ณ พระลานพระราชวงั ดสุ ิตและสนามเสือป่า เพื่อเผยแพรค่ วามรู้ ความงดงามของความเปน็ ไทย ช่วยกนั อนุรักษ์ ฟ้นื ฟู และเผยแพรศ่ ิลปวฒั นธรรมประเพณไี ทย ตลอดจนให้ประชาชนไดม้ ีส่วนร่วมใน การท�ำบุญและสานตอ่ บุญไปยังผปู้ ระสบภัยด้านต่าง ๆ วนั เปดิ งานอนุ่ ไอรกั ครง้ั ท่ี ๒ มขี บวนจกั รยานตามเสน้ ทางประวตั ศิ าสตร์ ผา่ นสายนำ�้ คคู ลองสำ� คญั ตา่ ง ๆ เชน่ คลองมหานาค คลองผดุงกรงุ เกษม คลองหลักของกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ไปยังคลองลัดโพธ์ิ อ�ำเภอพระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการ ซง่ึ เป็นโครงการ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริดา้ นการบรหิ ารจดั การนำ้� ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ รรวมระยะทาง ไป-กลับ ๓๙ กิโลเมตร งานอุ่นไอรกั คลายความหนาว ครั้งที่ ๑ 56
งานอ่นุ ไอรกั คลายความหนาว สายนำ�้ แหง่ รัตนโกสินทร์ ครง้ั ท่ี ๒ 57
๒บทที่ กรงุ เทพมหานคร ๒๓๒๕ – ๒๕๖๒ กรงุ เทพมหานคร เจรญิ เตบิ โตกา้ วหนา้ ทกุ ทศิ ทางและทกุ ดา้ น ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ นสาธารณปู โภค การสรา้ งถนนหนทาง ทงั้ ทางบก ทางน้�ำและทางอากาศ ระบบไฟฟา้ ประปา โทรศัพท์ ล้วนก้าวหน้าดว้ ยเทคโนโลยีที่ทันสมยั มวี ิวฒั นาการมาโดยล�ำดับถึงขดี สุด ด้าน วิถีชีวิตของคนกรุงเทพฯ ได้เปลี่ยนแปลงไปตามพัฒนาการของเมือง เร่ืองของการแต่งกาย การใช้ชีวิตจากเดิมท่ีปลูกพืชผัก ท�ำสวน ท�ำไร่ท�ำนา มาเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรม หรือเป็นศูนย์กลางแห่งเศรษฐกิจยุคใหม่ ความต้องการแรงงานเพิ่มขึ้น ท�ำให้เกิด แรงงานจากชาวชนบท ขยายเติบโตเปน็ แรงงานต่างด้าว นักธรุ กจิ ต่างชาตเิ ข้ามาลงทุน เมอื งขยายเพือ่ รองรบั เศรษฐกจิ และทุกด้าน บ้านเรอื นราษฎร อาคารพาณชิ ย์ ศนู ย์การคา้ และแหลง่ บนั เทงิ ไดพ้ ฒั นามาโดยล�ำดบั ในกรงุ เทพฯ จงึ มตี ึกรามบา้ นชอ่ งทีพ่ ฒั นาการ ตามช่วงเวลาท้ังสถาปัตยกรรมไทย ตะวันตก และตามลักษณะท้องถ่ินชุมชน ตามความต้องการและเพื่อประโยชน์ใช้สอย รัฐบาลมี นโยบายขับเคล่อื นประเทศเพอื่ กา้ วสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐ ด้วยเหตนุ ว้ี ัฒนธรรมและประเพณี จงึ มีทัง้ การอนรุ กั ษ์ ฟ้ืนฟู และสรา้ งสรรค์ เพื่อ สังคมยุคใหม่ กรุงเทพฯ จึงเป็นศูนย์กลางของการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเท่ียว ความโออ่ า่ ของกรงุ เทพฯ สะทอ้ นภาพชดั เจนจากเพลงกรงุ เทพราตรี ของวงดนตรสี ุนทราภรณ์ ดังความตอนหนึง่ ว่า โอก้ รุงเทพเมืองฟ้าอมร สมเป็นนครมหาธานี สวยงามหนักหนายามราตรี งามเหลือเกนิ เพลดิ เพลินฤดี ชา่ งงามเหลือท่ีจะพรรณนา เทีย่ วดูเล่นแลเหน็ อาคาร เหมอื นดังวิมานสถานเทวา ท้งั ยานพาหนะละลานตา งามแสนงามเหมาะนามสมญา เหมือนเทพสร้างมาจึง่ งามวไิ ล... 59
วถิ ชี วี ิต สมัยต้นรัตนโกสินทร์ วิถีชีวิตชาวไทยยังคงด�ำเนินรูปแบบท้ังการด�ำรงชีวิตท่ีผูกพันกับสายน�้ำ การประกอบอาชีพทาง การเกษตร ศาสนา วฒั นธรรมประเพณี ตลอดจนลกั ษณะการแตง่ กายไมต่ า่ งจากสมยั อยธุ ยาเทา่ ใดนกั ตอ่ เมอื่ อทิ ธพิ ลของชาตติ ะวนั ตก ไดแ้ พรข่ ยายเขา้ มา จงึ มกี ารดดั แปลงรบั เอาแนวคดิ และรปู แบบวฒั นธรรมของชาวตะวนั ตกเขา้ มาใชป้ รบั ปรงุ ประเทศใหม้ คี วามทนั สมยั แบบตะวนั ตก แต่ขณะเดยี วกันก็ยงั คงรักษาเอกลักษณ์ความเป็นไทยไวไ้ ด้จนถึงปัจจบุ ัน 61
เรอื คา้ ขายบรเิ วณแยกคลองมหานาค ชาวนาถีบระหัดวดิ น�้ำเข้าในแปลงนา 62
บรรยากาศ รบั - ส่ง ผู้โดยสารทีท่ า่ เรอื 63
แผงลอยขายของกนิ จีนหาบเร่ ขายบะหม่ี 64
รถเขน็ และหาบเร่ท่สี นามหลวงด้านวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม 65
สตรที ฟดู้ เยาวราช 66
67
เรอื เกง๋ ๖ แจวสองลำ� หนา้ วัดอรณุ ราชวราราม แลเหน็ ทนุ่ ลอยนำ้� สำ� หรบั ผูกเรอื ขนาดใหญ่ 68
บ้านเรือนที่อยู่อาศัยของสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ยุคต้น มีรูปแบบหลากหลาย อันเน่ืองมาจากปัจจัยความแตกต่างของ สภาพแวดลอ้ ม ฐานานศุ ักดิ์ ความเชอ่ื สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และสุนทรียของผอู้ ยอู่ าศัยซงึ่ สามารถจำ� แนกลักษณะกรรมวธิ ีการปลกู สรา้ งเปน็ ๒ ลกั ษณะคอื เรือนเครอื่ งผูก และเรอื นเครื่องสับ โดยปกติมักสรา้ งเป็นเรอื นใต้ถนุ สงู ตามสภาพแวดล้อมท่ใี กลน้ ำ�้ หรืออาจ สร้างเป็นเรอื นแพอยใู่ นน�้ำเพราะใช้ล�ำน�ำ้ เปน็ เสน้ ทางคมนาคม ตอ่ มาเมื่อรับวัฒนธรรมอ่นื ๆ เชน่ จีน และชาตติ ะวันตก จงึ มกี ารกอ่ สร้างบ้านเป็นตึกแบบจีนและแบบตะวันตก โดยพฒั นา ปรับเปล่ียนจากบ้านใต้ถุนสูงเป็นอาคารตึกติดพ้ืนดินตั้งแต่ ๒ ช้ัน จนปัจจุบันใช้เทคนิควิทยาการสร้างที่อยู่อาศัยเป็นตึกระฟ้าหลาย สิบชั้น ริมถนนหรือเส้นทางคมนาคมทางบกเพ่ือความสะดวกสบายในการเดินทาง เพราะท่ีดินและวัสดุที่เคยใช้ปลูกสร้างบ้านเรือน หายากและมีราคาแพงมากข้นึ แตอ่ าคารทปี่ ลูกสรา้ งเพ่ืออยอู่ าศยั ในปจั จุบนั ก็แสดงถงึ ความทนั สมัยของสังคมไทยอย่างแจ่มชัด เรอื นเครอื่ งสบั และวถิ ีชวี ิตไทยสมยั ก่อน 69
หมู่เรือนเคร่อื งผกู รมิ น้ำ� สภาพบา้ นเรอื นริมคลอง มเี รือหลายรูปแบบเปน็ พาหนะในการสญั จร 70
ทอ่ี ยอู่ าศยั อทิ ธพิ ลแบบจนี สรา้ งเปน็ ตกึ ตดิ ดนิ ๒ ชนั้ เปดิ เปน็ รา้ นคา้ รมิ ถนนเจรญิ กรงุ อาคารรา้ นคา้ และทอี่ ยอู่ าศยั รมิ ถนนเจรญิ กรงุ 71
ตกึ แถวชมุ ชนทา่ เตียน 72
ตกึ แถวหนา้ พระลาน 73
มารีโอ ตามานโญ สถาปนกิ ชาวอิตาลี เขา้ มารบั ราชการในกระทรวงโยธาธิการ พ.ศ. ๒๔๔๓ สญั ญาว่าจา้ ง ๒๕ ปี มีผลงานออกแบบก่อสรา้ งในประเทศไทยหลายแหง่ อาทิ สถานรี ถไฟหัวลำ�โพง สรา้ งในปลายสมยั รชั กาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๕๓ แล้วเสรจ็ ในรัชกาลที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๕๙ 74
วงั ปารสุ กวนั รัชกาลท่ี ๕ โปรดให้สร้างเป็นวังท่ีประทับของจอมพล สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ จักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานาถ ปจั จุบนั เปน็ พิพิธภณั ฑก์ รมตำ�รวจและกองบัญชาการตำ�รวจนครบาล บา้ นนรสงิ ห์ รัชกาลที่ ๖ โปรดให้สรา้ งข้นึ เพอ่ื พระราชทานแก่เจา้ พระยารามราฆพ (ม.ล.ฟืน้ พงึ่ บุญ) ปัจจบุ ันคอื ตกึ ไทยค่ฟู า้ ทำ�เนียบรัฐบาล 75
ศาสตราจารย์ ศิลป์ พรี ะศรี ชาวอิตาลี ผู้วางรากฐานงานศิลปะไทยสมยั ใหม่ มผี ลงานทางด้านศลิ ปะ อาทิ อนสุ าวรยี ป์ ระชาธปิ ไตย 76
พระบรมราชานสุ าวรียป์ ฐมบรมกษตั ริย์แหง่ พระบรมราชจกั รวี งศ์ อนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู ิ 77
ยา่ นชุมชน กรงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ ป็นถิ่นอาศัยของกล่มุ ชนท่มี คี วามหลากหลายของเช้อื ชาติ ซึง่ มีอยู่ ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. ชมุ ชนดง้ั เดิมและ ผทู้ อ่ี พยพมาจากกรงุ ศรอี ยธุ ยา ผทู้ เ่ี ดนิ ทางมาแสวงหาโอกาสในการดำ� รงชพี ทดี่ กี วา่ เดมิ หรอื ผลู้ ภี้ ยั สงคราม มที ง้ั คนไทยและคนตา่ งชาติ เช่น กลุ่มชาวจนี แขก มอญ ญวน ลาว เวียดนาม ๒. ชมุ ชนใหม่ที่เพง่ิ เกิดขึน้ มาไมน่ าน เชน่ ชุมชนญี่ปนุ่ เกาหลี ซงึ่ แต่ละชุมชนตา่ งมี วิถีการด�ำรงชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง โดยผ่านกระบวนการสืบทอดและพัฒนามาอย่างยาวนาน ก่อให้เกิดชุมชนต่าง ๆ ท่ีมี ความหลากหลายทางวฒั นธรรมขนึ้ ทว่ั ทง้ั กรงุ เทพมหานคร หากแตท่ กุ ชมุ ชนลว้ นอาศยั อยภู่ ายใตร้ ม่ พระบารมขี องพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย อยา่ งร่มเยน็ เปน็ สขุ ตราบจนปจั จุบัน ซมุ้ ประตวู ฒั นธรรม ไทย-จนี หรอื ซมุ้ ประตเู ฉลมิ พระเกยี รติ ตง้ั อยู่ ณ วงเวยี นโอเดยี น ยา่ นเยาวราช ชาวไทยเชอ้ื สายจนี หนว่ ยงานรฐั และเอกชน ไดร้ ว่ มใจกนั จดั สรา้ ง เพอ่ื เฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในโอกาสทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ 79
ชุมชนเยาวราช ชุมชนชาวไทยเช้ือสายจีนที่เข้ามาอาศัยอยู่ต้ังแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ค้าขาย จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๓๔ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว โปรดใหส้ รา้ งถนนเยาวราช หรอื ที่ร้จู ักกนั วา่ “ไชนา่ ทาวน”์ อันเป็นยา่ นชุมชนชาวจีนตง้ั หลกั แหล่ง ค้าขายจนกลายเปน็ ย่านธรุ กจิ การค้าขายท่ีสำ� คญั ในปจั จบุ นั 80
ชุมชนบ้านครัว ในอดีตเปน็ พื้นท่ีของชาว (แขก) จามที่อพยพ เข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภารพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ต้ังอยู่ท่ีบริเวณริมคลองแสนแสบ เขตราชเทวี อาชีพเดิมคือการ ประมงและการทอผ้าไหมพ้ืนเมือง ฝีมือการทอผ้าไหมนั้นโดดเด่น มีความ ประณีต ละเอยี ดออ่ น ใชเ้ นือ้ ผา้ คณุ ภาพสงู สีสวยสด และสบื ทอดมาหลาย ช่ัวอายคุ น ชาวชมุ ชนบ้านครวั ยังทอผ้าเพือ่ สง่ ขายให้แกบ่ รษิ ัท จิม ทอมป์สัน ร้านจ�ำหนา่ ยสินค้าจากผ้าไหมท่โี ด่งดังไปทวั่ โลก 81
ชุมชนพาหุรัด เกิดจากชาวอินเดียท่ีเดินทางเข้ามาประเทศไทย ต้ังแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อหลบหนีปัญหาศาสนาและการเมืองในประเทศอินเดีย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในย่านพาหุรัด ประกอบอาชีพค้าขายผ้าและอุปกรณ์ ตดั เยบ็ ผา้ ทกุ ชนดิ รวมไปถงึ เสอ้ื ผา้ สำ� เรจ็ รปู ของหลายชนชาติ ทง้ั ชดุ ไทย ชดุ จนี และชดุ อนิ เดยี (สา่ หร)ี นอกจากนพี้ าหรุ ดั ยงั มชี มุ ชนเลก็ ๆ ทยี่ ังคงดำ� เนินวถิ แี บบอนิ เดยี ดัง้ เดิมอยู่ จนทำ� ให้ไดร้ ับการขนานนามวา่ เปน็ “ลติ เติ้ล อินเดยี ” เมอื งไทย 82
ชุมชนกุฎีจีน เป็นชุมชนเก่าแก่ของชาวไทยเชื้อสายโปรตุเกส และยังเป็นย่านชุมชนที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรมอยา่ งมากแหง่ หนึ่งในกรงุ เทพมหานคร มีท้งั ชาวไทย จนี ฝรั่ง ญวน มอญ ฯลฯ ทอี่ พยพจากกรงุ ศรอี ยุธยามาตั้ง ถ่ินฐานอยู่บริเวณด้านทิศใต้ของคลองบางหลวง หรือคลองบางกอกใหญ่ใกล้ริมฝั่งแม่น้�ำเจ้าพระยา เห็นได้จากแหล่งท่ีต้ังศาสนสถาน ส�ำคัญหลายศาสนา เช่น วัดประยุรวงศาวาส วัดซางตาครู้ส ศาลเจ้าเกียนอันเกง วัดกัลยาณมิตร และมัสยิดบางหลวง ตลอดริมฝั่ง แม่นำ�้ เจ้าพระยา 83
ชมุ ชนบ้านบาตร ตงั้ อยู่ในซอยบริพัตร ใกล้กับวัดสระเกศ ชื่อชุมชนบา้ นบาตรน้นั มีความเปน็ มาตั้งแต่เมอ่ื ยา้ ยราชธานี มายงั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ มกี ารกวาดตอ้ นประชาชนลงมาตง้ั ถนิ่ ฐานทรี่ าชธานใี หม่ ผคู้ นในชมุ ชนเดมิ ๆ ทถ่ี กู กวาดตอ้ นมายงั คงเกาะกลมุ่ กนั ประกอบอาชพี แบบเดมิ คอื การทำ� บาตรเชน่ เดยี วกบั ทเี่ คยทำ� มากนั ในอดตี และยงั คงมกี ารสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาการทำ� บาตรพระดว้ ยมอื มาจนถึงปัจจบุ นั 84
ชมุ ชนบางลำ� พู ได้ชอ่ื มาจากในอดตี มีต้นลำ� พูอย่เู ปน็ จำ� นวนมาก ริมคลองเดิมเปน็ ชมุ นมุ และตลาดเล็ก ๆ รมิ นำ�้ กอ่ นการ สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ มีวัดเก่าแก่ปรากฏอยู่ในพื้นท่ี ได้แก่ วัดสังเวชวิศยาราม (วัดบางล�ำพู) และวัดชนะสงคราม (วัดกลางนา) ต่อมาเมื่อมีการตัดคลองรอบกรุง ท�ำให้ย่านบางล�ำพูกลายเป็นท่าน�้ำใช้ส�ำหรับขนถ่ายและแลกเปล่ียนสินค้า ปัจจุบันย่านบางล�ำพู เป็นศูนยก์ ลางการคา้ หลายชนิด และมถี นนข้าวสาร แหลง่ ท่องเทย่ี วยามราตรขี องกรุงเทพมหานครทมี่ ชี ื่อเสียงไกลไปท่ัวโลก 85
ชมุ ชนนางเลงิ้ หรือตลาดนางเลง้ิ เปน็ ตลาดบนบกแหง่ แรกของประเทศไทย มอี ายุยาวนานกวา่ ๑๐๐ ปี กอ่ ตั้งมาตงั้ แต่ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถานที่ส�ำคัญของตลาดนางเลิ้ง ได้แก่ โรงภาพยนตร์เฉลิมธานี ซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า ๘๐ ปี สรา้ งขึน้ ในสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ปจั จบุ ันตลาดนางเลิง้ เปน็ ชมุ ชนท่เี ก่าแกแ่ ละมีชอื่ เสยี งแหง่ หนึง่ ของ กรุงเทพมหานคร อาคารบ้านเรือนมลี กั ษณะสถาปตั ยกรรมที่สวยงามและเป็นตลาดที่ข้ึนชอ่ื อยา่ งมากดา้ นอาหารนานาชนิด 86
ชุมชนเกาหลี ญี่ปุ่น ปัจจุบันมีชาวญ่ีปุ่นและเกาหลีเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมาก โดยประกอบธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดเล็กต่างๆ เชน่ รา้ นอาหาร ร้านขายของน�ำเข้าจากเกาหลี ญี่ปุน่ ธรุ กจิ ดา้ นการท่องเทีย่ ว สอนภาษา ชาวเกาหลี ส่วนใหญอ่ าศยั อยู่บริเวณถนนสขุ ุมวทิ ๑๒ และชาวญ่ปี นุ่ อาศัยอย่บู ริเวณถนนสขุ มุ วทิ ๓๓ 87
88
89
วฒั นธรรมและประเพณี กรงุ เทพมหานคร ดนิ แดนแหง่ ศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณอี นั หลากหลาย ดว้ ยเปน็ เมอื งศนู ยก์ ลางแหง่ การปกครอง ทต่ี ง้ั ของ ราชธานี มกี ลมุ่ ผคู้ นมากมายทง้ั ชมุ ชนทต่ี ง้ั รกรากมาแตเ่ ดมิ และทอ่ี พยพยา้ ยถน่ิ เขา้ มาดว้ ยเหตผุ ลหลายประการตงั้ แตแ่ รกสถาปนา อาทิ การเปน็ แรงงาน เพอื่ การค้า การเผยแผ่ศาสนา การหางานทำ� ศึกษาหาความรู้ และเศรษฐกิจยุคใหม่ กรงุ เทพมหานครจงึ มผี ู้คนหลาก หลายชาติพันธุ์ กระจดั กระจายรวมตวั กันตามกลมุ่ เช้ือชาติ ซ่ึงมผี ลตอ่ วัฒนธรรมประเพณีอยา่ งมาก การรับวฒั นธรรมจากตา่ งชาติ ท้งั จากตะวนั ออกและตะวันตก มาปรับใชป้ ระสมประสานกับวฒั นธรรมไทย ทำ�ใหก้ ลายเปน็ เอกลักษณ์อันงดงามของกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ งานสมโภชกรุงรตั นโกสินทร์ งานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เรม่ิ ครงั้ แรกในพทุ ธศกั ราช ๒๓๒๘ หลงั จากทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ทรงสรา้ งพระบรมมหาราชวงั แลว้ เสรจ็ และอญั เชญิ พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากรประดษิ ฐาน ณ พระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ตอ่ มาในรัชกาลที่ ๕ กรงุ รตั นโกสนิ ทรย์ ืนยาวมาถึง ๑๐๐ ปี ในพุทธศกั ราช ๒๔๒๕ โปรดให้จัดงานฉลองพระนคร จนกระทั่ง พุทธศักราช ๒๔๗๕ ในรัชกาลที่ ๗ โปรดให้สมโภชพระนครครบ ๑๕๐ ปี และพุทธศักราช ๒๕๒๕ ในรัชกาลท่ี ๙ มีการสมโภช กรงุ รตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปีขน้ึ อีกคร้ังหน่งึ สรงนำ้� พระพุทธสิหงิ ค์ ทส่ี นามหลวง เนอื่ งในวนั สงกรานต์ 91
บรรยากาศประชาชนเข้าชมวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม ในโอกาสสมโภชพระนคร ๑๐๐ ปี พ.ศ. ๒๔๒๕ 92
ประชาชน และขา้ ราชการภาคส่วนต่างๆ บริเวณหนา้ พระบรมรปู พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ในงานฉลองกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ครบ ๑๕๐ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จากหนงั สอื พิมพ์ L’ ILLUSTATION ของฝรง่ั เศส 93
การพระราชพธิ บี วงสรวงสมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าช ประชาชนหลั่งไหลมาชมรว้ิ ขบวนรถบุปผชาติทตี่ กแตง่ อย่างวจิ ติ รงดงาม ณ พระทน่ี ง่ั ชมุ สาย มขุ พลบั พลาดา้ นเหนอื มณฑลพธิ ที อ้ งสนามหลวง ในงานสมโภชกรุงรตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ณ ทอ้ งสนามหลวง เมอ่ื วนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ 94
การประดับไฟบริเวณโดยรอบสนามหลวง งานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี การแสดงแสง สี เสยี ง “การสรา้ งกรุงรัตนโกสินทร์” งานสมโภชกรุงรตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี 95
กิจกรรมถา่ ยรูปในงานวดั เบญจมบพิตร พ.ศ. ๒๔๔๘ การประกวดภาพถ่ายครง้ั แรกในประเทศไทย ณ วัดเบญจมบพติ ร พ.ศ. ๒๔๔๘ งานฤดูหนาวประจำ�ปี เปน็ งานท่เี กิดขน้ึ ในสมยั รัชกาลที่ ๕ เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างวัดเบญจมบพิตรดสุ ิตวนาราม โปรดเกล้าฯ ให้จัดงานเฉลิมฉลองนมัสการพระพุทธชินราชจำ�ลองในพุทธศักราช ๒๔๔๔ และถือเป็นงานประจำ�ปีของวัดตลอดมา ในชว่ งธนั วาคมของทกุ ปี รชั กาลตอ่ ๆ มา นยิ มเรยี กวา่ “งานฤดหู นาวประจำ�ป”ี ในงานมมี หรสพ โขน ละคร ลเิ ก ภาพยนตร์ ฯลฯ รวมทงั้ ทรงเชญิ ชวนพระบรมวงศานวุ งศแ์ ละข้าราชบริพารออกรา้ นจำ�หน่ายสินค้า อาหาร เครอื่ งด่ืม พ.ศ. ๒๔๔๗ มรี า้ นถ่ายรูปหลวงขน้ึ เปน็ คร้งั แรกในงานวัดเบญจมบพิตร บรกิ ารถ่ายภาพและจำ�หนา่ ยภาพ รวมท้ังเชิญชวนให้นำ�รปู ถา่ ยสว่ นตัวมารว่ มแสดงในงานด้วย 96
งานเฉลมิ ฉลองสิริราชสมบัติ งานเฉลิมฉลองการครองสิริราชสมบตั ิ เรม่ิ มีในรัชกาลท่ี ๕ เป็นครัง้ แรก โดยทรงนำ�แนวคิดแบบตะวนั ตกซง่ึ ดัดแปลงมาจาก ประเพณงี านฉลองครสิ ตศ์ าสนาเป็นงานฉลองการครองสิริราชสมบตั คิ รบ ๒๕ ปี ๕๐ ปี และ ๗๕ ปี เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๓๖ ในโอกาสทรงครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๒๕ ปี พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั งานเฉลิมฉลอง “พระราชพธิ ีรชฎาภเิ ศก” พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๐ ในโอกาสครองครองสริ ริ าชสมบตั ิ ๔๐ ปี เรยี กว่า “พระราชกุศลรชั มงคล” พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๑ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ง้ั การพระราชพธิ รี ชั มงั คลาภเิ ษก เนอ่ื งในโอกาสทท่ี รงครองราชยย์ าวนาน กวา่ พระมหากษัตรยิ ์ทกุ พระองค์ในอดีต (๔๑ ปี) พธิ ีเปิดพระบรมรูปทรงม้า ณ พระลานพระราชวงั ดุสติ ในการพระราชพิธรี ัชมงั คลาภเิ ษก เมื่อวนั ท่ี ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๑ 97
ซมุ้ เครื่องราชกกุธภณั ฑ์ “พระมหาพิชัยมงกุฏ” ซมุ้ เครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑ์ “พระมหาพชิ ยั มงกฏุ ” ในงานพระราชพธิ รี ัชมังคลาภิเษก พ.ศ. ๒๕๓๑ ในงานฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๖๐ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ซุ้มอิตถีรัตนะ เฉลิมพระเกยี รติ ซุ้มนพรตั น เฉลิมพระเกยี รติ เนอ่ื งในพระราชพธิ ีกาญจนาภิเษก พ.ศ. ๒๕๓๙ เนอื่ งในพระราชพิธฉี ลองสริ ิราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี บริเวณถนนราชดำ�เนินนอก เชงิ สะพานมัฆวานรงั สรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๙ 98
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184